Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.1-2.4

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.1-2.4

Published by agenda.ebook, 2020-05-30 23:25:53

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

97 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ การประเมินสถานการณ์ สิทธมิ นษุ ยชนของกลมุ่ บุคคล เนอื้ หาในบทนเ้ี ปน็ การประเมนิ สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนของประชากรบางกลมุ่ ทอ่ี าจมอี ปุ สรรคในการเขา้ ถงึ 4บทที่ สิทธิ ท�ำให้ไม่สามารถใช้สิทธิหรือได้รับการคุ้มครองสิทธิโดยเท่าเทียมกับประชากรท่ัวไป ทั้งน้ี ประชากรบางกลุ่ม มสี นธสิ ญั ญาดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนทจ่ี ดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ สง่ เสรมิ และคมุ้ ครองเปน็ การเฉพาะ ไดแ้ ก่ กลมุ่ เดก็ สตรี และคนพกิ าร ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ซง่ึ ไดร้ บั การประกนั สทิ ธโิ ดยอนสุ ญั ญา CRC อนสุ ญั ญา CEDAW และอนสุ ญั ญา CRPD ตามลำ� ดบั สว่ นประชากรสงู อายุ แม้ว่าขณะน้ีจะยังไม่มีสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนเป็นการเฉพาะ แต่ในสหประชาชาติได้มีการจัดต้ังคณะท�ำงาน เพอ่ื ศกึ ษาความเปน็ ไปไดข้ องการจดั ทำ� อนสุ ญั ญาดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของผสู้ งู อายเุ นอื่ งจากหลายประเทศไดเ้ ขา้ สสู่ งั คม สงู อายแุ ลว้ และประชากรโลกในภาพรวมมแี นวโนม้ จะมผี สู้ งู อายใุ นสดั สว่ นทส่ี งู ขน้ึ จงึ เปน็ ประเดน็ ทไ่ี ดร้ บั ความสำ� คญั มากข้ึน ส่วนกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิเป็นปัญหาในบริบทของประเทศไทยซ่ึงประกอบด้วยกลุ่มย่อย 3 กลุ่ม ท่ีมีลักษณะของปัญหาแตกต่างกัน ได้แก่ กลุ่มแรงงานต่างด้าวจากประเทศเพ่ือนบ้าน กลุ่มคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ และกลุ่มผู้แสวงหาที่พักพิง/ผู้ลี้ภัย ซ่ึงในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ แม้ว่าจะไม่มีสนธิสัญญาหลัก ด้านสิทธิมนุษยชนรองรับเป็นการเฉพาะ แต่ประเทศไทยยังมีพันธกรณีต้องคุ้มครองสิทธิของประชากรใน 2 กลุ่ม ดังกล่าวตามทไ่ี ด้รับการรับรองในกตกิ า ICCPR กตกิ า ICESCR และอนสุ ญั ญา CERD 4.1  สิทธิเดก็ ภาพรวม อนุสญั ญา CRC เป็นอนุสัญญาทร่ี ับรองสิทธิเด็กไวห้ ลายประการ ความหมายของเดก็ ตามอนสุ ัญญาฯ กหามราสยง่ ถเสึงรผมิู้มแีอลาะยคุตมุ้ �่ำคกรวอ่างส1ทิ 8ธเิ ดปก็ ี ตเวา้นมอแนตสุ่จญัะบญรารฯลมุนหีิตลิภกั ากวาะรก4่อนปหรนะก้าานร้ันไตดาแ้ มกก่ กฎาหรมไมาเ่ ยลออื ื่นกทป่ีฏใชบิ ้บตั ังติ คอ่ ับเดกก็ับ1เด9็ก5 การคำ� นงึ ถงึ ประโยชนส์ งู สดุ ของเดก็ ในทกุ การกระทำ� ทเ่ี กย่ี วกบั เดก็ การคมุ้ ครองสทิ ธขิ องเดก็ ในการมชี วี ติ อยรู่ อด และการพัฒนาและการรับฟังความเห็นของเด็กตามสมควรแก่อายุและวุฒิภาวะ นอกจากนี้ อนุสัญญาฯ ยังได้รับรองสิทธิอ่ืน ๆ อีกหลายด้าน เช่น สิทธิท่ีจะมีมาตรฐานการด�ำรงชีวิตที่เพียงพอส�ำหรับการพัฒนา ของเด็ก สทิ ธิดา้ นการศึกษา สิทธิด้านสขุ ภาพ สทิ ธิท่จี ะไม่ถูกแทรกแซงในความเป็นส่วนตัวโดยมชิ อบ สิทธิ ที่จะได้รับความคุ้มครองจากความรุนแรงและการถูกแสวงประโยชน์ และการปฏิบัติต่อเด็กที่ถูกกล่าวหา ทางอาญา เป็นตน้ 195 ข้อ 2 (1) ของอนุสัญญาฯ บัญญัติว่า รัฐภาคีจะเคารพและประกันสิทธิตามที่ก�ำหนดไว้ในอนุสัญญาน้ีแก่เด็ก แต่ละคนท่ีอยใู่ นเขตอำ� นาจของตน โดยปราศจากการเลอื กปฏิบัติไมว่ ่าชนดิ ใด ๆ โดยไม่คำ� นึงถึงเชอื้ ชาติ สผี วิ เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเหน็ ทางการเมืองหรือทางอ่ืน ต้นก�ำเนิดทางชาติ ชาตพิ นั ธุ์ หรอื สังคม ทรพั ย์สนิ ความทุพพลภาพ การเกิดหรือสถานะ อน่ื  ๆ ของเดก็ หรือบิดามารดา หรือผปู้ กครองตามกฎหมาย.

คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ 98 National Human Rights Commission of Thailand รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่รับรองสิทธิของเด็กไว้ในมาตรา 54 ซงึ่ กำ� หนดใหร้ ฐั มหี นา้ ทใ่ี นการดำ� เนนิ การใหเ้ ดก็ ทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพ รวมถงึ การดแู ลเดก็ เลก็ เพื่อให้ได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัยก่อนเข้ารับการศึกษา นอกจากน้ี มาตรา 71 ในหมวดแนวนโยบายแหง่ รฐั ยงั ไดก้ ำ� หนดใหร้ ฐั พงึ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ประชากรเฉพาะกลมุ่ รวมถงึ เดก็ ใหส้ ามารถ ด�ำรงชีวิตได้อยา่ งมคี ุณภาพ คมุ้ ครองปอ้ งกันไม่ใหเ้ ดก็ ถกู ใชค้ วามรนุ แรงหรอื ปฏบิ ัตอิ ยา่ งไม่เป็นธรรม และให้การบ�ำบดั ฟ้นื ฟูและเยยี วยาเดก็ ทถี่ ูกกระท�ำดงั กล่าว คณะกรรมการประจ�ำอนุสัญญา CRC ได้มีข้อสังเกตและข้อเสนอแนะต่อสถานการณ์สิทธิเด็กของประเทศไทย ในการพิจารณารายงานการปฏิบัตติ ามอนุสัญญาฯ เมื่อวนั ที่ 24 - 25 มกราคม 2555 ในหลายประเดน็ เชน่ รัฐภาคี ควรมีมาตรการลดการเสยี ชวี ติ ของเด็กจากการจมน้�ำและอุบตั ิเหตทุ างถนน การขจดั การใช้ความรนุ แรงต่อเดก็ รวมถงึ การลงโทษทางร่างกายต่อเด็กและส่งเสริมการสร้างวินัยโดยไม่ใช้ความรุนแรง การปรับปรุงบริการด้านสุขอนามัย เอจารทิญิ เพดัน็กธโยุ์แกกย่วา้ัยยรถุ่นนิ่ กฐาานรใหเด้เดก็ ถ็กูกปแฐสมววงัยปไดระ้รับโยกชานรท์พาัฒงนเพาศอแยล่าะงรทอาบงเดศ้ารนษฐแกลจิ ะกแาลระคเดุ้ม็กคใรนอกงรเดะ็กบใวนนสกถาารนยกตุ าธิ รรณรม์พ1ิเ9ศ6ษต่าง ๆ ในรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 กสม. ได้มีข้อเสนอแนะ ตอ่ รฐั ในเรอ่ื งการลดอตั ราการเสยี ชวี ติ ของเดก็ การสรา้ งความตระหนกั แกพ่ อ่ แมแ่ ละผปู้ กครองในการดแู ลความปลอดภยั ของเด็ก การป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก การคุ้มครองดูแลเด็กท่ีตกเป็นเหย่ือของการแสวงประโยชน์ทางเพศ การคมุ้ ครองเดก็ จากภยั สอื่ ออนไลน์ การปอ้ งกนั การกระทำ� ผดิ ของเดก็ และการนำ� มาตรการพเิ ศษมาใชแ้ ทนการดำ� เนนิ คดอี าญาต่อเด็ก ทัง้ นี้ ในปี 2562 มีสถานการณ์สิทธเิ ดก็ การด�ำเนินการของรัฐบาลและหนว่ ยงานของรฐั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ปัญหาและอุปสรรคด้านการสง่ เสริมและค้มุ ครองสิทธเิ ดก็ ดงั นี้ 1. การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เม่ือวันท่ี 24 เมษายน 2562 รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 เพอ่ื รองรบั การดำ� เนินการคุ้มครองและดแู ลเด็กปฐมวัยตามมาตรา 54 ของรฐั ธรรมนญู ฯ ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว เดก็ ปฐมวยั หมายถงึ เดก็ ทม่ี อี ายตุ �่ำกว่า 6 ปี และรวมถึงเดก็ ท่ตี ้องไดร้ บั การพฒั นากอ่ นเขา้ เรียนในชั้นประถมศกึ ษาดว้ ย การพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรา 5 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ครอบคลุมตั้งแต่การให้มารดาได้รับการดูแล ในระหวา่ งตง้ั ครรภเ์ พอ่ื ใหบ้ ตุ รทอ่ี ยใู่ นครรภม์ สี ขุ ภาวะและพฒั นาการทด่ี ี การดแู ลใหเ้ ดก็ ปฐมวยั อยรู่ อดปลอดภยั และไดร้ บั ความคุ้มครองให้พ้นจากการล่วงละเมิด การให้เด็กปฐมวยั มีพฒั นาการทด่ี รี อบดา้ นทั้งทางร่างกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ เสดังก็คปมฐมแวลัยะ1ส9ต7ิปัญญาให้สมกับวัย ไปจนถึงการให้ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยได้รับความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในการพัฒนา รฐั บาลใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และไดเ้ รมิ่ ดำ� เนนิ โครงการเงนิ อดุ หนนุ เพอื่ การเลยี้ งดเู ดก็ เลก็ มาตั้งแต่ปี 2558 โดยในระยะแรกให้เงินช่วยเหลือเดือนละ 400 บาทส�ำหรับเด็กอายุไม่เกิน 1 ปี หลังจากนั้น 196 From Consideration of reports submitted by States parties under article 44 of the Convention, Concluding observations: Thailand. (CRC/C/THA/CO/3-4), Committee on the Rights of the Child, 17 February 2012. 197 ดรู ายละเอียดเพ่ิมเตมิ ที่ บทท่ี 3.1 สทิ ธดิ ้านการศึกษา

99 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ได้มีการเพิ่มเงินช่วยเหลือเป็น 600 บาท และขยายอายุเด็กที่จะได้รับเงินอุดหนุนจาก 1 ปีเป็น 3 ปี198 ต่อมาเม่ือวันที่ 26 มีนาคม 2562 คณะรัฐมนตรีได้มีมติขยายระยะเวลาและฐานรายได้ของกลุ่มเป้าหมาย การรับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด โดยให้ขยายระยะเวลาให้เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ปี เดือนละ 600 บาท จากเดิมท่ีให้เด็กแรกเกิดถึง 3 ปี และขยายฐานรายได้ครัวเรือนละ ไม่เกิน 100,000 บาทต่อคนต่อปี จากเดิมรายได้ไม่เกิน 36,000 บาทต่อคนต่อปี โดยข้อมูลจากรายงาน การตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการเงนิ อุดหนุนประจำ� ปี 2561 พบวา่ เดก็ ท่ไี ด้รับเงินอุดหนนุ เลย้ี งดูเดก็ แรกเกดิ ได้รับ ประโยชนม์ ากกวา่ ทง้ั ในดา้ นภาวะโภชนาการและการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางสงั คม สว่ นการขยายฐานรายได้ เปน็ ไปเพอ่ื ให้ เสดอก็ ดใคนลค้อรองกบับคกรวัายรใาชก้ฐจานนหเรกอืณเสฑย่ี ์รงาตยอ่ ไคดว้ขาอมงยผาู้มกีรจานยเไพดม่ิ้นข้อน้ึ ยแตลาะมไโมคซ่ รำ้�งซกอ้านรลกงบั ทสะทิ เธบปิ ียรนะเโพย่ือชสนวอ์ ัสน่ื ด ๆิกาขรอแงหรฐั่งใรนัฐปคจั รจอบุ บนั ค1ล9ุม9 4บทที่ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ท่ีมา: INN news 2. การเสยี ชวี ติ ของเด็ก 2.1 การเสยี ชีวิตจากการจมนำ้� เม่ือต้นปี 2562 กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดเผยข้อมูลว่า การจมน�้ำเป็นสาเหตุท่ีท�ำให้เด็กอายุ ต่ำ� กวา่ 15 ปี เสียชีวติ สูงเป็นอันดับ 1 มากกว่าโรคตดิ เช้ือและไมต่ ดิ เช้ือ ในรอบ 10 ปี พบวา่ มเี ด็กจมน้�ำเสยี ชีวิต เฉลยี่ สงู ถงึ ปลี ะ904คนหรอื วนั ละ2.5คนโดยชว่ งปดิ เทอมภาคฤดรู อ้ นจะเปน็ ชว่ งเวลาทม่ี เี ดก็ จมนำ�้ เสยี ชวี ติ สงู สดุ ของทกุ ปี ในชว่ งเดอื นมนี าคม - พฤษภาคม 2561 มเี ดก็ จมนำ�้ เสยี ชวี ติ ถงึ 231 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 34 ของเดก็ ทจ่ี มนำ�้ ตลอดทงั้ ปี 198 จาก โครงการเงนิ อดุ หนนุ เพอื่ การเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกดิ ของประเทศไทยชว่ ยครอบครวั ยากจนใหม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ , โดย ยูนิเซฟ ประเทศไทย, 2562. สืบค้นจาก https://www.unicef.org/thailand/th/โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดู เดก็ แรกเกิดของประเทศไทย 199 จาก สรปุ สาระส�ำคญั การประชมุ คณะรัฐมนตรี วนั ท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๒, โดย รฐั บาลไทย, ๒๕๖๒. สบื ค้นจาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/docfile/20190327123614.pdf

คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 100 National Human Rights Commission of Thailand เกอื บครง่ึ หนงึ่ ของเหตกุ ารณพ์ บวา่ เปน็ การชวนกนั ไปเลน่ นำ้� เปน็ กลมุ่ ตง้ั แต่ 2 คนขนึ้ ไป สว่ นใหญข่ าดทกั ษะการเอาชวี ติ รอด ในน้�ำและไมร่ ู้วธิ ีการช่วยเหลือท่ถี กู ต้อง แหล่งน้�ำท่ีเดก็ จมน้�ำมากที่สดุ คอื แหล่งน้�ำตามธรรมชาติ 7 17สคำ� หนรบัในสปถติี 2เิ ด5ก็ 6ทเ่ี0ส2ยี 0ช0วี ติ สจา่วกนกใานรปจีม2น5ำ้� 6ขอ้2มลูขจ้อามกูลกรระมหควว่บางคเมุดโือรนคพมกบรวาา่ คในมป -ี 2กัน5ย6า1ยมนจี ำ�2น5ว6น268พ1บควน่า ลดลงจาก มเี ดก็ เสยี ชวี ติ จากการจมนำ้� 495 ราย สว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ 60.6) อยใู่ นชว่ งอายุ 5 - 14 ปี ชว่ งปดิ ภาคเรยี นยงั คงเปน็ ชว่ งเวลา ที่เด็กเสียชีวิตจากการจมน�้ำมากที่สุด โดยต้ังแต่วันท่ี 1 มีนาคม - 23 เมษายน 2562 เกิดเหตุเด็กตกน้�ำ จ�ำนวน 49 เหตกุ ารณ์ เสยี ชวี ติ รวม 53 ราย สว่ นใหญอ่ ยใู่ นวยั เรยี น อายุ 5 - 9 ปี หรอื รอ้ ยละ 41.5 รองลงมา คอื อายุ 10 - 14 ปี ร้อยละ 35.8 เสหาตเุกหาตรุเณกิด์ เจสาียกชกีวติารรวชมวน1ก9ันรไปายเลส่นว่ นน้�ำใหเอญงเ่เกปดิ ็นจกาลกุ่มกาตราฝมา่ แฝหนื ลเล่งน่ นน้�ำ้ำ�ธใรนรจมุดชแาจตง้ ิเตแอื ลนะอพนั บตเรสาียยช2ีว0ิต1ต้ังแต่ 2 ราย ขน้ึ ไป 9 ทงั้ น้ีกระทรวงสาธารณสขุ ไดใ้ หท้ กุ จงั หวดั รว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งลดอตั ราการเสยี ชวี ติ จากการจมนำ�้ ของเดก็ อายตุ ำ�่ กวา่ 15 ปลี งรอ้ ยละ 50 ภายในปี 2564 หรอื จำ� นวนการเสยี ชวี ติ ตอ้ งไมเ่ กนิ 360 คน และมกี ารกำ� หนดให้ วันเสาร์แรกของเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันรณรงค์ป้องกันเด็กจมน้�ำ โดยในปี 2562 กรมควบคุมโรคได้เชิญชวน ประชาชนชว่ ยกนั รณรงค์ “บ้านเร่ิม ชมุ ชนร่วม ปอ้ งกันเด็กจมน้�ำ” ชว่ งปิดเทอมฤดูร้อนเพ่ือให้ผู้ปกครอง ผู้ดแู ลเด็ก และชุมชนตระหนักถึงโอกาสเส่ียงและวิธีการป้องกันการจมน้�ำ รวมท้ังร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผลักดัน ใเพห่อื้เกเอิดาทชีมวี ผิตกู้ รอ่ อกดารฝดกึ ีอปยฏา่ บิ งัตนกิอ้ ายรตช�ำ่วบยลฟลื้นะค1ืนชทพี ีม(ชCว่ aยrdกiนั oดp�ำuเlนmินoกnารaryอาRทeิ sกuาsรcจitดัaกtiาoรnแ:หCลP่งRน)�ำ้2เ0ส2ยี่ ง สอนหลักสูตรวา่ ยน�ำ้ ทม่ี า: ส�ำนักโรคไมต่ ดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค 200 จาก สถานการณ์เด็กจมน้�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และมาตรการป้องกัน, โดย ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก http://thaincd.com/document/file/drowning/สถานการณป์ อ้ งกนั เด็กจมน�ำ้ _พ.ศ._2561.pdf 201 จาก สธ. ห่วงสถานการณ์เด็กจมนำ้� ชว่ งปดิ เทอม แนะตดิ อุปกรณช์ ว่ ยลอยตวั ไปดว้ ยทุก, โดย กรงุ เทพธุรกิจ, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/834042 202 จาก สธ. เปดิ สถติ พิ บเดก็ ไทยจมนำ�้ เสยี ชวี ติ เปน็ อนั ดบั หนงึ่ เฉลย่ี ๙๐๔ คนตอ่ ป,ี โดย วอยซอ์ อนไลน,์ ๒๕๖๒. สบื คน้ จาก http://www.voicetv.co.th/read/3ObP_Bezq

101 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ 2.2 การเสยี ชวี ติ จากอบุ ตั ิเหตทุ างถนน 4บทที่ เมื่อวันท่ี 16 พฤษภาคม 2562 ศูนย์วิชาการเพ่ือความปลอดภัยทางถนนได้เปิดเผยข้อมูลว่า ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล รในวชมว่ ง157,ป6ี 3คือ4ระรหาวย่างหปรี 2ือ5เฉ5ล6ี่ย ป- 2ีล5ะป6ร0ะเมดา็กณและ3เ,ย5า0วช0นตรา้งั แยตส่แรากเหเกตดิ ุหจลนักถมงึ า1จ9ากปอีเุบสียัตชิเหีวติตจุราถกจอักุบรัตยเิาหนตยุทนาตงถ์2น0น3 เฉพาะในปี 2560 มเี ดก็ และเยาวชนอายุ 10 - 19 ปี เสยี ชวี ติ ดว้ ยอบุ ตั เิ หตจุ ำ� นวน 3,526 คน และกลมุ่ เหลา่ นข้ี บั ข่ี รถจกั รยานยนตโ์ ดยมีอตั ราการสวมหมวกนิรภัยเพียงร้อยละ 7 สอดคล้องกับขอ้ มูลในรายงานสถานการณโ์ ลกดา้ น ความปลอดภยั ทางถนนประจำ� ปี 2561 ขององค์การอนามยั โลก (World Health Organization : WHO) ทร่ี ะบุ วา่ ประเทศไทยมีสดั สว่ นการเสียชวี ิตจากรถจกั รยานยนต์สูงถงึ ร้อยละ 74 ส่วนในปี 2562 มีข้อมลู เด็กทีเ่ สยี ชวี ิต จขาับกขอร่ี ุบถจตั กัิเหรตยทุานางยถนนตนข์ อจงำ� เนดวก็ นคือ1เ,พ8ือ่ 6ใ4ชใ้ รนากยารเปเด็นินเพทศางชไาปยโร1ง,เ4รยี2น7หรราือยในแชลีวะติ เพปรศะหจญำ� ิงวนั 423074 ราย วตั ถุประสงค์ในการ จากสถานการณท์ ม่ี ีเดก็ เสียชวี ติ จากอุบตั ิเหตทุ างถนนจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะจากรถจักรยานยนต์ เมอื่ วนั ที่ 8 สงิ หาคม 2562 กระทรวงสาธารณสขุ และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครฐั องคก์ รสาธารณประโยชน์ ภาคประชาสงั คม ภาคธรุ กจิ เอกชน และสถานศกึ ษา ได้ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์เพ่ือการขบั เคล่ือนความรว่ มมือ ความปลอดภยั ทางถนนส�ำหรบั กลุม่ เด็กและเยาวชน โดยก�ำหนดมาตรการส�ำคัญ 3 ประการ คอื การมที างเลือก ในการเดนิ ทาง โดยเฉพาะการจัดใหม้ ีรถรับ - สง่ นักเรยี นที่มีมาตรฐานและปลอดภัย การสง่ เสริมใหเ้ ด็กและเยาวชน ต้องสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งท่ีใช้รถจักรยานยนต์โดยไม่มองข้ามว่าเป็นเพียงการขับขี่เดินทางเพียงระยะสั้น และ ใกนารระนย�ำะขย้อามวูล2ส0ถ5ิติการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุในกลุ่มเด็กและเยาวชนไปก�ำหนดแนวทางป้องกันอุบัติเหตุ 2.3 การเสยี ชวี ิตจากการฆา่ ตวั ตาย มธั ยมป ลายห ลายเใหนตชกุ ่วางรตณ้น2์ป0ี 62แ5ม6ว้ 2า่ สไถดติ ้ปกิ ราารกฆฏา่ ตรวัาตยางยานขอขง่ากวลกมุ่ารอฆาย่าุต0ัว -ต 1า9ยขปอจี งะเดม็กจี ำ�นนักวเรนียนนอ้ รยะเมดอื่ับเชทั้นยี มบัธกยบั มกตล้นมุ่ แอลายะุ อยงันื่ มกจี ลำ� า่นววคนอื นมอ้ จียำ�กนววา่ นใน1ป3ี 215ร6า0ยจทามี่กจีจำ�ำ� นนววนนผ1ฆู้ 4า่ 0ตวั รตาายย2ท0ง้ั 7สแนิ้ ต4ก่ ,า1ร3เก7ดิ คเหนตหกุ ราอื รเณพด์ยี งงั รกอ้ลยา่ ลวบะอ่3ย.2ครแง้ั ลกะเ็ ปเดน็ ก็ สทถฆ่ี าา่ นตกวั าตราณย์ ทีค่ วรมกี ารเฝ้าระวงั ติดตามอยา่ งใกลช้ ดิ 203 จาก สถติ ิช้ี ๕ ปีเด็กไทยเสียชีวิตจากอุบตั เิ หตุทางถนน ๑๗,๖๓๔ ราย, โดย ศูนยข์ อ้ มูลและขา่ วสืบสวนเพอื่ สทิ ธิ พลเมอื ง, ๒๕๖๒. สบื ค้นจาก https://www.tcijthai.com/news/2019/5/current/9059 204 จาก เด็กกับชีวิตบนถนน ความเส่ียงภัย ที่(ไม่)จ�ำเป็นต้องเจอ, โดย คมชัดลึก, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.komchadluek.net/recommended/lifestyle/231453 205 จาก อันตราย! เด็กและเยาวชน ๑๐ - ๑๙ ปีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุกว่า ๓ พันคน ร่วมขับเคล่ือนหาทางออก, โดย ส�ำนกั ขา่ ว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๒. สบื คน้ จาก https://www.hfocus.org/content/2019/08/17492 206 เช่น กรณีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผูกคอเสียชีวิตท่ีจังหวัดระยองเม่ือเดือนมีนาคม 2562 กรณีนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่จังหวัดปราจีนบุรี และนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่จังหวัดศรีสะเกษ กระโดดตึกเรียนเสียชีวิต เมอ่ื เดอื นกรกฎาคมและสงิ หาคม 2562 ตามลำ� ดับ เปน็ ตน้ . 207 จาก รายงานจ�ำนวนการฆา่ ตัวตายของประเทศไทย แยกตามชว่ งอาย,ุ โดย กรมสุขภาพจิต, ๒๕๖๒. สบื คน้ จาก https://www.dmh.go.th/report/suicide/age.asp

คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 102 National Human Rights Commission of Thailand ในการดูแลสุขภาพจิตของประชาชน กรมสุขภาพจิตมีบริการให้ค�ำปรึกษาผ่านสายด่วน 1323 ซ่ึงในปีงบประมาณ 2561 มีกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 11 - 25 ปี โทรเข้ามาปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตมากข้ึน คือ 24,471 ปคี จรัง้�ำนจวานกผ1ู้โ0ท,ร2เข9า้ 8มาคใรชงั้ ้บ2ร0กิ 8ารสท่วนงั้ สในิน้ ช7่วง06,53เด4ือนคแรรัง้ กขหอรงอื ปคีงดิ บเปปน็ระร้อมยาณละ23546.27 เปน็ กลมุ่ เดก็ และวัยรุ่นอายุ 11 - 19 มีผู้โทรศพั ทเ์ ข้ามาใชบ้ ริการ สายด่วนปรึกษาสุขภาพจิต 1323 ทั้งสิ้น 40,635 ครั้ง เป็นกลุม่ เด็กและเยาวชนอายุ 11 - 25 ปี จำ� นวน 13,658 คครวัง้ามเมรกัือ่ จซ�ำมึแเนศกรตา้ าแมลปะรมะีคเภวาทมขคอิดงหปรัญือหคาวพาบมพวา่ ยาสยดั าสมว่ ฆนา่ขตอวั งตเดาก็ยมแลแี ะนเวยโานวม้ ชเนพทมิ่ ี่มขปีน้ึ ัญ20ห9าความเครียดหรอื วิตกกงั วล ปัญหา ในแตล่ ะปีสายดว่ น1323มผี โู้ ทรเขา้ ประมาณ800,000สายแตส่ ามารถใหบ้ รกิ ารไดเ้ พยี ง80,000สาย แ2ม5ว้6่า3จะจมะีกมาเี พรเมิ่ ปคิดสู่ เาพยจขอ1ง3ห2ม3ายเปลรขึก1ษ3าป2ญั3หรวามสทุขภงั้ ใาชพเ้ ทจคิตโนกโย็ ลงั ยไีมCส่hาaมtาbรoถtใทหาบ้ งรแิกอาปรพไดล้อเิ คยช่านังเlพinียeงพในอกาซรึง่ ใใหนค้ปำ� งี ปบรปกึ รษะาม2า1ณ0 รวมถึงการเพิ่มช่องทางให้บริการออนไลน์ผ่านโรงพยาบาลเสมือน (virtual hospital) ลดเส่ียงภาวะซึมเศร้าและ ฆา่ ตัวตายในเดก็ และวยั รุ่น เป็นการใหค้ �ำปรึกษาผ่านแพลตฟอร์มอูกา้ (Ooca) ในโครงการกำ� แพงพกั ใจส�ำหรบั เด็กและ เยาวชนอายุ 10 - 24 ปี โดยผรู้ บั บริการสามารถพบกบั จติ แพทย์หรือนักจิตวิทยาผ่านช่องทางออนไลนไ์ ดท้ ้งั บนมือถือ แในลมะหคาอวมทิ พยิวาเลตยั อขรอ์โดงรยฐั ไบม่ตาง้อแงหเดง่ แินลทว้ างแแลละะจเะขข้ายราับยบบรริกกิ าารรไใดห้ทค้ ุกรเอวบลคาลรมุ วเมดก็ทแั้งมละีคเวยาามวเชปน็นอสา่วยนุ 1ต0ัวส - ูง24ขณปะี กนล้ีเมุ่ปอ็นนื่ กตาอ่รไนป�ำ2ร1่อ1ง นอกจากน้ี กรมสขุ ภาพจติ ยงั มกี ารใหข้ อ้ มลู ความรเู้ กย่ี วกบั สาเหตแุ ละการปอ้ งกนั การฆา่ ตวั ตายของวยั รนุ่ คแกรูแ่สนถะานแนศวึก2ษ1า2ในสรว่ ะนดใับนกรละุ่ดมบัโรปงรเระียเทนศไดม้ชีก่วารยปพรัฒะนกาาศศัใกชย้พภราะพราเชคบรญั่ืองญมตั ือสิ ขุแภลาะพระจบติ บ(ฉบบริับกาทรี่ ส2่ง)ตพ่อ.ศร. ว2ม5ถ6ึง2พัฒโดนยาไอดบ้เพริ่มม ทอำ�ค่ี นุกาคจาหมนสา้ขุ ทภค่ี าณพจะติกรรรวมมกทาั้งรกสาขุ รภเขาา้พถจึงติ บแรหกิ ง่าชราดต้าใินหสค้ ขุ รภอาบพคจลติ มุ ดดว้ า้ ยน2ก1า3รสรา้ งเสรมิ การปอ้ งกนั และการควบคมุ ของปจั จยั 208 จาก นา่ หว่ ง! วยั รนุ่ ฆา่ ตวั ตายเพมิ่ จาก ๕ สาเหตุ แนะคนรอบขา้ งปฏบิ ตั กิ าร ๓ ส., โดย เดอะ แบงคอก อนิ ไซด,์ ๒๕๖๒. สืบคน้ จาก https://www.thebangkokinsight.com/160510/ 209 จาก เยาวชนไทยเส่ียงเป็นภาวะซึมเศร้า - ฆ่าตัวตายแนวโน้มสูงขึ้น, โดย ส�ำนักข่าวอิศรา, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/thaireform/thaireform-documentary/77277-nesdb-77277.html 210 จาก ใน ๑ ปี เรามีผู้ที่โทรเข้ามา ประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ สาย [ความคิดเห็นเฟซบุ๊ก แฟนเพจ], โดย 1323 ปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต, 2562, กันยายน 26. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/1685375791718372/ posts/2357412407848037?d=n&sfns=mo 211 จาก กรมสุขภาพจิตเพ่ิมช่องทางให้การปรึกษาออนไลน์ ผ่านโรงพยาบาลเสมือน (VIRTUAL HOSPITAL) ลดเสี่ยง ภาวะซมึ เศรา้ และฆา่ ตัวตายในเด็ก - วยั ร่นุ , โดย กรมสขุ ภาพจิต, ๒๕๖๒. สบื ค้นจาก http://www.prdmh.com/ข่าวสาร/ข่าวแจก กรมสขุ ภาพจติ /1399-กรมสขุ ภาพจติ -เพมิ่ ชอ่ งทางใหก้ ารปรกึ ษาออนไลน-์ ผา่ นโรงพยาบาลเสมอื น-virtual-hospital-ลดเสย่ี งภาวะ ซึมเศร้าและฆา่ ตวั ตายในเดก็ -วยั รุ่น.html 212 จาก เตรียมประสาน ๕๐ สถาบันอุดมศึกษา มี นศ. เกินหม่ืนคน ต้ังคลินิกเฝูาระวัง ‘ซึมเศร้า - ฆ่าตัวตาย’, โดย ศูนย์ข้อมูลและขา่ วสืบสวนเพื่อสทิ ธิพลเมอื ง, ๒๕๖๒. สืบคน้ จาก https://www.tcijthai.com/news//3/2019current/8875 213 จาก หนงั สอื กระทรวงสาธารณสขุ ที่ สธ ๐๒๐๙.๐๓/๒๒๔๖ ลงวันท่ี ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๒ เรอ่ื ง รายงานประเมิน สถานการณด์ า้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑ การปฏบิ ตั งิ านคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๑.

103 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ 3. การกระท�ำรุนแรงต่อเด็ก ขอ้ มลู จากการดำ� เนนิ งานของศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม 1300 ในปงี บประมาณ 2561 มเี ดก็ ถกู กระทำ� รนุ แรง รวม 1,222 คน แบ่งเปน็ การกระท�ำรนุ แรงในครอบครวั จำ� นวน 681 คน และนอกครอบครัว จำ� นวน 541 คน ลดลงจากปงี บประมาณ 2754670คทนมี่ 2เี ด1ก็4ถสกู ่กวนระในทชำ� ร่วนุงแ6รงรเวดมือน1แ,5ร8ก8ขอคงนปเีงปบน็ ปกราะรมการณะทำ�2ร5นุ 6แร2งใ(น1ครตอุลบาคครมวั 841 คน นอกครอบครัวจ�ำนวน 2561 - 31 มนี าคม 2562) มผี ถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรง จำ� นวน 1,685 คน เปน็ ความรนุ แรงในครอบครวั จำ� นวน 1,149 คน ในจำ� นวนนเี้ ปน็ เดก็ และเยาวชนทง้ั สนิ้ 492 คน และเปน็ ความรนุ แรงภายนอกครอบครวั จำ� นวน 536 คน ในจำ� นวนน้ี เป็นเดก็ และเยาวชนท้ังสน้ิ 377 คน ดงั รายละเอียดปรากฏตามตารางท่ี 3 ในดา้ นลักษณะของความรนุ แรงพบวา่ อันดบั หนง่ึ คอื สกว่ารนทให�ำรญา้ เ่ยกรดิ ่าจงากกากยาโดรกยรปะัจทจ�ำยั ขเกอิดงคจนากใกกลารช้ ดิด่ืมสสถุราานทยเี่ากเสิดพเหตติดุคคือวภาามยไใมน่เบขา้้าในจ2ก1ัน5ขณะท่ีการลว่ งละเมิด ทางเพศในเด็ก ตารางที่ 3 สถติ ิเดก็ ถูกกระท�ำรุนแรงของศูนย์ช่วยเหลือสังคมปีงบประมาณ 2560 - 2562 เด็กถูกกระทำ�รนุ แรงทง้ั หมด (คน) ปี 2560* ปี 2561* ปี 2562** 4บทที่ 1. ในครอบครวั 1,588 1,222 869 ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล - ถกู ทำ�ร้าย - ถูกลว่ งละเมิดทางเพศ 841 681 492 - ถูกลวนลาม/กระทำ�อนาจาร 517 413 347 - ถูกทอดทิ้งในทีส่ าธารณะ 176 159 95 - อน่ื  ๆ 25 36 17 2. นอกครอบครวั 103 73 33 - ถูกทำ�ร้าย 20 - ถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ 747 - - - ถูกลวนลาม/กระทำ�อนาจาร 227 541 377 - อ่นื  ๆ 328 166 104 66 294 216 126 81 57 - - * ขอ้ มูลจากเวบ็ ไซตศ์ ูนย์ช่วยเหลือสงั คม สายดว่ น 1300 ** ขอ้ มลู ระหว่างเดอื นตลุ าคม 2561 - มีนาคม 2562 214 จาก สถติ สิ ายดว่ น ๑๓๐๐ , โดย ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม, ๒๕๖๒ . สบื คน้ จาก https://1300thailand .msociety.go.th/ records 215 จาก รนุ แรงในครอบครัว “อย่านง่ิ ” ตอ้ งแจง้ เจ้าหนา้ ท,่ี โดย สำ� นักงานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/48440-รุนแรงในครอบครัว%20อย่าน่ิง%20%20ต้องแจ้ง เจา้ หน้าท่ี.html

คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 104 National Human Rights Commission of Thailand กฎหมายหลกั ทคี่ มุ้ ครองเดก็ จากการถกู กระทำ� รนุ แรงมี 2 ฉบบั ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 และพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 แต่เม่ือเดือนพฤษภาคม 2562 ไดม้ กี ารตราพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาและคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2562 เพอ่ื ใชแ้ ทนกฎหมายคมุ้ ครอง คผถู้วากู มกผรดะิ ททำ�ารงนุอาแญรงาใสนาคมราอรบถคยรอวั มพค.วศา.ม 2ไ5ด5เ้ ม0อ่ื ผโดกู้ ยรกะฎทหำ� คมวาายมฉรบนุ บั แใรหงมไดไ่ ดป้ ก้ ฏำ� บิ หตั นติ ดาใมหคก้ ำ�าสรงก่ั ครมุ้ะทครำ� อคงวสามวสัรนุดภแิ รางพใคนรคบรอถวบ้ นคแรลวั ทว้ 2เี่ ป1น็6 รวมทง้ั ไดก้ ำ� หนดใหม้ ศี นู ยส์ ง่ เสรมิ และคมุ้ ครองครอบครวั ทกุ พนื้ ทเ่ี พอ่ื เปน็ กลไกในการรบั แจง้ เหตกุ ารณก์ ารกระทำ� รนุ แรง ในครอบครัวและใหค้ วามช่วยเหลือผูท้ ่ีถูกกระทำ� รุนแรง ซ่งึ องค์กรภาคประชาสงั คมบางส่วนมีขอ้ หว่ งกงั วลวา่ กฎหมาย ดังกล่าวมีบทบัญญัติที่เปิดโอกาสให้มีการไกล่เกล่ียกรณีการกระท�ำรุนแรงในครอบครัว อาจมีการให้ความส�ำคัญกับ การคงไว้ซ่ึงสถาบันครอบครัวมากกว่าผลกระทบท่ีอาจเกิดกับผู้ถูกกระท�ำรุนแรง และอาจท�ำให้ผู้เสียหายมีความเสี่ยง ที่จะถูกกระท�ำรุนแรงซ�้ำ อย่างไรก็ดี เม่ือวันท่ี 23 สิงหาคม 2562 รัฐบาลได้ออกพระราชก�ำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2562 เพ่ือขยายก�ำหนดเวลาในการมีผล ใชบ้ งั คบั ของกฎหมายฉบบั ดงั กลา่ วเนอ่ื งจากความไมพ่ รอ้ มในดา้ นความรคู้ วามสามารถ ความเชยี่ วชาญและประสบการณ์ ของบคุ ลากรที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ รัฐบาลอยู่ระหว่างการจัดท�ำร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. .... ซึ่งมีวัตถุประสงค์ส�ำคัญ คอื การปรบั ปรงุ กลไกและกระบวนการคมุ้ ครองเดก็ โดยเพม่ิ คณะกรรมการระดบั เขตและพนื้ ท่ี การกำ� หนดกระบวนการ และวิธีปฏิบัติในการคุ้มครองเด็กอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ิมกลุ่มเป้าหมายที่จะได้ความคุ้มครองให้รวมถึงเด็กอายุต�่ำกว่า 18 ปีทกุ กรณี รวมถงึ การคมุ้ ครองเดก็ ที่เกดิ ด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจรญิ พนั ธ์แุ บบเปน็ รปู ธรรม ทั้งน้ี นอกจากการถูกกระท�ำรุนแรงในครอบครัวแล้ว ยังพบการกระท�ำรุนแรงต่อเด็กในสถานศึกษา ข้อมูล จากกรมสุขภาพจิตพบว่า การส�ำรวจในโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนรายจังหวัดเม่ือปี 2560 มีเด็ก ถกู รงั แกในสถานศกึ ษาปลี ะประมาณ 6 แสนคน โดยเดก็ ทคี่ รอบครวั ใชค้ วามรนุ แรงหรอื เดก็ ทป่ี ว่ ยโรคทางจติ เวชมกั เปน็ กลุ่มผู้รังแก ส่วนเด็กท่ีมีความเสี่ยงถูกรังแกสูงคือ เด็กที่มีปัญหาพัฒนาการช้า เด็กพิการ กลุ่มที่เป็นเด็กพิเศษ หรือ กลุ่มเพศทางเลอื ก และยงั พบวา่ สอ่ื และเทคโนโลยมี บี ทบาทสำ� คญั และเกย่ี วขอ้ งกบั พฤตกิ รรมการกลน่ั แกลง้ โดยกลมุ่ เยาวชนไทยมากกวา่ รอ้ ยละ 50 มพี ฤตกิ รรมกลนั่ แกลง้ ผา่ นโลกไซเบอรแ์ ละคกุ คามผอู้ น่ื ผา่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในปี 2560 พบนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ร้อยละ 45 มีประสบการณ์เกี่ยวกับการกล่ันแกล้งทางโลกไซเบอร์ อย่างน้อย 1 ครั้ง มากกว่าประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น 4 เท่า คนท่ีรังแกคือเพ่ือนสนิท เพื่อนคนอื่น ๆ เใดนก็หร้อักงเ พ- นศอเดกียหว้อกงันแลเดะก็ ตท่าไี่งมร่คะดอ่ ัยบมชเีั้นพอ่ื สน่ว2น1ค7นที่ถูกรังแก คือ เด็กไม่ค่อยสู้คน เด็กที่แตกต่าง เด็กเรียนรู้ช้า ออทิสติก 216 จาก ประโยชน์ท่ีประชาชนจะได้รับจากร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ .ศ. ...., โดย สำ� นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๖๒ . สืบคน้ จาก http://web.krisdika.go.th/data/outsitedata/cosok/ file/14-1-61-3.pdf 217 จาก “การรังแกกัน” จาก ร.ร. สู่ออนไลน์ต้องไม่ตอบโต้กลับแบบเดียวกนั , โดย คมชัดลึก, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/edu-health/378907

105 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ในส่วนของการปอ้ งกันการลงโทษนักเรียนด้วยวธิ รี นุ แรงนั้น กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดอ้ อกระเบยี บว่าดว้ ย การลงโทษนกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548 ซงึ่ ไดก้ ำ� หนดแนวทางการลงโทษไว้ 4 ลกั ษณะ คอื 1) วา่ กลา่ วตกั เตอื น 2) ทำ� ทณั ฑบ์ น 3) ตดั คะแนนความประพฤติ และ 4) ทำ� กจิ กรรมเพอื่ ใหป้ รบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม รวมทงั้ ไดห้ า้ มลงโทษ นกั เรยี นและนกั ศกึ ษาดว้ ยวธิ รี นุ แรง หรอื แบบกลนั่ แกลง้ หรอื ลงโทษดว้ ยความโกรธ โดยใหค้ ำ� นงึ ถงึ อายขุ องนกั เรยี น ทหรี่คือรนลู งกั โศทึกษษนากั แเรลียะนคดวว้ ายมวรธิ า้ กียาแรรรงุนขแอรงงพอฤยตู่2ิก1า8รณป์ ระกอบการลงโทษดว้ ย อย่างไรกด็ ี ในปี 2562 ยังคงมีเหตกุ ารณ์ 4. การค้มุ ครองเด็กเนื่องจากการละเมดิ ทางสื่อออนไลน์ รฐั มยี ทุ ธศาสตรส์ ่งเสริมและปกป้องคมุ้ ครองเด็กและเยาวชนในการใช้สอื่ ออนไลน์ พ.ศ. 2560 - 2564 4บทที่ รวมถงึ มกี ารจดั ตงั้ ศนู ยป์ ระสานงานปกปอ้ งคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนในการใชส้ อื่ ออนไลน์ (Child Online Protection Action Thailand: COPAT) เพอ่ื ทำ� หนา้ ทข่ี บั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรใ์ นแตล่ ะดา้ น ศนู ยด์ งั กลา่ วไดม้ กี ารสำ� รวจสถานการณ์ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล เดก็ ไทยกบั ภยั ออนไลน์ โดยจากผลการสำ� รวจพบวา่ เดก็ รอ้ ยละ 86 เชอื่ วา่ สามารถใหค้ ำ� แนะนำ� เพอื่ นไดห้ ากประสบภยั ออนไลน์ เดก็ ร้อยละ 54 เช่ือว่าจะจัดการปญั หาไดห้ ากเกดิ กับตนเอง เด็กรอ้ ยละ 39 ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ 6 - 10 ช่ัวโมง ต่อวนั เด็กรอ้ ยละ 38 เล่นเกมสอ์ อนไลน์มากกว่า 3 ชวั่ โมงตอ่ วนั มเี ดก็ ร้อยละ 31 เคยถูกกลัน่ แกล้งรงั แกออนไลน์ ในจำ� นวนนเี้ ปน็ เดก็ ทเี่ ปน็ เพศทางเลอื กมากทสี่ ดุ คอื เดก็ รอ้ ยละ 49 โดยทเ่ี ดก็ รอ้ ยละ 40 ไมไ่ ดบ้ อกใครเกยี่ วกบั เรอ่ื ง ทโ่ี ดนกลนั่ แกลง้ จากการสำ� รวจยงั พบวา่ เดก็ รอ้ ยละ 34 เคยกลนั่ แกลง้ คนอนื่ ทางออนไลน์ ซง่ึ สว่ นหนง่ึ บอกวา่ เปน็ การ โต้ตอบท่ีตนเองโดนแกล้ง เด็กร้อยละ 74 เคยพบเห็นสื่อลามกอนาจารทางออนไลน์ เด็กรอ้ ยละ 50 เคยพบเห็น ส่ือลามกอนาจารเด็ก เด็กร้อยละ 6 เคยครอบครองส่ือลามกอนาจารเด็ก เคยส่งต่อหรือแชร์ส่ือลามกอนาจาร ทางออนไลน์ และเด็กร้อยละ 2 ยอมรับว่าเคยถ่ายภาพหรือวิดีโอตนเองในลักษณะลามกอนาจารแล้วส่งให้ ทคนี่ถกูอลื่นว่ ๆงลดะ้วเยมดิ เทด็กางเ1พศในจา4กกหารรอืนปดั รเจะอมกาันณจ4�ำ,น0ว0น07ค3นคเนค2ย1น9ัดพบเพอ่ื นท่รี ้จู ักกันในโลกออนไลน์ โดยปรากฏกรณี เมือ่ วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2562 กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคง ของมนุษย์ ร่วมกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่าย จัดการเสวนา เรอื่ ง “การกลนั่ แกลง้ ออนไลน์ เดก็ ไทยจะรอดไดอ้ ยา่ งไร” ซงึ่ มนี กั วชิ าการใหข้ อ้ แนะนำ� วธิ กี ารรบั มอื กบั การกลนั่ แกลง้ ดังกล่าวว่า ควรนิ่งเฉยเพราะการตอบโต้กลับจะท�ำให้ผู้กระท�ำเกิดความสนุกและกล่ันแกล้งมากขึ้น แต่หากน่ิงเฉย แล้วยังคงถูกกลั่นแกล้งเกินกว่าที่จะรับมือไหว ควรปรึกษาครูหรือผู้ปกครองเพื่อช่วยหาวิธีจัดการ พเช.ศ่น. 2ก5า5รพ0ูด2ค20ุย หรอื ใชก้ ฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งดำ� เนนิ คดี เชน่ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทำ� ผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ 218 เชน่ กรณคี รใู ชไ้ ม้ตศี รี ษะเดก็ อายุ 7 ปีจนใบหนา้ และตา 2 ข้างบวมแดง กรณีครูใชไ้ มต้ ีก้นเด็กชน้ั ประถมศกึ ษา ปีที ่ ๔ จนบวมช้าไม่สามารถน่ังได้ และกรณีครูตบหวั ตบหน้านักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท ่ี ๑ เนือ่ งจากไมส่ ่งการบา้ น เป็นตน้ 219 จาก สถานการณเ์ ดก็ ไทยเสยี่ งภยั ออนไลน,์ โดย คมชดั ลกึ , ๒๕๖๒ . สบื คน้ จาก http://www.komchadluek.net/ news/scoop/384789 220 จาก กลั่นแกล้งออนไลน์ เด็กไทยจะรอดได้อย่างไร, โดย มติชนออนไลน์, ๒๔๖๒. สืบค้นจาก https:// www.matichon.co.th/lifestyle/children-teenagers/news_1828680

คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 106 National Human Rights Commission of Thailand ที่มา: คมชัดลึก 5. การแสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก การแสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กโดยการค้าประเวณี การผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือส่ือลามก หรือการ แสวงประโยชนใ์ นรูปแบบอนื่ เป็นความผดิ ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และ ทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ แมว้ า่ รฐั บาลจะใหค้ วามสำ� คญั กบั การปราบปรามการคา้ มนษุ ยใ์ นรปู แบบตา่ ง ๆ แตย่ งั คงปรากฏขา่ วการ ค้าประเวณีเด็กอยู่เนือง ๆ รูปแบบการค้าประเวณีมีทั้งที่กระท�ำโดยมีสถานบันเทิงบังหน้าและการซื้อขายผ่านโซเชียล มเนีเดอ่ื ยีงจเาดก็กตทอ้ ถ่ีงกกู านรำ� หมาาเคงนิ้าปไปรใะชเวจ้ ณา่ ยมี 2ีท2ัง้1ทอีถ่ งูกคหก์ ลรอภกาลควปงรบะังชคาบัสงั เคชมน่ ใหเดข้ อ้็กมชลูาววเา่ ขกาบารนคพา้ ื้นปทระีส่ เงูวณเดเี ดก็ ก็ตไา่ ดงป้ดา้รวบั เแปลละยี่ เนดเ็กปทน็ ี่สรมปู ัคแรบใบจ ออนไลน์ที่ปัจจุบันยังไม่สามารถควบคุมได้และมีเด็กจ�ำนวนมากถูกหลอกให้ท�ำอนาจารผ่านเว็บไซต์ต่าง ๆ การเข้าถึง หลกั ฐานเพอื่ ดำ� เนนิ คดที ำ� ไดย้ าก เนอ่ื งจากขอ้ มลู อยใู่ นความครอบครองของผใู้ หบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ เดก็ ทเ่ี ปน็ กลมุ่ เสยี่ ง เปน็ เปน็ กลมุ่ เดก็ ชายขอบ เช่น เด็กท่ไี ม่มสี ถานะ เปน็ ต้น เม่ือปี 2559 ได้มีการจัดต้ังคณะท�ำงานปราบปรามการล่วงละเมิดเด็กทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต (Thailand Internet Crimes Against Children หรอื ศนู ย์ TICAC) ขนึ้ ภายใตส้ ำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ นบั ตง้ั แตก่ ารจดั ตง้ั ศนู ยฯ์ จนถงึ ปี 2561 ไดม้ กี ารจบั กมุ ผกู้ ระทำ� ผดิ และดำ� เนนิ คดไี ด้ 71 คดี แบง่ เปน็ คดคี า้ มนษุ ย์ 21 คดี คดลี ว่ งละเมดิ ทางเพศเดก็ 13 คดี และคดคี รอบครองสอื่ ลามกอนาจารเดก็ 31 คดี และสง่ กลบั ออกนอกราชอาณาจกั ร 6 คดี โดยพบวา่ ผกู้ ระทำ� ความผดิ เปน็ ผตู้ อ้ งหาคนไทย 38 คนและชาวตา่ งชาตจิ ำ� นวน 35 คน ทผ่ี า่ นมา ศนู ยฯ์ ไดร้ บั เบาะแส 209 เรอื่ ง ดำ� เนินคดีไปแล้ว 121 คดี ท่ีเหลืออยรู่ ะหวา่ งการสืบสวนขยายผลต่อ ส่วนในปี 2562 ตั้งแตเ่ ดือนมกราคม - มถิ นุ ายน ศนู ยฯ์ สามารถจบั กมุ ผตู้ อ้ งหาและยงั มกี ารจบั กมุ ผกู้ ระทำ� ผดิ เพม่ิ เตมิ ทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศได้ 24 คน รวมทง้ั 221 จาก หัวข้อข่าวค้าประเวณีเด็ก, โดย ไทยรัฐออนไลน์, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/tags/ ค้าประเวณเี ดก็

107 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ชว่ ยเหลือผ้ตู กเป็นเหยือ่ ได้ 19 คนรวมถงึ เด็กอายุต่�ำกว่า 15 ปี นำ� เข้าส่กู ระบวนการเบอื้ งต้นได้ 10 คน222 ศนู ย์ฯ เช่ือว่าการกระท�ำผิดจะมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากปัจจุบันสื่อออนไลน์เข้าถึงได้ง่าย กลุ่มผู้กระท�ำผิดจึงเปล่ียน แพจฤ้งตเบิกราระมแใสชม้สา่ือยองั ศอูนนยไล์ฯนเ์เพป่อื ็นใชช่อเ้ ปงน็ทขาง้อใมนูลกใานรกลา่อรลสวบื งสผวู้เนสจียับหกายมุ มไดา2้ก2ข3ึ้น โดยผู้ที่พบเห็นการกระท�ำความผิดสามารถ 6. การคมุ้ ครองเด็กในกระบวนการยุติธรรม หลักการส�ำคัญประการหนึ่งในการปฏิบัติต่อเด็กที่กระท�ำผิดตามข้อ 40 ของอนุสัญญา CRC คือ การสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ สามารถกลับคืนสสู่ ังคมและทำ� ประโยชนแ์ กส่ ังคมได้ การนำ� มาตรการพิเศษมาใชแ้ ทนการดำ� เนิน คดีอาญาต่อเด็กจึงเป็นมาตรการส�ำคัญในการส่งเสริมเด็กตามหลักการดังกล่าว ทั้งน้ี พระราชบัญญัติศาลเยาวชน และครอบครัวและวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั พ.ศ. 2553 มาตรา 86 และมาตรา 90 กำ� หนดใหม้ ีการ จดั ทำ� แผนแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟเู ดก็ หรอื เยาวชนทตี่ อ้ งหาวา่ กระทำ� ผดิ อาญาทง้ั ในชน้ั กอ่ นฟอ้ งคดแี ละระหวา่ งการฟอ้ งคดี ได้โดยมีเงื่อนไขบางประการเพื่อให้เด็กได้แก้ไขพฤติกรรม ซ่ึงมีข้อมูลจากกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนว่า ตงั้ แตป่ ี 2558 มคี ดที เี่ ขา้ เกณฑจ์ ดั ทำ� แผนแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟตู ามมาตราดงั กลา่ วมากขนึ้ และมกี รณที ม่ี กี ารจดั ทำ� แผน สำ� เร็จมากข้ึน และระหว่างปีงบประมาณ 2559 ถึงวนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2562 ไขดอน้ ง�ำคมดาีทตัง้ รหกมาดรพ22เิ ศ4ษมาใชแ้ ทนการ ด�ำเนนิ คดีอาญาแก่เด็กและเยาวชนจำ� นวน 6,331 คดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.76 4บทที่ ทง้ั น้ี เพอ่ื เตรยี มเดก็ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการกลบั คนื สสู่ งั คม กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนมกี ารให้ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล การศกึ ษาและพฒั นาอาชพี แกเ่ ดก็ ทเี่ ขา้ สสู่ ถานพนิ จิ ฯ ตงั้ แตแ่ รกรบั โดยรว่ มกบั สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) และผปู้ ระกอบการเอกชน ท้งั วชิ าพน้ื ฐาน การฝกึ ทักษะชีวติ และการฝกึ วชิ าชพี เพอื่ สรา้ งทางเลอื กในการดำ� รงชวี ติ มกี ารประเมนิ ความเสยี่ งของเดก็ และความพรอ้ มของครอบครวั กอ่ นปลอ่ ยตวั เดก็ รวมท้ังมีการติดตามหลงั การปล่อยตวั โดยมีนกั สังคมสงเคราะห์ หน่วยงานภาครัฐ และเครอื ข่ายในชมุ ชน เช่น ผ้นู �ำ ไชดุมร้ ช้อนยลบะรษิ 9ทั 3หแ้างลระา้ มนีอตัแรลาะเอดา็กสไามส่กมรคัะรทต�ำา่ผงดิ  ๆซ้�ำมกสี ว่ว่านร้อชยว่ ยลตะิด9ต0าม22เด5็ก ท้ังนี้ ในปี 2560 - 2561 สามารถตดิ ตามเด็ก ในส่วนการปฏิบัติต่อเด็กโยกย้ายถิ่นฐาน รัฐบาลมีนโยบายท่ีจะไม่คุมขังเด็กหลบหนีเข้าเมืองตาม แนวปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งประเทศ ทผ่ี า่ นมา มกี ารปลอ่ ยตวั เดก็ โดยเจา้ หนา้ ทรี่ ฐั อนญุ าตใหแ้ มข่ องเดก็ ออกมาดว้ ย และมกี าร จัดให้แม่และเด็กอยู่ที่บ้านพักเด็กและครอบครัวของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อยา่ งไรกด็ ี แนวปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ วมกี ารดำ� เนนิ การเฉพาะหอ้ งกกั ทกี่ รงุ เทพฯ (สวนพล)ู เทา่ นนั้ ทง้ั น้ี เมอื่ วนั ที่ 21 มกราคม 2562 หน่วยงานของรัฐ 7 หน่วยงาน ประกอบด้วยส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ 222 จาก ตร. ชุด TICAC จับกุมผู้ต้องหาละเมิดทางเพศเด็ก, โดย ส�ำนักข่าว INN, ๒๕๖๒ . สืบค้นจาก https:// www.innnews.co.th/crime/news_419780/ 223 จาก TICAC โชว์ผลงาน ๒ ปี จับลว่ งละเมิดเด็กทางไซเบอร์ ๗๑ คด,ี โดย ผู้จัดการออนไลน์, ๒๕๖๑. สบื ค้นจาก https://mgronline.com/crime/detail/9610000003408 224 จาก หนงั สอื กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ด่วนทสี่ ดุ ท่ี ยธ ๐๔๑๑/๖๘๔๙ ลงวนั ที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒. 225 จาก การประชมุ รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั เพอื่ รบั ทราบขอ้ มลู เพอ่ื ประกอบการจดั ท�ำรา่ งรายงานคขู่ นานการปฏบิ ตั ติ าม อนุสญั ญาว่าด้วยสิทธเิ ด็กของ กสม. เมอื่ วันที ่ ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๒ จัดโดย ส�ำนักงาน กสม.

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 108 National Human Rights Commission of Thailand ความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงมหาดไทย การทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงาน ได้รว่ มลงนามบันทกึ ความเขา้ ใจ เรือ่ ง การก�ำหนดมาตรการและแนวทางแทนการกกั ตัวเด็กไวใ้ น สถานกักตัวคนต่างด้าวเพ่ือรอการส่งกลับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและแนวทางปฏิบัติ งานของทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องในการไม่กักตัวเด็กอายุต่�ำกว่า 18 ปีไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าว โดยจะให้อยู่ใน คแลวาะมหดาูแมลาตขรอกงากรรใะนทกราวรงชก่วายรเพหัฒลือนราะสยังะคยมาแวลตะอ่ คไวปา2ม2ม6ั่นคงของมนุษย์ องค์กรภาคเอกชน หรือองค์กรภาคประชาสังคม ทีม่ า: กระทรวงการต่างประเทศ บทประเมินสถานการณ์และข้อเสนอแนะ ในปี 2562 รัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้มีการด�ำเนินงานในอันท่ีจะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของเด็ก ตามอนุสัญญา CRC และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ให้ดีย่ิงขึ้นโดยมีมาตรการที่ชัดเจน และมีผลการด�ำเนินงานที่เป็นรูปธรรมในหลายด้าน เช่น ในด้านการอยู่รอดโดยลดการเสียชีวิตของเด็ก การพัฒนา เด็กปฐมวัย และการปราบปรามการแสวงประโยชน์ทางเพศต่อเด็ก ส่วนในด้านอ่ืน ๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของรัฐ ก็มคี วามพยายามในการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนอื่ งและมีความคืบหนา้ ในระดบั หนึง่ อยา่ งไรก็ดี มาตรการในเชงิ ปอ้ งกนั เพอ่ื ลดปญั หาที่กระทบตอ่ สิทธเิ ดก็ ยงั ไมช่ ดั เจนมากนกั ในการน้ี กสม. จงึ มีขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม ดังนี้ 1. รัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรมีมาตรการสร้างความตระหนักแก่พ่อแม่ซ่ึงเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการดูแลเด็กเป็นเบ้ืองต้น ให้ตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบดังกล่าวเพื่อให้เด็กได้รับความปลอดภัย ในชีวิตและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย รวมท้ังควรมีมาตรการสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถท�ำหน้าท่ีดังกล่าวได้ 226 จาก ข่าวสารนิเทศ : พิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ เรื่อง การก�ำหนดมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ใน สถานกกั ตวั คนต่างดา้ วเพือ่ รอการสง่ กลับ, โดย กระทรวงการต่างประเทศ, ๒๕๖๒. สืบคน้ จาก http://www.mfa.go.th/main/ th/news3/6886/98779-พธิ ลี งนามบันทึกความเข้าใจ-เร่อื ง-การกำ� หนดมาตรการแล.html

109 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ เชน่ การใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั พฒั นาการของเดก็ แตล่ ะชว่ งวยั การสง่ เสรมิ ใหพ้ อ่ แมม่ ปี ฏสิ มั พนั ธแ์ ละทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั เดก็ การดูแลความปลอดภัยของเด็กรวมถึงภัยจากส่ือ การรับฟังความเห็นของเด็ก การอบรมเล้ียงดูเด็กโดยไม่ใช้ ความรุนแรง การรับมือกับปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น ตลอดจนการจัดการปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ในครอบครัวซง่ึ เปน็ ปัจจัยทีอ่ าจท�ำใหม้ ีการใช้ความรุนแรงตอ่ เดก็ 2. รฐั ควรมมี าตรการปอ้ งกนั การใชค้ วามรนุ แรงตอ่ เดก็ ในครอบครวั และการกระทำ� ผดิ ของเดก็ โดยการศกึ ษา และวเิ คราะหป์ จั จยั ทเ่ี ปน็ สาเหตขุ องการใชค้ วามรนุ แรงตอ่ เดก็ และการกระทำ� ผดิ ของเดก็ เพอ่ื นำ� มากำ� หนดแนวทาง แกไ้ ขปญั หาทเี่ หมาะสม 3. รฐั ควรพจิ ารณาใหม้ กี ลไกระดบั ชมุ ชนในการเฝา้ ระวงั ปญั หาเดก็ เชน่ การใชค้ วามรนุ แรงตอ่ เดก็ การแสวง ประโยชน์ต่อเด็กในรูปแบบต่าง ๆ และปัญหาเด็กกระท�ำผิด รวมท้ังให้มีกลไกจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นในพ้ืนที่ เพอ่ื ใหป้ ญั หาไดร้ บั การแกไ้ ขอยา่ งทนั ทว่ งที โดยใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เขา้ มามสี ว่ นชว่ ยดำ� เนนิ การตามมาตรา 250 วรรคหน่ึงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และเปิดให้องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชนที่มีความพรอ้ มเขา้ มามีส่วนช่วยรฐั ขบั เคลือ่ นการคมุ้ ครองเด็กในดา้ นต่าง ๆ 4.2  สิทธผิ ูส้ ูงอายุ 4บทที่ ภาพรวม ปัจจุบันยังไม่มีสนธิสัญญาระหว่างประเทศของผู้สูงอายุโดยเฉพาะ แต่สิทธิของผู้สูงอายุได้รับการ รับรองในสนธิสัญญาหลักระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน 2 ฉบับ คือ กติกา ICCPR และ กติกา ICESCR นอกจากน้ี ยงั มสี นธสิ ญั ญาฉบบั อนื่ ทม่ี คี วามเกยี่ วขอ้ งและอาจนำ� มาปรบั ใชใ้ นการคมุ้ ครองผสู้ งู อายไุ ด้ เช่น ผู้หญิงสูงอายุได้รับการคุ้มครองตามอนุสัญญา CEDAW ส่วนผู้สูงอายุท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย ไดร้ ับความคุ้มครองตามอนสุ ัญญา CRPD เปน็ ต้น ท้ังน้ี เมื่อปี 2534 ทปี่ ระชุมสมัชชาสหประชาชาติไดม้ ี ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล มตทิ ี่ 46/91 รบั รองหลกั การ 18 ประการสำ� หรบั ผสู้ งู อายุ (United Nations Principles for Older Persons) โดยรับรองสิทธิของผู้สูงอายุใน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการมีอิสรภาพในการพ่ึงตนเอง (Independence) 2) กคาวรามมีสมว่ ีศนักรด่วมิ์ศร(ีP(aDrtigicnipitayt)i2o2n7) 3) การดแู ล (Care) 4) การบรรลุความต้องการ (Self-fulfilment) และ 5) นอกจากน้ี ยังมีตราสารระหว่างประเทศด้านผู้สูงอายุที่ส�ำคัญ ได้แก่ แผนปฏิบัติการระหวา่ งประเทศมาดรดิ ว่าดว้ ยเรือ่ งผ้สู งู อายุ (The Madrid International Plan of Action on Ageing) ซงึ่ เปน็ ผลจากการประชมุ สมชั ชาระดบั โลกวา่ ดว้ ยผสู้ งู อายุ ครงั้ ที่ 2 (The 2nd World Assembly on Ageing) ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน ในปี 2545 โดยมีเป้าหมายหลักของการพัฒนาผู้สูงอายุ ใน 3 ประเด็น คือ 1) ผู้สูงอายุกับการพัฒนา 2) สูงวัยอย่างสุขภาพดีและมีสุขภาวะ และ 3) การสร้าง ความมน่ั ใจวา่ จะมีสภาพแวดลอ้ มท่ีเกื้อหนนุ และเหมาะสม 227 From United Nations Principles for Older Persons Adopted by General Assembly resolution 46/91 of 16 December 1991, by United Nations Human Rights Office of the High Commissioner, 1991 Retrieved from http://www.ohchr.org/EN/ProfessionalInterest/Pages/OlderPersons.aspx

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 110 National Human Rights Commission of Thailand รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้รับรองสิทธิผู้สูงอายุไว้ในมาตรา 27 วรรคสาม และวรรคส่ี วา่ ดว้ ยการห้ามเลือกปฏิบัติโดยไมเ่ ปน็ ธรรมตอ่ บุคคลด้วยเหตุแห่งความแตกตา่ งดา้ นตา่ ง ๆ รวมถงึ เร่อื งอายุ และมาตรา 48 วรรคสอง บัญญัติว่าบุคคลที่อายุเกินหกสิบปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลยากไร้ ยอ่ มมีสทิ ธิไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ทเ่ี หมาะสมจากรฐั ตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิ นอกจากนี้ มาตรา 71 วรรคสาม บัญญัติวา่ รัฐพงึ ให้ความช่วยเหลอื เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และผดู้ อ้ ยโอกาสใหส้ ามารถด�ำรงชพี ได้อยา่ งมี คุณภาพ และคุ้มครองป้องกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม รวมท้ังให้การบ�ำบัด ฟืน้ ฟู เยียวยาผถู้ กู กระท�ำการดังกล่าว ในรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 กสม. ได้มีข้อเสนอแนะ ให้มีการรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความส�ำคัญของการออมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ การปรับปรุงกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ให้รองรับการท�ำงานของผู้สูงอายุ และการสง่ เสริมใหผ้ สู้ งู อายไุ ดร้ ับสิทธิตามพระราชบญั ญัตผิ ู้สงู อายุ พ.ศ. 2546 เช่น การบริการสาธารณสุข การฝึก/ประกอบอาชพี การไดร้ บั ความคมุ้ ครองจากการกระทำ� ทารุณกรรม ฯลฯ อยา่ งทวั่ ถงึ ในปี 2562 มีสถานการณ์ทเี่ กยี่ วข้องกับผสู้ งู อายุ การดำ� เนนิ การของรฐั บาลและหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง รวมทงั้ มปี ัญหาและอุปสรรคในการสง่ เสริมและค้มุ ครองสทิ ธิในเร่ืองดงั กลา่ ว ดังนี้ 4.2.1 การด�ำเนินการตามแผนผู้สูงอายแุ ห่งชาตฉิ บบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ข้อมูลจากการส�ำรวจประชากรสูงอายุของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติครั้งล่าสุดเมื่อปี 2560 พบว่า ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุ 11.3 ล้านคน หรอื ร้อยละ 16.7 ของจำ� นวนประชากรทั้งหมดประมาณ 67.6 ล้านคน แในลปะีค2า5ด6กา4ร2ณ2ว์8า่ ใปนรกะาเทรเศตไรทยี ยมจกะาเขรรา้ อสสงู่ รงั บัคสมงัสคงู วมยัผอสู้ ยงู า่วงยั สรมฐั บบรู าณลห์แลรอืะมกรจี ะำ� นทวรนวงผกสู้ างู รอพาฒัยถุ นงึ ารสอ้ งั ยคลมะแ2ล0ะคขวอางมปมรน่ั ะคชงาขกอรทงมงั้ นหษุมดย์ ไดจ้ ัดท�ำแผนผู้สูงอายุแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) แบ่งเป็น 5 ยุทธศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1) การเตรยี ม ความพร้อมของประชากรวัยสูงอายุ 2) การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ 3) ระบบคุ้มครองทางสังคมส�ำหรับผู้สูงอายุ 4) การบรหิ ารจดั การเพื่อการพฒั นางานด้านผู้สงู อายุอยา่ งบูรณาการ และ 5) การประมวลผล พฒั นา เผยแพร่ความรู้ การตดิ ตามประเมินผล เม่ือปี 2560 กรมกจิ การผูส้ งู อายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ไดท้ �ำการ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติตามแผนผู้สูงอายุฯ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2555 - 2559) เพ่ือน�ำผลการประเมินท่ไี ดม้ า ปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ การตามแผนฯ ในระยะตอ่ ไป พบวา่ มปี ระเดน็ ทกี่ ารดำ� เนนิ การยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายทก่ี ำ� หนด เชน่ ในด้านการเตรียมความพร้อมเข้าสวู่ ัยสูงอายุ มีประชากรวยั ท�ำงานเพียง 1 ใน 3 ท่ีมกี ารประกันยามชราภาพอยา่ งเปน็ ทางการและมคี วามรเู้ รอ่ื งกระบวนการชราและการเตรยี มการเพอื่ วยั สงู อายุ ในดา้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาผสู้ งู อายพุ บวา่ มีผสู้ งู อายุเพยี งประมาณ 1 ใน 4 ท่มี พี ฤติกรรมด้านสุขภาพทีพ่ ึงประสงค์ และผสู้ ูงอายสุ ว่ นใหญ่อาศัยอยู่ในบา้ นหรอื สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ส่วนในด้านระบบคุ้มครองทางสังคมพบว่า สถานท่ีให้บริการสาธารณะยังขาดแคลน ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้สูงอายุ มีผู้สูงอายุทุพพลภาพท่ีได้รับบริการจากชุมชนเพียงประมาณ 1 ใน 4 และมี 228 จาก แถลงขา่ ว “สถติ บิ อกอะไร ผสู้ งู วยั ปจั จบุ นั และอนาคต”, โดย นางกลุ พรภสั ร์ จริ ะประไพ และนายธนนท์ นวมเพชร, 2562. สบื ค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/Press_Release/2561/N10-04-61-1.aspx

111 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ผดู้ แู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี คี วามรเู้ หมาะสมเพยี ง 1 ใน 3 เปน็ ตน้ กรมกจิ การผสู้ งู อายไุ ดน้ ำ� ผลการประเมนิ ดงั กลา่ วมาปรบั ปรงุ แคผรั้งนทผี่ ้สู2งู อพา.ศยแุ. ห2่ง5ช6า1ต2ิ ฉ2บ9บั ท่ี 2 เรียกวา่ แผนผสู้ งู อายุแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุง ขณะน้ี กรมกจิ การผสู้ งู อายรุ ว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งอยรู่ ะหวา่ งจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ าร ปี 2563 - 2566เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งานตามแผนผสู้ งู อายแุ หง่ ชาตฯิ ฉบบั ปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี2พ.ศ.2561ใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ ทีย่ ังไม่บรรลเุ ปา้ ประสงค์ตามผลการประเมินระยะที่ 3 และอยรู่ ะหวา่ งเตรยี มจดั ทำ� แผนผู้สงู อายแู หง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 4.2.2 หลักประกันรายได้ พระราชบัญญัตผิ ู้สงู อายแุ ห่งชาติ พ.ศ. 2546 มาตรา 11 (11) ก�ำหนดให้ผ้สู ูงอายุได้รบั การ 4บทที่ สงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจ�ำเป็นอย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเป็นไปตามระเบียบ คณะกรรมการผสู้ งู อายแุ หง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารจา่ ยเงนิ เบย้ี ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ พ.ศ. 2552 ซงึ่ กำ� หนดคณุ สมบตั ขิ อง ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ผมู้ สี ทิ ธจิ ะไดร้ บั เงนิ เบยี้ ยงั ชพี วา่ ตอ้ งมสี ญั ชาตไิ ทย มอี ายุ 60 ปขี น้ึ ไป และไมเ่ ปน็ ผไู้ ดร้ บั สวสั ดกิ ารหรอื สทิ ธปิ ระโยชนอ์ น่ื จากหนว่ ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ หรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ผสู้ งู อายจุ ะไดร้ บั เบย้ี ยงั ชพี เปน็ รายเดอื นตอ่ เนอ่ื ง ตลอดชวี ิตตามอัตราปัจจบุ นั แบบขัน้ บนั ไดที่เพ่ิมขึ้นตามช่วงอายุ (อายุ 60 - 69 ปี ได้รับ 600 บาท/เดือน อายุ 70 - 79 ปี ไดร้ บั 700 บาท/เดอื น อายุ 80 - 89 ปี ไดร้ บั 800 บาท/เดอื น อายุ 90 ปขี นึ้ ไป ไดร้ บั 1,000 บาท/เดอื น) ท้ังนี้ ในปี 2562 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 20 สิงหาคม 2562 เห็นชอบให้ช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยผ่าน 5บตั0ร0สวบสั าดทกิ /าครนแห/เง่ ดรือฐั นเพ2มิ่ 3เ0ตมิ นในอชกว่จงาเกดนอื น้ี กสรงิ มหบาคัญมช-ีกกลนั ายงอายยนู่ระ2ห5ว6่า2งด �ำซเง่ึ นรินวมกถางรึ กปารรับจวา่ ิธยีกเงานิ รชจว่่ายยเเหงินลอืเบผ้ียสู้ ยงู อังชายีพจุเพำ� น่ือวใหน้ ผสู้ งู อายไุ ดร้ บั เงนิ รวดเรว็ และสะดวกมากขน้ึ โดยรว่ มมอื กบั กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ จดั ทำ� ฐานขอ้ มลู ผมู้ สี ทิ ธิ รับเบ้ืยยงั ชีพเพื่อโอนเงินเขา้ บญั ชเี งินฝากของผูม้ ีสทิ ธโิ ดยตรงทุกวันท่ี 10 ของเดือน หากเดอื นใดวันที่ 10 ตรงกบั เวดันือหนยมุดกรราาชคกมาร25จะ6จ3่า2ย3ใน1วันท�ำการก่อนวันหยุดน้ัน ๆ โดยคาดว่าจะสามารถด�ำเนินการได้ครบท่ัวประเทศภายใน นอกเหนือจากการจ่ายเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ รัฐยังได้จัดให้มีระบบบ�ำนาญแบบสมัครใจส�ำหรับ ประชาชนทไ่ี มอ่ ยใู่ นระบบสวสั ดกิ ารทางการใด โดยไดจ้ ดั ตง้ั กองทนุ การออมแหง่ ชาตสิ ำ� หรบั ประชาชนกลมุ่ ดงั กลา่ ว เ2พ.7ื่ออลอ้ามนเคงินนไ2ว3้ใ2ช้หอลยังา่ เงกไษรกียด็ณี โพดรยะรรัฐาบชาบลญั สญ่งเัตงกิินอสงมททนุ บกกาอรองทอุนมฯแหไ่งดช้เารต่ิมิ ดพ�ำ.เศน.ิน2ก5า5รเ4มื่อมปาตี 2รา53508 ปัจจุบันมีสมาชิก ไดก้ �ำหนดเงอ่ื นไข ผู้มีสิทธิสมัครเป็นสมาชิกของกองทุนว่าต้องมีอายุไม่ต่�ำกว่า 15 ปีและไม่เกิน 60 ปี ท�ำให้ผู้สูงอายุไม่สามารถ เขา้ เปน็ สมาชิกของกองทุนน้ีได้ 229 จาก แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๔) ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๑, โดย กรมกจิ การผู้สงู อายุ, 2562. สบื คน้ จาก http://www.dop.go.th/download/laws/th1573721522-816_0.pdf 230 จาก รฐั บาลแจงไมป่ รบั เบยี้ ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ คงจา่ ยอตั ราเดมิ แบบขน้ั บนั ได, โดย เวริ ค์ พอยทน์ วิ ส,์ ๒๕๖๒. สบื คน้ จาก https://workpointnews.com/2019/08/22/081315/ 231 จาก กรมบญั ชกี ลาง พรอ้ มจา่ ยตรงเบยี้ ผสู้ งู อายุ - เบย้ี ผพู้ กิ ารใหพ้ รอ้ มกนั ทว่ั ประเทศตง้ั แต่ ม.ค. ๖๓, โดย ขา่ วออนไลน์ RYT9, ๒๕๖๒. สบื คน้ จาก https://www.ryt9.com/s/iq03/3054420 232 ดรู ายละเอียดเพม่ิ เตมิ ท่ี บทท่ี 3.3 สิทธทิ ่เี ก่ยี วกับการทำ� งานและความคุม้ ครองทางสังคม เรือ่ งการมมี าตรฐาน การครองชีพท่เี พียงพอ

คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 112 National Human Rights Commission of Thailand อยา่ งไรกต็ าม กลมุ่ ผสู้ งู อายแุ ละประชาชนบางกลมุ่ เหน็ วา่ เบยี้ ยงั ชพี ผสู้ งู อายทุ จี่ า่ ยตามอตั ราปจั จบุ นั ไมเ่ พยี งพอท่จี ะทำ� ใหผ้ ูส้ ูงอายดุ �ำรงชวี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม เม่ือวนั ที่ 5 กันยายน 2562 ตัวแทนเครือข่ายรฐั สวสั ดกิ าร ไดเ้ ดนิ ทางเขา้ ย่นื เสนอรา่ งพระราชบญั ญตั บิ �ำนาญแหง่ ชาติ พ.ศ. .... กับตวั แทน 7 พรรคการเมอื งฝา่ ยค้าน การเสนอ รา่ งกฎหมายดงั กลา่ วมเี จตจำ� นงเพอื่ ใหค้ นไทยทม่ี อี ายุ 60 ขนึ้ ไปมหี ลกั ประกนั ดา้ นรายไดต้ ามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยเครือข่ายฯ เรียกร้องให้มีการเปลี่ยนเบ้ียยังชีพเป็นบ�ำนาญถ้วนหน้า ทเ่ี พยี งพอซงึ่ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 3,000 บาทตอ่ เดอื น และไดล้ งไปในทกุ ชมุ ชนเพอื่ รวบรวมรายชอ่ื จนครบ 10,000 รายชอ่ื ตเลาขมาเธงอ่ืกิ นารไขสขภอางผรแู้ ฐั ทธนรรรมานษญูฎรท2เี่ ป33ดิ ใหป้ ระชาชนสามารถเสนอกฎหมายได้ แตย่ งั ไมไ่ ดย้ น่ื รา่ งกฎหมายดงั กลา่ วตอ่ สำ� นกั งาน ท่มี า: เทศบาลเมืองเขลางคน์ คร 4.2.3 การส่งเสริมการท�ำงานของผ้สู ูงอายุ แผนปฏิบัติการระหว่างประเทศมาดริดว่าด้วยเรื่องผู้สูงอายุก�ำหนดแนวทางในเร่ืองการท�ำงาน ของผู้สูงอายุว่าผู้สูงอายุควรมีโอกาสท�ำประโยชน์ต่อสังคม รวมท้ังควรมีโอกาสได้ท�ำงานตราบเท่าที่ยังมีความประสงค์ และมีความสามารถท่ีจะท�ำงานได้ นอกจากนี้ การท�ำงานยังสร้างหลักประกันรายได้ที่ส�ำคัญแก่ผู้สูงอายุ และท�ำให้ ผสู้ งู อายสุ ามารถดำ� รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระตามหลกั การดา้ นผสู้ งู อายขุ องสหประชาชาตดิ ว้ ย ทง้ั นี้ จากการสำ� รวจประชากร สูงอายุของส�ำนักงานสถติ แิ หง่ ชาตใิ นปี 2560 พบวา่ มผี ู้สูงอายุทีย่ งั ท�ำงานรอ้ ยละ 35.1 ของจำ� นวนผสู้ งู อายุทัง้ หมด ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 63.1) ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง ผู้สูงอายุที่ท�ำงานให้เหตุผลท่ียังคงท�ำงานอยู่ว่า เพราะสขุ ภาพแข็งแรง ต้องหารายได้เลีย้ งครอบครัวหรอื ตนเอง และเป็นอาชพี ประจ�ำไม่มีผดู้ แู ลแทน 233 จาก กา้ วแรกรฐั สวสั ดกิ าร: ภาคประชาสงั คมเตรยี มเสนอรา่ ง พ.ร.บ. บ�ำนาญแหง่ ชาติ ตอ่ สภาผแู้ ทนฯ, โดย ประชาไท, ๒๕๖๒. สบื ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/09/84185

113 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ กระทรวงแรงงาน โดยกรมการจัดหางาน มีมาตรการส่งเสริมการมีงานท�ำให้กับผู้สูงอายุของ 4บทที่ กรมการจดั หางานประจำ� ปี2562จำ� นวน3โครงการไดแ้ ก่1)โครงการสง่ เสรมิ การจา้ งงานผสู้ งู อายใุ นอาชพี ทเี่ หมาะสม กบั วยั และประสบการณ์ ได้แก่ (1) กจิ กรรม “หนงึ่ อ�ำเภอ - หนึง่ ภมู ปิ ัญญา” โดยผลการด�ำเนินงานระหวา่ งเดือน ตุลาคม 2561 - กันยายน 2562 พบวา่ มีผูส้ งู อายไุ ดร้ ับการจ้างงานเป็นวิทยากร จำ� นวน 151 คน สร้างรายได้ ทงั้ สนิ้ 3,600,000บาทและมผี สู้ งู อายทุ ไ่ี ดร้ บั การถา่ ยทอดองคค์ วามรสู้ ามารถมงี านทำ� และมรี ายได้จำ� นวน1,311คน สรา้ งรายไดท้ ง้ั สนิ้ 3,442,735 บาท และ (2) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การมงี านทำ� ของผสู้ งู อายใุ นอตุ สาหกรรมบรกิ ารและ การทอ่ งเที่ยว โดยผลการด�ำเนินงานระหว่างเดอื นตุลาคม 2561 - กันยายน 2562 พบวา่ ผสู้ งู อายทุ ่ีมาใช้บรกิ าร จดั หางานไดร้ บั การบรรจงุ าน จำ� นวน 861 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.55 สรา้ งรายไดป้ ระมาณ 107,802,000 บาท ต่อปี 2) โครงการสร้างโอกาสการมีงานท�ำให้ผู้สูงอายุเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการบรรจุงาน โดยผลการด�ำเนินงาน ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 - กันยายน 2562 พบว่า มีผู้สูงอายุได้รับงานจ้างเหมาบริการในหน่วยงานของ กทร่ัวมไปก2าร3จ4ดั เหปา็นงกาานรจรว่ำ� นมมวนอื ก2บั 2ภคานครสัฐรภา้ งารคาเยอไกดชท้ นง้ั สแนิ้ละ2ภ,1าค6ป0ร,0ะช0า0สงับคามท2แ3ล5ะเพ3ื่อ) กสา่งเรสใหริมบ้ กรากิ รามรงีจาดั นหทา�ำงใาหน้กแบักผผ่ สู้สู้ ูงงู ออาายยุุ โดยได้มีการจัดท�ำบันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างกันในเร่ืองดังกล่าวเม่ือวันที่ 13 มีนาคม 2562 ในการ ด�ำเนินการ กรมการจัดหางานได้ทำ� โมเดล Job matching ทจ่ี ะขยายผลไปทว่ั ประเทศท่มี สี �ำนกั งานจดั หางานต้งั อยู่ ผลการด�ำเนินการมีสถานประกอบการท่ัวประเทศ 351 แห่งที่เข้าร่วม (ขยายจากต้นแบบ 12 แห่ง) ต�ำแหน่ง งานว่าง 17,000 อัตรา และมีผู้สูงอายุที่ประสงค์ท�ำงานประมาณ 7,000 คน ส่วนผู้สูงอายุท่ีได้เข้าท�ำงานใน เสชถน่ านแปรงรงะากนอดบ้ากนากราแรลผ้วลมิตปี เรสะมมยี านณพ3น,ัก7ง0า0นทคั่วนไป ทตี่งาำ� นแหไมน่หง่ นงากั นเทปม่ี น็ ีกตาน้ ร2จ3้าง6งานผสู้ ูงอายมุ ากทีส่ ดุ เปน็ แรงงานไร้ฝีมอื ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ท่ีมา: Brand Buffet 234 หนงั สอื กรมการจดั หางาน ท่ี รง ๐๓๐๗/๑๗๔๐๓๗ ลงวนั ท่ี ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ เรอื่ งขอ้ มูลเพือ่ ประกอบ การจดั ท�ำรายงานผลการประเมนิ สถานการณด์ ้านสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย. 235 ได้แก่ กรมการจัดหางาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ส�ำนักงานประกันสังคม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมการพัฒนาชุมชน กรมกิจการผู้สูงอายุ และส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ภาคเอกชน ได้แก่ สถานประกอบการ 12 แห่ง ภาคประชาสังคม ได้แก่ สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคม องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลแหง่ ประเทศไทย สมาคมองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดแห่งประเทศไทย. 236 จาก การสมั มนารบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ มลู สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาจดั ท�ำรายงาน ผลการประเมนิ สถานการณด์ ้านสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทยปี ๒๕๖๒ เม่อื วันที่ 3 กนั ยายน 2562 จัดโดย ส�ำนกั เฝา้ ระวงั และประเมนิ สถานการณส์ ทิ ธิมนุษยชน สำ� นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ.

คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 114 National Human Rights Commission of Thailand นอกจากน้ี กระทรวงแรงงานยงั ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรใี หเ้ พม่ิ อตั ราคา่ จา้ งผสู้ งู อายทุ บี่ รษิ ทั เอกชนสามารถน�ำไปยกเว้นภาษีได้ตามมาตรการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุท่ีเร่ิมเมื่อ ปี 2560 จากเดมิ ทไี่ มเ่ กนิ 15,000 บาท/คน/เดอื น เปน็ ไมเ่ กนิ 20,000 - 25,000 บาท/คน/เดอื น แตย่ งั คงจำ� นวนเงนิ ขคอ่าใงชลจ้ กู า่ จย้าทงส่ีทาั้งมหามรดถตนาำ� มไเปงห่อื นักภไขาเษดีไมิ ด้ไเพมเ่ื่อกเนิปน็ 1ม5าต,0ร0ก0ารจบงู าใทจ/ใหคน้น/าเยดจือา้ นง/แสลถะานจำ�ปนรวะนกผอูส้บงูกอาารยจทุ า้ ง่จี ง้าางนตผ้อสู้งไูงมอเ่ากยนิ ุเพร้อม่ิ ยขลน้ึ ะ23170 นอกเหนอื จากการสง่ เสรมิ การทำ� งานของผสู้ งู อายแุ ลว้ กระทรวงแรงงานยงั ไดม้ กี ารพจิ ารณาปรบั ปรงุ กฎหมายแรงงานเพ่อื ใหค้ ้มุ ครองสทิ ธิของผสู้ งู อายทุ ท่ี ำ� งานด้วย เชน่ การพจิ ารณากำ� หนดค่าแรงรายช่วั โมงทเ่ี หมาะสม เทพี่ตอ่ื ้อรงอกงารรบั จผ้าสู้ งงู ผอู้สาูงยอบุ าายงุสทว่�ำนงาทนอ่ี แาจบไบมไพ่ มร่เอ้ตม็มทเวำ� ลงาาน23เต8ม็ แเลวละาเมซื่อง่ึ วอันาจทช่ี ว่2ย4เพธม่ิ ันคววาามคยมดื ห2ย5นุ่ 6ใ2หก้ คบั ณทงั้ะตรวั ัฐผมสู้ นงู ตอราียไดแุ ้มลีมะนตาิอยนจุมา้ ัตงิ หลักการร่างพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดคุณสมบัติของบุคคลซ่ึงอาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. …. ตามทกี่ ระทรวงแรงงานเสนอ เพอ่ื ขยายอายขุ องบคุ คลเปน็ ผปู้ ระกนั ตนตามมาตรา 40 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สงั คม พ.ศ. 2533 จากเดิมอายุไม่เกิน 60 ปี เป็น 65 ปี ซ่ึงจะท�ำให้ผู้สูงอายุที่ประกอบอาชีพอิสระและเป็นแรงงาน นอกระบบได้รับความคุ้มครองในระบบประกันสังคมอย่างทั่วถึงตามนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับสังคมผู้สูงอายุและ ยสุรท้าธงศคาวสาตมรเป์ชน็าตธริ ร2ม0ในปทีุก(มยิตุทิ)2ธศ39าสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ลดความเหล่ือมล้�ำ ส�ำหรับมาตรการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุในภาครัฐ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ได้ออกกฎว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์รับราชการต่อไป มาต้ังแต่ปี 2552 โดยก�ำหนดข้าราชการที่ด�ำรงต�ำแหน่งบางประเภทและบางระดับสามารถได้รับการพิจารณาให้รับราชการต่อไป เมื่อผู้น้ันมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ได้เป็นการเฉพาะราย ซ่ึงในปี 2562 ก.พ. ได้มีการปรับคุณสมบัติของผู้ท่ีอาจ รับราชการต่อหลังอายุครบ 60 ปีให้ยืดหยุ่นมากข้ึนเพื่อบรรเทาปัญหาความขาดแคลนบุคลากรในสาขาที่เป็นภารกิจ สซ�ำึ่งมคอีัญาขยอคุ งรรบัฐหแกลสะิบเพปอ่ืบี รรอิบงูรรณบั ์รปับัญรหาชากกาารรเตขอ่ า้ ไสปู่สงั (คฉมบสับงูทวี่ ยั 3ด) งั พป.รศา.ก2ฏ5ใน6ก2ฎ24ก0.พส. วว่ ่านดก้วรยณกีทาค่ีรใณหะข้ กา้ รรรามชกกาารรพปฏลเริ รปู อื ปนรสะาเมทัญศ ด้านสงั คมก�ำหนดให้สำ� นักงาน ก.พ. ศกึ ษาเพิ่มเตมิ ประเดน็ เก่ียวกบั การขยายอายเุ กษียณราชการจาก 60 ปีเป็น 63 ปี โดยไมค่ รอบคลมุ หนว่ ยงานทตี่ อ้ งใชศ้ กั ยภาพทางรา่ งกาย และกำ� หนดเปา้ หมายใหข้ า้ ราชการ พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ และ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั เกษยี ณอายรุ าชการอายทุ ่ี 63 ปี ในปี พ.ศ.2567 นน้ั สำ� นกั งาน ก.พ. อยรู่ ะหวา่ งการศกึ ษาความเหมาะสม ชข่วองงปตี�ำ2แ5ห6น1่งท-่ีจ2ะ5ขย7า0ยอจาำ� นยุเวกนษ1ียณ17ท,6ั้ง5น2ี้ สคถนิติจ(เาฉกลกยี่ รปมลี บะัญ1ช1ีก,ล7า6ง5ระคบนุว)่า2จ4ะ1มีข้าราชการพลเรือนสามัญเกษียณอายุ 237 หนังสอื กระทรวงแรงงาน ด่วนที่สุด ท่ี รง ๐๒๐๑.๒/๑๒๖๗ ลงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒. 238 จาก อัตราค่าจ้างผู้สูงอายุในประเทศไทย, โดย สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์ และมติชนออนไลน์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/article/news_1236900 239 จาก ครม. ขยายอายุผู้เข้าประกันตนอาชีพอิสระจากไม่เกิน ๖๐ ปี เป็นไม่เกิน ๖๕ ปี, โดย ส�ำนักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสขุ ภาพ, 2562. สืบคน้ จาก https://www.hfocus.org/content/2019/12/18244 240 จาก กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์รับราชการต่อไป (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562. 241 งานการส่ือสารองค์กร ส�ำนักงาน ก.พ. นนทบุรี. (2561, 11 เมษายน). [ข่าวประชาสัมพันธ์]. สืบค้นจาก www.google.co.th

115 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ 4.2.4 การเขา้ ถึงบรกิ ารด้านสุขภาพ 4บทที่ ข้อมูลจากผลการส�ำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย 2560 ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ระบวุ า่ ผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ 99) มสี วสั ดกิ ารรกั ษาพยาบาล ในจำ� นวนนส้ี ว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ 83.2) เปน็ ผใู้ ชส้ ทิ ธิ ตสทิามธหกิ าลรกั รปักรษะากพันยสาุขบภาาลพขถอว้ งนกหอนงทา้ นุ รปอรงะลกงันมสางัเปค็นมส/กิทอธงสิ ทวนุสั เดงิกินาทรดขแอทงขน้า2ร4า2ชการและเจ้าหน้าทขี่ องรฐั และสดุ ท้ายคอื ในส่วนของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติซึ่งครอบคลุมประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้มีการจัดบริการด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุหลายประการ เช่น การจัดคลินิก ผสู้ งู อายใุ นโรงพยาบาล การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพเฉพาะกลมุ่ ผสู้ งู อายุ 5 รายการ ไดแ้ ก่ การตรวจคดั กรองมะเรง็ ลำ� ไสใ้ หญ่ ทบรี่มกิีภาารวทะนัพตึง่ พกรงิ ร(มlo(nฟgนั-tเeทrยีmม)caกrาeร)ผ2่า4ต3ดั ข้อเขา่ เทียม การผา่ ตดั ตอ้ กระจก และบริการวัคซนี และการดูแลผสู้ งู อายุ ในการศกึ ษาปญั หาการเขา้ ถงึ สทิ ธดิ า้ นสขุ ภาพของผสู้ งู อายขุ อง กสม. ระหวา่ งปี 2560 - 2561 จากรายงานสำ� รวจงานวจิ ยั แบบสอบถามท่ีกสม.มไี ปยงั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จำ� นวนหนงึ่ รวมทงั้ จากการลงพน้ื ที่ พบว่า ผูส้ ูงอายทุ ีใ่ ชส้ ทิ ธิในระบบหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติประสบปญั หาบางประการ เชน่ การรอเข้าพบแพทย์ เป็นเวลานาน และสถานพยาบาลในท้องถ่ินบางแห่งไม่มีแพทย์เฉพาะทางส�ำหรับโรคที่พบในผู้สูงอายุ ซ่ึงอาจ สะท้อนปัญหาการขาดแคลนแพทย์เฉพาะทางในการดูแลผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคในกลุ่มโรคเฉพาะในผู้สูงอายุ และ ปัญหาอัตราก�ำลังของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไม่เพียงพอกับจ�ำนวนผู้ป่วยในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อมาตรฐาน การรกั ษาพยาบาลและระยะเวลาในการรอรบั บรกิ าร นอกจากน้ี ยงั พบปญั หาผสู้ งู อายทุ ม่ี ฐี านะยากจนไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย ส�ำหรับการเดินทางไปโรงพยาบาล ส่วนผู้สูงอายุติดเตียงและผู้สูงอายุท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ประสบ ความยากล�ำบากในการเดินทางไปพบแพทย์ แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่สามารถช่วยเหลือหรือสนับสนุน ด้านยานพาหนะได้ เน่ืองจากไม่มีอ�ำนาจหน้าที่ตามประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การก�ำหนดหน่วยงาน ผู้มีอ�ำนาจหน้าที่รับผิดชอบด�ำเนินการเก่ียวกับการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ตามพระราชบญั ญตั ผิ ู้สงู อายุ พ.ศ. 2546 (ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2553) ในส่วนการจัดการดูแลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง หรือผู้ป่วยติดบ้าน/ติดเตียง ซ่ึงส�ำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติด�ำเนินการร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินโดยแต่ละฝ่ายจัดสรรงบประมาณสมทบ การด�ำเนินการน้ันมีข้อจ�ำกัดด้านบุคลากรท่ีจะดูแลผู้สูงอายุทั้งในส่วนของผู้จัดการการดูแล (care manager) เน่ืองจากต้องใช้บคุ ลากรทางสาธารณสขุ ซ่งึ มภี าระงานประจำ� อยแู่ ล้ว และผูด้ แู ล (care giver) ซงึ่ ทำ� งานในลักษณะ จติ อาสาโดยไดค้ า่ ตอบแทนไม่มาก 242 จาก เผยผลส�ำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย ๒๕๖๐, โดย ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2560. สืบค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2561/N10-07-61.aspx 243 จาก การประชุมเพื่อรับทราบการด�ำเนนิ งานในการส่งเสรมิ และค้มุ ครองผ้สู งู อายุจากหน่วยงานภาครฐั เมอื่ วนั ท่ี ๙ เมษายน ๒๕๖๑ และวนั ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จดั โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาต.ิ

คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 116 National Human Rights Commission of Thailand ทง้ั น้ี ในสว่ นของการจดั การดแู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งไดม้ กี ารแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื ง คปา่กตคอรบอแงสทว่นนขทออ้งผงถดู้ นิ่แู แลผลส้ะู กงู อาารยเบุ โกิดคยา่ไดใชม้ จ้ กี า่ ายรอพอ.ศก.ร2ะ5เบ6ยี 2บ2ก4ร4ะทซรง่ึ วกงำ� มหหนาดดใไหทอ้ยงวคา่ ก์ดรว้ ปยอกาคสราอสงมสคัว่ รนบทรอ้ บิ งาถลนิ่ ทสอ้ างมถานิ่ รขถอจงา้ ององคากส์ รา สมคั รบรบิ าลทอ้ งถิ่นเพื่อดแู ลผสู้ ูงอายุในภาวะพ่งึ พงิ ได้ ตอ่ มา กระทรวงมหาดไทยไดห้ ารอื ร่วมกับหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง เพอื่ กำ� หนดหลกั สตู รทเี่ กยี่ วกบั การดแู ลผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ ในระยะยาว รวมทง้ั กำ� หนดอตั ราคา่ ตอบแทนอาสาสมคั ร บแลรบิะจาำ�ลนทวอ้ นงวถนันิ่ ทขอปี่ งฏอบิ งตัคงิก์ ารนป2ก4ค5รอนงอสกว่ จนาทกอ้นงี้ กถรน่ิ ะ5ท,ร0ว0งส0า -ธ 6าร,0ณ0ส0ขุ อบยารู่ทะ/หควนา่ /งเกดาอื รนพโฒั ดยนขารน้ึ ะอบยบกู่ สบั ขุหภลากั พสปตู ฐรมทภผ่ี มาู่ นิ ซกงึ่ าเปรอน็ บกรามร จ(fดัaบmรiิกlyารcทaาrงeกาtรeแaพmท)ย2์แ4ล6ะสซาึ่งธเมาื่อรณมีคสวุขาเพมอื่พดรแู้อลมสดขุ�ำภเนาินพกขาอรงจบะคุ ชค่วลยใในหร้ปะรดะบั ชพาน้ื ชทน่ีโไดดย้รกับาบรรจิกัดาใหรดม้ ้าี “นทสีมุขหภมาพอคอรยอ่าบงทค่ัวรวัถ”ึง โดยเฉพาะกลมุ่ ผสู้ ูงอายทุ ่ีไมส่ ะดวกทจี่ ะเดนิ ทางไปยงั สถานบริการสาธารณสขุ 4.2.5 การละเมดิ สทิ ธผิ สู้ งู อายุ ขอ้ มลู จากสำ� นกั งานกองทนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพระบวุ า่ ผสู้ งู อายถุ กู ละเมดิ สทิ ธมิ ากทส่ี ดุ 5 ประเภท ดงั น ี้ 1)การละเมดิ ทางดา้ นรา่ งกายไดแ้ ก่การทบุ ตีทำ� รา้ ยใชแ้ รงกระแทกทรี่ า่ งกายผลกั ทำ� ใหเ้ กดิ ความเจบ็ ปวดหรอื บาดเจบ็ ตามร่างกาย 2) การละเมิดทางอารมณ์และจิตใจ ได้แก่ การท�ำร้ายจิตใจ เกิดความเสียใจ น้อยใจ ด้วยการใช้ค�ำพูด ดหู ม่นิ ดถู กู ด่าทอ ไม่เหน็ คุณค่าของผูส้ ูงอายุ 3) การหาประโยชน์ในทรพั ย์สนิ และการเอาเปรยี บทางกฎหมาย ได้แก่ ลกั ขโมย การล่อลวง เอาทรพั ย์สิน หรอื น�ำทรัพยส์ นิ ไปใชโ้ ดยผูส้ ูงอายุไม่ยินยอม หรืออาจยนิ ยอมเพราะถูกหลอกดว้ ย กลอบุ ายให้ยกทรพั ย์สินให้ เป็นตน้ 4) การล่วงละเมดิ ทางเพศ ได้แก่ การลว่ งละเมิดทางเพศโดยไมไ่ ด้รับความยินยอม จากผู้สูงอายุด้วยการใช้ค�ำพูด ใช้ก�ำลัง การสัมผัส หรือการมอง ซ่ึงแสดงถึงการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้สูงอายุทั้งการ ข่มขืนหรือล่วงละเมิดภายนอก 5) การละเลยทอดทิ้งหรือละเว้นการกระท�ำโดยต้ังใจหรือไม่ต้ังใจที่จะปฏิเสธการ ดในูแกลารสย่งังผชลีพใหอ้ผาู้สทูงิออาายหุไมา่ไรด้รเสับื้อกผา้ารยดาูแลรเักอษาใาจโรใสค่เ2ท4่า7ที่จใก�ำเลป้เ็คนียเงกกิดับคขว้อามมูลทจุกาขก์จมาูลกนกิธาิสรถถาูกบทันอวดิจทัยิ้งแลไมะพ่ไดัฒ้รับนาปผัจู้สจูงัยอพา้ืนยฐุไทานย และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพที่ระบุว่า ผู้สูงอายุไทยถูกละเมิดสิทธิด้านจิตใจสูงสุด รองลงมา คอื การเอาประโยชนด์ า้ นทรพั ยส์ นิ ทงั้ น้ี ขอ้ มลู จากสำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาตใิ นสว่ นของคดอี าญาตงั้ แตป่ ี 2544 - 2558 244 จาก ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและการเบิก คา่ ใชจ้ า่ ย พ.ศ. 2562. 245 จาก หนังสอื กระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สดุ ท่ี ๐๘๑๙.๒/ว.๖๒๙๐ ลงวนั ที่ ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๖๑ เร่ือง การก�ำหนด หลักสูตรท่ีเก่ียวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงในระยะยาว และหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข อัตราค่าตอบแทนและการจ่าย ค่าตอบแทนของอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นจาก http://dn.corewebsite.com/public/ dispatch_upload/backend/core_dispatch_205008_1.pdf 246 ดรู ายละเอียดเพ่ิมเตมิ ได้ในบทท่ี 3.2 หัวข้อสทิ ธดิ า้ นสขุ ภาพ 247 จาก ๕ ประเภท “การละเมิดสิทธิ” ผู้สูงอายุ, โดย ส�ำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2562. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/47109-5%20%ประเภท20“การละเมิดสทิ ธิ”%20ผสู้ งู อาย.ุ html

117 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ พบวา่ ผู้สูงอายุ 60 ปขี ้นึ ไปมคี ดอี าญาเร่อื งฉ้อโกงทรัพย์สนิ ลกั ทรพั ย์ ปลน้ ทรพั ยเ์ พม่ิ ขนึ้ ตามล�ำดับ ภายในปี 2558 4บทที่ มไมผี ม่ ูเ้ สีคยีรหอบายครจัวำ� นมวีอนาก7า0รเ3จบ็ รปายว่ ยกตลอุ้่มงเสก่ยีารงทพี่จ่งึ พะถาผกู ูอ้ลื่นะเมชิด่วยสเิทหธลิมอื าตกวัทเ่ีสอดุงไดค้ไือมเ่ผตสู้ ม็ ูงทอ2่ีาย4ุท8่ีอย่คู นเดียว ไมม่ ลี กู หลาน หรอื ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล สว่ นสถติ ขิ อ้ มลู จากศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม สายดว่ น 1300 พบวา่ จากเดมิ ทม่ี กี ารแจง้ ขอ้ มลู ปญั หา ผสู้ งู อายพุ ลดั หลง สญู หาย และเรร่ อ่ นเปน็ อนั ดบั หนง่ึ ปจั จบุ นั พบปญั หาผสู้ งู อายขุ าดผดู้ แู ล ซงึ่ ในระยะ 3 ปที ผี่ า่ นมา จเพำ� ิม่กขัด้ึน24เป9็น 10 เท่า รวมทงั้ ปัญหาลกู หลานไม่สามารถดูแลผู้สงู อายไุ ด้ อกี ทงั้ สถานสงเคราะหข์ องผูส้ งู อายุมีจ�ำนวน ในการคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผสู้ งู อายุ กรมกจิ การผสู้ งู อายุ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คง ของมนุษย์ ได้มีมาตรการช่วยเหลือผู้สูงอายุซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน์ โดยมชิ อบดว้ ยกฎหมาย หรอื ถกู ทอดทง้ิ ทง้ั การใหค้ ำ� แนะนำ� ปรกึ ษา ดำ� เนนิ การอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในทางการแกไ้ ขปญั หา ครอบครัว และให้ความช่วยเหลือเป็นเงินตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ก�ำหนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคมุ้ ครอง การส่งเสรมิ และการสนบั สนุน การจดั ท่พี ักอาศยั อาหาร และ เครอื่ งนงุ่ หม่ ใหผ้ สู้ งู อายตุ ามความจำ� เปน็ อยา่ งทวั่ ถงึ โดยในปงี บประมาณ 2561 ไดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลอื รวม 16,548 ราย รวมถงึ มกี ารดำ� เนนิ โครงการเฝา้ ระวงั ภยั ทางสงั คมสำ� หรบั ผสู้ งู อายโุ ดยใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รว่ มดำ� เนนิ การ ส่วนในด้านการส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุมีการจัดกิจกรรมเพ่ือให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของ ผู้สงู อายุ เชน่ การจดั ใหผ้ สู้ ูงอายถุ ่ายทอดความรู้ ภมู ิปญั ญา ประสบการณ์ และท�ำประโยชน์แก่สังคม การส่งเสริม ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ และการส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาการ จสัดามสาวรัสถดชกิ ่วายรเสหงั ลคือมดผูแสู้ ลงู ผอู้สายูงอุ าแยลไุะดหถ้ นกู ่วตย้องงาตนาทมเี่ คกวยี่ าวมขจ้อ�ำงเใปหน็ ส้ แาลมะาครถวขามบั ตเคอ้ ลง่อืกนารกขาอรงดผ�ำู้สเนงู อินางยานุ เอปา็นสตาน้ ส2ม5คั 0รดูแลผู้สงู อายุ บทประเมนิ สถานการณ์และข้อเสนอแนะ รัฐมีความตระหนักถึงนัยของการเข้าสู่สังคมสูงอายุของประเทศไทยและได้มีการด�ำเนินการหลายด้าน ทงั้ ในดา้ นการเตรยี มรองรบั ผสู้ งู อายทุ จ่ี ะมมี ากขนึ้ ในอนาคต ไดแ้ ก่ การจดั ใหม้ รี ะบบการออมเพอื่ วยั เกษยี ณแบบสมคั รใจ สำ� หรบั กลมุ่ ทย่ี ังไมม่ รี ะบบสวัสดกิ ารทางการใด ๆ การปรบั ปรงุ กฎหมายใหร้ องรับการทำ� งานของผสู้ ูงอายุ และการ ศึกษาการขยายอายุเกษียณราชการ และในด้านการส่งเสริมและคุ้มครองประชากรสูงอายุในปัจจุบัน ทั้งการจ่าย เบย้ี ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ การสง่ เสรมิ การมงี านทำ� การจดั บรกิ ารสขุ ภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ แกผ่ สู้ งู อายทุ อี่ ยใู่ นภาวะพงึ่ พงิ การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกละเมิดสิทธิ อย่างไรก็ดี การด�ำเนินงานในบางด้านยังมีข้อจ�ำกัด เช่น การเตรียม ความพรอ้ มของกลมุ่ แรงงานนอกระบบซง่ึ สว่ นใหญย่ งั ไมอ่ ยใู่ นระบบสวสั ดกิ ารใด การจดั บรกิ ารสขุ ภาพทยี่ งั ไมต่ อบสนอง ตอ่ การเจบ็ ปว่ ยของผสู้ งู อายอุ ยา่ งทวั่ ถงึ และการยงั ไมม่ มี าตรการทชี่ ดั เจนในการปอ้ งกนั การทำ� รา้ ย การทอดทงิ้ หรอื การลว่ งละเมิดผสู้ ูงอายุ ในการน้ี กสม. จงึ มขี อ้ เสนอแนะในเรอ่ื งสิทธิผ้สู ูงอายุ ดังน้ี 248 จาก เจาะลึกผู้สูงวัยไทยถูกละเมิดสิทธิด้านจิตใจสูงสุด, โดย ส�ำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2562. สืบคน้ จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/47433-เจาะลกึ ผู้สูงวัยไทยถกู ละเมิดสทิ ธดิ า้ นจิตใจสูงสดุ .html 249 จากพม.เรง่ แกป้ ญั หาความรนุ แรงตอ่ ผสู้ งู อาย,ุ โดยสำ� นกั ขา่ วINN,2562.สบื คน้ จากhttps://www.innnews.co.th/ social/news_295778/ 250 จาก รายงานประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ของกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์, โดย กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2561. สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/download/implementation/ th1556013419-1157_0.pdf

คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 118 National Human Rights Commission of Thailand 1. รัฐบาลควรให้ความส�ำคัญกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของกลุ่มแรงงานนอกระบบ โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ การสรา้ งหลกั ประกนั วา่ แรงงานกลมุ่ ดงั กลา่ วจะมรี ายไดเ้ พยี งพอสำ� หรบั การดำ� รงชวี ติ ตามมาตรฐานการครองชพี ทเ่ี หมาะสม เช่น การสง่ เสริมการเขา้ เป็นสมาชกิ กองทุนการออมแหง่ ชาติ เป็นต้น 2. รฐั บาล โดยกระทรวงสาธารณสขุ ควรพฒั นาบคุ ลากรทางการแพทยใ์ หม้ คี วามรเู้ กยี่ วกบั โรคและภาวะการเจบ็ ปว่ ย ของผู้สูงอายุเพิ่มข้ึน รวมทั้งควรเร่งการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิเพ่ือให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ได้โดยสะดวกยง่ิ ขนึ้ 3. รฐั บาล โดยกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ควรมมี าตรการปอ้ งกนั ปญั หาผสู้ งู อายถุ กู ทอดทงิ้ หรือถูกทำ� ร้ายโดยสมาชกิ ในครอบครวั โดยให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นมีส่วนร่วม รวมถึงการจัดบรกิ ารดแู ลผู้สูงอายุ ในระดับชุมชนท่ตี อบสนองต่อความตอ้ งการจ�ำเป็นของผู้สูงอายุในพ้นื ที่ 4.3  สิทธคิ นพกิ าร ภาพรวม สิทธิของคนพิการได้รับการรับรองไว้ในอนุสัญญา CRPD หลายประการ ท้ังสิทธิพลเมืองและสิทธิทาง การเมอื งตามกตกิ า ICCPR และสทิ ธทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมตามกตกิ า ICESCR การจดั ทำ� อนสุ ญั ญาฯ มีเจตนารมณ์เพ่ือประกันว่าคนพิการจะได้รับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานโดยเท่าเทียม กับบุคคลอื่นและได้รับการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ดังน้ัน อนุสัญญาฯ จึงได้ยืนยันหลักการส�ำคัญ ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนอนั ไดแ้ ก่ การไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ บคุ คลดว้ ยเหตแุ หง่ ความพกิ าร รวมถงึ ยงั ไดก้ ำ� หนดหลกั การทว่ั ไป ในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ติ ามอนสุ ญั ญาฯ ไวห้ ลายประการ เชน่ การสง่ เสรมิ ใหค้ นพกิ ารมสี ว่ นรว่ มและเปน็ ส่วนหนึ่งของสังคม การให้คนพิการได้เข้าถึงโอกาสอย่างเท่าเทียม การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคนพิการ ในสงั คม และการเขา้ ถงึ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ การขนสง่ สารสนเทศและการสอื่ สาร และสง่ิ อำ� นวยความสะดวก ของคนพิการ เปน็ ต้น ส่วนสทิ ธติ ามกตกิ า ICCPR และ ICESCR ทไ่ี ด้รับการรับรองในอนุสญั ญาฯ ครอบคลุมถึง การมีส่วนร่วมทางการเมืองและเรื่องสาธารณะ สิทธิและโอกาสในการออกเสียงและได้รับเลือกตั้ง สิทธิในการ ไดร้ ับการศกึ ษา การบริการดา้ นสุขภาพ รวมถงึ การได้ท�ำงานและการจ้างงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 4251 บัญญัติคุ้มครองศักด์ิศรี ความเป็นมนุษย์ สิทธิ 2เส7ร2ีภ5าพ2 และความเสมอภาคของบุคคลโดยรับรองให้ปวงชนชาวไทยได้รับการคุ้มครอง เสมอกัน และมาตรา บัญญัติรับรองความเสมอภาคของบุคคลโดยห้ามเลือกปฏิบัติด้วยเหตุต่าง ๆ รวมถงึ เหตแุ หง่ ความพกิ าร โดยมคี วามมงุ่ หมายใหป้ วงชนชาวไทยมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพโดยเสมอภาคกนั นอกจากนี้ ยังได้บัญญัติให้รัฐมีหน้าที่ต้องจัดให้ประชาชนได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานอื่น ๆ เช่น มาตรา 54 บัญญัติให้รัฐต้อง ดำ� เนนิ การใหเ้ ดก็ ทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาเปน็ เวลาสบิ สองปอี ยา่ งมคี ณุ ภาพและไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย มาตรา 55 กำ� หนดวา่ รฐั จะดำ� เนนิ การใหป้ ระชาชนไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งทวั่ ถงึ และมาตรา 74 รฐั พงึ สง่ เสรมิ ให้ประชาชนมีความสามารถในการท�ำงานอยา่ งเหมาะสมกับศักยภาพ 251 จาก รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560. (2560, 6 เมษายน), 252 แหล่งเดมิ .

119 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ คณะกรรมการสทิ ธขิ องคนพกิ ารแหง่ สหประชาชาตไิ ดม้ ขี อ้ สงั เกตตอ่ การเสนอรายงานการปฏบิ ตั ติ ามอนสุ ญั ญา 4บทที่ CRPD ของไทยเมื่อปี 2559 ว่า ควรมีการรณรงค์สร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของคนพิการ โดยมีเป้าหมายเพอื่ ขจดั อคติของสังคมต่อคนพกิ าร รวมถงึ ผู้บกพรอ่ งทางจิต ควรประกนั ว่า หนว่ ยงานภาครัฐจะมี ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ความรว่ มมอื และมีแผนเพื่อส่งเสรมิ การเข้าถึงสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ บรกิ าร และสง่ิ อ�ำนวยความสะดวกของ คนพกิ าร ควรมกี ารใชม้ าตรการทางกฎหมายหรอื มาตรการอนื่ ใดเพอ่ื ประกนั วา่ คนพกิ ารและเดก็ พกิ ารจะไดเ้ ขา้ เรยี น ในโรงเรียนในชุมชนท่เี ดก็ อาศัยอยู่ รวมท้ังควรมีการจัดสรรทรพั ยากรอย่างเพยี งพอและการฝกึ อบรมครู ควรมกี าร จัดบริการด้านสุขภาพท่ีคนพิการสามารถเข้าถึงได้และค�ำนึงถึงมิติทางเพศ โดยเฉพาะในเขตชนบท และมีการ ฝึกอบรมบุคลากรด้านสาธารณสุขให้ทราบถึงสิทธิของคนพิการ ควรมีการเพิ่มโอกาสการจ้างงานในตลาดแรงงาน ใหแ้ กค่ นพกิ าร ทบทวนกฎหมายทจ่ี ำ� กดั การมสี ว่ นรว่ มของคนพกิ ารทางการเมอื งและเรอ่ื งสาธารณะ และประกนั วา่ คนพิการจะสามารถเข้าถึงทุกขั้นตอนของการเลือกต้ัง ในรายงานผลการประเมนิ สถานการณด์ า้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี 2561 กสม. ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะวา่ รฐั ควรสง่ เสรมิ ใหอ้ งคก์ รคนพกิ ารมคี วามพรอ้ มเปน็ ศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารทวั่ ไป ควรจดั สรรงบประมาณทเี่ หมาะสำ� หรบั สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาแก่คนพิการ และควรให้ความส�ำคัญกับการจัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ส�ำหรับคนพิการ รวมถึงการจัดบริการในระบบขนส่งสาธารณะให้ทั่วถึงครอบคลุมในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีคนพิการ อาศยั อยจู่ ำ� นวนมาก ตลอดจนควรเรง่ สรา้ งความตระหนกั รเู้ รอ่ื งสทิ ธขิ องคนพกิ ารใหแ้ กค่ นพกิ าร ครอบครวั คนพกิ าร ชุมชน และสงั คม ขอ้ มลู จากกรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารระบวุ า่ จนถงึ เดอื นธนั วาคม 2562 มคี นพกิ ารทไี่ ดร้ บั การออกบัตรประจ�ำตวั คนพิการ จ�ำนวน 2,015,385 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.89 ของประชากรทัง้ ประเทศ จ�ำแนก เปน็ เพศชาย จ�ำนวน 1,051,878 คน (ร้อยละ 52.19) และเพศหญิง จำ� นวน 963,507 คน (ร้อยละ 47.81) ส่วนใหญ่อาศัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คิดเป็นร้อยละ 40.39 รองลงมาอาศัยในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ 22.13 20.64 และ 11.97 ตามล�ำดับ โดยมีคนพิการอาศัยในกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 90,982 คน หรือเพียงรอ้ ยละ 4.51 หากจำ� แนกตามประเภทความพกิ ารพบว่า ส่วนใหญเ่ ปน็ คนพิการ ทางการเคล่ือนไหวหรือทางร่างกาย ร้อยละ 49.39 รองลงมาเป็นคนพิการทางการได้ยิน และทางการเห็น รอ้ ยละ18.84และ9.55ตามลำ� ดบั นอกเหนอื จากนเี้ ปน็ คนพกิ ารทางจติ ใจทางสตปิ ญั ญาออทสิ ตกิ และทางการเรยี นรู้ ท้ังนี้ ในปี 2562 มีสถานการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับสิทธิของคนพิการ การด�ำเนินการของรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ ปญั หาและอปุ สรรคในการส่งเสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธขิ องคนพกิ าร ดังน้ี 1. การจดั ตัง้ ศนู ย์บรกิ ารคนพกิ าร พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายหลักที่รับรองสิทธิ ของคนพิการในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่เป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและ ความช่วยเหลืออ่ืนจากรัฐ ต่อมาในปี 2556 ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายดังกล่าว โดยพระราชบัญญัติส่งเสริม และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 มสี าระส�ำคญั ประการหน่ึงคือ การก�ำหนดใหม้ ีการจัดต้ัง ศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารเพอื่ ชว่ ยใหค้ นพกิ ารเขา้ ถงึ บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื จากรฐั ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และโดยสะดวกยง่ิ ขน้ึ ทั้งนี้ คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติได้จัดท�ำระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขเก่ียวกับศูนย์บริการคนพิการ พ.ศ. 2556 เพื่อรองรับการด�ำเนินการในเร่ืองดังกล่าวโดยได้ก�ำหนด ประเภทศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารไว้ 2 ประเภท ดงั น้ี

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 120 National Human Rights Commission of Thailand 1) ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป โดยราชการส่วนท้องถิ่นอาจจัดต้ังศูนย์บริการคนพิการโดยใช้งบประมาณ ของตนเองตาม มาตรา 20/3 วรรคสองของพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 หรอื องคก์ รดา้ นคนพกิ าร องค์กรอื่นใด หรือหน่วยงานของรฐั โดยมีหน้าท่ี ตามมาตรา 20/4 ของพระราชบัญญัติฯ ได้แก่ การให้ค�ำปรึกษา บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสวัสดิการ เรียกร้อง สทิ ธิประโยชน์แทนคนพกิ าร ใหค้ วามช่วยเหลือในการดำ� รงชีวติ ขัน้ พ้ืนฐาน ฝกึ อาชพี และจดั หางานให้คนพกิ าร ฟ้ืนฟู สมรรถภาพ หรอื ไดร้ บั เครอ่ื งมอื อปุ กรณต์ ามความตอ้ งการจำ� เปน็ พเิ ศษเฉพาะบคุ คล ตลอดจนประสานความชว่ ยเหลอื กบั หนว่ ยงานรัฐทเี่ ก่ียวขอ้ งเพ่อื ใหค้ วามช่วยเหลือคนพกิ ารตามประเภทความพกิ าร 2) ศูนยบ์ รกิ ารคนพิการระดบั จงั หวดั ซง่ึ จดั ตงั้ โดยกรมสง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารเพอื่ สง่ เสริม สนับสนุนและประสานงานเก่ียวกับการจัดบริการของศูนย์บริการคนพิการทั่วไป และด�ำเนินการอ่ืนเพื่อประโยชน์ ในการสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารภายในจงั หวดั มหี นา้ ทใี่ นการสำ� รวจ ศกึ ษาวเิ คราะห์ ตดิ ตามสภาพปญั หา ของคนพิการในเขตพ้ืนท่จี ังหวัด ประเมินผลและรายงานเกี่ยวกับการไดร้ ับสิทธปิ ระโยชนข์ องคนพกิ าร จัดทำ� ทะเบยี น ฐานขอ้ มลู สง่ ตอ่ คนพกิ ารหรอื ผมู้ ีแนวโนม้ ว่าจะมีความพกิ ารให้แกห่ น่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง จัดทำ� แผนสง่ เสรมิ และพฒั นา คุณภาพชีวิตคนพิการจังหวัดและบูรณาการแผนกับแผนพัฒนาจังหวัดหรือท้องถิ่น ส่งเสริม ก�ำกับดูแล และอ�ำนวย ความสะดวกดา้ นอาคาร สถานที่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ ยานพาหนะ เทคโนโลยสี ง่ิ อำ� นวยความสะดวก ตลอดจนบรกิ ารทางวชิ าการ แก่ศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการทัว่ ไป หรือองค์กรคนพกิ าร ทั้งนี้ จากข้อมูลในปี 2562 มีศูนย์บริการคนพิการระดับจังหวัด จ�ำนวน 77 ศูนย์ ศูนย์บริการคนพิการ รศะูนดยับ์บจรงั ิกหาวรดั คสนาพขิกาาจร�ำทนั่ววไนปจ1�ำ6นวสนาขา1,แ7ล5ะ2ศนู ศยูน์บยริก์2า5ร3คนกพากิรมารีศทูนัว่ ยไ์บปรจิกำ� านรวคนน2พ,ิก3า5ร8ทั่วศไนู ปยก์ รโดะยจเาพยิ่มคจราอกบปคี 2ล5ุมท6ุก1พซื้นงึ่ ทมีี่ จะอำ� นวยความสะดวกใหแ้ กค่ นพกิ ารเพอ่ื ใหค้ นพกิ ารไดร้ บั การบรกิ ารแนะนำ� ชว่ ยเหลอื ทเี่ หมาะสมตรงตามความจำ� เปน็ เฉพาะของคนพกิ าร 2. การเข้าถงึ การศกึ ษาของคนพิการ มาตรา 10 ของพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 บญั ญัตวิ า่ บคุ คลมีสิทธแิ ละโอกาสเสมอกนั ในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ท้ังนี้ การจัดการศึกษาส�ำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและ การเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นพิเศษ และพระราชบัญญัติว่าด้วย การจดั การศกึ ษาสำ� หรบั คนพกิ าร พ.ศ. 2551 กำ� หนดใหค้ นพกิ ารมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การศกึ ษาโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยตง้ั แตแ่ รกเกดิ หรอื พบความพกิ ารจนตลอดชวี ติ พรอ้ มทง้ั ไดร้ บั เทคโนโลยสี ง่ิ อำ� นวยความสะดวกและความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษา โดยสามารถเลอื กบรกิ ารทางการศกึ ษา สถานศกึ ษา ระบบและรปู แบบการศกึ ษาโดยคำ� นงึ ถงึ ความสามารถ ความสนใจ และ 253 จาก หนงั สือกรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร ดว่ นท่สี ุด ที่ พม ๐๗๐๓/๗๘๓๐ ลงวนั ที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๒๖ เรอื่ ง ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั ภารกจิ ของกรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร เพอื่ ประกอบการจดั ท�ำรายงานผลการประเมนิ สถานการณด์ ้านสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒.

121 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ความต้องการจ�ำเปน็ พิเศษของบุคคลนนั้ รวมถงึ กำ� หนดใหม้ กี ารจัดหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ และการทดสอบ 4บทที่ ทางการศึกษาทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจ�ำเปน็ พิเศษของคนพกิ ารแต่ละประเภทและบุคคล กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารไดจ้ ดั ทำ� แผนการจัดการศกึ ษาสำ� หรับคนพิการ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ทีเ่ น้นการด�ำเนินการ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ดา้ นการขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษา พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา พัฒนาระบบบริหารจัดการ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน นอกจากนี้ ภายใต้แผนพัฒนา คุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติ ฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2560 - 2564) ยังได้มกี ารกำ� หนดที่จะเพม่ิ ประสทิ ธิภาพระบบ การจดั การศกึ ษาและการเรยี นร้ทู ้งั ในระบบและนอกระบบทุกระดบั การศึกษา รวมทง้ั การเรียนรวมไวเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 วา่ ดว้ ยการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การขจดั การเลอื กปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหค้ นพกิ ารเขา้ ถงึ สทิ ธไิ ดจ้ รงิ ข้อมูลจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ระบุว่ามีคนพิการท่ีได้รับการศึกษาจ�ำนวน 1,497,534 คน คิดเป็นร้อยละ 74.31 ของคนพิการท่ีมีบัตรประจ�ำตัวคนพิการ โดยส่วนใหญ่คนพิการ มกี ารศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา จ�ำนวน 1,223,227 คน คิดเป็นร้อยละ 81.68 รองลงมา คอื ศกึ ษานอกระบบ และอื่น ๆ จ�ำนวน 462,502 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.82 และมัธยมศึกษา 162,838 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.39 นส่วอนกคเหนนพอื ิกจาารกทนี่อม้ี ากียาุถรึงศเกกึ ณษาฑร์แะตด่ไบั มป่ไดระ้รกับากศานรศยี ึกบษตั ารมวชิีจา�ำชนพีวนระ4ด5บั ป,9ร7ญิ 9ญาคตนร2ี ร5ะ4ดบั ทส้ังงูนกี้ วใา่นปกราญิรดญ�ำาเนตรินี งแาลนะขออนงปุ กรอญิ งทญุนา เพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา มีการให้ความช่วยเหลือเด็กนักเรียนพิการท่ียากจนโดยในภาคเรียนท่ี 1 ของ ปกี ารศกึ ษา 2562 กองทนุ ฯ ไดช้ ว่ ยเหลอื เดก็ พกิ ารทย่ี ากจนพเิ ศษกวา่ 40,000 คน จากการตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งาน เขดอก็ งนกกัารเรหียลนุดขออองกกจอางกทรุนะฯบมบากเาขร้าศเรกึ ียษนาอ2ย5า่ 5งสม่�ำเสมอซ่ึงเปน็ สญั ญาณทดี่ เี พราะการขาดเรียนบอ่ ยเป็นสญั ญาณเตือน กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่าง ๆ องค์กรคนพิการ คนพกิ าร และผแู้ ทนคนพกิ าร ภาครฐั และเอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ งอน่ื  ๆ ดว้ ยการตง้ั คณะกรรมการสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา ส�ำหรับคนพิการ โดยมีหน้าที่เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ แผนการจัดสรร ทรพั ยากร และแนวทางการพฒั นาการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาสำ� หรบั คนพกิ ารทกุ ระบบและทกุ ระดบั ตอ่ รฐั มนตรี และติดตามผลการด�ำเนินงานด้านการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการในทุกหน่วยงานและทุกระดับ เพื่อเป็นการ สรา้ งหลกั ประกนั ใหก้ ารศกึ ษาสำ� หรบั คนพกิ ารมคี ณุ ภาพบนฐานแหง่ ความเทา่ เทยี มและสง่ เสรมิ โอกาสในการเรยี นรู้ ตลอดชีวิตสำ� หรบั ทกุ คน เพ่ือเป็นการส่งเสริมการเรียนร่วมของคนพิการรัฐบาลได้จัดบริการและการฝึกอบรมให้กับครูและ ผู้บริหารโรงเรียน และได้จัดสรรงบประมาณส�ำหรับช่วยเหลือการศึกษาของเด็กพิการซ่ึงมาจากงบประมาณปกติ แกาลระศจึกาษกากมอางกทขุนน้ึ ส2่ง5เ6สรโิมดแยลเมะอื่ พวัฒันทน่ีา2ค6ุณภพาฤพศชจีวิกิตายคนนพ2ิก5า6รซ2ึ่งสรฐั่งมผนลตใหรีว้บา่ ุคกคาลรกทรี่มะีคทวราวมงพศึกิกษาราธสกิาามราไรดถ้เปเข็น้าปสรู่ระะธบาบน 254 จาก กรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร รายงานขอ้ มลู สถานการณด์ า้ นคนพกิ ารในประเทศไทย. งานเดมิ . 255 จาก กสศ. จบั มอื สพฐ. ชว่ ยเดก็ พกิ ารยากจนกวา่ ๔ หมน่ื คนเรยี นหนงั สอื ภาค ๑/๒๕๖๒, โดย โพสตท์ เู ดย,์ 2562. สืบคน้ จาก https://www.posttoday.com/pr/606803 256 จาก หนงั สอื กระทรวงศึกษาธกิ าร ด่วนทส่ี ุด ท่ี ศธ ๐๒๓๕/๔๒๒๔ ลงวันที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๒ เรื่อง ขอ้ มูล เพอ่ื ประกอบการจัดท�ำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๖๒

คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ 122 National Human Rights Commission of Thailand การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ ได้เปิดเผยว่าในการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ กระทรวงฯ จะใหค้ วามส�ำคญั กับการบูรณาการการท�ำงานกับทุกภาคสว่ น ทงั้ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพฒั นา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงแรงงาน เพ่ือให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยเฉพาะการจำ� แนกข้อมลู ดา้ นจำ� นวนและประเภทความพิการของเด็กนกั เรียนเพื่อให้ ดูแลได้อยา่ งทัว่ ถึง รวมทง้ั จะให้ความสำ� คญั กับการปรบั หลักสูตร อุปกรณ์ และสื่อการเรยี นการสอนคนพิการใหท้ ันสมยั และเหมาะสมกับสถานการณ์ เชื่อมโยงกับข้อมูลครูท่ีมีความถนัดและเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอนส�ำหรับ ความพิการเฉพาะด้าน รวมทั้งจะประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการสนับสนุนการศึกษาและรับคนพิการ เข้าท�ำงาน ส่วนรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยได้กล่าวว่า ท่ีผ่านมาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ร่วมมือกับ กการระศทึกรษวงาศเพึก่ือษใาหธค้ิกนารพจิกัดากราไดรศ้รับึกกษาารใหศึก้ปษระาชอายช่างนคในรอพบ้ืนคทล่ีอุมยู่แมลงี า้วนแทล�ำ ะแกลระะชทว่ รยวเงหมลหอื าตดนไทเอยงยไดิน ้ด2ีใ5ห7้ความร่วมมือในการจัด อนง่ึ เม่อื วนั ท่ี 28 มกราคม 2562 ประเทศไทยได้เขา้ เป็นภาคีสนธิสญั ญามารร์ าเคช (Marrakesh Treaty) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการเข้าถึงงานที่มีการโฆษณาแล้วส�ำหรับคนตาบอด คนพิการทางการเห็น และคนพิการ ทางสอื่ สงิ่ พมิ พ์ ซง่ึ มสี าระสำ� คญั คอื การใหอ้ งคก์ รทไี่ ดร้ บั อนญุ าตสามารถนำ� งานลขิ สทิ ธใ์ิ นรปู สอื่ สงิ่ พมิ พข์ องประเทศไทย และของรฐั ภาคสี นธสิ ญั ญามารร์ าเคชกวา่ 48 ประเทศมาทำ� ซำ้� ดดั แปลง และเผยแพรใ่ หแ้ กค่ นพกิ ารไดโ้ ดยไมถ่ อื เปน็ การ แลละเะมกดิ าลรขิเรสยี ทิ นธร์ิ ู้ทถอื่ีมเคี ปุณน็ ภกาารพส2ง่ 5เส8รมิ ใหค้ นพกิ ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ความรทู้ เี่ ปน็ ประโยชน์ และไดร้ บั ความเสมอภาคในการศกึ ษา 3. สง่ิ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับคนพกิ าร การสร้างสภาพแวดล้อมและบริการสาธารณะที่ทุกคนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้เป็นหน่ึงในยุทธศาสตร์ของ แผนพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยมีแนวทางดำ� เนนิ งานคือ การสนับสนุน ให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนจัดสภาพแวดล้อมการเดินทางและบริการสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ รวมท้ัง ออกกฎหมายวา่ ด้วยการสร้างสภาพแวดลอ้ มทีท่ กุ คนเขา้ ถึงและใช้ประโยชนไ์ ด้ จดั ท�ำมาตรฐานสง่ิ อ�ำนวยความสะดวก ของสภาพแวดล้อมและมาตรฐานการให้บริการ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ และผลักดันการออกแบบ ที่ทกุ คนใช้ประโยชน์ได้ (universal design) เปน็ ตน้ ที่ผ่านมา คนพิการได้ให้ความส�ำคัญกับการเดินทางโดยรถไฟฟ้าและได้มีการใช้กระบวนการทางกฎหมาย เพอ่ื ใหม้ กี ารตดิ ตง้ั ลฟิ ตท์ สี่ ถานรี ถไฟฟา้ ใหค้ รบทกุ สถานเี พอื่ ใหค้ นพกิ ารทใี่ ชร้ ถเขน็ เขา้ ถงึ บรกิ ารได้ ซงึ่ ศาลปกครองสงู สดุ ไดม้ ีคำ� พพิ ากษาเมอ่ื ปี 2558 ใหก้ รงุ เทพมหานคร (กทม.) ผถู้ ูกฟอ้ ง ตดิ ตง้ั ลิฟต์ให้ครบทกุ สถานีภายใน 1 ปี นับแต่ วนั ทศ่ี าลมคี ำ� พพิ ากษา แต่ กทม. ไมไ่ ดด้ ำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามคำ� พพิ ากษาดงั กลา่ ว ในปี 2561 จงึ มคี นพกิ ารยนื่ ฟอ้ งตอ่ ศาลปกครองกลางให้ กทม. ชดใชค้ า่ เสยี หายแกผ่ ฟู้ อ้ งคดี ตอ่ มาเมอ่ื วนั ท่ี 4 มนี าคม 2562 ศาลปกครองกลางไดพ้ จิ ารณาวา่ กทม. ประสบปัญหาอุปสรรคที่ท�ำให้การด�ำเนินงานล่าช้า และได้รายงานผลการด�ำเนินงานพร้อมปัญหาอุปสรรค 257 จาก การประชุมการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ, โดย ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, 2562. สืบค้นจาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24941 258 จาก ไทยเข้าร่วมสนธิสัญญามาร์ราเคช เร่งเพิ่มโอกาสคนพิการทางสายตาเข้าถึงงานลิขสิทธ์ิ, โดย กรมทรัพย์สิน ทางปญั ญา, 2562. สบื คน้ จาก http://www.ipthailand.go.th/images/3534/PDF/PressRelease.pdf

123 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ดังกล่าวใหส้ ำ� นกั บังคับคดปี กครองทราบเป็นระยะ ๆ กอปรกับ กทม. ไดม้ ีการขอรบั จัดสรรงบประมาณเพอ่ื ก่อสรา้ ง 4บทที่ สแลูงสะดุตแิดลตะ้ังมลีคิฟ�ำตพ์เพพิ ิ่มากเตษิมาแยลก้วฟอ้ จงึง2เห5็น9ว่า กทม. ไม่ได้จงใจหรือประมาทเลินเล่อท่ีจะไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่งศาลปกครอง ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล สืบเนื่องจากกรณีนางสาวคีริน เตชะวงศ์ธรรม คนพิการทางสายตาท่ีใช้สุนัขน�ำทางได้น�ำเสนอปัญหา การเดนิ ทางของตนโดยใชส้ นุ ขั นำ� ทางในกรงุ เทพฯ เมอื่ เดอื นพฤศจกิ ายน 2562 วา่ ปจั จบุ นั ทางเดนิ เทา้ ในกรงุ เทพฯ ยังไม่ได้คุณภาพมาตรฐานเพียงพอกล่าวคือ ทางเท้าต้องกว้าง เรียบ ไม่ขรุขระ ไม่มีสิ่งกีดขวาง ส่งผลให้คนพิการ ทางสายตาประสบปัญหาในการเดินทาง ต่อมามีรายงานข่าวว่าผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้สั่งการ ให้ส�ำรวจทางข้ามทั่วพื้นที่กรุงเทพฯ ทั้ง 50 เขตเพ่ือติดต้ังอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกเพิ่มเติม เช่น สัญญาณไฟ ทางข้ามชนิดกดปุ่มแบบมีเสียง และทางลาด นอกจากน้ี จากการส�ำรวจพบว่ามีทางข้ามท่ีมีปัญหาและอุปสรรค 47 แห่ง ท่ีท�ำให้คนพิการข้ามไม่สะดวก ซึ่ง กทม. จะด�ำเนินการแก้ไขให้เสร็จภายในเดือนมกราคม 2563 นอกจากน้ี กทม. ยังได้จดั ท�ำมาตรฐานทางเท้าใหมโ่ ดยก�ำหนดให้มีพนื้ ทวี่ า่ งโลง่ ขนาดกว้างไม่น้อยกวา่ 1.50 เมตร เไพดโ้อื่ ดอยำ� สนะวดยวคกวแาลมะสปะลดอวดกภใหยั 2แ้ 6ก0ป่ รสะำ� ชหารชบั นกทาร่ัวเไขปา้ แถลงึ ระะคบนบพขกิ นาสรง่ รสวามธทารง้ั ณก�ำะหขนองดครนายพลกิ ะาเรอตียา่ ดงจองัน่ื ห ๆวดั เพม่อื รี ใาหย้คงานนพวิกา่ าโครใรชงง้กาานร รถไฟทางคู่ขอนแก่น - ชุมทางถนนจิระ ซึ่งมีมูลค่าหลายหมื่นล้านบาทที่การรถไฟแห่งประเทศไทยกล่าวอ้างว่า ไไมดส่้ดา�ำมเนารินถโใคชรบ้ งรกกิ าารรเรสถรไ็จฟสทิ้นาแงลค้ทวู่ สี่ มถิไาดน้มบี ีกา้ านรเกจัาดะทแ�ำลทะาสงถลาานดชี หมุ รทือาสง่ิงบอวั �ำในหวญย่ รคววมาทมงั้สสะถดาวนกอี น่ื ส ๆ่งผไดลเ้ใชหน่ ้คเดนยีพวิกกาบั รคแนลปะกคตน2ิช6ร1า 4. การเขา้ ถงึ โอกาสการจ้างงาน พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ได้ก�ำหนดมาตรการส่งเสริม การทำ� งานของคนพกิ ารโดยใหน้ ายจา้ ง สถานประกอบการ และหนว่ ยงานของรฐั รบั คนพกิ ารเขา้ ทำ� งานตามมาตรา 33 หรอื ใหส้ มั ปทานจัดสถานทีจ่ ำ� หน่ายสนิ คา้ หรือบริการ จ้างเหมาชว่ งงานหรือจา้ งเหมาบริการ ฝกึ งาน หรือใหค้ วาม ช่วยเหลืออ่ืนใดแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการตามมาตรา 35 นายจ้างท่ีไม่ด�ำเนินการตามมาตรา 33 และ 35 จะตอ้ งสง่ เงนิ เขา้ กองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารตามมาตรา 34 ซง่ึ ขอ้ มลู จากกรมสง่ เสรมิ และพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารระบวุ า่ คนพกิ ารทไ่ี ดร้ บั การออกบตั รประจำ� ตวั คนพกิ ารและอยใู่ นวยั ทำ� งาน (อายุ 15 - 59 ป)ี มจี �ำนวน 850,270 คน ในจ�ำนวนน้ีเป็นผู้ท่ีประกอบอาชีพ จ�ำนวน 265,918 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31.27 ของ คนพกิ ารทอ่ี ยใู่ นวยั ทำ� งาน โดยมคี นพกิ ารทส่ี ามารถประกอบอาชพี ไดแ้ ตย่ งั ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชพี จำ� นวน 203,490 คน คิดเป็นร้อยละ 23.93 และคนพิการที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ (เนื่องจากพิการมากช่วยเหลือตนเองไม่ได้) จำ� นวน 54,904 คิดเป็นร้อยละ 6.46 ทเ่ี หลือส่วนใหญ่ จำ� นวน 325,958 คิดเปน็ ร้อยละ 38.34 ไมป่ ระสงค์ 259 จาก ค�ำพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีกรุงเทพมหานครไมจ่ ัดท�ำลิฟต์และอุปกรณอ์ �ำนวยความสะดวก ส�ำหรับ คนพิการใน ๒๓ สถานีขนส่งรถไฟฟ้าให้แล้วเสร็จตามค�ำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด, โดยศาลปกครอง, 2562. สืบค้นจาก http://admincourt.go.th/admincourt/site/08hotsuit_detail.php?ids=17903 260 จาก ดูแลคนแก่ - ผู้พิการ ผู้ว่า กทม. ส�ำรวจทางข้าม ๕๐ เขต, โดย คม ชัด ลึก, 2562. สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/regional/400005 261 จาก เวทรี บั ฟงั ความคดิ เห็นรา่ ง พ.ร.บ สง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ ารภาคอสี าน ผงะรถไฟทางคไู่ มจ่ ดั บรกิ ารให้คนพิการ, โดย สยามรัฐ, 2562. สบื คน้ จาก https://siamrath.co.th/n/122298

คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 124 National Human Rights Commission of Thailand ให้ข้อมูลด้านอาชีพ ในจ�ำนวนคนพิการที่ประกอบอาชีพ พบว่าส่วนใหญ่ประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 25.79 รองลงมาคือรับจ้างทว่ั ไป และประกอบกิจการสว่ นตวั ร้อยละ 24.66 และ 6.67 0ตา.3ม6ล2�ำด6บั2 สว่ นท่เี ป็นลกู จ้าง ภาคเอกชนคดิ เป็นรอ้ ยละ 4.69 และทีท่ ำ� งานในหน่วยงานของรฐั และรฐั วิสาหกจิ ร้อยละ ข้อมูลจากกระทรวงแรงงานระบุว่า263 ได้ให้บริการจัดหางานส�ำหรับคนพิการ ให้ค�ำแนะน�ำแก่นายจ้าง/ สถานประกอบการ คนพกิ ารหรอื ผ้ดู ูแลคนพกิ าร ได้เข้าถงึ ข้อมลู ข่าวสารเพอ่ื สร้างโอกาสใหแ้ ก่คนพกิ ารมงี านท�ำมอี าชพี มีรายได้ผ่านทางสื่อประชาสัมพันธ์ของกรมการจัดหางาน โดยมีผู้ได้รับการบรรจุงานจ�ำนวน 16,597 คน แบ่งเป็น การบรรจุงานตามมาตรา 33 จ�ำนวน 2,200 คน และผ้ขู อรบั สิทธิมาตรา 35 จำ� นวน 14,397 คน ท้ังนี้ เจา้ ของ แสลถะานพปัฒรนะากคอุณบภกาารพทช่ไีวี มติ ่ไคดน้รับพคกิ นารพจกิ �ำานรวเขนา้ 1ท5ำ� ง,า1น6ต1ามคมนา2ต6ร4า 33 ได้ปฏิบตั ติ ามมาตรา 34 โดยสง่ เงินเขา้ กองทุนส่งเสริม มีรายงานว่าปัจจัยท่ีท�ำให้มีคนพิการท�ำงานในสัดส่วนท่ีน้อยมีหลายประการท้ังจากฝ่ายนายจ้างและ จากคนพิการเอง ฝ่ายนายจ้างไม่มีข้อมูลว่า จะหาคนพิการที่เหมาะสมกับงานในสถานประกอบการของตนได้จากที่ใด บางคร้ังสามารถหามาได้แต่คนพิการไม่ประสงค์จะท�ำงานท่ีเตรียมไว้ หรือนายจ้างไม่สามารถจัดสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานที่เหมาะสมให้ได้ เช่น ไม่มีทางลาดส�ำหรับรถเขน็ ไมม่ อี ักษรเบรลล์ หรือไมม่ ีล่ามภาษามือ เปน็ ต้น ส�ำหรบั ฝ่ายคนพิการ พบว่า มีคนพิการที่ประสงค์ท�ำงานแต่ระบบการขนส่งไม่เอื้ออ�ำนวย ไม่สามารถเดินทางจากท่ีพักอาศัย ไปยังสถานท่ีท�ำงานได้ตามล�ำพัง หรือไปได้แต่ต้องเดินทางโดยรถรับจ้าง (แท็กซ่ี) หรือจ้างคนพาไป ซ่ึงมีค่าใช้จ่าย ท่ีบางคร้ังมากกว่าเงินเดือนท่ีได้รับ หรือบางคร้ังเดินทางไปท�ำงานได้แต่ลักษณะงานไม่ตรงกับความประสงค์ของ คนพกิ าร เชน่ งานทำ� ความสะอาด งานรบั โทรศพั ท์ หรอื งานตอ้ งพบปะผคู้ นจำ� นวนมาก รวมถงึ ปญั หาในการปรบั ตวั เขา้ กบั ผู้ร่วมงาน บางกรณีสามารถแก้ปัญหาด้วยการเลือกบริษัทหรืองานที่อนุญาตให้ท�ำท่ีบ้านได้ ในส่วนของหน่วยงานรัฐ ยังขาดระบบฐานขอ้ มลู เกยี่ วกับการจ้างงานของคนพกิ ารที่ครอบคลุมทั่วประเทศ ไม่มกี ฎหมายใหมห่ รอื นโยบายที่เป็น แรงจูงใจให้ผู้ประกอบการจ้างคนพิการมาท�ำงาน ท�ำให้ตัวเลขจ้างงานคนพิการในประเทศยังมีอยู่น้อยมาก จากข้อมูล เบพรียิษงทั สธารุมกหจิ มเอ่ืนกกชวน่าคทนวั่ เปทร่าะนเทั้นศนมายีคจนา้ พงิกสาว่ รนทใหคี่ วญร่เไลดอื ้รกับสกง่ าเรงนิจา้เขงา้งกานอทงทัง้ หุนมฯดเพ5่อื .5ตัดหปมัญนื่ หคานตา่ แงต ๆป่ 2จั 6จ5ุบันทม้งั นีกี้าใรนจก้างาครสนมัพมกิ นารา เรอื่ ง ปญั หาและอปุ สรรคในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายการสง่ เสรมิ การมงี านทำ� ของคนพกิ ารตามมาตรา 35 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร จดั โดยคณะอนกุ รรมาธกิ ารกจิ การคนพกิ าร ภายใตค้ ณะกรรมาธกิ ารการสงั คม เดก็ เยาวชน สตรี ผู้สงู อายุ คนพกิ าร และผูด้ อ้ ยโอกาส สภานติ ิบัญญัตแิ ห่งชาติ เมื่อวนั ท่ี 14 พฤศจกิ ายน 2561 262 จากหนงั สอื กรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารดว่ นทสี่ ดุ ที่พม๐๗๐๓/๗๘๓๐ลงวนั ที่๒๕พฤศจกิ ายน๒๕๖๒. งานเดิม. 263 จาก หนังสือกระทรวงแรงงาน ด่วนท่สี ดุ ท่ี รง ๐๒๐๖.๐๓/๓๒๙๖ ลงวนั ที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ เร่ือง ขอ้ มลู เพอ่ื ประกอบการจดั ท�ำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๖๒ 264 จาก หนงั สือกรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร ดว่ นที่สุด ที่ พม ๐๗๐๓/๗๘๓๐ ลงวนั ท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒. งานเดิม. 265 จาก เคล็ดลบั “จ้างคนพิการท�ำงาน”! ลดภาษี ๒ เท่า และไม่เปน็ ภาระบรษิ ทั , โดย คม ชดั ลกึ , 2562. สืบคน้ จาก https://www.komchadluek.net/news/scoop/369780

125 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ หลายฝ่ายเห็นว่าการให้ความช่วยเหลือคนพิการตามมาตรา 35 มีส่วนช่วยส่งเสริมการมีงานท�ำของคนพิการ 4บทที่ โดยการจ้างเหมาช่วงงานหรือจ้างเหมาบริการเป็นประโยชน์ต่อคนพิการท่ีต้องการประกอบธุรกิจส่วนตัว ส่วนการ กฝกึารอจบา้ รงมงจานะชต่วายมใมหา้คตนราพิก3า3รมมีคาวกาขมนึ้ ร2ู้แ6ล6ะทักษะท่ีเหมาะสมกับการท�ำงาน เพ่ิมโอกาสเข้าสู่ตลาดแรงงานและได้รับ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ท้ังน้ี เม่ือวันที่ 21 ตุลาคม 2562 ได้มีการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการแห่งชาติ โดยที่ประชุมได้เน้นย�้ำการขับเคลื่อนงานส�ำคัญด้านคนพิการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ให้สังคมเปิดโอกาสให้มกี ารจ้างงานคนพกิ ารมากขึ้น และใหม้ ีความโปร่งใสในกระบวนการจ้างงานคนพกิ าร เพือ่ ลดปญั หาการทุจรติ รวมทั้งไดเ้ ห็นชอบขอ้ เสนอของสมชั ชาเครอื ขา่ ยคนพิการ ประจ�ำปี 2562 ใน 5 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1) การเขา้ ถึงและใช้ประโยชน์จากสิง่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรบั คนพกิ าร อาทิ การคมนาคมขนสง่ สาธารณะ การใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ อำ� นวยความสะดวก  2) การพฒั นาและเชอ่ื มโยงระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นคนพกิ าร  3) การพฒั นา มบาทตบรากทาหรนคา้ ุ้มทคศี่ รนู อยงบ์ แรรกิงางราคนนคพนกิพาิกรารระแดลบั ะจสงั ห่งเวสดั รแิมลกะาทรว่ั ทไป�ำง  าแนลแะล5ะ)อกาาชรีพสรอา้ิสงรเจะตสค�ำตหทิรัด่ีบขีคอนงพสิกงั คามร ท มี่4ตี )อ่ กคานรพยกิ การระ2ด6ับ7 ทงั้ น้ี ขอ้ เสนอดงั กลา่ วไดม้ าจากการทกี่ ระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยไ์ ดจ้ ดั เวทรี บั ฟงั ความเหน็ เแกล่ยี ะวคกวับากมาตร้อขงับกเาครลข่ืออนงคงานนพดิกา้ านรคสน�ำหพริกบัารนใำ� นไป4กำ�ภหานคดในนชโ่วยงบเาดยือรนะพดฤับษชภาตาคิตมอ่ ไ-ปก2ร6ก8ฎาคม 2562 เพ่อื ให้ทราบปัญหา 5. การเขา้ ถงึ บริการสาธารณสุขของคนพกิ าร ขอ้ มลู จากผลสำ� รวจของสำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาตเิ มอ่ื ปี 2560 พบวา่ มคี นพกิ ารทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั ความชว่ ยเหลอื หรือสวัสดิการจากรัฐประมาณ 7.8 แสนคนจากคนพิการท้ังหมด 3.7 ล้านคน หรือร้อยละ 21.2 และข้อมูล ไกดา้รรบัเขกา้ าถรงึ ฟบนื้รกิฟาสู รมจรารกถฐภานาพขอท้ มางลู กขาอรงแสพำ� นทกัยง์ปารนะหมลากัณปร1ะ.5กนั แสสขุ นภคานพจแาหกง่ คชนาตพเิ กิมาอ่ื รเด1อื นลมา้ นนี คาคนม2629562 พบวา่ มคี นพกิ าร เม่ือปี 2560 คสช. ได้มีมติแก้ไขค�ำสั่งหัวหน้า คสช. ท่ี 58/2559 เร่ืองการรับบริการสาธารณสุข ของคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม เป็นผลให้ คนพกิ ารทเ่ี ขา้ ระบบการจา้ งงานสามารถเลอื กไดว้ า่ จะใชร้ ะบบประกนั สงั คมหรอื ระบบประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ตอ่ มา เมอ่ื วนั ท่ี 10 ตลุ าคม 2562 คณะกรรมการหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) มมี ตเิ หน็ ชอบใหศ้ นู ยบ์ รกิ ารคนพกิ าร ทว่ั ไปเขา้ รว่ มเปน็ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ อนื่ ตามมาตรา 3 ของพระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 266 จาก ปญั หาและอปุ สรรคในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายการสง่ เสรมิ การมงี านท�ำของคนพกิ าร ตามมาตรา ๓๕, โดยสถานี พฒั นาสังคม แนวหน้า, 2562. สืบคน้ จาก https://www.naewna.com/lady/columnist/39361 267 จาก “จุรินทร์”สั่ง พม. ปลดล็อกส่งเสริมคนพิการมีงานท�ำ, โดย เดลินิวส์, 2562. สืบค้นจาก https:// www.dailynews.co.th/politics/737692 268 จาก อธิบดี พก. ย้�ำคนพิการต้องเข้าถึงสิทธิอย่างเท่าเทียม, โดย คมชัดลึก, 2562. สืบค้นจาก https:// www.komchadluek.net/news/government-of-thailand/384333 269 จาก เลง็ ปรบั ‘ศูนย์บรกิ ารคนพิการ’ เป็นสถานบรกิ ารสาธารณสุข เพ่ิมการเข้าถึง, โดย มติชนออนไลน์, วนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2562. สบื ค้นจาก https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_1719963

คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 126 National Human Rights Commission of Thailand รวมทง้ั เหน็ ชอบใหจ้ ดั ทำ� มาตรฐานบรกิ ารและมาตรฐานหนว่ ยบรกิ ารสำ� หรบั ศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารทวั่ ไป กำ� หนดรายการ คจ่านยพสิก�ำาหรรไับด้บมรติกิดารังกฟลื้น่าฟวูสมมีทร่ีมราถจภาากพขท้อาเสงนกาอรทแ่ีไพดท้จายก์แกกา่ครนเปพิดิกราับรเฟพังิ่มคเวตาิมมทเหี่ส็นามจาารกถเคใชร้จือ่าขย่าจยาคกนกพอิกงาทรุนเมฟื่อื้นปฟี ูส2ม5ร6รถ1ภ2า7พ0 ซงึ่ ชว่ ยใหค้ นพกิ ารทเี่ ปน็ คนปว่ ยสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ไดค้ รอบคลมุ หลายพน้ื ทมี่ ากขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม คนพกิ าร ยังพบอุปสรรคในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขอยู่ โดยเฉพาะคนพิการบางประเภท เช่น คนพิการทางการเคล่ือนไหว หรอื ทางรา่ งกายอาจมีอปุ สรรคในการเดินทางไปยังสถานบริการสาธารณสุข เปน็ ต้น 6. การเข้าถงึ สทิ ธใิ นการเลือกต้งั ของคนพิการ ในช่วงต้นปี 2562 รัฐบาลได้กำ� หนดให้มีการจัดการเลือกตั้งทั่วไปในวันท่ี 24 มีนาคม 2562 ซึ่งในการ ทเต่ีมรีสียิทมธกิเาลรือจกัดตก้ังาทร่ัวเลปือรกะตเท้ังศสป�ำรนะักมงาาณนค1ณ.8ะกลรร้ามนกคานร2ก7า1รเลตือากมตม้ังาไตดร้มาีกา9ร2จัดขกอางรพเพร่ืะอรอา�ำชนบวัญยคญวัตาิปมสระะกดอวบกแรัฐกธ่ครนรพมิกนาูญร ว่าด้วยการเลือกต้งั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ท่บี ัญญัตใิ ห้มีการอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรบั การออกเสียง ลงคะแนนของคนพิการ หรือจัดให้มีการช่วยเหลือในการออกเสียงลงคะแนนภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการ ประจ�ำหน่วยเลือกต้ังนั้น และตามระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ขอ้ 141 ทก่ี ำ� หนดให้คณะกรรมการหรอื ผูซ้ งึ่ ไดร้ ับมอบหมาย หรอื คณะกรรมการประจำ� หนว่ ยเลือกตัง้ จัดให้มีการอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับการออกเสียงลงคะแนนของคนพิการไว้เป็นพิเศษ หรือจัดให้มีการช่วยเหลือ ในการออกเสียงลงคะแนนตามความจ�ำเป็นและตามเจตจ�ำนงของคนพิการ หรืออาจจัดท่ีเลือกต้ังส�ำหรับคนพิการ หรือทพุ พลภาพ หรือผสู้ งู อายุเปน็ กรณพี เิ ศษ ในทางปฏิบัติ คนพิการหรือทุพพลภาพหรือผู้สูงอายุสามารถออกมาใช้สิทธิเลือกต้ังได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ การไปเลือกตั้งล่วงหน้าในวันท่ี 17 มีนาคม 2562 ณ ท่ีเลือกต้ังกลางส�ำหรับคนพิการหรือทุพพลภาพหรือผู้สูงอายุ ซึ่งมี 10 แห่งท่ัวประเทศ แบง่ เปน็ ในกรงุ เทพมหานคร 3 แหง่ ภาคกลาง 4 แห่ง (พระนครศรีอยุธยา ชลบรุ ี (2 แหง่ ) และสมุทรปราการ) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ มีภาคละ 1 แห่ง (นครพนม เชียงใหม่ และ สงขลา) หรือการไปเลือกตั้งในหน่วยเลือกตั้งปกติในวันที่ 24 มีนาคม 2562 ซ่ึงทุกหน่วยเลือกตั้งจะมีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก ไดแ้ ก่ ทนี่ ง่ั รอ ชอ่ งทางพเิ ศษ จดุ จอดรถ หอ้ งนำ้� ราวจบั รถเขน็ บตั รทาบเลอื กตงั้ สำ� หรบั คนพกิ ารทางการเหน็ รวมท้ังมเี จา้ หน้าที่คอยชว่ ยเหลอื กรณีผูม้ ีสิทธไิ ม่สามารถทำ� เครือ่ งหมายไดเ้ อง ข้อมูลจากส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังระบุว่า มีคนพิการและผู้สูงอายุท่ีมาใช้สิทธิเลือกต้ังล่วงหน้า ในหนว่ ยเลอื กตง้ั พเิ ศษ 753 คน ปญั หาทพ่ี บคอื ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทเ่ี ปน็ คนพกิ าร ผสู้ งู อายจุ ำ� นวนหนงึ่ ไดแ้ สดงความกงั วล เก่ียวกับการเข้าไม่ถึงข้อมูลการเลือกต้ัง (ระเบียบ กฎเกณฑ์ พรรคการเมือง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง) กรรมการประจ�ำ หน่วยงานเลือกตั้งบางคนลังเลท่ีจะให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการหรือผู้สูงอายุในการท�ำเคร่ืองหมายลงในบัตรเลือกตั้ง 270 จาก เลง็ ปรับ ‘ศูนยบ์ รกิ ารคนพกิ าร’ เป็นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เพม่ิ การเข้าถงึ . แหล่งเดิม. 271 จาก อธบิ ดี พก. ลงพนื้ ทสี่ ถานคมุ้ ครองและพฒั นาคนพกิ ารพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ตรวจเยย่ี มหนว่ ยเลอื กตงั้ ลว่ งหนา้ ส�ำหรบั คนพกิ ารและผู้สงู อายุ พรอ้ มเชญิ ชวนคนพิการ ผ้สู ูงอายุ ออกมาใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั โดยพร้อมเพรยี ง, โดยกรมส่งเสริม และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร, 2562. สืบค้นจาก http://www.dep.go.th/Content/View/4175/1

127 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ แม้ว่ากฎหมายหรือระเบียบก�ำหนดให้สามารถท�ำได้หากเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคนพิการหรือผู้สูงอายุ ผู้มีสิทธิ เลอื กตงั้ ทเี่ ปน็ คนพกิ ารหรอื ผสู้ งู อายสุ ะดวกทจ่ี ะไปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ทหี่ นว่ ยเลอื กตง้ั ปกติ ซงึ่ อยใู่ กลก้ บั ทพี่ กั อาศยั มากกวา่ การไปใชส้ ิทธเิ ลอื กตง้ั ที่หนว่ ยเลอื กต้ังพเิ ศษ เน่อื งดว้ ยอปุ สรรคในด้านการเดนิ ทาง ทง้ั น้ี ในประเด็นเรอ่ื งการเขา้ ถึง การใช้สิทธิเลือกต้ัง กสม. โดยคณะท�ำงานด้านสิทธิผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก การศึกษา และการสาธารณสุข ไดม้ ีการหารือกบั ผ้แู ทนส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังในประเด็นดงั กลา่ วแล้วเมื่อวันท่ี 30 ตลุ าคม 2562 4บทที่ ท่ีมา: มติชนออนไลน์ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล 7. การสรา้ งความตระหนักรู้ การสรา้ งความตระหนกั รเู้ กยี่ วกบั คณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยข์ องคนพกิ ารเปน็ สงิ่ สำ� คญั ทจี่ ะทำ� ให้ สังคมปฏิบัติต่อคนพิการโดยเท่าเทียมกับบุคคลอื่นและมีส่วนช่วยขจัดการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ แผนพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 5 (พ.ศ. 2560 - 2564) ไดก้ ำ� หนดเรอื่ งการเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและเจตคติ เชิงสรา้ งสรรคต์ อ่ คนพกิ ารและความพกิ ารไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 3 ซ่งึ มีแนวทางด�ำเนินงานประกอบด้วยการเสริมสร้าง ความเขา้ ใจแกผ่ บู้ รหิ ารนโยบายในทกุ ระดบั สรา้ งการรบั รแู้ ละความเขา้ ใจแกส่ งั คมผา่ นสอ่ื สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรม ทเี่ ปน็ การสรา้ งเสรมิ เจตคตทิ ด่ี ตี อ่ คนพกิ าร ผลกั ดนั การบรรจเุ รอ่ื งคนพกิ ารในหลกั สตู รการเรยี น เปน็ ตน้ ในปี 2562 สกูร่สมังคสง่มเแสหรมิ่งคแลวาะมพเฒัข้านใาจค”ณุ เภพา่ือพสชรวี ้าติ งคอนงคพ์คกิ วาราไมดรจ้ ู้ใัดหก้สิจังกครมรเมข้ตาใา่ จงเ ๆกี่ยเวชก่นับ“คBวaาcมkพtิกoารSแcลhะoคoนl พสิกอื่ สารา2รเ7ช2งิ สมรีมา้ งาสตรรรกคา.์ .ร. เสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิทธิคนพิการแก่คนพิการ ครอบครัว ชุมชน และสังคม โดยมีการจัดประชุม ใคหนค้ พวิกาามรรเู้ตรล่ือองสดทิจนธคิปนรพะชิกาาสรมั เพผันยธแ์เพร่อืร่สงสือ่ ิทปธริคะนชาพสกิ มั าพร2ัน7ธ3์เรือ่ งสทิ ธคิ นพกิ าร จดั ท�ำส่อื การ์ตูน Animation เร่ืองสทิ ธิ 272 จากพก.เสรมิ สรา้ งเจตคตสิ งั คมเพอื่ คนพกิ าร,โดยคมชดั ลกึ ,2562.สบื คน้ จากhttp://www.komchadluek.net/ news/government-of-thailand/371151 273 จาก หนงั สอื กรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร ดว่ นทส่ี ดุ ที่ พม ๐๗๐๓/๗๘๓๐ ลงวนั ที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒. งานเดิม.

คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 128 National Human Rights Commission of Thailand บทประเมนิ สถานการณแ์ ละข้อเสนอแนะ แม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมายส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการมาตั้งแต่ปี 2550 และเข้าเป็นภาคี อนุสัญญา CRPD ต้ังแต่ปี 2551 แต่ในภาพรวม คนพิการยังไม่สามารถเข้าถึงสิทธิได้จริงในหลายด้าน โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในดา้ นการศกึ ษา การมงี านทำ� และการเขา้ ถงึ บรกิ ารขนสง่ สาธารณะ เนอ่ื งจากการขาดแคลนอปุ กรณส์ งิ่ อำ� นวย ความสะดวกต่าง ๆ ท่ีจ�ำเป็นต่อการเข้าถึงสิทธิและในการด�ำรงชีวิตโดยเป็นส่วนหนึ่งของสังคมตามความมุ่งหมาย ของอนสุ ญั ญา CRPD อยา่ งไรกด็ ี ในปี 2562 รฐั บาลไดม้ กี ารแสดงเจตนารมณท์ จี่ ะสง่ เสรมิ สทิ ธแิ ละพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ ารในหลายโอกาส และมกี ารเปดิ ใหค้ นพกิ ารและภาคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการดำ� เนนิ งานของภาครฐั ซงึ่ นบั เปน็ นิมิตหมายที่ดีในการขับเคล่ือนการด�ำเนินการตามกฎหมายและนโยบายด้านคนพิการให้มีความก้าวหน้าและเกิดผล เปน็ รปู ธรรม ท้งั น้ี กสม. มีข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ในบางประเด็น ดงั น้ี 1. รัฐบาลควรก�ำหนดมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพ่ือขับเคลื่อนงานด้านสิทธิคนพิการใน 5 ประเด็นตามข้อเสนอ ของสมัชชาเครือข่ายคนพิการระดับชาติให้มีความก้าวหน้าเป็นรูปธรรม รวมถึงการยกระดับศูนย์บริการคนพิการ เพ่ือให้คนพิการได้รับบริการท่ีตอบสนองต่อความต้องการจ�ำเป็นของคนพิการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว และการ สร้างเสริมเจตคติที่ดีของคนพิการต่อตนเอง ตลอดจนของครอบครัวและสังคมที่มีต่อคนพิการ ทั้งนี้ โดยให้คนพิการ มสี ่วนร่วมในข้ันตอนตา่ ง ๆ ทัง้ การกำ� หนดแนวทาง/มาตรการ การด�ำเนนิ งาน และการตดิ ตามผล 2. รัฐบาลพึงแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาของคนพิการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานท่ีมีผลกระทบต่อ สิทธิดา้ นอ่ืน เชน่ สทิ ธใิ นการมีงานท�ำ โดยรัฐควรพิจารณาจดั สรรงบประมาณรายหัวแก่เดก็ พกิ ารใหเ้ หมาะสม พฒั นา ทักษะครูในการสอนนักเรียนพิการและสนับสนุนอุปกรณ์ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกด้านการศึกษาส�ำหรับเด็กพิการ อย่างเพยี งพอและท่วั ถึง 3. รัฐบาลควรก�ำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่จัดบริการขนส่งสาธารณะท้ังในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ต้องจัด อปุ กรณ์สิ่งอำ� นวยความสะดวกเพ่อื ใหค้ นพกิ ารเขา้ ถงึ ได้ส�ำหรบั โครงการท่ีจะดำ� เนินการในอนาคตทุกโครงการ โดยควร พิจารณามีมาตรการทางกฎหมายเพ่ือใช้บังคับให้เกิดผล รวมทั้งควรส่งเสริมให้มีการปรับปรุงส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ในระบบขนส่งที่มอี ยู่เดมิ เพ่ือให้คนพิการเข้าถึงได้มากท่สี ดุ 4.4  สทิ ธสิ ตรี ภาพรวม กตกิ า ICCPR และกติกา ICESCR ได้รับรองสิทธขิ องบุคคลทจ่ี ะไดร้ บั สทิ ธแิ ละเสรภี าพท่กี �ำหนดในกตกิ า อย่างเท่าเทียมโดยไม่มกี ารเลือกปฏิบัติดว้ ยเหตตุ า่ ง ๆ รวมถงึ ดว้ ยเหตุแหง่ เพศ นอกจากนีป้ ระเทศไทยไดเ้ ข้าเปน็ ภาคอี นสุ ญั ญา CEDAW ทส่ี ง่ เสรมิ ความเสมอภาคระหวา่ งหญงิ และชายเปน็ การเฉพาะโดยมงุ่ ขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ิ ต่อสตรีและส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เข้าถึงสิทธิและได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการศึกษา ด้านสุขภาพและการได้รับบริการสาธารณสุข การท�ำงาน การมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ความเท่าเทียมในเร่ืองครอบครัวและการแต่งงาน รวมถึงการได้รับความคุ้มครองโดยเท่าเทียมภายใต้กฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 27 รับรองความเสมอภาคของบุคคล ภายใต้กฎหมายและรับรองว่าชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน รวมท้ังห้ามการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ตอ่ บคุ คลดว้ ยเหตแุ หง่ เพศ นอกจากน้ี ยงั มบี ทบญั ญตั ใิ นสว่ นอนื่  ๆ ทค่ี มุ้ ครองสทิ ธสิ ตรี ไดแ้ ก่ มาตรา 48 ทก่ี ำ� หนด ให้มารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตรมีสิทธิได้รับความคุ้มครองและช่วยเหลือตามที่กฎหมาย

129 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ บัญญัติ และมาตรา 71 ที่ก�ำหนดใหร้ ัฐพึงให้ความชว่ ยเหลอื เด็ก เยาวชน สตรี ผสู้ ูงอายุ คนพกิ าร ผู้ยากไร้ และ 4บทที่ ผู้ด้อยโอกาสให้สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ และคุ้มครองป้องกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรง หรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม รวมท้ังให้การบ�ำบัด ฟื้นฟู และเยียวยาผู้ถูกกระท�ำการดังกล่าว โดยในการจัดสรร ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล งบประมาณ รัฐพึงค�ำนึงถึงความจ�ำเป็นและความต้องการที่แตกต่างกันของเพศ วัย และสภาพของบุคคล ท้ังน้ี เพ่อื ความเปน็ ธรรม คณะกรรมการประจ�ำอนุสัญญา CEDAW ได้มีข้อสังเกตต่อการปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ ของประเทศไทย ตามรายงานฉบบั ท่ี 6 และ 7 เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม 2560 ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เชน่ การประเมนิ ผลกระทบของมาตรการ ต่อต้านการกระท�ำรุนแรงต่อสตรีและเด็กหญิง รวมถึงการพิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ การดูแลผู้หญิง ท่ีถูกกระท�ำรุนแรงในครอบครัวให้ได้รับความคุ้มครองและเข้าถึงความช่วยเหลือทั้งด้านกฎหมาย สุขภาพ และ การดูแลสภาพจิตใจท่ีเพียงพอ การป้องกันการแสวงประโยชน์จากการค้าประเวณีและมีมาตรการแก้ไขปัญหา การค้าประเวณีที่ต้นเหตุ การพิจารณาก�ำหนดมาตรการเพื่อประกันว่าผู้หญิงจะสามารถมีส่วนร่วมทางการเมือง และกิจการสาธารณะได้อย่างเท่าเทียมกับผู้ชายในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในระดับนโยบาย ทั้งในองค์กร ดา้ นนิตบิ ญั ญตั ิ บริหาร ตุลาการ รวมถึงหน่วยงานตำ� รวจ การเพมิ่ โอกาสใหผ้ หู้ ญงิ ได้รบั การจ้างงานในระบบมากขึน้ ใแนลชะนขบจทัดกทา่ยี ราเกลจือนกโปดฏยิสบง่ัตเิตส่อรมิผกู้หาญริเงขใา้นถกงึ าโรอจก้าางสงทาานงแกลาะรกศากึ รษไาด้รบับรคกิ วาารมดกา้ น้าวสหขุ นภา้าพในแอลาะชกีพารแจลา้ ะงกงาานรช2่ว7ย4เหลือผู้หญิง ในปี 2562 มีสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับสิทธิสตรีและการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ การด�ำเนินการ ของรัฐบาลและหนว่ ยงานของรฐั ท่ีเกย่ี วข้อง รวมทง้ั ปญั หาอุปสรรคในเรือ่ งดงั กล่าว ดงั น้ี 4.4.1 การใชค้ วามรนุ แรงต่อผู้หญงิ ขอ้ มลู จากศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม 1300 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยพ์ บวา่ ในปีงบประมาณ 2561 มีรายงานผู้หญิงถูกกระท�ำรุนแรงใกล้เคียงกับปีงบประมาณก่อนหน้า กล่าวคือ ในปงี บประมาณ 2561 มีผู้หญงิ ถกู กระท�ำรุนแรงรวม 1,046 ราย แบ่งเปน็ กรณกี ารกระท�ำรุนแรงในครอบครวั 834 ราย และนอกครอบครัว 212 ราย ส่วนในปีงบประมาณ 2560 มีผู้หญงิ ถกู กระท�ำรนุ แรงรวม 1,056 ราย แแบละ่งเกปา็นรผลู้ห่วงญลิงะเ8ม4ิด1ทารงเาพยศแ2ล7ะ5เดน็กอหกญจิงาก2ศ1ูน5ย์ชร่วายยเหรลูปือแสบังบคกมาแรลก้วระอทีก�ำหรุนนแ่วรยงงสา่วนนหในหึ่งญท่เี่ใปห็น้คกวาารมทช�ำ่วรย้าเยหรล่าืองกเดา็กย และผู้หญิงท่ีถูกกระท�ำรุนแรง คือ กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงให้โรงพยาบาลในสังกัดจัดต้ังศูนย์ช่วยเหลือเด็กและ สตรใี นภาวะวกิ ฤตจิ ากความรนุ แรงมาตง้ั แต่ปี 2543 โดยใชช้ ่ือวา่ ‘ศนู ย์พึ่งได’้ (One Stop Crisis Center: OSCC) ในปี 2561 กระทรวงสาธารณสุขมีศูนย์ดังกล่าวในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชน รวม 10,611 แห่งทั่วประเทศ และต้ังแต่ปี 2547 - 2561 มีผู้หญิงและเด็กที่ถูกกระท�ำรุนแรงมารับบริการ 274 From Concluding observations on the combined sixth and seventh periodic reports of Thailand, by Committee on the Elimination of Discrimination against Women, 2017. Retrieved from https://www.fidh.org/ IMG/pdf/cedaw_c_tha_co_6-7_25136_e-2.pdf 275 จาก สถติ สิ ายดว่ น ๑๓๐๐, กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย.์ สบื คน้ จาก https://1300thailand. m-society.go.th/records. ทัง้ น้ี สถิตใิ นปงี บประมาณ 2562 มีข้อมูลผูถ้ กู กระท�ำรนุ แรงท้งั ในและนอกครอบครวั ในภาพรวม แตย่ งั ไมม่ ขี อ้ มูลแยกเพศและอายขุ องผถู้ ูกกระทำ� รุนแรง.

คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ 130 National Human Rights Commission of Thailand ทีศ่ ูนย์พ่ึงไดท้ ้งั สนิ้ 247,480 ราย เฉลีย่ ปลี ะ 16,000 ราย เปน็ ผ้หู ญิง 119,331 รายและเป็นเดก็ 121,860 ราย การกระทำ� รนุ แรงในเดก็ มีสาเหตมุ าจากการปลอ่ ยปละละเลยของครอบครวั ขาดการดูแลอยา่ งเหมาะสมจนเปน็ สาเหตุ ทใหะ้เเดล็กาถะูกววิการทะททำ��ำรราุ้นยแรรา่ งงทกาางยเพกันศขมอากงคทู่ส่ีสมุดรสส2่ว7น6ใหญ่จะถูกกระท�ำโดยคนใกล้ชิด ส่วนในสตรีมีสาเหตุมาจากการหึงหวง ท่มี า: Thai PBS NEWS เมอ่ื วนั ท่ี 19 พฤศจกิ ายน 2562 ตวั แทนจากเครอื ขา่ ยสตรี 4 ภาค รว่ มกนั เดนิ รณรงคย์ ตุ คิ วามรนุ แรง ตอ่ เดก็ ผหู้ ญงิ และครอบครวั เนอื่ งในวนั หยดุ ความรนุ แรงตอ่ สตรสี ากล ซง่ึ ตรงกบั วนั ที่ 25 พฤศจกิ ายนของทกุ ปี พรอ้ มกนั นี้ ได้ยื่นหนังสือต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกร้องให้รัฐบาลมีมาตรการ คุ้มครองเด็กและผหู้ ญิงทีถ่ กู กระทำ� รนุ แรงหลงั พบสถิตหิ ญงิ ไทยถกู ทบุ ตี ทำ� รา้ ย คุกคาม ละเมดิ และแสวงหาประโยชน์ ทางเพศ จากการเข้ารับการรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลและแจ้งความร้องทุกข์ด�ำเนินคดีเฉล่ียปีละ 30,000 คนต่อปี ในจ�ำนวนนี้เสียชีวิตมากถึง 1,825 คน และยังมีอีกจ�ำนวนมากที่ไม่แจ้งความร้องทุกข์เพราะอับอาย ไม่เชื่อม่ัน ในกระบวนการยุติธรรม และไม่รู้กฎหมายโดยเฉพาะชุมชนชนบท เครือข่ายฯ ยื่นข้อเสนอต่อรัฐบาลเพ่ือแก้ปัญหา โดยขอใหน้ ายกรฐั มนตรเี ปน็ ผนู้ ำ� รณรงคช์ วนประชาชน ลด ละ เลกิ ดม่ื เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลท์ กุ เทศกาล และไมข่ ยายเวลา ให้สถานบริการจ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขอให้เพิ่มเนื้อหาหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาทักษะชีวิตเรื่องเพศ ให้สํานักงานตํารวจแห่งชาติมีหน่วยเช่ียวชาญเฉพาะทางสอบสวนคดีครอบครัวการละเมิดทางเพศ รวมทั้ง ปโดรยับไกมรต่ ะ้อบงรวอนใกหาเ้ กริดทก�ำางราทนำ�สร่งา้ เยสจรนิมบสาวดัสเดจิภบ็ าหพรแอื เลสะียคชววี าิตม2ป7ล7อดภัยให้ผู้หญิงและบุคคลในครอบครัวทันทีเม่ือแจ้งเหตุ กฎหมายหลกั ท่ีได้มกี ารตราขึ้นเพื่อแกไ้ ขปัญหาดงั กลา่ ว ได้แก่ พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ซงึ่ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหร้ ฐั มอี ำ� นาจเขา้ ไปแทรกแซงชว่ ยเหลอื ผถู้ กู กระทำ� รนุ แรง ในครอบครัว และให้โอกาสผู้กระท�ำรุนแรงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้เป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัวโดยไม่ได้ 276 จาก สถติ ศิ นู ยพ์ ่ึงได้ ๑๔ ปี เด็ก - สตรี ถกู กระท�ำรนุ แรง ๒๔๗,๔๘๐ ราย, โดย ประชาไท, วนั ท่ี 2561. สบื ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2018/11/79659 277 จาก เครือข่ายสตรี ๔ ภาค ยน่ื ๘ ข้อเสนอถงึ นายกฯ ยตุ คิ วามรุนแรงตอ่ สตร,ี โดย เวริ ค์ พอยท์นิวส์, วันที่ 2562. สบื คน้ จาก https://workpointnews.com/2019/11/19/02-29/

131 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ มงุ่ หมายทจี่ ะเอาผดิ ทางอาญาตอ่ บคุ คลดงั กลา่ ว แตห่ ากไมส่ ามารถทำ� เชน่ นน้ั ได้ การดำ� เนนิ การกต็ อ้ งทำ� ใหค้ รอบครวั 4บทที่ สูญเสียน้อยที่สุด โดยค�ำนึงถึงเด็กเป็นส�ำคัญ กฎหมายก�ำหนดให้มีการขอการคุ้มครองสวัสดิภาพหรือบรรเทาทุกข์ ชว่ั คราวเมอ่ื จำ� เปน็ เรง่ ดว่ น ซง่ึ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� งานรว่ มกบั ทมี สหวชิ าชพี นกั สงั คมสงเคราะห์ นกั สาธารณสขุ ผใู้ หญบ่ า้ น ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล นักจิตวิทยา เข้าช่วยเหลือผู้ถูกกระท�ำรุนแรงและป้องกันไม่ให้ถูกกระท�ำซ�้ำอีก แต่แม้ว่าจะมีกฎหมายดังกล่าว ก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาการกระท�ำรุนแรงในครอบครัวได้ ซึ่งเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ผู้หญิงที่ ถกู กระทำ� รนุ แรงมกั ไมก่ ลา้ แจง้ ความและเปน็ ฝา่ ยยอมเพราะยงั ตอ้ งพง่ึ พาสามดี า้ นการเงนิ หรอื เพราะรกั ลกู จงึ พยายาม รักษาครอบครัวไว้ ในขณะที่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจบางคนอาจไม่รับแจ้งความเพราะมีความเข้าใจน้อยหรือมีแนวโน้มจะ เกลี้ยกล่อมให้มีการพูดคุยกันก่อน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะหลายคร้ังเม่ือมีการแจ้งความแล้วคู่ขัดแย้งกลับคืนดีกันแล้ว ขวา่อตใหนถ้มอีอนำ� นกาารจแเหจนง้ คอื วกาวมา่ แสลว่ นะตสอ้าเงหกตาทุรคท่ี วำ� บใหคเ้มุกอดิ กีกฝาา่รยกหระนทึ่งำ�ซรงึ่ นุมแอี รำ� งนเกาจดิ นจา้อกยกกาวร่าด2มื่7ส8รุ าและทศั นคตขิ องผกู้ ระทำ� รนุ แรง ในเดอื นพฤษภาคม 2562 ไดม้ ีการตราพระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ การพฒั นาและคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2562 เพอ่ื ใชแ้ ทนพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 ซงึ่ จะ ถูกยกเลิกไปเมื่อกฎหมายฉบับใหม่มีผลใช้บังคับในวันที่ 20 สิงหาคม 2562 พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนา และคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2562 มีสาระส�ำคัญ คือ ยกเลิกความผิดอาญาฐานกระท�ำความรุนแรง ในครอบครัว ปรบั ปรุงมาตรการคุม้ ครองสวสั ดิภาพบคุ คลในครอบครัว ก�ำหนดใหม้ ีกลไกในการสง่ เสริม พฒั นาและ คมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั ใหม้ กี ารชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองผทู้ ถี่ กู กระทำ� รนุ แรง การใหม้ กี ารแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟผู กู้ ระทำ� รนุ แรง และการใหศ้ าลมดี ลุ พนิ จิ ลงโทษผกู้ ระทำ� รนุ แรงนอ้ ยกวา่ ทกี่ ฎหมายกำ� หนดในกรณที ผี่ กู้ ระทำ� นน้ั เคยถกู กระทำ� รุนแรงหรือถกู กระท�ำโดยมิชอบซ้�ำกนั อย่างตอ่ เนือ่ ง อยา่ งไรกต็ าม องคก์ รภาคประชาสงั คมทที่ ำ� งานดา้ นผหู้ ญงิ ไดแ้ สดงขอ้ กงั วลตอ่ กฎหมายดงั กลา่ วใน บางประเดน็ เชน่ การทกี่ ฎหมายเนน้ สง่ เสรมิ การไกลเ่ กลยี่ และรกั ษาสถาบนั ครอบครวั มากกวา่ การคมุ้ ครองผถู้ กู กระทำ� รุนแรง ซึ่งอาจท�ำให้ผู้ถูกกระท�ำรุนแรงเส่ียงต่อการถูกกระท�ำซ�้ำ นอกจากน้ี การก�ำหนดให้การด�ำเนินการต่าง ๆ ตามกฎหมายส่วนใหญ่ไปอยทู่ ่ีสำ� นักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวัด (พมจ.) ซึง่ มีบคุ ลากรไม่มาก กแลาระดทำ� ศ่ี เนนู ยนิ พ์งาฒั นนตาาคมรกอฎบหคมราวั ยในไมชม่มุ ปีชรนะซสง่ึทิ เปธภิน็ าศพนู 2ย7ท์ 9จ่ี ดัทตง้ั นงั้ โี้ดในยชอว่งงคตก์ น้รเเอดกอื ชนนสแงิ หลาะคทมำ� ง2าน5ใ6น2ลกักษอ่ ณนหะนอาา้ สทาก่ี สฎมหคั มราอยาสจง่ ทเสำ� รใหมิ ้ การพฒั นาและคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั จะมผี ลบงั คบั ใช้ มผี แู้ สดงความกงั วลเกย่ี วกบั ขอ้ จำ� กดั ของศนู ยส์ ง่ เสรมิ และ คุ้มครองครอบครัวในระดับจังหวัด 77 จังหวดั โดยเฉพาะศักยภาพของบคุ ลากรและเจ้าหนา้ ทท่ี ่จี ะเป็นผู้ปฏบิ ตั ิงาน ตเพารมากะฎบาหงมแาหยง่ 2เพ8ง่ิ 0ผา่ ซน่ึงกใานรเฝวกึ ลอาบตร่อมมแาละไเดข้มา้ ทีกำ�างราปนรไดะไ้กมาน่ ศาในช้พรวรมะทรง้ัาศชกักย�ำภหานพดขแอกงห้ไขวั เหพนิ่มา้ เศตนู ิมยพฯ์ รซะง่ึรตาอ้ ชงบมัญกี าญรัตออิสก่งคเสำ� รสิมงั่ การพฒั นาและคมุ้ ครองสถาบนั ครอบครวั พ.ศ. 2562 เพอ่ื ขยายกำ� หนดเวลาในการมผี ลใชบ้ งั คบั ของพระราชบญั ญตั ิ 278 จาก เจาะปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั ผา่ นวลฮี ติ “พด่ี นุ ะ หนไู หวหรอ,” โดย เวริ ค์ พอยทน์ วิ ส,์ 2562. สบื คน้ จาก https://workpointnews.com/2019/05/20/domestic-violence-clip/ 279 จาก ช�ำแหละ พ.ร.บ. สง่ เสรมิ ครอบครวั ฯ เนอ้ื หาหลงทศิ เนน้ ไกลเ่ กลยี่ วงั วนมายาคตเิ กา่ “ลน้ิ กบั ฟนั ,” โดย สำ� นกั ขา่ ว Hfocus, 2562. สบื ค้นจาก https://www.hfocus.org/content/2019/09/17735 280 จาก ถอดบทเรียนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ นับถอยหลัง พ.ร.บ. คุ้มครองครอบครัวฯ บังคับใช้ ๒๐ ส.ค.น้ี, โดยผู้จดั การออนไลน์, 2562. สบื คน้ จาก https://mgronline.com/qol/detail/9620000074909

คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ 132 National Human Rights Commission of Thailand อสขออ่งเกงสพไรปริม2ะก8ราา1รชเพบพัฒัญอื่ เญนปานตั็ แดิกลงัาะกรคเลตุ้มา่ รวคยี แรมลอคะงวกสาฎมถหพาบมรอ้ัานยมคอดร่ืนา้อนทบบ่ีเคกคุ ร่ยี ลัววาขกพ้อร.งแศใล.หะเ้2รปอ5น็ ง6ไรป2บั อกยซาา่ร่ึงงดจสำ�ะอเมนดีผนิคลกลใร้อชะง้บบกังวันคน2ับก8ใา2นร พวันจิ าทร่ี ณ2า0คดสตี ิงาหมาหคลมกั ก2าร5ใ6ห2ม่ นอกจากน้ี เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2562 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติม ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับท่ี 27) พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นการปรับปรุงบทบัญญัติความผิดเกี่ยวกับเพศบางประการ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย เช่น การเพิ่มโทษส�ำหรับการกระท�ำความผิดในลักษณะข่มขู่โดยท�ำให้ ผู้ถูกกระท�ำเข้าใจว่าผู้กระท�ำมีอาวุธปืนหรือวัตถุระเบิด และการบันทึกภาพ เสียง และเผยแพร่หรือส่งต่อภาพหรือ เสียงของการกระท�ำช�ำเราหรืออนาจาร รวมทั้งเพ่ือให้ความคุ้มครองบุคคลซึ่งถูกกระท�ำทางเพศกลุ่มต่าง ๆ มากย่ิงขึ้น เช่น เด็ก ผ้อู ย่ภู ายใตอ้ �ำนาจของผกู้ ระท�ำ และผูซ้ ึ่งไมส่ ามารถปกป้องตนเองได้ โดยการเพม่ิ โทษสำ� หรบั การกระทำ� ต่อ ผ้ทู พุ พลภาพ ผู้มจี ติ บกพร่อง คนปว่ ย คนชรา และสตรมี คี รรภ์ 4.4.2 การป้องกันการแสวงประโยชนจ์ ากการค้าประเวณี กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อยู่ระหว่างการศึกษาวิจัยเพ่ือทบทวนกฎหมายการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีโดยก�ำหนดให้มีมาตรการ คระมุ้ บคบรอดงแู สลทิ ผธูใ้ สิหำ�้บหรริกบั าผรใู้ทหาบ้ งรเพกิ ศารเทชาน่ งเรพะศบบเชลน่ งกทาะรเดบแูียลนสแขุบภบาสพมกัคารรใไจดแร้ ลบั ะคกา่ ตารอจบัดแตท้ังนกอสงทิ ทธุนคิ ควา้มุ มคเรปอน็ งอแยลสู่ ะว่ พนัฒตนวั ากอาารชกพีำ� ห2น8ด3 จากการรับฟังความเห็นซ่ึงจัดโดยคณะผู้วิจัยต่อประเด็นดังกล่าวข้างต้น ประชาชนและภาค ประชาสังคมได้แสดงข้อห่วงใยที่ส�ำคัญ เช่น 1) ระบบลงทะเบียนผู้ให้บริการทางเพศอาจเป็นการท้ิงร่องรอยเก่ียวกับ ประวตั อิ าชพี ของบคุ คลวา่ เคยเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารทางเพศ ซง่ึ แมจ้ ะมกี ารกำ� หนดมาตรการเกบ็ รกั ษาความลบั หรอื ลบประวตั ิ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลในกรณที ย่ี ตุ ไิ มป่ ระกอบอาชพี ดงั กลา่ วแลว้ แตอ่ าจมชี อ่ งวา่ งในทางปฏบิ ตั จิ นไมส่ ามารถดำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ จรงิ ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั การลบประวตั อิ าชญากรรมของเดก็ ซง่ึ แมจ้ ะมกี ฎ ระเบยี บ หรอื ขอ้ บงั คบั ใหต้ อ้ งปฏบิ ตั แิ ลว้ กต็ าม แตย่ งั พบปญั หาในทางปฏบิ ตั ซิ ง่ึ มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู จนสง่ ผลใหเ้ กดิ การเลอื กปฏบิ ตั ใิ นการจา้ งงานขน้ึ 2) ระบบการลงทะเบยี น ผใู้ หบ้ รกิ ารทางเพศแบบสมคั รใจอาจทำ� ใหเ้ กดิ ชอ่ งวา่ งของการเขา้ ถงึ สทิ ธใิ นกรณที ผี่ ใู้ หบ้ รกิ ารทางเพศนนั้ ไมไ่ ดล้ งทะเบยี นไว้ และ 3) การตรากฎหมายเพอ่ื คมุ้ ครองสทิ ธเิ ปน็ การเฉพาะแกบ่ คุ คลผใู้ หบ้ รกิ ารทางเพศซง่ึ แตกตา่ งจากมาตรการคมุ้ ครอง แรงงานด้านอื่น อาจเป็นการแบ่งแยกบุคคลซึ่งประกอบอาชีพผู้ให้บริการทางเพศออกจากแรงงานอ่ืน และก่อให้เกิด การตตี ราจากสงั คมมากขน้ึ นอกจากน้ี ยงั มขี อ้ กงั วลวา่ แนวคดิ ในการจดั ทำ� รา่ งกฎหมายใหมน่ อ้ี าจไมส่ ามารถแกไ้ ขปญั หา 281 จาก พระราชก�ำหนดแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๒. 282 จาก ‘ครม.’ แจงเหตผุ ลเลอื่ นพจิ ารณา พ.ร.ก. แกไ้ ข พ.ร.บ. เปน็ วาระเรง่ ดว่ น ยนั มเี หตจุ �ำเปน็ , โดย มตชิ นออนไลน,์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1654584 283 จาก การสัมมนาประชุมรับฟังการเผยแพร่รายงานความก้าวหน้าข้ันกลาง (interim report) และรับฟังความเห็น “โครงการพฒั นากฎหมายเพอ่ื คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพสตรแี ละครอบครวั : ทบทวนกฎหมายวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณ”ี เมอื่ วนั ท่ี 12 มิถนุ ายน 2562 จัดโดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์

133 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ การทจุ รติ และการคา้ มนษุ ยไ์ ด้ อกี ทง้ั ยงั เปน็ การสน้ิ เปลอื งทรพั ยากรโดยไมจ่ ำ� เปน็ เมอื่ เทยี บกบั เพยี งการยกเลกิ ความผดิ 4บทที่ ฐตารนากคฎ้าปหรมะาเยวขณน้ึ ีโใดหยมส่ มเนัคอื่ รงใจจาตกากมฎพหระมราายชตบา่ งัญ ๆญทัต่มีิปีอ้อยงกสู่ ันามแาลระถปนรำ� ามบาปใชร้คามุม้ กคารรอคงส้าปิทรธะไิ ดเว้อณยีแู่ พล.้วศ2.824539 โดยไม่ต้อง ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ในปี 2562 กสม. ไดอ้ อกรายงานผลการตรวจสอบเรอ่ื งรอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั การปราบปรามการคา้ ประเวณขี องเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ในชว่ งปี 2560 - 2561 ทมี่ กี ารกลา่ วอา้ งวา่ มกี ารลอ่ ซอื้ เพอ่ื แสวงหาหลกั ฐานโดยมกี ารรว่ ม ประเวณกี อ่ นเขา้ จบั กมุ รวมทงั้ มกี ารเสนอขา่ วตรวจคน้ จบั กมุ พนกั งานทท่ี ำ� งานในสถานบรกิ ารในลกั ษณะทไี่ มเ่ หมาะสม เชน่ การเปดิ เผยภาพและขอ้ มลู สว่ นบคุ คลทอ่ี าจทำ� ใหท้ ราบอตั ลกั ษณข์ องผถู้ กู จบั กมุ โดยจากการตรวจสอบของ กสม. พบว่า มีการเสนอข่าวในลักษณะท่ีกระทบสิทธิของผู้ถูกจับกุมตามท่ีกล่าวอ้าง แต่ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่ามีการ ร่วมประเวณใี นการลอ่ ซอ้ื อย่างไรก็ดี กสม. ไดม้ ีข้อเสนอแนะตอ่ สำ� นักงานตำ� รวจแหง่ ชาติให้กำ� ชับเจา้ หนา้ ที่มใิ ห้มี การรว่ มประเวณีในขณะท�ำการลอ่ ซอื้ และหา้ มน�ำสื่อมวลชนเขา้ ไปในสถานทต่ี รวจคน้ จบั กมุ คดคี า้ ประเวณโี ดยเด็ด ขาดทงั้ น้ี ในระหว่างกระบวนการตรวจสอบเร่ืองร้องเรยี น สำ� นกั งานต�ำรวจแห่งชาตไิ ด้มีหนังสือส่งั การภายในกำ� ชับ การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจ โดยห้ามการร่วมประเวณีกับผู้ขายบริการทางเพศอย่างเด็ดขาด รวมท้ัง ใโดหยค้ หำ� นา้ มงึ ถนงึ ำ� หเสลนกั อสขทิ า่ธวมิ หนรษุ อื ยทช�ำนใหแป้ละราศกกั ฏดใศ์ิ นรสคี ่ือวใาดม เๆปซน็ ่งึมภนาษุ พยขก์ อรงณผจีขู้ ำ�าเยปบน็ รติกอ้ างรแทถาลงเงพขศา่ วในเกทยี่ กุ วกกรบั ณก2ีาร8ข5ายบรกิ ารทางเพศ 4.4.3 การสง่ เสริมความเท่าเทียมระหวา่ งหญงิ และชาย ตามทคี่ ณะกรรมการประจำ� อนสุ ญั ญา CEDAW มขี อ้ สงั เกตตอ่ ประเทศไทยในเรอื่ งการมสี ว่ นรว่ ม ทางการเมอื งและในกจิ การสาธารณะของผหู้ ญงิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในระดบั นโยบายนน้ั จากการเลอื กตงั้ ทวั่ ไปเมอ่ื วนั ที่ 24 มีนาคม 2562 พบว่า มีผู้หญิงได้รับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 80 คนจากจ�ำนวนสมาชิก คท2ิดงั้5หเปคม็นนดร2อ้58ย60ล0ใะนคส1นว่ 0น.ห4ขรอือซงคึง่กมิดาารเปกสก็นรรวรหา่้อสายดัสลมสะว่า1ชนกิผ6วู้หฒุเญปิสงิน็ ภใสนามสพาภชบากิ วนแา่ ิตบมบิ ีจบัญ�ำแนญบว่งัตนเแิขสหตมง่ าจชช�ำาิกนตทวิ (เ่ีนสปนน็5ชผ3.หู้) คซญนงึ่ งิ ม2แีจล6�ำนะคแวนนบจบ1าบก2ญั ทคช้ังหนรี าม2ย8ดช72่อื 5จำ�0นควนน 284 จาก “ศลี ธรรม” ดา่ นใหญ.่ .ใครกลา้ ฝา่ ?. ยตุ ขิ อ้ หาคา้ ประเวณ.ี แกส้ ว่ ย - คา้ มนษุ ย,์ โดย หนงั สอื พมิ พแ์ นวหนา้ , 2562. สบื คน้ จาก https://www.ryt9.com/s/nnd/3026352 285 จาก รายงานตรวจสอบผลการตรวจสอบ ที่ ๓๗-๔๐/๒๕๖๒ ลงวนั ที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เร่อื ง สิทธิพลเมอื ง อันเก่ียวเนื่องกบั สิทธสิ ตรี กรณีขอให้ตรวจสอบการด�ำเนินการของเจ้าหน้าท่ขี องรัฐตามพระราชบัญญตั ิป้องกนั และปราบปราม การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙. โดย คณะกรรมการ สิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ. 286 จาก ขอ้ มลู สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ปี ๒๕๖๒, โดย กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั . สบื คน้ จาก http://plan. dwf.go.th/public/tableauPublic.jsp?name=B 287 จาก สญั ญาณดี! สัดสว่ น “ส.ส. - ส.ว. ผหู้ ญงิ ” ปี ๒๕๖๒ กระเพ่อื มประเดน็ ด้านสังคม, โดย มตชิ นออนไลน์, 2562. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/lifestyle/social-women/news_1503544

คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 134 National Human Rights Commission of Thailand ในส่วนของข้าราชการพลเรอื นสามัญ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ปรากฏขอ้ มูลว่า ผูบ้ ริหารหญิง ปปรระะเเภภททวบชิ ราิหกาารรจจ�ำำ�นนววนน223035,1ค3น7คคิดนเปค็นดิ รเ้อปยน็ ลระอ้ ย2ล1ะ.7911.8ป4ระปเรภะทเภอท�ำนทวว่ั ยไปกา5ร7,15,08910คนคคนดิ เคปิดน็ เรปอ้ ็นยรล้อะย5ละ7.32582.7818 สำ� หรบั การทำ� งานในกจิ การตำ� รวจซงึ่ ในปี 2561 มรี ายงานวา่ โรงเรยี นนายรอ้ ยตำ� รวจไดข้ อยกเลกิ การรับสมัครบุคคลภายนอก (หญิง) เข้าเป็นนักเรียนนายร้อยต�ำรวจและบุคคลภายนอกเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร ในสว่ นของส�ำนักงานตำ� รวจแหง่ ชาติจ�ำนวน 280 อตั ราโดยไมม่ กี �ำหนด และให้ดำ� เนินการรบั สมัครและสอบคัดเลือก บส�ำุคนคักลงภาานยตนำ� อรกวจ(แชหาง่ยช)าผตู้สิ ป�ำเรระ็จจกำ� าปรีกศาึกรษศากึ ชษั้นาม2ัธย5ม6ศ2ึกษจาำ� ปนีทวนี่ 428ห0รืออเทัตียรบาแเทท่านเขน้าน้ั เ2ป8็น9นักในเรปียีน2เต5ร6ีย2มทสห�ำนารกั ใงนาสน่วตน�ำขรวอจง แ5ห0ง่0ชอาตตั ไิรดาเ้ จปาดิ กรบั7ส5ม0คั อรตัแรลาะเสพออื่ บดแำ� รขงง่ ตขำ�นั แบหคุ นคง่ ลรภองาสยานรอวกตั เรพปอื่ รบะรจรำ� จกแุ อลงะบแญั ตชง่ าตกงั้ าเปรตน็ ำ�ขรา้ วรจานชคกราบรสาลญั (ญทาำ� บหตันรา้ ทมสี่สี อดั บสสว่ วนนผ)หู้ 2ญ90งิ 4.4.4 การขจัดการเลอื กปฏบิ ตั ดิ ว้ ยเหตุแห่งเพศ พระราชบญั ญตั คิ วามเทา่ เทยี มกนั ระหวา่ งเพศ พ.ศ. 2558 เปน็ กฎหมายทมี่ งุ่ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศและส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างหญิงและชายในการเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ กฎหมาย ดังกล่าวได้ก�ำหนดให้มีกลไกระดับนโยบายและกลไกเพื่อคุ้มครองบุคคลที่ถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ ได้แก่ คณะกรรมการสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ และคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมระหวา่ งเพศ (วลพ.) นอกจากน้ี ยังก�ำหนดใหม้ กี ารจดั ตัง้ กองทนุ การสง่ เสริมความเทา่ เทียมระหวา่ งเพศเพ่อื สนับสนนุ การด�ำเนนิ งาน ด้านนี้ รวมถึงการช่วยเหลือ ชดเชย และเยียวยา หรือบรรเทาทุกข์แก่บุคคลซ่ึงเป็นผู้เสียหายจากการเลือกปฏิบัติ โดยไมเ่ ป็นธรรมระหว่างเพศ 1) มาตรการสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหว่างเพศ ในปที ผ่ี า่ นมา คณะกรรมการสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศไดอ้ อกแนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื สง่ เสรมิ ความเท่าเทยี มระหว่างเพศ ได้แก่ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งกายซึ่งควรให้บุคคลสามารถแต่งกายตามเพศสภาวะ การจัดพืน้ ทีใ่ หเ้ หมาะสมกับเพศสภาพ เชน่ หอ้ งน�้ำ โรงพยาบาล สถานีต�ำรวจ การประกาศรบั สมัครงานซง่ึ ไม่ควรนำ� ลักษณะทางเพศมาก�ำหนดเป็นคุณสมบัติในประกาศรับสมัคร ยกเว้นงานที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางเพศ ทหราอืงเมพคี ศว/าเมพจศำ�สเภปาน็ พกกาารรสปร้อรงหกานักแรรลมะกแากร้ปหญั รอืหผาดู้กำ�ารรงลตว่ ำ�งแลหะเนมง่ ิดตทา่ งา งๆเพในศหแนลว่ะยกงาารนคขกุ อคงารมฐั ทแาลงะเเพอศกใชนนทซีท่ งึ่ �ำคงวารนค2ำ� 9น1งึ ถงึ สดั สว่ น 288 จาก หนังสือกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ด่วนท่ีสุด ท่ี พม ๐๒๐๘/๑๖๖๖๖ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๒ เรื่อง ขอส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒. 289 จาก ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาตยิ กเลกิ รบั นายรอ้ ยต�ำรวจหญงิ , โดย ขา่ วงานราชการเปดิ สอบ 2562 - 2563, 2562. สบื คน้ จาก https://ehenx.com/514/ 290 จาก จ�ำนวนอัตรารับสมัครและสอบแข่งขันบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรเนติบัณฑิตเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง เป็นข้าราชการช้ันสัญญาบัตร พ.ศ. ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๗๕๐ อัตรา, โดย ส�ำนักงานตารวจแห่งชาติ, 2562. สืบค้นจาก http:// www.policeadmission.org/Main/FrmPolIndex.aspx?Error=4 291 จาก แนวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ ความเสมอภาค สง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ, โดยประชาชาตธิ รุ กจิ , 2561. สบื คน้ จาก https://www.prachachat.net/columns/news-240954

135 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ในช่วงปลายปี 2562 คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศได้มีการประชุม 4บทที่ และไดม้ กี ารพิจารณาเก่ยี วกับการแก้ไขปัญหาท่สี ่งผลให้เกดิ การเลือกปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งเพศใน 3 ประเดน็ หลัก ไดแ้ ก่ 1) การเลือกปฏบิ ัติและความไมเ่ ปน็ ธรรมระหว่างเพศ 2) การเปล่ียนหลักคดิ หรือการยอมรบั ของสังคมระหวา่ งเพศ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล รแะลหะวา่3ง)เพกศาทรง้ัแใกน้ปหัญนว่หยางกาานรขใอชงค้ ภวาาคมรรฐั นุ แแลระงเทอกางชเนพ ศโด โยดเรยมิ่ ทจ่ีปารกะหชนุมว่ เยหงน็านวา่ในคภวราเครรง่ ฐัดกำ� อ่ เนนนิ29ก2ารนแอกกป้ จญั ากหนา้ีกคาณระเลกือรรกมปกฏาบิ รฯัติ เห็นว่า การสร้างทัศนคติของสังคมเป็นจุดเร่ิมต้นที่ส�ำคัญและได้ก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายในการด�ำเนินงานสร้างความ ตระหนกั 3 กลุม่ หลกั ไดแ้ ก่ 1) กลมุ่ ผู้มอี ำ� นาจตัดสนิ ใจทงั้ ภาครัฐและเอกชน 2) กลมุ่ เสีย่ งตอ่ การถกู เลอื กปฏิบัติ อาทิ ผู้หญิงและบุคคลข้ามเพศ ซ่ึงต้องได้รับทราบถึงสิทธิและกลไกของรัฐในการคุ้มครองสิทธิ และ 3) กลุ่มผู้มี ทัศนคติไม่ถูกต้อง ซึ่งควรปรับให้มีความเข้าใจผู้ถูกเลือกปฏิบัติหรือกีดกันด้วยเหตุแห่งเพศ โดยมีแนวทางด�ำเนิน การใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย อาทิ การแทรกเนือ้ หาในหลักสตู รระดับผู้บรหิ ารองค์กรและในสถาบันการศึกษา การจดั ท�ำ ฐานข้อมูลท่ีมีการจ�ำแนกเพศเพ่ือน�ำมาใช้ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย การปรับปรุงกฎระเบียบที่ขัดต่อการส่งเสริม รคะวดามบั เกทรา่ ะเททยีรวมงรเะพหอ่ื วดา่ แูงเลพเรศอื่ กงาครวพามจิ าเทรณ่าเาทคียวมาใมนเอปงน็ คไ์กปรไดแใ้ ลหะบ้ กคุ าลรารกณรแรงตคง่ ป์การยะตชาามสเมั พพศันวธถิ อ์ ี กยาา่ รงกตำ� รหงนกลดมุ่ตเำ� ปแ้าหหนมง่ าผยบู้ 2ร9หิ 3าร 2) กรณีการเลอื กปฏิบตั ิดว้ ยเหตุแห่งเพศ ในปี 2562 มีรายงานเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ โดยเฉพาะ กลมุ่ บคุ คลหลากหลายทางเพศหลายกรณี ในกรณกี ารแตง่ กายไมต่ รงกบั เพศกำ� เนดิ เชน่ ครผู ชู้ ว่ ยของโรงเรยี นแหง่ หนง่ึ ใแนลจะังใหหวล้ ัดงนบาุรมีรัมรบัย์ซท่ึงรเาปบ็นผบลุคกคาลรปขร้ามะเเมพนิศผลไดก้ราับรหปนฏังบิ สตั ืองิ ตานักเซตง่ึ ือไดนร้จบั าคกะโรแงนเรนียตนำ�่ เทร่ือกุ งตกวั าชรวี้ แดั ตย่งกกเาวยน้ ซเร่ึงอื่ไมงก่ตารรงสกอับนเพ2ศ9ก4�ำแเนลิดะ กนรักณศึกคี ษณาะแเภละสชชั ุดศราับสตปรร์ิญมหญาาวบทิ ัตยราขลอยั งแมหหง่ าหวนิทง่ึ ยไมาลอ่ ัยนตญุ าามตเใพหศน้ สกั ภศากึ พษ2า9ท5เ่ี ปเน็ปบ็นคุตค้นลหในลเารก่ือหงลกาายรแทตาง่งเกพาศยแนตี้ ง่กเสคมรอ่ื. งเแคบยบมี ขอ้ เสนอแนะไปยงั สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานของรฐั ทเี่ กย่ี วขอ้ งขอใหพ้ จิ ารณาแกไ้ ขกฎหรอื ระเบยี บขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั การแต่งกายในการเข้าเรียน สอบ ฝึกปฏิบัติงาน และการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรให้สอดคล้องตาม พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 โดยเห็นว่าการท่ีนิสิตนักศึกษาแต่งกายตามวิถีทางเพศ ในลักษณะเรียบร้อยและถูกต้องตามกฎระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการแต่งกายท่ีมหาวิทยาลัยได้ก�ำหนดไว้ แม้ว่า การแต่งกายนั้นจะไม่ตรงกับเพศก�ำเนิดก็ตาม ไม่ได้กระทบต่อนิสิตนักศึกษาอื่น ๆ ท่ีเข้าเรียนและเข้าสอบวัดผล และการที่มหาวิทยาลัยก�ำหนดให้บัณฑิตต้องแต่งกายชุดครุยวิทยฐานะตามเพศก�ำเนิดเท่านั้นมีลักษณะเป็นการ 292 จาก คณะกรรมการสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศ รว่ มมอื หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งแกป้ ญั หาการเลอื กปฏบิ ตั ริ ะหวา่ ง เพศในหนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชน เรมิ่ หนว่ ยงานในภาครฐั กอ่ น, โดย สำ� นกั โฆษก สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร,ี 2562. สบื คน้ จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24565 293 จาก ‘จุรินทร์’ จ่อชง ครม. ดันแผนความเท่าเทียมระหว่างเพศ, โดย เดลินิวส์, 2562. สืบค้นจาก https:// www.dailynews.co.th/politics/746528?fbclid=IwAR0FKZJrFtLknCj1blD4Py_PxDty_UOewi_bVkEj-ACPJ10Ug_LNR2S8q7Y 294 จากค�ำรอ้ งท่ี๕๕/๒๕๖๒ลงวนั ที่๑๓พฤศจกิ ายน๒๕๖๒เรอื่ งสทิ ธแิ ละเสรภี าพในชวี ติ และรา่ งกายกรณกี ลา่ วอา้ งวา่ ถกู เลือกปฏิบัตโิ ดยไม่เปน็ ธรรมเพราะเหตุความแตกต่างในเร่อื งเพศ. โดย คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ 295 จาก ใครว่าเมืองไทยเปน็ สวรรค์ LGBT? : ผลโหวต กมธ. ความหลากหลายทางเพศกับปัญหาทัศนคตติ อ่ LGBT, โดย ประชาไท, 2562. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/08/84082

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 136 National Human Rights Commission of Thailand กจ�ำากรปัดฏกาิบรัตแิตสาดมงหอลอักกกซา่ึงรอทัตาลงักศษาสณน์ขาอแงตบ่อุคยค่าลงโใดดย2ไ9ม6่ไดซ้ม่ึงีเพหบตวุผ่าลคมวีมาหมาจว�ำิทเปย็นาลเพัยื่อจค�ำนุ้มวคนรอหงนส่ึงวไดัสด้ยอิภมาพรับคแลวาะมดป�ำเลนอินดกภาัยรหตราือม ข้อเสนอแนะดงั กล่าว นอกจากนี้ ยงั พบการเลอื กปฏบิ ัตติ อ่ บุคคลหลากหลายทางเพศในการจ้างงาน เชน่ มรี ายงาน ข่าวว่า บริษัทแห่งหนึ่งได้ว่าจ้างบริษัทจัดหางานท�ำการสรรหาและจัดจ้างพนักงานขายที่ห้างสรรพสินค้าโดยมีบุคคล ดขา้้วมยเรพปู ศลรกั าษยณหน์ทง่ึ่ีเปผา่น็ นชกาายรตคาดัมเเลพอื ศกกต�ำเอ่ นมดิ าเพบรราษิ ะทั บจรดั ิษหทั าผงวูา้ นา่ จไดา้ งแ้ ไจมง้ ่มบนี คุ โคยลบขาา้ ยมรเบัพบศุคราคยลนหนั้ ลใาหกเ้ หขา้ลราว่ยมทกาางรเพอบศ2รม9พ7นอกั ยง่าางนไรใหกม็ด่ี ขตอวั แงพทนนักฝง่าายนปใรนะพชน้ืาสทัม่ี ซพ่งึ ันบธร์ขษิ อทั งจบัดรหิษาทั งผาู้วน่าไจด้าม้ งกี ไดารช้ ตแ้ี ักจเงตในอื นเวแลลาะตล่องมโาทวษ่าทกางรวณินที ัย่เีกกับิดพขนน้ึ ักเปง็นานกดารงั ใกชลว้ ่าจิ วาแรลณว้ ญ29า8ณส่วนบคุ คล ส่วนอีกกรณีหน่ึงเป็นกรณีนักโทษท่ีเป็นบุคคลข้ามเพศไม่สามารถเข้าถึงฮอร์โมนและบริการ สาธารณสขุ ดา้ นอนามยั เจรญิ พนั ธ์ุ โดยอา้ งวา่ การขาดฮอรโ์ มนจะมผี ลตอ่ อารมณแ์ ละสขุ ภาพ (อารมณแ์ ปรปรวน ผมรว่ ง น้�ำหนักเพิ่ม) และเครือข่ายภาคประชาชนแห่งหนึ่งได้ขอให้ กสม. ช่วยประสานไปยังกรมราชทัณฑ์เพ่ือแก้ไขปัญหา ซง่ึ กรมราชทณั ฑแ์ จง้ วา่ กรมฯ มรี ะเบยี บทอี่ อกตามพระราชบญั ญตั ริ าชทณั ฑ์ พ.ศ. 2560 เกย่ี วกบั การใชย้ าของผตู้ อ้ งขงั โดยฮอร์โมนไมไ่ ดถ้ กู ระบอุ ยใู่ นจำ� พวกของยา อยา่ งไรกด็ ี หากการใช้ฮอร์โมนมีความจำ� เป็นตอ่ สขุ ภาพกายของผตู้ ้องขัง ขา้ มเพศโดยมใี บรบั รองแพทย์ กรมราชทัณฑก์ ส็ ามารถพิจารณาอนุญาตใหใ้ ช้ฮอรโ์ มนดงั กล่าวได้ ทมี่ า: MGRONLINE 296 จาก รายงานผลการตรวจสอบ ที่ ๒๓๖-๒๓๗/๒๕๕๙ ลงวนั ท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๙ เรอ่ื ง การปฏบิ ัตทิ ไี่ ม่เป็นธรรม ตอ่ บคุ คลเพราะเหตแุ หง่ เพศ กรณกี ลา่ วอา้ งวา่ นสิ ติ นกั ศกึ ษาทม่ี อี ตั ลกั ษณท์ างเพศหรอื วถิ ที างเพศไมต่ รงกบั เพศก�ำเนดิ ถกู บงั คบั ใหไ้ ว้ ทรงผมและแตง่ กายตามเพศก�ำเนิดในการเข้าเรียน การเขา้ สอบวดั ผล การฝึกปฏิบัติงาน และการเข้ารับพระราชทานปรญิ ญาบัตร. โดย คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาต.ิ 297 จาก ขอพลังของโลกโซเชยี ลช่วยแชรไ์ ปให้ถงึ SAMSUNG [อา้ งอิงจากสถานะเฟซบุก๊ ], โดย Nada Chaiyajit, 2562, 12 กนั ยายน. สบื ค้นจาก https://www.facebook.com/nada.chaiyajit/posts/10162507940935232?__tn__=K-R 298 จาก ไทยซัมซุง แถลงรบั สาวขา้ มเพศเข้าท�ำงาน ระบเุ กดิ ปัญหาจากการสือ่ สารคลาดเคลือ่ น, โดย SANOOK, 2562. สบื ค้นจาก https://www.sanook.com/news/7896438/

137 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ นอกจากกรณีการเลือกปฏิบัติข้างต้น ยังมีรายงานนักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อ 4บทที่ คนหลากหลายทางเพศและเพื่อพนักงานบริการ ถูกกลั่นแกล้งทางไซเบอร์โดยใช้ค�ำพูดแสดงความเกลียดชัง มีการ เคผวยาแมพเกรล่ภยี าดพชทงั เานงอ่ืสงื่อจโซากเชอียตั ลลใกั นษลณักษท์ ณางะเพลศดจทำ� อนนวศนักหดนิ์ศงึ่ ร2ีค9ว9าทมง้ัเปนี้็นกมารนศุษกึ ยษ์ าแวลจิ ะยั มเรีผอื่ ู้เขง้า“มกาาแรสแดกลงคง้ กวนัามขคอิดงเเดหก็ ็นนทกั ี่แเรสยีดนง ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ในระดับชั้นมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” โดยดีแทคและคณะเศรษฐศาสตร์ ขจฬุองากลางรกกรลณัน่ ม์ แหกาลว้งทิ เกยิดาลขยั้นึ ใพนบหว้อา่ งรเปูรยีแนบโบดกยามรีกกลลุ่มนั่ นแกักเลรง้ียมนที หงั้ ลกาากรหสลรา้างยเทรอ่ืางงเโพกศหตกกลเอ้ปป็นมเหดยอ้ ื่อยมลาอ้กชสอ่ืดุ พ3อ่0แ0ม่ โดย 2 ใน 3 3) การคมุ้ ครองผ้ถู ูกเลอื กปฏิบตั ิด้วยเหตุแหง่ เพศ คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมระหวา่ งเพศ (วลพ.) เปน็ กลไกคมุ้ ครอง ผู้ถูกเลอื กปฏบิ ัติด้วยเหตแุ ห่งเพศตามพระราชบัญญตั คิ วามเท่าเทียมระหวา่ งเพศ พ.ศ. 2558 โดยมหี น้าที่วนิ ิจฉยั ปญั หาตามทมี่ ผี ยู้ นื่ เรอื่ งรอ้ งเรยี น ตงั้ แตป่ ี 2558 - 19 พฤศจกิ ายน 2562 คณะกรรมการ วลพ. ไดร้ บั เรอื่ งรอ้ งเรยี น รวมทงั้ สนิ้ 43 เรอื่ ง เปน็ เรอื่ งทม่ี คี ำ� วนิ จิ ฉยั แลว้ 24 เรอ่ื ง อยรู่ ะหวา่ งพจิ ารณา 7 เรอ่ื ง และมกี รณที ค่ี ณะกรรมการ วลพ. ไมร่ บั คำ� รอ้ งไวพ้ จิ ารณา 9 เรอื่ ง ตามระเบยี บกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยว์ า่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารในการยนื่ คำ� รอ้ ง การพจิ ารณา และการวนิ จิ ฉยั การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมระหวา่ งเพศ พ.ศ. 2559 เชน่ ไมล่ งชือ่ ผรู้ ้องในคำ� ร้อง ไมท่ ราบชื่อและทอ่ี ยู่ของผถู้ ูกร้อง ผู้รอ้ งไมใ่ ช่ผ้เู สียหาย เปน็ ต้น และผรู้ ้องขอถอนเรอื่ ง 1 เร่ือง ทั้งน้ี เร่ืองที่ร้องเรียนมายังคณะกรรมการ วลพ. ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเก่ียวกับการไม่สามารถแสดงออกตาม เพศสภาพได้ เช่น สถาบันการศึกษาห้ามแต่งกายและไว้ทรงผมตรงกับเพศสภาพในการเข้าเรียน การสอบวัดผล การฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน การใชร้ ปู ถา่ ยชดุ ครยุ วทิ ยฐานะในเอกสารรบั รองการศกึ ษา และการเขา้ รบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร นสำ�บั หแรตบั ่พกราะรรเลาชอื บกปัญฏญบิ ัตตั ดิ ทิ งั เ่ีกปลน็ า่ ขวอ้มยีผกลเใวชน้ บ้ ตงั าคมับมายตงั รไมาม่1ีค7�ำวรรอ้ รงคทสย่ี อน่ื งตขอ่ อคงพณระะกรรารชมบกญั าญร ตัวลคิ พวา.3ม0เท1า่ เทยี มระหวา่ งเพศฯ นนั้ ในด้านการให้ความรู้และการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้มีการปรับหลักสูตรการเรียน การสอนโดยบรรจเุ นอื้ หาเรอื่ งความหลากหลายทางเพศไวใ้ นหนงั สอื เรยี นวชิ าสขุ ศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ประกอบด้วยเรื่องเพศ เพศวถิ ี เพศสภาพ ความหลากหลายทางเพศ และสุขภาวะทางเพศ เช่น 299 จาก แถลงการณม์ ลู นธิ เิ ครอื ขา่ ยเพอ่ื นกะเทยเพอ่ื สทิ ธมิ นษุ ยชน กรณกี ารกลนั่ แกลง้ ทางไซเบอร์ (Cyberbullying) ด้วยอคติแห่งเพศ [อ้างอิงจากสถานะเฟซบุ๊ก], โดย เครือข่ายเพื่อนกะเทยไทย, 2562, 4 กันยายน. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/thaitga/photos/แถลงการณม์ ลู นธิ เิ ครอื ขา่ ยเพอ่ื นกะเทยเพอื่ สทิ ธมิ นษุ ยชน-กรณกี ารกลน่ั แกลง้ ทางไซเบอร์/2504413029626901/ 300 จาก ดีแทค - เศรษฐศาสตร์ จุฬาฯ เผย การรังแกทางวาจาเป็นจุดเริ่มต้นของการกล่ันแกล้งบนโลก ออนไลน,์ โดยไทยแวร์ NEWS, 2562. สบื ค้นจาก https://news.thaiware.com/16627.html?utm_source=linetoday&utm_me- dium=source 301 จาก หนงั สอื คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมระหวา่ งเพศ กรมกจิ การสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั ที่ พม ๐๕๐๔ (วลพ)/๓๘๗ ลงวนั ที่ ๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ เรื่อง ข้อมูลประกอบการจดั ท�ำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 138 National Human Rights Commission of Thailand โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ การรจู้ กั ยาตา้ นเชอื้ เอชไอว/ี เอดส์ และการตงั้ ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงค์ โดยจะเรมิ่ ใชใ้ นปกี ารศกึ ษา 225ป6ี 2โดนย้ีทกำ�างราปนรรบั ่วเปมลกยี่บั นกหระลทกั สรวตู งรศดกึงั กษลาา่ธวิกเาปรน็ แผลละจภาากคกสารว่ ผนลทกั เ่ี กด่ยีนั วขขออ้งอง3งค0ก์2รดา้ นความหลากหลายทางเพศมาเปน็ เวลากวา่ 4) มาตรการทางกฎหมาย ทผ่ี ่านมา ไดม้ ีความพยายามทจ่ี ะผลกั ดันให้การใชช้ ีวิตค่ขู องกลุ่มคนหลากหลายทางเพศได้รับ การรบั รองตามกฎหมาย ซงึ่ นำ� ไปสกู่ ารยกรา่ งกฎหมายการจดทะเบยี นคชู่ วี ติ มาตงั้ แตป่ ี 2556 โดยกรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละ รเสารษภี ฎารพ30ก3ระหทลงรั จวางกยนตุ นธิ้ั ร ไรดมม้ ดกี ำ�าเรนปนิ รกบั าปรรรงุ ว่แมกกไ้ ขบั รคา่ ณงกะฎกหรมรามยาดธงักิ กาลรา่กวาเรรอ่ืกยฎมหามแาลยะกเมาอรื่ ยวนตุั ธิทร่ี2ร5มแธลนั ะวสาคทิ มธมิ2น5ษุ 6ย1ชคนณสะภราฐั ผมแู้ นทตนรี ไดเ้ หน็ ชอบรา่ งพระราชบญั ญตั คิ ชู่ วี ติ พ.ศ. .... ในหลกั การ และใหส้ ำ� นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าพจิ ารณาตามขน้ั ตอน ตอ่ ไป สาระสำ� คญั ของรา่ งกฎหมายประกอบดว้ ยการจดทะเบยี นคชู่ วี ติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคชู่ วี ติ การจดั การทรพั ยส์ นิ ระหว่างคู่ชีวิต ความเป็นโมฆะการจดทะเบียนคู่ชีวิต การส้ินสุดการเป็นคู่ชีวิต และมรดก ส�ำหรับการด�ำเนินการ ในปี 2562 คณะกรรมการกฤษฎีกาได้มอบหมายให้กรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นต่อ ยรา่ิ่งงขพึ้นรแะลระาสชอบดัญคญลอ้ัตงคิ ก่ชู บั ีวคิตวพาม.ศต.อ้ .ง..ก. าจราขกอทงกุ ปภราะคชสา่วชนนอตกี่อคไปรัง้ ซเึง่ พกอ่ื รนมำ�ฯไปไดป้ดร�ำบั เปนรนิ งุ กรา่ารงใพนรเะดรือานชสบงิ ัญหาญคตั มิฯ2ใ5ห6ม้ คี2ว3า0ม4สมบรู ณ์ ท่ีมา: ส�ำนกั ขา่ วอศิ รา 302 จาก ดูเน้ือหา - ฟังผู้ปกครอง เมื่อ ‘ความหลากหลายทางเพศ’ มีที่ทางในแบบเรียนไทย, โดย ประชาไท, 2562. สืบคน้ จาก https://prachatai.com/journal/2019/06/83010 303 จาก สิทธกิ ารสมรสระหวา่ งบคุ คลเพศเดียวกนั , โดย ศริ ิชนก วิรยิ เกือ้ กลู , สานกั เลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร, 2561. สืบคน้ จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2561/hi2561-019.pdf 304 จากกรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพชแี้ จงรา่ งพ.ร.บ.คชู่ วี ติ อยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาพรอ้ มยำ้� มเี นอื้ หาครอบคลมุ หลายสว่ น, โดย อนุชิต ไกรวจิ ิต, ใน The Standard, 2562, สืบคน้ จาก https://thestandard.co/civil-partnership-billdraft/

139 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ บทประเมนิ สถานการณแ์ ละข้อเสนอแนะ 4บทที่ รัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้มีความพยายามท่ีจะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิสตรีในด้านต่าง ๆ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล อยา่ งตอ่ เนอื่ ง อยา่ งไรกด็ ี การดำ� เนนิ การในบางดา้ นยงั ไมเ่ หน็ ผลทช่ี ดั เจนนกั เชน่ การกระทำ� ความรนุ แรงในครอบครวั ต่อผู้หญิงท่ีสถิติท่ีผู้ถูกกระท�ำรุนแรงยังคงระดับใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา ซ่ึงอาจเน่ืองจากการด�ำเนินการในเร่ืองน้ี สว่ นใหญเ่ ปน็ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองผหู้ ญงิ ทถ่ี กู กระทำ� รนุ แรง ซง่ึ เปน็ สงิ่ ทจ่ี ำ� เปน็ และตอ้ งทำ� อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แต่ยังขาดมาตรการแก้ไขปัญหาท่ีต้นเหตุ ทั้งน้ี การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัวเป็นมาตรการ สำ� คญั ประการหนง่ึ ในการลดปญั หาการใชค้ วามรนุ แรงในครอบครวั ตอ่ ผหู้ ญงิ แตใ่ นการดำ� เนนิ การดงั กลา่ วตอ้ งไมท่ ำ� ให้ ผ้หู ญิงประสบอันตรายหรือเส่ยี งตอ่ การถกู กระท�ำรนุ แรงซ้ำ� ในด้านการขจัดการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ กสม. เห็นว่าแนวทางการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ ส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศเป็นไปในทิศทางท่ีถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิง การสร้างความตระหนัก ในกลมุ่ เปา้ หมายทกี่ ำ� หนดจะมสี ว่ นชว่ ยในการลดอคตทิ น่ี ำ� ไปสกู่ ารเลอื กปฏบิ ตั ทิ างเพศ ซงึ่ ตอ้ งดำ� เนนิ การควบคไู่ ปกบั การดแู ลและใหค้ วามคมุ้ ครองแกบ่ คุ คลทถ่ี กู เลอื กปฏบิ ตั ิ การปรบั หลกั สตู รการเรยี นการสอนในเรอื่ งความหลากหลาย ทางเพศและสุขภาวะทางเพศจะมีส่วนช่วยสร้างความเข้าใจเร่ืองดังกล่าวแก่กลุ่มเด็กและเยาวชนในวงกว้าง และเป็นตัวอย่างท่ีดีของการท�ำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐกับกลุ่มคนหลากหลายทางเพศและภาคส่วน ที่เก่ียวข้องจนน�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงในเร่ืองที่เป็นประเด็นใหม่ ๆ ของสังคม ท้ังน้ี ในเร่ืองสิทธิสตรีและความ เทา่ เทยี มระหว่างเพศ กสม. มีขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ดงั น้ี 1. รัฐบาลและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ควรพิจารณาให้มีมาตรการเพื่อแก้ไข ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีที่ต้นเหตุตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประจ�ำอนุสัญญา CEDAW รวมท้ังควรเร่งพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และทักษะท่ีจ�ำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2562 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความรู้และค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับ การใช้ชวี ติ คู่ และในกรณีทเ่ี กิดการใชค้ วามรุนแรงในครอบครวั ควรเน้นการคุ้มครองผถู้ ูกกระทำ� ความรนุ แรงโดยใช้ มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพก่อนการเจรจาไกล่เกล่ียและการปรองดอง และควรเคารพการตัดสินใจของสตรี ผู้ถกู กระทำ� ความรนุ แรงหากไมป่ ระสงค์จะอยกู่ บั ฝ่ายทเ่ี ป็นผู้กระทำ� ความรุนแรงตอ่ ไป 2. รฐั บาลและหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งควรใหก้ ารคมุ้ ครองผคู้ า้ ประเวณจี ากการถกู แสวงประโยชนใ์ นรปู แบบตา่ ง ๆ ในขณะเดียวกัน ควรมีมาตรการช่วยเหลือสตรีที่ค้าประเวณีหรือสตรีที่เป็นกลุ่มเสี่ยงให้มีทางเลือกในการประกอบ อาชพี และดำ� รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. รฐั บาลและกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยค์ วรมมี าตรการเพอ่ื ขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งาน ใน 3 ประเดน็ หลกั ทค่ี ณะกรรมการสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มระหวา่ งเพศใหค้ วามสำ� คญั ไดแ้ ก่ การขจดั การเลอื กปฏบิ ตั ิ ทางเพศ การปรบั เปลย่ี นทศั นคตขิ องสงั คม และการแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงทางเพศ โดยทำ� งานรว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ น ทง้ั หนว่ ยงานของรฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม รวมทง้ั ควรมกี ารตงั้ เปา้ หมายทช่ี ดั เจนเพอ่ื ใหส้ ามารถตดิ ตาม และประเมนิ ความก้าวหน้าในการด�ำเนนิ การได้

คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 140 National Human Rights Commission of Thailand 4.5  ผมู้ ปี ญั หาสถานะและสิทธิ ภาพรวม ผู้มีปญั หาสถานะและสิทธิ คือ บุคคลทอ่ี าศยั อยใู่ นประเทศไทยหรือเดินทางเข้ามาในประเทศไทยแต่ไม่มี เอกสารแสดงตนว่าเป็นพลเมืองของประเทศใด ท�ำให้มีปัญหาในการได้รับความคุ้มครองทางกฎหมายและการ เข้าถึงสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานต่าง ๆ ประเด็นดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกับสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ด้านสิทธิมนุษยชนหลายฉบับ เช่น กติกา ICCPR รับรองว่าบุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการยอมรับว่าเป็น บุคคลตามกฎหมายและมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ กติกา ICCPR และอนสุ ญั ญา CRC ไดร้ บั รองสทิ ธขิ องเดก็ ทกุ คนทจ่ี ะไดร้ บั การจดทะเบยี นเกดิ ซงึ่ เปน็ เอกสารสำ� คญั ในการพสิ จู น์ สถานะของบคุ คล และแม้วา่ อนุสญั ญา CERD และกตกิ า ICESCR จะระบวุ า่ รฐั ภาคอี าจมีการปฏิบตั ทิ แี่ ตกต่าง ระหว่างพลเมืองและบคุ คลทีม่ ิใช่พลเมอื งของรฐั ได้ในบางกรณี แต่คณะกรรมการประจำ� สนธิสญั ญาทัง้ สองฉบบั มีความเห็นว่า รัฐภาคียังมีหน้าที่ต้องด�ำเนินการให้แก่บุคคลที่มิใช่พลเมืองได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานตามพันธกรณี ใรนวสมนถึงธบสิ รญั ิกญาราดระา้ หนวกา่างรปศรกึ ะษเทาแศลอะนื่ สราวธมารถณงึ กสาุขร3เข0า้ 5ถงึ บรกิ ารดา้ นสงั คมทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ มาตรฐานขน้ั ตำ่� ในการดำ� รงชวี ติ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 27 รบั รองวา่ บคุ คลยอ่ มเสมอกนั ในกฎหมาย มสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพ และไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมายเทา่ เทยี มกนั ซงึ่ การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมตอ่ บคุ คล ด้วยเหตตุ ่าง ๆ รวมถึงความแตกต่างในเรอื่ งถ่นิ ก�ำเนิด เช้อื ชาติ ภาษา และอนื่  ๆ จะกระทำ� มิได้ และนอกจากน้ี ตามมาตรา 70 รัฐได้ให้ความคุ้มครองสิทธิกลุ่มชาติพันธุ์ ให้มีสิทธิด�ำรงชีวิตในสังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ดง้ั เดมิ ตามความสมคั รใจไดอ้ ยา่ งสงบสขุ ไมถ่ กู รบกวน ทง้ั นี้ เทา่ ทไ่ี มเ่ ปน็ การขดั ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย หรือศลี ธรรมอันดขี องประชาชน หรือเปน็ อันตรายต่อความมน่ั คงของรัฐหรือสขุ ภาพอนามัย คณะกรรมการประจำ� สนธสิ ญั ญาหลายฉบบั ไดม้ ขี อ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะตอ่ ประเทศไทยในการพจิ ารณา รายงานการปฏบิ ัติตามสนธสิ ัญญาฉบับนนั้  ๆ เก่ียวกบั การแก้ไขปัญหาผู้มีสถานะและสทิ ธิ รวมถงึ การขจดั ความ ไรร้ ฐั เชน่ คณะกรรมการประจำ� กตกิ า ICCPR ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะเมอื่ เดอื นเมษายน 2560 วา่ รฐั ภาคคี วรดำ� เนนิ การ เพอื่ ลดจำ� นวนบคุ คลไรร้ ฐั โดยประกนั วา่ ผอู้ าศยั ในพนื้ ทชี่ นบทหรอื หา่ งไกลจะไดร้ บั ทราบและเขา้ ถงึ กระบวนการ เกี่ยวกับการได้รับสัญชาติ และมีการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาแก่เด็กของกลุ่มชาติพันธุ์ คณะกรรมการ ประจำ� อนสุ ญั ญา CERD ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะตอ่ ประเทศไทยเมอื่ เดอื นพฤศจกิ ายน 2555 วา่ รฐั ภาคคี วรใชม้ าตรการ เพ่ือขจัดอุปสรรคต่อการได้มาซึ่งความเป็นพลเมืองของผู้ท่ีมีคุณสมบัติ และด�ำเนินการเพื่อให้กลุ่มชาติพันธุ์ สามารถมีและใช้สิทธิด้านเศรษฐกิจและสังคมได้ ส่วนคณะกรรมการประจ�ำกติกา ICESCR ได้มีข้อเสนอแนะ ต่อประเทศไทยเมื่อเดือนมิถุนายน 2558 ว่า รัฐภาคีควรมีมาตรการท่ีอ�ำนวยให้บุคคลไร้รัฐสามารถเข้าเป็น ส่วนหนึ่งของสังคม และสามารถใช้สิทธิด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ควรร่วมมือในระดับระหว่างประเทศ และภูมิภาคเพื่อให้ความช่วยเหลือขั้นพื้นฐานแก่ผู้แสวงหาที่พักพิง/ผู้ล้ีภัยท่ีมาทางเรือ รวมทั้งจัดการกับปัญหา ที่สาเหตุ ควรส�ำรวจและหามาตรการต่าง ๆ เพื่อประกันว่าแรงงานต่างด้าวไม่ว่าจะมีสถานะทางกฎหมายใด จะไดร้ บั การคุ้มครองด้านแรงงานและดา้ นสังคม สามารถเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ิธรรมได้เมือ่ ถูกละเมิดสิทธิ 305 From The Rights of Non-citizens, by Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights, 2006. Retrieved from https://www.ohchr.org/Documents/Publications/noncitizensen.pdf

141 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ กลุม่ ผูม้ ีปญั หาสถานะและสทิ ธใิ นประเทศไทยอาจแบ่งออกเป็น 3 กล่มุ ใหญ่ คอื แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ 4บทที่ จากประเทศเพอ่ื นบา้ น บคุ คลไรร้ ฐั /ไรส้ ญั ชาติ และผแู้ สวงหาทพี่ กั พงิ /ผลู้ ภ้ี ยั ทงั้ น้ี กสม. ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะในรายงาน ผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 ด้านกลุ่มแรงงานต่างด้าวว่า รัฐควรให้ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่นายจ้างและแรงงานต่างด้าวเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชก�ำหนดการบริหาร จัดการการท�ำงานของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. 2560 และควรพิจารณาหาแนวทางแก้ปัญหาการจดทะเบียน การเกิดบุตรของแรงงานข้ามชาติท่ีเกิดในประเทศไทย ด้านกลุ่มคนไร้รัฐ/ ไร้สัญชาติ กสม. เสนอแนะว่า รัฐควรมี มาตรการสรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ขนั้ ตอน เอกสารหลกั ฐานประกอบการขอมสี ถานะ/ สญั ชาติ รวมทง้ั ควรพจิ ารณา แนวทางแกป้ ญั หาผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ อ่ี าศยั ในประเทศไทยเปน็ เวลานาน สว่ นดา้ นกลมุ่ ผแู้ สวงหาทพ่ี กั พงิ / ผลู้ ภี้ ยั ไดเ้ สนอแนะวา่ รฐั ควรรว่ มมอื กบั รฐั บาลสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมา องคก์ ารระหวา่ งประเทศทเี่ กย่ี วขอ้ งในการ เตรยี มความพรอ้ มแกผ่ ลู้ ภี้ ยั ทส่ี มคั รใจเดนิ ทางกลบั และเรง่ รดั พจิ ารณากลไกคดั กรองจำ� แนกผแู้ สวงหาทพ่ี กั พงิ ออกจาก ผู้เขา้ เมอื งผดิ กฎหมายอ่นื ในปี 2562 รัฐบาลได้มีการดำ� เนนิ การ มสี ถานการณท์ ี่เกย่ี วข้อง และมปี ญั หา อปุ สรรค ในการส่งเสรมิ และ คมุ้ ครองสิทธิมนษุ ยชนในเรอื่ งผูม้ ปี ัญหาสถานะและสิทธิ ดงั นี้ 4.5.1 กลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ ว3สญั ชาติ(สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมา สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว ราชอาณาจกั รกมั พูชา) 1) การบรหิ ารจดั การการท�ำงานของคนตา่ งด้าว ในปี 2562 รัฐบาลได้ดำ� เนนิ การจัดระบบการทำ� งานของแรงงานตา่ งดา้ ว 3 สญั ชาติตาม พระราชกำ� หนดการบริหารจัดการท�ำงานของคนตา่ งดา้ ว พ.ศ. 2560 และแกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2561 ต่อเนื่องจากปี 2561 โดยให้แรงงานต่างด้าวท่ีเป็นผู้หลบหนีเข้าเมืองแต่ได้รับการผ่อนผันให้ท�ำงานและอยู่ใน ราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว มารายงานตัวเพื่อจัดท�ำทะเบียนและพิสูจน์สัญชาติเพ่ือท�ำเอกสารเดินทางและ ด�ำเนินการให้เป็นผู้เข้าเมืองถูกกฎหมายและได้รับอนุญาตให้ท�ำงานในประเทศไทยอย่างถูกต้อง การด�ำเนินการ ดงั กล่าวเปน็ การแก้ไขปญั หาสถานะของแรงงานตา่ งดา้ ว 3 สัญชาติเพื่อให้แรงงานไดร้ ับความคุม้ ครองตามกฎหมาย และเข้าถึงสวัสดิการพื้นฐานต่าง ๆ ท้ังน้ี รัฐบาลได้มีการปรับปรุงขั้นตอนการด�ำเนินการเพ่ืออ�ำนวยความสะดวก และลดความยุ่งยากให้แก่นายจ้างและลูกจ้างท่ีเป็นแรงงานต่างด้าวมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดให้มีศูนย์บริการ เบด็ เสร็จ เป็นตน้ ในปี 2561 มีแรงงานต่างดา้ ว 3 สญั ชาตทิ เี่ ข้ามาท�ำงานในประเทศไทย โดยลงทะเบียน ณ ศนู ย์ เบทมร้งั ยี นกิ นาี้  มรในเาบมเดด็ าอืเกสนทรตสี่จ็ ลุดุ (าo7คnม7e72s,t52o61p27seคมrvนแี iรcรงeอง:างOนลSงตSม่า)างแเดปล้า็นะวสก3ัญลมุ่ สชทญัาตผ่ี ชา่ิกานัมตกพทิ าูชไี่รดาพร้ 3สิับจู5กน0าส์ร,8ญัพ4สิช0ูจาตนคิส์ 1นัญ,1แช8ลาะต7สแิ,8ัญล0้วช3า1ตค,7ิลนา5วเ2ป5,น็ 89แ8,ร79ง4งาค6นนสค3ญัน037ช0าต6ิ 306 จาก หนงั สือส�ำนักบริหารแรงงานตา่ งด้าว ดว่ นทสี่ ุด ท่ี รง ๐๓๑๖๔/๙๒๕๒๖ ลงวนั ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เรือ่ งส่งขอ้ มลู เพอื่ ประกอบการจัดท�ำรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย. 307 จาก สถิติคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท�ำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร เดือนตุลาคม ๒๕๖๒, โดยส�ำนักบริหาร แรงงานต่างดา้ ว กระทรวงแรงงาน. สืบคน้ จาก https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/alien_th/57eb1350 53d1d4815301012994bc5879.pdf

คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 142 National Human Rights Commission of Thailand เมื่อวันท่ี 20 สิงหาคม 2562 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางการบริหารจัดการ การท�ำงานของแรงงานต่างด้าวปี 2562 - 2563 เพื่อให้แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติท่ีมีใบอนุญาตท�ำงานและ การอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรยังไม่หมดอายุ สามารถย่ืนเอกสารขออนุญาตอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว ตอ่ ไป โดยไม่ตอ้ งเดนิ ทางออกไปนอกราชอาณาจักร และให้ถือเป็นการเข้ามาทำ� งานอยา่ งถูกกฎหมาย รวมท้งั กำ� หนด ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องด�ำเนินการให้สถานพยาบาลท่ีกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว และผู้ติดตามที่อายุไม่เกิน 18 ปี ประกันสุขภาพกรณีท่ีแรงงานท�ำงานในกิจการท่ีเข้าระบบประกันสังคม แต่สิทธิ ประกันสังคมยังไม่เป็นผล หรือแรงงานท่ีท�ำงานในกิจการที่ไม่เข้าระบบประกันสังคม ประกันสุขภาพผู้ติดตามท่ีอายุ ไม่เกิน 18 ปี รวมทั้งให้ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองตรวจอนุญาตให้แรงงานและผู้ติดตามอายุไม่เกิน 18 ปีอยู่ใน ราชอาณาจกั รเป็นการช่วั คราวต่อไปไดค้ รงั้ ละไม่เกนิ 1 ปี หากเอกสารประจ�ำตัวของแรงงานมีอายเุ หลอื น้อยกว่า 1 ปี ให้อนุญาตอยู่เป็นการช่ัวคราวได้เท่ากับอายุเอกสารประจ�ำตัว นอกจากน้ี ยังให้กรมการจัดหางานออกใบอนุญาต ทำ� งานตามมาตรา 59 แหง่ พระราชก�ำหนดการบริหารจดั การการทำ� งานของคนตา่ งด้าว พ.ศ. 2560 ให้แก่แรงงาน ตา่ งดา้ ว 3 สญั ชาตมิ รี ะยะเวลาไมเ่ กนิ 2 ปี ใหก้ รมการปกครองและกรงุ เทพมหานครจดั ทำ� หรอื ปรบั ปรงุ ทะเบยี นประวตั ิ โไมดไย่ ดมต้ กี อ่ รออาบยเใุวบลอานดญุำ� เานตนิ ทกำ� างราตนงั้ หแรตอื ่ 1กา9รอสนงิ หญุ าาคตมให2อ้ 5ย6ใู่ น2ร -า 3ชอ1ามณนี าาจคกั มรถ2อื 5ว6า่ เ3ปน็ เมแอ่ืรงสงน้ิ าสนดุทรลี่ ะกั ยละอเวบลทาำ� ดงงัากนลโดา่ ยวแผลดิ ว้กฎแหรงมงาายน3ผ0ใู้ ด8 ต่อมา เม่ือวันที่ 5 มีนาคม 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเร่ืองการจัดต้ังศูนย์จัดเก็บข้อมูล แรงงานเมยี นมาชวั่ คราวของทางการเมยี นมา ณ จงั หวดั สมทุ รสาคร เพอ่ื ชว่ ยจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของแรงงานเมยี นมาทปี่ ระสงค์ จะขอหนงั สอื เดนิ ทางในเบอ้ื งตน้ กอ่ นสง่ เรอื่ งใหห้ นว่ ยงานทมี่ อี ำ� นาจหนา้ ทขี่ องสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาพจิ ารณา ออกหนังสอื เดินทาง ซึง่ เปน็ การอ�ำนวยความสะดวกแกแ่ รงงาน ทำ� ให้ไม่ต้องเดนิ ทางกลบั ประเทศเพ่ือไปพิสจู นส์ ญั ชาติ เมอ่ื เดอื นตลุ าคม 2562 มรี ายงานวา่ รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าไดป้ ระกาศระงบั สทิ ธพิ เิ ศษภายใตโ้ ครงการ Generalized System of Preference (GSP) สำ� หรบั สนิ คา้ ไทยบางรายการ โดยจะมผี ลอกี 6 เดอื นขา้ งหนา้ โดยอา้ งวา่ รัฐบาลไทยยังไม่มีมาตรการปกป้องสิทธิแรงงานในประเทศท่ีได้มาตรฐานสากล และเม่ือวันท่ี 27 ตุลาคม 2562 กระทรวงแรงงานไดช้ ้แี จงว่า ไทยได้มีการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว เชน่ การท�ำใหแ้ รงงานต่างดา้ วท่เี ข้ามาท�ำงาน ในไทยเป็นแรงงานในระบบ การติดตั้ง GPS ติดตามเรือประมงอันเป็นส่วนหนึ่งของระบบติดตามตรวจสอบและ คปวรบะเคทุมศเรฉือบบัแทลี่ะ8อ7ยู่รแะลหะว่า9ง8กาเปรพ็นิจตาน้ ร3ณ0า9แก้ไขกฎหมายแรงงานให้สอดคล้องตามอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่าง สำ� หรบั ปญั หาของแรงงานตา่ งดา้ ว 3 สญั ชาติ ขอ้ มลู จากการศกึ ษาและสำ� รวจแรงงานตา่ งดา้ วกลมุ่ นี้ ในพื้นท่ีจังหวัดสมุทรสาครของคณะท�ำงานมหาวิทยาลัยมหิดล ในงานประชุมวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสียงท่ี คนอนื่ ไม่ไดย้ ิน : ประชากรกล่มุ เฉพาะ ระบุว่าแรงงานต่างด้าวทัง้ 3 สัญชาติหลายคนไมเ่ ขา้ ใจสทิ ธกิ ารประกนั สุขภาพ สทิ ธปิ ระกันสังคมของตนเองและผูต้ ดิ ตาม ปัญหาการตง้ั ครรภท์ ี่ไม่พร้อม ปญั หาอนามัยแมแ่ ละเดก็ สุขภาวะของหญิง ตง้ั ครรภ์ และขาดโอกาสดา้ นการศึกษา ในขณะเดียวกัน ไดพ้ บปญั หาในด้านการให้บรกิ ารว่า บุคลากรดา้ นสาธารณสขุ 308 จาก หนงั สือกระทรวงแรงงาน ดว่ นที่สดุ ที่ รง ๐๓๑๖ /๒๒๑๘ ลงวนั ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๒. เร่อื งแนวทางการบรหิ าร จัดการการท�ำงานของแรงงานต่างด้าว ปี ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓. สืบค้นจาก http://www.cabinet.soc.go.th/doc_image/2562/ 9933308232.pdf 309 จาก ด่วน !! กระทรวงพาณชิ ย์ แถลงกรณีสหรฐั ฯ ตดั สิทธิ จีเอสพี ไทย, โดย มติชนออนไลน,์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1727404

143 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ มภี าระงานมาก การสรา้ งระบบอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา่ งดา้ ว (อสต.) และมปี ญั หาทศั นคตขิ องเจา้ หนา้ ทที่ ม่ี ตี อ่ แรงงาน 4บทที่ ขา้ มชาติ ปญั หาหนงึ่ ของการบรกิ ารสาธารณสขุ ในพนื้ ทที่ มี่ แี รงงานตา่ งดา้ ว 3 สญั ชาติ คอื การสอ่ื สารและความไมเ่ ขา้ ใจ กนั และกนั ของคนในพน้ื ที่ จงึ มกี ารอบรมผนู้ ำ� การเปลยี่ นแปลงแนวจติ ปญั ญาศกึ ษา โดยการเชญิ บคุ ลากรสาธารณสขุ ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล อาสาสมัครสาธารณสุข อสต. และชาวบ้านมาเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือให้สามารถกลับไปด�ำเนินการท�ำงานในพ้ืนที่ มดว้ายกคขวึน้ า3ม1เ0ขา้ ใจกนั และกนั มากขนึ้ ซงึ่ หลงั การอบรมเจา้ หนา้ ทแ่ี ละแรงงานขา้ มชาตเิ ปดิ ใจฟงั กนั และกนั ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจกนั 2) แรงงานต่างด้าวในภาคประมง ปี 2558 สหภาพยโุ รปใหใ้ บเหลอื งประเทศไทยอนั เนอ่ื งจากปญั หาการทำ� ประมงทผ่ี ดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม โดยให้เหตุผลว่าการประมงของไทยไม่มีศักยภาพในการจัดการประมง ของประเทศให้เกิดความยั่งยืน กฎหมายท่ีมีอยู่ไม่ตอบสนองต่อการจัดการประมง ไม่มีแผนการจัดการทรัพยากร สตั วน์ �้ำและการประมง ไมม่ รี ะบบตดิ ตามตรวจสอบและควบคุมเรอื รวมถึงการบงั คบั ใช้แรงงาน โดยเฉพาะอย่างย่งิ แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติท่ีท�ำงานในภาคประมงจำ� นวนมาก ในการจัดการกับปัญหาแรงงานภาคประมง ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครอง แรงงานในงานประมง พ.ศ. 2562 เมอ่ื วนั ที่ 22 พฤษภาคม 2562 มสี าระสำ� คญั คอื เพอ่ื กำ� หนดหนา้ ทข่ี องเจา้ ของเรอื และการปฏิบัติหน้าที่ของแรงงานประมงให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลเพื่อคุ้มครองสิทธิของแรงงานประมงและ ปอ้ งกนั การบงั คบั ใชแ้ รงงานในงานประมงทม่ี คี วามแตกตา่ งจากการทำ� งานของลกู จา้ งทว่ั ไป เนอื่ งจากมคี วามเสย่ี งภยั ทางทะเลและมรี ะยะเวลาการทำ� งานทต่ี อ่ เนอื่ งเปน็ เวลานานอนั เปน็ การสง่ เสรมิ และเพม่ิ ความสามารถในการประกอบ กจิ การประมงของประเทศ ตลอดจนเพอ่ื เปน็ การอนวุ ตั กิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามอนสุ ญั ญาองคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ ฉบับท่ี 188 ว่าด้วยการทำ� งานในภาคการประมง ค.ศ. 2007 ต่อมา เม่อื วันที่ 8 มกราคม 2562 สหภาพยโุ รป ผไดิด้ปกรฎะหกมาาศยปลขดาสดถกาานรระาใบยงเหานลือแงลในะภไรา้กคาปรรคะวมบงคไุมท3ย1เน1่ืองสจอาดกคเลห้อ็นงวก่าับไทกยาไรดจ้ดัด�ำรเะนดินับกปารระแเกท้ไศขตปาัญมหราายกงาารนทป�ำประรจะ�ำมปงี ด้านการค้ามนษุ ย์ของสหรฐั อเมริกาท่ีในปี 2561 ไทยไดร้ บั เล่ือนสถานะจากกลุ่มที่ 2 บัญชรี ายชือ่ ท่ีต้องจบั ตามอง (Tier 2 Watch list) ขน้ึ มาอยใู่ นกลมุ่ ที่ 2 (Tier 2) เนือ่ งจากมคี วามกา้ วหน้าบางประการในการแกไ้ ขปญั หา และ ในปี 2562 ไทยยงั คงถูกจัดใหอ้ ยู่ในกล่มุ 2 เช่นเดียวกับปี 2561 3) สทิ ธิในการรวมตัวและการเจรจาต่อรอง เมอ่ื ปี 2561 กระทรวงแรงงานไดย้ กรา่ งพระราชบญั ญตั แิ รงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ. .... อนั เปน็ การ แก้ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพนั ธ์ พ.ศ. 2518 ในประเดน็ เรือ่ งคุณสมบตั ขิ องกรรมการสหภาพแรงงาน ท่ีตามกฎหมายปัจจุบันก�ำหนดว่าต้องเป็นลูกจ้างตามกฎหมายแรงงานและมีสัญชาติไทย สาระส�ำคัญประการหน่ึง ในร่างกฎหมายคือ การให้แรงงานต่างด้าวสามารถตั้งสหภาพแรงงานได้ อย่างไรก็ดี สภาองค์กรนายจ้างยังมีความ 310 จากสขุ ภาพของแรงงานตา่ งดา้ วเรอื่ งท่ี“เขา้ ไมถ่ งึ ”,โดยคมชดั ลกึ ,2562.สบื คน้ จากhttps://www.komchadluek.net/ recommended/pr/231887 311 จาก สหภาพยุโรปประกาศปลดใบเหลืองภาคประมงไทย, โดย ศูนย์ข่าวกระทรวงการต่างประเทศ, 2562. สบื คน้ จาก http://www.mfa.go.th/main/th/news3/6885/98154

คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 144 National Human Rights Commission of Thailand กจาังกวลกใานรปยตุระิกเาดร็นทดำ� ังหกนลา้ ่าทวข่ี อแงละสกนาชร.พ31ิจ2ารณาร่างพระราชบัญญัตินี้ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้ตกไปภายหลัง 4.5.2 กลมุ่ คนไรร้ ฐั / ไรส้ ญั ชาติ ประเทศไทยไดด้ ำ� เนนิ มาตรการดา้ นบรหิ ารและดา้ นกฎหมายอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการแกป้ ญั หาบคุ คลที่ ไมม่ เี อกสารทะเบยี นราษฎรหรอื สถานะทางกฎหมายเพอ่ื ลดภาวะไรร้ ฐั และชว่ ยใหบ้ คุ คลกลมุ่ ดงั กลา่ วไดร้ บั การคมุ้ ครอง สทิ ธแิ ละเสรภี าพขน้ั พืน้ ฐาน รวมถึงการเขา้ ถึงบริการสาธารณะของรฐั การจดทะเบยี นเกิดแก่เด็กทุกคนในประเทศไทย เขปอน็ งมคานตตร่ากงาดรา้ สวำ� ทค่ีเญักดิปใรนะไกทายรกหวนา่ ง่ึ ใ5น0ก0าร,0ปอ้0ง0กนัคภนา3ว1ะ3ไรนร้ ฐัอกมจรี าากยนงาี้ นในวปา่ ตี 2ง้ั แ5ต6ป่ 2ี 2ไ5ด5ม้ 1ีกา -ร 2ต5ร6าพ1รมะกีราารชรบบั ญั แญจง้ ตั เกิกดิารใหทแ้ะกเบบ่ ียตุ นร ราษฎร (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562 ซ่งึ ไดก้ �ำหนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาเดก็ ทไ่ี ร้รากเหงา้ ไรร้ ฐั และไร้สัญชาตใิ นประเทศ ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและหลักสิทธิมนุษยชนมากขึ้น โดยเด็กไร้รากเหง้าสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่เคยอยู่ในอุปการะของสถานสงเคราะห์ที่เป็นหน่วยงานเอกชน แต่หน่วยงานดังกล่าวได้อนุญาตให้บุคคลอื่น รับอุปการะไปแล้ว และกลุ่มคนเร่ร่อนหรือไร้รากเหง้าท่ีไม่เคยอยู่ในอุปการะของหน่วยงานใดมาก่อน และต่อมา ไดข้ อแจ้งการเกดิ หรอื ขอเพิ่มช่อื ในทะเบียนราษฎร พระราชบญั ญตั กิ ารทะเบยี นราษฎร(ฉบบั ท่ี3)พ.ศ. 2562ไดแ้ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ มาตรา19/2ของกฎหมาย ทะเบยี นราษฎรเดมิ โดยใหเ้ ดก็ ซงึ่ ถกู ทอดทง้ิ และเดก็ เรร่ อ่ นทไี่ มป่ รากฏบพุ การตี ามมาตรา 19 และมาตรา 19/1 ทไี่ ดม้ กี าร แจ้งเกดิ และได้รับการจัดท�ำทะเบียนประวัติพร้อมเอกสารแสดงตนแล้ว มีสทิ ธิขอสัญชาตไิ ทยไดห้ ากมหี ลักฐานแสดงว่า ได้อาศัยอยู่ในประเทศไทยอย่างต่อเน่ืองไม่น้อยกว่า 10 ปีและมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ก�ำหนด หากภายหลังพบหลักฐานว่า มีกรณีไม่ถูกต้องตามเงื่อนไขหรือขาดคุณสมบัติ ก็ให้ด�ำเนินการยกเลิกการให้ สัญชาติ ทั้งน้ี การด�ำเนินการดังกล่าวให้รวมถึงเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง เด็กเร่ร่อน และเด็กท่ีไม่ปรากฏบุพการีที่อยู่ในการ อุปการะดูแลของบคุ คลด้วย ในการแจ้งเกิดของเด็กถูกทอดทิ้งและเด็กเร่ร่อนท่ีไม่ปรากฏบุพการีในสถานสงเคราะห์ของรัฐหรือ เอกชนพระราชบญั ญตั ทิ ะเบยี นราษฎร (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2562 กำ� หนดใหน้ ายทะเบยี นผรู้ บั แจง้ การเกดิ ดาํ เนนิ การพสิ จู น์ สถานะการเกดิ และสัญชาตขิ องเดก็ ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง และเพ่อื รองรบั การด�ำเนนิ การ ดงั กลา่ ว กระทรวงมหาดไทยไดจ้ ดั ประชมุ เตรยี มความพรอ้ มการดำ� เนนิ โครงการอำ� นวยความเปน็ ธรรม คนื สทิ ธสิ รา้ งโอกาส โขดอยงกกาลร่มุ ตครนวจไรD้รNากAเหเพงอ่ืา้ พแสิ ลจู ะนซส์ กั ถซา้อนมะคกวาราเมกเดิข้าแใลจะในไดกม้ าหีรนปงัฏสิบอื ตั สิงงั่ ากนาสรไ�ำปหยรงัับสบำ� คุนลกั าทกะรเบงายี นนทตะา่ เงบ ๆียในห3ร้ 1บั 4คำ� รรวอ้ มงทขัง้อจสัดญั หชลาักตสไิ ทตู ยร 312 จาก สิทธิในการเข้าร่วมสหภาพ : ทางออกปัญหาการค้ามนุษย์ในแรงงานข้ามชาติ - แรงงานนอกระบบ, โดย WORKPOINTNEWS, 2562. สบื ค้นจาก https://workpointnews.com/2019/10/30/trade-union-human-trafficking/ 313 จาก หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นท่สี ุด ท่ี มท ๐๒๑๑.๔/๐๘๖๗๙ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง รายงาน ผลการประเมนิ สถานการณด์ า้ นสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ และรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานคณะกรรมการสทิ ธิ มนษุ ยชนแหง่ ชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑. 314 จาก หนงั สือส�ำนกั ทะเบยี นกลาง ดว่ นมาก ที่ มท ๐๓๐๙.๑/ว ๑๘๒ ลงวนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เพือ่ ชแ้ี นะให้ บคุ ลากรทางทะเบยี นทกุ ระดบั เรยี นรู้ ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ าน ซกั ซอ้ มความเขา้ ใจในการปฏบิ ตั งิ านตามหนา้ ทแี่ ละอ�ำนาจ โดยไมต่ อ้ ง รอการสงั่ การจากต้นสงั กัดหรอื ส�ำนกั ทะเบยี นกลาง เพ่อื บรกิ ารประชาชนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ.

145 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ การฝึกอบรมเกี่ยวกับการให้บริการด้านทะเบียนและบัตรประจ�ำตัวให้แก่ผู้ปฏิบัติงานของส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอ/ 4บทที่ อกางครข์กอรสปัญกคชารตอิงรสับ่วคน�ำทร้อ้องงถแิ่นละจตัดอใบหข้ม้อีคซลักินถิกากมฎ3ห1ม5ายสัญชาติทางเว็บไซต์และมีระบบ call center เพื่อให้ข้อมูล ิสกาทร ิธปมร ุนะเษ ิมยนชสนถขาอนงกกาุล่รม ุบณ์คคล นอกจากการปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายเพอื่ กำ� หนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาไรร้ ากเหงา้ ไรร้ ฐั ขา้ งตน้ แลว้ รฐั บาลไทยยงั ไดม้ กี ารใหส้ ญั ชาตแิ กก่ ลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ อ่ี าศยั อยใู่ นประเทศไทยมาเปน็ เวลานานและกลมุ่ คนไทยพลดั ถน่ิ รวมถงึ การใหส้ ญั ชาตแิ กบ่ ตุ รของกลมุ่ ชาตพิ นั ธด์ุ งั กลา่ ว และเดก็ ทเ่ี กดิ ในประเทศไทยโดยบดิ ามารดาเปน็ คนตา่ งดา้ ว ทก่ี ำ� ลงั ศกึ ษาหรอื จบการศกึ ษาแลว้ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวนั ที่ 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 เรอื่ ง การสง่ั ให้ คแลนะทกเ่ี กาดิรใใหน้สราัญชชอาาตณิไทาจยกัเปรแ็นลกะาไรมเฉไ่ ดพร้ าบั ะสรญัายช3า1ต6ไิ ทย โดยมบี ดิ าและมารดาเปน็ คนตา่ งดา้ ว ไดส้ ญั ชาตไิ ทยเปน็ การทวั่ ไป ขอ้ มลู จากสำ� นกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ลู้ ภี้ ยั แหง่ สหประชาชาติ (UNHCR) ระบวุ า่ ปจั จบุ นั ประเทศไทย มีผู้ท่ีอาจเป็นบุคคลไร้สัญชาติหรือเสี่ยงต่อการไร้สัญชาติอีกกว่า 475,847 คน แต่รัฐบาลได้แสดงเจตนารมณ์ ใ(UนกNาHรCแRก)ป้ 3ญั 1ห7าแดลงั กะลใหา่ ว้คโ�ำดมย่ันไดวเ้่าขภา้ ารว่ยมในโคปรี ง2ก5าร6เพ7อื่ ยคตุนคิ ไรว้สามัญไชรร้าฐัตขิจอะงหสมำ� ดนไกั ปงานรวขมา้ ทหลั้งไวดง้รให่วญมกผ่ ับลู้ ภี้ Uยั แNหHง่ CสRหปแรละะชมาูลชนาติธิิ แอด็ แวนตสิ จดั ตง้ั ศนู ยบ์ รกิ ารในพน้ื ทอ่ี ำ� เภอแมฟ่ า้ หลวง แมจ่ นั และแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย เพอื่ เปดิ โอกาสใหผ้ ไู้ รร้ ฐั ไรส้ ญั ชาตไิ ดเ้ ขา้ ถงึ ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วกบั การขอสญั ชาติ ตลอดจนชว่ ยเหลอื เพอื่ ยน่ื คำ� รอ้ งขอเอกสารรบั รองการเกดิ และอนื่  ๆ รทบัเี่ กสยี่ ญั วชขาอ้ ตงกไิ ทับยสสถงู าถนงึ ะ1ท6าง,1ท6ะ0เบคยี นน3รา1ษ8ฎขรณโดะยทไก่ี มาเ่ รสอยี นคมุ่าตัใชใิ จ้หา่ส้ ยญั ซชึ่งาผตลไิ ทขอยงขกอางรกดลำ� มุ่ เชนาินตกพิ านัรนธใ์ุั้นนพปบรวะา่เทใศนไปที 2ยใ5น6ป1ี 2ม5ผี 6ไู้ 2ด้ ขอ้ มลู จากสำ� นกั บรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง เมอ่ื เดอื นเมษายน 2562 มกี ารอนมุ ตั ใิ หส้ ญั ชาตไิ ทยกบั กลมุ่ ชาตพิ ันธไ์ุ ปแลว้ ท้งั ส้นิ 3,465 คน ท้ังนี้ เม่ือวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2562 คณะรัฐมนตรีมีมตเิ ห็นชอบร่างคำ� มนั่ ทีไ่ ทยจะ ประกาศในการประชมุ ระดบั สงู วา่ ดว้ ยความไรร้ ฐั ในวนั ที่ 7 ตลุ าคม 2562 ทส่ี ำ� นกั งานใหญส่ หประชาชาติ นครเจนวี า อมันากเปข็น้ึนบกานรพแนื้ สฐดางนเจขตอนงกาฎรมหณมา์ทยาแงลกะารระเมเบือยี งบเพทื่อมี่ พอี ัฒยู่นแาลกะรใหะค้บรวอนบกคาลรแมุ กก้ปลมุ่ัญทหตี่ ากคหนลไรน่ ้รจัฐา/กไกร้สารัญแชกาไ้ ขตปิใหญั ้มหีปารใะนสอิทดธตี ิภ3า1พ9 315 จาก หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นทสี่ ดุ ท่ี มท ๐๒๑๑.๔/๐๘๖๗๙ ลงวนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรอ่ื งรายงาน ผลการประเมินสถานการณด์ ้านสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ และรายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการ สทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑. 316 จาก ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การสงั่ ให้คนทเี่ กิดในราชอาณาจกั รและไมไ่ ดร้ บั สญั ชาตไิ ทย โดยมบี ดิ า และมารดาเป็นคนตา่ งด้าว ได้สญั ชาติไทยเปน็ การทว่ั ไป และการให้สัญชาตไิ ทยเปน็ การเฉพาะราย. (๒๕๖๐, ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์). 317 โครงการ #IBelong เป็นโครงการรณรงค์เพื่อยุติความไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ภายในปี พ.ศ. 2567 ของส�ำนักงาน ขา้ หลวงใหญผ่ ลู้ ภี้ ยั สหประชาชาติ (UNHCR) ทป่ี ระเทศไทยเปน็ 1 ใน 65 ประเทศทเ่ี ขา้ รว่ ม เรม่ิ ดำ� เนนิ การมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2557 318 จาก “โครงการเพอื่ บุคคลไรร้ ัฐไรส้ ญั ชาติในประเทศไทย” โดย ส�ำนกั งานข้าหลวงใหญ่ผลู้ ี้ภัยแห่งสหประชาชาติ, ๒๕๖๒, จดหมายขา่ ว สำ� นกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ลู้ ี้ภยั แห่งสหประชาชาต,ิ ๒๕๖๒ (ฉบับที่ ๓), น. ๕. 319 จาก มตคิ ณะรฐั มนตรเี รอ่ื ง ขอความเหน็ ชอบตอ่ รา่ งค�ำมน่ั ของไทยทจี่ ะประกาศในการประชมุ ระดบั สงู วา่ ดว้ ยความ ไร้รัฐ.(๒๕๖๒, ๑ ตลุ าคม). สืบคน้ จาก http://www.cabinet.soc.go.th/soc/Program2-3.jsp?top_serl=99333445

คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 146 National Human Rights Commission of Thailand ปญั หาสำ� คัญประการหน่ึงของคนไรร้ ฐั คือ การไม่ได้รบั สิทธแิ ละเสรภี าพขั้นพน้ื ฐานและไมส่ ามารถ เขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณะได้ อยา่ งไรกด็ ี ประเทศไทยมกี ารดำ� เนนิ การเพอื่ ใหเ้ ดก็ ทกุ คนในราชอาณาจกั รไดเ้ ขา้ ถงึ การศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐานโดยคณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ มอ่ื วนั ที่5กรกฎาคม2548ใหเ้ ดก็ ทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาติ ไทยสามารถเขา้ เรยี นโดยจำ� กดั ระดบั ประเภท และพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา และใหจ้ ดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั ใหเ้ ทยี บเทา่ กบั เดก็ สญั ชาติไทย และตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548 ว่าด้วยหลกั ฐานในการรับนกั เรยี น นดา้กั นศกกึ าษราเดเขนิ า้ ทเรายี งนแใกนน่ สกั ถเรายนี นศทกึ ษต่ี อ้างกอำ� ยหใู่ นนดพแนื้ นทวคี่ ทวาบงคกมุารแขลอะหตลอ้ กั งฐอาอนกขหอลงกั ผฐสู้ ามนคั รรบั เรรยีอนงผทลม่ี กคี าวราเรมยียนดื ใหหยเ้ มนุ่ อื่ อเำ�รนยี นวยจคบว3า2ม0สขะอ้ดมวลกู จากสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระบวุ า่ ในปี 2561 และ 2562 มเี ดก็ นกั เรยี นทไี่ มม่ สี ถานะทางทะเบยี น ราษฎรหรอื ไมม่ เี ลข 13 หลกั ซง่ึ ไดม้ กี ารกำ� หนดรหสั G ไวช้ ว่ั คราว 74,511 คน และ 72,498 คน ตามลำ� ดบั โดยรหสั G จะติดตัวเด็กไปจนจบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท�ำให้เด็กไร้สัญชาติหรือเด็กท่ีไม่มีสถานะทางทะเบียนสามารถเข้าเรียน ในโรงเรียนทั่วไปได้เช่นเดียวกับเด็กที่มีสัญชาติไทย รวมถึงได้รับงบอุดหนุนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ต้ังแต่ช้ันอนุบาล -  มัธยมศึกษาปีท่ี 6 หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3) ท่ีประกอบไปด้วยค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน เคด่า็กอนุปกั กเรรียณน์กไาทรยเรทียุกนคคน่า3เ2ค1รื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นงบอุดหนุนรายหัวเท่ากันกับ ประเทศไทยเคยพจิ ารณาใหส้ ญั ชาตไิ ทยแกเ่ ดก็ ของชนกลมุ่ นอ้ ยหรอื เดก็ ทบี่ ดิ ามารดาเปน็ คนตา่ งดา้ ว เป็นกรณีพิเศษ เช่น หม่อง (ทชาอวงอดาี ข(เา่ ดท็กไี่ ไดรไ้้สปัญแชขง่าขตนัิทห่ีชนุ่นยะนกตารน์ แาขน่งาขชันาเตคทิ รฮ่ีื่ออ่ งงบกินงก)3ร2ะ2ดาสษว่ ชนิงปแี 2ชม5ป6์ป2รไะดเม้ทกีศาไรทพยจิแาลระณไดา้ไใหป้ แขง่ ขนั ทญ่ี ป่ี นุ่ ) อาโย เมกากู่ แaสnลญั dะชไาดEต้เnปไิ ทgน็ iยnตแeวั กeแน่rทiาnนงgไสปาFแวaขนir่งำ้� ขผ2ันง้ึ0รป1า9ญัยกญทาา่ีสรห(เGดรeัฐก็ nอชiเาuมวsรไิกทOาลly)อ้ื3mซ2งึ่p3เiปaแน็dลตะทวั น่ีปแาทรงะนสเปทาวรศะยสเลหทฤรศดัฐไีอทปเยมิยไรปะิกทแาขัต)ง่3ข2(เนั4ด็กInทte่ีบlิดInามteาrรnดaาtเiปon็นaคlนSตc่าieงnดc้าeว สำ� หรบั การเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ประเทศไทยไดม้ กี ารดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ ง กลา่ วคอื เมอ่ื วนั ท่ี 20 เมษายน 2558 คณะรฐั มนตรไี ดเ้ หน็ ชอบในหลกั การใหส้ ทิ ธิ (คนื สทิ ธ)ิ ขนั้ พน้ื ฐานดา้ นสาธารณสขุ กบั บคุ คลทม่ี ปี ญั หา สถานะและสิทธเิ พิ่มเติมจากมติคณะรฐั มนตรเี มอ่ื วันที่ 23 มนี าคม 2553 อกี 208,631 คน ประกอบดว้ ยบคุ คลที่มี ปญั หาสถานะและสทิ ธริ วมทงั้ บตุ รทกี่ ระทรวงมหาดไทยไดข้ น้ึ ทะเบยี นโดยมเี ลขประจำ� ตวั 13 หลกั เรยี บรอ้ ยแลว้ สำ� หรบั 320 จาก คู่มือและแนวปฏิบัติส�ำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย, โดย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๙ . สบื คน้ จาก https://www.moe.go.th/moe/upload/news20 /FileUpload/46630-3650.pdf 321 จาก เรยี นฟรี ๑๕ ปี แต่กู้ กยศ. ไม่ได้ เปดิ กฎหมาย “คนไทยไรส้ ัญชาติ”, โดย Workpoint News, 2562. สบื ค้นจาก https://workpointnews.com/2019/04/05/ในไทยคนไร้สญั ชาต/ิ 322 จาก เรียนฟรี ๑๕ ปี แต่กู้ กยศ. ไมไ่ ด้ เปดิ กฎหมาย “คนไทยไร้สญั ชาติ”. งานเดมิ . 323 จาก “นอ้ งนำ�้ ผงึ้ ” ไดส้ ญั ชาตไิ ทยแลว้ , โดย Nation TV, สบื คน้ จาก https://www.msn.com/thth/news/national/ น้องน�้ำผ้ึง-ได้สัญชาติไทยแล้ว/ar-AABaY7b 324 จาก “นอ้ งพลอย” อดตี คนไรส้ ญั ชาตไิ ดว้ ซี า่ เขา้ สหรฐั ฯ แขง่ วทิ ยฯ์ ๑๗ ม.ิ ย. น,้ี โดย ขา่ วไทยพบี เี อส, 2562. สบื คน้ จาก https://news.thaipbs.or.th/content/280422


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook