47 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ กสม. ไดม้ ีขอ้ เสนอแนะในรายงานผลการประเมนิ สถานการณด์ า้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 ๒บทที่ ว่า การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�ำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... ควรค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับอนุสัญญา CAT ควรสร้างความเข้าใจต่อสังคมและหน่วยงานของรัฐถึงความส�ำคัญ กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง ของการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�ำให้บุคคลสูญหาย ควรมีมาตรการก�ำกับตรวจสอบให้ เจ้าหน้าท่ีผู้บังคับใช้กฎหมายปฏิบัติหน้าท่ีโดยค�ำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน รวมถึงมีการฝึกอบรมเร่ืองสิทธิมนุษยชน แก่เจา้ หนา้ ท่ดี งั กล่าวทกุ ระดับ ในปี 2562 มีสถานการณ์ด้านการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย การด�ำเนินการของรัฐบาล และหนว่ ยงานของรฐั ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคท่เี กีย่ วขอ้ ง ดงั นี้ ในการด�ำเนินการด้านกฎหมาย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 24 พฤษภาคม 2559 เห็นชอบร่าง พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และปราบปรามการทรมานและการกระทำ� ใหบ้ คุ คลสญู หายพ.ศ. .... เพอ่ื ใหป้ ระเทศไทยสามารถ ปฏบิ ตั ติ ามอนสุ ญั ญา CAT ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลยง่ิ ขนึ้ และเพอ่ื รองรบั การเขา้ เปน็ ภาคอี นสุ ญั ญา CPED ทป่ี ระเทศไทย ได้ลงนามไว้แล้ว และได้ส่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณา แต่การพิจารณาร่าง พระราชบัญญัตฯิ ได้หยดุ ลงเนื่องจากสภานิติบญั ญัตแิ ห่งชาตหิ มดวาระ หลังการเลือกตง้ั ทวั่ ไปเม่อื วันที่ 24 มีนาคม 2562 รัฐบาลท่ีมาจากการเลือกต้ังได้ส่งร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทรมานฯ ไปยังสภาผู้แทนราษฎรแล้ว เมอ่ื วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2562 นอกจากนี้ ในเดอื นธนั วาคม 2562 กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ กระทรวงยตุ ธิ รรม ไดเ้ ปน็ เจา้ ภาพในการจดั การประชมุ วพิ ากษร์ า่ งพระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว เพอื่ รบั ฟงั ความเหน็ อกี ครงั้ ตามกระบวนการ ในพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท�ำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธ์ิของกฎหมาย พ.ศ. 2562 และมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทัง้ น้ี เมื่อวนั ท่ี 22 มกราคม 2562 กสม. ได้มขี ้อเสนอแนะต่อรฐั บาลและสภานิติบัญญตั ิแหง่ ชาตเิ ก่ียวกบั ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ว่า ควรคงบทบัญญัติเรื่องการห้ามยกสถานการณ์ฉุกเฉิน สงคราม ความไมม่ นั่ คงของรฐั หรอื สถานการณพ์ เิ ศษใดเปน็ ข้ออา้ งในการทรมานหรือกระท�ำให้บคุ คลสูญหาย และ การหา้ มสง่ ตวั บคุ คลออกนอกราชอาณาจกั รหากมเี หตคุ วรเชอื่ ไดว้ า่ บคุ คลนน้ั จะถกู ทรมานหรอื ถกู กระทำ� ใหส้ ญู หาย หรอื หลกั การห้ามผลักดันกลับไปสูอ่ นั ตรายไว้ในร่างพระราชบญั ญัตินี้ อันจะเปน็ การสร้างหลักประกนั ทางกฎหมาย ท่ีชัดเจนในการคุ้มครองสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญและพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนของ ไทย และการกำ� หนดความรับผิดแก่ผ้บู ังคบั บัญชาโดยตรงตามรา่ งพระราชบัญญัติฯ มาตรา 32 อาจไม่สอดคลอ้ ง ทกับราคบววา่ามมผุ่งู้ใตหบ้มงัาคยบัตบามัญขช้อาท6่ีอยข่ภู อางยอใตน้กุสาัญรญบังาคับCPบEัญDชาแขลอะงเตหน็นจคะวกรรตะัดทคำ� �ำหวร่าือไ“ดโก้ ดรยะตทรำ� ง..”.”4เป3็น “ผู้บังคับบัญชาผู้ใด นอกจากการด�ำเนินการปรับปรุงกฎหมายข้างต้น รัฐบาลยังได้มีการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาการทรมานและ การบงั คบั บคุ คลใหส้ ญู หายโดยไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั การเรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ขก์ รณถี กู กระทำ� ทรมานและถกู บงั คบั ให้ หายสาบสูญที่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็นประธานมาต้ังแต่ปี 2560 คณะกรรมการดังกล่าวมีหน้าท่ี 43 จาก กสม. เสนอความเห็นถึงนายกรฐั มนตรี - ประธาน สนช. ต่อร่างพระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันและปราบปรามการ ทรมานและการกระท�ำให้บุคคลสูญหาย แนะสร้างหลักประกันทางกฎหมายท่ีชัดเจนเพ่ือคุ้มครองสิทธิประชาชนตามพันธกรณี ระหว่างประเทศ, โดย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2562. สืบค้นจาก http://www.nhrc.or.th/NHRCTWork/ Statements-Press-Releases-Open-Letters/Press-Releases/กสม-เสนอความเห็นถึงนายกรัฐมนตรี--- ประธาน-สนช- ต่อรั..aspx
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 48 National Human Rights Commission of Thailand ก�ำหนดมาตรการป้องกัน การรับเร่ืองราวร้องทุกข์ การติดตามตรวจสอบกรณีต่าง ๆ และการเยียวยาผู้เสียหายจาก การถูกกระท�ำทรมานและถกู บงั คบั ให้หายสาบสญู ข้อมูลจากท่ปี ระชมุ คณะรัฐมนตรเี ม่อื วนั ท่ี 19 พฤศจิกายน 2562 ระบวุ า่ คณะกรรมการฯ ไดล้ งพนื้ ทต่ี รวจสอบกรณกี ารกระทำ� ทรมานตามทไี่ ดร้ บั เรอื่ งรอ้ งเรยี นแลว้ เสรจ็ จำ� นวน 53 ราย ไมป่ รากฏวา่ มกี ารกระทำ� ทรมาน สำ� หรบั กรณกี ารตดิ ตามตรวจสอบตามบญั ชรี ายชอื่ บคุ คลหายสาบสญู ของคณะทำ� งาน สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการหายสาบสญู โดยถกู บงั คบั หรอื ไมส่ มคั รใจ จำ� นวน 86 ราย คณะกรรมการฯ ไดล้ งพนื้ ทต่ี รวจสอบ แถลูกะบรงั วคบับรใวหมห้ ขาอ้ยมสลูาบพสรูญ้อมสทำ� ง้ัหไรดับ้สอง่ ีกขอ้ 7ม5ูลไรปายยังคอณย่รู ะะทหำ� วงา่ างนเรสง่ หรปดั รระวชบารชวามตขฯิอ้ มแูลล4ว้ 4จำ� นวน 11 ราย ซงึ่ ไม่ปรากฏวา่ มีการ ในปี 2562 พบรายงานทก่ี ลา่ วอ้างวา่ อาจมีการทรมาน เชน่ กรณนี ายมะสุกรี สาและ ผ้ตู อ้ งสงสัยก่อเหตุรุนแรง กทาี่ถรูกคจวับบกคุมมุ เตมวั่ือขวอันงทท่ี ห1า4รจนมทีนำ�าใคหมป้ ร2ะ5ส6บอ2บุ ซตั ่ึงเิ หมตีอลุงม้คใ์กนรหภอ้างคนปำ้� รเะมชอื่ าวสนั ังทคี่ 1ม6กลม่านี วาอค้ามงว2่า5ถู6กก2ร4ะ5ทแ�ำลทะรกมราณนนีขณายะออบั ยดู่ภลุ าเยลใาตะ้ เทอมีซโ่ี ่อืรองวมพันูซยทอา่ี ผบ2ู้ตา0ล้อใงกนสรองกสกี ฎัย1าใคนเดมคอืด2นีค5ถวดั6ามม2มา4่ันโด7คยงกหทรลณ่ีถังูกแีเขครา้วกคบก่าคอยุมงไตอดัวำ�เ้ พนในยีวหงยไนกมา่ว่กรยี่ชรซั่วกั ักโษถมาางคถมวกูขาพอมงบมกวน่ั ร่าคมหงทมภหดาาสยรใตพนใิ นรราาหชน้ออทงา่ีนณ4้�ำาใ3นจคกั คร่า่าย(ยก4ออ6ิง.ครแมยลนุทะ.ธเ)สบภียราชิหคีวา4ิตร สว่ นหนา้ ไดต้ รวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ และไดช้ แี้ จงผลการตรวจหาสาเหตขุ องการลน่ื ลม้ จากผลการเอก็ ซเรยส์ มองพบวา่ เกดิ จาก หลอดเลือดในสมองด้านซ้ายตีบเฉียบพลันท�ำให้มีอาการอ่อนแรงซีกขวาและเสียการทรงตัว และยืนยันว่าเจ้าหน้าท่ี กไดา้ปรฟฏกิบชัตำ้� ิตจ่อาผกู้ถกูการคกวรบะคแุมทตกัวแตตาอ่ มยรา่ ะงเใบดีย4บ8ทสุกว่ ขน้ันกตรณอนหี ลซงั ่ึงไดสม้อกีดาครลส้อองบกสับวผนลสกาาเหรตตรกุ วาจรรเส่ายีงกชวีาติยขโดอยงคแณพทะกยร์ทรี่ไมมก่พาบรคร่อมุ้ งครรออยง สิทธิมนุษยชนชายแดนภาคใต้ซึ่งแต่งต้ังโดยแม่ทัพภาคท่ี 4 และคณะกรรมการชุดน้ีได้แถลงสาเหตุการเสียชีวิตของ นายอับดุลเลาะฯ ว่าเน่ืองจากสมองขาดออกซิเจนและสมองบวมซึ่งอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุรวมถึงการแตกของ หลอดเลอื ดในสมองจากโรคหลอดเลอื ดโปง่ พอง แตแ่ พทยไ์ มส่ ามารถยนื ยนั การวนิ จิ ฉยั ในประเดน็ นไี้ ดเ้ นอ่ื งจากไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหผ้ า่ ศพพสิ จู น์ ทงั้ น้ี นกั วชิ าการและภาคประชาชนบางคนตงั้ ขอ้ สงั เกตเกยี่ วกบั ความนา่ เชอื่ ถอื ของคณะกรรมการ ชไมดุ ส่ นาี้ แมลาระถตทอ่ �ำมงาาไนดไม้ดกี้อรยรา่ มงกเตา็มรทจา่เี นกอื่ภงาจคาปกรขะ้อชจา�ำสกงั ดัคดม้าขนอเลวาลอาอแกลจะากกาครเณข้าะถกึงรขร้อมมกลูาร4ด9งั กลา่ ว โดยใหเ้ หตผุ ลประการหนง่ึ วา่ 44 จาก เปิดรายงาน ๘๖ บุคคลสูญหายจากการกระท�ำของทหารหรือไม่, โดย เนชั่นสุดสัปดาห์, 2562. สืบค้นจาก https://www.nationweekend.com/content/government_inside/3135 45 จาก ‘ผสานวัฒนธรรม’ ร้องสอบปมผู้ต้องสงสัยได้รับบาดเจ็บสาหัส ยุติบังคับใช้ กม.พิเศษจับกุมคุมขังผู้ต้องสงสัย, โดย ประชาไท, 2562. สืบคน้ จาก https://prachatai.com/journal/2019/03/81625 46 จาก ซ้อมทรมาน : คคก.คุ้มครองสิทธิฯ แถลงกรณี อับดุลเลาะ อีซอมูซอ หมดสติระหว่างถูกควบคุมตัวประเด็น “อุบัติเหตุ - ลื่นลม้ ”, โดย บีบซี ีไทย, 2562. สบื ค้นจาก https://www.bbc.com/thai/49175954 47 จาก ซ้อมทรมาน : อับดลุ เลาะ อซี อมูซอ ทหี่ มดสติระหว่างถกู คมุ ตัวที่คา่ ยอิงคยุทธฯ เสียชีวิตแลว้ ญาติไม่รอชนั สูตร, โดย บบี ีซีไทย, 2562. สบื คน้ จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-49464205 48 จาก กอ.รมน.ภาค ๔ เผยผลแพทยช์ ้ีชัดผู้ต้องสงสยั กอ่ เหตุรนุ แรงลืน่ ล้มในห้องน้ำ� ไม่ได้โดนซอ้ ม, โดย มตชิ นออนไลน,์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_1419388 49 จาก ซอ้ มทรมาน : ผลสอบสวนกรณี “อับดุลเลาะ” หมดสติ - เสยี ชีวติ สร้างความคลางแคลงใจ, โดย บบี ซี ไี ทย, วนั ที่ 2562. สบื ค้นจาก https://www.bbc.com/thai/49500002
49 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ในกรณขี องการบงั คบั ใหบ้ คุ คลสญู หาย ในปี 2562 มรี ายงานวา่ มกี ารพบนกั เคลอ่ื นไหวทางการเมอื งสญู หาย หลายราย เชน่ นายสรุ ชยั แซ่ด่าน นกั กิจกรรมทางการเมอื งที่ลภี้ ัยไปสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเม่อื ปี 2557 ซงึ่ ภรรยานายสรุ ชยั ฯ สงสยั วา่ จะเสยี ชวี ติ แลว้ เนอื่ งจากเมอ่ื ปลายปี 2561 มรี ายงานวา่ มผี พู้ บศพในแมน่ ำ้� โขง 3สแลรุ ศชะพยัยฯงั แไตจมงึ่ศ่มเพชีราอื่แยรวงกา่ าศทนพ่พี คทบวห่ีไาดามล้ยคไอบื ปยหนหนา่ า้าจยเะไพเปปมิ่ สน็เตว่สิมนา5ศม1พขี ,อ5ทง2ีเ่ ตหนนลออื จกองึ จีกไาดก2แ้ นจศ้ีง้ มพครี ตวาารยมวงจไาวสนท้ อขสี่ บ่าถพวาวบนา่ วตีนา่ ำ�ารเยปวสจ็นยภผาธูู้ตมริดธทตรี า่ าวอมฒุ เุ นทิ นานยาจสยงัุรชหชชู วยัพี ดั ฯนชภวีครสรรุทพยธนา์ิ มแน5ลา0ยะ นายกฤษณะ ทัพไทย กลมุ่ นักจัดรายการวทิ ยใุ ต้ดินที่แสดงออกตามแนวทางของสหพันธรฐั ไท ถกู ประเทศเวยี ดนาม วส่าง่ ยตังวั ไกมล่มับีขป้อรมะูลเทเกศี่ยไทวกยับเมกื่อรวณนั ีดทังี่ ก8ลพ่าฤว5ษ3ภาอคีกมเห2ต5ุก6า2รณแ์ตหห่นล่ึงเงั ปจ็นากกนรณั้นไีนดัก้หกาิจยกตรัวรไปมชซางึ่ วหลนาว่วยผงู้เราียนกทร่ีเก้อยี่งสวขิทอ้ธงิมในหุษข้ ยอ้ ชมนูล กแลาระสปืบรสะวชนาธขปิอไงตสยถใานนปีตรำ� ะรเวทจศนลคารวบซา่ึงลลบ้ภี ึงยั กในุม่ แปลระะยเทงั ศไมไท่มยีคหวาามยคตืบัวไหปนเม้า5ื่อ4วนั ท่ี 2 กนั ยายน 2562 ขณะนอ้ี ยรู่ ะหวา่ ง ส�ำหรับกรณีการหายตัวของนายพอละจี รักจงเจริญ หรือบิลล่ี นักเคล่ือนไหวชาวกะเหรี่ยงที่หายตัวไป หลังถูกจับกุมโดยเจ้าหน้าท่ีอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานเมื่อวันท่ี 17 เมษายน 2557 กรมสอบสวนคดีพิเศษ ออ(ดธดีเบิีตอดหสีอัวไอยัห)กนา้าพรอบสุทหำ� ยนลากัักนงฐแาาหนน่งคชชดิ้นาีพตสเิ ิแ�ำศคกษัญ่งพกใรรนอ้ ะวมจันคาทนวาี่ในม2เวหันกน็ ทันส่ีย่ัง1าฟ1ยอ้ นงพใน2ฤวศ5นั จ6ทิก2่ีา2ยซ3นึ่งนธ2นั�ำ5ไวป6าคส2มู่ก5า52ร5แแจ6ล้งะ2จด5ับีเ6อนสาไยอชไัยดว้สัฒ่งสน�ำ์ นลวิ้มนลฟิข้อิตงอใหัก้กษับร ท้ังน้ี ในปี 2562 กสม. ได้รับค�ำร้องท่ีต้องสงสัยว่าจ�ำเลยหรือผู้ต้องหาถูกกระท�ำทรมานโดยเจ้าหน้าท่ีรัฐ อย่างน้อย 26 ค�ำร้อง ซึ่งทั้งหมดอยู่ในระหว่างการตรวจสอบของ กสม. นอกจากน้ี ในกรณีของรายงาน ผลการตรวจสอบในปี 2562 ในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วกบั การกระทำ� ทรมานโดยเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั กสม. ไดม้ คี ำ� แนะนำ� แกห่ นว่ ยงาน ที่เก่ียวข้อง และหน่วยงานต่าง ๆ ได้รับทราบแล้ว เช่น ข้อเสนอแนะให้คณะรัฐมนตรีเร่งรัดการจัดท�ำร่างกฎหมาย 50 จาก ศพอยูไ่ หน “สุรชยั แซ่ดา่ น” หายลึกลบั วนั เดยี วกับ “นายกฯ ตู่” ประชุมทล่ี าว (คลปิ ), โดย ไทยรัฐออนไลน,์ ๒บทที่ 2562. สืบคน้ จาก https://www.thairath.co.th/news/local/northeast/1511421 กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง 51 จาก ป้านอ้ ยแจง้ ความ สภ.ทา่ อเุ ทน เชือ่ ศพทห่ี ายไปคอื ศพ ‘สรุ ชยั แซ่ดา่ น’, โดย ประชาไท, 2562. สบื ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/02/81230 52 จาก ภรรยา “สุรชัย แซ่ด่าน” ร้อง ผบ.ตร. เร่งติดตามคดีสูญหาย, โดย ข่าวไทยพีบีเอส, 2562. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/285075 53 จาก กองปราบ ‘ไม่รับแจ้งความ’ เหตุ ‘ลงุ สนามหลวงกบั พวก’ หายไปหลงั มขี า่ วสง่ ตวั กลับไทย, โดย ประชาไท, 2562. สบื ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/05/82396 54 จาก หนังสือกองทะเบียนประวัติอาชญากร ท่ี ทว ๐๐๓๒.๓๒๖/๓๘๓๖ ลงวันท่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เร่อื งขอ้ มูลการรบั แจ้งคนหายราย นายสุรชัย ดา่ นวัฒนานุสรณ์ และนายอ๊อด ไขยะวงศ์ (สัญชาติลาว). 55 จาก ‘สยาม ธรี วฒุ ’ิ : ‘ผลู้ ภี้ ยั ’ ทยี่ งั ไมท่ ราบชะตากรรม, โดย วอยซท์ วี ,ี 2562. สบื คน้ จาก https://voicetv.co.th/ read/gP9AW6JSy 56 จาก ดีเอสไอส่งส�ำนวนควรฟอ้ ง ชัยวฒั น์ - พวก คดบี ิลลใี่ หอ้ ัยการฯ ม.ค. ๖๓ รฟู้ อ้ งหรอื ไม่, โดย ไทยรฐั ออนไลน,์ 2562. สืบคน้ จาก https://www.thairath.co.th/news/crime/1732773
คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ 50 National Human Rights Commission of Thailand เพ่ืออนุวัติการตามอนุสัญญา CAT เสนอต่อรัฐสภาพิจารณา รวมทั้งข้อเสนอแนะต่อกระทรวงยุติธรรมให้เร่งก�ำหนด กมาารตทรกรมาราปนอ้บงคุ กคนั ลกในารจถงั กูหกวรดั ะชทาำ�ยทแรดมนาภนาแคลใะตก้เปำ� ็นหกนรดณมาเี รต่งรดฐ่วานน5เร7อื่ งราวรอ้ งเรยี นและตรวจสอบการกระทำ� ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บทประเมนิ สถานการณ์และข้อเสนอแนะ กสม. เห็นว่า รัฐบาล กระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องมีความพยายามในการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หาการทรมานตามอนสุ ญั ญา CAT อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทงั้ โดยการปรบั ปรงุ กฎหมายโดยการเสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิ ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�ำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... ต่อสภาผู้แทนราษฎรเพ่ือพิจารณา การต้ังคณะกรรมการจัดการเร่ืองราวร้องทุกข์กรณีการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย การให้ความร่วมมือกับ คณะทำ� งานวา่ ดว้ ยการหายสาบสญู โดยถกู บงั คบั ฯ ของสหประชาชาติ และการสบื สวนคดนี ายพอละจฯี จนมคี วามคบื หนา้ ทางคดีท่ีส�ำคัญ รวมทั้งเม่ือมีรายงานเหตุการณ์ที่สงสัยว่าอาจมีการกระท�ำทรมาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการช้ีแจง ข้อมลู ต่อสาธารณะ ทั้งนี้ กสม. มขี อ้ เสนอแนะเพิ่มเติมในประเดน็ การทรมานและการกระทำ� ให้บุคคลสูญหาย ดงั น้ี 1. รัฐควรเร่งพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�ำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... โดยคำ� นงึ ถงึ ความสอดคลอ้ งตามอนสุ ญั ญา CAT เพอ่ื ใหม้ ผี ลบงั คบั ใชโ้ ดยเรว็ และเพอ่ื ใหไ้ ทยสามารถดำ� เนนิ การ เขา้ เป็นภาคอี นสุ ัญญา CPED ได้ 2. รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสร้างความตระหนักแก่เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายทุกระดับ ถึงความส�ำคัญของป้องกันการทรมานและการกระท�ำให้บุคคลสูญหาย จัดการฝึกอบรมเรื่องสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้อง กบั การปฏบิ ตั ิหนา้ ทีอ่ ย่างตอ่ เนื่อง และมมี าตรการตรวจสอบการปฏิบตั หิ น้าท่ขี องผ้บู งั คับใช้กฎหมาย 3. รัฐบาลและหนว่ ยงานของรัฐทเ่ี ก่ยี วข้องควรสืบสวนโดยพลันและเปน็ กลางกรณมี รี ายงานหรือมีการร้องเรยี น วา่ มกี ารกระท�ำทรมานหรอื บงั คับใหบ้ ุคคลสญู หาย รวมท้งั ให้การเยยี วยาแกผ่ ูเ้ สียหายและประกันว่าจะไม่มกี ารกระทำ� ซ้ำ� อีกตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการประจำ� กติกา ICCPR 57 จาก รายงานผลการตรวจสอบ ท่ี ๘๗ - ๑๘๖/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๒ เร่ือง สิทธแิ ละเสรีภาพในร่างกาย และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม กรณีกล่าวอ้างว่า เจ้าหน้าที่ทหารซ้อมทรมานบุคคลผู้ต้องสงสัยในระหว่างถูกควบคุมตัว, โดย คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ.
51 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ 2.3 เสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ เสรภี าพสือ่ มวลชน ๒บทที่ และเสรีภาพในการชมุ นุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง ภาพรวม เสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ และเสรภี าพในการชุมนมุ โดยสงบได้รับการรบั รองในกตกิ า ICCPR ขอ้ 19 ซง่ึ กำ� หนดใหบ้ คุ คลมสี ทิ ธทิ จ่ี ะมคี วามคดิ เหน็ โดยปราศจากการแทรกแซง และมสี ทิ ธใิ นเสรภี าพแหง่ การ แสดงออก รวมถงึ เสรภี าพทจี่ ะแสวงหา รบั และเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารและความคดิ ทกุ ประเภท โดยการใชส้ ทิ ธิ ดังกล่าวต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบพิเศษควบคู่ไปด้วย ดังน้ัน จึงอาจมีการจ�ำกัดสิทธิน้ีได้โดยต้อง บัญญัติไว้ในกฎหมายและเท่าท่ีจ�ำเป็นเพ่ือการเคารพในสิทธิหรือชื่อเสียงของบุคคลอื่น และเพื่อการรักษา ความมน่ั คงของชาตหิ รอื ความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื การสาธารณสขุ หรอื ศลี ธรรมของประชาชน สว่ นสทิ ธใิ นการ ชมุ นมุ โดยสงบไดร้ บั การรบั รองในกตกิ า ICCPR ขอ้ 21 โดยการจำ� กดั สทิ ธนิ จี้ ะตอ้ งกำ� หนดเปน็ กฎหมายและ เพียงเท่าท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับสังคมประชาธิปไตย เพื่อประโยชน์แห่งความม่ันคงของชาติหรือความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อย การสาธารณสุข หรือศีลธรรมของประชาชนหรือการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ บคุ คลอ่ืน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติที่รับรองเสรีภาพของบุคคล ในการแสดงความคิดเห็น รวมทั้งเสรีภาพของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนในการเสนอข่าวตามจริยธรรม แห่งวิชาชีพ ดังปรากฏในมาตรา 34 และมาตรา 35 ส่วนเสรีภาพของบุคคลในการชุมนุมโดยสงบและ ปราศจากอาวธุ ไดร้ บั การรบั รองไวใ้ นมาตรา 44 ทงั้ นี้ รฐั ธรรมนญู ไดบ้ ญั ญตั ขิ อ้ จำ� กดั ในการใชส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพ ดังกล่าวที่สอดคล้องกติกา ICCPR ดังกลา่ วข้างต้น คณะกรรมการประจ�ำกติกา ICCPR ได้มีข้อเสนอแนะต่อประเทศไทยในการพิจารณารายงาน การปฏิบัติตามกติกาฯ ของไทยเมื่อเดือนเมษายน 2560 ว่ารัฐภาคีไม่ควรใช้การลงโทษทางอาญากับ ความผดิ ฐานหมน่ิ ประมาทหรอื ควรใชเ้ ฉพาะกรณที เี่ ปน็ ความผดิ รา้ ยแรงเทา่ นน้ั ควรงดเวน้ การใชพ้ ระราชบญั ญตั ิ วา่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายอนื่ ๆ เพอื่ ยบั ยง้ั การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ หรอื การแสดงความเหน็ ตา่ งจากรฐั บาล ควรมกี ารฝกึ อบรมผพู้ พิ ากษา พนกั งานอยั การ และเจา้ หนา้ ทผ่ี บู้ งั คบั ใช้ กฎหมายเกย่ี วกับการคุ้มครองเสรภี าพดงั กลา่ ว นอกจากนี้ รฐั ภาคคี วรประกนั วา่ การจ�ำกดั เสรภี าพในการ แสดงความคิดเห็นและการชุมนุมโดยสงบจะเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีก�ำหนดในกติกา ICCPR อย่างเคร่งครัด รวมทั้งควรงดเว้นการคุมขังผู้ใช้สิทธิในการชุมนุมที่ไม่ได้มีพฤติกรรมเป็นภัยอย่างร้ายแรงต่อความมั่นคง ของประเทศหรือความปลอดภัยสาธารณะ ในรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 กสม. ได้มี ขอ้ เสนอแนะว่า รฐั บาลควรหลกี เลยี่ งการใช้มาตรการจ�ำกัดสิทธิและเสรภี าพที่เกนิ สดั ส่วน และควรทบทวน การใชอ้ ำ� นาจทางกฎหมายตามมาตรา 44 ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช 2557 ให้เป็นไปตามกระบวนการตรากฎหมายปกติ แมว้ า่ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 279 จะให้อ�ำนาจดงั กล่าวไว้ ในปี 2562 มีสถานการณ์เก่ียวกับการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการชุมนุมโดยสงบ การดำ� เนนิ การของรฐั บาลและหนว่ ยงานของรฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง รวมทงั้ ปญั หาอปุ สรรคในเรอื่ งเสรภี าพดงั กลา่ ว ดงั น้ี
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 52 National Human Rights Commission of Thailand 2.3.1 เสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ การแสดงความคดิ เห็นของบคุ คลทเี่ ปน็ ปญั หาส่วนใหญเ่ ป็นกรณที บ่ี คุ คลโพสตข์ ้อความต่าง ๆ ในสอ่ื ออนไลน์ ซง่ึ กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการเผยแพร่ขอ้ มูลผ่านระบบคอมพวิ เตอร์ ได้แก่ พระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระท�ำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติมเมื่อปี 2560 โดยบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าว ที่มผี ลกระทบตอ่ เสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นในปีทผ่ี ่านมา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การแสดงความคิดเห็นในลกั ษณะ วพิ ากษ์วิจารณ์รฐั บาล ได้แก่ มาตรา 14 (2) (3) และ (5) ท่ีกำ� หนดใหก้ ารนำ� เขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ ข้อมลู เท็จทีอ่ าจ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ความมน่ั คงของประเทศหรอื ความปลอดภยั สาธารณะ หรอื ขอ้ มลู ใด ๆ ทเ่ี ปน็ ความผดิ เกย่ี วกบั แคลวาะม(ม3น่ั )5ค8งแเหปง่น็ รคาวชาอมาผณดิ าแจลกั ะรมตีโาทมษปจรำ� ะคมกุ วไลมก่เกฎินหม5ายปอี หาญรอื าปแรลบั ะไกมา่เกรเนิ ผย1แ0พ0ร,ห่ 0ร0อื 0สง่ บตาอ่ ทขอ้ หมรลูอื โทดัง้ ยจร�ำวู้ ทา่ งั้เปปน็รับขอ้ มลู ตาม (2) ในปี 2562 ยังคงมีกรณีท่ีมีการแจ้งข้อกล่าวหาต่อผู้แสดงความคิดเห็นในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ รฐั บาลทางสอ่ื ออนไลนต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรข์ า้ งตน้ แตไ่ มม่ ากเทา่ กบั ปที ผ่ี า่ นมา วเชพิ น่ ากกษรณว์ จิ กี ารรมณสค์ อณบะสรวกันษคาดคพี วเิาศมษสแงจบง้ เรขยีอ้ บกรลอ้ า่ ยวแหหาตง่ ชอ่ านตาิ (ยคอสนชรุ .)กั เษม์อื่ เจเดนอื ตนวเนมชิษยา์ยนนกั ก2จิ5ก6ร2รม5ก9ากรรเณมอื กี งอจงบากงั คกบัารกโาพรสปตรข์าบอ้ คปวราามม การกระทำ� ความผิดเกี่ยวกบั อาชญากรรมทางเทคโนโลยีจบั กุมนายศศิพฒั น์ หรอื กาณฑ์ พงษป์ ระภาพนั ธ์ นักกิจกรรม ทเมาื่องเกดาอื รนเมตืลุอางคจมา2ก5กา6ร2เผ6ย0แพร่ข้อความทางเฟซบุ๊กตามการแจ้งความของกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม นอกเหนือจากกรณีข้างต้น หน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องได้ใช้กฎหมายว่าด้วยการกระท�ำความผิด เหกลี่ยาวยกกับรคณอี เมชพน่ ิวกเาตรอเรส์ในนอกขา่ารวดป�ำลเนอมินวคา่ ดมีกีกราณรปีกลารดเกผรยรแมพกรา่ขรก่าาวรปเลลออื มกตแั้งละ2กคานรโ6พ1สกตา์ขร้อจมับูลผเ้ทู ทเี่ ข็จ้าเพถึง่ือขหอ้ ลมอูลกทลาวงงเฟปซระบชกุ๊ าขชอนง บข้อุคมคูลลบอตั่ืนรโดปยระมชิชาอชบนแขลอะงสบ่งุคขค้อลคอวืน่ามโไดปยขผอตู้ ย้อืมงเหงาินมโดเี งยนิ ใหหม้โอุนนเวเียงินนเใขน้าบบัญัญชชีกีกวรา่ ะ3เป4๋าเลงา้ินนอบิเลา็กทท6ร2อแนลิกะสก์ทาี่ลรงจทบั ะกเมุ บผียูด้ นูแโลดเยพใจช้ “เขหา้ ลขว่างยพในจ่ี สัคตวนาิ มวผดั ดิ ดเยูกมู่ยี นีวก”บั ซคงึ่ ไวดาโ้มพมสัน่ ตคข์ งอ้ ครววมามถใงึ นมลพี กั ฤษตณกิ าะรสณรา้ห์ งลคอวกามลแวตงขกาแยยสกนิ สครา้ า้ ปงคระวชามาชเขนา้ 6ใจ3ผเดิ ปใ็นหตก้ บัน้ ประชาชน รวมถงึ 58 จาก พระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. 59 จาก “ฟอรด์ เสน้ ทางสแี ดง ” เขา้ พบ พนง.สอบสวนดเี อสไอ รบั ทราบขอ้ หาคดผี ดิ พ.ร.บ. คอมพ์, โดย มตชิ น ออนไลน,์ 2562. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1457196 60 จาก เปิดแถลงใหญ่จับ “กาณฑ์” นักเคลื่อนไหว โพสต์ประวัติศาสตร์นอก คนแชร์ส่อโดน!, โดย ข่าวสด, 2562. สบื ค้นจาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_2956109 61 จาก แจงยิบ!! “กกต.” แจ้ง “ปอท.” เอาผิดคนท�ำข้อมูลเท็จ, โดย The Bangkok Insight, 2562. สืบค้นจาก https://www.thebangkokinsight.com/122647/ 62 จากจบั แฮกเฟซหลอกโอนเขา้ กระเปา๋ เงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส,์ โดยคมชดั ลกึ ,2562.สบื คน้ จากhttps://www.komchadluek.net/ news/crime/399247 63 จาก ปอท. จบั แอดมนิ เพจดงั “หลวงพจ่ี สั ตนิ วดั ดยู มู นี ” ขอ้ หาหนกั ผดิ พรบ.คอมพ์, โดย The Bangkok Insight, 2562. สืบค้นจาก https://www.thebangkokinsight.com/262145/
53 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ เม่ือเดอื นกนั ยายน 2562 กองบังคบั การปราบปรามการกระทำ� ความผิดเกย่ี วกบั อาชญากรรม ๒บทที่ ทางเทคโนโลยี (ปอท.) และกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ไดร้ ว่ มกนั แถลงขา่ วผลปฏบิ ตั กิ ารทำ� ลายลา้ งขา่ วปลอม หรือ fake news ระหว่างวันท่ี 19 สิงหาคม - 9 กันยายน 2562 ว่าจากการตดิ ตามตรวจคน้ พื้นท่ี 9 จดุ ท่ัวประเทศ สามารถจับกุมผู้กระท�ำผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกระท�ำผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ได้ 9 กรณี แบ่งการกระท�ำผิด ไดเ้ ปน็ 4 ประเภท คอื 1) กลมุ่ นกั เลงคยี บ์ อรด์ ทโี่ พสตข์ อ้ ความสรา้ งกระแสเพอื่ ความสนกุ สว่ นตวั 2) กลมุ่ หวงั รายได้ น�ำภาพดารา ผู้มีชื่อเสียง โพสต์สร้างกระแสเพ่ือหวังยอดติดตามเพ่ือโฆษณา 3) กลุ่มสร้างความเกลียดชัง โพสตข์ อ้ ความดหู มน่ิ ยยุ ง ปลกุ ปน่ั หรอื กลมุ่ hate speech และ 4) กลมุ่ หลอกลวงนำ� เขา้ ขอ้ มลู เทจ็ หลอกขายสนิ คา้ ทงั้ นี้ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงดจิ ทิ ลั ฯ ที่รว่ มในการแถลงข่าวกล่าววา่ ปจั จบุ นั ขา่ วปลอมมีหลายรปู แบบไมใ่ ช่เฉพาะ ขา่ วการเมืองแตร่ วมถึงข่าวทก่ี ระทบความมน่ั คง ขา่ วภัยพิบัติ หรือข่าวหลอกลวง หากประชาชนจะโพสต์ข้อความ ตแส่อดสังงคคมวาแมตคห่ ิดาเหกก็นรวะิพทาบกบษุค์วคิจลารอณ่นื ์โอดายจสเุจขรา้ ขิตา่สยาหมมารนิ่ ถปทร�ำะไมดา้แทตไ่ไดม6้ ่ค4วรสร้างความเกลียดชังและไม่เกิดความเสียหาย อย่างไรก็ดี หลายฝ่ายยังมีข้อห่วงกังวลเกี่ยวกับถ้อยค�ำบางค�ำในพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำ� ผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ทอ่ี าจเปน็ ปญั หาเมอ่ื มกี ารนำ� ไปใชบ้ งั คบั เชน่ คำ� วา่ “บดิ เบอื น” ในมาตรา 14 (1) ซ่ึงเป็นองค์ประกอบความผิดทอ่ี าจตคี วามไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เชน่ เดียวกบั คำ� ว่า “ความปลอดภัย ส1า4ธ(า2ร)ณ65ะ”แล“ะคใวนามมามตนั่ รคาง2ท0างกเรศณรษขี ฐอกใหจิ ศ้”าแลลสะง่ั ใ“หโร้คะรงงบั สกราา้ รงทพำ�นื้ ใฐหาแ้ นพอรนัห่ เลปาน็ ยปหรระอื โลยบชขนอ้ ส์ มาลูธอารอณกจะาขกอรงะปบรบะคเทอศม”พวใิ นเตมอารตน์ รนั้า มีถ้อยค�ำเช่ือมโยงไปถึง “ศีลธรรมอันดีของประชาชน” ซ่ึงถ้อยค�ำดังกล่าวไม่ปรากฏค�ำนิยามหรือค�ำจ�ำกัดความ ในกฎหมายใด ท้ังน้ี จึงเห็นได้ว่าถ้อยค�ำที่มีลักษณะตีความได้กว้าง หรือความไม่ชัดเจนของถ้อยค�ำอาจส่งผลให้ กขาอรงบปงัรคะบั ชใาชชก้ นฎจหนมเากยินไสมตม่ รคงวตรา6ม6เจตนารมณแ์ ละอาจนำ� ไปสกู่ ารตคี วามไปในทางปดิ กนั้ เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ 2.3.2 เสรีภาพสือ่ มวลชน ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ 97/2557 ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2557 เรอ่ื ง การใหค้ วามรว่ มมอื ตอ่ การปฏบิ ตั งิ านของ คสช. และการเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารตอ่ สาธารณะ และประกาศ คสช. ท่ี 103/2557 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 เรื่อง แก้ไขเพม่ิ เตมิ ประกาศ คสช. ฉบับท่ี 97/2557 เป็นประกาศ ท่ีวางข้อก�ำหนดในการเสนอข่าวสารของผู้ประกอบกิจการและผู้ให้บริการด้านส่ือมวลชนทุกประเภท รวมถึงการ งดเว้นนำ� เสนอข้อมูลข่าวสารที่มีลกั ษณะเปน็ การวพิ ากษ์วิจารณ์การปฏิบัตงิ านของรฐั บาล 64 จาก ปฏิบตั กิ ารทลายลา้ ง ข่าวปลอม ๐๙.๐๙.๒๐๑๙, โดย กองบงั คบั การปราบปรามการกระท�ำความผิดเก่ียวกบั กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง อาชญากรรมทางเทคโนโลย,ี 2562. สบื คน้ จาก https://tcsd.go.th/ปฏบิ ัตกิ ารทลายลา้ ง/ 65 จาก พ.ร.บ. คอมพิวเตอรฯ์ ๒๕๖๐: กฎหมายใหมแ่ ตย่ ังถูกใช้ปิดปากเหมอื นเดิม, โดย ilaw, 2561. สืบคน้ จาก https://ilaw.or.th/node/4901 66 จาก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหมก่ ับสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชน, โดย กรงุ เทพธรุ กิจ, 2561. สืบคน้ จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/646045
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 54 National Human Rights Commission of Thailand ในปี 2562 มีกรณีท่ีเป็นการจ�ำกัดการแสดงความคิดเห็นของส่ือตามประกาศข้างต้น กรณี คณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั นแ์ หง่ ชาติ (กสทช.) มมี ตเิ มอื่ วนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ใหพ้ กั ใช้ ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโทรทศั นภ์ าคพน้ื ดนิ ในระบบดจิ ทิ ลั ของบรษิ ทั วอยซ์ ทวี ี จาํ กดั เปน็ เวลา 15 วนั เนอ่ื งจากเหน็ วา่ การออกอากาศในรายการ “Tonight Thailand” เม่ือวันที่ 16 ธนั วาคม 2561 รายการ “Wake Up News” ในชว่ ง วันที่ 21 - 29 มกราคม 2562 และวันท่ี 4 กุมภาพันธ์ 2562 มีลักษณะเป็นการให้ข้อมูลข่าวสารที่ก่อให้เกิด คแลวาะมตสาบัมสมนาตยรว่ั ายุ3ป7ลกุ แปหน่ั ง่ ใพหรเ้ กะดิราคชวบามัญขญดั แัตยิกง้ารอปนั รเปะน็กอกาบรกฝจิ า่ กฝานื รปกรระะกจาาศยคเสสยี ชง.แฉลบะบั กทิจ่ีก9า7ร/โ2ท5รท5ัศ7นแ์ ลพะ.ศฉ.บ2บั 5ท5่ี 110637/2557 สมาคมสอื่ 3 สมาคมประกอบดว้ ยสมาคมนกั ขา่ ววทิ ยแุ ละโทรทศั นไ์ ทย สมาคมนกั ขา่ วนกั หนงั สอื พมิ พ์ แหง่ ประเทศไทย และสมาคมผูผ้ ลติ ข่าวออนไลน์ ได้ออกแถลงการณ์เรยี กร้องให้ กสทช. ทบทวนคำ� ส่ัง เนือ่ งจากเห็นวา่ มกี ฎหมายปกติ เชน่ กฎหมายหมิน่ ประมาท ที่สามารถดำ� เนนิ การเอาผิดกบั ผดู้ �ำเนินรายการ หรอื เฉพาะรายการน้นั ๆ ได้อยู่แล้ว โดยไม่จ�ำเป็นต้องออกค�ำส่ังปิดสถานีโทรทัศน์ท้ังช่อง พร้อมเรียกร้องให้ส่ือมวลชนน�ำเสนอข้อมูลรอบด้าน ตระามมัดหรละักวจงั รกิยาธรรนร�ำมเสวิชนาอชเนีพอ้ื หโดายทเี่ไฉมพก่ าอ่ ะใขหณ้เกะดิ นกี้อายรู่ใยนวั่ ชย่วุหงรบือรครวยาามกขาัดศแทยี่ปง้ ร6ะ8เทศไทยก�ำลังเตรียมเลือกต้ัง ขอให้สื่อมวลชน กรณีดังกล่าว บริษัทวอยซ์ ทีวีฯ ได้ย่ืนฟ้องศาลปกครองให้เพิกถอนค�ำส่ังดังกล่าว และเมื่อวันที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ศาลปกครองมีคำ� สั่งทุเลาการบังคับคำ� สัง่ ของ กสทช. เป็นการช่วั คราว ตอ่ มา ศาลปกครองกลาง ไดม้ คี ำ� พพิ ากษาเมอื่ วนั ท่ี 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ให้เพิกถอนมตขิ อง กสทช. โดยใหเ้ หตุผลว่าการแสดงความคิดเห็นของ ผดู้ ำ� เนนิ รายการเปน็ การวพิ ากษว์ จิ ารณน์ โยบายและบคุ คลสาธารณะตามสทิ ธเิ สรภี าพของสอ่ื มวลชน แมว้ า่ จะมกี ารแสดง ความคิดเห็นสนับสนุนพรรคการเมืองฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตามที่ กสทช. กล่าวอ้าง แต่การกระท�ำดังกล่าวยังไม่ได้เป็นการ ดนำ�ำ� เเนสนินรอาถยงึ กขานราดดงั เกปลน็ า่ กวาจระสมอ่ ปี ใญัหเ้หกาดิ ดคา้ วนาจมรสยิ บั ธสรรนมยหว่ั รยอื ุ ไปมลน่ กุ นั้ ปยน่ั อ่ ใหมเเ้ ปกดิน็ คหวนาา้ มทขขี่ ดั อแงยอง้งหครก์ อืรสสรภา้ างวใชิหาเ้ ชกพีดิ คดำว� เานมนิ แกตากรแตยรกวจสสว่ อนบก6า9ร ตอ่ มา เมอ่ื วนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2562 หวั หนา้ คสช. ไดม้ คี ำ� สง่ั ที่ 9/2562 เรอ่ื ง การยกเลกิ ประกาศ คสช. คำ� สง่ั คสช. และคำ� ส่งั หวั หนา้ คสช. บางฉบบั ท่ีหมดความจ�ำเป็น รวมถงึ ให้ยกเลิกประกาศ คสช. ที่ 97/2557 และ ประกาศ คสช. ที่ 103 /2557 แล้ว อย่างไรก็ดี ในเร่อื งเสรีภาพของส่ือมวลชน ภาคประชาสังคมยงั คงมขี อ้ ห่วงกงั วล กรณคี ำ� จำ� กดั ความตามบทบญั ญตั มิ าตรา 37 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารประกอบกจิ การกระจายเสยี งฯ ทมี่ ขี อบเขตเนอ้ื หา กวา้ งขวาง เชน่ ความมนั่ คงของรฐั รวมถงึ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งควรมแี นวปฏบิ ตั เิ พอ่ื กำ� หนดขอบเขตทช่ี ดั เจนของลกั ษณะ 67 จาก รายงานการประชมุ คณะกรรมการกจิ การกระจายเสียง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ ครง้ั ท่ี ๓/๒๕๖๒, โดย สำ� นกั งานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ , 2562. สบื คน้ จาก https://www.nbtc.go.th/Information/cabinet/aspx 68 จาก ๓ สมาคมส่ือขอ “กสทช.” ทบทวนค�ำส่ังปิด “วอยซ์”, โดย ส�ำนักข่าวไทยพีบีเอส, 2562. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/277713 69 จาก ‘วอยซท์ วี ’ี เฮ! ชนะคดฟี อ้ ง กสทช . สงั่ จอด�ำ ๑๕ วนั , โดย กรงุ เทพธรุ กจิ , 2562 . สบื คน้ จาก https://www.bangkok biznews.com/news/detail/828215
55 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ เนอ้ื หาทีส่ ร้างความเกลยี ดชงั หรือย่ัวยุปลุกปน่ั เพอื่ เปน็ แนวปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน็ มาตรฐานเดียวกนั นอกจากน้ี หน่วยงาน ทกา่ีเกรปี่ยรวะขก้อองบในกกิจากราครกวบระคจุมากย�ำเสกียับงดฯูแโลดสยื่อคค�ำวนรึงบถัึงงหคัลบกัใชค้มวาามตไรดกส้ าดั รสต่วานม7บ0ทบัญญัติมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติ 2.3.3 เสรภี าพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ เมอื่ วนั ที่ 11 ธันวาคม 2562 หวั หน้า คสช. ได้มคี ำ� สง่ั ที่ 22/2561 เรื่องการให้ประชาชนและ ฐพารนรมคว่ักสามุรเหมรอื อื งชดมุ ำ� นเนมุ นิ ทกาจิงกการรรเมมทอื างงณกาทรใ่ี เดม ๆอื งทซม่ี งึ่จี เำ�ปนน็ วกนาตรงั้ยแกตเล่5กิ คคนำ� ขสน้ึง่ั หไปวั ตหานมา้ ขคอ้ ส1ช2. หขลอางยคฉำ� สบง่ับั หรวั วหมนถา้ งึ คกสาชร.ยทกี่3เล/กิ2ค5ว5า8มผ7ด1ิ ทำ� ใหป้ ระชาชนและพรรคการเมอื งสามารถดำ� เนนิ กจิ กรรมทางการเมอื งไดต้ ง้ั แตว่ นั ที่ 11 ธนั วาคม 2561 เปน็ ตน้ ไป การชมุ นมุ สาธารณะของประชาชนจงึ อยู่ภายใต้พระราชบญั ญตั กิ ารชุมนมุ สาธารณะ พ.ศ. 2558 ในชว่ งเดอื นมกราคม 2562 ไดม้ กี ารรวมตวั ของประชาชนเพอื่ เรยี กรอ้ งใหม้ กี ารจดั การเลอื กตงั้ บในรหเิ วลณายสพกา้ืนยทวี่ อสลว่ ก์นใอหนญสุ เ่าปว็นรกยี าช์ รยั ชสุมมนรมุภขมู อิ เงมอื่“วกนั ลทุม่ ่ีค6นมอกยราากคเลมือ2ก5ต6ั้ง”27ท2ี่มีกกาารรจชดัมุ ขน้นึ มุ อทยสี่ า่ กงาตย่อวเอนลอื่ ก์ง ไดแ้ ก่ การชมุ นุมที่ สแี่ ยกราชประสงค์ เรกมาาอ่ืชรวบเลันุร่ือที นแี่ 8ลวันะมนเลกคือรรากศคตรมั้งีธจร2ารก5มทร6าี่ก2ช�ำ7หซ3่งึนเดกปไา็นวรก้เชดามุ ิมรนจในมุัดวทพันบ่ีรทอ้รี่มิเว2 ณๆ4สกีแ่บักยุมกกภารราาชพชุมันปนธรมุ ์ะใ2สนง5อค6กี ์เม25ือ่7ว4จนั งั ทแหลี่ว1ะัด3กไาดมร้แชกกุมร่ านอคุมยมทธุ ย่ีห2าน5ร้า6ะห2ยออปเงพระน่อื ชคคุมดัรใปคหฐ้าญนม่ กมาหราเวลทิ ือยกาตลั้งยั ภธารยรใมนศา2ส4ตรม์ ทกา่ รพารคะมจนั 2ท5ร6์ เม2อื่7ว5นั ทซึ่งี่ 1ใน9วมนั กเดราียควมกนั2น5นั้ 6ม2กี เาพรอื่ชเมุรยนี กุมรขอ้ องงให“ม้ กกี ลามุ่ รสปารมะกัคาคศีกพอ่ รนะกราารชเกลฤอื ษกฎตกีง้ั ”า 70 จาก ปัญหาการควบคุมก�ำกับเน้ือหาในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ : ศึกษากรณีตามมาตรา ๓๗ ๒บทที่ แห่งพระราชบัญญัตปิ ระกอบกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ, โดย หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558. สืบค้นจาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/ กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง TU_2015_5501032105_4080_3308.pdf 71 คำ� สง่ั หวั หนา้ คสช. ท่ี 3/2558 ขอ้ 12 วรรคหนงึ่ ระบวุ า่ ผใู้ ดมวั่ สมุ หรอื ชมุ นมุ ทางการเมอื ง ณ ทใ่ี ด ๆ ทม่ี จี ำ� นวน ตง้ั แตห่ า้ คนขน้ึ ไป ตอ้ งระวางโทษจำ� คกุ ไมเ่ กนิ หกเดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หนงึ่ หมนื่ บาท หรอื ทง้ั จำ� ทงั้ ปรบั เวน้ แตเ่ ปน็ การชมุ นมุ ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตจากหวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตหิ รอื ผูท้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย. 72 จาก ตามนดั ! ต้านเลื่อนเลือกต้งั แน่นสกายวอล์กเสาวรียช์ ัยฯ นดั หน้าพบกนั ราชประสงค!์ , โดย ขา่ วสด, 2562. สืบคน้ จาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_2051945 73 จาก เลอื กต้งั ๒๕๖๒ : กล่มุ คนอยากเลอื กตัง้ ชมุ นุม ๖ จ. พร้อมกัน ย�ำ้ จดุ ยนื ต้องเลอื กต้งั ๒๔ ก.พ., โดย ส�ำนักข่าว บีบซี ี, 2562. สบื คน้ จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-46773222 74 จาก กลมุ่ คนอยากเลอื กตงั้ ขู่ ๑๙ ม.ค. ยกระดบั ชมุ นมุ , โดย คมชดั ลกึ , 2562 . สบื คน้ จาก https://www.komcha dluek.net/news/politic/358758 75 จาก “คนอยากเลอื กตงั้ ” เรยี กรอ้ งประกาศวนั เลอื กตง้ั กอ่ น ๒๔ ม.ค., โดย สำ� นกั ขา่ วไทยพบี เี อส, 2562. สบื คน้ จาก https://news.thaipbs.or.th/content/277120
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 56 National Human Rights Commission of Thailand บริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ผู้ร่วมชุมนุมท�ำกิจกรรมชูป้ายข้อความ “หมดเวลาก่อความวุ่นวาย อยากเลือกต้ัง หยดุ วนุ่ วายคอื ทางออก” พรอ้ มทง้ั อา่ นแถลงการณข์ อใหท้ กุ ฝา่ ยยตุ กิ ารชมุ นมุ เพอ่ื หลกี เลยี่ งสถานการณท์ อ่ี าจสง่ ผลกระทบ กตอ่่อกนากราเลรเอื ลกือตกงั้ ตรั้งว่ แมลแะรงคใอจยจตดั งราวนจพสรอะบรกาาชรพเธิลบี ือรกมตร้ังาทช่ีจาภะเเิ ษกิดกใขหึ้นย้ ใง่ิหใ้หเปญ็นส่ ไมปพดร้วะยเคกยีวารตมิยรุตวมิธทรรง้ั มขอ7ใ6หท้ตกุ่อฝมา่ ายมเมคี ื่วอาวมันสทาี่ม2คั 3คี มกราคม 2562 ไดม้ กี ารประกาศพระราชกฤษฎกี าใหม้ กี ารเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเปน็ การทวั่ ไป พ.ศ. 2562 กลุ่มคนอยากเลือกต้ัง จงึ ประกาศยตุ กิ ารนดั หมายการชมุ นุมใหญ่ในวนั ท่ี 26 มกราคม 2562 เนอ่ื งจากขอ้ เรยี กรอ้ ง ของประชาชนท่ีต้องการให้มีการเลือกต้ังได้บรรลุเป้าหมาย โดยคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) มีมติให้วันที่ 24 มนี าคม 2562 เปน็ วันเลือกต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรเป็นการทวั่ ไป หลังจากการเลือกตั้งผ่านพ้นไป มีนักเคลื่อนไหวทางการเมืองจัดกิจกรรม เพ่ือเชิญชวนประชาชน ร่วมลงช่ือสนับสนุนให้มีการถอดถอนกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) จากการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างไม่โปร่งใสในวันท่ี 31 มีนาคม 2562 จ�ำนวน 2 จุด คือท่ีบริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และบริเวณสี่แยกราชประสงค์ โดยในระหว่าง การจัดกิจกรรมมีเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจคอยดูแลความเรียบร้อย แต่มีรายงานว่าในการจัดกิจกรรมท่ีสี่แยกราชประสงค์ เตจอ่ ้าไหปนได้าทจ้ นี่ไดเส้ยรึด็จเคสร้ิน่ือแงขลยะาผยู้จเดั สกียิจงกรเนรื่อมงไดจเ้าสกียผคู้จ่าัดปกริจบั กร2ร0ม0ไมบ่ไดา้ทขอกอรณนุญใี ชาเ้ ตคไรวอ่ื ้กง่อขนยาอยยเส่ายี งงไรโดกย็ดไี มกไ่ าดรร้ จับัดอกนิจญุ กรารตม7ย7ังด�ำเนิน สบื เนอ่ื งจากคณะกรรมการการเลอื กตง้ั มมี ตเิ มอื่ วนั ที่ 11 ธนั วาคม 2562 สง่ คำ� รอ้ งใหศ้ าลรฐั ธรรมนญู สัง่ ยุบพรรคอนาคตใหม่ กรณีพรรคอนาคตใหม่กูเ้ งนิ 191 ล้านบาทจากนายธนาธร จงึ รงุ่ เรอื งกิจ หวั หนา้ พรรค ท�ำให้ เมื่อวันท่ี 14 ธันวาคม 2562 พรรคอนาคตใหม่น�ำโดยนายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ จัดชุมนุมระยะสั้นหรือแฟลชม็อบ (flash mob) เพ่ือแสดงพลังที่สกายวอล์ก หน้าหอศิลป์กรุงเทพฯ เใปน็นภเาวคลเาหปนรือะแมลาณะภหานคึ่งอชสี ่ัวาโนมเงชน่ในเดชยี ่ววงกเวนั ล7า8ดังตก่อลม่าวา ได้มกี ารชุมนุมในพน้ื ท่ีจังหวดั เชยี งใหม่ ขอนแกน่ และจงั หวัดอนื่ ๆ มรี ายงานวา่ เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจเตรยี มออกหมายเรยี กนายธนาธรฯ พรอ้ มกบั สมาชกิ พรรคอนาคตใหมอ่ กี 3 คนเขา้ รบั ทราบ ขโดอ้ ยกไลมา่ แ่ วจหง้ าตวอ่ า่ ผจ้รูดั ับกแารจช้งม7ุ 9นมุ โดยไมป่ ฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั ชิ มุ นมุ สาธารณะ พ.ศ. 2558 รวมถงึ การจดั ชมุ นมุ สาธารณะ แมว้ า่ รฐั บาลจะไดย้ กเลกิ มาตรการจำ� กดั เสรภี าพในการชมุ นมุ ทางการเมอื งตามคำ� สง่ั ของหวั หนา้ คสช. เมอ่ื ปลายปี 2561 แลว้ แตย่ งั มปี ระชาชนและองคก์ รภาคประชาสงั คมบางสว่ นมขี อ้ หว่ งกงั วลเกยี่ วกบั ตวั บทกฎหมายของ พระราชบัญญตั กิ ารชมุ นุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 การตคี วามกฎหมายโดยเจ้าหน้าท่ี และการใชด้ ุลพินจิ ของเจา้ หน้าท่ี 76 จาก กลมุ่ สามคั คกี อ่ นเลอื กตงั้ พรบ่ึ อนสุ าวรยี ์ ปชต. บบี คนอยากเลอื กตงั้ หยดุ ชมุ นมุ !, โดย ขา่ วสด, 2562. สบื คน้ จาก https://www.khaosod.co.th/politics/news_2108744 77 จาก ประมวลภาพชมุ นมุ ‘อนสุ าวรยี ์ชัยฯ - แยกราชประสงค’์ ล่าชื่อถอดถอน กกต. รอ้ งเปดิ เผยคะแนนทกุ หนว่ ย, โดย ประชาไท, 2562. สืบคน้ จาก https://prachatai.com/journal/2019/03/81812 78 จาก “ธนาธร” นัดชุมนมุ คนรนุ่ ใหม่ ๑ ช่วั โมง ต้านมติยุบพรรคอนาคตใหม่, โดย โพสต์ทเู ดย,์ 2562. สืบคน้ จาก https://www.posttoday.com/politic/news/609075 79 จาก ออกหมายเรยี ก “ธนาธร - ไพรฏั ฐโชตกิ ”์ รบั ทราบขอ้ หาจดั แฟลชมอ็ บ ๒๗ ธ.ค., โดย เวริ ค์ พอยตน์ วิ ส,์ 2562. สืบคน้ จาก https://workpointnews.com/2019/12/22/flashmob-thanathorn/
57 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ในการออกค�ำสง่ั ก�ำหนดเงอ่ื นไขการชมุ นมุ เชน่ การตคี วามเรือ่ งการชุมนมุ รบกวนการปฏบิ ตั ิงานหรือการใช้บริการ สถานท่ีสาธารณะโดยมีแนวโน้มที่เป็นอุปสรรคต่อการชุมนุมและสร้างภาระให้แก่ผู้ชุมนุม เน่ืองจากหากผู้ชุมนุม ไม่เห็นด้วยต้องย่ืนอุทธรณ์ โดยในระหว่างอุทธรณ์กฎหมายก�ำหนดให้ต้องยุติการชุมนุมไว้ก่อน ถ้าหากผู้ชุมนุม ไมย่ ตุ กิ ารชมุ นมุ กจ็ ะสง่ ผลใหก้ ารชมุ นมุ นน้ั กลายเปน็ การชมุ นมุ ทไ่ี มช่ อบดว้ ยกฎหมาย และทำ� ใหผ้ ชู้ มุ นมุ เปน็ ผกู้ ระทำ� ความผดิ ทางอาญาแมว้ า่ เปน็ การชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวธุ ซงึ่ ไดร้ บั การรบั รองและคมุ้ ครองตามรฐั ธรรมนญู สออ่ืีกอทปุ้ังกกรณรณท์ ใีท่ี ชี่เป้จร้าะหกนอ้าบทกี่ใาชร้อช�ำมุ นนามุ จซในง่ึ อกาาจรเสปั่งน็ กก�ำาหรนกรดะเงท่ือำ� นเกไนิขกเกว่ียา่ อวำก� นับาสจถตาานมทกฎ่ีชหุมมนาุมยแเนละ้ือลหะาเมรดิ ูปตแอ่ บเสบรวภี ิธาีกพากรารตชลมุ อนดมุ จ8น0 นอกจากการชุมนุมทางการเมืองแล้ว ในปี 2562 ยังมีการชุมนุมเพ่ือให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา ความเดอื ดรอ้ นในเรอ่ื งตา่ ง ๆ โดยวนั ที่ 6 ตลุ าคม 2562 กลมุ่ สมชั ชาคนจนไดร้ วมตวั ชมุ นมุ ทร่ี มิ คลองผดงุ กรงุ เกษม ด้านข้างกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาท่ีดินท�ำกินที่เป็นปัญหาเร้ือรังมานานและผลกระ ทบจากนโยบายรัฐบาลรวม 35 กรณใี น 5 ประเด็นหลกั คือ 1) ผลกระทบจากการสร้างเขอ่ื น ฝาย และอ่างเกบ็ น้�ำ 2) ปญั หาการใชท้ ด่ี นิ สาธารณประโยชน์ ทีร่ าชพสั ดุ พ้ืนทปี่ ่าไม้ เขตป่าสงวนแห่งชาติ และท่ีดินของรฐั ประเภทอน่ื ๆ ต3ก) ตผ�่ำล8ก1ระโทดบยจกาากรชโคุมรนงุมกดารังพกัฒล่านวายขืดอเงยร้ือฐั แล4ะ)ใชป้เญั วลหาาถดึง้าน1แ8รงงวาันน และ 5) ปญั หาดา้ นการเกษตร ราคาพชื ผลผลิต จนกระท่ังวันท่ี 23 ตุลาคม 2562 นายเทวัญ ลปิ ตพลั ลภ รฐั มนตรปี ระจำ� สำ� นกั นายกรฐั มนตรี ซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายจาก พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ใหท้ �ำหนา้ ทเ่ี จรจาแกไ้ ขปญั หาของกลมุ่ ผู้ชมุ นมุ สมัชชาคนจน พรอ้ มด้วยนายสุภรณ์ อัตถาวงศ์ ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีประจำ� สำ� นกั นายกรฐั มนตรี ไดเ้ ดนิ ทางมาพบและเจรจากบั ผชู้ มุ นมุ ฯ โดยไดข้ อ้ สรปุ วา่ รฐั บาลรบั ทราบปญั หาขอ้ รอ้ งเรยี นและ ข้อเสนอเชิงนโยบายของสมัชชาคนจน และได้มีการจัดท�ำบันทึกข้อตกลงระหว่างกัน ซ่ึงมีการก�ำหนดกรอบเวลา แในจก้งทารี่ปแรกะ้ชไขุมปคัญณหะารัฐตมามนขต้รอพีเริจียากรรณ้อางตแ่อลไะปข8้อ2เสนอเชิงนโยบาย โดยจะได้น�ำผลการจัดท�ำบันทึกข้อตกลงดังกล่าว ในคราวท่ี พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี เดินทางไปเป็นประธานในพิธีเปดิ โรงอบ ๒บทที่ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนบา้ นอมุ่ แสง อำ� เภอราษไี ศลจงั หวดั ศรสี ะเกษเมอ่ื วนั ที่7พฤศจกิ ายน2562กลมุ่ สมชั ชา คนจนหลายร้อยคนได้เดินทางมาท่ีอ�ำเภอราษีไศลเพ่ือย่ืนหนังสือต่อนายกรัฐมนตรี ขอให้สั่งการแก้ไขปัญหากรณี เขอื่ นหวั นาและเขอื่ นราษไี ศล รวมถงึ ทวงถามคำ� สญั ญาตามทรี่ ฐั บาลไดต้ กลงกบั สมชั ชาคนจนไวเ้ มอ่ื วนั ที่ 23 ตลุ าคม น2า5ย6ก2ร ฐั แมลนะตเรรยี ฝี กา่ รยอ้ กงใาหรร้เมฐั อืบงาลไดมม้คี วาาพมบจกรบังิ ใกจลในมุ่ กสามรชั แชกาไ้ ขคปนญัจนหเาพชอ่ืว่ รยบัเหทลรอื าคบนปจญั นหโดาแยลนะายขปอ้ รเระยี ทกปี รกอ้ รีงตตเิา่ รงข ๆา8ร3องอเลยขา่ างไธรกิ กาด็รี ตอ่ มา พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี ไดส้ ง่ั กำ� ชบั ใหเ้ รอ่ื งการลดความเดอื ดรอ้ นและแกป้ ญั หาความยากจน 80 จาก คมู่ อื ประชาชนวา่ ดว้ ย การใชเ้ สรภี าพในการชมุ นมุ , โดย ilaw, 2562. สบื คน้ จาก https://www.ilaw.or.th/ กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง node/5291 81 จาก สรปุ ปม “สมชั ชาคนจน” ผเู้ ฒา่ กดั ฟนั สู้ ทกุ ขห์ นกั จากบา้ นมาชมุ นมุ พอ้ ไมเ่ หน็ หวั คนจน, โดย ไทยรฐั ,2562. สบื ค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1688106 82 จาก สมชั ชาคนจน เฮ! รัฐบาลรับขอ้ เรยี กรอ้ ง ยุตชิ มุ นุมกลบั บ้าน หลงั ปักหลักนาน ๑๘ วัน, โดย ขา่ วสด, 2562. สบื ค้นจาก https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_2997057 83 จาก รองเลขาธกิ ารนายกฯ เคลยี รม์ อ็ บสมชั ชาฯ แกนน�ำมอ็ บวอนรฐั บาลจรงิ ใจ, โดย บา้ นเมอื ง, 2562. สบื คน้ จาก https://www.banmuang.co.th/news/region/169247
คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 58 National Human Rights Commission of Thailand ให้กับประชาชนเป็นเร่ืองเร่งด่วน โดยวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2562 ได้มีค�ำส่ังส�ำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 334/2562 เเรปื่อน็ งปรกะาธราแนตก่งตรรงั้ คมณกาะรกแรลระมรกัฐามรนแตกร้ไขรี วปมญั 1ห1าขกอรงะสทมรชั วชงาพครน้อจมนตัวโดแยทมนรีสอมงัชนชาายคกนรจัฐนมรน่วตมรเีป(พน็ ลกเรอรกม กปารระดว้วติ ยร8ว4งษ์สุวรรณ) อน่ึง กรณีปัญหาท่ีดินท�ำกินที่กลุ่มสมัชชาคนจนเรียกร้องให้รัฐแก้ไขนั้น กสม. ได้เคยศึกษาเร่ือง เดกังี่ยกวลข่าอ้วงเนตื่อามงจขาอ้ กเสเปน็นอปแรนะะเฯด็นทที่ 1ี่ได/้ร2ับ5เ6รื่อ0ง8ร5้องแเรลียะนขจอ้ �ำเสนนวอนแมนากะทแ่ี 4ล/ะ2จ5ัดท6�ำ1ค8ว6ามแเลหว้ ็นไปยังรัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ ทมี่ า: timemoon.org บทประเมินสถานการณ์และขอ้ เสนอแนะ ในภาพรวม บรรยากาศในการใชเ้ สรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ และการชมุ นมุ โดยสงบดขี นึ้ กวา่ ปกี อ่ นสบื เนอ่ื ง จากการยกเลิกมาตรการจ�ำกัดเสรีภาพท่ีเริ่มมาตั้งแต่ปลายปี 2561 ตามค�ำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 22/2561 เม่ือวันที่ 11 ธันวาคม 2561 เพ่ือให้ประชาชนและพรรคการเมืองสามารถด�ำเนินกิจกรรมทางการเมืองก่อนท่ีจะมี การเลือกตง้ั ทวั่ ไป โดยเฉพาะอย่างย่ิง การยกเลกิ การหา้ มชุมนมุ ทางการเมืองต้ังแต่ 5 คนขึน้ ไป สถานการณโ์ ดยทัว่ ไป 84 จาก ‘บิ๊กป้อม’ น่ังหัวโต๊ะถกแก้ ‘สมัชชาคนจน’ ย�้ำช่วยคนจนต่อเนื่อง, โดย มติชนออนไลน์, 2563. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1873324 85 ข้อเสนอแนะท่ี 1/2560 กรณีแนวทางการแก้ปัญหาพ้ืนที่ป่าไม้ตามกฎหมายพื้นที่อนุรักษ์และท่ีดินท่ีประชาชน ถือครองทับซ้อนกัน และกล่าวอ้างว่ามีการจับกุมด�ำเนินคดีและการขับไล่ราษฎรโดยไม่ได้มีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเบ้ืองต้น กสม. ได้เสนอใหม้ ีการแกไ้ ขพระราชบัญญตั ิปา่ สงวนแหง่ ชาติ พ .ศ. 2507 เพอื่ ให้ประชาชนมสี ทิ ธนิ ำ� พยานหลกั ฐานพสิ ูจนว์ ่า ได้ถอื ครอง พ้ืนท่ีก่อนก�ำหนดเขตพื้นท่ีอนุรักษ์และมิได้บุกรุกพื้นท่ี และการแก้ไขพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และ พระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ พ .ศ. 2535 ใหม้ บี ทบญั ญตั ทิ สี่ ามารถนำ� หลกั ฐานมาพสิ จู นก์ ารถอื ครองพน้ื ทไ่ี ดเ้ ชน่ เดยี วกนั รวมถึงเสนอแนะใหภ้ าครัฐพิสูจน์สิทธใิ นท่ดี ินตามเกณฑท์ เี่ ป็นมาตรฐานเดยี วกันก่อนไลร่ อ้ื และดำ� เนินคดีอาญา. 86 ข้อเสนอแนะท่ี 4/2561 กรณีปัญหาการออกหนังสือส�ำคัญส�ำหรับที่หลวง (นสล.) ทับที่อยู่อาศัยและท่ีดินท�ำกิน ของประชาชน ซงึ่ กสม. ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ใหค้ วามสำ� คญั กบั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในพน้ื ทท่ี งั้ ในกระบวนการ ส�ำรวจแนวเขต การดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์ รวมถึงกรณีพิพาทกับประชาชนควรด�ำเนินการตามมาตรการทางปกครอง อยา่ งเป็นธรรมและไมเ่ ลือกปฏบิ ัต.ิ
59 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ในปี 2562 พบวา่ ประชาชนสามารถใชเ้ สรภี าพในการชมุ นมุ โดยสงบและในการแสดงความคดิ เหน็ ในการชมุ นมุ ไดโ้ ดย ๒บทที่ ไมถ่ กู แทรกแซงหรอื ปดิ กนั้ จากรฐั หากการจดั ชมุ นมุ เปน็ ไปตามกฎหมาย ดงั เหน็ ไดจ้ ากการชมุ นมุ และการจดั กจิ กรรม ทางการเมืองทีเ่ กิดข้ึนทงั้ ก่อนและหลงั การเลอื กตั้งในวันท่ี 24 มีนาคม 2562 รวมทั้งการชุมนุมของประชาชนที่ได้ กด้าารนปิสรทะเ ิธ ิมพนลเส ืมถาองนแกลาะร ิสทณ์ ิธทางการเ ืมอง รับความเดอื ดรอ้ นด้านความเป็นอยู่เพ่อื เรียกรอ้ งให้รัฐบาลมีการแก้ไขปัญหา ในปี 2562 รัฐบาลยังได้มีการทบทวนและยกเลิกประกาศและค�ำส่ังของ คสช. และหัวหน้า คสช. ท่ีหมดความจ�ำเป็นและเพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามค�ำส่ังหัวหน้า คสช. ท่ี 9/2562 เมอื่ วนั ที่ 9 กรกฎาคม 2562 ซงึ่ รวมถงึ การยกเลกิ ประกาศ คสช. ท่ี 97/2557 และประกาศ คสช. ที่ 103/2557 ทวี่ างขอ้ กำ� หนดในการเสนอขา่ วสารของผปู้ ระกอบกจิ การและผใู้ หบ้ รกิ ารสอ่ื รวมถงึ การงดเวน้ นำ� เสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ท่ีมีลักษณะเป็นการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล การทบทวนประกาศและค�ำส่ังต่าง ๆ ของ คสช. ดังกล่าวเป็นไปตาม ข้อเสนอแนะของ กสม. ในรายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 และ การยกเลิกค�ำส่ังท่ีจ�ำกัดเสรีภาพของสื่อในการเสนอข่าวช่วยสร้างบรรยากาศที่เปิดกว้างต่อการแสดงความคิดเห็น มากขึ้น แม้ว่าก่อนการยกเลิกประกาศ 2 ฉบับข้างต้น จะมีการจ�ำกัดการน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารของสื่อในกรณีที่ กสทช. มีค�ำสัง่ ให้บริษทั วอยซ์ ทีวี จำ� กดั ระงับการออกอากาศเป็นเวลา 15 วนั นับแต่วันท่ี 13 กมุ ภาพันธ์ 2562 แตก่ รณดี งั กลา่ ว ศาลปกครองไดม้ คี ำ� สงั่ ทเุ ลาการบงั คบั คำ� สง่ั ของ กสทช. เปน็ การชว่ั คราว และตอ่ มาไดม้ คี ำ� พพิ ากษา ให้เพิกถอนค�ำสั่งของ กสทช. ทั้งนี้ ค�ำพิพากษาของศาลปกครองในกรณีดังกล่าวเป็นการวางบรรทัดฐานขอบเขต และเนือ้ หาของข่าวสารท่สี ือ่ สามารถน�ำเสนอได้ตามกฎหมาย ส�ำหรับการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคล ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นการโพสต์ข้อมูลบนส่ือออนไลน์ นน้ั ในปี 2562 พบว่า มกี ารด�ำเนนิ คดกี ับการแสดงความเห็นของนกั เคลื่อนไหวทางการเมืองตามพระราชบัญญัติ วา่ ดว้ ยการกระทำ� ผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2560 ไมม่ ากเมอ่ื เทยี บกบั ปี 2561 การจับกุมด�ำเนินคดีตามกฎหมายดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นกรณีการโพสต์ข้อความเท็จและการหลอกลวงประชาชน ในรูปแบบตา่ ง ๆ รวมถงึ การหลอกขายสินค้า ซ่ึงเปน็ การค้มุ ครองสิทธแิ ละเป็นประโยชนต์ ่อประชาชน อย่างไรก็ดี แม้ว่าการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการชุมนุมโดยสงบจะกลับมาอยู่ภายใต้ กฎหมายปกติแล้ว แต่องค์กรภาคประชาสังคมยังคงมีข้อห่วงกังวลบางประการเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย ทเ่ี ก่ยี วข้องอันเนือ่ งมาจากความไม่ชดั เจนของถ้อยค�ำบางคำ� ในกฎหมายทอ่ี าจน�ำไปส่กู ารตคี วามและการใช้ดลุ พนิ จิ ของเจา้ หนา้ ทไ่ี ปในทางทป่ี ดิ กนั้ การใชเ้ สรภี าพของประชาชนเกนิ สมควร ในการนี้ กสม. จงึ มขี อ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ ดงั น้ี 1. รฐั บาลควรหลกี เลย่ี งการกระทำ� ทเ่ี ปน็ การปดิ กน้ั เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ และการชมุ นมุ โดยสงบ ซึ่งเป็นช่องทางที่ท�ำให้รัฐบาลได้รับทราบความเห็นของประชาชนต่อการด�ำเนินนโยบายต่าง ๆ และผลกระทบต่อ ประชาชนเพ่ือน�ำไปประกอบการพิจารณาก�ำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม ท้ังนี้ การจำ� กัดการใช้เสรีภาพ ดงั กลา่ วควรท�ำเท่าท่ีจำ� เป็นและเปน็ ไปตามเง่ือนไขทก่ี �ำหนดในกติกา ICCPR อยา่ งเคร่งครดั 2. รัฐบาลควรลดข้อห่วงกังวลของประชาชนเก่ียวกับความไม่ชัดเจนในการบังคับใช้กฎหมายท่ีมีบทบัญญัติ เป็นการจ�ำกัดการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการชุมนุมโดยสงบอันเกิดจากการตีความและ การใชด้ ลุ พนิ จิ ของเจา้ หนา้ ทผี่ บู้ งั คบั ใชก้ ฎหมาย เชน่ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 โดยอาจพิจารณาจัดท�ำแนวปฏิบัติท่ีชัดเจน แกผ่ บู้ งั คบั ใชก้ ฎหมาย หรอื ปรบั ปรงุ แนวปฏบิ ตั ทิ มี่ อี ยแู่ ลว้ ใหช้ ดั เจนยง่ิ ขน้ึ เพอื่ ลดการใชด้ ลุ พนิ จิ และเพอ่ื ใหก้ ารบงั คบั ใชก้ ฎหมายเป็นไปในแนวทางเดียวกนั
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 60 National Human Rights Commission of Thailand บทท่ี การประเมนิ สถานการณ์ สิทธดิ ้านเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม 61 สทิ ธิท่เี ก่ียวกับการทำ�งานและ ความคุม้ ครองทางสังคม 69 สทิ ธดิ า้ นสุขภาพ 80 สิทธิดา้ นการศึกษา 88 ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
61 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ การประเมนิ สถานการณ์ สทิ ธิด้านเศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรม สทิ ธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมเปน็ สิทธทิ ไ่ี ด้รับการรบั รองในกติกา ICESCR ที่ประเทศไทยเข้าเป็น 3บทที่ ภาคเี มือ่ วันท่ี 5 กันยายน 2542 สทิ ธสิ �ำคัญตามกติกาฯ ท่ีคณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ได้ตดิ ตาม และทำ� การประเมนิ ในบทนี้ ไดแ้ ก่ สทิ ธทิ เ่ี กย่ี วกบั การทำ� งานและความคมุ้ ครองทางสงั คม สทิ ธดิ า้ นสขุ ภาพ และสทิ ธิ ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม ดา้ นการศกึ ษา สทิ ธใิ นกตกิ าดงั กลา่ วเปน็ สทิ ธเิ ชงิ บวก (positive rights) ทร่ี ฐั ภาคมี พี นั ธกรณตี อ้ งดำ� เนนิ มาตรการตา่ ง ๆ เพือ่ ให้ประชาชนไดเ้ ข้าถึงและไดร้ ับสทิ ธิแท้จริงท่สี อดคลอ้ งกบั ศักยภาพของแต่ละประเทศและพงึ ด�ำเนนิ การใหเ้ กดิ ความก้าวหน้าอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามล�ำดับ (progressive realization of rights) การประเมินสถานการณ์ สิทธิด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมได้พิจารณาจากข้อมูลการเข้าถึงสิทธิแต่ละด้านของประชาชน ปัญหา อุปสรรคท่ีพบ มาตรการของรัฐเพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิหรือเพ่ือคุ้มครองสิทธิเมื่อเกิดการละเมิดนั้น ทั้งมาตรการทางกฎหมาย ทางบริหาร ทางสังคม หรือมาตรการอื่น ๆ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ของมาตรการดังกล่าว ต่อการเขา้ ถงึ และการใช้สิทธิของประชาชน 3.1 สิทธทิ เี่ กย่ี วกบั การท�ำงานและความคุ้มครองทางสงั คม ภาพรวม สิทธใิ นการมงี านท�ำได้รบั การรบั รองไวใ้ นกติกา ICESCR ขอ้ 6 ข้อ 7 และข้อ 8 วา่ ดว้ ยสทิ ธิในโอกาส ที่จะหาเลี้ยงชีพในงานท่ีตนเลือกหรือรับอย่างเสรี สิทธิท่ีจะมีสภาพการท�ำงานท่ียุติธรรมและน่าพึงพอใจ โดยเฉพาะเรื่องค่าตอบแทนข้ันต่�ำที่เป็นธรรมและเท่าเทียมกันส�ำหรับงานที่มีคุณค่าเท่ากัน ความเป็นอยู่ท่ี เหมาะสมส�ำหรับตนเองและครอบครัว สภาพการท�ำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ การมีโอกาส ความก้าวหน้าในการท�ำงาน การได้รับการพักผ่อน การก่อตั้งหรือเข้าร่วมในสหภาพแรงงานตามท่ีตนเลือก สว่ นสทิ ธใิ นความมนั่ คงทางสงั คมไดร้ บั การรบั รองในกตกิ าดงั กลา่ วในขอ้ 9 และขอ้ 11 วา่ ดว้ ยการมสี วสั ดกิ าร สังคม การประกันสังคม การมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอส�ำหรับตนเองและครอบครัว (อาหาร เคร่ืองน่งุ หม่ ที่อยู่อาศยั ) สิทธิตามกตกิ า ICESCR ขา้ งตน้ ไดร้ ับการรับรองไวใ้ นรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 โดยสิทธิที่เกี่ยวกับการทำ� งานปรากฏในมาตรา 40 วา่ ด้วยเสรีภาพในการประกอบอาชีพ มาตรา 73 ว่าด้วยการมีมาตรการหรือกลไกช่วยเหลือการประกอบเกษตรกรรม มาตรา 74 ว่าด้วยการส่งเสริมให้ ประชาชนมคี วามสามารถในการทำ� งาน การคมุ้ ครองผใู้ ชแ้ รงงาน การจดั ใหม้ รี ะบบแรงงานสมั พนั ธ์ มาตรา 75 วา่ ดว้ ยการพฒั นาความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ของประชาชนและประเทศ และในมาตรา 257 ฉ. ท่ีก�ำหนดให้มีการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจซึ่งรวมถึงการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศและการสร้างกลไกเพิ่มโอกาสในการท�ำงานและการประกอบอาชีพของประชาชน ส่วนสิทธิ ในความมนั่ คงทางสงั คมไดร้ ับการรับรองไว้ในมาตรา 71 การจัดทอี่ ยูอ่ าศัยและการเสริมสรา้ งความเข้มแข็ง ให้ครอบครวั
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 62 National Human Rights Commission of Thailand เมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2558 รัฐบาลไทยไดเ้ สนอรายงานการปฏบิ ัติตามกตกิ า ICESCR และคณะกรรมการประจ�ำ กติกาฯ ได้มีข้อสังเกตต่อรายงานของประเทศไทยว่า รัฐภาคีพึงด�ำเนินมาตรการเพ่ือเพิ่มโอกาสการจ้างงานในระบบ ลดการบังคับใช้แรงงาน โดยเฉพาะอย่างย่ิงแรงงานในภาคประมง ประกันว่าคนงานจะได้รับค่าจ้างข้ันต�่ำที่เพียงพอ ตอ่ การดำ� รงชพี ของตนและครอบครวั ประกนั สทิ ธขิ องแรงงานในการกอ่ ตงั้ หรอื เขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ สหภาพ ใชค้ วามพยายาม เถพกู อื่ ไลแ่รกือ้ป้ ญั แลหะาปขารดะแกคันลวน่าบทุคอี่ คยลอู่ ดาศงั กยั ลใ่าหวค้ จวะาเมขค้าถมุ้ ึงคบรรอกิ งาแรกขผ่ ั้นอู้ พาศืน้ ยัฐใานนพเนื้ชท่นไ่ี นมเ่ำ้� ปอน็ปุ ทโภางคกบารรโิ ภ(inคfแoลrmะรaะlบsบeสttุขleอmนาeมnัยt)8จ7ากการ จากการติดตามข้อมูลในปี 2562 พบสถานการณ์สิทธิท่ีเก่ียวกับการท�ำงานและความคุ้มครองทางสังคม การดำ� เนนิ การของรัฐ และปญั หาอุปสรรคในการสง่ เสริมและค้มุ ครองสทิ ธิดังกล่าว ดังนี้ 3.1.1 การสง่ เสรมิ การมงี านท�ำ ประเทศไทยมีประชากรวัยท�ำงานจ�ำนวน 38.43 ล้านคน88 เป็นผู้มีงานท�ำ 37.69 ล้านคน โดยมกี ารประกอบอาชพี อยใู่ น 3 ภาคใหญ ่ ๆ คอื ภาคการเกษตร ภาคการผลติ และการประกอบอาชพี อสิ ระ โดยมผี ทู้ ำ� งาน แในลภะากคากรคารา้ เปกรษะตมราณ112.704.88ล้าลน้าคนนคนภ8า9คการผลติ 6.28 ลา้ นคน และผู้ประกอบอาชีพอสิ ระรวมถงึ การประกอบธรุ กจิ กระทรวงแรงงานไดจ้ ดั ทำ� แผนแมบ่ ทดา้ นแรงงาน 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564) ภายใตก้ รอบยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) โดยใหค้ วามสำ� คญั กับการพัฒนาแรงงาน ทแลม่ี ะศี กักายรภคาุ้มพคสรูงอแงลแะรมงคีงาณุ นภแาลพะชเสีวิตริมทส่ีดรี โ้าดงยหยลทุ ักธปศราะสกตันรคท์ วี่ 1ามแมล่ันะค2งใเนนกน้ ากราทร�ำเพงาิ่มนศตักายมภลา�ำพดขับอ9ง0แรสงง่วานนแแผลนะปผฏปู้ ิบระัตกิรอาบชกกาารร ของกระทรวงแรงงานประจ�ำปีงบประมาณ 2562 เน้นการส่งเสริมการมีงานท�ำซ่ึงมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย นกั เรียน นกั ศึกษา ผูพ้ ้นโทษ ผสู้ ูงอายุ ผ่านการแนะแนวอาชพี การจดั หางาน การให้บริการขอ้ มลู ข่าวสารตลาดแรงงาน จัดโครงการจ้างงานเร่งด่วนและพัฒนาฝีมือแรงงาน และโครงการเตรียมความพร้อมแก่ก�ำลังแรงงาน โดยก�ำหนด 87 Committee on Economic, Social and Cultural Rights, 19 June 2015, Concluding observations on the combined initial and second periodic reports of Thailand, Page 6 - 8. 88 จากสถติ ดิ า้ นสงั คมตารางสถานการณแ์ รงงานการมงี านท�ำและการวา่ งงานทว่ั ราชอาณาจกั รรายปี (พ.ศ.๒๕๔๔ - ๒๕๖๑), โดย สำ� นกั งานพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต,ิ 2562. สบื คน้ จาก social.nesdb.go.th 89 จาก สถิติด้านสังคม ตารางสัดส่วนคนจนและจ�ำนวนคนจนเม่ือวัดด้านรายจ่ายเพ่ือการอุปโภคบริโภค จ�ำแนกตาม สถานภาพทางเศรษฐกจิ สังคมของครวั เรอื นปี พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๖๐, โดย สำ� นักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2562. สืบค้นจาก social.nesdb.go.th 90 จาก แผนแมบ่ ทดา้ นแรงงาน (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔), ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ : การเพิ่มศกั ยภาพแรงงานและผปู้ ระกอบการ เพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ : การคมุ้ ครองและเสรมิ สรา้ งความมนั่ คง หลกั ประกนั ในการทางานและคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ,ี โดย กระทรวงแรงงาน, 2562. สืบคน้ จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCEN- TER11/DRAWER058/GENERAL/DATA0000/00000308.PDF
63 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ กลุ่มเป้าหมายท่ีจะด�ำเนินการไว้ 8,570,722 คน ส่วนแรงงานนอกระบบ กระทรวงแรงงานมีแนวทางส่งเสริม 3บทที่ พโดัฒยตนง้ั าเอปาา้ ชหีพมาแยลดะำ� รเนายนิ ไกดา้รแจรำ�งนงาวนนน1อ,0ก6ระ6บ,6บ00รวคมนท9ั้ง1คุ้มครองและสร้างหลักประกันสังคมแก่แรงงานกลุ่มน้ี ปดิ กจิ ก ารห รอื ลดกาอรยผ่าลงติไรโกดด็ ยีเใฉนพชาว่ ะงอปยลา่ างยยปง่ิ ใี 2นอ5ตุ6ส2าหมกรี รารยมงอานเิ ลขก็ า่ ทวรกอานรเกิ ลสกิ ์ แจลา้ งะแอรตุ งสงาาหนกจร�ำรนมวยนามนายกนเนต9์ือ่ 2งจทาง้ักนโร้ี องธงบิานดี ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานไดใ้ หข้ อ้ มูลว่า ในปีงบประมาณ 2561 มสี ถานประกอบการเลกิ จ้าง 607 แหง่ ลูกจ้างได้รับผลกระทบและมาย่ืนหนังสือร้องเรียน 5,619 คน ส่วนปีงบประมาณ 2562 มีสถานประกอบการ เลิกกิจการ 1,017 แหง่ ลกู จ้างได้รบั ผลกระทบ 7,703 คน เมือ่ เทยี บแลว้ พบวา่ ปี 2562 มสี ถานประกอบการ ได้รับผลกระทบเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 67.55 ลูกจ้างได้รับผลกระทบเพิ่มข้ึนร้อยละ 37.09 อย่างไรก็ดี ตัวเลข ดังกล่าวไม่ใช่ตัวเลขสถานประกอบการปิดกิจการและลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด แต่เป็นเพียงส่วนหนึ่งท่ีมี ปัญหาไม่ได้รับเงินชดเชยการเลิกจ้างตามกฎหมายจึงมาขอความช่วยเหลือเท่าน้ัน การปิดกิจการและการเลิกจ้าง มีปัญหามาจากเร่ืองของสงครามการค้า เรื่องค่าเงินบาทแข็ง ความไม่ชัดเจนเก่ียวกับการตกลงทางการค้าระหว่าง จีนกับสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงความไม่แน่นอนของอังกฤษว่าจะออกจากสหภาพยุโรปหรือไม่ ในขณะเดียวกัน อเพกี ่มิ ดขา้ ึน้นถหงึนแง่ึ มก้วม็ ่ากี จาะรมเปีจดิ�ำนกจิวนกานร้อแยลกะ็ตมากี มา9ร3จา้ งงานเพม่ิ โดยพบวา่ จำ� นวนผมู้ งี านทำ� และเขา้ ไปอยใู่ นระบบประกนั สงั คม 3.1.2 การคุม้ ครองสทิ ธิแรงงาน พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เปน็ กฎหมายหลกั ฉบบั หนงึ่ ทปี่ ระกนั วา่ ผทู้ ท่ี ำ� งาน จะมสี ภาพการทำ� งานและไดร้ บั คา่ จา้ งทเี่ ปน็ ธรรม กฎหมายดงั กลา่ วไดม้ กี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปเป็นระยะ ๆ และในปี 2562 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง แรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เพอ่ื ให้ความค้มุ ครองแกล่ กู จ้างให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากลด้านการคุม้ ครอง แรงงานมากขนึ้ ไดแ้ ก่ การเพมิ่ สทิ ธกิ ารลา การใหล้ กู จา้ งหญงิ มคี รรภส์ ามารถลาเพอื่ ตรวจครรภก์ อ่ นคลอดบตุ รได้ และ การใหน้ ายจา้ งกำ� หนดคา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา คา่ ทำ� งานวนั หยดุ ในอตั ราเทา่ กนั ทงั้ ลกู จา้ งชายและหญงิ ในงานทเ่ี ทา่ เทยี มกนั นอกจากนี้ ในปี 2562 ยงั ไดม้ กี ารตรากฎหมายทเี่ ปน็ การคมุ้ ครองแรงงานเฉพาะดา้ นอกี 2 ฉบบั ฉบบั แรก ได้แก่ พระราชบัญญัติคมุ้ ครองแรงงานในงานประมง พ.ศ. 2562 ซงึ่ มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือคมุ้ ครองแรงงาน ในภาคประมงมใิ หถ้ กู เอารดั เอาเปรยี บ และเปน็ การอนวุ ตั ติ ามอนสุ ญั ญาองคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ ฉบบั ที่ 188 วา่ ดว้ ยการทำ� งานในภาคการประมง ค.ศ. 2007 สว่ นฉบบั ทส่ี อง ไดแ้ ก่ พระราชกำ� หนดแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พระราชบญั ญตั ิ 91 จาก แผนปฏิบัติราชการกระทรวงแรงงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒, โดย กระทรวงแรงงาน, 2562. สืบค้นจาก http://pubhtml5.com/juwt/wsas/basic/201-250 92 จาก จา้ งงานไทยวกิ ฤตเลิกจา้ ง - ปดิ รง. ช่วั คราว, โดย หนังสือพมิ พม์ ติชน, 2562. สบื คน้ จาก https://www. matichon.co.th/news-monitor/news_1745958 93 จาก เผยปี ๖๒ โรงงานปิดกจิ การออื้ ลกู จา้ งเดือดร้อนหนัก ร้องเรียนคา่ ชดเชย ๗ พนั ราย, โดย ข่าวสด, 2562. สบื ค้นจาก https://www.khaosod.co.th/economics/news_3252069
คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 64 National Human Rights Commission of Thailand ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2562 เพ่ือป้องกันและขจัดการบังคับใช้แรงงานหรือบริการ และเพ่ือเป็นการอนุวัติการให้เป็นไปตามพิธีสาร ค.ศ. 2014 ส่วนเสริมอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบบั ท่ี 29 วา่ ดว้ ยแรงงานบงั คบั ค.ศ. 1930 โดยมกี ารกำ� หนดลักษณะการกระท�ำทีเ่ ปน็ ความผิดฐานบงั คับใช้แรงงาน หรอื บรกิ ารและอตั ราโทษทเี่ หมาะสม รวมทงั้ มกี ารกำ� หนดมาตรการชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพผเู้ สยี หายจากการ ถกู บงั คับใช้แรงงานหรือบรกิ ารเชน่ เดียวกับผูเ้ สยี หายจากการค้ามนุษย์ ส�ำหรับสถานการณ์ด้านสิทธิแรงงาน เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2562 องค์กรแรงงานประกอบด้วย คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยและสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ ได้ย่ืนข้อเรียกร้องต่อรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงานขอใหม้ กี ารปรบั คา่ จา้ งขน้ั ตำ่� อตั ราเดยี วทวั่ ประเทศเพอื่ ใหเ้ พยี งพอตอ่ การดำ� รงชพี ตามมาตรฐานสากล เหทนนว่ั ือ่ ป้สี งรินจะแาเกลทกะศาคใรนุณสปภำ� ี รา2วพ5จช6สวี ถ3ิตาตนใกนกตอา่�ำตัร9ณร4าด์ ททำ� ่แี ้งัรตนงกช้ี เตพี มา่ ่อื คงวกา่ นั นัจทา้ตงี่า6มรพาธยันนื้ ไวทดาี่้ขคโอดมงยแ2อรตั5งร6งาา2คน่าพคจบณา้ วงะใ่ากหรแมรรอ่ มงยงกรู่าาะนรหมควีป่าา่จญั งา้ หง3มา1มมี 3รีตา ใิ-ยห 3ไข้ ด3ึน้ ไ้6มอเ่ตั บพรายีาทงค9พ่า5จอา้ มงขีภน้ั าตระ�่ำ ในส่วนของแรงงานภาครฐั มรี ายงานระบุว่า สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานได้มกี าร เปลยี่ นแปลงสถานะของลกู จา้ งซงึ่ มจี ำ� นวนประมาณ60,000คน มาเปน็ พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ ารในเดอื นกนั ยายน2562 หจซา้ึ่งนมงว่ เผียหลงมากานรบะรราทิกชบากตรามอ่ ริไสทดทิ กุ ้มธแสี ขิ หถอง่างนทละงั้กู นเจป้ี้ากน็ งสลตมกูา.มจไ้ากดงฎต้ ตหราวมมจากสยฎอคหบุม้ มขคาอ้ รยเอทแงรจ็แงจรงรงางิงนแา9นล6แว้ มลอคีะันกวเปาฎม็นหเไมหปาน็ ตยวาปา่ม9รแะ7นกลวันกัทสษางั งณคขมะอกงเากนรรอ่ืปะงฏทจบิราวกตั งกงิ กาาานรรเขคปอลน็ งงัพพซนนึง่ กักัใชงงก้าาบันน จ้างเหมาบริการเหมือนกันกับการปฏิบัติงานของข้าราชการและลูกจ้างช่ัวคราว กล่าวคือ ต้องมาท�ำงานตามวันเวลา ราชการ ตอ้ งปฏบิ ัตงิ านอืน่ ตามทีผ่ ูบ้ ังคบั บัญชามอบหมายอันมีลกั ษณะการจา้ งตามสัญญาจ้างงาน และมีขอ้ เสนอแนะ ให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องหาแนวทางหรือมาตรการในการคุ้มครองสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐานของพนักงาน สจา้ิทงธเิตหามมาพบรระิกราารชซบง่ึ ญั อญาจตั พิคจิ มุ้ าครรณอางใแชรร้ งะงบานบพพน.ศกั .ง2าน5ข4อ1ง9รฐั8 หรืออาจพิจารณาใหส้ ิทธิประโยชนท์ ไี่ มต่ ่ำ� กวา่ มาตรฐานของ 94 จาก ย่ืนหนังสืออดุลย์ปรับค่าแรงอัตราเดียวทั่วไทย, โดย หนังสือพิมพ์เดลินิวส์, 2562. สืบค้นจาก https:// www.dailynews.co.th/politics/698475 95 จาก เคาะแล้วข้ึนค่าจ้าง ๖ บาท สูงสุด ๓๓๖ ต�่ำสุด ๓๑๓, โดย คมชัดลึก, 2562. สืบค้นจาก https://www. komchadluek.net/news/economic/403053 96 จาก ลกู จา้ งชวั่ คราวสงั กดั สพฐ. เรยี กรอ้ งปรบั สญั ญาจา้ งเปน็ รายปี, โดย ขา่ วไทยพบี เี อส, 2562. สบื คน้ จาก https:// news.thaipbs.or.th/content/285188 97 จาก รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนท่ี ๔๓๕-๔๓๘/๒๕๕๓ ลงวันท่ี ๘ ธันวาคม ๒๕๕๓, โดย คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาต.ิ 98 จาก พนักงานจ้างเหมาบริการภาครัฐถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนเนื่องจากได้รับการปฏิบัติไม่เป็นธรรม กสม. ขอให้รัฐ ทบทวนนโยบาย - เรง่ เยยี วยาใหส้ วสั ดกิ ารทเ่ี สมอภาคและเหมาะสม, โดย คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาต,ิ 2562. สบื คน้ จาก https://nhrc.or.th/getattachment/NHRCT-Work/Statements-Press-Releases-Open-Letters/Press-Releases/พนกั งาน จ้างเหมาบริการภาครัฐถกู ละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน-เ/16-11-62-ขา่ ว-พนง-จ้างเหมาของรัฐถูกละเมิดสิทธิ.pdf.aspx
65 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ นอกเหนอื จากประเดน็ ขา้ งตน้ ยงั พบการเลอื กปฏบิ ตั ใิ นการจา้ งงานตอ่ ผตู้ ดิ เชอ้ื เอชไอวี ขอ้ มลู จาก มลู นธิ ศิ นู ยค์ มุ้ ครองสทิ ธดิ า้ นเอดสพ์ บวา่ สถานประกอบการบางแหง่ ในชนั้ สมคั รงานกำ� หนดใหต้ อ้ งตรวจเชอ้ื เอชไอวี ในขณะเดยี วกัน กสม. ไดร้ บั เรอื่ งรอ้ งเรียนกรณบี รษิ ทั เอกชนกำ� หนดใหต้ รวจเชอื้ เอชไอวกี ่อนรบั เข้าทำ� งาน ซง่ึ กสม. ไดท้ ำ� การตรวจสอบและมขี อ้ เสนอแนะตอ่ บรษิ ทั เอกชนผถู้ กู รอ้ งใหพ้ จิ ารณายกเลกิ การตรวจหาเชอ้ื เอชไอวกี อ่ นเขา้ รบั ท�ำงานทุกต�ำแหน่ง รวมทั้งมีข้อเสนอแนะต่อกระทรวงแรงงานให้เร่งด�ำเนินการให้สถานประกอบกิจการ เอกชนปฏิบัติตามประกาศกระทรวงแรงงานเร่ือง แนวทางการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์และวัณโรค ในสถานประกอบกิจการ ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2555 และให้คณะรัฐมนตรีด�ำเนินการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบทเี่ กย่ี วข้องกบั การค้มุ ครองแรงงานในภาคเอกชนใหค้ รอบคลมุ ถึงการคุ้มครองสิทธิของผู้ติดเชอื้ เอชไอวี เใปนน็กตารน้ ท9�ำ9งาน และมีการจัดตั้งกลไกการคุ้มครองและตรวจสอบการเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีในการท�ำงาน สว่ นประเดน็ เรอื่ งสทิ ธใิ นการรวมตวั และการเจรจาตอ่ รอง ซง่ึ ทผ่ี า่ นมาองคก์ รแรงงานไดเ้ รยี กรอ้ ง ใหป้ ระเทศไทยเขา้ เปน็ ภาคอี นสุ ญั ญาองคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ ฉบบั ที่ 87 วา่ ดว้ ยเสรภี าพในการสมาคม และ ฉบบั ที่ 98 ว่าดว้ ยสทิ ธิในการรวมตัวและรว่ มเจรจาตอ่ รองมาอยา่ งตอ่ เน่ืองนนั้ ในปี 2561 มรี ายงานวา่ กระทรวง แรงงานได้มีการพิจารณาแก้ไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ให้สอดคล้องกับอนุสัญญาฯ ฉบับท่ี 92856โ2ดย1ค0ณ0 ะรฐั มนตรไี ด้มีมติอนุมัตใิ นหลกั การร่างพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... เม่ือวันท่ี 5 กุมภาพนั ธ์ 3.1.3 การคุ้มครองทางสงั คม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม เป็นกฎหมายท่ีให้หลักประกัน แกแ่ รงงานกรณวี า่ งงาน เจบ็ ปว่ ย คลอดบตุ ร ทพุ พลภาพ ชราภาพ และเสยี ชวี ติ รวมถงึ การสงเคราะหบ์ ตุ ร โดยลกู จา้ ง ในสถานประกอบการจะต้องสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 หรือ 39 (ผู้ประกันตนที่เคยว่างงานแล้วกลับ 3บทที่ เข้าเปน็ ผปู้ ระกนั ตนใหม่) ของพระราชบญั ญัตดิ งั กลา่ ว ส่วนแรงงานนอกระบบหรือผูป้ ระกอบอาชีพส่วนตวั สามารถ สมัครเป็นผู้ประกันตนได้ตามความสมคั รใจตามมาตรา 40 ทง้ั น้ี ในปี 2561 มผี ู้ประกนั ตนทกุ ประเภทรวมทั้งสน้ิ 15,994,591 คน แบ่งเปน็ ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และ 39 จำ� นวน 13,160,631 คน และผู้ประกันตน ตามมาตรา 40 จ�ำนวน 2,833,960 คน ในชว่ ง 11 เดอื นของปี 2562 (มกราคม - พฤศจิกายน) มผี ู้ประกนั ตน ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม รวมทงั้ สนิ้ 16,545,725 3ค,น2แ0บ7ง่ ,0เป5น็ 3ผปู้ครนะใกนนั ภตานพตราวมมมมาผี ตปู้ รราะก3นั3ตแนลเพะมิ่3ข9นึ้ จจำ�านกวปนี 21536,133จำ�8น,6วน7255ค1น,1แล3ะ4ผคปู้ นระ1ก0นั1 ตนตามมาตรา 40 จำ� นวน 99 จาก รายงานผลการตรวจสอบท่ี ๓ - ๖/๒๕๖๒ ลงวนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เร่ือง การเลือกปฏิบตั ิต่อผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวใี นการสมัครงานกบั บริษทั เอกชน, โดย คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาต.ิ 100 จาก หนังสือกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ รง ๐๕๐๙/๕๒๗๗ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๒. เรื่อง การด�ำเนนิ การทเ่ี กย่ี วข้องกบั รายงานผลการประเมนิ สถานการณด์ า้ นสิทธมิ นษุ ยชนประจ�ำปี ๒๕๖๑ 101 จาก สถติ ผิ ปู้ ระกนั ตนตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ จนถงึ เดอื นธนั วาคม ๒๕๖๑, โดย สำ� นกั งานประกนั สังคม, 2562. สืบค้นจาก https://www.sso.go.th/wpr/main/knowledge/ข้อมูลสถิติกองทุนประกันสังคม_category_ list-label_1_168_0
คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 66 National Human Rights Commission of Thailand จากผลการส�ำรวจแรงงานนอกระบบปี 2561 ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ในจ�ำนวนผู้มี งขาอนงทผ�ำู้ม ีง3า8น.ท3�ำลทา้้ังนหคมนด1เป02น็ แซร่ึงงงเมานื่อใเทนรียะบบกบับผ1ู้ป7ร.1ะกลันา้ ตนนคตนามแลมะาแตรรงางา4น0นอซก่ึงรมะีเบพบียง213..22 ลา้ นคน หรือรอ้ ยละ 55.3 นอกระบบทไ่ี ดร้ ับความคมุ้ ครองทางสงั คมในสัดสว่ นท่คี อ่ นข้างนอ้ ย ล้านคนแล้ว ยังมีแรงงาน 3.1.4 การมมี าตรฐานการครองชีพท่ีเพียงพอ ขอ้ มลู จากธนาคารแหง่ ประเทศไทยทงั้ นร้ี ะบวุ า่ ภาวะหนสี้ นิ โดยเฉพาะหนส้ี นิ ครวั เรอื นไทย มอี ตั ราท่ี สนงูาขน้นึ ขม้ึนาแกลแะลมะลู อคยา่ ่าหงนรวมี้ ดจี เ�ำรน็ววเปน็นมอากนั ขดน้ึับ1ต0น้ 3 ๆปขัญองหภามูภภิาวาะคหทนั้งีส้ นิน้ี อในายคผุรวั้เู ปเร็นือหนนแีเ้ ลระ่มิ กมาีชร่วเงขอา้ าไมยุนถ่ ึงอ้ คยวลางมรชะ่วยยะเหเวลลือาทกาางรกเปา็นรเหงนินี้ ดังกล่าว โดยเฉพาะในกลมุ่ ครวั เรอื นยากจน เกษตรกร อาจมีผลกระทบตอ่ มาตรฐานการครองชพี รัฐบาลไดม้ โี ครงการ ช่วยเหลือประชากรกลุ่มผู้มีรายได้น้อย (โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ) และกลุ่มเด็กปฐมวัยด้วยการให้เงินอุดหนุน การเลย้ี งดบู ตุ ร รวมถึงมีการจา่ ยเบย้ี ยงั ชีพแกผ่ ู้สูงอายแุ ละคนพกิ ารตามกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ท้ังน้ี ในปี 2562 รัฐบาล ไเปดน็้เพ6ิ่มเงปินี แอลุดะหขนยุนากยาฐราเนลรีย้ างยดไูบดตุ ้ขรอจงาคกรเอดบือคนรลวั ะจ4าก0ไ0มเ่ บกินาท3เป6็น,060000บบาาททเปขยน็ าไยมอ่เกาินยเุ 1ดก็0ท0จี่ ,0ะ0ได0ร้ ับบเางทนิ ตอ่อุดปห1ีน0ุน4จาก 3 ปี รฐั บาลไดม้ กี ารจัดต้ังกองทุนการออมแหง่ ชาติเม่อื ปี 2558105 เป็นกองทนุ การออมภาคสมคั รใจ เพื่อสร้างหลักประกันบ�ำนาญส�ำหรับประชาชนที่ประกอบอาชีพอิสระและไม่อยู่ในระบบบ�ำนาญอ่ืนใด เช่น เกษตรกร พ่อค้าแม่คา้ และผูร้ บั จา้ งทั่วไป รวมทัง้ นักเรียนนักศึกษาและผู้ไม่มอี าชพี ใหม้ ีเงนิ ออมไว้ใช้หลังอายุครบ 60 ปี โดยผูท้ ี่ สมัครเปน็ สมาชกิ ไดเ้ ปน็ ผ้มู ีอายตุ ัง้ แต่ 15 - 60 ปี ปัจจบุ นั กองทนุ ฯ มีสมาชกิ 2,273,293 คนจากผู้ท่อี ยูใ่ นเงอื่ นไขจะ สมคั รเปน็ สมาชกิ กองทนุ ฯ ไดป้ ระมาณ 25 ลา้ นคน อยา่ งไรกด็ ี ยอดจำ� นวนสมาชกิ ในปี 2562 เพม่ิ สงู ขนึ้ กวา่ ในปี 2561 ทอย่ีสา่มงาตชอ่ ิกเนเพอื่ ียงงตา6ม1ทกี่0�ำ,6ห9นด7ในคแนผเนทย่าทุนธั้นศาแสลตะรกก์ อองงททุนนุ ฯพ.มศีแ.ผ2น5จ6ะ2ด �ำ- เ2น5ิน6ก5าร1เ0พ6ิ่มจ�ำนวนสมาชิกและส่งเสริมการออม ในดา้ นที่อยูอ่ าศัย กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ (พม.) ได้จดั ท�ำแผนแมบ่ ท การพฒั นาทอ่ี ยอู่ าศยั ระยะ20ปี(พ.ศ.2560-2579)และมสี ถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน(องคก์ ารมหาชน)ทำ� หนา้ ทจี่ ดั ทำ� ขอ้ มลู ชมุ ชนแออดั และจำ� นวนครวั เรอื นในเขตเมอื งทวั่ ประเทศ ตามแผนพฒั นาทอี่ ยอู่ าศยั ชมุ ชนแออดั และผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย 102 จาก ส�ำนักงานสถิติฯ เผยส�ำรวจแรงงานนอกระบบ ๒๕๖๑, โดย ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2562. สืบค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2562/N25-02-62-2.aspx 103 จาก ธนาคารแหง่ ประเทศไทยกบั การแกไ้ ขปญั หาหนี้ครวั เรอื น, โดย ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2562. สบื คน้ จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/Report/Pages/AnnualReport2018_box04.aspx 104 จาก ๑๕ ต.ค. น้ี เริ่มจ่ายเงินอุดหนุนแรกเกิด ๖๐๐ บาท, โดย ส�ำนักข่าวไทยพีบีเอส, 2562. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/284822 105 จาก การจัดต้ังกองทุนดังกล่าวเป็นไปตามพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ แต่กองทุนเริ่มด�ำเนินงาน เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘, โดย กองทุนการออมแห่งชาติ, 2562. สืบค้นจาก https://www.nsf.or.th/images/nsf/pr/ knowledge/IntroduceNSF/25620320.pdf 106 จาก แผนยทุ ธศาสตรก์ องทนุ การออมแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕), โดย กองทนุ การออมแหง่ ชาต,ิ 2562. สบื คน้ จาก http://www.nsf.or.th/images/nsf/pr/knowledge/20190122_strategy_nsf.pdf
67 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ในเมืองภายใต้แผนแม่บทดังกล่าว ข้อมูลปี 2562 จากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน107 พบว่ามีจ�ำนวนชุมชน แออัดจ�ำนวน 6,450 ชุมชน มีประชากรอาศัยอยู่ในชุมชนแออัดทั่วประเทศจ�ำนวน 701,702 ครัวเรือน (อัตราเฉล่ีย 1 ครัวเรือน มีสมาชิก 4 คน) 2,806,808 คน คิดเป็นร้อยละ 4.03 ของประชากรท้ังประเทศ สจ�ำ่วนนวในนกครรงุ ัวเเทรพือนมหในากนรคุงรเมทีจพำ� มนหวานนชคมุ รช1น0แ8ออซดั ่ึงต1า,ม2แ7ผ8นแชมมุ ่บชทนก2าร1พ0ัฒ,3น4าท5่ีอคยรู่อวั าเศรือัยนเห็นควดิ ่าเปค็นรัวรเอ้ รยือลนะหร1ือ9ป.8ระ1ชาขชอนง ทีอ่ าศยั อยู่ในชุมชนแออัดเหล่านมี้ ปี ัญหาความไม่ม่ันคงในท่ีอยู่อาศัยและการเขา้ ถึงสาธารณูปโภคข้ันพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ นำ้� ประปาและไฟฟ้า สำ� หรับชมุ ชนที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร มนี โยบายจดั ใหม้ กี ารเข้าถงึ น้�ำประปาและไฟฟ้าใหก้ ับ ทสิงุ่กจช�ำุมเปชน็นตไม่อ่วก่าาชรุมดช�ำรนงนชั้นวี จติ ะในอเยขู่อตาเศมัยือบง น1ท0่ีด9ินของรัฐหรือเอกชนโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เน่ืองจากเห็นว่าเป็น ปัญหาท่พี บ คือ ชมุ ชนในเขตจังหวัดอ่นื การเข้าถึงสาธารณูปโภคขน้ั พ้ืนฐานเป็นไปตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องโดยผู้ขอใช้น้�ำประปาและไฟฟ้าจะต้องเป็นผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายในอสังหาริมทรัพย์ (บ้านและที่ดิน) หรือได้รับความยินยอมจากเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ กรณีชุมชนแออัดหลายแห่งในจังหวัดอ่ืน ๆ จงึ ไมอ่ าจไดร้ บั สาธารณปู โภคขนั้ พนื้ ฐานเหลา่ นี้ สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชนไดท้ ำ� การสำ� รวจและเสนอเพอ่ื ขอรบั การ คสนรัวบั เสรือนนุน1งบ1ป0รสะมถาาบณันดพ้านัฒกนาารอตงิดคต์ก้ังรรชะุมบชบนไฟ(ฟพา้ อแชล.ะ)ปเรปะ็นปอางใคน์กปรี 2ม5ห6าช2นใขนอ5งร0ัฐจสังหังกวัดดั 125 ชมุ ชน รวม 13,295 พม. มีอ�ำนาจหน้าท่ีพิเศษ ในการให้สร้างความม่ันคงและคุณภาพชีวิตให้แก่ชุมชนหรือประชาชนที่อาศัยอยู่ในที่ดินโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่น ทีด่ ินของเอกชนหรอื ของรัฐ โดย พอช. จะต้องจดั ท�ำกระบวนการขออนมุ ัติในการจัดท�ำโครงการบ้านมั่นคงและ ไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หใ้ ชท้ ด่ี นิ จากเอกชนหรอื หนว่ ยงานเจา้ ของทดี่ นิ กอ่ น แตใ่ นหลายพนื้ ทชี่ มุ ชนหรอื ประชาชนไมไ่ ดด้ ำ� เนนิ การ ขอสาธารณปู โภคโดยผา่ นโครงการบา้ นมนั่ คงของสถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชนุ หรอื เจา้ ของทดี่ นิ ไมอ่ นญุ าต เชน่ กรณี ชมุ ชนชาวเลหาดราไวย์ เจา้ ของทีซ่ ึง่ เป็นเอกชนไม่อนญุ าตใช้ทดี่ นิ จงึ ขอใชน้ ้�ำประปาและไฟฟ้าไมไ่ ด้ 3บทที่ บทประเมนิ สถานการณแ์ ละขอ้ เสนอแนะ รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการจ้างงานในกลุ่มประชากรที่อาจเข้าถึงโอกาสในการท�ำงานน้อยกว่าประชากร ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม ทว่ั ไป เชน่ กลมุ่ แรงงานนอกระบบ กลมุ่ ผสู้ งู อายุ และกลมุ่ ผพู้ น้ โทษ รวมทง้ั สง่ เสรมิ การทำ� งานของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา เพอื่ ใหม้ ปี ระสบการณ์ทำ� งานก่อนเขา้ สตู่ ลาดแรงงาน ทงั้ โดยการพฒั นาศกั ยภาพและการชว่ ยจดั หางาน อยา่ งไรกด็ ี ปัญหาการค้าระหว่างประเทศในปี 2562 ได้เริ่มส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจในประเทศและส่งผลให้มี 107 ข้อมูลจากส�ำนักบ้านม่ันคง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ส่งข้อมูลให้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อวันท่ี 11 กนั ยายน 2562 เพอ่ื ประกอบการชแ้ี จงในการประชมุ เพอื่ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอื่ จดั ทำ� รายงานประเมนิ สถานการณ์สทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทยประจำ� ปี 2562 108 จาก ยุทธศาสตร์การพฒั นาท่อี ยูอ่ าศัยระยะ ๒๐ ปี (๒๕๖๐ - ๒๕๗๙), โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ม่นั คงของมนษุ ย์, น. 18, 2562. สืบคน้ จาก http://ebooks.m-society.go.th/ebooks/download/325 109 จาก การสมั มนารบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ มลู สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาจดั ท�ำรายงาน ผลการประเมนิ สถานการณ์ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ เมอื่ วนั ท่ี 4 กันยายน 2562 จัดโดย ส�ำนักเฝา้ ระวงั และประเมนิ สถานการณ์สิทธมิ นษุ ยชน สำ� นกั งานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. 110 แหลง่ เดมิ .
คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ 68 National Human Rights Commission of Thailand การเลิกจ้างงานจ�ำนวนหนึ่ง ทั้งน้ี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วท�ำให้เกิดความกังวลในหลายภาคส่วน วา่ การนำ� ปญั ญาประดษิ ฐม์ าใชใ้ นภาคธรุ กจิ อาจทำ� ใหแ้ รงงานตกงานมากขนึ้ หากไมม่ กี ารพฒั นาศกั ยภาพแรงงานทเี่ หมาะสม สว่ นดา้ นการคมุ้ ครองสทิ ธแิ รงงาน ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ กฎหมาย เพอ่ื ใหแ้ รงงานไดร้ บั การคมุ้ ครองสทิ ธมิ ากขนึ้ รวมทงั้ ไดม้ กี าร ตรากฎหมายใหมเ่ พอ่ื คมุ้ ครองแรงงานในภาคประมงและหา้ มการบงั คบั ใชแ้ รงงาน แตม่ กี รณที เี่ ปน็ ปญั หาในสว่ นพนกั งาน จา้ งเหมาบรกิ ารของภาครฐั การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวใี นการจา้ งงาน และการปรบั ปรงุ กฎหมายแรงงานสมั พนั ธ์ เพอื่ ส่งเสรมิ และคุ้มครองสทิ ธใิ นการรวมตวั และการเจรจาต่อรองให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานระหว่างประเทศยง่ิ ขน้ึ ในด้านการค้มุ ครองทางสังคม แรงงานในระบบไดร้ ับความคุ้มครองตามกฎหมายประกนั สงั คมซึ่งมกี ารปรบั ปรุง สิทธิประโยชน์แก่แรงงานเป็นระยะ ส่วนแรงงานนอกระบบ รัฐบาลได้ด�ำเนินการให้สามารถเลือกรับความคุ้มครอง ตามมาตรา 40 ของกฎหมายประกันสังคมหรือเลือกสมัครเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติได้ตามความสมัครใจ และเป็นที่น่ายินดีว่าในปี 2562 กองทุนการออมแห่งชาติมีผู้สมัครเป็นสมาชิกเพ่ิมมากถึง 1.7 ล้านคน อย่างไรก็ดี เป็นท่ีน่ากังวลว่า ยังมีแรงงานนอกระบบท่ีได้รับความคุ้มครองทางสังคมทั้งในระบบประกันสังคมและกองทุนการออม แห่งชาติค่อนข้างน้อย ซึ่งเม่ือแรงงานเข้าสู่วัยสูงอายุ อาจท�ำให้ไม่มีรายได้หรือเงินออมเพียงพอในการด�ำรงชีวิต ในขณะเดียวกัน รัฐบาลมีการจัดสวัสดิการเฉพาะกลุ่ม เช่น ผู้มีรายได้น้อย ผู้สูงอายุและคนพิการ ในลักษณะให้เงิน ชว่ ยเหลอื รายเดอื นซง่ึ อาจชว่ ยบรรเทาความเดอื ดรอ้ นได้ แตร่ ฐั บาลควรมมี าตรการระยะยาวเพอื่ แกไ้ ขปญั หาความยากจน ดว้ ย รวมทงั้ สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายแุ ละคนพกิ ารทปี่ ระสงคจ์ ะทำ� งานและทำ� งานไดใ้ หม้ งี านทำ� ทเ่ี หมาะสม สว่ นผทู้ ไ่ี มส่ ามารถ ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ รฐั อาจเพมิ่ เบย้ี ยงั ชพี หรอื จดั สวสั ดกิ ารในรปู แบบอนื่ เพอ่ื ใหป้ ระชากรกลมุ่ นม้ี คี ณุ ภาพชวี ติ ทเี่ พยี งพอ และด�ำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี นอกจากนี้ รัฐบาลยังมีนโยบายช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยในชุมชนแออัดให้มีท่ีอยู่อาศัย ท่ีม่ันคงและเข้าถึงสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีและควรด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ท้ังน้ี ในเรื่องสทิ ธเิ กยี่ วกับการทำ� งานและการคุ้มครองทางสังคม กสม. มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. รัฐบาลและกระทรวงแรงงานควรช่วยเหลือดูแลแรงงานท่ีถูกเลิกจ้างให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพหรือบริการจัดหางานใหม่ตามความเหมาะสม รวมทั้งแก้ไขปัญหาพนักงานจ้างเหมา บริการในหน่วยงานของรัฐ และการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานต่อผู้ติดเช้ือเอชไอวีโดยการสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้อง และติดตามใหส้ ถานประกอบการมกี ารปฏบิ ตั ติ ามแนวทางของกระทรวงแรงงานในเร่ืองน้ี 2. รัฐบาลและกระทรวงแรงงานควรพิจารณาทบทวนมาตรการด้านนิติบัญญัติและมาตรการด้านบริหารในการ ลดอุปสรรคของแรงงานในการก่อตั้งหรือเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน และการเจรจาต่อรองเก่ียวกับสภาพ การทำ� งานทีส่ อดคลอ้ งกับมาตรฐานสากลด้านแรงงาน 3. รฐั บาลและกระทรวงแรงงานควรขยายการคมุ้ ครองแรงงานใหค้ รอบคลมุ แรงงานนอกระบบกลมุ่ ตา่ ง ๆ อยา่ งทว่ั ถงึ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบเข้าสู่ระบบการคุ้มครองทางสังคมให้มากขึ้น ในการให้ความช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยและประชากรเฉพาะกลุ่ม รัฐบาลควรใช้ท้ังมาตรการระยะส้ันเพื่อบรรเทา ความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหนา้ และมาตรการระยะยาวเพอ่ื แกป้ ญั หาทตี่ น้ เหตุ โดยเฉพาะความยากจน รวมถงึ ควรมมี าตรการ ต่าง ๆ เพ่ือลดปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยตามความเหมาะสม โดยเฉพาะในชุมชนแออัด และดูแลให้ผู้อาศัย ในชุมชนเขา้ ถงึ บรกิ ารพน้ื ฐาน (น้ำ� ดมื่ น้ำ� บริโภค ไฟฟ้า สขุ อนามัย) ได้
69 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ 3.2 สทิ ธดิ า้ นสุขภาพ 3บทที่ ภาพรวม ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม กตกิ า ICESCR ข้อ 12 รับรองสทิ ธขิ องบุคคลท่จี ะมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตตามมาตรฐานสงู สดุ เท่าท่ีเป็นไปได้ โดยรัฐภาคีกติกาฯ ต้องด�ำเนินการต่าง ๆ เพื่อให้สิทธินี้เป็นจริง รวมถึงการป้องกัน รักษา และควบคุมโรค และการปรับปรุงสุขลักษณะทางสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ คณะกรรมการประจ�ำกติกา ICESCR ได้ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า สิทธินี้ไม่ได้จ�ำกัดเพียงการให้บริการสาธารณสุขที่เหมาะสมตามสมควรเท่านั้น แต่รวมถึงการดูแลปัจจัยพื้นฐานที่เก่ียวข้องกับสุขภาพอนามัยด้วย เช่น การมีสุขอนามัยในท่ีท�ำงานและ ทสภางาเพพสศิง่ แรววดมลท้อ้ังกมากรามรีสเ่วขนา้ ถร่วงึ กมาขรอศงกึปษระาแชลาชะนขอ้ในมกูลาขร่าตวัดสสานิรดใจา้ เนกสยี่ าวธกาับรสณาสธุขารสณขุ สอุขน1า1ม1ยั เจรญิ พนั ธุ์และสขุ ภาพ สิทธิด้านสุขภาพได้รับการรับรองในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยมาตรา 47 ไดก้ ำ� หนดให้บคุ คลมีสทิ ธไิ ด้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ โดยบุคคลยากไรย้ อ่ มมีสิทธิไดร้ บั บริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียคา่ ใช้จ่ายตามทกี่ ฎหมายบัญญัติ และบุคคลย่อมมสี ทิ ธไิ ด้รับการป้องกนั และขจัดโรคตดิ ต่ออันตรายจากรัฐโดยไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย และมาตรา 55 ก�ำหนดให้รัฐมหี น้าท่ตี ้องดำ� เนินการ ให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสขุ ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพอย่างท่วั ถงึ ในการเสนอรายงานการปฏิบัติตามกติกา ICESCR ของประเทศไทยเมื่อเดือนมิถุนายน 2558 คณะกรรมการประจ�ำกติกาฯ ได้มีข้อสังเกตต่อรายงานของประเทศไทยในเร่ืองสิทธิด้านสุขภาพว่า รัฐภาคี ควรขจัดอุปสรรคในการเข้าถึงหลักประกันสุขภาพของบุคคลหรือกลุ่มคนที่ด้อยโอกาส ควรใช้มาตรการ เชงิ ปอ้ งกนั ในการจดั การกบั ปญั หาการตง้ั ครรภข์ องวยั รนุ่ การใหค้ วามรแู้ ละบรกิ ารสขุ ภาพทางเพศและอนามยั ตเจอ่ รสิญขุ พภันาพธุ์ขแอลงะปครวะรชบาชังคนับ1ใ1ช2้กสฎว่ หนมใานยรเาพย่ืองาคนวผบลคกุมาครุณปรภะาเพมสนิ ิ่งสแถวาดนลก้อามรอณยด์ ่าา้ งนเคสรทิ ่งธคมิ รนัดษุ เพย่ือชปนข้อองกงปันรผะลเกทรศะไททบย ประจ�ำปี 2561 กสม. ได้มขี ้อเสนอแนะว่า รัฐบาลควรเร่งพฒั นาระบบบรกิ ารปฐมภมู ิ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การดแู ลประชากรทมี่ อี ปุ สรรคในการเขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพ และเรง่ แกป้ ญั หาการใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั และกำ� จดั ศตั รพู ืชทเี่ ป็นอันตรายตอ่ สุขภาพโดยรับฟังความเหน็ ทุกฝา่ ยอยา่ งรอบดา้ น ในปี 2562 มสี ถานการณท์ เี่ ก่ยี วข้องกับสิทธดิ ้านสขุ ภาพ การด�ำเนนิ การของรัฐบาลและหน่วยงาน ของรฐั ปัญหาและอปุ สรรคในการด�ำเนนิ การตามท่ีไดร้ บั รองไวเ้ กย่ี วกบั สทิ ธดิ งั กลา่ ว ดงั น้ี 111 From General Comment No. 14, The Right to the Highest Attainable Standard of Health of the Committee on Economic, Social and Cultural Rights (paras.11), 2000 by United Nations Economic and Social Council, 2000. Retrieved from https://www.refworld.org/pdfid/4538838d0.pdf 112 From Concluding observations on the combined initial and second periodic reports of Thailand, by United Nations Economic and Social Council, 2015. Retrieved from https://tbinternet.ohchr.org/_layouts/15/ treatybodyexternal/TBSearch.aspx?Lang=en&TreatyID=9&DocTypeID=5
คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ 70 National Human Rights Commission of Thailand 3.2.1 การส่งเสรมิ การเข้าถงึ บรกิ ารสขุ ภาพ 1) การพฒั นาระบบสุขภาพปฐมภมู ิ รฐั บาลมคี วามพยายามในการพฒั นาระบบสขุ ภาพปฐมภมู อิ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยกระทรวงสาธารณสขุ แจ้งว่าได้มีการตราพระราชบัญญตั ิระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ พ.ศ. 2562 ทก่ี �ำหนดให้มกี ารจดั บริการทางการแพทยแ์ ละ สาธารณสขุ ทดี่ แู ลสขุ ภาพของบคุ คลในระดบั พน้ื ทใี่ นลกั ษณะองคร์ วมทงั้ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การควบคมุ ปอ้ งกนั และการ ตรวจวนิ จิ ฉยั โรค การรกั ษาพยาบาล และการฟน้ื ฟสู ขุ ภาพ โดยหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู หิ รอื เครอื ขา่ ยทปี่ ระกอบดว้ ยแพทย์ เวชศาสตร์ครอบครัวและคณะผ้ใู ห้บริการ โดยเชอ่ื มโยงกับครอบครัว ชุมชน และบริการทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ทั้งนี้ กฎหมายก�ำหนดให้มีคณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นองค์กรก�ำกับดูแล การให้บริการสขุ ภาพปฐมภูมิ รวมท้งั ใหม้ กี ารตรวจสอบเพือ่ ควบคุมคณุ ภาพและมาตรฐานของหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ คโเชรลงยี่ นิพวกิชยหาา ญบมาอเฉลค พทราอเ่ี ะปบทน็ คาสรงถ วัสาาบปขกนัีาร2เผวะ5ลชทติศ6รแาว2สพง1สตท1ารย3ธค์ ป์ารกรรอณะาบรจสคจำ� ขุรดับวัไอาด้1นบม้1เกรี6วมาชเรปใศหเน็ตาค้ ตรสวยนี้ตามรโมดคค์ รยวรเู้ จามอมา้บเี ปหพคา้นรรหอ้า้วั มทมปา1ร่ี ยีอ12สง4รรปา้บั ีก3งราค1ะรลบ1ในิห5บกิง้สกหบขุามปภรอรราคะบัพมรสปอามฐบณคัมคสรภรแนมูวั พบัจิ เชทสำ� น่นนยวเ์นุกขนาโา้ คร6ฝรรกึ,บงั5อกข0บาน้ึ0รรทอมทะดุแมีเหพบ1นทยี1นนุ7ย์ เโปดน็ยตทงั้มี แทตลี่ ป่ งีท2ะ5เบ5ยี9น -ใ 2น5ป6ี 2256มีจ2ำ� จนำ� วนนวทนีม4ค2ลนิ3กิ ทคมี รอแบลคะมรวัแี ทพล่ี ทงยทป์ ะรเะบจยี ำ� นบ1า้ น,1เว4ช2ศาทสมี ตครค์ิดรเปอบน็ ครอ้รวัยจลำ�ะน1ว7น.15,720ใน8จค�ำนนว1น1น8้ี 113 จาก การขึ้นทะเบยี นคลินิกหมอครอบครัว ปี ๒๕๖๒, โดย ส�ำนักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภมู ,ิ 2562. สืบคน้ จาก https://sites.google.com/site/primarycarecluster2017/regis1 114 เช่น การอบรมหลกั สูตรระยะสนั้ “เวชศาสตรค์ รอบครัวสาหรบั แพทย์ปฏบิ ัตงิ านในคลนิ กิ หมอครอบครัว” ปี 2562 รนุ่ ที่ 12 และ ท่ี 13 การอบรมการพัฒนาบุคลากรเพื่อสรา้ งความรอบรดู้ ้านสุขภาพ ภายใตร้ ะบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ดว้ ยการสือ่ สาร ประชาสมั พนั ธ์ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาคมู่ อื การดำ� เนนิ งานคลนิ กิ หมอครอบครวั สำ� หรบั จดั บรกิ ารสขุ ภาพทมี่ ปี ระชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง ประจำ� ปี 2562 เปน็ ตน้ จาก ประชาสมั พันธ,์ โดย ส�ำนกั สนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภมู ,ิ 2562. สืบคน้ จาก https:// sites.google.com/site/primarycarecluster2017/new?offset=0 115 จาก ประชาสมั พนั ธป์ ระกาศแจง้ โอนงบประมาณสนบั สนนุ โครงการอดุ หนนุ โรงพยาบาลทเ่ี ปน็ สถาบนั ผลติ แพทยป์ ระจ�ำ บ้านเวชศาสตร์ครอบครวั ปี ๒ ปี ๓, โดย สำ� นักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://sites.google.com/ site/primarycarecluster2017/new 116 จาก ประกาศส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สมัครแพทย์เข้าฝึกอบรมแพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง สาขาเวชศาสตร์ ครอบครัวของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้โครงการปฏิบัติงานเพ่ือการสอบวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความช�ำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ประจ�ำปีการฝึกอบรม ๒๕๖๒, โดย ส�ำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสขุ , 2562. สบื คน้ จาก https://drive.google.com/file/d/1azziru04sOwhWR-Pf9ddIzcF-3xiAf4S/view 117 จาก หนงั สอื แนวทางการด�ำเนินงานคลนิ ิกหมอครอบครวั ส�ำหรบั หนว่ ยบรกิ าร, โดย กระทรวงสาธารณสขุ , 2559. สืบค้นจาก http://www.ato.moph.go.th/sites/default/files/download/primary%20care%20cluster_guide%20 %28pcc%29.pdf 118 จาก คลินิกหมอครอบครัว PRIMARY CARE CLUSTER, โดย ส�ำนักงานสนับสนุนระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอ ครอบครวั สำ� นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ , 2562. สืบคน้ จาก http://pcc.moph.go.th/pcc/dashboard/index.php
71 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ นอกจากนี้ ยงั มกี ารพฒั นาโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล (รพ.สต.) ซ่งึ เป็นสถานพยาบาล 3บทที่ ระดบั ปฐมภมู ิ โดยไดป้ ระกาศเปน็ นโยบายและกำ� หนดไวใ้ นแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ ประจำ� ปงี บประมาณ พรพ.ศ.ส. 2ต5. เ6รยี2กยวทุา่ เธกศณาสฑตพ์ รฒัท์ ่ีน4าบครณุ หิ ภาารพเปรน็ พเล.สศิ ตด.ว้ ตยดิ ธดรารวม1า1ภ9บิ ารลวมมทเี คงั้ รมอ่ื กี งามรอื พกฒั ารนพาฒัอานสาาคสณุ มภคั ารพสาหธนาว่ รยณบสรขุกิ า(อรสสขุมภ.)าโพดรยะกดาบัร ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม พฒั นาทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสาร องคค์ วามรดู้ า้ นสขุ ภาพโดยผา่ นแอปพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ เช่น SMART อสม. หรอื ทางเว็บไซต์ www.อสม.com หรือ Official line@smart อสม. เปน็ ตน้ นอกจากนี้ รัฐบาลไดด้ �ำเนินโครงการ “รา้ นขายยาชุมชนอบอุน่ ” เมอื่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2562 เพอ่ื อำ� นวยความสะดวกแกผ่ ปู้ ว่ ยทถ่ี อื บตั รทองใน 4 โรคกลมุ่ เรอื้ รงั ทตี่ อ้ งกนิ ยาเดมิ ตอ่ เนอ่ื ง ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน ความดนั งโล่าหยติขส้ึนงู หเปอ็บนหกาดื รจชติ ่วเยวชลดหคร่อืาใโชรค้จเ่ารยอ้ื กรงัาอรนื่เดทินไ่ี มทม่างคี ขวอามงปซบัระซชอ้ านชในนกแาลระรลบั ดยคาทวารี่ มา้ นแยอาอใัดกใลนบ้ โา้ รนงพทยำ� ใาหบป้ ารละ1ช2า0ชนรเขวา้มถทงึ ้ังยไาดไ้มดี้ การริเริ่มท่ีจะพัฒนาการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ด้านสาธารณสุข ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตแิ ละสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) เพื่อเพ่ิมศักยภาพการน�ำข้อมูลมาใช้ในการดูแลสุขภาพประชาชนโดยการเช่ือมต่อข้อมูลสุขภาพของประชาชน กซร่ึงจณะเี สก่งดิ ผภลาดวตีะเ่อจคบ็ ณุ ปภว่ ยาจพำ� ใเนปกน็ าตรอ้ใหงเ้บขรา้ ริกกัาษร1า2ใน1โรงพยาบาล แพทยจ์ ะมปี ระวตั กิ ารรกั ษาของผปู้ ว่ ยในโรงพยาบาลตา่ ง ๆ 2) การเขา้ ถงึ บริการสขุ ภาพของกลุ่มเฉพาะ 2.1) พระสงฆ์ ประเทศไทยมพี ระสงฆ์และสามเณรประมาณ 340,000 รูป ซึ่งเดมิ พระสงฆ์สามารถ เขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลรฐั ไดโ้ ดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย แตห่ ลงั จากมพี ระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพ พ.ศ. 2545 กำ� หนดใหผ้ ปู้ ระสงคจ์ ะรบั สทิ ธบิ รกิ ารสาธารณสขุ ตามกฎหมายนต้ี อ้ งลงทะเบยี นหนว่ ยบรกิ าร การลงทะเบยี นดงั กลา่ ว จ�ำเป็นต้องมีเลขประจ�ำตัว 13 หลัก แต่พระสงฆ์บางรูป ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นพระท่ีบวชมาแล้วหลายพรรษา ไม่มี บัตรประชาชนและในหนังสือสุทธิของพระภิกษุไมม่ ีเลขประจ�ำตัว 13 หลกั ประกอบกบั พระสงฆ์หลายรูปมีความรู้ เกย่ี วกบั ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพนอ้ ย จงึ มอี ปุ สรรคในการเขา้ ถงึ การรกั ษาพยาบาลตามกฎหมายน ้ี ในการแกป้ ญั หา ดงั กลา่ ว สปสช. รว่ มกบั สำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาตจิ ดั ทำ� ทะเบยี นฐานขอ้ มลู พระสงฆ์ ตรวจคดั กรองสขุ ภาพ จัดอบรมถวายความรู้พระสงฆ์ และได้มีการจัดท�ำคู่มือการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติส�ำหรับพระภิกษุ สามเณรเพ่อื ให้พระภกิ ษแุ ละสามเณรเข้าถึงบรกิ ารสขุ ภาพได้ 119 จาก คู่มือแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ปี ๒๕๖๒, โดย สำ� นกั สนบั สนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ กระทรวงสาธารณสขุ , 2561. สบื คน้ จากhttp://cro.moph.go.th/cppho/download/ 969_26122018.pdf 120 จาก คนไข้ (บัตรทอง) อุ่นใจ รับยาท่ีร้านใกล้บ้าน เริ่ม ๑ ตุลาคมน้ี, โดย ประชาชาติธุรกิจออนไลน์, 2562. สบื คน้ จาก https://www.prachachat.net/general/news-375780 121 จาก สดช. - สปสช. รุกขับเคลื่อน “Big Data” เช่ือมโยงระบบ เพ่ิมศักยภาพข้อมูลสุขภาพ, โดย ส�ำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2562. สืบค้นจาก https://www.nhso.go.th/FrontEnd/NewsInformationDetail.aspx? newsid=MjYyMA==
คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 72 National Human Rights Commission of Thailand 2.2) ผูต้ อ้ งขงั ระบบบ ริก ารสาธาร ณส ุขส�ำหกรรับะทผู้ตรว้องงสขาังธใานรเณรือสนขุ จก�ำร1ม2ร2าชแทลัณะฑได์ แ้มลีกะาสรปข้ึนสชท.ะไเดบล้ ียงนนสาถมาบนนั พทยึกาคบวาามลรใน่วมเรมือือนเพจ�ำือ่ ใพหัฒ้เปน็นา หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ใิ นเครอื ขา่ ยของหนว่ ยบรกิ ารประจำ� หรอื โรงพยาบาลในพนื้ ทค่ี รบทง้ั หมด 142 แหง่ โดยจากขอ้ มลู การตรวจสอบสทิ ธขิ องสำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ 1ณ1ว,1นั 6ท5ี่ 2ค8นตแลุ ลาะคสมทิ 2ธวิ5า่ 6ง2จำ� มนผี วตู้ นอ้ 1งข4งั4ทคมี่ นสี 1ทิ 2ธ3หิ ซลงึ่กั ผปตู้ รอ้ ะงกขนั งั สขุ ภาพถว้ นหนา้ จำ� นวน323,494 คน สทิ ธกิ องทนุ อนื่ จำ� นวน ที่เป็นสิทธิว่างมีการแก้ไขปัญหาการเข้าถึงสิทธิโดยการเขียนใบค�ำร้องการลงทะเบียนสิทธิและท�ำการลงทะเบียนสิทธิ หหลลกกัั ปปรระะกกนันั สสขุขุ ภภาาพพถถว้ว้ นนหหนนา้า้ 1ก2บั 4โรกงรพมยราาบชาทลณั แมฑข่แ์ า่ลยะขกอรงมเครอืวบนจคำ�มุ โซรงึ่คจมะกี ไดารร้ ดบั ำ�บเนรกินิ ากราสราเพธาอ่ื รใณหผ้สตู้ขุ อ้เชงน่ขเงั ดในยี เวรกอื บั นผจตู้ ำ� อ้เขงา้ขถงั งึทบมี่ รสี กิ ทิ าธริ สาธารณสขุ ของรฐั ทง้ั ในดา้ น 1) การตรวจโรคทว่ั ไป 2) การตรวจคดั กรองเอชไอวี ซฟิ ลิ สิ ไวรสั ตบั อกั เสบซี และเอกซเรยป์ อด 3) การให้ค�ำปรึกษาและแนะน�ำด้านสุขภาพ เช่น การส่งเสริมการกินยาต้านไวรัสเพ่ือป้องกันการติดเช้ือเอชไอวี (โPคrรeง-กEาxรpใoนsเรuอื reนจPำ�roแpละhทylณั axฑisส)ถแาลนะร4ว)มก1า7รจแดั หนง่ ทิ แรลระศเกตารรยี คมวดาำ�มเรนดู้ นิ า้ กนาสรขุตภรวาพจคทดั ง้ั กนรี้ อมงเี ปสขาุ้ หภมาพายในในเรกอื านรจจำ�ดั ทกวั่จิ ปกรระรเมทเปศ1ดิ 2ต5วั สนตอรกี จเพาอื่กในหี้ เ้ ไขดา้ ้มถกีงึ สารทิ จธดัติ ทา่ งำ� ขๆ้อ1เ2ส6นใอนแสนว่ ะนเขชอิงนงเโยยาบวาชยนสททิ ถี่ ธกู ดิ ค้าวนบสคุขมุ ภตาวั พในขอสถงปานระพชนิ าจิ กแรลกะลคุ่มมุ้ เคปรรอาะงเบดาก็ งแลกะรเณยาีเดวช็กนตหดิ นผตู้ว่ ยอ้ งงาขนัง ทเ่ี กย่ี วขอ้ งรายงานวา่ ไดม้ กี ารยา้ ยสทิ ธบิ ตั รประกนั สขุ ภาพมาอยใู่ นเขตพน้ื ทข่ี องหนว่ ยงานแลว้ รวมทงั้ ไดจ้ ดั ใหม้ บี รกิ าร ด้านสุขภาพแกเ่ ด็กหญงิ และเยาวชนหญงิ ทีต่ ้ังครรภท์ ีอ่ ยู่ในสถานพนิ ิจฯ ด้วย 2.3) บุคคลที่มปี ัญหาสถานะและสทิ ธิ บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิที่มีอุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิในการได้รับบริการ สาธารณสุขจากรัฐอาจแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มนักเรียนไม่มีสัญชาติท่ีใช้รหัส G หรือ P กลุ่มคนดั้งเดิม ทไ่ี ม่มสี ญั ชาติไทยแตม่ ชี ่ือในทะเบียนราษฎร และกลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ ว 3 สัญชาติ 122 จาก พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ เพ่ือพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขส�ำหรับผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ (MOU), โดย กองบรกิ ารทางการแพทย์ กรมราชทณั ฑ์, 2562. สืบค้นจาก http://www.correct.go.th/meds/index/?author=6&paged=2 123 โดยส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกรมราชทัณฑ์ได้พิจารณาร่วมกันแล้วว่า ผู้ต้องขังที่เป็นสิทธิว่าง คือ ผูท้ ี่มเี ลขประจ�ำตวั ประชาชนแต่ไม่มสี ิทธริ กั ษาอื่น. 124 จาก หนงั สือกรมราชทณั ฑ์ ดว่ นท่สี ุด ที่ ยธ ๐๗๑๐.๓/๓๓๓๕๔ ลงวนั ท่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เรอื่ ง ขอส่งขอ้ มูล เพื่อประกอบการจัดท�ำรายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒. 125 จาก กรมควบคมุ โรค - กรมราชทณั ฑต์ รวจสขุ ภาพผตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจ�ำ - ทณั ฑสถาน น�ำรอ่ ง ๑๗ แหง่ , โดย มตชิ นออนไลน,์ 2562. สืบคน้ จาก https://www.matichon.co.th/local/qualitylife/news_1472883 126 จาก หนังสือส�ำนกั งานคณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาติ ที่ สช.สวน.ว. ๐๗๙๘/๒๕๖๒ ลงวนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เร่ือง ขอเชิญประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ข้อเสนอเชิงนโยบายสิทธิด้านสุขภาพของกลุ่มประชากรเปราะบาง : กรณีเด็ก ตดิ ผูต้ อ้ งขงั สตรี.
73 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ รัฐบาลได้มีการแก้ปัญหาการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของบุคคลท่ีมีปัญหาสถานะ และสิทธมิ าอย่างตอ่ เน่อื ง โดยคณะรัฐมนตรไี ดม้ มี ตเิ มือ่ วันท่ี 23 มีนาคม 2553 คืนสิทธิขนั้ พืน้ ฐานด้านสาธารณสขุ แกบ่ คุ คลทมี่ ปี ญั หาสถานะและสทิ ธิ อยา่ งไรกต็ าม มตคิ ณะรฐั มนตรดี งั กลา่ วไมค่ รอบคลมุ กลมุ่ นกั เรยี นรหสั G/P และ กลุ่มคนดั้งเดมิ ที่ไม่มสี ญั ชาตไิ ทยแตม่ ีชื่อในทะเบยี นราษฎร แมว้ า่ กลุ่มนกั เรียนรหัส G/P จะได้รบั สิทธใิ นการศึกษา แต่ไม่ได้รับสิทธิอ่ืนเนื่องจากขาดข้อมูลท่ีชัดเจนในการระบุตัวตน ท�ำให้ยังไม่สามารถก�ำหนดสถานะบุคคลได้ คไดณ้ระับรสัฐิทมธนิไปตแรีจลึง้วม1ีม2ต7ิเมจ่ือาวกันขท้อมี่ 2ูลน0ักเเรมียษนาปยีกนาร2ศ5ึก5ษ8า ให้มีการตรวจสอบข้อมูลเพ่ือยืนยันว่าไม่ซ้�ำซ้อนกับกลุ่มที่ 2561 นักเรียนกลุ่มน้ีมีจ�ำนวน 78,897 คน หน่วยงาน ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงมหาดไทย และ สปสช. อยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ ตรวจสอบขอ้ มูลก่อนเสนอคณะรฐั มนตรีพิจารณาใหไ้ ด้รับสทิ ธใิ นการรับบรกิ ารสาธารณสุข สว่ นกล่มุ คนด้ังเดมิ ทไ่ี ม่มสี ญั ชาตไิ ทยแต่มชี ื่อในทะเบียนราษฎร กระทรวงสาธารณสขุ ได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัด บริการสาธารณสุขให้กับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ คนกลุ่มน้ีส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่อาศัยในประเทศไทย เเพปื่อ็นตเวรลวาจนสาอนบมขีจอ้ �ำมนลู วกน่อน3เส5น,0อค5ณ2ะรคัฐนมนทตั้งรนเี ้ีพกอ่ื รพะิจทารรวณงาสใาหธ้ไาดร้รณบั สสทิุขอธิดยาู้่รนะสหาวธ่าางรกณาสรหขุ ตารอ่ ือไปก1ับ2ก8ระทรวงมหาดไทย สำ� หรบั กลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ วสญั ชาตเิ มยี นมา ลาว กมั พชู า และเวยี ดนาม ทไี่ ดร้ บั อนญุ าต ให้อยใู่ นราชอาณาจกั รไทยชว่ั คราวตามกฎหมายวา่ ด้วยคนเข้าเมอื ง แต่ไม่ไดอ้ ยู่ในระบบประกนั สงั คม รัฐบาลไดจ้ ัด ใหม้ รี ะบบประกนั สขุ ภาพสำ� หรบั แรงงานกลมุ่ นโี้ ดยไดอ้ อกประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ลงวนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2562 เรอื่ ง การตรวจสขุ ภาพและประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งดา้ ว พ.ศ. 2562 ซงึ่ ครอบคลมุ ถงึ แรงงานตา่ งดา้ วกลมุ่ ทนี่ ายจา้ ง แจง้ เขา้ เปน็ ผปู้ ระกนั ตนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยประกนั สงั คมแลว้ แตอ่ ยรู่ ะหวา่ งรอสทิ ธิ และกลมุ่ ผตู้ ดิ ตามแรงงานตา่ งดา้ ว ทีไ่ ด้รับอนุญาตใหอ้ ยใู่ นราชอาณาจกั รไทยชวั่ คราวตามกฎหมายวา่ ด้วยคนเข้าเมือง 2.4) ผ้ตู ดิ เช้อื เอชไอวี 3บทที่ ข้อมูลจากกรมควบคุมโรคระบุว่า ปัจจุบันพบผู้ติดเช้ือรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม 4รา4ย0ห,0รอ0ื เ0ฉลรย่ีายวนั12ล9ะ 15 ราย มอี ตั ราการเสยี ชวี ติ ประมาณวนั ละ 40 ราย ทว่ั ประเทศมผี ตู้ ดิ เชอ้ื เอชไอวสี ะสมประมาณ ในการจัดการปัญหาน้ี รัฐบาลได้จัดท�ำยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ พ.ศ. 2560 - 2573 โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการติดเช้ือเอชไอวีรายใหม่ ลดการเสียชีวิตในผู้ติดเชื้อเอชไอวี และลดการเลือกปฏิบัติอันเกี่ยวเน่ืองจากเอชไอวีและเพศภาวะลง และมีเป้าหมายให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าถึงบริการ ดูแลรักษาแบบ 90-90-90 ภายในปี 2563 กล่าวคอื การให้รอ้ ยละ 90 ของผู้ติดเชอ้ื ท่ีมีชวี ิตอยไู่ ดร้ บั การวินจิ ฉยั และทราบสถานะของตนให้ร้อยละ 90 ของผู้ติดเช้ือที่ได้รับการวินิจฉัยได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส และให้ 127 จาก เกาะตดิ “เด็กกลุ่มจ”ี “ปัญหา” “สถานะ” และ “สิทธ”ิ ทไ่ี ม่คบื , โดย มติชนออนไลน์, 2560. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/local/news_459321 128 จาก การสมั มนารบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ มลู สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาจดั ท�ำรายงานผล การประเมินสถานการณ์ด้านสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ งานเดิม. 129 จาก ‘ยตุ ิเช้อื เอชไอวี’ น�ำร่องจ่ายยาต้านไวรัสแกก่ ลุม่ เส่ียงก่อนป่วย ๓,๐๐๐ ราย, โดย Hfocus เจาะลึกระบบ สุขภาพ, 2562. สบื คน้ จาก https://www.hfocus.org/content/2019/05/17198
คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 74 National Human Rights Commission of Thailand รอ้ ยละ 90 ของผตู้ ดิ เชอื้ ทไี่ ดร้ บั ยาตา้ นไวรสั กดไวรสั สำ� เรจ็ รวมทงั้ ไดป้ รบั ปรงุ รายการบรกิ ารในสทิ ธปิ ระโยชนก์ ารปอ้ งกนั ทกา่ีมรีคตวดิ าเมชพอ้ื เรออ้ ชมไอแวลกี ะอ่ มนีกกาารรวสิจมััยผปสั รเะชเอ้ืมนิ(Pผrลeเ-พExอ่ื pตoดิ sตuาrมeคPวroามpสh�ำyเlรaจ็ xใisนหการรอื ปP้อrEงกPนั) แผกู้ตก่ิดลเชมุ่ ือ้ ทรม่ี าคียวใหามมเ1่ ส3ยี่ 0งสงู ทกุ กลมุ่ ในพนื้ ท่ี (สขถอ้ ามนลู ะเด กอืารน ไพดฤร้ บัษยภาาตค า้ มน2 ไว5ร6สั 2แขล)ผอ้ะตู้มกดิลาู รเกชไาดอื้ รรเ้ ดขบั าำ้� ยถเนางึ กนิบดกรปกิารราปมริ ดาี2ณงั 5กไล6วา่ร1วสั คพสดิบำ� เเวรปา่จ็น็ ผค9ตู้ดิ 8ดิเปเ,ช7น็ อื้ 59เข0แา้ ล,ถ7ะงึ 9บ8ร4แกิ ลตาะาร9มด7ลแู ำล� ตดราบกัั มษ1ล3าำ� 2ด3บัซขง1ึ่ น้ั ก3ตา1อรสทนว่ ผ่ี คนตู้ อืใดินกเปชาอี้ืร2ทท5รร6าา2บบ สถานะของตนมแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ อาจเปน็ ผลจากการทร่ี ฐั ไดส้ นบั สนนุ ใหม้ บี รกิ ารตรวจคดั กรองเอชไอวโี ดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย ท่ีโรงพยาบาลได้ปีละ 2 คร้ัง และสามารถรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสได้ตามสิทธิรักษาพยาบาลของตน โดยไม่เสีย ไคด่าโ้ ใดชย้จไ่ามยต่ เช้อ่นงขเดอียคว�ำยกนิันยสอม่วนจาเยกาผวู้ปชกนคทรี่มอีอง1า3ย3ุต�่ำกว่า 18 ปีสามารถรับบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี 3.2.2 ปัญหาการตง้ั ครรภ์ของวยั รุน่ และการอนามยั เจรญิ พันธ์ุ มทวยัีจม่ี ร�ำีจนุ่นำ� อวนา นวยน2ุ 100 0..8 9- 3114คคนปขน1้อี1ต3ม3อ่5ูล6ปจแรซาละึง่กะชมกอาีแรตักนะรรวทาหโกรญนาวม้งิรงวลคสยั ดาลเธลอดางดยี รจบวณากุตกสนัรปุขข1ี รอ2,ะง05บห06ุวญ0่า1ิงคอใทนนาม่ียปจจีุ ีง1ำ� ำ� บน5นปว ว-นร น1ะ09ม2.า74ปณ3.ี 6ตค4่อ2นป5ค1ร63นะ24ช1า3ซมก7งึ่ ีอรมอหัตแี ัตญรนราวงิ ากวโกานยั ารม้เรคดลตลยี ดงั้วอลคกดงรนับจราุตภ1กร์ซ,ป0ขำ้� ีอใ02นง05หห6ญคญ1นิงิง อายุนอ้ ยกว่า 22506ป2ี ย1งั3ค8งมจี �ำนวนสงู แตเ่ ร่ิมลดลงอย่างชา้ ๆ จากที่มีจำ� นวนรอ้ ยละ 17.88 ในปี 2558 เหลือรอ้ ยละ 14.79 ในปี 130 จาก กองทนุ บตั รทอง ปี ๖๓ เพมิ่ ยาป้องกนั ตดิ เช้อื เอชไอวกี ่อนสมั ผสั เช้อื ดูแลกลมุ่ เสีย่ งสูง, โดย ประชาไท, 2562. สบื ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/06/82990 131 จาก การสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อมูลสถานการณ์สิทธิมนุษยชนเพื่อประกอบการพิจารณาจัดท�ำรายงาน ผลการประเมนิ สถานการณ์ด้านสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒. งานเดมิ . 132 จาก ‘ยตุ เิ ชอ้ื เอชไอว’ี น�ำรอ่ งจา่ ยยาตา้ นไวรสั แกก่ ลมุ่ เสยี่ งกอ่ นปว่ ย ๓,๐๐๐ ราย, โดย Hfocus เจาะลกึ ระบบสขุ ภาพ, 2562. สบื คน้ จาก https://www.hfocus.org/content/2019/05/17198 133 จาก อยู่อย่างเข้าใจ “เอชไอวี” เราอยู่ร่วมกันได้, โดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2561. สบื คน้ จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/43558-อยู่อยา่ งเขา้ ใจ%20“เอชไอวี”%20เราอยรู่ ่วมกันได.้ html 134 จาก กล่มุ รายงานมาตรฐาน >> อนามัยแม่และเดก็ >> การเฝ้าระวงั อตั ราการคลอดมีชีพในหญงิ อายุ ๑๐ - ๑๔ ปี, โดยกระทรวงสาธารณสขุ , 2562. สบื ค้นจาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=pformat ed/format1.php&cat_id=1ed90bc32310b503b7ca9b32af425ae5&id=df9f540b5d9e30948ffa2d0f4fd88a82 135 แหลง่ เดมิ . 136 จาก กลุ่มรายงานมาตรฐาน >> อนามัยแมแ่ ละเดก็ >> การเฝา้ ระวงั อตั ราการคลอดมชี พี ในหญงิ อายุ ๑๕ - ๑๙ ป,ี โดยกระทรวงสาธารณสขุ , 2562. สบื คน้ จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=pformated/ format1.php&cat_id=1ed90bc32310b503b7ca9b32af425ae5&id=1336d766d29c4a739ed33ff9f4e79d83 137 แหล่งเดมิ . 138 จาก การสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อมูลสถานการณ์สิทธิมนุษยชนเพื่อประกอบการพิจารณาจัดท�ำรายงาน ผลการประเมนิ สถานการณ์ด้านสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒. งานเดมิ .
75 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ แมว้ า่ ปญั หาการตง้ั ครรภข์ องวยั รนุ่ จะมแี นวโนม้ ลดลง แตพ่ บวา่ กลมุ่ วยั รนุ่ และเยาวชนมแี นวโนม้ 3บทที่ เปน็ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธม์ ากข้ึน ขอ้ มูลตัง้ แต่วันท่ี 1 มกราคม - 13 พฤษภาคม 2562 พบผปู้ ่วยโรคซฟิ ลิ ิส 3,080 ราย ส่วนใหญอ่ ย่ใู นกลุม่ อายุ 15 - 24 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 40.42 รองลงมา คือ อายุระหวา่ ง 25 - 34 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.48 เป็นสัญญาณถึงการมีเพศสัมพันธ์ท่ีไม่ปลอดภัยของกลุ่มวัยรุ่น วัยเรียน และวัยเจริญพันธุ์ กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ข้อมูลเก่ียวกับสถานการณ์และการป้องกันโรคกับประชาชนอย่างต่อเน่ือง รวมถึงได้ บรกั รู ษณาาโกราครตคดิ วตาอ่ มทรา่วงมเมพอื ศกสบั ัมหพนนั ว่ธย1์ ง3า9นท่ีเกย่ี วข้องเพือ่ ก�ำหนดมาตรการพฒั นาระบบบรกิ ารควบคมุ ปอ้ งกนั และดแู ล ในการจัดการปัญหานี้ รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และจัดท�ำยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ. 2561 - 2569 ซึ่งออกตามความในพระราชบญั ญตั นิ ้ี โดยมวี ัตถุประสงค์เพอ่ื ใหว้ ัยรนุ่ มคี วามร้ดู า้ นเพศศกึ ษา และทักษะชีวิต และป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ รวมถึงการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองเมื่อประสบปัญหา โดยทผ่ี า่ นมา หนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดด้ ำ� เนนิ การตามยทุ ธศาสตรฯ์ เชน่ กระทรวงสาธารณสขุ ไดจ้ ดั ตง้ั “คลนิ กิ วัยรุ่น” ในโรงพยาบาลเพื่อจัดบริการสุขภาพท่ีเป็นมิตรแก่วัยรุ่นและเยาวชน การให้บริการถุงยางอนามัย บริการ ใส่ห่วงอนามัยและยาฝังคุมก�ำเนิด ซ่ึงมีข้อมูลว่าในปี 2557 มีผู้ขอรับบริการฝังยาคุมก�ำเนิดเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยในปี 2562 มีจ�ำนวน 37,945 ราย เพ่ิมขึน้ จากปี 2557 ซง่ึ มีเพียง 4,525 ราย ท้ังนี้ สปสช. สนบั สนนุ คา่ บรกิ ารในหญงิ อายตุ ำ่� กวา่ 20 ปี และหญงิ ท่อี ายุ 20 ปขี ึน้ ไปหลังยุติการตง้ั ครรภ์ นอกจากนี้ มบี รกิ ารสายด่วน ปการรึกตษง้ั าคเรอรดภสท์ ์แป่ี ลละอทด้อภงยัไม(่พRSรA้อ)มทจี่1ดั6ต6งั้ 3โดยทกี่ดร�ำมเอนนินางมานยั 1โด4ย0มรูลวนมิธทิเงั้ขส้าาถมึงาเอรถดขสอ์ซรึ่งบัทค�ำวงาานมชร่วว่ มยเกหับลเอืคจราือกขบ่าา้ยนอพาสกั าเดเพก็ ่ือแยลุะติ ครอบครัวหรือบ้านพักฉกุ เฉินได้ และมบี รกิ ารยุตกิ ารต้ังครรภท์ ่ปี ลอดภัย เช่น การบรรจุยายตุ ิการต้ังครรภใ์ นบัญชี ยสาหหวลิชักาชแพีหง่ 5ชา0ต2ิเพค่อื นใหส้สถาามนาบรถริกยุตารกิ า2ร9ตง้ั6ครแรหภง่ โ์1ด4ย1ปลสอว่ นดภกรัยะปทัจรวจงุบศนั ึกเษคราธอื ิกขาา่ รยไอดา้จสดั ากRารSสAอมนีแเรพอ่ื ทงเยพอ์ ศาวสิถาศี 1ึกษ4า2แบคบน e-learning ให้แก่ครูและผู้บริหารเพ่ือนำ� ไปสอนนักเรียนนักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ ในวยั รุ่น 139 จาก สธ. คมุ เข้ม ‘โรคซฟิ ิลิส’ ประสานสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศลงพ้ืนท่ีให้ความร้นู กั เรียน, โดย มติชนออนไลน,์ ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม 2562. สบื คน้ จาก https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_1501103 140 เครือข่าย RSA (Referral System for Safe Abortion) ไดร้ บั การจดั ตั้งขึน้ ในปี 2557 โดยกรมอนามัยและ ดว้ ยการสนบั สนนุ งบประมาณจากสำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) เปน็ เครอื ขา่ ยบคุ ลากรทางการแพทย์ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา นกั สาธารณสุข และอื่น ๆ จากภาครฐั และเอกชนรวมตวั กนั อาสารับส่งต่อเพ่อื ยตุ ิการ ต้ังครรภ์ทางการแพทย์ท่ีปลอดภัย บริการให้ค�ำปรึกษาท่ีมีคุณภาพเพื่อให้ผู้หญิงมีทางเลือกและตัดสินใจเองอย่างอิสระรวมท้ัง ป้องกันการต้ังครรภ์ไม่พร้อมในผู้หญิงทุกวัยโดยการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย และส่งเสริมให้มีบริการวางแผนครอบครัว จาก เครอื ข่ายอาสาเพือ่ การยตุ ิการตง้ั ครรภท์ ปี่ ลอดภัย, โดย RSATHAI, 2557. สบื ค้นจาก https://www.rsathai.org/ 141 จาก การสมั มนารบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ มลู สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนเพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาจดั ท�ำรายงาน ผลการประเมินสถานการณด์ ้านสทิ ธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒. งานเดมิ .
คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ 76 National Human Rights Commission of Thailand ทง้ั นี้ เมอื่ วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน 2562 คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ หน็ ชอบรา่ งกฎกระทรวงการจดั สวสั ดกิ าร สงั คมทีเ่ ก่ียวกับการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาการต้ังครรภใ์ นวัยรนุ่ พ.ศ. …. ตามท่ีใหก้ ระทรวง พม. เสนอเพ่อื ประกนั วา่ วยั รนุ่ ทตี่ งั้ ครรภห์ รอื แมว่ ยั รนุ่ จะไดร้ บั สวสั ดกิ ารทเ่ี หมาะสม โดยรา่ งกฎกระทรวงดงั กลา่ วกำ� หนดใหก้ ระทรวง พม. จดั ใหม้ ี บริการให้ค�ำปรึกษาแก่แม่วัยรุ่นและครอบครัว การดูแลให้วัยรุ่นตั้งครรภ์หรือแม่วัยรุ่นมีท่ีพักที่เหมาะสมและปลอดภัย ได้รับบริการดูแลสขุ ภาพ ไดร้ ับการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และไดร้ บั การฝกึ อาชีพหรอื ทำ� งานอ่ืนใดตามความถนดั รวมทัง้ การจัดหาครอบครัวทดแทนเพื่อเล้ียงดูเด็กเป็นการชั่วคราวในกรณีท่ีแม่วัยรุ่นไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ 6โด0ยตวอ้นั งหคลำ� งันจงึ าถกงึ ปปรระะกโยาชศนในข์ รอางชเดกก็ิจแจลานะไเุ ดบร้กบั ษคาวแาลมว้ ย1นิ 4ย2อมจากแมว่ ยั รนุ่ รา่ งกฎกระทรวงนจี้ ะมผี ลใชบ้ งั คบั เมอื่ พน้ กำ� หนด 3.2.3 การใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ ในปี 2562 รฐั บาลไดป้ ระกาศใช้พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 ทเี่ ปิด โอกาสใหส้ ามารถนำ� กญั ชาไปทำ� การศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาเพอื่ ประโยชนท์ างการแพทยแ์ ละสามารถนำ� ไปใชใ้ นการรกั ษา โใรหค้กภับาบยุคใตลก้าากรรดทแู าลงแกลาระแคพวบทคยมุ์1ข4อ3งแสพ่วทนยกไ์รดม้ กซาง่ึ กรแรมพกทายร์แแผพนทไยทไ์ ยดแม้ ลกี ะากรจารดั แอพบทรมยก์ทาารงใเชลส้ือากรมสีปกรดั ะจกาากศกอญั นชุญาทาตางใหกา้ใชร้แกพัญทชยา์ ทางการแพทยแ์ ผนไทยได้ 16 ต�ำรบั มีระบบอนญุ าตใหห้ มอพ้นื บา้ นเปิดคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์ (ปจั จุบนั มี 2 ราย) มคหวีกมาาอมรพอรื้น้ใูบหบร้ก้ามบันกาอมรสีกใมชา.้กรแัญทล�ำชะวาชิจทาัยาวนงบก้�ำา้มานรัน1แก4พัญ5ทชยา์แรผ่วนมกไทับยมแหกา่ผวู้ปิทรยะากลอัยบ1ว4ิช4าชแีพละแใพนทปยี ์แ2ผ5น6ไท3ยแมลีแะผแนพกทารยด์แ�ำผเนนไินทงยาปนรทะ่ีจยะุกสตื่อ์แสลาะร อยา่ งไรกต็ าม มรี ายงานวา่ มกี ารใชก้ ญั ชาท่ีไมถ่ กู ตอ้ งหรอื เกิดอันตราย เช่น ข้อมูลของศนู ย์พษิ วิทยา รามาธบิ ดีท่ไี ด้ใหค้ �ำปรึกษากรณีผ้ปู ว่ ยหรอื บาดเจบ็ จากพษิ ตา่ ง ๆ ตลอด 24 ช่ัวโมง พบว่าต้งั แต่เดอื นมกราคม 2561 ถึงเดือนพฤษภาคม 2562 มีผู้ป่วยจากการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาโดยเฉพาะอย่างย่ิงผลิตภัณฑ์จากน้�ำมันกัญชา ปรึกษา มายงั ศนู ยพ์ ษิ วทิ ยาฯ จำ� นวนทง้ั สน้ิ 302 ราย และมจี ำ� นวนเพม่ิ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยในชว่ งเดอื นมกราคม - ธนั วาคม 2561 มีผู้ป่วยจากการใช้น�้ำมันกัญชาจ�ำนวน 29 คน แต่ต้ังแต่เดือนมกราคม - พฤษภาคม 2562 ผู้ป่วยมีจ�ำนวน เพิ่มสูงข้ึนเป็น 214 คน ส่วนใหญ่เป็นการใช้ท่ีไม่ตรงข้อบ่งช้ีของกรมการแพทย์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมาจากเพ่ือน 142 จาก รา่ งกฎกระทรวงการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมทเ่ี กย่ี วกบั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รนุ่ พ.ศ. …., โดย RYT9, 2562. สบื ค้นจาก https://www.ryt9.com/s/cabt/3071607 143 จาก ตอนท่ี ๒ เพราะอะไร? กัญชา... ถูกคลายล็อก น�ำมาใช้ทางการแพทย์ได้, โดย องค์การเภสัชกรรม, 2562. สืบคน้ จาก https://www.gpo.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=9BpJMTh73Mw%3d&tabid=414&mid=1297 144 จาก เปิด “คลินกิ กญั ชาการแพทยแ์ ผนไทย” ๑๓ รพ. เริ่ม ๒ ก.ย. น.้ี , โดย Hfocus เจาะลกึ ระบบสุขภาพ, 2562. สบื ค้นจาก https://www.hfocus.org/content/2019/08/17605 145 จาก การสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อมูลสถานการณ์สิทธิมนุษยชนเพื่อประกอบการพิจารณาจัดท�ำรายงาน ผลการประเมินสถานการณด์ ้านสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒. งานเดมิ .
77 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ โญหรรางอืพตชิยวีหาติบร1ือา4ลซ81ื้อ4จเป7ากน็แอตลิน้นะเมทกี อารร์เในชก็้ตญั14ช6าทนผ่ี อลกติ จโดายกไนมี้ ถ่ ยกู ังตมอ้ ีรงาตยางมานกฎขห่าวมกาายรซใงึ่ชอ้กาัญจมชสาี เากรินปขนนเปาอ้ืดนจนทตเี่ ป้อน็ งอเขนั ้าตรรับากยาตรอ่ รสักขุ ษภาาใพน 3.2.4 ปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ สุขภาพ 1) ปญั หาฝุน่ ละอองท่ีมีขนาดเล็กกวา่ 2.5 ไมครอน (Particulate Matter : PM 2.5) มาตรฐา น1 49 ในปี 2562 มรี ายงานวา่ ประเทศไทยมพี ้นื ที่ทมี่ ีปรมิ าณฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 เกินค่า แบง่ ออกเปน็ 4 พื้นที่ คอื 1) ภาคเหนอื ต้ังแตว่ นั ที่ 1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2562 พบค่าเฉลยี่ 24 ชวั่ โมงสงู สดุ ของปรมิ าณฝนุ่ ละออง PM 2.5 เทา่ กบั 353 ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ทต่ี ำ� บลเวยี งพางคำ� อำ� เภอ แมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย และมจี ำ� นวนวนั ทฝี่ นุ่ ละออง PM 2.5 เกนิ คา่ มาตรฐาน 112 วนั สว่ นหนงึ่ มาจากหมอกควนั ข้ามแดน 2) ภาคใต้ จะเกิดสถานการณ์หมอกควันในชว่ งหนา้ แล้ง (เดอื นกรกฎาคม - กันยายน) ซึ่งมักมีสถานการณ์ ไฟไหมป้ า่ พรทุ เี่ กดิ ขน้ึ ทงั้ ภายในประเทศไทยและในประเทศอาเซยี นตอนใต้ เชน่ ไฟไหมป้ า่ พรคุ วนเครง็ ในพน้ื ทอ่ี ำ� เภอ เเชปยี ็นรวใหงญกว่ จ้างั งหแวลดั ะนรคุนรแศรรธีงรเมรมื่อรเาดชือเนมกอ่ื ันเดยอื านยกนรก2ฎ5าค6ม22155602เแปล็นะตไฟ้นไห3ม)ป้ า่ ใพนรเใขุ นตบกรรเิ วุงณเทเกพามะหสามุ นาตครราแแลละะปการลิมมิ ณนั ฑตนัล พบฝุ่นละออง PM 2.5 เกนิ คา่ มาตรฐานในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน 2561 ถงึ เมษายน 2562 และเริม่ เกินมาตรฐาน อีกคร้ังต้ังแต่เดือนกันยายน 2562 4) บริเวณหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี มีสาเหตุมาจากโรงโม่หิน ฝุ่นละออง หPMญงิ 2ต.5งั้ คทรีเ่รกภนิ ์ มผา้มู ตีโรรคฐาปนรนะจี้อ�ำาตจวัส่ง(ผโรลคกทราะงทเดบนิตหอ่ สายขุ ใภจาพโรขคอเยงปือ่ รบะุตชาาอชกั นเสโดบยเโฉรคพผาะวิ หในนกังลโุ่มรเคสห่ียวังใไจดแ้แลกะ่ หผสู้ลูงออดาเยลุือเดด็ก)1เล5็ก1 เใรน่งเดรอ่ื่วนงนในี้ กกสามร.คไมุ้ดคอ้ รออกงแสถขุ ลภงกาพารขณองข์ ปอรใหะชร้ ฐัาบชนาลรแวลมะถหึงนกว่ ลยมุ่ งเาปนรขาอะงบราฐั งท1เี่5ก2ย่ี วขอ้ งเรง่ ดำ� เนนิ มาตรการแกไ้ ขปญั หาระยะ 3บทที่ 146 จาก ขอ้ ระวังการใชผ้ ลิตภณั ฑ์กัญชา, โดย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, 2562. ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม สบื คน้ จาก https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/sites/default/files/public/ขอ้ มลู กญั ชาศนู ยพ์ ษิ รามา%20edit.pdf 147 จาก เจอแลว้ ๗ คนใชก้ ญั ชาเกินขนาด ห้ามเข้าหอ้ งฉุกเฉนิ , โดย ไทยพบี ีเอส, 2562. สบื ค้นจาก https://news. thaipbs.or.th/content/280310 148 จาก การสมั มนารบั ฟงั ความคดิ เหน็ และขอ้ มลู สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาจดั ท�ำรายงาน ผลการประเมินสถานการณ์ดา้ นสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒. งานเดมิ . 149 คา่ มาตรฐาน PM 2.5 เฉลยี่ 24 ชว่ั โมง จะตอ้ งไมเ่ กนิ 50 ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร จาก ท�ำความรจู้ กั PM 2.5, โดย กรมควบคมุ มลพิษ, 2562. สบื ค้นจาก http://www.pcd.go.th/info_serv/air_pm25.html 150 จาก หนังสือกรมควบคุมมลพษิ ด่วนทสี่ ดุ ท่ี ทส ๐๓๐๖/๑๑๙๑๗ ลงวันท่ี ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เร่ือง ขอทราบ ขอ้ มลู เพื่อประกอบการจดั ท�ำรายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒. 151 จาก ท�ำความรจู้ กั PM 2.5, โดย กรมควบคมุ มลพษิ , 2562. สบื คน้ จาก http://www.pcd.go.th/info_serv/air_ pm25.html 152 จาก แถลงการณค์ ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ (กสม.) เรอื่ ง ความหว่ งใยตอ่ วกิ ฤตการณม์ ลพษิ ทางอากาศ ในภาคเหนือ ที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิในการมีสุขภาพท่ีดีของประชาชน, โดย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2562. สืบคน้ จาก http://www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Statements-Press-Releases-Open-Letters/Statements/03
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 78 National Human Rights Commission of Thailand รฐั บาลไดใ้ ชม้ าตรการทง้ั ดา้ นบรหิ ารและนติ บิ ญั ญตั เิ พอ่ื ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละออง PM 2.5 โดยส่ังการให้หน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม ฯลฯ ให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันอันตรายจากฝุ่นละออง PM 2.5 ต่อมาเม่ือวันที่ 12 กมุ ภาพันธ์ 2562 คณะรัฐมนตรีไดม้ ีมตใิ ห้การแก้ไขปญั หามลภาวะดา้ นฝุน่ ละอองเป็นวาระแหง่ ชาติ และได้มมี ติ เห็นชอบร่างแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 โดยแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ประกอบดว้ ย 3 มาตรการ คอื 1) การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การเชงิ พน้ื ท่ี 2) การปอ้ งกนั และลดการเกิดมลพิษทต่ี น้ ทาง (แหลง่ กำ� เนิด) แบง่ เปน็ มาตรการระยะสั้นและระยะยาว และ 3) การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ การบริหารจัดการมลพิษ เนน้ การพัฒนาระบบ เครื่องมือ กลไกการบริหารจดั การ การศึกษาวิจัยเพอ่ื พฒั นาองค์ความรู้ แบง่ เปน็ แนวทางระยะสน้ั และระยะยาว รวมถงึ ปรบั คา่ มาตรฐาน PM 2.5 ในบรรยากาศเฉลยี่ รายปใี หเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน ขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) และปรบั ปรงุ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ศข้าึกมษแาดคนวแาลมะเหแมผานะปสฏมิบเรัต่ือิกงากรเฎชหยี มงราายยอา2ก0า1ศ7สะเอพาอื่ ดปอ้ ขงับกเนั คมลลื่อพนิษกจาารกดห�ำมเนอินกงคาวนนั ตขาา้ มมโแรดดนแ1ม5ป3อาเซียนปลอดหมอกควัน อย่างไรก็ตาม ประชาชนบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจถึงอันตรายและการป้องกันตนเอง จากฝนุ่ ละออง PM 2.5 หรือบางคนอาจเขา้ ไม่ถึงความรู้หรอื อปุ กรณ์ (หนา้ กากกันฝนุ่ ) ในการป้องกนั และดูแลตนเอง ในเบ้ืองต้น และพบว่าสถานการณ์ฝุ่นละอองน้ีเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในช่วงอากาศแล้งของ ทกุ ปี ทงั้ น้ี ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2562 ปรมิ าณฝนุ่ PM 2.5 ไดก้ ลบั มาเกนิ คา่ มาตรฐานอกี ครง้ั ในหลายพน้ื ที่ ของกรงุ เทพมหานครและทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ เชน่ เมือ่ วนั ท่ี 5 พฤศจิกายน 2562 2ก0รมแคหวบ่งจคามุ กมล4พ6ิษแรหาย่ง1งา5น4ปขรณิมาะณท่ี ฝุ่น PM 2.5 ในระดับทีเ่ ร่มิ สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพทสี่ ถานีตรวจวดั คุณภาพอากาศ เวบ็ ไซต์ www.airvisual.com รายงานคณุ ภาพอากาศและจดั อนั ดบั เมอื งทม่ี มี ลพษิ แบบเรยี ลไทม์ (real time) เมอ่ื วนั ที่ 11596พUฤSศจAิกQาIยแนละ2เช5ยี 6ง2ใหมพ่อบยวใู่ ่านคลุณำ� ดภับาทพ่ีอ3า6กาขศอขงอโลงกกรมุงคีเทา่ ฝพ่นุ มอหยาู่ทน่ี ค6ร6อยUู่ใSนลA�ำQดI1ับ5ท5่ี 12 ของโลก โดยมีค่าฝุ่นอยู่ที่ 2) การใช้สารเคมีปอ้ งกนั และก�ำจดั ศตั รพู ืช เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชได้แถลงผลการตรวจผักและผลไม้ประจ�ำปี 2562 ว่า พบผักผลไมม้ ีสารพษิ ตกคา้ งเกนิ มาตรฐานสงู ถงึ รอ้ ยละ 41 ลดลงเลก็ น้อยจากการเฝา้ ระวังในปี 2560 ท่พี บสารพิษ ตกคา้ งในผกั ผลไมท้ ที่ ำ� การตรวจรอ้ ยละ 46 การตรวจในปี 2562 พบสารเคมหี ลายชนดิ ทเี่ ปน็ สารทย่ี กเลกิ การใชไ้ ปแลว้ 153 จาก สรุปขา่ วการประชมุ คณะรฐั มนตรี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒, โดย ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, 2562. สบื คน้ จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/23529 154 จาก ฝนุ่ PM 2.5 เกนิ มาตรฐาน ๒๐ จดุ ทวั่ กรงุ เทพฯ - ปรมิ ณฑล, โดย ไทยพบี เี อส, 2562. สบื คน้ จาก https://news. thaipbs.or.th/content/285807 155 จาก ๑๕ พน้ื ที่ กทม. - ปรมิ ณฑลฝนุ่ เกนิ มาตรฐานเรม่ิ กระทบสขุ ภาพขนึ้ อนั ดบั ๑๒ โลก, โดย สยามรฐั , 2562. สบื คน้ จาก https://siamrath.co.th/n/115943
79 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ และบางสารเคมยี งั ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหข้ น้ึ ทะเบยี น และไมอ่ ยใู่ นบญั ชรี ายชอื่ วตั ถอุ นั ตราย พ.ศ. 2556156 สว่ นปญั หา การใชส้ ารเคมีป้องกันและกำ� จดั ศัตรพู ืช กสม. ไดม้ รี ายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนษุ ยชนที่ 31/2562 ทเ่ี สนอแนะใหค้ ณะกรรมการวตั ถอุ นั ตรายควรกำ� หนดใหพ้ าราควอตเปน็ วตั ถอุ นั ตรายชนดิ ที่ 4 ตามพระราชบญั ญตั ิ วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีทางการเกษตร ทกุ ชนดิ ในระยะยาว ขณะเดยี วกนั จะตอ้ งพฒั นาทางเลอื กดา้ นสารชวี ภาพและเทคโนโลยชี วี ภาพเพอ่ื การเกษตรทย่ี ง่ั ยนื สท�ำาหงกราับรเเกกษษตตรรกเพรอ่ือเยป่าน็ งกเปา็รนปร้อะงบกบนั แแลละะจแรกิง้ไจขังปัญแลหะาอคยณา่ ะงรยัฐ่ังยมืนน1ต5ร7ีควรจัดให้มีกฎหมายว่าด้วยการควบคุมสารเคมี รัฐไดม้ กี ารดำ� เนนิ การจัดการปัญหาดงั กลา่ วโดยเมอ่ื วนั ที่ 7 ตลุ าคม 2562 คณะท�ำงานเพื่อ พจิ ารณาความเหน็ 4 ฝ่าย ไดแ้ ก่ ภาครฐั ผูน้ ำ� เข้า เกษตรกร และผูบ้ รโิ ภค ต่อการยกเลิกพาราควอต ไกลโฟเซต และ คคปลลรอะอรเรภไ์์ไพทพรทรฟิ ิฟี่ อ4อส1สแ5ล8มะีมแไกตลลิเะหโเฟม็นเือ่ชซวอตันบจทใาห่ีก2้ยว2ตักถรตอุะุลนัดาตับครสมาาย2รปเ5คร6ะมเ2ีเภกทษคทณต่ี3ระเกป3รน็ รปชมนรกะิดาเรจภวาทัตกทถว่ี4อุัตนัถโดุอตยันรใาตหยมร้ ไาผีดยล้ลปตงรง้ัมแะตตเปิภว่ รทนั ับททส่ีี่1า3ธรนัเคเวปมา็นคที วม้ังัตพ2ถา5ุอร6ันา2คตว1รอ5าตย9 ต่อมาเม่ือวนั ท่ี 27 พฤศจิกายน 2562 คณะกรรมการวตั ถุอันตรายมกี ารประชุมทบทวนมตเิ มือ่ วันท่ี 22 ตุลาคม 2562 เน่ืองจากรัฐยังไมม่ ีมาตรการรองรบั ทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั ผลกระทบทีจ่ ะเกดิ ข้ึนตอ่ เกษตรกรและอุตสาหกรรม ตอ่ เนอื่ ง รวมถงึ ผลกระทบดา้ นการคา้ ระหวา่ งประเทศ จงึ มมี ตใิ หอ้ อกประกาศกำ� หนดใหพ้ าราควอตและคลอรไ์ พรฟิ อส เป็นวัตถุอันตรายประเภทที่ 4 โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2พ5ฤ6ษ3ภาสค่วมนว2ัต5ถ6ุอ1ัน1ต6ร0ายอไกยล่าโงฟไรเกช็ตตาใหม้ ใช้มาตรการจ�ำกัดการใช้ตามมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเมื่อวันที่ 23 ประชาชนยังคงมคี วามเห็นทหี่ ลากหลายทั้งเห็นดว้ ยและคัดคา้ น บทประเมนิ สถานการณ์และข้อเสนอแนะ 3บทที่ ในปี 2562 รัฐได้มีการด�ำเนินการเพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุข อย่างท่ัวถึงมากขึ้นผา่ นการพัฒนาระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ โดยมีการสรา้ งทีมแพทยค์ รอบครัว พัฒนา รพ.สต. ให้เปน็ หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ทิ มี่ คี ณุ ภาพ และพฒั นา อสม. ใหม้ คี วามรเู้ พอื่ ใหด้ แู ลประชาชนในพนื้ ทไี่ ดด้ ยี ง่ิ ขนึ้ ระบบสขุ ภาพ 156 จาก ไทยแพนเปดิ ผลตรวจผกั ผลไมพ้ บสารพษิ ตกคา้ งเกนิ มาตรฐาน ๔๑% ผกั หา้ งแยก่ วา่ ผกั ตลาดสด ตะลงึ พบสารพษิ ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม หา้ มใชใ้ นประเทศไทยตกคา้ งออ้ื ๑๒ ชนดิ , โดย เครอื ขา่ ยเตอื นภยั สารเคมกี ำ� จดั ศตั ร,ู 2562.สบื คน้ จาก https://www.thaipan.org/ action/1107 ?fbclid=IwAR3 Is4ycQXkJy7 Vs-2NtwL4nAf1MsngtD9 VKu-ELx8GnDjTg_LqU2DhcRuw 157 จาก รายงานผลการตรวจสอบ ที่ ๓๑/๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เรื่อง สิทธิในชีวิตและร่างกาย เกี่ยวเน่ืองกับสิทธิผู้บริโภค กรณีคัดค้านการต่ออายุใบส�ำคัญการข้ึนทะเบียนวัตถุอันตรายพาราควอตของกรมวิชาการเกษตร. โดย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 158 จาก “มนัญญา” รว่ มผู้แทน ๔ ภาคส่วน เดินหนา้ แบน ๓ สารเคมอี ันตราย ล่นั ! ๑ ธ.ค. นี้ พร้อมยกเลกิ จ�ำหนา่ ย ทง้ั หมด, โดย เดลินิวสอ์ อนไลน์, 2562. สบื ค้นจาก https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_1703709 159 จาก มติเอกฉนั ท!์ คกก. วตั ถอุ นั ตรายแบน ๓ เคมอี นั ตราย มผี ลบังคับใช้ ๑ ธ.ค. นี้เปน็ ต้นไป, โดย มติชนออนไลน์, 2562. สบื ค้นจาก https://www.matichon.co.th/economy/news_1722547 160 จาก คกก. วัตถอุ ันตรายลงมติ เล่ือนแบน ๒ สารไป ๖ เดือน ‘ไกลโฟเซต’ แค่จ�ำกัดการใช,้ โดย มตชิ นสุดสปั ดาห์, 2562. สบื ค้นจาก https://www.matichonweekly.com/hot-news/article_250870
คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ 80 National Human Rights Commission of Thailand ปฐมภูมิจะช่วยให้ประชาชนในพื้นท่ีห่างไกลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขท่ีครอบคลุมท้ังการสร้างเสริมสุขภาพ การปอ้ งกนั โรค การรกั ษาพยาบาล และการฟน้ื ฟสู ขุ ภาพ นอกจากนี้ หนว่ ยงานของรฐั ทเี่ กย่ี วขอ้ งไดม้ คี วามพยายามดำ� เนนิ การ ให้ประชาชนบางกลุ่มท่ีมีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้รับบริการดังกล่าวทั้งพระสงฆ์ ผู้ต้องขัง แรงงาน ต่างดา้ ว 3 สญั ชาติ และผตู้ ดิ เช้ือเอชไอวี ส่วนกลุ่มผู้มปี ัญหาสถานะและสทิ ธิ ยังอย่รู ะหวา่ งการดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หา ส�ำหรับปัญหาสุขภาพท่ีส�ำคัญ รัฐได้มีความพยายามป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น และประสบ ความส�ำเร็จในการลดอัตราวัยรุ่นตั้งครรภ์ได้ในระดับหนึ่ง รวมท้ังได้จัดให้มีบริการให้ค�ำปรึกษาและให้ความช่วยเหลือ แก่วัยรุ่นต้ังครรภ์และแม่วัยรุ่น นอกจากนี้ ในปี 2562 พบว่ามีสถานการณ์สุขภาพที่ควรติดตามและเฝ้าระวัง คือ การท่ีมีผู้ป่วยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน และมีผู้เจ็บป่วยจากการใช้ผลิตภัณฑ์ กญั ชาทไี่ มไ่ ดม้ าตรฐานหรอื ไมถ่ กู ตอ้ งเพม่ิ ขน้ึ สว่ นปจั จยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพยงั คงเปน็ ปญั หาตอ่ เนอ่ื งจากปที ผ่ี า่ นมา คือ ปัญหาฝนุ่ ละออง PM 2.5 และสารเคมีปอ้ งกนั และก�ำจัดศัตรพู ืช ทแ่ี ม้วา่ รฐั จะมนี โยบายและมกี ารก�ำหนดมาตรการ แก้ไขปัญหาเพ่ือคุ้มครองสุขภาพของประชาชน แต่ยังอยู่ระหว่างการด�ำเนินการให้เกิดผลเป็นรูปธรรมชัดเจน ท้ังน้ี ในประเดน็ เร่ืองสิทธดิ า้ นสขุ ภาพ กสม. มขี อ้ เสนอแนะดังน้ี 1. รัฐควรเร่งพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขและการแพทย์ ได้โดยสะดวกและทั่วถึงย่ิงข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงประชาชนในพื้นท่ีห่างไกล และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรเร่งรัดแก้ไข ปัญหาสถานะบุคคลของกลุ่มนักเรียนรหัส G และ P และกลุ่มคนดั้งเดิมท่ีไม่มีสัญชาติไทยแต่มีช่ือในทะเบียนราษฎร เพ่อื ขจัดอปุ สรรคในการเข้าถงึ บริการสาธารณสุขของบุคคลสองกลุม่ น้ี 2 รัฐควรใช้มาตรการเชิงป้องกันในการจัดการกับปัญหาการต้ังครรภ์ของวัยรุ่น การติดโรคทางเพศสัมพันธ์ การท�ำแท้งโดยไม่ปลอดภัย โดยการให้ความรู้และบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ท้ังน้ี กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ควรเร่งด�ำเนินการให้มีการจัดสวัสดิการแก่วัยรุ่นตั้งครรภ์และแม่วัยรุ่นตาม มติคณะรฐั มนตรเี ม่ือวนั ท่ี 26 พฤศจิกายน 2562 โดยเร็ว 3. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรสร้างความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนเก่ียวกับการใช้กัญชาทาง การแพทย์ รวมถึงสรา้ งความตระหนกั รูถ้ ึงอนั ตรายต่อสุขภาพหากใช้กัญชาทีไ่ ม่ผา่ นการผลติ ทมี่ ีคุณภาพ 4. ควรก�ำชับให้หน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติการแก้ไขปัญหา มลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละอองอยา่ งจรงิ จงั โดยเรง่ ดำ� เนนิ มาตรการระยะสน้ั ทมี่ งุ่ ลดปรมิ าณฝนุ่ ละออง PM 2.5 เพอื่ บรรเทาผลกระทบ ต่อสุขภาพของประชาชน ส่วนในระยะกลาง ควรใช้มาตรการต่าง ๆ ท้ังด้านบริหารและนิติบัญญัติเพ่ือประกันว่า คา่ มาตรฐาน PM 2.5 จะเปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายขององคก์ ารอนามยั โลก 5. คณะรัฐมนตรีควรพิจารณาข้อเสนอแนะเรื่องการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีทางการเกษตรตามรายงานการ ตรวจสอบการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนท่ี 31/2562 ลงวันท่ี 6 กมุ ภาพันธ์ 2562 ของ กสม. ดังกล่าวขา้ งต้น 3.3 สทิ ธดิ า้ นการศกึ ษา ภาพรวม กติกา ICESCR ขอ้ 13 ไดร้ บั รองสทิ ธิของทกุ คนใหไ้ ด้รับการศกึ ษา โดยการศึกษานัน้ ตอ้ งมงุ่ ใหเ้ กดิ การ พัฒนาบคุ ลกิ ภาพ ความส�ำนึกในศกั ด์ิศรีของคน การเคารพสิทธิมนษุ ยชนและเสรภี าพขนั้ พ้ืนฐาน ความสามารถ มีส่วนร่วมในสังคม รัฐภาคีต้องด�ำเนินการให้การศึกษาระดับประถมเป็นการศึกษาภาคบังคับและจัดให้ทุกคน แบบใหเ้ ปลา่ จดั การศกึ ษาระดบั มธั ยมซง่ึ ทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ได้ และเปดิ โอกาสใหท้ กุ คนสามารถไดร้ บั การศกึ ษา
81 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ขนั้ อดุ มศกึ ษาไดเ้ ทา่ เทยี มกนั บนพน้ื ฐานของความสามารถ ตลอดจนมกี ารพฒั นาระบบโรงเรยี นทกุ ระดบั นอกจากนี้ 3บทที่ สทิ ธดิ ังกลา่ วยงั ไดร้ บั การรับรองไวใ้ นอนุสญั ญา CRC ขอ้ 28 ซ่ึงไดก้ ำ� หนดรายละเอียดเก่ยี วกบั การศึกษาของเด็ก เพ่มิ เตมิ ดว้ ยว่า รฐั พงึ มีมาตรการสนับสนุนการเขา้ เรยี นอยา่ งสม�ำ่ เสมอ ลดอตั ราการออกจากโรงเรยี นกลางคนั และ ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม มีมาตรการประกันว่าระเบียบวินัยของโรงเรียนพึงสอดคล้องกับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของเด็กและสอดคล้องกับ หลักการและบทบญั ญตั ิของอนุสัญญาฯ สิทธิด้านการศึกษาได้รับการรับรองในรัฐธรรมนูญ มาตรา 54 ที่บัญญัติให้รัฐมีหน้าท่ีด�ำเนินการให้เด็ก ทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาเปน็ เวลา 12 ปี ตงั้ แตก่ อ่ นวยั เรยี นจนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ใหเ้ ด็กเลก็ ได้รบั การดูแลพฒั นาก่อนเขา้ รบั การศกึ ษา ให้ประชาชนได้รบั การศึกษาตามความตอ้ งการในระบบต่าง ๆ และส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพ่ือลดความเหลื่อมล�้ำ ในการศกึ ษาและเสรมิ สรา้ งและพฒั นาคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพครู และในมาตรา 258 จ. ทกี่ ำ� หนดใหม้ กี ารปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา รวมถงึ การดำ� เนนิ การใหเ้ ดก็ เลก็ ไดร้ บั การพฒั นากอ่ นเขา้ รบั การศกึ ษาตามมาตรา 54 วรรคสอง การตรากฎหมายเพอื่ จดั ตง้ั กองทนุ ตามมาตรา 54 วรรคหก ภายใน 1 ปี มกี ลไกและระบบผลติ พฒั นาครู และอาจารย์ และปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทกุ ระดบั คณะกรรมการประจำ� กตกิ า ICESCR ไดม้ ขี อ้ สงั เกตตอ่ การเสนอรายงานการปฏบิ ตั ติ ามกตกิ าฯ ของประเทศไทย เมอ่ื เดอื นมถิ นุ ายน 2558 ในสว่ นสทิ ธดิ า้ นการศกึ ษาวา่ รฐั ควรดำ� เนนิ การเพอ่ื ประกนั วา่ เดก็ ทกุ คนในราชอาณาจกั ร จะเขา้ ถงึ การศกึ ษาระดบั ประถม ศกึ ษาสาเหตขุ องการออกจากโรงเรยี นกลางคนั ปรบั ปรงุ คณุ ภาพการศกึ ษา รวมถงึ การฝกึ อบรมครู สอดคลอ้ งกบั ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมการประจำ� อนสุ ญั ญา CRC ตอ่ การเสนอรายงานการปฏบิ ตั ติ าม อนสุ ญั ญาฯ ของประเทศไทยเมอื่ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2555 ทเี่ หน็ วา่ รฐั พงึ มนี โยบายหรอื มาตรการทป่ี ระกนั วา่ เดก็ ทกุ คน นบั แตแ่ รกเกดิ ถงึ วยั เรยี นจะเขา้ ถงึ โปรแกรมการพฒั นาเดก็ เลก็ แบบองคร์ วม (Holistic Early Childhood Development: ECD) มีมาตรการให้เด็กวัย 6 - 11 ปีท่ีอยู่นอกโรงเรียนได้มีโอกาสทางการศึกษา ศึกษาสาเหตุของการออกจาก โรงเรียนกลางคนั รวมทั้งมมี าตรการที่ชัดเจนในการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนและผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา ในรายงานผลการประเมนิ สถานการณด์ ้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561 กสม. ไดม้ ีข้อเสนอแนะ ในท�ำนองเดียวกัน กล่าวคือ รัฐควรด�ำเนินการปฏิรูปการศึกษาเพ่ือให้เด็กและเยาวชนทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา ท่ีมคี ณุ ภาพอยา่ งทว่ั ถึง รวมถงึ เด็กกอ่ นวยั เรยี น เดก็ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เดก็ ดอ้ ยโอกาสทางสังคมเด็กทีอ่ อกจาก โรงเรียนกลางคัน พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยอบรมและพัฒนาครู จดั การศึกษาท่มี ุง่ พฒั นาบุคลกิ ภาพ ความถนัด ความสามารถทางร่างกายและจติ ใจ ตลอดจนมีการติดตามการปฏริ ูปการศกึ ษา ในปี 2562 รัฐบาลได้ด�ำเนินการส่งเสริมสิทธิด้านการศึกษาต่อเนื่องจากปีท่ีผ่านมาตามแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 และเรอ่ื งการศกึ ษาอยูใ่ นประเดน็ ท่ี 11 ว่าดว้ ยการพฒั นาศักยภาพคนตลอด ชว่ งชีวติ แบง่ เป็นช่วงการต้งั ครรภจ์ นถึงปฐมวัย ช่วงวัยเรียนและวยั รนุ่ วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุ และประเด็นท่ี 12 ว่าดว้ ยการพัฒนาการเรยี นรู้ ได้แก่ การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต โดยมสี ถานการณ์ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง การดำ� เนนิ การของรฐั บาลและหนว่ ยงานของรฐั ตลอดจนปญั หาและอปุ สรรคในการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครอง สิทธดิ ังกล่าว ดังนี้ 3.3.1 การศกึ ษาของเด็กปฐมวัย ในชว่ งกอ่ นการจดั ทำ� รฐั ธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ นั มขี อ้ มลู บง่ ชว้ี า่ เดก็ ปฐมวยั ของไทยกวา่ รอ้ ยละ 30 มีพัฒนาการล่าช้ากว่ามาตรฐาน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้เด็กไทยมีปัญหาในการเรียนรู้และการศึกษา เช่น
คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ 82 National Human Rights Commission of Thailand ข้อมูลจากกรมอนามัยระบุว่า 2จ2ากสก่วานรสเด�ำ็รกวอจาเยกุ ี่ย3ว ก- ับ5กาปรี พมัฒีพันฒานขาอกงาเรดไ็กมเ่สล็กมเวมัยื่อสปูงีถ2ึงร5้อ5ย7ละพ3บ4ว่า16เด1็กกแารรกพเกัฒิดน - า2เดป็กี มีพัฒนาการไม่สมวัยร้อยละ ปฐมวัยจงึ เปน็ ประเด็นทไี่ ด้รบั การก�ำหนดไว้ในรฐั ธรรมนูญดังกล่าวขา้ งตน้ และเพือ่ ใหเ้ กิดการด�ำเนนิ การที่เป็นรปู ธรรม รฐั ได้ตราพระราชบญั ญัตกิ ารพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. 2562 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2562 เปน็ ตน้ ไป เพอื่ ให้เดก็ ซึ่งมอี ายตุ �่ำกวา่ 6 ปีได้รบั การคุ้มครองดแู ล และได้รบั การพฒั นากอ่ นเขา้ รับการศึกษาในระดับประถมศกึ ษา การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยตามกฎหมายดงั กลา่ วกำ� หนดให้มีการดแู ลเดก็ ตง้ั แตอ่ ยใู่ นครรภ์ และเมอ่ื คลอดแล้วเด็กจะตอ้ งได้ รบั การคมุ้ ครองใหอ้ ยรู่ อดปลอดภยั และมพี ฒั นาการทดี่ รี อบดา้ น รวมทง้ั กำ� หนดใหส้ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั จดั การเรยี นรู้ ทเี่ หมาะสมเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มแกเ่ ดก็ และใหผ้ ดู้ แู ลเดก็ ปฐมวยั ตอ้ งไดร้ บั ความรแู้ ละทกั ษะสำ� หรบั การพฒั นาเดก็ ดว้ ย การดำ� เนนิ การตามพระราชบญั ญตั นิ เี้ นน้ การบรู ณาการการทำ� งานรว่ มกนั ของทกุ ภาคสว่ นทงั้ หนว่ ยงาน ของรัฐองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม โดยมสี �ำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษาในฐานะ ฝา่ ยเลขานกุ ารของคณะกรรมการนโยบายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามพระราชบญั ญตั กิ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พ.ศ. 2562 เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ซ่ึงขณะน้ีอยู่ระหว่างการจัดท�ำร่างแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย พตัว.ศช.้ีวั2ดก5า6ร1ป ร- ับ2ป5ร6ุง4กฎปหรมะากยอบรดะว้เบยียยบุทธทศี่เกา่ียสตวขร์้อเงช่นกากราวริจพัยฒั พนัฒานบาทแบลาะทเผคยวแามพเรป่อน็ งพค่อ์คเวปา็นมแรมู้ เ่ ปก็นารตจ้นัด1ร6ะ2บบขขณอ้ ะมนลู ้ีแแผลนะ ดงั กล่าวอย่รู ะหวา่ งเสนอหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือพิจารณาต่อไป อย่างไรก็ตาม มผี แู้ สดงความกงั วลวา่ จำ� นวนบคุ ลากร ของส�ำนักมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้ ภายใต้ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาซ่ึงรับผิดชอบการ ดำ� เนนิ การตามกฎหมายฉบบั นีแ้ ละตามร่างแผนปฏบิ ัติการฯ อาจไม่เพยี งพอและไม่ได้สดั ส่วนกบั ปริมาณงาน และอาจ สง่ ผลใหก้ ารพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ไม่บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ 3.3.2 การเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 10 รับรองว่าบุคคลมีสิทธิและโอกาส เสมอกนั ในการรบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานไมน่ อ้ ยกวา่ สบิ สองปที ร่ี ฐั ตอ้ งจดั ใหอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย โขดอยงสขำ�้อนมกั ูลงสาถนิตเลิปขราะธชกิ าากรสรภในากกาารรศเขึก้าษถาึงตก้งัาแรตศ่ปึกกีษาารขศ้ันึกพษื้นาฐ2า5น5ต6าม - ท2่ีป5ร6า0ก1ฏ6ใ3นรมาีดยังงนา้ี นการศึกษาไทย พ.ศ. 2561 - ในภาพรวม นักเรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานในทกุ ระดบั ชน้ั ทว่ั ประเทศเมือ่ เทียบกับประชากร ในชว่ งอายุระหวา่ ง 3 - 17 ปี ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษามีสัดสว่ นสูงใกลเ้ คยี งกนั และไมเ่ ปลย่ี นแปลงมากนัก เชน่ ปีการศกึ ษา 2556 มรี อ้ ยละ 96.4 จากจำ� นวนประชากร 12,607,577 คน ปกี ารศึกษา 2558 มรี ้อยละ 95.2 จากจ�ำนวน ประชากร 12,469,766 คน และปกี ารศกึ ษา 2560 มรี อ้ ยละ 96.9 จากจำ� นวนประชากร 12,130,226 คน เปน็ ตน้ 161 จาก วิกฤตพัฒนาการเด็กปฐมวัยของไทย ต�่ำกว่ามาตรฐานถึง ๓๐% เร่งค้นหาเพื่อแก้ไขทันท่วงที, โดย Hfocus เจาะลกึ ระบบสขุ ภาพ, 2562. สบื คน้ จาก https://www.hfocus.org/content/2016/06/12324 162 จาก ร่างแผนปฏิบตั ิการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔, โดย สำ� นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2562. สบื คน้ จาก http://www.mua.go.th/users/budget/doc/0503_4_w657_detail.pdf 163 จาก รายงานการศึกษาไทย พ.ศ. ๒๕๖๑, น. ๑๖๕, โดย ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2562. สบื คน้ จาก https://pmnk.kkzone1.go.th/data/news3/24-02-2019-17-34-35_1344028011.pdf อนึ่ง รายงานการศึกษาไทย พ.ศ. 2561 ระบุแหล่งที่มาจาก ส�ำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยเป็นขอ้ มูลท่ปี รับปรงุ เมอ่ื วันที่ 3 สงิ หาคม 2561
83 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ - ในมติ กิ ารเขา้ ถงึ การศกึ ษาภาคบังคับ (ถงึ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น)164 ผู้ทเี่ รยี นในระดับชั้น ของการศกึ ษาภาคบงั คบั สว่ นใหญจ่ ะมอี ายรุ ะหวา่ ง 6 - 14 ปี ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษามจี ำ� นวนเพม่ิ ขน้ึ โดยในปกี ารศกึ ษา 2560 มนี กั เรยี นไดเ้ รยี นในระดบั การศกึ ษาภาคบงั คบั ทวั่ ประเทศในสถานศกึ ษาทกุ สงั กดั ถงึ รอ้ ยละ 98.8 จากจำ� นวน ประชากร 7,191,425 คน ซ่ึงต่างจากปีการศกึ ษา 2556 และ 2558 ทีม่ ีร้อยละ 94.5 จากจ�ำนวนประชากร 7,706,326 คน และรอ้ ยละ 96.5 จากจำ� นวนประชากร 7,438,384 คน ตามล�ำดบั อยา่ งไรก็ดี นกั เรียนท่ี ศกึ ษาตอ่ ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายมสี ดั สว่ นเพยี งประมาณรอ้ ยละ 70 ของประชากรทม่ี อี ายรุ ะหวา่ ง 15 - 17 ปี และมีสดั สว่ นลดลงจากร้อยละ 77.9 ในปี 2556 เหลอื เพียงร้อยละ 71.1 ในปี 2560 เนอ่ื งจากผู้เรียนบางคน ท่ีส�ำเรจ็ การศกึ ษาภาคบังคับประสงคเ์ ขา้ สู่ภาคแรงงานมากกว่าท่จี ะศกึ ษาต่อในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ขณะเดียวกัน มีข้อมูลว่าในปีการศึกษา 2558 - 2560 จ�ำนวนและร้อยละของนักเรียนออก กลางคันมีแนวโน้มลดลง คือ 5,567 คน 5,377 คน และ 4,038 คน ตามล�ำดับ ส่วนสาเหตขุ องการออกกลางคัน แโดลยะสร่ว้อนยใลหะญ1พ่ 0บวเก่าดิ รจอ้ ายกลกะาร2ส1มรเสก1ิด6จ5ากปัญหาครอบครัว ร้อยละ 17 เกดิ จากฐานะยากจนและหาเลย้ี งครอบครัว รฐัในบกาลารไดลต้ดรคาวพารมะเรหาลช่ือบมญั ลญ�้ำขตั อกิ องโงอทกนุ าเสพทอื่ าคงวกาามรเสศมึกอษภาาค(ซท่ึงาหงกมาารยศรกึวษมาถึงพเด.ศ็ก.ท2ี่ม5าจ6า1ก1ค6ร6อบโดคยรมัวี ที่มีฐานะยากจน) วตั ถปุ ระสงคป์ ระการหนง่ึ เพือ่ ส่งเสริมเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีพัฒนาการสมวัยพรอ้ มเข้าสู่ระบบการศกึ ษา ช่วยเหลือเยาวชน ผู้ด้อยโอกาสให้ส�ำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพครูให้พัฒนาเด็ก เยาวชนตามศักยภาพ ทต่ี ่างกัน สนับสนุนผดู้ อ้ ยโอกาสใหไ้ ด้รบั การศึกษาและพฒั นาทักษะการประกอบอาชพี ในการดำ� เนนิ การตามกฎหมายฉบบั นี้ รฐั บาลไดก้ ำ� หนดใหม้ รี ะบบสารสนเทศเพอื่ ความเสมอภาค 3บทที่ ทางการศึกษา (Information System for Equitable Education : iSEE) เพื่อเป็นฐานขอ้ มลู เด็กและเยาวชน ผู้ขาดแคลนทนุ ทรัพย์และด้อยโอกาสจำ� นวนมากกวา่ 4 ลา้ นคน ทัง้ ท่ีอยใู่ นและนอกระบบการศึกษา โดยเชอ่ื มโยง ทกบัางเลภขูมปศิ ราะสจตำ� รต1์ วั 6173แหลลว้ กนั ขำ� มองาเใดชก็้คแวลบะคคไู่ รปอกบับคโรควัรกงบกั าฐราทนี่ภขอ้าคมรลู ฐัภไาดค้ดรำ�ฐั เในนนิ 6อยกใู่รนะปทัจรวจงบุ ทันเี่ กเยี่ชวน่ ขอ้โคงรแงลกะารระเรบยี บนสฟารรีส1น5เทปศี เงินอดุ หนนุ นกั เรียนยากจน และกองทุนอาหารกลางวัน เปน็ ตน้ 164 มาตรา 17 ของพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กำ� หนดให้การศึกษาภาคบงั คบั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยกำ� หนดใหค้ นไทยต้องส�ำเรจ็ การศึกษาอย่างนอ้ ยที่สุดในระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น และตอ้ งเข้ารบั การศึกษาอยา่ งช้าสดุ เมอื่ อายุ 7 ปี ทั้งนี้ ผูท้ ี่เรียนในระดับชน้ั ของการศึกษาภาคบงั คับนี้สว่ นใหญจ่ ะมีอายุระหว่าง 6 - 14 ปี 165 จาก ระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นสงั คมและคณุ ภาพชวี ติ , จ�ำนวน อตั รา และสาเหตขุ องนกั เรยี นออกกลางคนั , โดย สำ� นกั งาน คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต,ิ 2562. สบื คน้ จาก http://social.nesdb.go.th/social/ 166 มีผลบังคบั ใชเ้ มือ่ วนั ท่ี 14 พฤษภาคม 256๑ 167 จาก “iSEE” ฐานข้อมูลช่วยแก้ปัญหาความเหล่ือมล้�ำของประเทศไทย, โดย กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทาง การศึกษา, 2562. สืบคน้ จาก https://www.eef.or.th/our-work/work-on-database/ อน่ึง ศักยภาพของ iSEE สามารถช่วยค้นหา คัดกรองเด็กเยาวชนทั้งในและนอกระบบการศึกษาอย่างละเอียดเป็นรายคน ส�ำรวจถึงท่ีอยู่ พบตัวตนจริงและใช้ระบบสารสนเทศที่มีความแม่นย�ำสูง ประมวลผล บริหารจัดการช่วยเหลือ ท้ังยังติดตามการมาเรียน และพัฒนาการจนส�ำเร็จ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นก�ำลังคนที่มีศักยภาพของประเทศตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสงั คม
คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 84 National Human Rights Commission of Thailand ผลการดำ� เนนิ การพบวา่ ในปีการศึกษา 2561 ไดจ้ ดั สรรเงนิ อุดหนุนอยา่ งมเี งอ่ื นไขใหแ้ ก่นกั เรียน ยากจนพิเศษ ไปแล้วกว่า 510,000 คน ซึง่ เรยี นอยูใ่ นสถานศกึ ษาสงั กดั สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 25,557แหง่ ทวั่ ประเทศในปกี ารศกึ ษา2562กองทนุ เพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษามแี นวทางจะขยายการดำ� เนนิ การ ไปยังโรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน โดยมีเป้าหมายจะจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่นักเรียนใน โรงเรยี นในสงั กดั กองบญั ชาการตำ� รวจตระเวนชายแดน จำ� นวน 218 แหง่ ในเบอ้ื งตน้ สามารถระบนุ กั เรยี นทม่ี คี วามยากจน หรอื ด้อยโอกาส จ�ำนวน 15,787 คน และผา่ นการคัดกรองเหลือจำ� นวน 13,037 คน ในด้านการเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นทไ่ี มม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎรไดร้ บั การศกึ ษาในโรงเรยี น รฐั บาล ไดม้ กี ารดำ� เนนิ การมาตง้ั แตป่ ี 2535 ตามมตคิ ณะรฐั มนตรเี มอ่ื วนั ท่ี 28 มนี าคม 2535 ทเ่ี หน็ ชอบใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั การศึกษาให้แกเ่ ดก็ ไมม่ ีหลกั ฐานทะเบียนราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาติไทย และได้มีการปรับปรงุ แนวทางการด�ำเนนิ งาน เพื่อขยายโอกาสดา้ นการศกึ ษาโดยไม่จำ� กดั ระดับ ประเภท และพื้นท่กี ารศึกษาแกเ่ ดก็ กลุ่มนี้มาเปน็ ล�ำดบั เชน่ การออก ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2548 รวมทงั้ ใหม้ กี ารจดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั ใหแ้ กส่ ถานศกึ ษา ในหลกั การ ไแดลม้ ะกี กาารรกอำ� อหกนเอดใกหสส้ าถราหนลศักกึ ฐษานาปกฏารบิ ศตั ึกติ ษอ่ าน1กั 6เร8ยี นทกั้งลนมุ่ี้ นในเี้ ชปน่ ีกเาดรยี ศวึกกษบั าบคุ 2ค5ล6ท1ม่ี สี ขญั ้อชมาูลตจไิ ทากยรทะกุ บปบรขะกอางรศูนทยง้ั ก์เทาครรโนบั โเขลา้ยเีแรยีลนะ การสอ่ื สาร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระบวุ า่ มเี ดก็ นกั เรยี นทไี่ มม่ สี ถานะทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ เี ลข 13 หลกั ซงึ่ ไดก้ ำ� หนด รหสั G ไว้ชัว่ คราว จ�ำนวน 78,897 คน แม้ว่าเดก็ กลมุ่ นี้จะไดร้ ับสทิ ธิทางการศึกษา แต่ยงั ประสบปญั หาการเขา้ ถงึ สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานทส่ี ำ� คญั อนื่ ๆ เชน่ การเดนิ ทางและการรบั บรกิ ารสาธารณสขุ หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งจงึ ไดร้ ว่ มกนั ดำ� เนนิ การ แก้ไขปัญหาสถานะทางทะเบียนราษฎรแก่เด็กกลุ่มนี้ เช่น การก�ำหนดให้มีกลไกคณะอนุกรรมการประสานงานและ ตดิ ตามการดำ� เนนิ งานการกำ� หนดสถานะบคุ คลในสถานศกึ ษา การกำ� หนดแนวทางแตง่ ตงั้ คณะทำ� งานแกไ้ ขปญั หาสถานะ ทางทะเบียนของนักเรียนประจ�ำจังหวัด เป็นต้น นอกจากน้ี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทยและหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวขอ้ งยงั ไดม้ คี วามพยายามสรา้ งระบบฐานขอ้ มลู กลางทีส่ ามารถยนื ยันบุคคล เพ่อื น�ำไปสู่การตรวจสอบและจัดท�ำ ทะเบียนราษฎรและก�ำหนดเลข 13 หลกั ให้กบั นักเรียนเหลา่ นีต้ อ่ ไป 3.3.3 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา รัฐบาลได้ประกาศแผนปฏิรูปด้านการศึกษาเมื่อเดือนพฤษภาคม 2562 ประกอบด้วยการปฏิรูป ทระเี่ กบย่ีบวกขาอ้ รงศกกึ าษรปาแฏลริ ะปู กกาารรเพรยีฒั นนราโู้ เดดยก็ รเวลมก็ ขแอลงะปเดรก็ะกเทอ่ ศนวโดยั ยเรจยี ดั นทกำ� าพรรปะฏรริาปูชบเพญั อ่ื ญลดตั คกิ วาารมศเกึ หษลาอ่ื แมหลง่ ำ�้ ชทาาตงฉิ กบาบัรศใหกึ ษมแ่าลเปะนก็ ฎตน้ห1ม6า9ย การตราพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 นอกจากจะมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหเ้ ดก็ ดอ้ ยโอกาสไดเ้ ขา้ ถงึ การศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถงึ ดงั กลา่ วข้างตน้ แลว้ ยงั มเี ปา้ หมายทจ่ี ะพฒั นาคณุ ภาพ 168 จาก คู่มือและแนวปฏิบัติส�ำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคล ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย (ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๐), โดย กระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/moe/upload/news20/ FileUpload/50931-4205.pdf 169 จาก แผนปฏริ ปู ดา้ นการศกึ ษา, โดย คณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษา, 2562. สบื คน้ จาก https://www. thaiedreform.org/knowledge/2880/
85 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ การศึกษาผ่านการพัฒนาคุณภาพครู โดยกองทุนฯ ให้การสนับสนุนเงินทุนในการด�ำเนินโครงการพัฒนาครู และโรงเรียนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ในช่วงเร่ิมต้นโครงการเป็นการสรุปผลการศึกษาและถอดบทเรียน ผลท่ีคาดว่าจะได้รับคือ มีสถาบันต้นแบบในการลดความเหลื่อมล้�ำทางการศึกษา ในมิติของคุณภาพโรงเรียนและ ครูในลักษณะเครือข่ายโรงเรียนพัฒนาร่วมกันทั้งระบบ จ�ำนวน 280 โรงเรียน และมีครูได้รับการพัฒนาทักษะ ในการจดั การเรียนการสอน จำ� นวน 5,600 คน ภคขแลอราคูผะงกกเู้สอราอกะร นชททในรบนวม ทสงสี วศาว่ นขกึนแาษรนวว่าิชวธมสทาิกพ�ำขาาหฒั างรรกดรนบั ะาแาผรบสคลอวุถลกอา่านากนร1กขศด7ร้อกึ �ำะ1สษเทนอารกบินใวนาวกงรโดัาฯคสรผร่งทลไงเดผ่ีกสก้ด่าารา�ำนรริมเศโมในรกึหางินษเ้นงรขาัากยี ้อ1นนเมร7เปีกยูล5รย่ีนจะเวาแปชกกลน็าบัแะรตผกฐัน้นนา1ักร7ปนศพ3ฏอึกัฒบิโกษคนตัจาราริากงคากกลชณุนาับกร้ีภมาใพนาราฒัพปกพกนารัฒระาาพนรจกศำ�าัฒาปึกรบนอษีง้าาา่บานคน1ปเุณอก7รอ0ะิภดกมา1เเพา7ขชณกย2ี่นานร2กกไศดาา5กึ1้รร6ษร7ใ1หับ4า้ กระทรวงศึกษาธิการแจง้ ว่าไดน้ �ำอนิ เทอรเ์ นต็ และการศึกษาทางไกลมาช่วยในการจัดการเรยี นการสอนด้วย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติระบุว่า ผลการทดสอบระดับ ก(ปาีกรศารกึ ศษกึ าษพาน้ื ฐ2า5น5(O9-N- E2T5)6ใน1ร)ะมดคี บั ะปแรนะนถเมฉศลกึ ่ยี ษอายปใู่ ทีน่ีร6ะดมับธั ยปมาศนกึ กษลาาปงถที ึง่ี 3ต่ำ� แ1ล7ะ6มธัดยงั มปศรกึากษฏาปในที ต่ี 6ารใานงรทอ่ี บ23 ปที ผ่ี า่ นมา 170 จาก ผลการด�ำเนินงานทีผ่ ่านมา ปรากฏในแผนปฏิบตั ิราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ของกระทรวง 3บทที่ ศึกษาธิการ, โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2562. สืบค้นจาก http://www.moe.go.th/moe/ nipa/download/ActionPlan2562.pdf ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม 171 เนอื่ งจากการสอบแขง่ ขนั บรรจบุ คุ คลเขา้ รบั ราชการครทู ผ่ี า่ นมาจะรบั เฉพาะผทู้ จี่ บการศกึ ษา ระบบ 5 ปี ในสาขา ท่ี ก.ค.ศ. รบั รอง ซึ่งท�ำใหบ้ ุคคลทจ่ี บการศึกษาระบบ 4 ปี ท่ีเรยี นในสาขาวิชาขาดแคลนไม่สามารถมาสอบเป็นครูได้ 172 มเี ปา้ หมายคดั เลอื กเขา้ รว่ มโครงการ 10 รนุ่ จำ� นวน 48,374 คน โดยจะทยอยบรรจเุ ขา้ รบั ราชการครใู นภมู ลิ ำ� เนา ของตนเองตง้ั แต่ พ.ศ. 2559 - 2568 173 เริ่มด�ำเนินการต้ังแต่ปี 2559 โดยให้ภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาเพื่อลดความเหล่ือมล้�ำ ทางการศกึ ษา ทง้ั การสนับสนุนงบประมาณ บุคลากร ซ่ึงมเี ปา้ หมายทีจ่ ะพฒั นาโรงเรียน รนุ่ ท่ี 1 จ�ำนวน 3,351 โรงเรยี น และ รนุ่ ที่ 2 จ�ำนวน 1,257 โรงเรียน 174 พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการอ่านและการเขียนภาษาไทย โดยผลการทดสอบความสามารถ พื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ในเรื่องความสามารถด้านภาษา ปีการศึกษา 2560 มีคะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 51.94 ซึ่งสูงกว่าปกี ารศกึ ษา 2559 และ 2558 ตามล�ำดับ 175 ทบทวนแนวทางการออกขอ้ สอบในเชงิ อตั นยั เนน้ การคดิ วเิ คราะห์ ดงั นี้ 1) สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาใชข้ อ้ สอบอตั นยั ในช้ันเรยี นทกุ ระดบั ชน้ั และทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามประกาศ สพฐ. 2) สง่ เสรมิ การต้ังคำ� ถามทก่ี ระตนุ้ การคดิ ในหอ้ งเรียน 3) การสอบ O-NET วิชาภาษาไทยชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 มีข้อสอบอตั นยั ร้อยละ 20 ต้งั แตป่ ีการศกึ ษา 2559 - 2560 และ 4) มแี นวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รฯ โดยมกี ารวดั และประเมนิ ผลเปน็ ระยะ ใหค้ วามสำ� คญั กบั คะแนน ระหวา่ งเรยี นมากกวา่ คะแนนปลายป/ี ปลายภาค (70 : 30 หรือ 80 : 20) เพ่ือให้สถานศกึ ษาใชเ้ ปน็ แนวทาง 176 จาก สถติ ิ O - NET, โดย สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๖๒. สบื คน้ จาก https:// www.niets.or.th/th/catalog/view/3865
คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 86 National Human Rights Commission of Thailand ตารางที่ 2 แสดงผลการทดสอบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานระหวา่ งปีการศึกษา 2559 - 2561 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มัธยมศึกษาปีที่ 6 วิชา / ปกี ารศึกษา 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 คณิตศาสตร์ 40.47 37.12 37.50 29.31 26.30 30.04 24.88 24.53 30.72 ภาษาองั กฤษ 34.59 36.34 39.24 31.80 30.45 29.45 27.76 28.31 31.41 วิทยาศาสตร์ 41.22 39.12 39.93 34.99 32.28 36.10 31.62 29.37 30.51 ภาษาไทย 52.98 46.58 55.90 46.36 48.29 54.42 52.29 49.25 47.31 ตารางท่ี 2 แสดงให้เห็นถึงผลการทดสอบในกลมุ่ วชิ าหลกั พบวา่ ผลการทดสอบในแต่ละระดับชั้น ยังไม่มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงท่ีดีข้ึนอย่างชัดเจน เช่น ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษและ ภาษาไทยมีคะแนนสูงข้ึน แต่กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มีคะแนนลดลง ส่วนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษมีคะแนนสูงข้ึน แต่กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และภาษาไทยมีคะแนนลดลง ท้ังน้ี ในภาพรวมพบว่ากลุ่มวชิ าคณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวทิ ยาศาสตรม์ ีคะแนนต�่ำกวา่ วิชาภาษาไทย แต่ทุกกล่มุ วชิ ามี คะแนนต่ำ� กว่าร้อยละ 50 นอกจากนี้ มขี อ้ มลู เกยี่ วกบั ผลการสอบ O-NET โดยเฉพาะระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่6 เมอื่ จำ� แนกตาม สงั กดั หรอื ภมู ภิ าค พบวา่ โรงเรยี นในสงั กดั ของสำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษามคี ะแนนเฉลย่ี ทกุ วชิ าสงู กวา่ รอ้ ยละ 50 เช่น วิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 69.65 วิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 65.82 เป็นต้น มขณคี ะะแทน่ีโนรงเฉเรลีย่ยี นวใชิ นาสคังณกติัดศสา�ำสนตักรง์รา้อนยคลณะะ3ก4รร -ม 3ก5ารแกลาะรวศชิ ึกาษภาาขษ้ันาพอื้นังกฐฤาษนรอ้แยลละะใน3ส5ังก -ัด 3ก6ร1ม7ส7่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ทงั้ น้ี ยงั ปรากฏขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ โรงเรยี นในพนื้ ทชี่ นบทยงั ขาดแคลนครบู างสายวชิ า ไดแ้ ก่ คณติ ศาสตร์ วขิทณยะาทศีข่ า้อสสตอรบ์ ภาOษ-าNอEงัTกฤมษลี ักแษลณะตะ้อเปง็นใชข้คอ้ รสูทอี่สนอเนชงิววชิ เิาคอร่นื ามะหาส์ซอึ่งไนมแ่สทอนดรควลม้อทงก้ังกันา1ร7เร8ยี นการสอนในปัจจุบนั เนน้ การทอ่ งจ�ำ สำ� หรบั นโยบายวา่ ดว้ ยการยบุ หรอื ควบรวมสถานศกึ ษาขนาดเลก็ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ รี ะเบยี บ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการจดั ตงั้ รวม หรอื เลกิ สถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2550 กำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละแนวทาง ในการจดั ตัง้ รวม หรอื เลิกสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ประกอบด้วยข้ันตอนการตรวจสอบ วางแผน และการมีส่วนร่วมจาก ผปู้ กครองนกั เรยี น และชมุ ชน ขอ้ มลู จากสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ระบวุ า่ มกี ารกำ� หนดแนวทางการ ดำ� เนนิ งานรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ เพอื่ รองรบั การปฏริ ปู การศกึ ษาในทศวรรษทส่ี อง พ.ศ. 2554 - 2561 ไดแ้ ก่ การบรหิ าร 177 แหล่งเดมิ . 178 จาก วเิ คราะห์ ‘คะแนนโอเน็ต’ เหตุใดยงั ย�ำ่ แย่??, โดย ไทยรฐั ออนไลน.์ เข้าถงึ จาก https://www.thairath.co.th/ content/413042
87 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ กจาัดรกบารรหิบาคุ รลจาดั กกรารกกาารรเบดรนิ หิ ทาารงจไปดั เกรายี รนวกิชราณกรีาวรมกโรางรเรบยี รนิห1า7ร9กขาณรเะงนิเดยีพวสั กดนั ุ ทด่ี ิน อาคารสถานทีแ่ ละสินทรพั ย์อ่นื ๆ และ ขอ้ มลู จากสำ� นกั เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาระบวุ า่ แนวทางการยุบหรือควบรวมสถานศึกษาขนาดเล็กมีกลไกการด�ำเนินการที่อาศัยการมีส่วนร่วมจากชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี รวมทั้งเมื่อมีการยุบหรือควบรวมสถานศึกษาใดแล้วจะมีมาตรการช่วยเหลือนักเรียน ท่ไี ด้รบั ผลกระทบจากการเดินทาง เช่น การจดั ใหม้ ีรถรับ - ส่งและการสนบั สนุนค่าเดินทาง เป็นต้น สำ� หรับโรงเรียน ขนาดเลก็ ทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษ เชน่ โรงเรยี นในพน้ื ทส่ี งู หา่ งไกล โรงเรยี นตามพน้ื ทชี่ ายแดน และโรงเรยี นบนเกาะ เปน็ ตน้ แม้จ�ำนวนนักเรียนและครูท่ีมีน้อยจะส่งผลต่อความคุ้มค่าและประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา แต่หากพิจารณา บส่งิรจิบำ� ทเปเช็นิง1พ8้ืน0ที่และสิทธิข้ันพ้ืนฐานด้านการศึกษาท่ีเด็กควรได้รับแล้ว การคงไว้ซึ่งสถานศึกษาลักษณะน้ีย่อมเป็น ข้อมูลจากคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระบุว่า ณ เดือนธันวาคม 2561 มีโรงเรียน ขนาดเลก็ ทม่ี นี กั เรยี นตำ�่ กวา่ 120 คน จำ� นวน 14,796 โรงเรยี น มนี กั เรยี นตำ่� กวา่ 40 คน จำ� นวน 2,845 โรงเรยี น ทโรีม่งเีนรักยี นเรใียนนพตน้ื �ำ่ ทกส่ีวงูา่ 14,109ค0นโรขงอเรปยี ิดนตแวั ลดะว้ โยรคงเวรายี มนสทมอ่ี ัคยรใู่ ในจพเพนื้ ียทงเ่ี ก8าะ3แโกรง่ งหเรา่ ียงไนกจลา1กท2ั้ง3หโมรงดเร2ยี ,น8ท4ง้ั5น้ีโมรโีงรเงรเียรนยี น18ข1นาดเลก็ บทประเมินสถานการณแ์ ละข้อเสนอแนะ รัฐบาลมีความพยายามด�ำเนินการเพ่ือส่งเสริมสิทธิของบุคคลในการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึง 3บทที่ ตามที่ได้มีการรับรองไว้ทั้งในสนธิสัญญาระหว่างประเทศ รัฐธรรมนูญและกฎหมายภายในท่ีเก่ียวข้อง โดยในปี 2562 รฐั บาลไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยการตรากฎหมายเฉพาะและกำ� หนดมาตรการและกลไก ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อประกันว่าเด็กวัยนี้จะได้รับการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวมและเหมาะสมกับวัย การมุ่งใหค้ วามชว่ ยเหลอื แก่เด็กจากครอบครวั ยากจนและเดก็ กล่มุ เสี่ยงอื่น ๆ เพอื่ ให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาหรือ เพือ่ ปอ้ งกนั การออกจากโรงเรยี นกลางคันหรอื การดำ� เนนิ งานของกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา รวมถึง ความพยายามพัฒนาคุณภาพการศึกษาผ่านการพัฒนาครูและการใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุนการเรียนการสอน โดยใหเ้ อกชนมสี ว่ นรว่ ม ซง่ึ กสม. เหน็ วา่ เปน็ มาตรการสำ� คญั แตใ่ นบางเรอื่ ง เชน่ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และการพฒั นา คุณภาพการศึกษา ยังต้องมีการด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้เห็นผลสัมฤทธ์ิที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ในการน้ี จงึ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้ 1. รัฐบาลควรเร่งจัดท�ำแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพ่ือให้การด�ำเนินการของหน่วยงานและ ภาคสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั และสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ซงึ่ กนั และกนั และควรมี ระบบก�ำกับดูแลการด�ำเนินการให้ครอบคลุมเด็กทุกกลุ่มอย่างท่ัวถึง รวมทั้งควรพิจารณาจัดสรรทรัพยากรและ บุคลากรทเี่ หมาะสมแกห่ นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบในเรื่องน้ีเพื่อให้สามารถบรรลุภารกจิ ตามเป้าหมายท่ีก�ำหนด 179 จาก แนวทางการด�ำเนนิ งานรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ เพอ่ื รองรบั การปฏริ ปู การศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง พ.ศ. 2554 - 2561, โดย สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน, 2562. สบื คน้ จาก http://202.29.216.149/smallschool/data/ guidelines.pdf 180 จาก มตอิ งคก์ รครคู า้ น ศธ. ยบุ ร.ร. เลก็ ‘สพฐ.’ คยุ แผนควบรวม ๗ ส.ค. น,ี้ โดย มตชิ นออนไลน,์ 2562. สบื คน้ จาก https://www.matichon.co.th/education/news_1610477 181 จาก กพฐ. ชงยุบรวม ๑.๘ หม่ืน ร.ร. เล็ก แกป้ ัญหาคุณภาพการศึกษา, โดย มติชนออนไลน์, 2562. สืบคน้ จาก https://www.matichon.co.th/education/news_1606007
คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ 88 National Human Rights Commission of Thailand 2. รฐั บาลควรสนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานของกองทนุ เพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการชว่ ยเหลอื เดก็ ทอ่ี อกจากโรงเรยี นกลางคนั เนอื่ งจากสาเหตตุ า่ ง ๆ เดก็ ทอ่ี ยนู่ อกระบบการศกึ ษา ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ และไดร้ บั การศกึ ษา ที่มีคุณภาพอย่างท่วั ถึง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอนั เปน็ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานตามที่ ได้รับการรับรองในรัฐธรรมนูญ รวมทั้งควรศึกษาวิเคราะห์สาเหตุปัจจัยที่ท�ำให้เด็กที่ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษา เช่น เดก็ ทตี่ อ้ งออกจากการศกึ ษาเนอื่ งจากการสมรส หรอื เพอื่ ไปประกอบอาชพี เนอื่ งจากมขี อ้ จำ� กดั ทางดา้ นฐานะทางเศรษฐกจิ เปน็ ต้น เพอ่ื ก�ำหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หาของเดก็ กล่มุ ดังกล่าวในระยะยาว 3. รัฐบาลควรเร่งพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนในสถานศึกษาทุกสังกัดทั้งที่อยู่ในความดูแลของกระทรวง ศึกษาธิการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานหรือองค์กรอ่ืนใด รวมถึงการพัฒนาคุณภาพและทักษะของครู โดยเฉพาะการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนในกลมุ่ วชิ าหลกั รวมทงั้ ควรมมี าตรการดา้ นการบรหิ ารหรอื มาตรการอน่ื ใด เพ่ือประกนั วา่ คุณภาพการเรยี นการสอนในสถานศึกษาภาคบังคบั ในทุกสังกัดจะมมี าตรฐานใกล้เคียงกนั 3.4 ธุรกิจกับสิทธมิ นุษยชน ภาพรวม จากสถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยธุรกิจท่ีเกิดข้ึนในหลายประเทศท่ัวโลก สหประชาชาติ จึงได้จัดท�ำแนวทางการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในบริบทของการประกอบธุรกิจข้ึนเรียกว่า หลักการชี้แนะเร่ือง สทิ ธมิ นษุ ยชนสำ� หรบั ธรุ กจิ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) ขน้ึ เม่ือปี 2554 หลักการดังกล่าวตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของพันธกรณีของรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศในการ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่มีอยู่แล้ว ซ่ึงรวมถึงพันธกรณีในการคุ้มครองบุคคลจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ไม่ว่าจะเกิดจากการกระท�ำโดยหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือโดยบุคคลอ่ืนซ่ึงรวมถึงธุรกิจเอกชนด้วย ทั้งน้ี หลกั การ UNGPs มีสาระสำ� คญั แบ่งเป็น 3 สว่ น ได้แก่ หนา้ ทข่ี องรฐั ในการคุ้มครองสทิ ธิ ความรบั ผดิ ชอบของ ธุรกิจในการเคารพสิทธิ และการเข้าถึงการเยียวยาของผู้ได้รับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจากการประกอบ ธเชุร่นกสิจน(ธPิสrญัotญeาcดt,า้ นRสeิทspธeมิ cนtุษaยnชdน1R8e2mแeตdใ่ yนกFาrรaจmดั eทwำ� oUrkN) G Pแsมไ้วด่าม้ UีกรNะGบPวsนกจาะรไมป่ไรดกึ ้มษีผาลหผาูกรือพกันบั ททากุงกภฎาคหสมว่านย ทง้ั ภาครฐั ภาคธุรกจิ องคก์ รภาคประชาสังคม และผไู้ ดร้ บั ผลกระทบในหลายประเทศ จึงท�ำใหไ้ ดร้ ับการยอมรับ ในวงกวา้ ง และหลายประเทศทวั่ โลกได้นำ� มาเปน็ แนวทางในการขบั เคลื่อนประเดน็ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน รัฐบาลไทยมีนโยบายในการส่งเสริมการประกอบธุรกิจที่เคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการ UNGPs และได้มอบหมายให้กระทรวงยุติธรรมจัดท�ำแผนปฏิบัติการระดับชาติด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนเพ่ือให้ หน่วยงานของรัฐและภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องน�ำหลักการชี้แนะฯ ไปปฏิบัติให้เกิดผล ในรายงานผลการประเมิน สถานการณด์ ้านสิทธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี 2561 กสม. ไดม้ ขี ้อเสนอแนะในเร่ืองธรุ กิจกับสทิ ธมิ นุษยชน 182 ปัจจุบันอยู่ระหว่างกระบวนการหารือเก่ียวกับการจัดท�ำร่างสนธิสัญญาดังกล่าว จาก https://www.business humanrights.org/sites/default/files/documents/Zero%20Draft%20BHR%20Treaty%20-%20Summary_0.pdf
89 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ หลายประการ เช่น แนวทางการจัดท�ำแผนปฏิบัติการระดับชาติฯ การพิจารณาก�ำหนดกลไกก�ำกับดูแลการลงทุน 3บทที่ ในตา่ งประเทศของผลู้ งทนุ สญั ชาตไิ ทย การพจิ ารณารปู แบบการเยยี วยาทหี่ ลากหลายนอกเหนอื จากตวั เงนิ การสนบั สนนุ ใหธ้ นาคารนำ� หลกั การเกย่ี วเนอ่ื งกบั สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน็ เงอ่ื นไขการพจิ ารณาปลอ่ ยสนิ เชอื่ การใหร้ ฐั วสิ าหกจิ แสดงบทบาท ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม เป็นผู้น�ำในการน�ำหลักการ UNGPs มาใช้ การให้ความส�ำคัญกับการป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงานใน อตุ สาหกรรมต่าง ๆ และการเผยแพร่ความรู้เกย่ี วกบั หลกั การ UNGPs แก่ผปู้ ระกอบการเอกชน เปน็ ตน้ ในปี 2562 รฐั บาลได้ด�ำเนนิ การตอ่ เนอ่ื งจากปีทีผ่ า่ นมา และมสี ถานการณ์สิทธิมนษุ ยชนท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการ ประกอบธุรกิจ ดงั นี้ 3.4.1 การจดั ท�ำแผนปฏบิ ัติการระดบั ชาติวา่ ดว้ ยธรุ กิจกบั สิทธมิ นษุ ยชน การจัดท�ำแผนปฏิบัติการน้ีได้เร่ิมในปี 2559 รัฐบาลได้มอบหมายให้กระทรวงยุติธรรมเป็น หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบหลกั และไดม้ กี ารแตง่ ตงั้ คณะกรรมการกำ� หนดแนวทางจดั ทำ� ตดิ ตาม และประเมนิ ผลตามแผน ปฏบิ ตั กิ ารระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยธรุ กจิ กบั สทิ ธมิ นษุ ยชนขน้ึ เพอ่ื เปน็ กลไกกำ� กบั การดำ� เนนิ งานในเรอื่ งนี้ กระทรวงยตุ ธิ รรม ไดด้ ำ� เนนิ กระบวนการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารฯ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตงั้ แตป่ ี 2560 ประกอบดว้ ยการรวบรวมขอ้ มลู สถานการณ์ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในระดับพื้นที่ การจัดประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ การหารือร่วมกับภาคภาครัฐและภาค ธุรกิจและการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อร่างแผนฯ จากภาคประชาสังคมร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการ สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ กระทรวงการตา่ งประเทศ และหนว่ ยงานสหประชาชาตใิ นประเทศไทย โดยไดป้ ระมวลขอ้ มลู และขอ้ คดิ เหน็ ทไี่ ดจ้ ากกระบวนดงั กลา่ วมาจดั ทำ� รา่ งแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ และเมอ่ื วนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2562 คณะรฐั มนตรี ได้มีมติเห็นชอบร่างแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2562 - 2565) ตามท่ีกระทรวงยุตธิ รรมเสนอ และได้มีการประกาศใชแ้ ผนดงั กล่าวแลว้ เม่อื วนั ท่ี 16 ธันวาคม 2562 แผนปฏิบัติการระดับชาติดังกล่าว ไดก้ ำ� หนดประเดน็ หลักทจี่ ะด�ำเนนิ การในชว่ งระยะท่ี 1 ไว้ 4 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1) ด้านแรงงาน 2) ด้านชุมชนทด่ี นิ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 3) ดา้ นนกั ปกปอ้ ง สิทธิมนุษยชนและ 4) ด้านการลงทุนระหว่างประเทศ และบรรษัทข้ามชาติ ในแต่ละด้านมีการก�ำหนด กิจกรรมท่ีภาครัฐจะต้องด�ำเนินการเพ่ือคุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมให้ภาคเอกชนประกอบธุรกิจโดยเคารพ สิทธิมนุษยชน และส่งเสริมให้ผู้ได้รับผลกระทบด้าน สิทธิมนุษยชนจากการประกอบธุรกิจได้เข้าถึงการ เยียวยาตามหลักการ UNGPs เช่น การพัฒนาและ ปรับปรุงกฎหมาย การก�ำหนดนโยบายหรือมาตรการ เพอื่ ใหก้ ารคมุ้ ครองสทิ ธมิ ปี ระสทิ ธผิ ลยงิ่ ขน้ึ การใหค้ วามรู้ แก่ผู้ประกอบการแรงงานและประชาชน การก�ำหนด แนวทางด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจและภาคธุรกิจ บรษิ ทั ลกู รวมท้งั หว่ งโซ่อุปทานของตน เคารพกฎหมาย
คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 90 National Human Rights Commission of Thailand มาตรฐานและหลักการสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ท้ังนี้ แผนปฏิบัติการฯได้ระบุหน่วยงานรับผิดชอบในแต่ละ กิจกรรม กรอบเวลาด�ำเนินการและตัวช้ีวัดเป็นรายกิจกรรม รวมทั้งได้ก�ำหนดให้มีการประเมินผลช่วงคร่ึงแผนฯ ในปี 2563 และเมอ่ื สนิ้ สุดแผนฯ ในปี 2565 3.4.2 บทบาทของรัฐวิสาหกิจในการน�ำหลักการ UNGPs มาใช้ หลักการ UNGPs ขอ้ 4 ได้กลา่ วถงึ บทบาทหน้าทข่ี องรฐั ท่จี ะตอ้ งมมี าตรการเพือ่ ปอ้ งกันการละเมดิ สิทธิมนุษยชนจากการประกอบธุรกิจทรี่ ฐั เป็นเจา้ ของหรอื เป็นผดู้ �ำเนนิ การ ในการสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารน�ำหลักการ UNGPs ไปใช้ รัฐบาลไทยจึงเห็นว่ารัฐวิสาหกิจควรเป็นแบบอย่างแก่ธุรกิจเอกชนในการน�ำหลักการ UNGPs ไปปรับใช้ โดยในปี 2561 กสม. ได้รว่ มกับส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง และโครงการพัฒนา แแกหผ่่งบู้สรหิหปารระขชอางชราฐั ตวสิิ า(UหNกิจกDวeา่ ve5l0opแmห่งe1n8t3 Programme: UNDP) จัดการสัมมนาเพื่อเผยแพร่หลักการ UNGPs ทงั้ นี้ ตวั อยา่ งของรฐั วสิ าหกจิ ทีน่ ำ� หลกั การ UNGPs ไปใช้ มีดังน้ี (1) สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย เปน็ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจแหง่ แรกท่ี ได้มกี ารประกาศนโยบายดา้ นสทิ ธมิ นุษยชนตามข้อ 16 ของหลักการ UNGPs เมื่อวันท่ี 1 กรกฎาคม 2562 โดยมี สาระส�ำคัญ กล่าวคือ คณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของสถาบันฯ ต้องตระหนักถึงความส�ำคัญและ เคารพตอ่ สทิ ธมิ นษุ ยชนในทกุ ดา้ นของบคุ คลทกุ คน ตลอดจนสงั คมและชมุ ชนตามกฎหมายและหลกั การ UNGPs รวมถงึ การปฏิบัติต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมปราศจากการเลือกปฏิบัติ การหลีกเล่ียงการกระท�ำท่ีเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน การสนบั สนุนสง่ เสริมสทิ ธิมนษุ ยชน และการสื่อสาร เผยแพร่ ให้ความรู้ ท�ำความเขา้ ใจ ก�ำหนดแนวทาง สอดส่องดแู ล และในการสนับสนุนอ่ืนใดแก่ผู้เก่ียวข้องในการด�ำเนินงานตลอดห่วงโซ่อุปทาน นอกจากน้ี สถาบันฯ จะมีการ ตั้งคณะท�ำงานเพ่ือจัดท�ำคู่มือประเมินความเส่ียงด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Due Diligence: HRDD) อในยเ่าบง้ือไรงตกน้็ดจี เงึ นจื่อะเงปจ็นากกภาราปรรกะิจเขมอนิ งคสวถาามบเสันี่ยฯงดม้วีงยาตนนวเิจอัยงกคอ่่อนน1ข8้า4งหลากหลายสาขา รวมทั้งให้บริการอุตสาหกรรมด้วย (2) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้มีประกาศธนาคาร พัฒนาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ ประเทศไทย ที่ 27/2562 เม่ือวนั ที่ 8 สิงหาคม 2562 เรื่อง นโยบาย ด้านการเคารพสิทธิมนุษยชนของธนาคาร เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ตลอดจนเพ่ือเน้นย้�ำถึงความส�ำคัญของ การก�ำกับดแู ลและบรู ณาการเร่ืองการเคารพสิทธมิ นุษยชนตามกฎหมายและกฎระเบยี บทใ่ี หก้ ารปกป้องสิทธิมนษุ ยชน ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศที่สอดคล้องตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และภารกิจของธนาคาร ซึ่งครอบคลุมถึงลูกค้า พนักงาน ตลอดจนคู่ค้า และผู้มีส่วนได้เสียตามห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) และห่วงโซ่คุณค่า (value chain) นอกจากการประกาศนโยบายในการทำ� ธรุ กจิ ทเี่ คารพสทิ ธมิ นษุ ยชน ซงึ่ เปน็ ขนั้ ตอนแรกในการนำ� หลกั การ UNGPs ไปใช้ 183 จาก การสมั มนาวชิ าการ เรอื่ ง “Leading by Example: รฐั วสิ าหกจิ ไทยสตู่ น้ แบบการท�ำธรุ กจิ ทเี่ คารพสทิ ธมิ นษุ ยชน” เมอื่ วนั ท่ี 5 เมษายน 2561 ณ โรงแรมเซ็นทราบายเซ็นทารา ศูนยร์ าชการและคอนเวนชนั เซ็นเตอร์ กรงุ เทพฯ จดั โดยสำ� นักงาน คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาต.ิ 184 แบง่ เป็นความเส่ยี ง 5 ด้าน ได้แก่ (1) การดำ� เนนิ การโครงการวจิ ยั ในพ้นื ที่ (2) ความเส่ียงตอ่ ลกู จา้ งของสถาบนั ฯ (3) ความเสยี่ งตอ่ ลกู จา้ งรบั เหมาคา่ แรง (4) ความเสยี่ งตอ่ ชมุ ชนและสงั คมรอบพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร (5) ความเสยี่ งตอ่ ลกู คา้ และผรู้ บั บรกิ าร.
91 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ และการใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจกบั พนักงานแล้ว ข้ันตอนต่อไป คอื การท�ำการประเมินความเสีย่ งด้านสทิ ธิมนษุ ยชน 3บทที่ ไขดอ้ยงนืธนยนัาควา่ารจแะลดะ�ำคเนู่คิน้ากแาลระในขเ้ันรตอ่ื องนน้อีทย่ีส่าางมจรคงิ ือจกงั า1ร8จ5ดั ตงั้ ศนู ย์การเยียวยาผู้ไดร้ ับผลกระทบ ทงั้ น้ผี บู้ ริหารของธนาคาร ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม นอกจากการด�ำเนินการของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 2 แห่งข้างต้น ในปี 2562 รัฐบาลได้มี การพฒั นาแนวทางการกำ� กบั ดแู ลการดำ� เนนิ งานของรฐั วสิ าหกจิ ทคี่ ำ� นงึ ถงึ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนมากขนึ้ โดยสำ� นกั งาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจได้ท�ำการปรับปรุงหลักการและแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ สงั คมและแนวปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งประเทศทเี่ ปลย่ี นแปลงไป และคณะรฐั มนตรี ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบหลกั การและแนวทางทปี่ รบั ปรงุ ใหมเ่ มอ่ื วนั ท่ี 26 มนี าคม 2562 และใหร้ ฐั วสิ าหกจิ รวมถงึ รฐั วสิ าหกจิ ทไี่ ดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื มตคิ ณะรฐั มนตรที ใี่ ชบ้ งั คบั กบั รฐั วสิ าหกจิ เปน็ การทว่ั ไป น�ำหลักการและแนวทางฯ ไปปฏบิ ตั ิและนำ� ไปใชก้ ับบริษทั ย่อยของรัฐวิสาหกจิ ด้วย หลักการและแนวทางการก�ำกับ ดูแลกิจการท่ีดีในรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 ได้วางแนวปฏิบัติที่ค�ำนึงถึงการเคารพสิทธิมนุษยชน เช่น ในหมวด 4 เรื่องบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ก�ำหนดให้ต้องมีการก�ำหนดนโยบายต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม ทั้งผู้มีส่วนได้เสีย ภายใน (พนกั งาน และลกู จา้ ง) และภายนอก (ลกู คา้ คคู่ า้ ชมุ ชน และสงิ่ แวดลอ้ ม) การคำ� นงึ ถงึ สทิ ธขิ องผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ตามกฎหมายและไม่กระท�ำการใด ๆ ท่ีเป็นการละเมิดสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี และการเปดิ เผยขอ้ มลู นโยบายการปฏบิ ตั ติ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ไวใ้ นรายงานประจำ� ปี นอกจากนี้ ในหมวด 5 เรื่องความยั่งยืนและนวัตกรรม ก�ำหนดให้รัฐวิสาหกิจพิจารณาจัดท�ำรายงานความย่ังยืนโดยค�ำนึงถึงกรอบรายงาน ท่ไี ดร้ ับการยอมรบั ในประเทศหรือในระดบั สากล ต่อมา เม่ือวันที่ 19 พฤษภาคม 2562 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการพัฒนาการ กำ� กบั ดแู ลและบรหิ ารรฐั วสิ าหกจิ พ.ศ. 2562 ซง่ึ มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการพฒั นาการกำ� กบั ดแู ลและบรหิ ารรฐั วสิ าหกจิ เพ่ือให้รัฐวิสาหกิจด�ำเนินกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี โดยมี คณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ เปน็ กลไกในการกำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาและการกำ� กบั ดแู ลรฐั วสิ าหกจิ ในภาพรวม 3.4.3 การสง่ เสริมการท�ำธรุ กจิ ทเี่ คารพสทิ ธมิ นษุ ยชนในภาคเอกชน สำ� นกั งานคณะกรรมการกำ� กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ (ก.ล.ต.) เหน็ ความสำ� คญั ของการ ส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์มีการประกอบธุรกิจท่ีคำ� นึงถึงสิทธิมนุษยชนตามหลักการ UNGPs จงึ ไดม้ กี ารลงนามในขอ้ ตกลง (MOU)กบั สำ� นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ (กสม.)เมอ่ื วนั ที่31พฤษภาคม 2562 เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างกันในการเผยแพร่ความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจให้บริษัท จดทะเบยี นและผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั ดแู ลของ ก.ล.ต. โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การนำ� หลกั การ UNGPs ไป ปรบั ใชต้ ามความเหมาะสมของแตล่ ะธรุ กจิ เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วมรี ะยะเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2562 - 2564) ทัง้ น้ี สำ� นกั งาน กสม. ไดร้ ่วมกับ ก.ล.ต. จัดการอบรมหลกั สูตร “ธรุ กจิ กบั สทิ ธิมนุษยชน ส�ำหรับภาคธุรกิจในตลาดทุนไทย” เมื่อวันท่ี 7 - 8 พฤศจิกายน 2562 เพื่อส่งเสริมให้ธุรกิจในตลาดทุน อาทิ 185 จาก SME Bank ประกาศกร้าว ยึดม่ัน - เคารพ หลักสิทธิมนุษยชน, โดย จ่ันเจา, 2562. สืบค้นจาก http://www.canchaonews.com/news/4865/
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ 92 National Human Rights Commission of Thailand บริษัทจดทะเบียน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการประกอบธุรกิจ ท่ีเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการ UNGPs และมีการฝึกปฏิบัติเพื่อให้สามารถน�ำกระบวนการประเมินความเส่ียง ด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านไปปรับใช้ในองค์กรของตนได้การอบรมดังกล่าวมีผู้เข้าร่วมประมาณ 70 คนจาก บรษิ ัทเอกชน 45 บริษทั ท่ปี ระกอบกจิ การหลากหลายประเภท เช่น กล่มุ อาหารและสินค้าอุปโภค กล่มุ อตุ สาหกรรม กลมุ่ พลงั งาน กลมุ่ อสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละกอ่ สรา้ ง และจากการประเมนิ ผล ผเู้ ขา้ รว่ มเหน็ วา่ การอบรมดงั กลา่ วเปน็ ประโยชน์ นอกจากน้ี บริษัทหลายแห่งมคี วามสนใจแต่ไม่สามารถเข้าร่วมการอบรมได้เนอ่ื งจากมีทนี่ ง่ั จ�ำกดั ก.ล.ต. จึงมแี ผนท่ีจะ จัดการอบรมอีกในอนาคต ท่ีมา: ส�ำนักข่าวอิศรา สทิ ธมิ น ษุ ยช นใหก้ บั สนมอาชกกิจไาดกร้ นบั ี้ทกร.าลบ.1ต8. 6ยแังลไะดม้มกี ีคาวราทมำ� รงา่วนมรมว่ ือมกกับบั สสว่มนาอคนื่ มใบนตริษลาัทดจทดนุ ทอะาเทบิียก.นลใ.ตน.กแาลระเตผลยาแดพหรล่หกั ทลักรพักยาฯ์ร จะรว่ มกนั จดั การอบรมหลกั สตู รเกย่ี วกบั ธรุ กจิ กบั สทิ ธมิ นษุ ยชน สว่ นสมาคมบรษิ ทั จดทะเบยี นไดม้ กี ารจดั ตงั้ Thailand Responsible Network ซึ่งจะมีการน�ำบริษัทในห่วงโซ่อุปทานมาร่วมในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองธุรกิจกับ สทิ ธิมนษุ ยชนด้วย ในสว่ นของการเปดิ เผยขอ้ มลู โดยความร่วมมอื ของ ก.ล.ต. และตลาดหลกั ทรพั ย์ อาจกำ� หนดให้การ ขดนั้ำ� เตนอนิ นกกาารรตราับมฟหงัลคกั วกาามรคUิดNเหG็นPตsอ่ เปเรน็ ื่อเงกดณังกฑลห์ ่านวงึ่1ใ8น7การเปดิ เผยรายงานประจำ� ปขี องแตล่ ะบรษิ ทั ซง่ึ ขณะนอ้ี ยใู่ นระหวา่ ง 186 จาก ก.ล.ต. จบั มอื กสม. ผลกั ดนั บจ. - ภาคธรุ กจิ ปฏบิ ตั ติ ามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนภาคสมคั รใจเชอ่ื ชว่ ยสรา้ งภาพลกั ษณท์ ด่ี ี ในสายตาตา่ งชาต,ิ โดย สำ� นักขา่ วอนิ โฟเควสท์ (IQ), ๒๕๖๒. สบื ค้นจาก https://www.ryt9.com/s/iq05/2997272 187 จาก การสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อมูลสถานการณ์สิทธิมนุษยชนเพ่ือประกอบการพิจารณาจัดท�ำรายงาน ผลการประเมนิ สถานการณด์ า้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ เมอื่ วนั ท่ี 4 กนั ยายน 2562 จดั โดย สำ� นกั งานคณะกรรมการ สทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาต.ิ
93 รายงานผลการประเมนิ สถานการณ์ ด้านสิทธิมนษุ ยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ ส�ำหรบั การนำ� หลกั การ UNGPs ไปใช้ในภาคธุรกิจ มขี อ้ มลู ว่าบริษทั เอกชนจ�ำนวนหน่งึ ได้มกี าร กปจำ�ำ�ฏกหบิ ดันตั (ดติมนอ่หโแายรชบงนงา)าย1นท8อ9่คี ยำ�กา่นางรงึ เถปปึงรน็ กะธากรรารเศมคน1าโร8ยพ8บแสาลิทยะดธริมา้ านนยสษุ งทิ ยาธนชมิ คนนวษุาเชมย่นชรบันกผขาดอิ รงชปบอรรบะษิ ตกทั อ่าศอสนงินั คเโตยมอบ(รCาล์ ยSงิ้ ดRคา้)์ คนสอคู่สมวิทมาธวมิ มิ นยนเิง่ั คษุ ยชยนื นั่ชขนจอำ�งกกบดัารรษิ(มจทั หา้ งหางชาานดน)ทแ1พิ9ล0ยะ์ และการจัดท�ำกระบวนการประเมนิ สถานะดา้ นสิทธิมนษุ ยชนอย่างรอบดา้ น (HRDD) ของ CPF เปน็ ต้น นอกจากนี้ มกี รณที บ่ี รษิ ทั เอกชนมกี ารเยยี วยาผไู้ ดร้ บั ผลกระทบเนอ่ื งจากการประกอบธรุ กจิ เชน่ กรณเี กดิ เหตไุ ฟไหมต้ คู้ อนเทนเนอรบ์ นเรอื ขนสง่ สนิ คา้ KMTC HONGKONG ขณะจอดเทยี บทา่ เรอื แหลมฉบงั อำ� เภอ ศรีราชา จังหวดั ชลบุรี เมือ่ วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2562 เปน็ ผลใหป้ ระชาชนที่อยูใ่ นบรเิ วณใกล้เคยี งได้รบั ผลกระทบ จำ� นวนกวา่ 300 รบาายทในแเลบะอื้ แงจตง้ น้ วผา่ ปู้จะรจะกา่ ยอคบ่ากชาดรเเชรอืยขสนำ� หสรง่ สับนิทครา้พั ดยงั ์สกินลทา่ ว่เี สไดียจ้หา่ายยเองกีนิ ตเยอ่ ยี ไวปย1า9ใ1หผ้ ไู้ ดร้ บั ผลกระทบคนละ 2,000 - 5,000 อยา่ งไรกต็ าม ยงั มรี ายงานขา่ วการละเมดิ สทิ ธแิ รงงานและสทิ ธมิ นษุ ยชนของประชาชนและชมุ ชน ใกลเ้ คียงโดยผปู้ ระกอบการบางราย เช่น กรณีบรษิ ัทแหง่ หนึง่ เลื่อนการจ่ายเงินค่าจ้างและเงินโบนัสใหแ้ กพ่ นกั งาน เรรายี ยกเดรอ้อื งนใแหลม้ ะกี ราารยจวา่ นัยมเงานิ ตดลงั อกดลนา่ วับ1แ9ต2่เดหือรนอื ธกนั รวณาเีคหมม2อื ง5แ6ร0แ่ หพง่ นหักนงง่ึ าซนง่ึ ตจงึง้ั มอยกี ใู่านรเชขุมตนอุมำ� เเมภื่ออวกันฉุ ทนิ ่ีา3ราเยมณษา์ จยงั นห2วดั 5ก6า2ฬสเพนิ ือ่ธ์ุ ถกู ประชาชนและชมุ ชนทอ่ี าศยั ในพนื้ ทค่ี ดั คา้ นดว้ ยเหตผุ ลวา่ กระบวนการจดั การรบั ฟงั ความเหน็ เพอื่ ขอประทานบตั ร เแปล็นะกโรรงะแบตว่งนแรกเ่าปร็นทพ่ีไมืน้ ่ชทอีต่ บาธนร้ำ� ร ซมง่ึ ชไมาว่คบร้าอนบใคชล้เพุมอ่ืผทู้มำ�ีสก่วานรไเดก้เษสตียรแแลละะผบู้ไรดิโ้รภับคผ1ล9ก3ระเปทน็ บตทน้ ุกกลุ่ม พ้ืนที่ต้ังของเหมืองแร่ 3.4.4 การลงทนุ ในต่างประเทศของผูล้ งทนุ สัญชาตไิ ทย ปจั จบุ นั มบี รษิ ทั ไทยไปลงทนุ หรอื ประกอบกจิ การในตา่ งประเทศมากขนึ้ โดยเฉพาะในประเทศ 3บทที่ เพอื่ นบา้ นแต่การไปลงทุนดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพ้ืนที่ในบางกรณี ในปี 2562 มีกรณีท่ีผู้ได้รับ ผลกระทบจากการประกอบธรุ กจิ ของผลู้ งทนุ สญั ชาตไิ ทยไดใ้ ชก้ ระบวนการทางศาลไทยเพอ่ื ขอใหม้ กี ารชดเชยเยยี วยา 188 จาก นโยบายดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชน การจา้ งงานและการปฏบิ ตั ติ อ่ แรงงานอยา่ งเปน็ ธรรม, โดย บรษิ ทั หาดทพิ ย์ จำ� กดั ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม (มหาชน), 2562. สืบคน้ จาก https://www.haadthip.com/storage/download/human-rights-policy-th.pdf 189 จาก รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐ บรษิ ัทหาดทพิ ย์ จ�ำกดั (มหาชน), โดย บรษิ ัท หาดทิพย์ จ�ำกดั (มหาชน), 2560. สบื ค้นจาก https://www.haadthip.com/storage/download/20180426-htc-csr-policy-th.pdf 190 จาก นโยบายดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชน Human Rights Policy, โดย บรษิ ทั อนิ เตอรล์ ง้ิ ค์ คอมมวิ นเิ คชน่ั จำ� กดั (มหาชน), 2562. สืบคน้ จาก https://investors.interlink.co.th/upload/Corporate_Governance/ 191 จาก ท่าเรอื แหลมฉบัง ตัวแทนสายเรือ ผบู้ รหิ ารท่าเรอื แหลมฉบงั และเทศบาลนครแหลมฉบงั จ่ายเงินเยียวยา ใหผ้ ้ทู ี่ได้รบั ผลกระทบจากเหตุสารเคมีระเบิด กวา่ ๓๐๐ ราย รายละ ๒,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ บาท รวมเปน็ เงนิ เกอื บ ๑ ลา้ นบาท, โดย voiceonline, 2562. สืบคน้ จาก https://www.voicetv.co.th/read/uYGY7raBt 192 จาก คนงานไทรอัมพฯ์ ชุมนุมทวงความชัดเจนบริษัทฯ ปมคา้ งโบนสั ‘ทหาร’ โผล่โตะ๊ เจรจาอา้ งดูแลความสงบ, โดย ประชาไท, 2562. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2019/04/81878 193 จาก ชาวบ้านต้อนผวู้ า่ ฯ กาฬสนิ ธย์ุ กเลกิ ค�ำขอประทานบตั รเหมืองแร่ ๒ บรษิ ทั เอกชน แฉพริ ุธอ้อื ! หมกเม็ดท�ำ เหมืองแรเ่ ถอ่ื น, โดย ไทยโพสต์, 2562. สบื คน้ จาก https://www.thaipost.net/main/detail/45351
คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ 94 National Human Rights Commission of Thailand ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ โดยเมอื่ วนั ที่ 12 - 14 มถิ ุนายน 2562 ตัวแทนชาวบ้าน 5 หมบู่ ้านในจงั หวัดอดุ รมีชัย ประเทศ กมั พชู า ไดย้ นื่ ฟอ้ งเปน็ คดแี บบกลมุ่ ตอ่ ศาลแพง่ กรงุ เทพ โดยกลา่ วอา้ งวา่ บรษิ ทั เอกชนของไทยแหง่ หนงึ่ ทเ่ี ขา้ ไปประกอบ ธรุ กจิ ในกมั พชู ามกี ารจดั การพน้ื ทส่ี มั ปทานราว 58,000 ไร่ โดยมกี ารไลร่ อ้ื และเผาทำ� ลายทรพั ย์ เปน็ ผลใหช้ าวบา้ นทเ่ี ปน็ เกษตรกรและมีฐานะยากจนในราชอาณาจกั รกัมพชู าประมาณ 700 ครอบครัวได้รบั ความเดือดรอ้ น ต่อมา ศาลชั้นตน้ มฟคีอ้ ำ�งสคง่ัดไแี มบร่ บบั ปพกจิ ตาริไดณ้ าซคง่ึ ดมเีรี ปาน็ยงคาดนแี วบา่ บทกนลามุ่ยเโนจอท่ื งกจจ์ าะกอเุทหธน็ รวณา่ อค์ า�ำจสมงั่ อีศปุาลสตรรอ่ คไปด1า้ น94ภาษาในการพจิ ารณาคดี แตผ่ รู้ อ้ งสามารถ ที่ผา่ นมา กสม. ได้รบั เรื่องรอ้ งเรยี นเกี่ยวกับการประกอบกจิ การของผู้ลงทนุ ไทยหลายกรณี และเคยมี ขอ้ เสนอแนะมาตรการเพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หาดงั กลา่ ว เมอ่ื ปี 2558 วา่ รฐั บาลควรมกี ารจดั ตง้ั กลไกในการกำ� กบั ดแู ลการลงทนุ ในตา่ งประเทศของผลู้ งทนุ สญั ชาตไิ ทย และนำ� หลกั การชแี้ นะฯ มาเปน็ กรอบในการดำ� เนนิ การ รวมทงั้ หากรฐั บาลประสงค์ จะแสดงเจตนารมณท์ างการเมอื งในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ กอ็ าจพจิ ารณาใชเ้ ครอ่ื งมอื เชงิ นโยบาย อาทิ การจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ าร ระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยธรุ กจิ กบั สทิ ธมิ นษุ ยชน ซง่ึ คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ มอื่ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2559 รบั ทราบขอ้ เสนอแนะน้ี และเม่ือพิจารณาแผนปฏิบัติระดับชาติฯ ในด้านการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติ แม้จะไม่มีการ จดั ตง้ั กลไกกำ� กบั ดแู ลการลงทนุ ของไทยในตา่ งประเทศตามท่ี กสม. เสนอ แตพ่ บวา่ มกี จิ กรรมทจ่ี ะมสี ว่ นชว่ ยปอ้ งกนั การ ละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนของผลู้ งทุนไทยในตา่ งประเทศหลายกิจกรรม เชน่ การสร้างความตระหนักแกผ่ ปู้ ระกอบการไทย ที่จะไปลงทุนในต่างประเทศในการเคารพหลักสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมให้ความส�ำคัญกับการประกอบธุรกิจท่ีส่ง ผลกระทบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม และการก�ำหนดแนวทางป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในโครงการลงทุนของ รฐั วสิ าหกิจและธุรกิจไทยในตา่ งประเทศ รวมท้งั กลไกการร้องเรยี น เป็นตน้ บทประเมนิ สถานการณ์และข้อเสนอแนะ กสม. มคี วามยนิ ดที ร่ี ฐั บาลไดป้ ระกาศใชแ้ ผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ชาตวิ า่ ดว้ ยธรุ กจิ กบั สทิ ธมิ นษุ ยชน เปน็ ประเทศแรก ในเอเชยี ซง่ึ เปน็ การยนื ยนั ถงึ เจตนารมณข์ องรฐั บาลในการสง่ เสรมิ การทำ� ธรุ กจิ ทเี่ คารพสทิ ธมิ นษุ ยชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ประเด็นหลกั 4 ประเดน็ ท่กี ำ� หนดในแผนปฏิบตั ิการฯ ล้วนเปน็ ประเดน็ สำ� คญั ที่สมควรไดร้ บั การดแู ลแก้ไข ทงั้ ประเดน็ เรื่องแรงงานซ่ึงมีความท้าทายในเรื่องของการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองแรงงานอย่างมีประสิทธิผล การคุ้มครอง แรงงานนอกระบบ และการปรับปรุงพัฒนากฎหมายในบางเรื่องให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศมากยิ่งขึ้น เชน่ สทิ ธิในการรวมตัวและการเจรจาต่อรอง เปน็ ตน้ สว่ นอีก 3 ประเด็น คอื ดา้ นชุมชน ท่ดี นิ ทรพั ยากรธรรมชาติ และ สง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นนกั ปกปอ้ งสทิ ธมิ นษุ ยชน และดา้ นการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ เปน็ กรณที กี่ ารประกอบธรุ กจิ สง่ ผลกระทบ ตอ่ สุขภาพ ความปลอดภยั ในชีวิต และวิถชี ีวติ ของชมุ ชน และยงั คงเปน็ ปญั หาในหลายพ้ืนที่ท่วั ประเทศ กสม. จงึ หวงั วา่ แผนปฏิบัติการระดับชาติฯ จะน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาดังกล่าว รวมทั้งท�ำให้ผู้ประกอบการด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึง สทิ ธมิ นุษยชนมากข้นึ ในการน้ี กสม. มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี 194 จาก ขอเชิญร่วมสังเกตการณ์ การไต่สวนคดี กรณีชาวบ้านจาก #กัมพูชา ย่ืนฟูอง #คดีแบบกลุ่ม [อ้างอิงจาก สถานะเฟซบุ๊ก], โดย ETO Watch Coalition เครือข่ายติดตามการลงทุนไทยและความรับผิดชอบข้ามพรมแดน, 2562, 11 มิถุนายน. สืบคน้ จาก https://www.facebook.com/ETOWatchCoalition/posts/2321477287967195/
95 รายงานผลการประเมินสถานการณ์ ด้านสทิ ธมิ นุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๒ 1. รัฐบาลควรให้ความส�ำคัญกับกระบวนการแปลงแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้าง ความเข้าใจแก่หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบการด�ำเนินการตามแผนฯ การก�ำหนดแนวทางบูรณาการ การทำ� งานระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งและระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั กบั ภาคเอกชน ตลอดจนกระบวนการตดิ ตาม ความก้าวหน้าในการด�ำเนินการเป็นระยะอย่างสม่�ำเสมอ นอกจากนี้ ควรมีการก�ำหนดตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์หรือ เป้าหมายท่ีตอ้ งการบรรลใุ นประเดน็ หลักแต่ละด้านในชว่ ง 4 ปีของแผนฯ นอกเหนอื จากตวั ชว้ี ดั ในแตล่ ะกิจกรรม ซงึ่ เปน็ เพยี งตวั ชวี้ ดั ระดบั ผลผลิตซึ่งยังไมส่ ะทอ้ นผลสัมฤทธ์ขิ องกจิ กรรมตอ่ การแกไ้ ขปญั หา 2. รฐั บาลควรใหร้ ฐั วสิ าหกจิ เปน็ แบบอยา่ งในการนำ� หลกั การ UNGPs ไปใชใ้ นการประกอบธรุ กจิ รวมถงึ การ ทำ� การประเมินความเส่ียงดา้ นสิทธมิ นษุ ยชนอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในโครงการขนาดใหญ่ทม่ี ีผลกระทบ ตอ่ ประชาชนในพนื้ ที่ และการจดั ใหม้ ชี อ่ งทางการเยยี วยาแกผ่ ไู้ ดร้ บั ผลกระทบทป่ี ระชาชนเขา้ ถงึ ได้ โดยอาจกำ� หนด เป็นแนวปฏบิ ัตเิ พ่มิ เตมิ ไวใ้ นหลกั การและแนวทางการกำ� กับดูแลกจิ การท่ีดใี นรฐั วสิ าหกิจ พ.ศ. 2562 3. รฐั บาลควรมกี ารเผยแพรแ่ ผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ชาตฯิ ใหภ้ าคประชาสงั คมและภาคประชาชนในฐานะเปน็ ผทู้ ่ี อาจไดร้ บั ผลกระทบจากการประกอบธรุ กจิ ไดร้ บั ทราบและเขา้ ใจถงึ ความสำ� คญั ของแผนฯ และสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชน มีส่วนรว่ มตดิ ตามความกา้ วหน้าหรอื อุปสรรคในการดำ� เนินการตามแผนฯ ผา่ นกระบวนการสอื่ สารเป็นระยะ ๆ 3บทที่ ิสกาทร ิธปด้ราะเนเ ิมศนรสษถฐากินจกา ัสรงคณ์ม และวัฒนธรรม
คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 96 National Human Rights Commission of Thailand บทท่ี การประเมนิ สถานการณ์ สทิ ธมิ นษุ ยชนของ กลมุ่ บคุ คล 97 สทิ ธิเดก็ 109 สิทธิผู้สงู อายุ 118 สิทธคิ นพิการ 128 สทิ ธิสตรี 140 ผมู้ ปี ญั หาสถานะและสทิ ธิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 654
Pages: