Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.1-2.4

(2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม 2.1-2.4

Published by agenda.ebook, 2020-05-30 23:25:53

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 7-8 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันที่ 24-25 มิถุนายน 2563

Search

Read the Text Version

แผนภาพที่ 2 โครงสรา้ งส�ำนกั งานคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ เลขาธิการคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ ทปี่ รกึ ษาสาํ นกั งานคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ หนว่ ยตรวจสอบภายใน สํานัก สํานกั กิจการ สํานักคมุ้ ครอง สํานกั ส่งเสรมิ สํานักเฝ้าระวงั สํานกั มาตรฐาน สํานัก สํานักกฎหมาย สํานกั ดจิ ทิ ลั บรหิ ารกลาง คณะกรรมการ สิทธิมนษุ ยชน การเคารพ และประเมิน และตดิ ตาม สิทธมิ นษุ ยชน สิทธมิ นษุ ยชน สิทธมิ นุษยชน สถานการณ์ การคมุ้ ครอง ระหวา่ งประเทศ ฝ่ายช่วยอาํ นวยการ กลุม่ งานบรหิ ารทัว่ ไป ฝ่ายช่วยอํานวยการ สิทธมิ นษุ ยชน สิทธมิ นุษยชน ฝา่ ยช่วยอํานวยการ แห่งชาติ ฝ่ายช่วยอํานวยการ ฝ่ายชว่ ยอํานวยการ กลุ่มงานเสนอแนะ กลุ่มงานพัฒนา กลมุ่ งานบริหาร กลมุ่ งานตรวจสอบ ฝ่ายชว่ ยอาํ นวยการ ฝา่ ยชว่ ยอาํ นวยการ การแกไ้ ขปรบั ปรงุ ระบบสารสนเทศ งานทรพั ยากรบุคคล ฝา่ ยชว่ ยอํานวยการ การละเมดิ กลมุ่ งานกลน่ั กรอง กล่มุ งานความรว่ มมอื และฐานข้อมลู กลมุ่ งานส่งเสรมิ กลุ่มงานเฝ้าระวังและ รบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี นและ สิทธิมนุษยชน กฎหมาย 1 กลมุ่ งานพัฒนา กลมุ่ งานอาํ นวยการ สิทธิมนษุ ยชน 1 สิทธิมนษุ ยชน ประเมนิ สถานการณ์ ประสานการคมุ้ ครอง กลุม่ งานเสนอแนะ กลมุ่ งานคอมพิวเตอร์ ระบบงานและ กจิ การคณะกรรมการ ระหวา่ งประเทศ 1 การแกไ้ ขปรบั ปรงุ และระบบงานเครอื ขา่ ย สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ กลุ่มงานตรวจสอบ กล่มุ งานพัฒนา สิทธิมนษุ ยชน 1 สทิ ธมิ นษุ ยชน พัฒนาบคุ ลากร การละเมดิ ความรว่ มมอื กลมุ่ งานความร่วมมือ กฎหมาย 2 กลุ่มงานสารสนเทศ กล่มุ งานนโยบาย เครือขา่ ย กล่มุ งานเฝ้าระวังและ กลุ่มงานมาตรฐาน 43สิทธิมนษุ ยชน กลุ่มงานคลงั และยทุ ธศาสตร์ สิทธมิ นุษยชน 2 ประเมินสถานการณ์ รายงานการคมุ้ ครอง กลมุ่ งานนติ ิการ กลมุ่ งาน บทท่ีระหว่างประเทศ 2 กลมุ่ งานพัสดุ กลุ่มงานวจิ ัย กลุ่มงานตรวจสอบ ส่ือสารองค์กร สิทธิมนษุ ยชน 2 สิทธมิ นุษยชน 1 สิทธิมนษุ ยชน การละเมดิ กลุม่ งานความรว่ มมอื กล่มุ งานศูนยศ์ ึกษา กลุ่มงานเฝ้าระวังและ กลมุ่ งานติดตาม บทท่ีสิทธมิ นุษยชน สิทธมิ นษุ ยชน 3 และประสานงาน ประเมินสถานการณ์ และสารบบสํานวน 2 ด้านสิทธิมนุษยชน บทที่ระหวา่ งประเทศ 3 กลุ่มงานตรวจสอบ ในภูมิภาค สิทธิมนุษยชน 3 3 การละเมิด บทท่ี 4 สิทธมิ นุษยชน 4 บทท่ี 5 กลมุ่ งานตรวจสอบ ภาค การละเมดิ ผนวก สิทธิมนุษยชน 5 กลมุ่ งานตรวจสอบ การละเมิด สิทธิมนษุ ยชน 6 กลุ่มงานตรวจสอบ การละเมิด สิทธิมนุษยชน 7 ที่มา: ส�ำ นักบรหิ ารกลาง (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 44 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ 1.3 วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจ วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ (Vision) (Mission) (Goals) “เป็นสถาบันอิสระ 1) ดำ�เนนิ งานให้เกดิ เปา้ ประสงคห์ ลกั ในการรว่ มสรา้ งสังคม การปฏบิ ตั ติ ามรัฐธรรมนญู ให้เคารพสิทธิมนษุ ยชน” “ทกุ ภาคส่วนของสังคมมคี วามรู้ กฎหมาย พันธกรณี ความเขา้ ใจและตระหนกั ถึง ระหวา่ งประเทศ ด้านสิทธิมนุษยชน สทิ ธมิ นษุ ยชน รวมทง้ั เคารพในศกั ดศ์ิ รี ท่ปี ระเทศไทยจะต้อง ความเปน็ มนษุ ย์ สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาค” ปฏบิ ัตติ าม 2) สง่ เสริมความร้คู วามเข้าใจ เปา้ ประสงคร์ อง และสรา้ งความตระหนกั 1) ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ในหลักสทิ ธิมนษุ ยชน สทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติเกิดผลใหม้ ี แก่ทกุ ภาคสว่ นอยา่ งทั่วถงึ และเปลย่ี นแปลงในด้านนโยบาย และค้มุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน ของรฐั บาล ตลอดจนการตรากฎหมาย อยา่ งเท่าเทียมกนั 3) ทำ�งานร่วมกบั ทุกภาคส่วน เพอ่ื อนวุ ตั กิ ารตามพนั ธกรณี ในลักษณะเครอื ขา่ ย ระหวา่ งประเทศดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชน ทป่ี ระเทศไทยจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม อยา่ งเปน็ ระบบ ดว้ ยกระบวนการปฏบิ ตั งิ าน และการปรบั ปรงุ กฎหมาย ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน ทม่ี มี าตรฐาน 2) คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 4) ประสานความร่วมมือ กบั สถาบนั สทิ ธิมนุษยชน มปี ระสทิ ธภิ าพในการท�ำ งาน โดยเฉพาะการท�ำ งานเชงิ รกุ และเนน้ ระดบั นานาชาติ ประเดน็ ส�ำ คญั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ สงั คม ทง้ั ดา้ นการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน 3) คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ มคี วามเขม้ แขง็ ทางวชิ าการเพอ่ื เปน็ สถาบนั หลกั ในดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชน 4) การด�ำ เนนิ งานของคณะกรรมการ สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ไดร้ บั ความเชอ่ื มน่ั จากประชาชนสงู ยง่ิ ขน้ึ 5) ยกสถานะคณะกรรมการ สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ

45 1.4 ยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2565 บทท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2565 ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 17 กลยุทธ์ ดังนี้ บทที่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สง่ เสริมและติดตามให้ทกุ ภาคส่วนของสงั คมเกดิ การเคารพสิทธิมนุษยชนตามที่ไดร้ บั การรบั รองตามรฐั ธรรมนูญ 2 แห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายไทย และพนั ธกรณรี ะหว่างประเทศดา้ นสทิ ธมิ นุษยชนทีป่ ระเทศไทย บทที่ กลยทุ ธท์ ี่ 1.1 จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตาม 3 ตดิ ตามและผลกั ดนั ให้ภาครัฐปฏบิ ัติตามข้อเสนอแนะท่สี ำ�คญั ของคณะกรรมการประจำ�สนธสิ ัญญา บทท่ี กลยทุ ธ์ที่ 1.2 ด้านสิทธมิ นษุ ยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี 4 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ติดตามและสนบั สนนุ ใหห้ น่วยงานภาครฐั ปฏิบัติตามแผนสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ บทท่ี เนน้ การด�ำ เนินงานที่ก่อใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงเชิงโครงสรา้ งของภาครฐั และภาคเอกชนโดยการขบั เคล่ือน 5 กลยทุ ธท์ ่ี 2.1 และผลกั ดนั อยา่ งเป็นระบบ เพ่อื ป้องกันและแก้ปัญหาด้านสทิ ธมิ นุษยชน ภาค เน้นภารกิจในด้านการใหข้ อ้ เสนอแนะนโยบายและขอ้ เสนอในการปรบั ปรุงกฎหมายท่สี ำ�คญั ต่อรฐั สภา ผนวก กลยุทธ์ท่ี 2.2 และคณะรัฐมนตรีเพอ่ื ให้สอดคล้องกับหลกั สทิ ธิมนุษยชน กลยทุ ธ์ที่ 2.3 กำ�หนดประเดน็ ปัญหาหรอื พ้นื ทส่ี �ำ คญั ในการปฏิบัติงานประจำ�ปี ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 สนบั สนนุ บทบาทของภาคธรุ กจิ ในการเคารพสทิ ธิมนุษยชน มุง่ การทำ�งานรว่ มกับเครอื ขา่ ยภายในประเทศและพันธมติ รในเวทีระหว่างประเทศ เพอ่ื ให้เกิดการสรา้ งพลงั กลยุทธ์ท่ี 3.1 (synergy) ในการท�ำ งานร่วมกัน พฒั นาการด�ำ เนนิ งานและจดั ใหม้ แี ผนการสรา้ งเครอื ขา่ ยและท�ำ งานรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน กลยุทธ์ท่ี 3.2 ภาคประชาสังคม นกั ปกปอ้ งสิทธิมนุษยชน และชุมชนในการส่งเสรมิ และคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน สง่ เสรมิ ใหส้ ถาบันวชิ าการในทอ้ งถ่นิ เปน็ ที่พง่ึ ของชมุ ชนเพือ่ การส่งเสริมสิทธมิ นุษยชนและแก้ไขปัญหา กลยทุ ธท์ ี่ 3.3 การละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนในพนื้ ที่ เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื กบั พนั ธมติ รในเวทรี ะหวา่ งประเทศ ในการแลกเปลย่ี นความรู้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการท�ำ งาน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 และพฒั นาศกั ยภาพขององคก์ ร ส่งเสริมความรคู้ วามเขา้ ใจและสรา้ งความตระหนกั ในเรอื่ งสิทธมิ นุษยชน ส่อื สารเกีย่ วกับสถานการณ์ กลยุทธ์ท่ี 4.1 ดา้ นสทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทย รวมทง้ั ผลงานส�ำ คัญของกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติตอ่ สาธารณชน อยา่ งถกู ตอ้ งและทว่ั ถึง กลยุทธท์ ี่ 4.2 พฒั นางานสง่ เสรมิ สทิ ธมิ นษุ ยชนและจดั ใหม้ แี ผนในการสง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั สทิ ธมิ นษุ ยชนท่ีครอบคลุม เนอื้ หา กลมุ่ เปา้ หมาย และกระบวนการทหี่ ลากหลายและเหมาะสม กลยทุ ธ์ท่ี 4.3 พฒั นากลไก ตดิ ตาม เฝ้าระวงั สถานการณส์ ทิ ธมิ นุษยชน และช้แี จง แสดงทา่ ทีตอบสนองต่อปญั หา กลยุทธท์ ี่ 4.4 และสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่ส�ำ คัญอย่างถูกตอ้ งและมีประสทิ ธิภาพ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 จดั ให้มีศนู ยก์ ลางความรูแ้ ละแหล่งข้อมลู ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชน พฒั นาการส่อื สารองค์กร/การประชาสมั พนั ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 5.1 เสรมิ สร้างและพฒั นากระบวนการทำ�งานและการบริหารจดั การองค์กรใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์ โดยยึดมนั่ คณุ ธรรม กลยุทธ์ท่ี 5.2 และความโปรง่ ใส ปรบั ปรงุ กระบวนการท�ำ งานในภารกิจหลักขององค์กร (Core Business Process Redesign) กลยทุ ธ์ที่ 5.3 พัฒนาการบรหิ ารจดั การองคก์ ร ทรัพยากรบคุ คลและงบประมาณอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ด้วยความเปน็ ธรรม กลยทุ ธท์ ่ี 5.4 และโปร่งใส พฒั นาให้เป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) กลยุทธท์ ี่ 5.5 จัดใหม้ สี ถาบนั พฒั นาระบบและองค์ความรู้ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชนภายใต้การกำ�กับดแู ลของกรรมการสทิ ธิมนุษยชน แหง่ ชาติ พฒั นาระบบการท�ำ งานขององคก์ รใหท้ นั กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารดจิ ทิ ลั (Digital)

รายงานผลการปฏิบตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 46 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ความเช่อื มโยงระหว่างยุทธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ แสดงไดด้ งั แผนภาพท่ี 3 ดังนี้ แผนภาพที่ 3 ความเชอื่ มโยงระหว่างยุทธศาสตรค์ ณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาตแิ ละกลุยทธ์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 มงุ การทาํ งานรวมกับเครือขาย สง เสรมิ และตดิ ตามใหท กุ ภาคสว น เนน การดาํ เนนิ งานทกี่ อ ใหเ กดิ ภายในประเทศและพันธมิตร สงเสริมความรูความเขา ใจ เสรมิ สรา งและพฒั นากระบวนการ ของสงั คมเกดิ การเคารพ การเปลยี่ นแปลงเชงิ โครงสรา ง ในเวทีระหวางประเทศ เพ่ือให และสรา งความตระหนกั ในเรอื่ ง ทํางานและการบริหารจดั การ สทิ ธมิ นษุ ยชนตามทไ่ี ดร บั ของภาครฐั และภาคเอกชน เกิดการสรางพลงั (synergy) สทิ ธิมนษุ ยชน สอ่ื สารเก่ียวกับ องคกร ใหเกิดผลสมั ฤทธิ์ การรบั รองตามรฐั ธรรมนญู โดยการขบั เคลอื่ นและผลกั ดนั สถานการณดา นสิทธิมนุษยชน โดยยดึ ม่นั คณุ ธรรมและ แหง ราชอาณาจกั รไทย อยา งเปน ระบบ เพอ่ื ปอ งกนั และ ในการทาํ งานรว มกนั ในประเทศไทย รวมท้ังผลงาน ความโปรงใส กฎหมายไทย และพนั ธกรณี แกป ญ หาดา นสทิ ธมิ นษุ ยชน สําคญั ของ กสม. ตอสาธารณชน อยา งถกู ตอ งและทว่ั ถงึ ระหวา งประเทศดา นสทิ ธมิ นษุ ยชน ทป่ี ระเทศไทยจะตอ งปฏบิ ตั ติ าม กลยุทธที่ 1.1 ตดิ ตาม กลยุทธที่ 2.1 เนน ภารกจิ กลยุทธท ี่ 3.1 พัฒนาการ กลยุทธท่ี 4.1 พัฒนางาน กลยุทธท ่ี 5.1 ปรับปรงุ และผลักดันใหภ าครฐั ในดา นการใหข อ เสนอแนะ ดําเนนิ งานและจัดใหม ีแผนการ สง เสรมิ สทิ ธิมนุษยชน กระบวนการทํางานใน ปฏบิ ตั ติ ามขอเสนอแนะ และจัดใหมีแผนในการสง เสริม ภารกจิ หลกั ขององคก ร ท่ีสําคญั ของคณะกรรมการ นโยบาย และขอ เสนอ สรางเครอื ขายและทาํ งาน ความรคู วามเขาใจเกย่ี วกับ (Core Business Process ประจาํ สนธิสญั ญา ในการปรบั ปรุงกฎหมาย รว มกับภาคเี ครอื ขายทง้ั ภาครัฐ สิทธิมนุษยชนทค่ี รอบคลมุ Redesign) ดานสทิ ธมิ นุษยชน ทีส่ าํ คญั ตอรัฐสภาและ ภาคเอกชนภาคประชาสังคม เนอื้ หากลุมเปาหมาย ทป่ี ระเทศไทยเปน ภาคี คณะรฐั มนตรเี พือ่ ใหสอดคลอ ง และกระบวนการ กลยทุ ธท ่ี 1.2 ติดตาม กับหลักสทิ ธิมนษุ ยชน นกั ปกปองสิทธมิ นษุ ยชน ท่ีหลากหลายและเหมาะสม กลยุทธท ่ี 5.2 พัฒนาการบริหาร และสนับสนนุ ใหหนวยงาน กลยุทธท ่ี 2.2 กําหนด และชมุ ชน ในการสงเสริม จดั การองคกร ทรัพยากรบุคคล ภาครัฐปฏิบตั ิตามแผน ประเด็นปญ หาหรอื พ้ืนท่สี าํ คัญ และคมุ ครองสิทธิมนุษยชน และงบประมาณอยาง สิทธิมนษุ ยชนแหงชาติ ในการปฏบิ ตั ิงานประจาํ ป กลยุทธท ี่ 3.2 สงเสรมิ ให มีประสทิ ธิภาพ กลยุทธท่ี 2.3 สนับสนุน สถาบันวิชาการในทอ งถิน่ กลยทุ ธท่ี 4.2 พัฒนากลไก ดว ยความเปน ธรรม บทบาทของภาคธรุ กิจ ติดตาม เฝา ระวงั สถานการณ ในการเคารพสิทธิมนุษยชน เปนทีพ่ ่งึ ของชุมชน และโปรงใส เพ่อื การสงเสรมิ สทิ ธมิ นษุ ยชน สทิ ธิมนษุ ยชน และชี้แจง แสดงทาทีตอบสนองตอปญ หา และแกไ ขปญหา และสถานการณสทิ ธิมนุษยชน การละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชน ท่ีสําคญั อยา งถกู ตอ งและ กลยุทธท ่ี 5.3 พัฒนาใหเ ปน มีประสทิ ธภิ าพ องคกรแหง การเรยี นรู ในพ้ืนท่ี (Learning Organization) กลยทุ ธท ่ี 3.3 เสริมสราง กลยทุ ธท่ี 4.3 จัดใหม ีศูนยก ลาง กลยทุ ธท่ี 5.4 จัดใหมสี ถาบนั ความรว มมือกบั พนั ธมิตร ความรูและแหลง ขอมลู พัฒนาระบบและองคค วามรู ในเวทรี ะหวางประเทศ ดานสทิ ธิมนุษยชน ดา นสิทธมิ นุษยชนภายใต ในการแลกเปลยี่ นความรู การกาํ กับดแู ลของ กสม. เพ่ือประโยชนในการทํางาน และพัฒนาศักยภาพขององคกร กลยทุ ธท ี่ 4.4 พัฒนา การสอ่ื สารองคกร/ กลยุทธที่ 5.5 พฒั นาระบบ การประชาสมั พนั ธ การทาํ งานขององคกรใหทันกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สารดจิ ทิ ลั (Digital) ท่ีมา: สำ�นักกจิ การคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ (ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

47 1.5 ภาพรวมดา้ นทรพั ยากรบคุ คลและงบประมาณ บทที่ 1 1.5.1 ภาพรวมด้านทรัพยากรบคุ คล บทที่ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติมบี คุ ลากรปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีจ�ำ นวน 263 คน 2 จำ�แนกเปน็ ขา้ ราชการ 154 คน คิดเปน็ ร้อยละ 58.56 พนักงานราชการ 50 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.01 พนักงานจา้ งเหมา บทที่ บรกิ าร 48 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.25 ผชู้ �ำ นาญการ/เลขานกุ ารและผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารประจ�ำ ประธานกรรมการและกรรมการ 3 สทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.18 โดยสำ�นกั ท่ีมีบุคลากรปฏิบัตงิ านมากท่ีสุด คอื ส�ำ นักบริหารกลาง บทที่ จำ�นวน 63 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 23.96 ส�ำ นักคุ้มครองสทิ ธมิ นษุ ยชน จำ�นวน 52 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.77 และสำ�นกั 4 ส่งเสริมการเคารพสทิ ธิมนษุ ยชน จำ�นวน 36 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.69 ตามลำ�ดับ รายละเอยี ดตามตารางที่ 1 บทท่ี 5 ตารางที่ 1 จำ� นวนบคุ ลากรของส�ำนกั งานคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ จำ� แนกตามส�ำนกั /กลมุ่ งาน ภาค ผนวก สำ�นัก/กลมุ่ งาน ข้าราชการ พนักงาน พนักงาน ผชู้ ำ�นาญการ/ รวม ราชการ จ้างเหมา เลขานกุ ารและ เลขาธกิ ารคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาต/ิ 7 บรกิ าร ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารฯ 7 รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาต/ิ - ทป่ี รกึ ษาส�ำ นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน - - 11 แห่งชาติ/ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ - สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 63 15 19 ผชู้ �ำ นาญการประจ�ำ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน - 5 - 11 52 แหง่ ชาต/ิ เลขานกุ ารและผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารประจ�ำ 12 36 ประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชน 5 20 - 13 แหง่ ชาติ 3 3- 5- 24 สำ�นักบริหารกลาง 28 6 10 - -- 10 ส�ำ นกั กจิ การคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 11 1 14 - 4- 11 สำ�นักคุ้มครองสทิ ธมิ นุษยชน 35 2 3 1 -- 263 ส�ำ นกั ส่งเสริมการเคารพสิทธมิ นษุ ยชน 21 50 3- 3- สำ�นกั เฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สทิ ธิ 10 -- มนษุ ยชน 48 11 ส�ำ นักมาตรฐานและติดตามการค้มุ ครอง 14 สิทธมิ นษุ ยชน สำ�นกั สทิ ธิมนุษยชนระหวา่ งประเทศ 9 ส�ำ นกั กฎหมาย 11 สำ�นักดิจิทลั สิทธิมนุษยชน 6 หนว่ ยตรวจสอบภายใน 2 รวม 154 ท่มี า : สำ�นักงานบริหารกลาง (ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2562)

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 48 คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ 1.5.2 ภาพรวมดา้ นงบประมาณ สำ�นักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จำ�นวน 215,704,200 บาท ซงึ่ เพม่ิ ข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จำ�นวน 3,826,300 บาท โดยไดร้ บั จดั สรรงบประมาณใน 3 แผนงานหลกั คอื แผนงานบคุ ลากรภาครฐั แผนงานพนื้ ฐาน และแผนงานบรู ณาการ รายละเอยี ด จำ�แนกตามตารางที่ 2 ดงั นี้ ตารางท่ี 2 การเปรยี บเทยี บงบประมาณประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 และ 2562 หน่วย: บาท แผนงาน งบประมาณที่ได้รับจดั สรร เพิ่ม/ลด ปี 2561 ปี 2562 5,578,800 -215,100 1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 136,034,500 141,613,300 1,382,100 -1,597,200 2. แผนงานพน้ื ฐาน 72,128,900 71,913,800 -1,537,400 -1,346,700 2.1 ผลผลิตการส่งเสรมิ สิทธมิ นษุ ยชน 47,526,600 48,908,700 -190,700 2.2 ผลผลิตการคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน 24,602,300 23,005,100 3,826,300 3. แผนงานบรู ณาการ 3,714,500 2,177,100 3.1 แผนงานบูรณาการด้านการขับเคล่ือนการแก้ไข 1,840,900 494,200 ปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 3.2 แผนงานบรู ณาการด้านการส่งเสริมการวิจัยและ 1,873,600 1,682,900 พัฒนา รวมทง้ั สิ้น 211,877,900 215,704,200 ทมี่ า: สำ�นกั กจิ การคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562) 1.6 ความเชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการ ปฏริ ปู ประเทศ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ และ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ า้ งตน้ ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และสำ�นักงาน คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ เชอ่ื มโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ ชาติ แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ การจดั สรรงบประมาณประจ�ำ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ดังรายละเอียดตามแผนภาพที่ 4

แผนภาพที่ 4 ผังความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ยุทธศาสตรก์ ารจดั ผสังรครงวาบมปเชรื่อะมมาโยณงปเปรา้ ะหจม�ำาปยงี กบารปใรหะบ้ มรากิ ณารหพน.่วศย. ง2า5น6ป2รขะจอางปสงี �ำบนปกัระงมาานณคณพ.ศะก. 2ร5ร6ม2กสารานสกั ิทงธาิมนนคุษณยะกชรนรแมหก่งารชสาิทตธิ ิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4: ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1: ด้านความมน่ั คง 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 5: ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6: ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ยุทธศาสตรท์ ่ี 1: ด้านการเมือง แผนการปฏิรปู ประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 1: ด้านการเมือง แผนแมบ่ ทที่ 1: ความม่นั คง ยุทธศาสตร์ท่ี 2: ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน แผนแมบ่ ท ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5: การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คง แผนแมบ่ ทท่ี 9 เขตเศรษฐกจิ พิเศษ แผนแมบ่ ทที่ 10 การเปลีย่ นค่านยิ มและวัฒนธรรม แหง่ ชาตเิ พ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคง่ั ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทที่ 15 การเสริมสรา้ งพลงั ทางสังคม แผนแมบ่ ทที่ 17 ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม แผนแมบ่ ทท่ี 18 การเติบโตอย่างยงั่ ยนื แผนแม่บทที่ 19 การบริหารจัดการน้าทั้งระบบ และย่งั ยนื แผนพัฒนา แผนแม่บทท่ี 20 การบริการประชาชนและประสทิ ธภิ าพภาครฐั แผนแม่บทท่ี 22 กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม เศรษฐกิจฯ ฉบบั ที่ 12 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6: การบริหารจดั การภาครฐั การป้องกนั การทุจริตและประพฤติมชิ อบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยทุ ธศาสตรจ์ ดั สรร ยุทธศาสตรท์ ี่ 6: ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1: ด้านความมนั่ คง งบประมาณฯ 2562 เปา้ หมายการ เป้าหมายการให้บรกิ ารหนว่ ยงานที่ 1 เปา้ หมายการให้บริการหน่วยงานที่ 2 49แผนงานบรู ณาการขับเคลือ่ นการแกไ้ ขปญั หา ใหบ้ ริการหนว่ ยงาน ทุกภาคส่วนของสังคมมีความรู้ ประชาชนไดร้ ับการคุม้ ครองสิทธมิ นษุ ยชนตาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ ความเข้าใจ และตระหนักถงึ ความสาคญั รฐั ธรรมนูญ กฎหมาย และพันธกรณรี ะหวา่ งประเทศ บทท่ีเป้าหมาย: ประชาชนไดร้ บั การคมุ้ ครองและส่งเสรมิ ผลผลิต/โครงการ ของสิทธิมนษุ ยชน ด้านสิทธิมนุษยชนทปี่ ระเทศไทยจะตอ้ งปฏิบตั ติ าม 1 สิทธมิ นษุ ยชนเจา้ หน้าท่ีรฐั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตวั ชีว้ ัดหน่วยงาน ผลผลติ : การส่งเสริมสิทธมิ นุษยชน ผลผลติ : การคมุ้ ครองสิทธมิ นุษยชน บทท่ีในเรอ่ื งสิทธมิ นุษยชน ไม่ทาละเมดิ ตอ่ ประชาชน 2 1. ร้อยละของกลุ่มเปา้ หมายทีไ่ ดร้ ับรู้และเขา้ ใจ 1. จานวนเรอื่ งร้องเรยี นทไ่ี ด้รบั ดาเนินการแล้วเสรจ็ บทที่โครงการ: โครงการสร้างความเขม้ แขง็ และตระหนักถึงความสาคัญของสิทธิ ภายใน 90 วนั ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 3ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนใต้ มนษุ ยชน (ร้อยละ 75) บทท่ี 2. ผู้รอ้ งเรียนมคี วามพึงพอใจต่อการใหบ้ รกิ าร 4- ค่มู อื สิทธมิ นุษยชนศึกษาสาหรับเจา้ หน้าที่รัฐ 2. จานวนคนทไ่ี ด้รบั การส่งเสรมิ และเผยแพร่ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 บทท่ีและประชาชนในพื้นทจี่ ังหวัดชายแดนภาคใต้ ความรู้และสร้างความตระหนกั ถงึ 5(2,000 เลม่ ) ความสาคัญของสิทธิมนษุ ยชน 3. จานวนรายงานผลการตรวจสอบ/ขอ้ เสนอแนะ ภาค (20,000 คน) ทมี่ ีการนาไปปฏบิ ัตหิ รือมกี ารตอบสนอง ผนวก ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 3. จานวนเรอื่ งทีม่ ีการศึกษาวิจยั ด้านสิทธมิ นุษยชน 2 เร่ือง ผลสัมฤทธิ์ 1. ประชาชนได้รบั การคุ้มครองสิทธมิ นษุ ยชนตามรฐั ธรรมนญู กฎหมาย พันธกรณีระหว่างประเทศ ด้านสิทธิมนุษยชนทป่ี ระเทศไทยจะตอ้ งปฏบิ ัติตาม หนว่ ยงาน 2. ประชาชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนกั ในหลักสิทธมิ นษุ ยชนอยา่ งท่ัวถึงเพ่ือลดปัญหาการกระทาอันเป็นการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนภายในประเทศ 3. มีเครือขา่ ยเพ่ือร่วมมือในการส่งเสรมิ และค้มุ ครองสิทธมิ นษุ ยชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ทัง้ ในและระหว่างประเทศ ท่ีมา: ส�ำ นักกจิ การคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562)

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปทิ รธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 50 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 2บทที่ การเปรียบเทยี บ งบประมาณและ ผลการดาํ เนนิ งาน ระหว่างปที ีผ่ ่านมา กบั ปี 2562

51 หัวขอ้ : บทท่ี 1 2.1 การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปงี บประมาณ 2.3 การเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานในภาพรวม พ.ศ. 2558-2562 บทท่ี 2.2 การเปรยี บเทยี บงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรรและการเบกิ จา่ ยเงนิ 2 งบประมาณ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 2.1 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2562 บทท่ี 3 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตไิ ดร้ บั จดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558-2562 บทท่ี ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร ค่าใช้จ่ายงบดำ�เนินงาน และค่าใช้จ่ายงบลงทุน จำ�แนกรายละเอียด ตามตารางที่ 3 4 และแผนภาพที่ 5 ตารางท่ี 3 งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรรระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2558-2562 ของส�ำนกั งานคณะกรรมการ บทท่ี 5 สิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ หนว่ ย: บาท ภาค ผนวก รายการ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร คา่ ใชจ้ า่ ยงบด�ำ เนนิ งาน 129,746,300 125,683,300 128,669,700 136,034,500 141,613,300 86,488,700 86,960,100 86,893,800 75,843,400 71,090,900 ค่าใช้จ่ายงบลงทุน 4,549,700 1,575,900 892,300 - 3,000,000 211,877,900 215,704,200 รวม 220,784,700 214,219,300 216,455,900 ทีม่ า: สำ�นกั กิจการคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562) แผนภาพท่ี 5 งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรรระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2558-2562 ของสำ� นกั งานคณะกรรมการ สิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ หน่วย: ลา้ นบาท คา่ ใชจ้ ่ายงบบุคลากร ค่าใช้จา่ ยงบดำเนนิ งาน ค่าใช้จ่ายงบลงทุน 150 120 90 60 30 129.746 86.488 4.549 125.683 86.960 1.575 128.669 86.893 0.892 136.034 75.843 0.000 141.613 71.090 3.000 0 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ท่มี า: ส�ำ นักกิจการคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ (ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562)

รายงานผลการปฏิบตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 52 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 2.2 การเปรียบเทียบงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำ�นักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับจัดสรรงบประมาณ จำ�นวน 215,704,200 บาท มีผลการเบิกจ่ายงบประมาณ (ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562) จ�ำ นวน 184,738,880 บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86 รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณของส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562) หน่วย: บาท รายการ ปีงบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รอ้ ยละ พ.ศ. 2562 ณ 30 กันยายน 2562 ของการเบกิ จา่ ย ค่าใชจ้ า่ ยงบบุคลากร 141,613,300 131,447,402 93 ค่าใช้จา่ ยงบด�ำ เนินงาน 71,090,900 50,385,802 71 คา่ ใชจ้ า่ ยงบลงทนุ 3,000,000 2,905,676 97 รวม 215,704,200 184,738,880 86 ท่ีมา: สำ�นักบริหารกลาง (ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562) แผนภาพที่ 6 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณของส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วย: ลา้ นบาท งบประมาณ พ.ศ. 2562 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 250 86% 200 150 93% 100 71% 50 97% 0 คา่ ใชจ้ า่ ยงบบุคลากร ค่าใช้จา่ ยงบดำเนนิ งาน ค่าใชจ้ ่ายงบลงทุน ที่มา: ส�ำ นักกจิ การคณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ (ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562) 141.61 131.45 71.09 50.38 3.00 2.90 215.70 184.74 ค่าใชจ้ ่ายภาพรวม

53 2.3 ก า ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล ก า ร ด�ำ เ นิ น ง า น แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหา บทท่ี ในภาพรวม จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 1 โครงการสร้างความเข้มแข็งในพื้ นท่ีจังหวัดชายแดน ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ส�ำนกั งานคณะกรรมการ ภาคใต้ บทที่ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีผลการด�ำเนินงานตามตัวช้ีวัด 2 ที่ปรากฏในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ก�ำหนดตัวชวี้ ัด 1 ตวั คอื บทที่ งบประมาณ พ.ศ. 2562 สรปุ ได้ดังน้ี • คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีรัฐ 3 บทท่ี แผนงานพ้ืนฐาน: ด้านการปรับสมดุลและพัฒนา และประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4 ระบบการบริหารจดั การภาครฐั จ�ำนวน 2,000 เลม่ บทท่ี ผลผลิตที่ 1: การสง่ เสริมสทิ ธมิ นุษยชน 5 แผนงานบรู ณาการวจิ ัยและนวตั กรรม ภาค ก�ำหนดตัวชีว้ ัด 2 ตัว คอื โครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้เพื่อส่งเสริม ผนวก • ร้อยละของประชาชนได้รับความรู้และเข้าใจ และคุ้มครองสทิ ธมิ นุษยชน และตระหนักถึงความส�ำคัญของสิทธิมนุษยชน ก�ำหนดตวั ชี้วดั 2 ตวั คือ มผี ลผลติ คดิ เปน็ ร้อยละ 84.17 • จ�ำนวนงานวจิ ยั มผี ลผลิต 1 เรอ่ื ง • จ�ำนวนคนทไี่ ดร้ บั การสง่ เสรมิ เผยแพรค่ วามรู้ และ • องค์ความรู้ท่ีสามารถน�ำไปต่อยอดเชิงลึกหรือ สรา้ งความตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของสทิ ธมิ นษุ ยชน มผี ลผลิตจ�ำนวน 63,395 คน น�ำไปแกไ้ ขปญั หาในการด�ำเนนิ งานของหนว่ ยงาน มีผลผลิตคดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 ผลผลติ ท่ี 2: การคุ้มครองสทิ ธมิ นุษยชน ทงั้ นี้ สามารถแสดงการเปรยี บเทยี บผลการด�ำเนนิ งาน ในภาพรวม ตามตัวชี้วัดท่ีปรากฏในพระราชบัญญัติ ก�ำหนดตัวช้ีวัด 3 ตัว คือ งบประมาณรายจา่ ย ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 และ • จ�ำนวนเร่ืองร้องเรียนที่ได้รับด�ำเนินการแล้วเสร็จ พ.ศ. 2562 ของส�ำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหง่ ชาติ ปรากฏตามตารางท่ี 5 ภายใน 90 วนั ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85.89 • ผู้ร้องเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการให้บริการ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 83.03 • จ�ำนวนรายงานผลการตรวจสอบ/ข้อเสนอแนะ ที่มีการน�ำไปปฏิบัติหรือมีการตอบสนองไม่น้อย กวา่ รอ้ ยละ 92.30

รายงานผลการปฏิบัตงิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะิมมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 54 คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ ตารางท่ี 5 การเปรยี บเทยี บผลการดำ� เนนิ งานในภาพรวมของสำ� นกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2562 แผนงาน/ผลผลติ /ตวั ชีว้ ัด หน่วยนับ ปี 2561 ปี 2562 แผนงานพน้ื ฐาน: ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั ผลผลติ ท่ี 1: การสง่ เสริมสิทธมิ นษุ ยชน ตัวชว้ี ัด 1. ร้อยละของประชาชนไดร้ บั ความร้แู ละเขา้ ใจ และตระหนักถึง ร้อยละ 59.19 84.17 ความสำ�คญั ของสิทธิมนุษยชน 2. จ�ำ นวนคนทไี่ ดร้ บั การสง่ เสรมิ เผยแพรค่ วามรู้ และสรา้ งความตระหนกั คน 69,866 63,395 ถึงความส�ำ คัญของสิทธมิ นุษยชน 3. ร้อยละของประชาชนได้รบั การสง่ เสรมิ เรื่องสิทธิมนษุ ยชน รอ้ ยละ 93 - มีความเข้าใจเพมิ่ ขน้ึ ผลผลิตที่ 2: การคมุ้ ครองสิทธมิ นุษยชน ตัวชว้ี ัด 1. จ�ำ นวนเร่อื งร้องเรยี นที่ได้รับดำ�เนนิ การแล้วเสร็จ ภายใน 90 วนั ร้อยละ 63 85.89 ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 2. ผ้รู อ้ งเรียนมคี วามพงึ พอใจต่อผลการให้บรกิ าร ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ รอ้ ยละ 93 83.03 3. จำ�นวนรายงานผลการตรวจสอบ/ข้อเสนอแนะที่มีการนำ�ไปปฏิบัติ รอ้ ยละ 71 92.30 หรือมีการตอบสนอง ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 4. จำ�นวนรายงานข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายและ/หรอื ขอ้ เสนอ รอ้ ยละ 82 - ในการปรบั ปรงุ กฎหมายทีค่ ณะรฐั มนตรมี อบหมายใหห้ น่วยงาน ที่เกี่ยวขอ้ งรับไปดำ�เนนิ การและ/หรอื เขา้ สกู่ ารพิจารณาของรฐั สภา ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ แผนงานบรู ณาการขบั เคลอ่ื นการแกไ้ ขปญั หาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการสร้างความเข้มแขง็ ในพนื้ ทีจ่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ ตวั ชว้ี ัด คูม่ ือสทิ ธิมนุษยชนศกึ ษาส�ำ หรบั เจ้าหน้าที่รฐั และประชาชนในพืน้ ท่ี เล่ม - 2,000 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จำ�นวนผู้เข้ารับการอบรม (เจ้าหนา้ ทร่ี ฐั ) คน 613 - แผนงานบรู ณาการวจิ ัยและนวตั กรรม โครงการศกึ ษาวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาองค์ความรู้เพือ่ สง่ เสริมและคุ้มครองสทิ ธิมนุษยชน ตวั ชว้ี ดั 1. จำ�นวนเรอ่ื งที่มีการศกึ ษาวิจยั ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชน เรือ่ ง 1 1 2. องค์ความรูท้ ี่สามารถน�ำ ไปต่อยอดเชิงลึกหรอื นำ�ไปแกไ้ ขปัญหา รอ้ ยละ 50 50 ในการดำ�เนินงานของหน่วยงาน ที่มา: กลมุ่ งานนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ส�ำ นกั งานกจิ การคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562)

55

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 56 คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 3บทท่ี การวิเคราะห์ รายละเอยี ด ผลการดาํ เนินงาน

57 หัวขอ้ : 3.2 บทวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ บทที่ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) 1 3.1 สัมฤทธผ์ิ ลของการด�ำ เนินงานในภาพรวม ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 บทท่ี 2 3.1 สัมฤทธ์ผิ ลของการด�ำเนินงานในภาพรวม ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อร่างพระราชบัญญัติ บทที่ การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท พ.ศ. .... เป็นตน้ 3 ภ า พ ร ว ม ก า ร ด�ำ เ นิ น ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บทที่ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามหน้าท่ีและอ�ำนาจตาม 2) การเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์ด้าน 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สิทธิมนุษยชนของประเทศ การติดตามและประมวล บทท่ี มาตรา 247 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ สถานการณ์ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน 5 ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 อย่างรอบด้านจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลจาก ภาค มาตรา 26 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ภาควิชาการท้ังในประเทศและต่างประเทศ ข้อมูลจาก ผนวก ได้ด�ำเนินงานโดยมุ่งหมายต่อการส่งเสริมและคุ้มครอง การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ รวมท้ังการเฝ้าระวัง การจัดรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลาย สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศอย่างต่อเน่ือง ภาคส่วน เพ่ือน�ำมาเป็นข้อมูลประเมินสถานการณ์ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์การแก้ไขปัญหาท้ังในเชิงโครงสร้าง สิทธิมนุษยชนอย่างต่อเน่ือง และน�ำมาเปรียบเทียบ กระบวนการ และการสื่อสารเพ่ือสร้างการเปลี่ยนแปลง กับมาตรฐานสากลด้านสิทธิมนุษยชนและสิทธิเสรีภาพ กล่าวคือ ที่ได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 พรอ้ มทงั้ วเิ คราะหผ์ ลกระทบและโอกาส 1) การตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงเก่ียวกับ ท่ีจะท�ำให้ปัญหาสิทธิมนุษยชนรุนแรงข้ึน โดยในปี 2562 การละเมิดสิทธิมนุษยชนและเสนอมาตรการหรือแนวทาง ได้ระบุขอบเขตและจัดล�ำดับความส�ำคัญของประเด็น ในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ สทิ ธมิ นษุ ยชนและกลมุ่ เสย่ี งตอ่ การถกู ละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน การเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ ท่ีจะติดตามสถานการณ์ รวม 14 ประเด็น ซ่ึงเกี่ยวข้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ได้ด�ำเนินการกรณีผู้ร้องเรียน กบั สิทธพิ ลเมอื งและสทิ ธิทางการเมือง สิทธทิ างเศรษฐกิจ เปน็ การเฉพาะตวั และกรณกี ารปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ สถานการณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดตาม อนั มผี ลกระทบตอ่ สทิ ธมิ นษุ ยชนในวงกวา้ ง โดยการตรวจสอบ ปญั หาส�ำคญั ของประเทศ ไดแ้ ก่ สถานการณใ์ นพน้ื ทจ่ี งั หวดั ข้อเท็จจริงวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหา ชายแดนภาคใต้และการค้ามนุษย์โดยแสดงให้เห็นถึง การละเมิดสิทธิมนุษยชนในกรณีต่าง ๆ อาทิ แนวนโยบาย การท�ำหน้าท่ีของรัฐในด้านสิทธิมนุษยชนว่ามีความ กฎหมาย กฎ รวมถงึ เกณฑแ์ ละระบบทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเลอื กปฏบิ ตั ิ กา้ วหน้าหรอื ยังมีข้อห่วงกงั วลอย่างไร และมขี อ้ เสนอแนะ และมีมาตรการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะที่น�ำไป ต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เพื่อให้พิจารณาหาแนวทาง สู่การแก้ไขปัญหาเชิงระบบที่ได้รับการตอบสนองจาก แก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนอย่างเหมาะสมกับหน่วยงาน คณะรัฐมนตรแี ละหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง เชน่ ขอ้ เสนอแนะ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง หรอื วางแผนด�ำเนินงานและก�ำหนดมาตรการ มาตรการหรือแนวทางต่อสายการบินที่เลือกปฏิบัติ เพื่อลดและป้องกันความเสี่ยงอย่างเหมาะสมทั้งใน กับผู้โดยสารด้วยเหตุแห่งความพิการ ข้อเสนอแนะ เชิงโครงสร้างและกระบวนการ นอกจากนี้ การติดตาม ในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับ สถานการณ์สิทธิมนุษยชนอาจต้องใช้เป็นข้อมูลในการ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนตอ่ รา่ งพระราชบญั ญตั ปิ า่ ชมุ ชน พ.ศ. .... ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงท่ีถูกต้องในกรณีท่ีมี ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ กฎหมายเพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ก า ร ร า ย ง า น ส ถ า น ก า ร ณ ์ เ ก่ี ย ว กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น หลักสิทธิมนุษยชนต่อร่างพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ ในประเทศไทยโดยไมถ่ ูกต้องหรอื ไมเ่ ป็นธรรม พ.ศ. .... และข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการ

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 58 คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ 3) การเสริมสร้างทุกภาคส่วนของสังคมให้ตระหนัก ในอตุ สาหกรรมสตั วป์ กี แลว้ ยงั ไดป้ ระโยชนต์ อ่ อตุ สาหกรรม ถงึ ความส�ำคญั ของสทิ ธมิ นษุ ยชนไดบ้ รู ณาการความรว่ มมอื และสิทธิมนุษยชนในภาพรวมด้วย เช่น มาตรฐานด้าน กับสถาบันการศึกษาและเครือข่ายการท�ำงานด้าน แรงงานในมาตรฐานฟารม์ การน�ำเขา้ แรงงานทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม สิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาค โดยเร่งให้ภาคการศึกษา การไมร่ สู้ ทิ ธขิ องแรงงานและอปุ สรรคในการเขา้ ถงึ ชอ่ งทาง พัฒนาหลักสูตรและโครงสร้างการศึกษาท่ีสอดคล้องกับ การร้องเรียนเป็นประโยชน์ต่อการจัดท�ำแผนปฏิบัติการ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนและบรบิ ทของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ เพอื่ เออ้ื ตอ่ แหง่ ชาตดิ า้ นธรุ กจิ กบั สทิ ธมิ นษุ ยชน (National Action Plan สทิ ธทิ างการศกึ ษาของคนเฉพาะกลมุ่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ on Business and Human Rights: NAP) นอกจากนนั้ การสร้างการยอมรับในอัตลักษณ์และการมีส่วนร่วม ยังได้ขับเคลื่อนงานวิจัยท่ีได้ด�ำเนินการในปีงบประมาณ ของประชาชน เพ่ือให้เกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนและ ที่ผ่านมา เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม คุ้มครองและ ตระหนกั ในสทิ ธขิ องผอู้ น่ื อนั จะน�ำไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมาย ปกป้องสิทธิมนุษยชนกับหน่วยงานและบุคคลที่เก่ียวข้อง การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ตามกรอบขององคก์ ารสหประชาชาติ ประกอบดว้ ย เรอ่ื ง 1) “การเคลื่อนไหวเพอื่ สทิ ธชิ ุมชนของ (Sustainable Development Goals: SDGs) ทั้งนี้ ชุมชนประมงพ้ืนบ้าน อ่าวปัตตานี” 2) “ความเชื่อมโยง ได้ด�ำเนินโครงการและกิจกรรมที่ส�ำคัญเพื่อให้เกิด ระหวา่ งสทิ ธชิ มุ ชนกบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ผลสัมฤทธิ์ในเชิงระบบ เช่น การจัดท�ำคู่มือการเรียนรู้ ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช สิทธิมนุษยชนศึกษา 5 ช่วงชั้น ตั้งแต่ระดับปฐมวัย 2560 และ 3) “การจัดท�ำข้อเสนอแนะนโยบายหรือ ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการอบรมเพ่ือสร้างเสริม มาตรการเพื่อค้มุ ครองและสง่ เสริมสทิ ธิของผู้สงู อายุ” ความตระหนักด้านสิทธิมนุษยชนส�ำหรับนักบริหาร ระดบั สงู (Human Rights Executive Program) เนอื่ งจาก 5) การประสานความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีบทบาทส�ำคัญในการขับเคลื่อน ระหวา่ งประเทศ จากสถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชนในปจั จบุ นั นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสิทธิมนุษยชน ตลอดจน พบว่ามีหลายประเด็นเป็นปัญหาร่วมหรือเป็นปัญหา การสร้างแนวปฏิบัติขององค์กรในการปรับเปล่ียน ขา้ มพรมแดนทตี่ อ้ งอาศยั ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในการ พฤติกรรมให้เกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนแก่บุคลากร จัดการปญั หา ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ ในองคก์ รและผู้มีส่วนไดเ้ สยี ในสังคม เปน็ ตน้ สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรของส�ำนกั งาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้เข้าร่วมประชุม 4) การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนและการ ตามกรอบความรว่ มมอื ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนระหวา่ งประเทศ ขับเคล่ือนไปสู่การปฏิบัติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ท้ังในกรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน แห่งชาติได้จัดให้มีการศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน แห่งชาติในระดับต่าง ๆ กลไกด้านสิทธิมนุษยชนของ เพื่อน�ำองค์ความรู้ที่ได้ไปจัดท�ำข้อเสนอแนะ มาตรการ อาเซียน และหน่วยงานของสหประชาชาติ เพื่อติดตาม หรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน พัฒนาการท่ีส�ำคัญด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบหรือค�ำสั่งใด ๆ และแลกเปล่ียนประสบการณ์ ตลอดจนตัวอย่างท่ีดี แ ล ะ เ พื่ อ ใ ห ้ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ห ลั ก ก า ร สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น ในการด�ำเนนิ งาน (best practices) เพอ่ื สง่ เสรมิ การเคารพ และน�ำไปสนับสนุนการจัดท�ำรายงานการตรวจสอบ สิทธิมนุษยชนในประเด็นส�ำคัญท่ีอยู่ในความสนใจร่วมกัน เรื่องร้องเรียน การจัดท�ำรายผลการประเมินสถานการณ์ เชน่ ปัญหาธุรกิจกับสทิ ธมิ นุษยชน ปญั หาดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม สิทธิมนุษยชนของประเทศ โดยในปี 2562 ได้ร่วมกับ ปัญหาของกลมุ่ ชาติพันธ์แุ ละแรงงานข้ามชาติ และปญั หา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (Thailand การค้ามนุษย์ เป็นต้น Development Research Institute: TDRI) ศกึ ษาเรอื่ ง แนวทางในการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธขิ องแรงงานขา้ มชาติ จากสรุปภาพรวมการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ ในประเทศไทย: กรณแี รงงานขา้ มชาตใิ นอตุ สาหกรรมสตั วป์ กี สิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามหน้าที่และอ�ำนาจข้างต้นน้ัน ซึ่งนอกจากได้ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ให้ความส�ำคัญ ขบั เคลอื่ นการแกไ้ ขปญั หาแรงงานขา้ มชาตใิ นประเทศไทย ตอ่ การด�ำเนนิ งานในเชงิ ระบบ มกี ารจดั ท�ำแผนปฏิบตั กิ าร ประจ�ำปีท่ีสอดคล้องเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และเป้าหมาย

59 ขององค์กร ค�ำนึงถึงความท้าทายขององค์กรที่มาจาก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิด บทท่ี สภาพปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนท่ีเกิดข้ึนในประเทศ สทิ ธมิ นษุ ยชน พ.ศ. 2561 สว่ นที่ 2 การตรวจเรอ่ื งรอ้ งเรยี น 1 อาทิ การน�ำประเด็นสิทธิมนุษยชนที่มีการร้องเรียน หรือ และหมวด 3 การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พื้นที่ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเร่ือง ตามหน้าทีแ่ ละอ�ำนาจ ดังต่อไปนี้ บทที่ ร้องเรียนจ�ำนวนมากมาสังเคราะห์และพัฒนาเป็น 2 ขอ้ เสนอแนะ แผนงาน/โครงการเชงิ ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ สง่ เสรมิ 1) มอบหมายเจ้าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนตรวจเร่ือง บทที่ และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้เกิดผลส�ำเร็จเป็นรูปธรรม ร้องเรียน ดงั นี้ 3 รวมท้ังเน้นการพัฒนาบุคลากรเพ่ือประสิทธิภาพและ บทที่ ประสิทธิผลในการท�ำงานให้มากยิ่งขึ้น ท้ังนี้ โดยมีสรุป • แสวงหาข้อเท็จจริงเบ้ืองต้นเพ่ือพิจารณาว่าเร่ือง 4 รายละเอียดผลสัมฤทธ์ิของการด�ำเนินงานในภาพรวม ร้องเรียนน้ันมีมูลและอยู่ในหน้าท่ีและอ�ำนาจของ บทท่ี ดังต่อไปน้ี คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตหิ รอื ไม่ รวมทงั้ 5 อาจใช้วิธีการประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ ภาค 3.1.1 การตรวจสอบและรายงานขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั องคก์ รเอกชน องคก์ รดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนหรอื บคุ คล ผนวก การละเมดิ สิทธมิ นุษยชน เพอ่ื ใหค้ วามคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนแกผ่ รู้ อ้ ง โดยค�ำนงึ ถงึ ความจ�ำเปน็ เรง่ ดว่ น เหมาะสม และอยา่ งระมดั ระวงั รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 (ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาตรา 247 (1) บัญญัติให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบ แหง่ ชาติ มหี นา้ ทแ่ี ละอ�ำนาจในการตรวจสอบและรายงาน การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน พ.ศ. 2561 ขอ้ 15) ข้อเท็จจริงท่ีถูกต้องเก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทุกกรณีโดยไม่ล่าช้าและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง • จดั ท�ำความเหน็ เสนอตอ่ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน ทเี่ หมาะสมในการปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน แห่งชาติเพ่ือพิจารณาไม่รับไว้เป็นค�ำร้อง หากเป็น รวมท้ังการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิด เรอื่ งทห่ี า้ มมใิ หค้ ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ สทิ ธมิ นษุ ยชนต่อหนว่ ยงานของรัฐหรอื เอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รับไว้พิจารณาตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน แห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 391 และระเบียบ แหง่ ชาตมิ ผี ลการด�ำเนนิ งานดา้ นการตรวจสอบและรายงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วย ข้อเท็จจรงิ เกยี่ วกบั การละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชน ดงั นี้ หลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิด สทิ ธิมนษุ ยชน พ.ศ. 2561 ขอ้ 172 และข้อ 183 3.1.1.1 สถิตกิ ารรับเรื่องร้องเรยี น 2) มอบหมายพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบค�ำร้อง ด�ำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและจัดท�ำรายงาน การพจิ ารณาเรอื่ งรอ้ งเรยี น คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน ผลการตรวจสอบเสนอคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ แห่งชาติได้ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติประกอบ พิจารณา โดยในการจัดท�ำรายงานผลการตรวจสอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อาจด�ำเนินการ ดังน้ี พ.ศ. 2560 และระเบยี บคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 1 เรอ่ื งทม่ี กี ารฟอ้ งรอ้ งเปน็ คดอี ยใู่ นศาลมคี �ำ พพิ ากษา ค�ำ สง่ั หรอื ค�ำ วนิ จิ ฉยั เสรจ็ เดด็ ขาดแลว้ เปน็ เรอ่ื งทอ่ี ยใู่ นหนา้ ทแ่ี ละอ�ำ นาจขององคก์ รอสิ ระอน่ื หรอื องคก์ รอน่ื รบั ไวด้ �ำ เนนิ การแลว้ เปน็ การรอ้ งเรยี นโดยใชส้ ทิ ธไิ มส่ จุ รติ และการพจิ ารณาจะไมเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนโดยรวม เปน็ เรอ่ื งทม่ี ี การแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเหมาะสมแลว้ เปน็ เรอ่ื งทค่ี ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตเิ คยพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ ไมเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนโดยรวม เป็นเร่ืองท่ีมีการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมแล้ว เป็นเรื่องที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเคยพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่เป็นการละเมิด สทิ ธมิ นุษยชน เว้นแต่จะปรากฏหลกั ฐานหรือขอ้ เท็จจรงิ ใหมอ่ นั อาจทำ�ใหผ้ ลการพิจารณาเปลี่ยนแปลงไป เปน็ ต้น 2 เรอ่ื งทข่ี อ้ เทจ็ จรงิ ไมเ่ พยี งพอตอ่ การพจิ ารณาและไมส่ ามารถตดิ ตอ่ ผรู้ อ้ งได้ ทง้ั การพจิ ารณาตอ่ ไปและไมเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนโดยสว่ นรวม เรอ่ื งทผ่ี รู้ อ้ งประสงคข์ อถอนเรอ่ื งรอ้ งเรยี น เรอ่ื งทค่ี ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ เคยพจิ ารณาแลว้ และไมป่ รากฏหลกั ฐานหรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ใหมอ่ นั อาจท�ำ ใหผ้ ลการพจิ ารณาเปลย่ี นแปลงไป เรอ่ื งทผ่ี ไู้ ดร้ บั ความเสยี หายไมป่ ระสงคใ์ หค้ ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตติ รวจสอบ เปน็ ตน้ 3 เร่อื งทค่ี ณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติเหน็ ควรได้รับการด�ำ เนินการแกไ้ ขโดยหน่วยงานอ่ืนของรัฐทม่ี ีหนา้ ท่แี ละอำ�นาจโดยตรง

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปิทรธะมิมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 60 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ • เรอื่ งทเี่ หน็ วา่ มกี ารกระท�ำ หรอื การละเลยการกระท�ำ 3) มอบหมายสำ�นักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน อันเปน็ การละเมิดสิทธมิ นุษยชน ให้เสนอมาตรการ แหง่ ชาตแิ จง้ ผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน หรือแนวทางในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิด แห่งชาติ ไปยังบุคคลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องและผู้ร้อง สทิ ธมิ นุษยชน และติดตามผลการดำ�เนินการตามมาตรการหรือแนวทาง ในการปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนตามขอ้ 2) • เรอื่ งทเ่ี หน็ วา่ ควรมกี ารปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขไมใ่ หเ้ กดิ การ ละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนเรอื่ งใด หรอื ลกั ษณะใดขนึ้ อกี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน อาจจัดท�ำข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง แห่งชาตไิ ดร้ ับเร่อื งรอ้ งเรยี นกรณีกล่าวอ้างวา่ มกี ารกระท�ำ ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนหรือ หรือละเลยการกระท�ำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน การแกไ้ ข ปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื ค�ำสง่ั ท้ังส้ิน 551 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม จ�ำนวน 147 เรื่อง คิดเป็น • เร่ืองท่ีเห็นว่าการกระท�ำหรือละเลยการกระท�ำนั้น ร้อยละ 26.68 พ้ืนท่ีท่ีมีการร้องเรียนสูงที่สุด คือ ภาคใต้ ไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือมีเหตุให้ จ�ำนวน 108 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 19.60 โดยผู้ร้องเป็น ยุติเร่ืองระหว่างการตรวจสอบตามพระราชบัญญัติ เพศชาย จ�ำนวน 287 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.09 เพศหญงิ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ จ�ำนวน 195 คน คิดเป็นร้อยละ 35.39 และไม่ระบุเพศ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 39 จ�ำนวน 69 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.52 เม่อื เปรยี บเทียบกบั วรรคสอง หรอื ระเบยี บคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบ แหง่ ชาตไิ ด้รบั เร่อื งรอ้ งเรยี นกรณีกลา่ วอ้างวา่ มกี ารกระท�ำ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน พ.ศ. 2561 ขอ้ 17 วรรคสาม หรือละเลยการกระท�ำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ใหเ้ สนอคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตยิ ตุ เิ รอื่ ง ท้ังสิ้น 623 เรื่อง พบว่า มีเร่ืองร้องเรียนลดลง จ�ำนวน และจดั ท�ำรายงานผลการตรวจสอบ ซงึ่ คณะกรรมการ 72 เร่อื ง คดิ เปน็ ร้อยละ 11.55 โดยประเด็นสทิ ธมิ นุษยชน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจมีข้อสังเกตหรือ ที่มีการร้องเรยี นมากที่สดุ ทัง้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขอ้ เสนอแนะต่อบคุ คลหรือหน่วยงานได้ และ 2562 ไดแ้ ก่ สทิ ธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรม รายละเอยี ด ตามตารางที่ 6 แผนภาพท่ี 7

61 ตารางท่ี 6 การเปรียบเทยี บสถิติเรือ่ งร้องเรียนทไ่ี ดร้ บั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2562 หน่วย: เร่อื ง บทท่ี 1 ลำ� ดับที่ ประเภทสิทธิ เรอื่ งรอ้ งเรยี นทีไ่ ด้รบั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 บทท่ี 2 1 สทิ ธิในกระบวนการยุตธิ รรม 230 147 บทที่ 3 2 การปฏิบัติโดยไมเ่ ปน็ ธรรม 43 103 บทที่ 4 3 สทิ ธิและเสรีภาพสว่ นบคุ คล 74 67 บทที่ 5 4 สทิ ธทิ างเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม 36 45 ภาค ผนวก 5 สิทธิพลเมือง 44 45 6 สทิ ธชิ มุ ชน 52 40 7 สิทธขิ องบคุ คลในทรพั ย์สิน 58 28 8 สิทธิในกระบวนการทางปกครอง 4 12 9 สทิ ธใิ นการได้รับบริการสาธารณสุข 8 6 10 สทิ ธใิ นขอ้ มลู ข่าวสารและการร้องเรียน 17 5 11 สทิ ธใิ นการชมุ นมุ และการสมาคม 1 4 12 อน่ื ๆ 56 49 รวม 623 551 ท่มี า: ส�ำ นกั มาตรฐานและตดิ ตามการคุ้มครองสทิ ธิมนษุ ยชน (ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562) แผนภาพที่ 7 สถิตเิ รื่องรอ้ งเรยี นทีค่ ณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติได้รบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 เปรยี บเทยี บกับปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 จำ� แนกตามประเภทสิทธิ หน่วย: จำนวนเรอื่ ง เรือ่ งร้องเรียนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 250 เรือ่ งรอ้ งเรยี นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 200 150 100 50 0 230 147 43 103 74 67 36 45 44 45 52 40 58 28 4 12 8 6 17 5 1 4 56 49 สทิ ธิใน การปฏบิ ัติ สทิ ธิ สทิ ธทิ าง สทิ ธิ สิทธิ สทิ ธขิ อง สิทธใิ น สทิ ธใิ น สทิ ธใิ นข้อมูล สทิ ธใิ น อนื่ ๆ พลเมือง ชมุ ชน กระบวนการ โดยไมเ่ ปน็ และเสรีภาพ เศรษฐกิจ บุคคล กระบวนการ การไดร้ ับ ข่าวสาร การชมุ นมุ ยุตธิ รรม ธรรม ส่วนบุคคล สงั คม และ ในทรพั ย์สิน ทาง บริการ และการ และ วัฒนธรรม ปกครอง สาธารณสุข ร้องเรยี น การสมาคม

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปทิ รธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 62 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ สำ�หรับเรื่องร้องเรียนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการอุดมศึกษา จำ�นวน 551 เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และสำ�นักงานตำ�รวจ ได้ตรวจสอบเบ้ืองต้นปรากฏว่า เป็นเรื่องสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ 3) สิทธแิ ละเสรีภาพสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ กระทรวง ทม่ี ขี อ้ เทจ็ จรงิ เพยี งพอทจี่ ะรบั ไวเ้ ปน็ ค�ำ รอ้ งและตรวจสอบ ศกึ ษาธิการ และสำ�นักงานตำ�รวจแหง่ ชาติ ในเชงิ ลึก จำ�นวน 85 เรื่อง เปน็ เร่อื งรอ้ งเรยี นทค่ี วรได้รบั การแก้ไขโดยหน่วยงานอ่ืนของรัฐที่มีหน้าที่และอำ�นาจ ทั้งนี้ เร่ืองร้องเรียนส่วนใหญ่เป็นประเด็นเกี่ยวกับ โดยตรง จ�ำ นวน 175 เรื่อง และเปน็ เร่อื งท่ีไมอ่ ยใู่ นหนา้ ที่ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม จำ�นวน 147 เร่ือง คิดเป็น และอำ�นาจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ร้อยละ 26.68 รองลงมาเป็นการปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม หรืออยู่ในหน้าที่และอำ�นาจขององค์กรอิสระอ่ืน จำ�นวน จำ�นวน 103 เร่ือง คิดเป็นร้อยละ 18.69 พ้ืนท่ีท่ีมีเร่ือง 291 เรื่อง ส่วนหน่วยงานที่ถูกร้องเรียนโดยกล่าวอ้างว่า ร้องเรียนมากที่สุด คือ ภาคใต้ จำ�นวน 108 เร่ือง มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน 3 ลำ�ดับแรก คือ 1) สิทธิ คิดเป็นร้อยละ 19.60 รองลงมา คือ กรุงเทพมหานคร ในกระบวนการยตุ ธิ รรม ไดแ้ ก่ หนว่ ยงานในสงั กดั ส�ำ นกั งาน จ�ำ นวน 95 เร่ือง คิดเปน็ ร้อยละ 17.24 ผรู้ อ้ งเป็นเพศชาย ตำ�รวจแห่งชาติ หน่วยงานในสังกัดกรมราชทัณฑ์ และ จ�ำ นวน 287 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.09 เพศหญงิ จำ�นวน กองอำ�นวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร 195 คน คิดเป็นร้อยละ 35.39 และไม่ระบุเพศ จำ�นวน (กอ.รมน.) ภาค 4 ส่วนหน้า 2) การปฏิบัตโิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม 69 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.52 รายละเอยี ดตามแผนภาพท่ี 8 แผนภาพท่ี 8 สถติ เิ รอื่ งรอ้ งเรยี นทคี่ ณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ไดร้ บั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จำ� แนกตามพื้นท่เี กิดเหตุ และเพศของผู้ร้อง หนว่ ย: จำนวนเรือ่ ง จำแนกตามพื้นทเ่ี กิดเหตุ 120 19.60% 100 17.24% รวม 551 เรอื่ ง 15.60% 4.36% 80 13.61% 11.80% 60 9.62% 7.07% 40 108 95 86 75 65 53 39 24 4 2 20 0.73% 0.36% 0 ภาคใต้ กรงุ เทพมหานคร ภาคกลาง ผู้ร้อง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออก ภาคเหนอื ภาคตะวนั ตก ตา่ งประเทศ มากกวา่ ไม่ระบุพื้นที่ เฉียงเหนือ 1 จงั หวดั หน่วย: จำนวนเรือ่ ง จำแนกตามเพศของผูร้ ้อง 300 52.09% 35.39% 250 รวม 551 เรอื่ ง 200 150 100 9.80% ไมร่ ะบคุ ำนำหนา้ ชือ่ 287 195 54 15 50 2.72% 0 เพศหญงิ กล่มุ บุคคล เพศชาย

63 นอกจากน้ี เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลเร่ืองร้องเรียนกล่าวหา สิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจต้องทำ�งานในเชิงส่งเสริมและ บทที่ วา่ มีการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนในแตล่ ะภมู ิภาคพบว่า มีการ คุ้มครองสทิ ธมิ นุษยชนคูข่ นานกนั ให้มากขน้ึ 1 รอ้ งเรยี นกรณกี ารละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน 3 ประเดน็ หลกั ดงั น้ี 2) สิทธิพลเมืองมีการร้องเรียนมากที่สุดในพ้ืนท่ี บทท่ี 1) สิทธิในกระบวนการยุติธรรมมีการร้องเรียน ภาคเหนือและภาคตะวันตก พฤติการณ์ท่ีถูกร้องเรียน 2 มากท่ีสุดในพื้นท่ีภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคกลาง ค่อนข้างมากจะเป็นประเด็นปัญหาสถานะและสิทธิ บทที่ พฤตกิ ารณท์ ถี่ กู รอ้ งเรยี นคอ่ นขา้ งมาก ไดแ้ ก่ การขอใหเ้ รง่ รดั ของบุคคลท้ังกลุ่มแรงงานข้ามชาติ กลุ่มผู้ไร้รัฐไร้สัญชาติ 3 ด�ำ เนนิ คดหี รอื คดที ถ่ี กู อายดั ตวั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทโี่ ดยมชิ อบ และกลุ่มผู้แสวงหาที่พักพิง เม่ือวิเคราะห์เปรียบเทียบกับ บทท่ี ทงั้ ในชน้ั จบั กมุ และการด�ำ เนนิ คดที กี่ ระทบตอ่ สทิ ธเิ สรภี าพ เร่ืองร้องเรียนท่ีผ่านมายังเป็นปัญหาท่ีรอการแก้ไข 4 การทำ�ร้ายร่างกายระหว่างจับกุมหรือควบคุมตัว และ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แมว้ า่ การประเมนิ สถานการณส์ ทิ ธมิ นษุ ยชน บทที่ ความไม่เพียงพอต่อสิ่งจำ�เป็นพื้นฐานสำ�หรับผู้ต้องขัง ในประเดน็ ดงั กลา่ วของคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ 5 ในเรือนจำ� เช่น อาหาร ระบบการดูแลสุขภาพ และ ปี 2561 รัฐบาลได้แก้ไขปัญหาทั้งเชิงโครงสร้างและ ภาค สภาพความแออัดของเรือนจำ� เปน็ ตน้ กระบวนการ เชน่ การปรบั ปรุงกฎหมายเพ่ือเออื้ ประโยชน์ ผนวก ในการขอสถานะบุคคล การจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติ เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลการร้องเรียนในประเด็นขอให้ ให้เข้าสู่ระบบการทำ�งานท่ีถูกต้องตามกฎหมาย เป็นต้น เร่งรัดดำ�เนินคดีและความจำ�เป็นพื้นฐานสำ�หรับผู้ต้องขัง แต่ยังมีปัญหาการสำ�รวจที่ตกหล่นหรือยังไม่สามารถ ในเรือนจำ�พบว่า หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องแก้ไขปัญหา เข้าเง่ือนไขที่กำ�หนดจึงทำ�ให้ประสบปัญหาการเข้าถึง ดังกล่าวไดด้ ขี น้ึ เปน็ พฒั นาการที่ต่อเน่อื งจากการประเมนิ สทิ ธขิ น้ั พนื้ ฐาน สถานการณส์ ทิ ธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรมของคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติปี 2561 ท่ีพบว่ารัฐมีการดำ�เนิน 3) การปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมมกี ารรอ้ งเรยี นมากทส่ี ดุ ขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ตามแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นกระบวนการ ในพน้ื ทภี่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พฤตกิ ารณท์ ถ่ี กู รอ้ งเรยี น ยตุ ธิ รรม รวมทง้ั ไดส้ ง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธขิ องประชาชน ค่อนข้างหลากหลาย เร่ืองร้องเรียนส่วนใหญ่เป็นลักษณะ ในกระบวนการยุติธรรมมากขึน้ ความไม่พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ซงึ่ เรอื่ งรอ้ งเรยี นลกั ษณะนส้ี ว่ นใหญไ่ มใ่ ชป่ ญั หาการละเมดิ นอกจากนี้ การทค่ี ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ สทิ ธมิ นษุ ยชน แตเ่ ปน็ เรอื่ งการบรหิ ารจดั การภายในองคก์ ร ไดอ้ าศยั อ�ำ นาจตามมาตรา 33 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะส่งเร่ืองให้ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หน่วยงานทม่ี หี นา้ ที่โดยตรงดำ�เนินการ พ.ศ. 2560 ในการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กับหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ สำ�นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาติ 3.1.1.2 ผลการพิจารณาและตรวจสอบค�ำร้องและจัดท�ำ และกระทรวงยุติธรรมแล้ว พบว่า ผู้ร้องได้รับการแก้ไข รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสทิ ธิมนุษยชน ปัญหารวดเร็วขน้ึ แต่ยังมีการรอ้ งเรียนในประเด็นดังกลา่ ว เพอ่ื ขอใหป้ ระสานการคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ สำ�หรับประเด็นการปฏิบัติหน้าท่ีโดยมชิ อบท้ังในชนั้ จับกมุ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย ช น แ ห่ ง ช า ติ ต ร ว จ ส อ บ คำ � ร้ อ ง ท่ี ไ ด้ รั บ ควบคุมตัว และการทำ�ร้ายร่างกาย แม้ว่าคณะกรรมการ ในปี 2562 และคำ�ร้องก่อนปี 2562 และจัดทำ�รายงาน สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตไิ ดเ้ คยตรวจสอบและมขี อ้ เสนอแนะแลว้ ผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนแล้วเสร็จ แต่ยังมีการร้องเรียนอย่างต่อเนื่องนั้น คณะกรรมการ รวมทง้ั สน้ิ 393 เรอ่ื ง รายละเอยี ดตามตารางท่ี 7

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปิทรธะมิมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 64 คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ ตารางที่ 7 ผลการจดั ทำ� รายงานผลการตรวจสอบการละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชนของคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชน แหง่ ชาติ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วย: เร่อื ง ผลการตรวจสอบและการจดั ทำ�รายงาน รวม ร้อยละ 1. มกี ารกระท�ำ หรอื ละเลยการกระทำ�อันเป็นการละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชน 67 17.04 • มีมาตรการหรือแนวทางป้องกันหรอื แกไ้ ขการละเมิดสิทธมิ นุษยชน • เสนอมาตรการหรอื แนวทางในการสง่ เสรมิ และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 162 41.22 164 41.74 2. ไมม่ กี ารกระท�ำ หรือละเลยการกระทำ�อันเปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน และมีขอ้ สงั เกต หรือข้อเสนอแนะ 393 100 3. ยตุ กิ ารตรวจสอบเนอื่ งจากมลี กั ษณะตามระเบยี บคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2561 ขอ้ 17 และขอ้ 18 รวม ที่มา: สำ�นกั มาตรฐานและติดตามการคุ้มครองสิทธมิ นษุ ยชน (ข้อมลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2562) จากตารางที่ 7 แสดงเร่ืองร้องเรียนท่ีคณะกรรมการ แต่เห็นควรมีข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะ ร้อยละ 41.22 สิทธิมนุษยชนแห่งชาติรับไว้เป็นคำ�ร้องเพ่ือตรวจสอบและ และเรื่องท่ีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นว่า จัดทำ�รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นเร่ืองที่มีการกระทำ�หรือละเลยการกระทำ�อันเป็นการ พบวา่ รอ้ ยละ 41.74 เปน็ เรอ่ื งทค่ี ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน ละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนและใหม้ มี าตรการหรอื แนวทางในการ แหง่ ชาตพิ จิ ารณาแลว้ เหน็ ควรใหย้ ตุ กิ ารตรวจสอบ เนอ่ื งจาก ปอ้ งกนั หรือแกไ้ ขการละเมิดสิทธิมนษุ ยชน ร้อยละ 17.04 เห็นว่าไม่มีการกระทำ�หรือละเลยการกระทำ�อันเป็น การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน และบางเรอ่ื งมลี กั ษณะตามระเบยี บ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้พิจารณา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ กรณีเรื่องร้องเรียนท่ีรับเป็นคำ�ร้องไว้ตรวจสอบและ และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน จัดทำ�รายงานผลการพิจารณาและมาตรการหรือแนวทาง พ.ศ. 2561 ข้อ 17 และ ข้อ 18 ได้แก่ ผู้ร้องประสงค์ ในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน ขอถอนเร่ืองร้องเรียน จากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน พบวา่ มีกรณีตวั อยา่ งท่เี ปน็ เรื่องเด่นทสี่ ังคมให้ความสนใจ แห่งชาติ และเห็นว่าเป็นเรื่องท่ีควรได้รับการแก้ไข ในวงกว้าง และมีผลสำ�เร็จหรือความก้าวหน้าในการ โดยหน่วยงานอื่นของรัฐ เป็นต้น นอกจากนั้นเป็นเรื่อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ ทค่ี ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ เหน็ วา่ ไมม่ กี ารกระท�ำ ด�ำ เนนิ การอนั เปน็ การแกไ้ ขเรยี บรอ้ ยแลว้ จ�ำ นวน 14 กรณี หรือละเลยการกระทำ�อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน สรปุ สาระสำ�คัญไดด้ ังตารางท่ี 8

65 ตารางที่ 8 กรณีตัวอย่างผลการพิจารณาเรื่องร้องเรียนที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ บทที่ รับเป็นค�ำร้องไว้ตรวจสอบและจัดท�ำรายงานผลการพิจารณาและมาตรการหรือแนวทางในการป้องกัน 1 หรอื แก้ไขการละเมิดสิทธิมนษุ ยชน จ�ำนวน 14 กรณี บทที่ 2 กรณที ี่ 1 สทิ ธใิ นชวี ติ และรา่ งกาย อนั เกยี่ วเนอื่ งกบั สทิ ธผิ บู้ รโิ ภค กรณคี ดั คา้ นการตอ่ อายุ บทท่ี ใบสำ� คญั การขน้ึ ทะเบยี นวตั ถอุ นั ตรายพาราควอต (Paraquat) ของกรมวชิ าการเกษตร 3 ประเด็นการรอ้ งเรยี น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเรื่องร้องเรียนจากสมาคมสหพันธ์องค์กร บทท่ี ผบู้ รโิ ภคและมลู นธิ เิ พอ่ื ผบู้ รโิ ภคเพอ่ื ขอใหต้ รวจสอบกรณกี ลา่ วอา้ งวา่ เมอ่ื วนั ท่ี 25 กนั ยายน 4 2560 กรมวชิ าการเกษตรในฐานะหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการขน้ึ ทะเบยี นและควบคมุ การผลติ บทที่ น�ำ เขา้ สง่ ออก และจ�ำ หนา่ ยวตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตร ตามพระราชบญั ญตั วิ ตั ถอุ นั ตราย 5 พ.ศ. 2535 ดำ�เนินการต่ออายุใบสำ�คัญการข้ึนทะเบียนวัตถุอันตรายพาราควอต ภาค (Paraquat) ซ่ึงเป็นวัตถุอันตรายชนิดท่ี 3 โดยไม่รอผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ผนวก วตั ถอุ นั ตรายทอ่ี าจจะประกาศหา้ มใช้ อนั จะน�ำ ไปสกู่ ารขน้ึ ทะเบยี นวตั ถอุ นั ตรายพาราควอต เป็นวัตถุอันตรายชนิดท่ี 4 ที่ห้ามมิให้มีการผลิต การนำ�เข้า การส่งออก หรือการมีไว้ ในครอบครอง ทั้งที่คณะกรรมการขับเคล่ือนปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืช ทีม่ ีความเสี่ยงสูง ในคราวประชมุ คร้งั ท่ี 4/2560 เมื่อวนั ที่ 5 เมษายน 2560 ซึ่งมรี ัฐมนตรี วา่ การกระทรวงสาธารณสุขเปน็ ประธาน ได้มมี ตเิ ห็นชอบในหลกั การร่างแผนปฏิบัติการ ลด ละ เลกิ ใชส้ ารเคมีป้องกนั ก�ำ จดั ศตั รูพืชทมี่ ีความเสีย่ งสงู 3 ชนิด เปน็ การด�ำ เนินการ ที่สง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มและก่อใหเ้ กิดภาวะอนั ตรายตอ่ สุขภาพของประชาชน การด�ำ เนินการ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตพิ จิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ ประเดน็ การใชพ้ าราควอต เป็นสารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชในภาคการเกษตรเป็นเรื่องการกำ�หนดนโยบายของรัฐ ที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย แม้ว่าพาราควอตมีความเป็นพิษโดยตัวของ สารเคมี ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนและเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แตก่ ม็ คี วามเหน็ และวธิ กี ารบรหิ ารจดั การทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปบนพน้ื ฐานของขอ้ มลู ทางวชิ าการ และข้อเท็จจริงที่ไม่สอดคล้องและขาดการรับฟังซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดปัญหาระบบ บริหารจัดการที่มีความทับซ้อนและขาดความเช่ือมโยงข้อมูลร่วมกัน กลายเป็นช่องว่าง ทท่ี �ำ ใหไ้ มส่ ามารถก�ำ กบั ดแู ลและควบคมุ การใชพ้ าราควอตไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ และเหมาะสม ปัญหาดังกล่าวยังรวมไปถึงวัตถุอันตรายอ่ืน ๆ ที่ใช้เป็นสารป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชด้วย เช่น ไกลโฟเซต (สารกำ�จัดวัชพืช) และคลอร์ไพริฟอส (สารเคมีกำ�จัดแมลง) เป็นต้น ประกอบกบั กลไกการควบคมุ วัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถอุ นั ตราย พ.ศ. 2535 ยังไมอ่ าจขับเคลอ่ื นได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเท่าทค่ี วร ขาดการยอมรับ และไม่ครอบคลุม ทุกประเดน็ ปัญหา โดยเฉพาะมติ ิด้านเกษตรกรรมที่ยง่ั ยนื ควบค่กู บั การคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค และส่ิงแวดล้อม เนื่องจากปัจจุบันการใช้พาราควอต ในภาคการเกษตรมีความเกี่ยวพัน โดยตรงต่อสุขภาพอนามัยและวิถีชีวิตของเกษตรกรและประชาชนทั่วไปซึ่งเป็นหน้าที่ ของรัฐที่จะต้องดำ�เนินการให้ประชาชนทุกคนสามารถดำ�รงชีวิตในส่ิงแวดล้อมและ สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อสุขภาพ โดยการกำ�หนดนโยบาย มาตรการหรือกลไกต่าง ๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและสอดประสานกนั เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กษตรกรสามารถประกอบเกษตรกรรม

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะมิมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 66 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ การดำ�เนินการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตทม่ี ีปริมาณและคุณภาพสูง มคี วามปลอดภัย ในขณะที่ ประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะในฐานะผู้บริโภค ปลอดภัยจากอันตรายของสารเคมีและ ได้รับรู้ข้อมูลที่เป็นจริง รวมท้ังเป็นการลดผลกระทบสะสมท่ีจะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ เมื่อปรากฏว่าการใช้สารเคมีทางการเกษตรก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ของประชาชนและเกิดความเสียหายต่อส่ิงแวดล้อม รัฐจะต้องดำ�เนินการเพื่อให้เกิด การเยยี วยาทเ่ี หมาะสมและเปน็ ธรรมตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ถงึ แมว้ า่ การใชพ้ าราควอต ในภาคการเกษตรจะเป็นเสรีภาพในการประกอบอาชีพของบุคคลตามท่ีบัญญัติ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 แต่รัฐธรรมนูญก็ไดบ้ ัญญัตใิ ห้รฐั ต้องดูแลและส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี อันสอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศ ว่าดว้ ยสิทธทิ างเศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม (ICESCR) ทก่ี �ำ หนดใหร้ ัฐภาคีแห่งกติกา นร้ี บั รองสทิ ธขิ องทกุ คนทจ่ี ะมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ตามมาตรฐานสงู สดุ เทา่ ทเ่ี ปน็ ได้ ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคและเพอ่ื ประโยชนส์ าธารณะ และเพอ่ื ใหม้ กี ารแกไ้ ขปญั หา การใชพ้ าราควอตในภาคการเกษตรในระยะยาวอนั จะน�ำ ไปสคู่ วามยงั่ ยนื ในทกุ มติ ิ จงึ ใหม้ ี ขอ้ เสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางในการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน รวมตลอดทงั้ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือคำ�ส่ังใด ๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับหลัก สิทธิมนุษยชน ต่อคณะรัฐมนตรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และคณะกรรมการ วัตถุอนั ตราย ตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 247 (3) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (3) และมาตรา 42 ดงั นี้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) คณะกรรมการวัตถุอันตรายซึ่งมีอำ�นาจหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย หรือแนวทางในการ พ.ศ. 2535 ควรกำ�หนดให้พาราควอตเป็นวัตถุอันตรายชนิดท่ี 4 ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและคุ้มครอง วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 มาตรา 18 โดยห้ามมิใหม้ ีการผลติ การน�ำ เข้า การสง่ ออก หรือ สิทธิมนุษยชน และ การมีไวใ้ นครอบครอง การแกไ้ ขปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื ค�ำ สง่ั 2) กระทรวงเกษตรและสหกรณค์ วรแกไ้ ขปญั หาการใชส้ ารเคมที างการเกษตรทกุ ชนดิ ใด ๆ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง ในระยะยาว โดยการจัดทำ�มาตรการและกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการควบคุมการใช้ กบั หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน หรอื การเลกิ ใชส้ ารเคมใี นภาคการเกษตรทกุ ชนดิ ทมี่ หี ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ างวทิ ยาศาสตร์ บง่ บอกถงึ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของประชาชนและสงิ่ แวดลอ้ ม ในขณะเดยี วกนั จะตอ้ งพฒั นา ทางเลือกด้านสารชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการเกษตรท่ีย่ังยืนสำ�หรับเกษตรกร อยา่ งเป็นระบบและจริงจัง 3) คณะรฐั มนตรคี วรจดั ใหม้ กี ฎหมายเฉพาะวา่ ดว้ ยการควบคมุ สารเคมที างการเกษตร โดยพิจารณาประกอบร่างพระราชบัญญัติความปลอดภัยจากการใช้สารป้องกันและ กำ�จัดศัตรูพืช พ.ศ. …. ซึ่งจัดทำ�โดยคณะทำ�งานขับเคล่ือนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กลุ่มมติเกษตรและอาหารปลอดภัย ภายใต้คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนและติดตามมติ สมัชชาสขุ ภาพแห่งชาติ ร่วมกับเครอื ขา่ ยดา้ นสาธารณสุขและองค์กรภาคประชาสังคม

67 ผลส�ำ เรจ็ /ความกา้ วหนา้ 1) สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งว่า รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) บทท่ี ในการคุ้มครอง สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุข 1 สิทธิมนุษยชน เป็นหน่วยงานหลักรับเร่ืองนี้ไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง อุตสาหกรรม และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของ บทที่ ขอ้ เสนอแนะดงั กลา่ ว โดยใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ สรปุ ผลการพจิ ารณาผลการด�ำ เนนิ การ 2 ดงั กลา่ วในภาพรวม แลว้ สง่ ใหส้ �ำ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรเี พอ่ื น�ำ เสนอคณะรฐั มนตรตี อ่ ไป บทที่ 3 2) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตร และกระทรวงอุตสาหกรรม บทท่ี แจง้ ผลการด�ำ เนนิ การสอดคลอ้ งกนั วา่ คณะกรรมการวตั ถอุ นั ตรายในการประชมุ เมอื่ วนั ที่ 4 23 พฤษภาคม 2561 มมี ติใหจ้ �ำ กัดการใช้วัตถอุ ันตรายพาราควอต คลอร์ไพริฟอส และ บทท่ี ไกลโฟเซตแล้ว โดยใหค้ วามเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพ่อื จำ�กัด 5 การใชพ้ าราควอต คลอรไ์ พรฟิ อส และไกลโฟเซต ซง่ึ รา่ งประกาศฯ ไดก้ �ำ หนดใหเ้ กษตรกร ภาค ผู้ใช้สารจะต้องผ่านการอบรม กำ�หนดหน้าที่ของผู้ขาย กำ�หนดชนิดพืชและพ้ืนที่ใช้สาร ผนวก ใหผ้ ผู้ ลติ ผนู้ �ำ เขา้ ผขู้ าย ตอ้ งแจง้ ขอ้ มลู ใหท้ ราบ เปน็ ตน้ มอบหมายใหก้ รมวชิ าการเกษตร เร่งดำ�เนินการจัดทำ�แผนปฏิบัติการเร่งรัดขยายการปฏิบัติทางการเกษตรดีท่ีดี (GAP) หรือเกษตรอนิ ทรยี ์ (Organic Farming) ใหค้ รอบคลุมทง้ั ประเทศใหไ้ ดภ้ ายใน 2 ปี และ รว่ มกบั หนว่ ยงานภาควชิ าการหรอื ภาคเอกชน ศกึ ษาวจิ ยั หานวตั กรรมในการก�ำ จดั ศตั รพู ชื และแนะน�ำ เกษตรกรใหใ้ ชส้ ารชวี ภณั ฑใ์ นการก�ำ จดั ศตั รพู ชื เพอื่ เปน็ การลดการใชส้ ารเคมี ใหไ้ ดภ้ ายใน 2 ปี เชน่ กนั และใหด้ �ำ เนนิ การเผยแพร่ ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งเกยี่ วกบั การใชส้ าร การใชเ้ ครอ่ื งพน่ สาร อปุ กรณป์ อ้ งกนั ทเ่ี หมาะสม การฝกึ อบรมจะตอ้ งท�ำ ใหเ้ หน็ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยจะตอ้ งมรี ายละเอยี ดเกย่ี วกบั วธิ กี าร ขน้ั ตอน ระยะเวลา และเปา้ หมาย อย่างชัดเจน 3) กระทรวงสาธารณสุขได้รายงานผลการพิจารณาข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตติ อ่ คณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี 19 พฤศจกิ ายน 2562 สรปุ สาระส�ำคญั ตามพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2562 ให้กระทรวงสาธารณสุขเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก สิ่งแวดล้อม พิจารณาผลจากการใช้วัตถุอันตรายพาราควอต (Paraquat) ไกลโฟเซต (Glyphosate) และคลอรไ์ พรฟี อส (Chlorpyriphos) จากขอ้ มลู พษิ วทิ ยาจากตา่ งประเทศ รวมถงึ ขอ้ มลู จากกองโรคจากการประกอบอาชพี และโรคจากสง่ิ แวดลอ้ ม กรมควบคมุ โรค พบว่า ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพเกษตรกรจากกลุ่มเกษตรกรตัวอย่าง ตั้งแต่ปี 2554-2561 พบว่า ประมาณร้อยละ 30 ของผู้ได้รับการตรวจมีระดับเอนไซม์สูงกว่า คนทวั่ ไปและอยใู่ นระดบั เสยี่ งตอ่ สขุ ภาพ จากสดั สว่ นของเกษตรกรทม่ี คี วามเสย่ี งจะเจบ็ ปว่ ย จากสารเคมีก�ำจัดศัตรูพืชมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน รวมทั้งข้อมูลจากงานวิจัยของ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พบสารพาราควอตในขี้เทาทารกแรกเกิด ซึ่งมีผลต่อการถูกท�ำลายของต่อมไร้ท่อในลูกอัณฑะท�ำให้มีอสุจิลดลง และต่อมไทรอยด์ มภี าวะฮอรโ์ มนไทรอยดต์ ำ่� ทท่ี �ำใหเ้ กดิ ภาวะสตปิ ญั ญาดอ้ ย (Mental Retardation) ซงึ่ สง่ ผล ต่อพัฒนาการและภาวะการเจริญเติบโตของเด็กในอนาคต กระทรวงสาธารณสุขเห็นว่า การใชว้ ตั ถอุ นั ตรายทง้ั 3 ชนดิ เปน็ การกอ่ ใหเ้ กดิ โรคจากสงิ่ แวดลอ้ ม จงึ เหน็ ควรยตุ กิ ารใช้ สารเคมีทางการเกษตรท้ัง 3 ชนิดทันที เพ่ือป้องกันและควบคุมโรคจากสิ่งแวดล้อม แก่ประชาชนท่ีได้รับหรอื อาจไดร้ บั มลพิษ

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะิมมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 68 คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ กรณีท่ี 2 การเลือกปฏบิ ตั ติ ่อผตู้ ดิ เช้อื เอชไอวีในการสมัครงานกบั บรษิ ัทเอกชน ประเด็นการร้องเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้ร้องหกราย ขอให้ตรวจสอบกรณีกลา่ วอา้ งวา่ บริษัทเอกชนกำ�หนดให้ผสู้ มัครเข้าท�ำ งานต้องตรวจหา เชื้อเอชไอวกี อ่ นรับเขา้ ท�ำ งาน หากตรวจพบเช้ือดังกลา่ วกจ็ ะถกู ปฏิเสธการเขา้ รบั ทำ�งาน โดยที่ลักษณะงานไม่มีความเกี่ยวข้องหรือมีความเส่ียงท่ีจะแพร่เช้ือเอชไอวีแต่อย่างใด ถอื เป็นการเลอื กปฏิบตั ติ ่อผ้ตู ิดเชอื้ เอชไอวี การด�ำ เนนิ การ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติพจิ ารณากรณีข้างต้นแล้วเห็นวา่ บริษัทเอกชน กำ�หนดให้ผู้สมัครเข้าทำ�งานต้องตรวจหาเชื้อเอชไอวีก่อนรับเข้าทำ�งาน เป็นส่วนหน่ึง ของขนั้ ตอนการคดั เลอื กบุคคลเข้าทำ�งาน เป็นการกระทำ�ที่เป็นการเลอื กปฏิบัติตอ่ ผู้ร้อง โดยอาศยั เหตแุ หง่ สถานภาพทางสาธารณสขุ อนั ถอื เปน็ สถานภาพอยา่ งอนื่ (other status) แม้ว่าบริษัทเอกชนอีกรายหนึ่งชี้แจงว่า ไม่มีนโยบายให้ผู้สมัครงานตรวจหาเชื้อเอชไอวี การดำ�เนินการให้มีการตรวจเช้ือเอชไอวีก่อนรับเข้าทำ�งานเป็นการกระทำ�ของบริษัท เอกชนซงึ่ เปน็ ผรู้ บั จา้ งจากบรษิ ทั เอกชนในการคดั เลอื กพนกั งานเขา้ ท�ำ งาน แตเ่ มอื่ ผลของ การกระทำ�ดังกล่าวทำ�ให้ผู้ร้องต้องตรวจหาเช้ือเอชไอวีก่อนเข้าทำ�งาน ย่อมถือได้ว่า มกี ารเลอื กปฏบิ ตั เิ กดิ ขนึ้ เชน่ เดยี วกบั การกระท�ำ ของผถู้ กู รอ้ งรายอน่ื การกระท�ำ ของบรษิ ทั เอกชนทั้ง 6 แห่ง เป็นการกระทำ�ท่ีไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) อนั เปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนตอ่ ผรู้ อ้ งทง้ั 6 แหง่ ดงั นน้ั จงึ มมี ตใิ หม้ ขี อ้ เสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง การแกไ้ ขปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื ค�ำ สง่ั เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน ต่อผู้ถูกร้องท้ังหก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน และคณะรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และ (3) และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยคณะกรรมการ สิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) และ (3) ประกอบมาตรา 36 และ มาตรา 42 ดังนี้ มาตรการหรอื แนวทาง 1) ผ้ถู ูกร้องที่ 1 ที่ 2 ท่ี 4 ที่ 5 และท่ี 6 ควรพจิ ารณายกเลกิ เงื่อนไขการตรวจหา ทเ่ี หมาะสมในการปอ้ งกนั เชื้อเอชไอวีก่อนรับเข้าทำ�งานในทุกตำ�แหน่ง และดำ�เนินการตามแนวปฏิบัติแห่งชาติ หรอื แก้ไขการละเมดิ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และบรหิ ารจดั การดา้ นเอดสใ์ นสถานทท่ี �ำ งาน ประกาศกระทรวงแรงงาน สิทธมิ นษุ ยชน เรอื่ งแนวทางการปอ้ งกนั และบรหิ ารจดั การดา้ นเอดสแ์ ละวณั โรคในสถานประกอบกจิ การ ลงวันท่ี 25 กรกฎาคม 2555 รวมท้ังการจัดทำ�มาตรฐานการบริหารจัดการเอดส์ ในสถานประกอบการ (AIDS - response Standard Organization: ASO Thailand) ส่วนผู้ถูกร้องที่ 3 ควรควบคุมดูแลไม่ให้ผู้รับจ้างดำ�เนินการคัดเลือกพนักงานเข้าทำ�งาน ด้วยวธิ ีการใดอนั เปน็ การเลือกปฏบิ ตั ิต่อผูต้ ดิ เช้ือเอชไอวีหรือโรคเอดส์

69 มาตรการหรอื แนวทาง 2) กระทรวงสาธารณสุขควรบังคับใช้กฎหมายเพ่ือคุ้มครองสิทธิของผู้ติดเช้ือเอชไอวี บทที่ ทเ่ี หมาะสมในการปอ้ งกนั ไดแ้ ก่ การใชก้ ลไกตามพระราชบญั ญตั สิ ถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และประกาศกระทรวง 1 หรอื แกไ้ ขการละเมิด สาธารณสุข ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2542 เร่ือง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล สิทธมิ นษุ ยชน การบริการอ่ืนของสถานพยาบาลและสิทธิของผู้ป่วยซ่ึงผู้รับอนุญาตจะต้องแสดง บทท่ี ตามมาตรา 32 (3) กับสถานบริการทางการแพทย์ท่ีมีบริการตรวจหาเชื้อเอชไอวีและ 2 เปิดเผยผลการตรวจต่อบุคคลอืน่ ไมว่ า่ จะโดยสมัครใจหรอื ไม่ รวมถึงการดำ�เนินการใหม้ ี บทที่ มาตรการเชงิ ลงโทษตอ่ สถานพยาบาลทฝ่ี า่ ฝนื บทบัญญตั ดิ ังกลา่ วอย่างเคร่งครดั 3 บทที่ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ กระทรวงแรงงานและกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ควรเร่งดำ�เนินการให้ 4 หรือแนวทางในการ สถานประกอบกจิ การเอกชนด�ำ เนนิ การตามแนวปฏบิ ตั แิ หง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และบรหิ าร บทท่ี ส่งเสริมและคุ้มครอง จดั การดา้ นเอดสใ์ นสถานทท่ี �ำ งาน ประกาศกระทรวงแรงงาน เรอ่ื ง แนวทางการปอ้ งกนั และ 5 สิทธมิ นุษยชน บรหิ ารจดั การดา้ นเอดสแ์ ละวณั โรคในสถานประกอบกจิ การ ลงวนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2555 ภาค โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในสว่ นทเ่ี รยี กรอ้ งใหม้ กี ารยกเลกิ การตรวจหาเชอ้ื เอชไอวกี อ่ นรบั เขา้ ท�ำ งาน ผนวก รวมถงึ การจดั ท�ำ มาตรฐานการบรหิ ารจดั การเอดสใ์ นสถานประกอบการ (AIDS - response Standard Organization: ASO Thailand) ให้เกดิ ผลเปน็ รูปธรรมโดยเรว็ ขอ้ เสนอแนะ คณะรฐั มนตรคี วรด�ำ เนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรงุ กฎหมายกฎระเบยี บหรอื ค�ำ สง่ั ใดๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการแก้ไขปรบั ปรุง กบั การคมุ้ ครองแรงงานในภาคเอกชน ใหค้ รอบคลมุ ไปถงึ การคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผตู้ ดิ เชอ้ื เอชไอวี กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ในโลกแห่งการทำ�งาน ไมว่ า่ จะเป็นผูแ้ สวงหางานท�ำ ทีย่ ังมิได้อยูใ่ นฐานะลกู จ้าง และผทู้ ม่ี ี หรอื คำ�สง่ั ฐานะเปน็ ลกู จา้ งตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงานและกฎหมายอน่ื ตง้ั แตก่ ระบวนการพจิ ารณา รบั เขา้ ท�ำ งาน การก�ำ หนดเงอื่ นไขในการจา้ งงาน การเลอื่ นต�ำ แหนง่ และการสนิ้ สดุ การจา้ ง เพอื่ ใหผ้ ตู้ ดิ เชื้อเอชไอวมี สี ิทธิและโอกาสเทา่ เทยี มกับบคุ คลอนื่ โดยควรน�ำ เอาแนวปฏบิ ตั ิ ระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยเชอ้ื เอชไอว/ี เอดส์ กบั สทิ ธมิ นษุ ยชน (International Guidelines on HIV/AIDS and Human Rights) ในส่วนทเี่ กย่ี วขอ้ งมาเป็นแนวทางในการด�ำ เนินการ ท้ังนี้ ควรมีการจัดตั้งกลไกการคุ้มครองและตรวจสอบการเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อ เอชไอวใี นโลกแหง่ การท�ำ งาน เพ่ือท�ำ หนา้ ท่รี บั เรือ่ งร้องเรยี น ตรวจสอบ และดำ�เนนิ การ ให้มีการเยียวยาผู้ติดเชื้อเอชไอวีท่ีถูกเลือกปฏิบัติ อันจะทำ�ให้เกิดการบังคับใช้กฎหมาย คุม้ ครองสทิ ธิผู้ติดเชอ้ื เอชไอวอี ย่างมปี ระสิทธิภาพ ผลส�ำ เรจ็ / 1) บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งแจ้งว่าได้ยกเลิกการตรวจหาเช้ือเอชไอวีก่อนรับพนักงาน ความก้าวหนา้ ในการ เขา้ ทำ�งานทกุ ต�ำ แหนง่ ของบรษิ ทั มผี ลนับตงั้ แต่วันท่ี 1 เมษายน 2562 เปน็ ต้นไป คมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน 2) รองนายกรฐั มนตรี (นายวษิ ณุ เครอื งาม) สง่ั และปฏบิ ตั ริ าชการแทนนายกรฐั มนตรี ไดม้ อบหมายใหก้ ระทรวงแรงงานเปน็ หนว่ ยงานหลกั รบั เรอื่ งนไี้ ปพจิ ารณารว่ มกบั กระทรวง สาธารณสุข สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อศึกษา แนวทางและความเหมาะสมของข้อเสนอแนะดังกล่าว โดยให้กระทรวงแรงงานสรุป ผลการพิจารณาผลการดำ�เนินการดังกล่าวในภาพรวม แล้วส่งให้สำ�นักเลขาธิการ คณะรฐั มนตรภี ายใน 30 วนั นบั แต่วนั ที่ไดร้ บั แจง้ ค�ำ สัง่ เพ่อื นำ�เสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 70 คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ กรณที ่ี 3 สทิ ธชิ ุมชนอนั เกีย่ วเนือ่ งกับสิทธิในทีอ่ ยอู่ าศยั กรณกี ล่าวอ้างวา่ ได้รับผลกระทบ จากการประกอบกจิ การโรงงานอบพืชผลทางการเกษตร ประเด็นการร้องเรยี น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเรื่องร้องเรียนขอให้ตรวจสอบกรณี กลา่ วอา้ งวา่ ผรู้ อ้ งกบั พวก รวม 13 คน ซงึ่ เปน็ ชาวบา้ นในพนื้ ทตี่ �ำบลเชยี งบาน อ�ำเภอเชยี งค�ำ จงั หวดั พะเยา ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นจากการประกอบกจิ การโรงงานอบพชื ทางการเกษตร ของบรษิ ทั เอกชน กอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศ มเี ขมา่ ควนั และกลนิ่ เหมน็ รวมทงั้ มลพษิ ทางนำ้� มีกลนิ่ เหม็น และน้ำ� เสยี จากการประกอบกจิ การไหลลงสลู่ �ำหว้ ยผาฮาแหล่งนำ้� สาธารณะ การด�ำ เนนิ การ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า การประกอบกิจการ โรงงานของบริษัทเอกชนปล่อยน�้ำท้ิงไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลให้น�้ำในล�ำน�้ำแวน เน่าเสียและส่งกล่ินเหม็น ประชาชนไม่สามารถใช้ประโยชน์จากล�ำน�้ำดังกล่าวในการ อปุ โภคบรโิ ภคไดต้ ามปกติ อกี ทงั้ ยงั พบปญั หาเสยี งดงั รบกวน สง่ ผลกระทบตอ่ สทิ ธใิ นการ ด�ำรงชวี ติ ของประชาชน เปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน จงึ ใหม้ ขี อ้ เสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางท่ีเหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อองค์การ บริหารส่วนต�ำบลเชียงบาน จังหวัดพะเยา และกรมควบคุมมลพิษ ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 247 (1) และพระราชบัญญตั ิประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) ประกอบมาตรา 36 โดยให้ด�ำเนนิ การภายใน 60 วัน ดงั นี้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลเชยี งบาน ควรพจิ ารณาอาศยั อ�ำนาจตามพระราชบญั ญตั ิ หรอื แนวทางในการ การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 สั่งการให้บริษทั เอกชนปรับปรุงแก้ไขโรงงานอบแห้งผลผลิต ส่งเสรมิ และคมุ้ ครอง ทางการเกษตร มใิ หส้ รา้ งความเดอื ดรอ้ นร�ำคาญแกป่ ระชาชนทพี่ กั อาศยั อยใู่ กลเ้ คยี ง และ สิทธมิ นุษยชน ตรวจสอบวา่ บรษิ ทั ดงั กลา่ วไดป้ ระกอบกจิ การโดยถกู ตอ้ งตามชนดิ หรอื ประเภททกี่ �ำหนดไว้ ในใบอนญุ าตใหป้ ระกอบกจิ การทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพหรอื ไม่ รวมทง้ั สงั่ ใหร้ ะงบั เหตรุ �ำคาญ ทันทีหากพบวา่ มกี ารประกอบกิจการทจ่ี ะส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามยั ของประชาชน 2) จงั หวดั พะเยา ในฐานะพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี ควรอาศยั อ�ำนาจตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 ออกค�ำสง่ั ใหโ้ รงงานอบแหง้ ผลผลติ ทางการเกษตรของบรษิ ทั ดงั กลา่ วปรบั ปรงุ แก้ไขปัญหาจากฝุ่นละอองและเสียงรบกวน รวมทั้งให้มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงงาน ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน ในกรณที ต่ี รวจพบวา่ อาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย ความเสยี หาย หรอื ความเดอื ดรอ้ นร�ำคาญอยา่ งรา้ ยแรงแกบ่ คุ คลทอี่ ยใู่ กลเ้ คยี งกบั โรงงาน ควรพจิ ารณาใหห้ ยดุ ประกอบกจิ การโรงงานทง้ั หมดหรอื บางสว่ นในทนั ที โดยใหป้ รบั ปรงุ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ กอ่ นทจ่ี ะ อนญุ าตใหด้ �ำเนินการประกอบกจิ การต่อไป 3) กรมควบคมุ มลพษิ ในฐานะเจา้ พนกั งานควบคมุ มลพษิ ตามพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ควรตรวจสอบโรงงานอบแหง้ ผลผลิต ทางการเกษตรของเอกชนดังกล่าว ซึ่งจัดเป็นแหล่งก�ำเนิดมลพิษที่ต้องถูกควบคุม การปล่อยท้ิงอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ และระบายน�้ำท้ิงออกสู่สิ่งแวดล้อมให้เป็นไป ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดต่อไป

71 ผลส�ำ เรจ็ / 1) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลเชยี งบานแจง้ วา่ ไดอ้ าศยั อ�ำนาจตามพระราชบญั ญตั กิ าร บทท่ี ความกา้ วหนา้ สาธารณสุข พ.ศ. 2535 ตรวจสอบข้อเท็จจริงและมีค�ำส่งั ให้โรงงานปรบั ปรงุ แก้ไขระบบ 1 ในการค้มุ ครอง บ�ำบัดน้�ำเสียให้มีประสิทธิภาพเพียงพอ และจัดท�ำแผนปฏิบัติการในการแก้ไขปัญหา สทิ ธมิ นุษยชน กล่ินเหม็นและน�้ำเสีย ไม่ให้ส่งผลกระทบหรืออาจก่อให้เกิดอันตรายความเสียหายหรือ บทท่ี ความเดือดร้อนแก่บุคคล หรือทรัพย์สินท่ีอยู่ในโรงงานหรือท่ีอยู่ใกล้เคียงกับโรงงาน 2 โดยจะลงพื้นท่ีเพื่อตรวจสอบการแก้ไขปรับปรุงโรงงาน รวมท้ังการออกใบอนุญาต บทท่ี การประกอบกจิ การทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ ประเภท การผลติ สะสม หรอื แบง่ บรรจุ อาหาร 3 หมกั ดอง แช่อมิ่ จากผกั ผลไม้ หรอื พืชอย่างอ่นื ให้แกบ่ ริษทั เอกชนดงั กล่าว บทท่ี 4 2) จงั หวดั พะเยาแจง้ วา่ ส�ำนกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวดั พะเยาไดต้ รวจสอบและด�ำเนนิ การ บทท่ี ตามพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 สรปุ ไดว้ า่ มกี ารระบายนำ้� ทงิ้ ออกนอกบรเิ วณโรงงาน 5 โดยไมผ่ า่ นการบ�ำบดั มกี ลน่ิ เหมน็ คลา้ ยกลน่ิ ของระบบบ�ำบดั อตุ สาหกรรมจงั หวดั พะเยา ภาค จงึ ไดส้ ง่ั ใหบ้ รษิ ทั เอกชนหยดุ ประกอบกจิ การโรงงานในสว่ นของการผลติ มะมว่ งอบแหง้ และ ผนวก ใหป้ รบั ปรงุ แกไ้ ขโรงงาน ตอ่ มา ไดต้ รวจตดิ ตามการปฏบิ ตั ติ ามค�ำสงั่ พบวา่ บรเิ วณบอ่ บ�ำบดั นำ�้ เสยี ยงั คงมกี ลน่ิ แตไ่ มร่ นุ แรง และอยรู่ ะหวา่ งจดั ท�ำแผนการปฏบิ ตั กิ ารแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ น เรอ่ื งกลนิ่ เหมน็ จากโรงงาน และจะตรวจตดิ ตามการปฏบิ ตั ติ ามค�ำสงั่ อยา่ งใกลช้ ดิ 3) กรมควบคุมมลพิษแจ้งว่า ได้อาศัยอ�ำนาจตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ รว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในพน้ื ท่ี และตวั แทนผรู้ อ้ งเรยี นและมหี นงั สอื แจง้ ผลการตรวจสอบไปยงั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พะเยา ในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน นายกองค์การบริหาร สว่ นต�ำบลเชยี งบาน ในฐานะเจา้ พนกั งานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการสาธารณสขุ ก�ำกบั ดแู ล การประกอบกจิ การโรงงานของบรษิ ทั เอกชนดังกลา่ ว ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี ฎหมายก�ำหนด กรณที ี่ 4 สทิ ธบิ ุคคลและชุมชน กรณกี ลา่ วอา้ งว่าการดำ� เนินโครงการสำ� รวจแร่โพแทช ขาดการมสี ่วนร่วมของชุมชนและไม่ชี้แจงขอ้ มูลใหป้ ระชาชนทราบ ประเด็นการรอ้ งเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเรื่องร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณี กล่าวอ้างว่าการด�ำเนินการส�ำรวจแร่โพแทช ของบริษัท A ในพื้นที่อ�ำเภอวานรนิวาส จังหวดั สกลนคร ขาดการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและไม่ชแ้ี จงข้อมูลให้ประชาชนทราบ การดำ�เนินการ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตพิ จิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั อาชญาบตั รพเิ ศษ ในการส�ำรวจแรโ่ พแทชและบนั ทกึ ชว่ ยจ�ำเกยี่ วกบั ความรว่ มมอื กนั ทางการคา้ เศรษฐกจิ และ เทคนิคระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อร่วมลงทุนในการพัฒนา เหมอื งแรโ่ พแทชและผลติ ปยุ๋ โพแทช เปน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารอนั เกยี่ วขอ้ งกบั สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั ทราบ และเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐในเร่ือง สง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพทไ่ี ดร้ บั การรบั รองไวต้ ามรฐั ธรรมนญู และประกาศคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง การก�ำหนดให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมและ สุขภาพ ที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามมาตรา 9 (8) แห่งพระราชบัญญัติ

รายงานผลการปฏบิ ัติงานคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 72 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ การดำ�เนินการ ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ทใี่ หห้ นว่ ยงานของรฐั ตอ้ งจดั ใหม้ ไี วเ้ พอื่ ใหป้ ระชาชน สามารถเข้าดูได้ จึงให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง สทิ ธมิ นษุ ยชน เกยี่ วกบั การใหม้ ขี อ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั สงิ่ แวดลอ้ มและสขุ ภาพใหค้ รบถว้ น เพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดต้ ามพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการพ.ศ. 2540 และชแี้ จงท�ำความเขา้ ใจกบั ประชาชนในพน้ื ทโ่ี ครงการส�ำรวจแรโ่ พแทช พรอ้ มขอ้ มลู เกยี่ วกบั อาชญาบัตรพิเศษในการส�ำรวจแร่โพแทชระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจท่ีถูกต้องให้แก่ประชาชนในพื้นที่อ�ำเภอวานรนิวาส จงั หวัดสกลนคร รวมท้งั สามารถใชส้ ิทธใิ นการมสี ่วนร่วมแสดงความคิดเห็นตามกฎหมาย ที่เกย่ี วข้องตอ่ ไป ต่อกระทรวงอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร่ ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนคร และจังหวัดสกลนคร ตามรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 247 (3) และพระราชบญั ญัตปิ ระกอบ รัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (3) ดงั น้ี ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) กระทรวงอุตสาหกรรมควรพิจารณาก�ำชับให้หน่วยงานในสังกัดต้องจัดให้มี หรอื แนวทางในการ ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับส่ิงแวดล้อมและสุขภาพ ตามมาตรา 9 (8) แห่งพระราชบัญญัติ สง่ เสริมและคุ้มครอง ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 โดยครบถ้วน และสามารถใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ ได้ สทิ ธิมนุษยชน ตามท่ีกฎหมายก�ำหนด 2) กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ควรร่วมกับส�ำนักงานอุตสาหกรรม จงั หวัดสกลนครและจงั หวดั สกลนคร พจิ ารณาชี้แจงท�ำความเขา้ ใจกบั ประชาชนในพ้นื ท่ี โครงการส�ำรวจแรโ่ พแทช พรอ้ มจดั ท�ำเอกสารขอ้ มลู เกย่ี วกบั การอาชญาบตั รพเิ ศษในการ ส�ำรวจแร่โพแทชและบันทึกช่วยจ�ำเก่ียวกับความร่วมมือกันทางการค้า เศรษฐกิจและ เทคนคิ ในการรว่ มลงทนุ พฒั นาเหมอื งแรโ่ พแทชและผลติ ปยุ๋ โพแทชระหวา่ งประเทศไทย กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงแวดล้อมและสุขภาพและการใช้หรือ แสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง ใหแ้ ก่บุคคลและชมุ ชนในอ�ำเภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร และสามารถใชส้ ิทธใิ นการ มีส่วนร่วมแสดงความคิดเหน็ ตามข้ันตอนของกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งตอ่ ไป ผลส�ำ เรจ็ / กระทรวงอุตสาหกรรม กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ และจังหวัด ความก้าวหน้า สกลนคร แจง้ วา่ มศี นู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารตามมาตรา 9 แหง่ ในการค้มุ ครอง พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ สิทธมิ นษุ ยชน ตามกฎหมายก�ำหนด และท่ีผ่านมาส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสกลนครได้ร่วมมือกับ กรมอตุ สาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมอื งแร่ และจงั หวดั สกลนคร ไดช้ แ้ี จงท�ำความเขา้ ใจกบั ประชาชนในบริเวณโครงการส�ำรวจแร่โพแทชในพ้ืนทอ่ี �ำเภอวานรนิวาส จังหวดั สกลนคร มาอย่างต่อเน่ือง พร้อมทั้งได้ส่งสื่อประชาสัมพันธ์การส�ำรวจแร่โพแทช เผยแพร่ให้กับ หน่วยงานต่าง ๆ ในจังหวดั สกลนคร ส�ำหรบั ประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนได้รับทราบข้อมลู ดงั กลา่ วแลว้ ในสว่ นของจงั หวดั สกลนครไดร้ ว่ มกบั ส�ำนกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวดั สกลนคร ด�ำเนนิ การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ รวมทงั้ ก�ำชบั ไปยงั อ�ำเภอวรนรนวิ าสใหส้ รา้ งความเขา้ ใจ และรักษาความปลอดภยั ท้ังผ้ปู ระกอบการและประชาชนผ้ตู ่อต้านและผู้สนบั สนนุ

73 กรณที ่ี 5 สทิ ธิคนพิการ กรณกี ลา่ วอา้ งวา่ สายการบินเลอื กปฏิบัติกบั ผ้โู ดยสาร บทท่ี ด้วยเหตแุ หง่ ความพิการ 1 ประเด็นการรอ้ งเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นสมควรพิจารณาตรวจสอบ กรณีที่ปรากฏ บทท่ี เป็นข่าวในส่ือสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก (Facebook) กล่าวอ้างว่า ผู้เขียนและสามีท่ีป่วย 2 เป็นอัมพาตได้ใช้บริการสายการบินนกแอร์ ซึ่งไม่มีเคร่ืองมือหรือส่ิงอ�ำนวยความสะดวก บทที่ ส�ำหรบั ผโู้ ดยสารที่ปว่ ยเป็นอัมพาตท่ีนง่ั บนเกา้ อ้ีรถเข็น (wheelchair) จึงต้องช่วยกนั ยก 3 สามีผู้ร้องท่ีน่ังอยู่บนเก้าอ้ีรถเข็นลงจากเครื่องบินเพื่อไปยังรถยนต์ที่จอดรอรับอยู่ และ บทท่ี พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินแจ้งว่านโยบายของสายการบินไม่รับผู้โดยสารท่ีเดินไม่ได้ 4 เพราะไม่มีอุปกรณ์ช่วยเหลือ และต่อมาได้รับเร่ืองร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณีผู้ร้อง บทท่ี ซงึ่ เป็นคนพกิ ารอกี สองรายกลา่ วอา้ งวา่ ได้จองบัตรโดยสารเครอ่ื งบนิ สายการบนิ นกแอร์ 5 ไป-กลบั กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ แตเ่ มื่อไปแสดงตนเพอื่ ข้ึนเครื่อง ปรากฏว่าพนกั งานต้อนรับ ภาค ภาคพ้ืนดินของสายการบินดังกล่าวแจ้งว่า ไม่อนุญาตให้ผู้ร้องท้ังสองเดินทางโดยไม่มี ผนวก ผู้ร่วมเดินทางด้วย ท�ำให้ผู้ร้องทั้งสองต้องซื้อบัตรโดยสารของสายการบินอื่น ส่วนการ เดินทางกลับสายการบินนกแอร์ได้คืนเงินค่าโดยสารให้ผู้ร้องท่ี 1 ทั้งขาไปและขากลับ ส่วนผู้ร้องท่ี 2 ได้รับคืนเงิน (refund) เฉพาะค่าโดยสารขาไป และคงบัตรโดยสาร ขากลับของผู้ร้องท่ี 2 ไว้ โดยพนักงานของสายการบินนกแอร์อนุญาตให้ผู้ร้องทั้งสอง เดินทางกลับ ซ่ึงการบริการในเท่ียวบินขากลับของสายการบินนกแอร์มีการบริการอย่าง ครบครัน โดยแตกต่างจากเที่ยวบินขาไป เน่ืองจากกรณีท้ังสองเป็นเร่ืองเกี่ยวกับ สิทธิคนพิการซึ่งเป็นประเด็นเดียวกัน จึงมีมติให้น�ำมาพิจารณารวมกัน การด�ำ เนนิ การ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า สายการบินนกแอร์ ได้จัดส่ิงอ�ำนวยความสะดวกให้แก่คนพิการแล้ว แต่วิธีการเข้าถึงไม่สะดวก เน่ืองจาก มีขั้นตอนการแจ้งล่วงหน้า ซึ่งผู้ร้องทั้งสองและคนพิการส่วนใหญ่ไม่ทราบถึงหลักเกณฑ์ ดังกล่าว ส�ำหรับน�ำพาคนพิการหรือรถเข็นคนพิการข้ึนและลงจากเครื่องบินได้ก็ถือเป็น การแก้ปัญหาและพยายามให้ความสะดวกแก่ผู้ร้องทั้งสอง อีกท้ังภายหลังเกิดเหตุการณ์ ได้มีการสอบสวนข้อเท็จจริง รวมทง้ั ได้ว่ากล่าวตกั เตือนและลงโทษพนกั งานแล้ว กรณนี ี้ จึงยังไม่อาจรับฟังได้ว่าสายการบินนกแอร์เลือกปฏิบัติต่อผู้ร้องท้ังสองด้วยเหตุ แห่งความพิการ จึงมีมติให้ยุติเรื่อง แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการละเมิด หรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม หรือความสุ่มเส่ียงอ่ืนที่อาจเกิดขึ้นได้ จึงให้มีข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางท่ีเหมาะสมในการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง การเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ตามมาตรา 247 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และมาตรา 26 (1) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 และข้อเสนอแนะในการแกไ้ ขปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�ำส่ังใดๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนตามมาตรา 247 (3) ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และมาตรา 26 (3) พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ดังน้ี

รายงานผลการปฏิบัติงานคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปทิ รธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 74 คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ มาตรการหรอื แนวทาง บรษิ ัท สายการบิน นกแอร์ จ�ำกดั (มหาชน) (ผถู้ ูกรอ้ ง) ควรด�ำเนินการ ดงั น้ี ทเ่ี หมาะสมในการปอ้ งกนั 1) ควรเยียวยาผู้ร้องท้ังสองตามความเสียหายท่ีเกิดข้ึนจริงเพราะเหตุแห่งกรณี หรอื แก้ไขการละเมดิ ตามค�ำรอ้ ง และเยียวยาผโู้ ดยสารซึ่งเป็นผรู้ ่วมเดินทาง (escort /accompany) กับผรู้ ้อง สทิ ธิมนุษยชน ที่ 2 โดยคืนคา่ โดยสาร (refund) จากท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง-ท่าอากาศยาน รวมทัง้ การเยียวยา นานาชาติเชยี งใหม่ เม่อื วันที่ 6 ตุลาคม 2560 ผ้ไู ดร้ ับความเสียหาย 2) กรณีที่คนพิการเดินทางโดยจองตั๋วเครื่องบินเกิน 48 ชั่วโมง ก่อนออกเดินทาง จากการละเมิด ควรแจง้ เงอื่ นไขการใหบ้ รกิ ารตา่ ง ๆ ใหม้ คี วามชดั เจน อาทิ การแจง้ ขอรบั บรกิ ารเกา้ อร้ี ถเขน็ สิทธมิ นุษยชน (wheelchair) เกา้ อร้ี ถเขน็ ในหอ้ งโดยสาร (cabin wheelchair) หรอื อปุ กรณย์ กคนพกิ าร หรือเกา้ อ้ีรถเขน็ ข้นึ เครอ่ื งบนิ (hydraulic lift) โดยแจ้งล่วงหน้ากอ่ นเดนิ ทางไมน่ ้อยกว่า 48 ชว่ั โมง ในขนั้ ตอนการซอ้ื บัตรโดยสารการจองทน่ี ่งั และแสดงตนเพือ่ การขึ้นเคร่ืองบนิ (check in) ผา่ นระบบเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ในชอ่ งทางต่าง ๆ โดยออกแบบระบบการ ใหบ้ ริการขอ้ มูลขา่ วสารดังกล่าวให้คนพิการประเภทตา่ ง ๆ สามารถเข้าถงึ ไดโ้ ดยสะดวก และเหมาะสม เช่น การบริการจองบัตรโดยสารออนไลน์ ควรจะมีประกาศในลักษณะ ข้อความแจ้งเตือนบนเว็บไซต์ หรือก่อนท�ำการยืนยันตกลงซื้อบัตรโดยสารออนไลน์ ควรมชี อ่ งแสดงความตกลงหรอื ปฏเิ สธขอรบั บรกิ ารชว่ ยเหลอื เพม่ิ เตมิ กอ่ น จงึ จะสามารถ ตกลงซอ้ื บตั รโดยสารออนไลนไ์ ด้ กรณีที่คนพิการเดินทางโดยจองต๋ัวเคร่ืองบินไม่ถึง 48 ช่ัวโมง ก่อนออกเดินทาง หากไม่สามารถจัดการอ�ำนวยความสะดวกและการช่วยเหลือคนพิการ ผู้ถูกร้องควร ท่ีจะมีการแจ้งให้คนพิการทราบ เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและเพ่ือให้คนพิการ สามารถพิจารณาประกอบการตดั สินใจได้ 3) ควรจัดให้มีการอบรมผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจา้ หนา้ ทท่ี ม่ี อี �ำนาจหนา้ ทใ่ี นการตดั สนิ ใจวา่ จะใหผ้ โู้ ดยสารเดนิ ทางไดห้ รอื ไม่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจ และตระหนักถึงสิทธิของคนพิการในการเข้าถึงการบริการสาธารณะ ทั้งข้อจ�ำกัดและ ความจ�ำเป็นที่ต้องใชบ้ ริการของผูโ้ ดยสารกลุม่ ดังกลา่ ว รวมทงั้ วธิ ีการสอื่ สารท่เี หมาะสม แก่ผู้ใช้บริการที่เป็นคนพิการ เพื่อป้องกันมิให้เกิดปัญหากับผู้รับบริการในลักษณะ เช่นเดียวกับค�ำร้องนี้ข้ึนอีก โดยให้คนพิการร่วมเป็นวิทยากรในการอบรม ส่วนกรณี ทไี่ มอ่ นญุ าตใหผ้ โู้ ดยสารคนใดเดนิ ทางและมสี ทิ ธไิ ดร้ บั คนื คา่ โดยสาร (refund) ควรปรบั ปรงุ ระบบและขั้นตอนการด�ำเนนิ การใหไ้ ดร้ ับคืนค่าโดยสารโดยไมล่ ่าชา้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) กระทรวงคมนาคมควรด�ำเนินการ ดงั นี้ หรอื แนวทางในการ 1.1) จัดให้มีระเบียบและแนวปฏิบัติในการให้บริการของสายการบินต้นทุนต่�ำ สง่ เสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน ส�ำหรับคนพิการให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพ่ือเป็นแนวทางให้ทุกสายการบินปฏิบัติ ตอ่ คนพิการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเทา่ เทยี มกัน 1.2) เป็นหน่วยงานกลางในการประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายคนพิการ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นและข้อแนะน�ำต่อกิจการการขนส่งสาธารณะ

75 ขอ้ เสนอแนะมาตรการ ทางอากาศยาน อาทิ การก่อสร้างอาคารและสถานท่ี การจัดหาวัสดุอุปกรณ์และ บทท่ี หรือแนวทางในการ เครอื่ งอ�ำนวยความสะดวก การใหบ้ รกิ ารของผปู้ ระกอบกจิ การและเจา้ หนา้ ที่ ภายใตก้ ารค�ำนงึ 1 สง่ เสริมและคุม้ ครอง ถึงหลักการการออกแบบเพื่อการใช้งานของคนทุกกลุ่มในสังคมอารยสถาปัตย์ สทิ ธมิ นุษยชน (Universal Design) และความต้องการพิเศษของคนพกิ ารแต่ละประเภท บทท่ี 2 2) กรมทา่ อากาศยานควรด�ำเนนิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยคนพกิ าร อาทิ พระราชบญั ญตั ิ บทที่ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 กฎกระทรวงก�ำหนดลักษณะ หรือ 3 การจัดให้มีอุปกรณ์ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก หรือบริการในอาคารสถานท่ี ยานพาหนะ บทท่ี และบริการขนส่ง เพ่ือให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ พ.ศ. 2556 และ 4 กฎกระทรวงก�ำหนดสง่ิ อ�ำนวยความสะดวกในอาคาร ส�ำหรบั ผพู้ กิ ารหรอื ทพุ พลภาพและ บทท่ี คนชรา พ.ศ. 2548 ให้ครอบคลุมท่าอากาศยานทุกแห่ง โดยกระจายวัสดุอุปกรณ์และ 5 เครอ่ื งอ�ำนวยความสะดวก รวมทงั้ การใหบ้ รกิ ารตามจดุ ตา่ ง ๆ ของทา่ อากาศยานอยา่ งทวั่ ถงึ ภาค ผนวก ข้อเสนอแนะในการ 1) กระทรวงคมนาคม โดยส�ำนักงานการบนิ พลเรือนแห่งประเทศไทย ควรเสนอใหม้ ี ปรับปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบยี บเกยี่ วกบั การคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผโู้ ดยสารพกิ ารในการเขา้ ถงึ บรกิ ารขนสง่ สาธารณะ ระเบียบ หรือคำ�สัง่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสายการบินต้นทุนต่�ำ โดยก�ำหนดให้ผู้ประกอบกิจการขนส่ง ทางอากาศยานเพอื่ การพาณชิ ย์ (สายการบนิ ) ไมส่ ามารถปฏเิ สธการรบั ผโู้ ดยสารพกิ ารได้ เวน้ แต่เป็นกรณตี ามที่ก�ำหนดในข้อบงั คับของคณะกรรมการการบินพลเรอื น เพือ่ ให้เปน็ มาตรฐานเดียวกันของทุกสายการบิน และก�ำหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการช่วยเหลือ คนพกิ ารเบ้อื งตน้ ของแต่ละสายการบินให้มีมาตรฐานเดยี วกนั 2) กระทรวงคมนาคม โดยกรมทา่ อากาศยาน และบรษิ ทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกดั (มหาชน) ควรเสนอให้มีการแก้ไขกฎกระทรวงก�ำหนดลักษณะ หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก หรือบริการในอาคารสถานท่ี ยานพาหนะ และบริการขนส่ง เพอื่ ใหค้ นพกิ ารสามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนไ์ ด้ พ.ศ. 2556 โดยเพม่ิ ขอ้ ก�ำหนดเกย่ี วกบั การจัดให้มีเก้าอี้รถเข็นในห้องโดยสาร (cabin wheelchair) อุปกรณ์ยกคนพิการท่ีใช้ รถเขน็ ขน้ึ เครอ่ื งบนิ (hydraulic lift) โดยไมค่ วรเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยสว่ นนจี้ ากคา่ ธรรมเนยี ม การใชส้ นามบินของผปู้ ระกอบกิจการขนส่งพาณชิ ย์ทางอากาศ ผลสำ�เรจ็ / 1) สำ�นักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย แจ้งว่า ได้จัดทำ�กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความก้าวหน้า โดยการเสนอร่างพระราชบัญญัตกิ ารเดนิ อากาศ (ฉบบั ท่ี ..) พ.ศ. .... และสภานิตบิ ญั ญัติ ในการคุม้ ครอง แหง่ ชาติได้มมี ตเิ ห็นสมควรประกาศใช้เป็นกฎหมายแล้ว โดยมาตรา 41/133 วรรคสาม สทิ ธมิ นษุ ยชน ระบวุ า่ “ห้ามมใิ ห้ผไู้ ดร้ ับใบอนุญาตประกอบกจิ การการบินพลเรอื นตามมาตรา 41/125 ซึ่งเป็นผู้ประกอบกิจการขนส่งทางอากาศเพ่ือการพาณิชย์และผู้ดำ�เนินการเดินอากาศ ตา่ งประเทศทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตตามมาตรา 41/126 ปฏเิ สธการรบั ขนคนพกิ ารตามกฎหมาย ว่าด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เว้นแต่เป็นกรณีตามวรรคหน่งึ หรือ วรรคสองหรือตามที่กำ�หนดไว้ในข้อบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน” ซ่ึงกรณี ยกเว้นไดแ้ ก่ เหตผุ ลดา้ นความปลอดภยั และการรักษาความปลอดภัย และกรณีผ้โู ดยสาร ที่มีความประพฤติหรือมีประวัติว่าประพฤติตนไม่เรียบร้อยในระหว่างการโดยสาร อากาศยาน

รายงานผลการปฏิบตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะมิมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 76 คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ ผลสำ�เร็จ/ 2) กรมทา่ อากาศยาน แจง้ วา่ ความก้าวหนา้ 2.1) สนามบินในสังกัดกรมท่าอากาศยานมีการจัดส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและ ในการคุ้มครอง สิทธมิ นุษยชน บริการส�ำหรับบุคคลท่ีต้องการความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษตามท่ีกฎหมายก�ำหนด อยู่แล้ว และได้ส�ำรวจสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและบริการฯ ณ สนามบินท้ัง 28 แห่ง โดยมีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและบริการฯ ดังนี้ ที่จอดรถ ทางลาด ป้ายและสัญลักษณ์ การให้บริการข้อมูลข่าวสาร ห้องน้�ำ ลิฟต์ บันได พื้นท่ีส�ำหรับหนีภัย พื้นผิวต่างสัมผัส ทนี่ ง่ั ส�ำหรบั คนพกิ ารหรอื พนื้ ทจ่ี อดรถเขน็ และประกาศเตอื นภยั และประกาศขอ้ มลู ส�ำหรบั คนพกิ ารทางการเหน็ และตวั อกั ษรไฟวงิ่ หรอื สญั ญาณเตอื นภยั ส�ำหรบั คนพกิ ารทางการไดย้ นิ นอกจากนี้ กรมท่าอากาศยานได้มีแนวทางปฏิบัติในการให้บริการแก่บุคคลผู้ช่วยเหลือ ตวั เองไมไ่ ดใ้ นการเดนิ ทางทางอากาศใหก้ บั สนามบนิ ในสงั กดั กรมทา่ อากาศยานถอื ปฏบิ ตั ิ 12 ข้อ ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุมหารือระหว่างผู้แทนจากส�ำนักงานปลัดกระทรวง คมนาคม กรมการบนิ พลเรอื น บรษิ ทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการ ด�ำเนินงานธุรกิจการบินกรุงเทพ และผู้ประกอบการสายการบินที่ให้บริการเดินทาง ภายในประเทศ จ�ำนวน 10 สายการบนิ เมอื่ วันท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ 2558 2.2) สนามบินในสังกัดกรมท่าอากาศยานท่ีให้บริการอุปกรณ์ยกคนพิการท่ีใช้ รถเข็นข้ึนเคร่ืองบิน (hydraulic Lift) มี 2 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติกระบ่ี ซึ่งให้บรกิ ารโดยบริษัท การบนิ ไทย จ�ำกัด (มหาชน) และมกี ารเรียกเกบ็ ค่าบริการ อนง่ึ ปัจจุบันท่าอากาศยานหัวหินมีผู้โดยสารที่ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวจ�ำนวนน้อย จึงจะมีการ ส่งมอบอุปกรณ์ฯ ไปใช้ท่ีท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ ซึ่งมีเที่ยวบินและผู้โดยสาร จ�ำนวนมากเพอื่ การใชอ้ ปุ กรณใ์ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ 3) บริษัท สายการบินนกแอร์ จำ�กัด (มหาชน) แจ้งว่า ได้เชิญผู้ร้องไปเป็นวิทยากร ใหแ้ กบ่ รษิ ทั ฯ ในหลกั สตู รสทิ ธแิ ละความเสมอภาคของคนพกิ ารและการใหบ้ รกิ ารส�ำ หรบั ผู้โดยสารทุกคน (Inclusive Air Transport Service Training) และได้จัดทำ�คู่มือ การให้ความช่วยเหลือและอำ�นวยความสะดวกแก่คนพิการแต่ละประเภทและผู้สูงอายุ โดยอ้างอิงจากคู่มือการให้ความช่วยเหลือและอำ�นวยความสะดวกแก่คนพิการแต่ละ ประเภท และผ้สู ูงอายุสำ�หรับหนว่ ยงานท่ใี ห้บรกิ ารภาคขนส่ง เพอื่ ใหพ้ นักงานไดถ้ ือเปน็ แนวปฏบิ ัติตอ่ ไป กรณที ี่ 6 สทิ ธแิ ละเสรภี าพในชวี ติ และรา่ งกาย กรณกี ลา่ วอา้ งวา่ เดก็ หญงิ ชาวโรฮนี จาเสยี ชวี ติ ภายในห้องกักของดา่ นตรวจคนเขา้ เมืองจงั หวัดสงขลา ประเดน็ การรอ้ งเรียน คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติไดร้ ับเรื่องรอ้ งเรียนขอใหต้ รวจสอบ กรณีกลา่ ว อ้างว่า นางสาวบี (นามสมมุติ) ชาวโรฮีนจา อายุ 16 ปี ถูกเจ้าหน้าที่จับกุมขณะมีการ ปราบปรามการค้ามนษุ ยช์ าวโรฮนี จาในพน้ื ที่ภาคใต้ โดยไม่มกี ารจำ�แนกว่าเปน็ ผเู้ สยี หาย จากการค้ามนุษย์หรือไม่ และถูกควบคุมตัวไว้ท่ีด่านตรวจคนเข้าเมือง ตำ�บลสำ�นักขาม อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา ตั้งแต่ปี 2558 ต่อมา เม่ือวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560 นางสาวบี ได้เสยี ชีวิตลงดว้ ยภาวะเลือดออกในสมอง

77 การด�ำ เนินการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า กรณีนางสาวบีและพ่ีสาว บทท่ี ทถ่ี กู ควบคมุ กกั ขงั โดยเจา้ หนา้ ทตี่ �ำรวจตรวจคนเขา้ เมอื ง จงั หวดั สงขลา เพอ่ื รอการผลกั ดนั ออกนอก 1 ราชอาณาจกั ร โดยการควบคมุ กกั ขงั ผแู้ สวงหาทพี่ กั พงิ ชาวโรฮนี จากรณที เ่ี ปน็ เดก็ ปรากฏวา่ ประเทศไทยยงั ไมม่ แี นวทางในการดแู ลเดก็ ทต่ี ดิ ตามครอบครวั ของคนตา่ งดา้ วทแ่ี สวงหาทพี่ กั พงิ บทท่ี เมอ่ื ผปู้ กครองถกู จบั กมุ เดก็ จงึ ถกู สง่ ตวั เขา้ หอ้ งกกั ดว้ ยในกรณดี งั กลา่ ว ซง่ึ กตกิ าระหวา่ งประเทศ 2 วา่ ดว้ ยสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง ขอ้ 10 (2) (ข) และอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยสทิ ธเิ ดก็ ขอ้ 37 (ค) บทที่ ใหก้ ารรบั รองไวว้ า่ เดก็ ทกุ คนทถี่ กู ลดิ รอนเสรภี าพจะไดร้ บั การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยมนษุ ยธรรมและ 3 ดว้ ยความเคารพในศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เดก็ ทกุ คนทถี่ กู ลดิ รอนเสรภี าพ บทที่ จะตอ้ งถกู แยกตา่ งหากจากผใู้ หญ่ ดงั นน้ั การควบคมุ กกั ขงั เดก็ ทต่ี ดิ ตามครอบครวั ชาวโรฮนี จา 4 เพ่อื แสวงหาทีพ่ กั พิง จึงขัดตอ่ ข้อก�ำหนดมาตรฐานขนั้ ต่�ำแห่งสหประชาชาตใิ นการปฏบิ ตั ิ บทท่ี ตอ่ ผตู้ อ้ งขงั (United Nations Standard Minimum Rules for the Treatment of Prisoners: 5 Mandela Rules) ขอ้ 11 และไมเ่ ปน็ ไปตามแนวทางของกฎของสหประชาชาตวิ า ดว ยการ ภาค คมุ ครองเดก็ และเยาวชนซงึ่ ถกู ลดิ รอนเสรภี าพ (United Nations Rules for the Protection ผนวก of Juveniles Deprived of their Liberty) และอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยสทิ ธเิ ดก็ ขอ้ 39 (ค) ทก่ี �ำหนดวา่ จะตอ้ งมกี ารแยกขงั หรอื กกั กนั ตวั เดก็ จากผตู้ อ้ งขงั ผใู้ หญ่ การกระท�ำของดา่ นตรวจ คนเขา้ เมอื งจงั หวดั สงขลาเปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน จงึ มมี ตใิ หเ้ สนอแนะมาตรการหรอื แนวทางในการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนตอ่ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 มาตรา 247 (3) และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (3) ดงั น้ี ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) กระทรวงมหาดไทย ส�ำ นกั งานตรวจคนเขา้ เมอื ง และกระทรวงการพฒั นาสงั คมและ หรือแนวทางในการ ความมั่นคงของมนุษย์ ควรพิจารณาทางเลือกอ่ืนแทนการกักตัวเด็กท่ีติดตามผู้ปกครอง สง่ เสริมและคุ้มครอง เพื่อแสวงหาท่ีพักพิงในระหว่างรอการส่งกลับประเทศต้นทางหรือเพื่อเดินทางต่อไปยัง สิทธิมนุษยชน ประเทศที่สาม โดยให้เด็กได้มีโอกาสอยู่ร่วมกับผู้ปกครองในสถานที่ที่เหมาะสม เพ่ือให้ เด็กมีโอกาสได้รับการศึกษา การพัฒนาตามวัย และได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพ้ืนฐาน ตามพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 2) สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติควรเร่งจัดทำ�บันทึกความเข้าใจ เร่ือง การดำ�เนินงาน ระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐ องค์การระหวา่ งประเทศ และองคก์ รเอกชน กรณีการกำ�หนด มาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักกันตัวคนต่างด้าวเพื่อรอการ สง่ กลบั พ.ศ. 2560 ให้เกดิ ผลในทางปฏบิ ัติโดยเรว็ 3) ส�ำ นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาตคิ วรรว่ มกบั กระทรวงการตา่ งประเทศ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน สำ�นักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติ และสำ�นักงานอัยการสูงสุด เรง่ จดั ท�ำ ระเบยี บส�ำ นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การคนเขา้ เมอื งผดิ กฎหมายและ ผู้ลภ้ี ยั พ.ศ. .... ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วันท่ี 10 มกราคม 2560 4) ส�ำ นกั งานตรวจคนเขา้ เมอื งควรพจิ ารณาปรบั ปรงุ ค�ำ นยิ ามค�ำ วา่ “เดก็ ” โดยใชห้ ลกั เกณฑ์ ทส่ี อดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 เพอ่ื ประโยชนส์ งู สดุ ของเดก็ เปน็ ส�ำ คญั

รายงานผลการปฏิบัตงิ านคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปทิ รธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 78 คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ ผลสำ�เร็จ/ 1) สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ แจ้งว่า รับทราบและจะนำ�ข้อเสนอแนะของ ความก้าวหนา้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปอ้างอิง กำ�หนดนโยบายหรือวางแผนปฏิบัติงาน ในการคุ้มครอง ให้เกิดความสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนสากลมากขึ้น และได้ร่วมกับส่วนราชการ สทิ ธมิ นุษยชน ท่ีเก่ียวข้องในการพิจารณาความเหมาะสมของร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การคดั กรองและคมุ้ ครองคนตา่ งดา้ วทเ่ี ขา้ มาในราชอาณาจกั รและไมส่ ามารถเดนิ ทางกลบั ประเทศอันเป็นภูมิลำ�เนาได้ พ.ศ. .... ปัจจุบันอยู่ระหว่างการตรวจสอบความถูกต้อง ของส�ำ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ซง่ึ รา่ งระเบยี บ ฯ ดงั กลา่ วจะเปน็ กลไกส�ำ คญั ในการ คดั กรองคนตา่ งดา้ วทหี่ ลบหนเี ขา้ มาในราชอาณาจกั รและไมส่ ามารถเดนิ ทางกลบั ประเทศ ต้นทางให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและสอดคล้องกับหลกั สิทธิมนษุ ยชนมากข้ึน 2) กระทรวงมหาดไทย แจ้งว่า สำ�นักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้จัดประชุม ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ท่ีประชุมมีมติมอบหมายให้สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื ก�ำ หนดรายละเอยี ดและแนวทางการน�ำ ผ้หู ลบหนีเข้าเมืองท่เี ป็นเด็กออกจากสถานกักตัว และการจัดทำ�ร่างบันทึกความเข้าใจ เรื่อง การกำ�หนดมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าว เพ่ือรอการส่งกลับ พ.ศ. .... ร่างบันทึกความเข้าใจ ฯ ได้มีการปรับแก้เสร็จแล้ว และ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ได้จัดทำ�ร่างข้ันตอนการปฏิบัติงาน ท่ีเป็นมาตรฐาน (Standard Operating Procedure: SOP) เพื่อเตรียมไว้เป็นกรอบ การปฏิบัติภายหลังท่ีบันทึกความเข้าใจ ฯ บังคับใช้ ปัจจุบันสำ�นักงานสภาความม่ันคง แหง่ ชาตอิ ยรู่ ะหวา่ งการน�ำ รา่ งบนั ทกึ ความเขา้ ใจ ฯ กราบเรยี นนายกรฐั มนตรเี พอ่ื พจิ ารณา อนุมัติและจัดพิธีร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจ ฯ ระหว่างส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง และเมอื่ วนั ที่ 10 มกราคม 2560 คณะรฐั มนตรไี ดป้ ระชมุ เกยี่ วกบั การจดั ท�ำ ระบบคดั กรอง ผลู้ กั ลอบเข้าเมอื งผิดกฎหมายและผลู้ ภ้ี ยั ที่ประชมุ มีมตใิ หส้ ำ�นกั งานตำ�รวจแหง่ ชาตแิ ละ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาออกระเบียบว่าด้วยการคัดกรองคนเข้าเมืองผิดกฎหมาย และการแก้ไขเพิ่มเติมร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการคัดกรองและคุ้มครอง คนตา่ งดา้ วทเ่ี ขา้ มาในราชอาณาจกั รและไมส่ ามารถเดนิ ทางกลบั ประเทศอนั เปน็ ภมู ลิ �ำ เนาได้ พ.ศ. .... ขณะน้ีได้ข้อยุติเพ่ือนำ�เสนอร่างระเบียบ ฯ ดังกล่าวให้สำ�นักเลขาธิการ คณะรฐั มนตรที ราบถงึ ผลการพจิ ารณา 3) กระทรวงการตา่ งประเทศ แจง้ วา่ ไดร้ ว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งน�ำโดยส�ำนกั งาน ต�ำรวจแห่งชาติ ยกร่างบันทึกความเข้าใจ เร่ือง การก�ำหนดมาตรการและแนวทาง แทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าวเพ่ือรอการส่งกลับ และเข้าร่วมประชุม พจิ ารณารา่ งและใหค้ วามเหน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อาทิ การสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื กบั องคก์ ารระหวา่ ง ประเทศ โดยเฉพาะส�ำนกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ้ลู ี้ภยั แห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees: UNHCR) เพอื่ เร่งรัดใหส้ ่งเดก็ ท่ไี ด้รับการรับตัว ออกมาดูแลนอกห้องกักไปต้ังถ่ินฐานในประเทศที่สาม รวมทั้งข้อคิดเห็นอ่ืน ๆ เพื่อให้ การด�ำเนนิ การตามบนั ทกึ ความเขา้ ใจ ฯ เปน็ ไปอยา่ งราบรน่ื ตอ่ มา ส�ำนกั งานสภาความมนั่ คง แหง่ ชาตไิ ดจ้ ดั พธิ ลี งนามบนั ทกึ ความเขา้ ใจ ฯ ทที่ �ำเนยี บรฐั บาล เมอื่ วนั ที่ 21 มกราคม 2562 โดยมี พลเอก ประวติ ร วงษส์ วุ รรณ รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม

79 ผลส�ำ เรจ็ / เป็นประธานสักขีพยาน ได้ก�ำหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบและแนวทางปฏิบัติงานของ บทท่ี ความกา้ วหน้า ทกุ ภาคสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งในการไมก่ กั ตวั เดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 18 ปี ไวใ้ นหอ้ งกกั ตรวจคนเขา้ เมอื ง 1 ในการคุ้มครอง โดยจะใหอ้ ยใู่ นความดแู ลของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ องคก์ ร สทิ ธิมนุษยชน ภาคเอกชน หรอื องคก์ รภาคประชาสงั คม และหามาตรการชว่ ยเหลอื ในระยะยาว ซงึ่ นบั เปน็ บทที่ นโยบายและการด�ำเนินการด้านมนุษยธรรมท่ีส�ำคัญของรัฐบาลไทยและได้เสนอ 2 การปรบั ปรงุ ค�ำนยิ ามวา่ “เดก็ ” ใหส้ อดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 บทที่ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กท่ีไทยเป็นภาคี ซึ่งระบุว่า เด็กคือบุคคลซึ่งมีอายุต�่ำกว่า 3 18 ปบี ริบรู ณ์ ซ่งึ ไดร้ ับความเห็นชอบจากทปี่ ระชมุ ส�ำหรบั กรณีรา่ งระเบยี บส�ำนักนายก บทที่ รัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการคนเข้าเมืองผิดกฎหมายและผู้ล้ีภัย พ.ศ. .... ปัจจุบัน 4 อยรู่ ะหวา่ งการตรวจพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี าเพอ่ื เสนอคณะรฐั มนตรพี จิ ารณา บทท่ี 5 4) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ โดยกรมกิจการเด็กและ ภาค เยาวชน แจง้ วา่ ทผ่ี า่ นมาเมอื่ ส�ำนกั งานตรวจคนเขา้ เมอื งรบั ตวั เดก็ จะมกี ระบวนการจดั ท�ำ ผนวก ทะเบียนประวัติเบื้องต้นและคัดกรองความเปราะบาง เด็กท่ีมีอายุต�่ำกว่า 18 ปี จะมี การสง่ ตวั เดก็ หรอื เด็กพร้อมมารดามายงั สถานสงเคราะห์ หรอื บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั แล้วแต่กรณี เพ่ือเข้ารับการสงเคราะห์ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 32 (3) เด็กที่ผู้ปกครองถูกจ�ำคุก กักขัง การปฏิบัติดังกล่าวยังไม่มีมาตรฐาน และขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และได้ร่วมกับส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง พัฒนาข้ันตอนการปฏิบัติงานท่ีเป็นมาตรฐาน (SOP) ภายใต้ร่างบันทึกความเข้าใจ เรื่อง การก�ำหนดมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าว เพ่อื รอการส่งกลับ พ.ศ. .... ส�ำหรบั ใชเ้ ปน็ แนวปฏบิ ัตริ ่วมกันของหน่วยงานรฐั องค์การ ระหวา่ งประเทศ และเครอื ขา่ ยภาคเอกชน มกี ารจดั บรกิ ารสวสั ดกิ ารใหแ้ กเ่ ดก็ และมารดา ท่ีอยู่ในสถานรองรับของกรมกิจการเด็กและเยาวชน รวมทั้งฝึกอบรมให้แก่พนักงาน เจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก นักสังคมสงเคราะห์ และนักจิตวิทยา รวมทงั้ บคุ ลากรอน่ื ๆ ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั กฎหมาย พนั ธกรณรี ะหวา่ งประเทศ และแนวปฏิบัติต่อเด็กที่อยู่ในสถานการณ์โยกย้ายถิ่นฐาน รวมทั้งการประสาน ความรว่ มมอื กบั รฐั องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และองคก์ รเอกชนเพอื่ จดั หาทรพั ยากรเพอื่ ให้ การช่วยเหลือแกเ่ ด็กและมารดา 5) สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ โดยสำ�นักงานตรวจคนเข้าเมือง แจ้งว่า ได้พิจารณา ทางเลือกอ่ืนแทนการกักตัวเด็กท่ีติดตามผู้ปกครอง เพ่ือแสวงหาท่ีพักพิงในระหว่าง รอการสง่ กลบั ประเทศตน้ ทางหรอื เพอ่ื เดนิ ทางตอ่ ไปยงั ประเทศทส่ี าม โดยใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาส อยรู่ ว่ มกบั ผปู้ กครองในสถานทเ่ี หมาะสม เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาพฒั นาตามวยั และได้รับการคุม้ ครองสทิ ธิข้ันพ้นื ฐานตามพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 และ ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MOU) เรื่อง การกำ�หนดมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าวเพ่ือ รอการสง่ กลบั รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และอยรู่ ะหวา่ งรอขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน ท่เี ป็นมาตรฐาน (Standard Operating Procedure: SOP) ภายใตบ้ ันทึกความเขา้ ใจ เร่ือง การกำ�หนดมาตรการและแนวทางแทนการกักตัวเด็กไว้ในสถานกักตัวคนต่างด้าว

รายงานผลการปฏิบตั ิงานคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 80 คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ ผลส�ำ เร็จ/ เพ่ือรอการส่งกลับ เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติงานร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงาน ความก้าวหน้า ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการแกไ้ ขปญั หาการกกั ตวั เดก็ ไวใ้ นสถานกกั ตวั คนตา่ งดา้ วเพอ่ื รอการสง่ กลบั ในการคุ้มครอง ของสำ�นักงานตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง และเพ่ือกำ�หนดกลไก สิทธิมนุษยชน และหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบใหช้ ดั เจนของหนว่ ยงานในการสรา้ งหลกั ประกนั วา่ เดก็ จะไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกรอบกฎหมายภายในประเทศและพนั ธกรณรี ะหวา่ งประเทศของไทย รวมทั้งได้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ในการคุ้มครอง สทิ ธิข้ันพ้นื ฐานอยแู่ ลว้ 6) กระทรวงแรงงาน โดยกรมการจดั หางาน แจง้ วา่ ส�ำ นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาตใิ นฐานะ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบหลกั ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ท่ี 10 มกราคม 2560 ไดจ้ ดั ประชมุ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอื่ พจิ ารณายกรา่ งระเบยี บส�ำ นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการคดั กรอง และคุ้มครองคนต่างด้าวท่ีเข้ามาในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศ อนั เปน็ ภมู ลิ �ำ เนาได้ พ.ศ. .... เสรจ็ แลว้ ปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งการตรวจพจิ ารณาของส�ำ นกั งาน คณะกรรมการกฤษฎกี า 7) สำ�นักงานอัยการสูงสุด โดยสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย แก่ประชาชน แจ้งว่า ได้เข้าร่วมประชุมพิจารณาร่างระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารจัดการคนเข้าเมืองผิดกฎหมายและผู้ล้ีภัย พ.ศ. .... แล้ว ขณะนี้ อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี าเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณา กรณีท่ี 7 สทิ ธใิ นกระบวนการยุติธรรม อันเกี่ยวเน่อื งกบั สทิ ธแิ ละเสรีภาพในชวี ิตและรา่ งกาย กรณีกลา่ วอ้างว่าถกู เจา้ หนา้ ท่ีตำ� รวจทำ� ร้ายรา่ งกายในขณะตรวจค้น กลน่ั แกล้ง จบั กมุ และดำ� เนนิ คดีทัง้ ท่ีไม่ได้กระท�ำความผดิ ประเดน็ การร้องเรยี น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้รับเร่ืองร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณี กล่าวอา้ งวา่ เม่ือวันท่ี 11 เมษายน 2561 ขณะที่ผู้รอ้ งขับขร่ี ถจกั รยานยนต์กลบั จากบ้าน ของเพอ่ื นผรู้ อ้ ง เจา้ หนา้ ทตี่ �ำรวจ ชดุ จบั กมุ ใหผ้ รู้ อ้ งหยดุ รถ ผรู้ อ้ งยนิ ยอมใหเ้ จา้ หนา้ ทต่ี �ำรวจ ค้นตัวโดยมิได้ขัดขืน ผู้ร้องรู้สึกไม่ปลอดภัยจึงหยิบโทรศัพท์ออกมาเพ่ือจะบันทึกภาพ ไว้เป็นหลักฐาน แต่เจ้าหน้าท่ีต�ำรวจได้ยึดโทรศัพท์ของผู้ร้องและท�ำร้ายร่างกาย การตรวจค้นของเจา้ หน้าทีต่ �ำรวจไมพ่ บส่ิงของผดิ กฎหมายใด ๆ จากนั้นเจา้ หนา้ ที่ต�ำรวจ ได้น�ำกระดาษห่อลกู อมซงึ่ ภายในเป็นยาบา้ จ�ำนวน 3 เมด็ มาสอบถามผ้รู ้องว่าเปน็ ของ ผ้รู อ้ งหรือไม่ เนอื่ งจากตรวจพบตกอยหู่ า่ งจากจดุ ตรวจคน้ ตัวผรู้ ้องประมาณ 3 - 4 เมตร ทั้งท่ีในขณะตรวจค้นเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจไม่ได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบว่าตรวจพบสิ่งของ ผิดกฎหมายแต่อย่างใด ต่อมาวันที่ 12 เมษายน 2561 เจ้าหน้าที่ต�ำรวจได้น�ำตัวผู้ร้อง ไปที่สถานีต�ำรวจภูธรพบพระ โดยได้แจ้งข้อกล่าวหาผู้ร้องในความผิดฐานมียาเสพติด ให้โทษในประเภท 1 ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต ผู้ร้องให้การปฏิเสธและ เหน็ วา่ การกระท�ำของเจา้ หนา้ ทต่ี �ำรวจชดุ จบั กมุ เปน็ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทโี่ ดยมชิ อบ โดยเฉพาะ กรณีท�ำร้ายร่างกายผู้ร้องในขณะเข้าตรวจค้นจับกุม และกลั่นแกล้งด�ำเนินคดีแก่ผู้ร้อง ทงั้ ทีผ่ ู้รอ้ งไมไ่ ดก้ ระท�ำความผิดตามทถี่ กู กล่าวหา

81 การดำ�เนินการ คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาตพิ ิจารณาแลว้ เห็นว่า การกระทำ�ของเจ้าหนา้ ท่ี บทท่ี ตำ�รวจชุดจับกุมเป็นการตรวจค้นและจับกุมโดยใช้วิธีการท่ีไม่เหมาะสม มีผลทำ�ให้ผู้ร้อง 1 ข้อเสนอแนะ ได้รบั บาดเจ็บ เป็นการละเมิดสิทธิในร่างกายของผรู้ อ้ ง อนั เป็นการละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชน มาตรการหรอื ส�ำ หรบั กรณกี ลา่ วอา้ งวา่ เจา้ หนา้ ทต่ี �ำ รวจชดุ จบั กมุ กลนั่ แกลง้ ด�ำ เนนิ คดแี กผ่ รู้ อ้ งในความผดิ บทท่ี แนวทางที่เหมาะสม ฐานมียาเสพติดให้โทษในประเภท 1 (ยาบ้า) ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต 2 ในการป้องกัน ทง้ั ทผี่ รู้ อ้ งไมไ่ ดก้ ระท�ำ ความผดิ ตามขอ้ กลา่ วหา พนกั งานอยั การจงั หวดั แมส่ อดไดย้ น่ื ฟอ้ ง บทที่ หรือแก้ไขการละเมิด ผู้ร้องต่อศาลจังหวัดแม่สอดในความผิดฐานมียาเสพติดให้โทษในประเภท 1 (ยาบ้า) 3 สทิ ธิมนุษยชน ไวใ้ นครอบครองโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต และศาลจงั หวดั แมส่ อดไดร้ บั ค�ำ ฟอ้ งไวพ้ จิ ารณาแลว้ บทที่ ผลสำ�เร็จ/ ตามคดีหมายเลขดำ�ที่ 1491/2561 เม่ือวันที่ 11 มิถุนายน 2561 จึงเป็นกรณีตาม 4 ความกา้ วหนา้ มาตรา 39 (1) ประกอบมาตรา 39 วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู บทท่ี ในการคมุ้ ครอง ว่าดว้ ยคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 ประกอบกับผูร้ ้องได้แจง้ ความ 5 สทิ ธมิ นษุ ยชน ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน สถานีตำ�รวจภูธรพบพระซึ่งเป็นหน่วยงานต้นสังกัด ภาค ของเจ้าหน้าท่ีตำ�รวจชุดจับกุม ให้ดำ�เนินคดีกับเจ้าหน้าท่ีตำ�รวจชุดจับกุมไว้ด้วย ผนวก โดยพนกั งานสอบสวนไดร้ บั ค�ำ รอ้ งทกุ ขแ์ ละสอบปากค�ำ ผรู้ อ้ ง และไดส้ ง่ เรอ่ื งไปยงั ส�ำ นกั งาน ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ เขต 6 (จังหวัดพิษณุโลก) เพ่ือพิจารณา ดำ�เนินการตามหน้าท่ีและอำ�นาจต่อไปแล้ว จึงให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง ทเี่ หมาะสมในการปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน ตอ่ ส�ำ นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) ประกอบมาตรา 36 โดยใหด้ ำ�เนนิ การ ภายในเวลา 60 วนั ดงั น้ี สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ควรดำ�เนินการตามหน้าท่ีและอำ�นาจแก่เจ้าหน้าท่ีตำ�รวจ ชุดจับกุมที่กระทำ�การอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกรณีการตรวจค้นและจับกุม ผู้ต้องหาโดยใช้วิธีการท่ีไม่เหมาะสมแก่พฤติการณ์ และควรกำ�ชับเจ้าหน้าที่ตำ�รวจ ในสงั กดั วา่ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี รวจคน้ และจบั กมุ บคุ คล จะตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน โดยใชค้ วามระมดั ระวงั และใชว้ ธิ กี ารทเ่ี หมาะสมเทา่ ทจี่ �ำ เปน็ แกก่ ารตรวจคน้ และการจบั กมุ เพอ่ื มใิ หเ้ กดิ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนในลกั ษณะเดยี วกบั ค�ำ รอ้ งนขี้ น้ึ อกี ทงั้ น้ี ใหด้ �ำ เนนิ การ ภายในระยะเวลา 60 วนั นบั แตว่ นั ท่ไี ดร้ ับรายงานน้ี สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ แจ้งว่า ได้มีหนังสือแจ้งไปยังตำ�รวจภูธรภาค 6 พิจารณา ดำ�เนินการกำ�ชับเจ้าหน้าที่ตำ�รวจในสังกัดในการปฏิบัติหน้าที่ตรวจค้นและจับกุม บุคคลจะต้องคำ�นึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน โดยใช้ความระมัดระวังและใช้วิธีการ ทีเ่ หมาะสมเทา่ ทีจ่ �ำ เปน็ แกก่ ารตรวจคน้ และการจบั กมุ และตอ่ มาต�ำ รวจภธู รจงั หวดั ตาก แจง้ วา่ ไดแ้ ต่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง กรณีการกระท�ำ ของเจ้าหนา้ ทีต่ �ำ รวจ ในสังกัดปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจค้นและจับกุมโดยใช้วิธีการที่ไม่เหมาะสม และได้กำ�ชับการปฏิบัติหน้าที่ตรวจค้นจับกุมบุคคลไปยังเจ้าหน้าที่ตำ�รวจในสังกัด ใหด้ �ำ เนนิ การโดยค�ำ นงึ ถงึ หลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน ใชค้ วามระมดั ระวงั และใชว้ ธิ กี ารทเ่ี หมาะสม เท่าที่จำ�เป็นแก่การตรวจค้นจับกุม และภายใต้อำ�นาจหน้าที่ตามกฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกำ�หนด

รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะิมมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 82 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ กรณีท่ี 8 สิทธิพลเมือง อันเกยี่ วเนือ่ งกบั สทิ ธแิ ละเสรภี าพส่วนบุคคล กรณมี ีผเู้ ผยแพร่ ภาพถา่ ยของผรู้ ้องในระหว่างถูกจับกมุ ด�ำเนินคดี ประเด็นการร้องเรยี น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเร่ืองร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณี กล่าวอ้างว่า เจ้าหน้าที่ตำ�รวจ สถานีตำ�รวจภูธรพระประแดงถ่ายภาพผู้ร้อง และมีผู้ใช้ ส่ือสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กเผยแพร่ภาพถ่ายของผู้ร้อง ซ่ึงถูกจัดทำ�ข้ึนและอยู่ใน ความครอบครองดูแลของเจ้าหน้าที่ตำ�รวจในระหว่างถูกจับกุมด�ำ เนินคดีเป็นการละเมิด สทิ ธแิ ละเสรีภาพสว่ นบคุ คลและสิทธิของผ้ตู ้องหา การดำ�เนนิ การ คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาตพิ จิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ การกระทำ�ของเจ้าหน้าท่ี ตำ�รวจสถานีตำ�รวจภูธรพระประแดง เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน แม้จะไม่ปรากฏ พยานหลักฐานที่เพียงพอจะรับฟังได้ว่า ผู้ถูกร้องเป็นผู้ท่ีเผยแพร่ภาพถ่ายโดยตรง แต่การที่ผู้ถูกร้องเป็นผู้จัดทำ�ภาพถ่ายขึ้นเพ่ือใช้ประโยชน์และเป็นข้อมูลในสำ�นวน การสอบสวนคดีอาญา และมีผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กเผยแพร่ภาพถ่ายของผู้ร้อง ย่อมแสดงให้เห็นว่าภาพถ่ายของผู้ร้องถูกจัดทำ�ข้ึนและอยู่ในความครอบครองดูแล ของเจา้ หนา้ ทต่ี �ำ รวจ ซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาในการควบคมุ ดแู ลและขาดความระมดั ระวงั อย่างเพียงพอ จนทำ�ให้เกิดความเสียหายและกระทบต่อสิทธิมนุษยชนของผู้ร้องและ บุคคลใกล้ชิดของผู้ร้อง จึงเป็นการละเลยการกระทำ�อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน จงึ ใหม้ ขี อ้ เสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางทเี่ หมาะสมในการปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขการละเมดิ สิทธิมนุษยชน ต่อสำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) ประกอบมาตรา 36 ดงั น้ี ขอ้ เสนอแนะ 1) ควรตรวจสอบและดำ�เนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องแก่เจ้าหน้าที่ มาตรการหรือ ในสงั กดั ที่กระทำ�การอันเปน็ การละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชน กรณกี ารนำ�ภาพถา่ ยผู้รอ้ งในขณะ แนวทางที่เหมาะสม ท�ำ ทะเบยี นประวตั ผิ ตู้ อ้ งหาและภาพถา่ ยขณะผรู้ อ้ งถกู สวมกญุ แจมอื ไปเผยแพรต่ อ่ สาธารณะ ในการปอ้ งกัน หรอื แก้ไขการละเมิด 2) ควรกำ�ชับเจ้าหน้าท่ีในสังกัดให้ระมัดระวังในการส่งต่อภาพถ่ายของประชาชน สทิ ธิมนษุ ยชน ท่ีถูกจับกุมดำ�เนินคดีไม่ให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลภายนอกน�ำ ภาพถ่ายดังกล่าวไปเผยแพร่ ต่อสาธารณะอันอาจกระทบต่อสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ช่ือเสียง และ ครอบครัวของประชาชนในลกั ษณะเดยี วกับค�ำ รอ้ งน้ีอกี ผลสำ�เรจ็ / สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ แจ้งว่า ได้แจ้งตำ�รวจภูธรภาค 1 ให้ตรวจสอบและ ความกา้ วหน้า ดำ�เนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องแก่เจ้าหน้าที่ในสังกัดที่กระทำ�การ ในการคมุ้ ครอง อันเปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน และก�ำ ชับเจ้าหนา้ ทีใ่ นสงั กัดให้ระมัดระวงั ในการสง่ ตอ่ สิทธิมนุษยชน ภาพถ่ายของประชาชนท่ีถูกจับกุมดำ�เนินคดี ไม่ให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลภายนอก นำ�ภาพถ่ายดังกล่าวไปเผยแพร่ต่อสาธารณะ อันอาจกระทบสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัวของประชาชนในลักษณะน้ีอีก ต่อมาตำ�รวจภูธร จงั หวดั สมทุ รปราการ แจง้ วา่ สง่ั การใหส้ ถานตี �ำ รวจภธู รพระประแดงด�ำ เนนิ การตรวจสอบ

83 ผลส�ำ เรจ็ / และดำ�เนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้องแก่เจ้าหน้าที่ตำ�รวจในสังกัด บทที่ ความก้าวหนา้ ทกี่ ระท�ำ การอนั เปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนแลว้ อกี ทงั้ ไดก้ �ำ ชบั เจา้ หนา้ ทตี่ �ำ รวจในสงั กดั 1 ในการคุม้ ครอง ให้ระมัดระวังในการส่งต่อภาพถ่ายของประชาชนที่ถูกจับกุมดำ�เนินคดี ไม่ให้เจ้าหน้าท่ี สิทธมิ นษุ ยชน ตำ�รวจหรือบุคคลภายนอกนำ�ภาพดังกล่าวไปเผยแพร่ต่อสาธารณะอันเป็นการกระทบ บทท่ี สิทธิในความเปน็ อยู่สว่ นตวั เกยี รติยศ ชอื่ เสยี ง และครอบครัวของประชาชน หากมีผใู้ ด 2 ฝ่าฝนื จะถกู ด�ำ เนนิ การตามกฎหมายและระเบยี บทเ่ี ก่ียวข้องอย่างเครง่ ครดั บทที่ 3 กรณที ่ี 9 สิทธิพลเมือง กรณีเจ้าหน้าทที่ หารกระท�ำการอันเป็นการกระทบตอ่ สิทธมิ นุษยชน บทท่ี 4 ประเด็นการรอ้ งเรยี น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นสมควรให้มีการตรวจสอบ กรณี บทท่ี ตามที่ปรากฏเป็นข่าว เม่ือวันท่ี 7 มิถุนายน 2560 มีเจ้าหน้าท่ีทหารไม่ทราบสังกัด 5 เดินทางไปบ้านพักของนางสาวซี (นามสมมติ) สมาชิกกลุ่มขบวนการประชาธิปไตยใหม่ ภาค และกลมุ่ ฟน้ื ฟปู ระชาธิปไตย จังหวดั ปทมุ ธานี มมี ารดาของนางสาวซี อยบู่ ้านเพยี งลำ�พัง ผนวก และให้มารดาของนางสาวซี ตักเตือนนางสาวซีให้ปฏิบัติตามบันทึกข้อตกลงที่นางสาวซี ไดท้ �ำ ไวก้ บั เจา้ หนา้ ทท่ี หารเมอื่ ปี 2557 วา่ จะยตุ แิ ละไมเ่ คลอ่ื นไหวจดั กจิ กรรมทางการเมอื ง และจะต้องขออนุญาตจากเจ้าหน้าที่ก่อนเดินทางออกนอกประเทศ ซึ่งเจ้าหน้าท่ีทหาร ได้กล่าวหาว่านางสาวซีกำ�ลังละเมิดบันทึกข้อตกลงดังกล่าว ก่อนหน้านี้เจ้าหน้าที่ เคยมายังบ้านพักของนางสาวซี กว่า 30 ครั้ง รวมถึงการมาพบของเจ้าหน้าที่ทหาร สรา้ งความกดดันและสง่ ผลกระทบต่อสภาพจติ ใจของมารดาของนางสาวซเี ปน็ อยา่ งมาก การด�ำ เนนิ การ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า การที่เจ้าหน้าที่ทหาร ทั้ง 4 นาย เข้าไปบ้านพักของนางสาวซี เพื่อต้องการให้นางสาวซียุติและไม่เคลื่อนไหว จัดกิจกรรมทางการเมืองเป็นไปอย่างเปิดเผยและไม่มีการกระทำ�ใดที่มีลักษณะ เปน็ การขม่ ขคู่ กุ คามตอ่ มารดาของนางสาวซี นอกจากนี้ ผแู้ ทนคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ชแี้ จงวา่ บนั ทกึ ขอ้ ตกลงระหวา่ งนางสาวซแี ละกลมุ่ นกั ศกึ ษากบั คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่จัดทำ�ขึ้นเมื่อปี 2557 ไม่มีผลทางกฎหมาย เนื่องจากได้ถูกยกเลิก ประกอบกับ ภายหลังจากเหตุการณ์ดังกล่าว นางสาวซียังสามารถจัดกิจกรรมและแสดงความคิดเห็น ทางการเมืองได้ การกระทำ�ของเจ้าหน้าที่ทหารจึงยังมิอาจถือได้ว่าเป็นการจำ�กัด เสรีภาพของนางสาวซีตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 34 ได้ให้การรับรองและคุ้มครองไว้แต่อย่างใด ดังนั้น เพื่อป้องกันมิให้เกิด เหตุการณ์อันสุ่มเสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนในลักษณะเดียวกับคำ�ร้องนี้อีก จึงให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไข การละเมิดสิทธิมนุษยชน ต่อกองทัพบกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) ดังนี้

รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปิทรธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 84 คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ กองทัพบก ควรกำ�ชับให้หน่วยงานในสังกัดหรือเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับการรักษา หรอื แนวทางทเ่ี หมาะสม ความสงบเรียบร้อย งดเว้นการกระทำ�ที่มีลักษณะเป็นการกระทบหรือละเมิดต่อ ในการปอ้ งกนั หรอื เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง แก้ไขการละเมิด และครอบครวั ของนางสาวซี รวมทั้งบคุ คลอน่ื ๆ ตลอดจนการกระทำ�ท่ีอาจทำ�ให้สมาชิก สทิ ธมิ นษุ ยชน ในครอบครวั ของบคุ คลเหล่านน้ั เกดิ ความหวาดกลวั ผลสำ�เร็จ/ กองทัพบก แจ้งว่า มีแนวปฏิบัติของกองทัพบกในการป้องกันการกระท�ำ ความกา้ วหน้า อันอาจละเมิดสิทธิมนุษยชน สรุปได้ว่า ได้จัดประชุมชี้แจงและส่ังการของผู้บัญชาการ ในการคุม้ ครอง ทหารบกต่อผู้บังคับหน่วยขึ้นตรงทุกเดือน โดยได้เน้นย้�ำให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น สิทธิมนษุ ยชน ก�ำกับดูแลการปฏิบัติภารกิจของหน่วยอย่างใกล้ชิด โดยยึดถือและปฏิบัติตามกรอบ อ�ำนาจหน้าที่ท่ีกฎหมายก�ำหนด และจัดท�ำแนวทางการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อให้ก�ำลังพลที่ปฏิบัติภารกิจทั้งในสายงานปกติ และก�ำลังป้องกันชายแดน ได้ท�ำความเข้าใจหลักการสิทธิมนุษยชนและระมัดระวังการปฏิบัติ เพ่ือมิให้เป็น การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน ซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ภาพลกั ษณข์ องประเทศ รวมทง้ั ก�ำกบั ดแู ล การปฏิบัติภารกิจของก�ำลังพลโดยผู้บังคับหน่วยตามล�ำดับช้ัน ท�ำหนังสือ/วิทยุสั่งการ เนน้ ย�ำ้ การปฏบิ ัติตามหว้ งเวลาดว้ ย กรณที ่ี 10 สทิ ธิในกระบวนการยุติธรรม กรณีกลา่ วอ้างว่าพนักงานสอบสวนไมเ่ รง่ ดำ� เนินคดี แกผ่ ตู้ อ้ งหาซึง่ ถูกคมุ ขังอยูใ่ นคดอี ื่น ประเด็นการรอ้ งเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเร่ืองร้องเรียน กรณีกล่าวอ้างว่า ผู้ร้อง เป็นนักโทษเด็ดขาดในคดีความผิดฐานพยายามฆ่า ปัจจุบันถูกคุมขังอยู่ที่เรือนจำ�กลาง เขาบิน นอกจากคดนี ้ีแลว้ ผู้ร้องยงั ถกู ด�ำ เนินคดีอีก 2 คดี คอื คดอี าญา ท่ี 118/2551 ของสถานีตำ�รวจภูธรสาขลา อำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงพนักงาน สอบสวน สถานีตำ�รวจภูธรสาขลาได้รับคำ�ร้องทุกข์ เม่ือวันที่ 22 เมษายน 2551 และ คดีอาญาท่ี 187/2553 ของสถานตี ำ�รวจนครบาลศาลาแดง เขตบางแค กรงุ เทพมหานคร ซ่ึงพนักงานสอบสวน สถานีตำ�รวจนครบาลศาลาแดงได้รับคำ�ร้องทุกข์ไว้ เม่ือวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 และได้สอบปากคำ�ผู้ร้องแล้ว แต่คดียังไม่มีความคืบหน้าเน่ืองจาก ยงั ไมป่ รากฏวา่ พนกั งานอยั การไดพ้ จิ ารณาสงั่ คดอี ยา่ งไร การทผ่ี ถู้ กู รอ้ งทง้ั สองไมด่ �ำ เนนิ คดี ทมี่ กี ารอายดั ตวั ผรู้ อ้ งไวใ้ หเ้ สรจ็ สน้ิ อาจท�ำ ใหผ้ รู้ อ้ งเสยี สทิ ธปิ ระโยชนอ์ นั พงึ ไดร้ บั ในระหวา่ ง ที่ถกู คุมขงั การดำ�เนนิ การ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาข้อเท็จจริงแล้วเห็นว่า กรณี การด�ำเนนิ คดตี ามคดอี าญา ที่ 118/2551 ของสถานตี �ำรวจภธู รสาขลานนั้ พนกั งานสอบสวน สถานีต�ำรวจภูธรสาขลาสรุปส�ำนวนการสอบสวนพร้อมความเห็นควรส่ังฟ้องผู้ร้อง เสนอไปยังพนักงานอัยการจังหวัดสมุทรปราการ จากน้ันพนักงานอัยการจังหวัด สมุทรปราการพิจารณาส�ำนวนการสอบสวนแล้วจึงส่ังฟ้องผู้ร้อง ปัจจุบันอยู่ระหว่างรอ การสง่ ตวั ผรู้ อ้ งมาเพอ่ื ด�ำเนนิ คดี กรณจี งึ ยงั ไมอ่ าจรบั ฟงั ไดว้ า่ พนกั งานสอบสวน สถานตี �ำรวจ

85 การดำ�เนินการ ภูธรสาขลากระท�ำการอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก บทที่ ยังมีปัญหาในการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อน�ำตัวผู้ร้องไปด�ำเนินคดี 1 จึงให้มีหนังสือแจ้งส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และกรมราชทัณฑ์พิจารณาก�ำชับ พนักงานสอบสวน สถานีต�ำรวจภูธรสาขลา และเรือนจ�ำกลางเขาบินให้ประสานงานกัน บทท่ี เพื่อน�ำตัวผู้ร้องส่งพนักงานอัยการจังหวัดสมุทรปราการด�ำเนินคดีตามกฎหมายต่อไป 2 ส�ำหรบั กรณกี ารด�ำเนนิ คดตี ามคดอี าญา ท่ี 187/2553 ของสถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดง บทท่ี เห็นว่า พนักงานสอบสวน สถานีต�ำรวจนครบาลศาลาแดงได้รับค�ำร้องทุกข์ไว้ เมื่อวันท่ี 3 5 กรกฎาคม 2553 และสอบปากค�ำและอายัดตัวผู้ร้องแล้ว ปัจจุบันคดีอยู่ในข้ันตอน บทท่ี การด�ำเนนิ การของพนกั งานสอบสวน สถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดงโดยยงั ไมส่ ง่ ส�ำนวน 4 ให้พนักงานอัยการ ส�ำนักงานคดีอาญาธนบุรีแต่อย่างใด โดยสถานีต�ำรวจนครบาล บทท่ี ศาลาแดงชี้แจงว่า “ได้ตรวจสอบแล้วปรากฏว่า ส�ำนวนการสอบสวนนั้นได้หายไป 5 ไม่สามารถหาส�ำนวนการสอบสวนมาส่งพนักงานอัยการเพื่อฟ้องได้ ดังนั้น จึงขอถอน ภาค การอายดั ตวั ผรู้ อ้ ง ไมต่ อ้ งการตวั เพอื่ ด�ำเนนิ คดตี ามกฎหมายอกี ตอ่ ไป” จงึ เหน็ วา่ การกระท�ำ ผนวก ของพนักงานสอบสวน สถานีต�ำรวจนครบาลศาลาแดงกระทบต่อสิทธิในกระบวนการ ยุติธรรมทั้งต่อผู้เสียหายและต่อผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญาในอันที่จะได้รับ การพสิ จู นค์ วามจรงิ ในเรอ่ื งทม่ี กี ารกลา่ วหาด�ำเนนิ คดี อกี ทง้ั ยงั สง่ ผลกระทบตอ่ ความสงบ เรยี บรอ้ ยหรอื สวสั ดภิ าพของประชาชนทจี่ ะไดร้ บั หลกั ประกนั การคมุ้ ครองความปลอดภยั จากการกอ่ อาชญากรรม การกระท�ำของพนกั งานสอบสวน สถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดง จึงเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ร้อง จึงให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง ทเี่ หมาะสมในการปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน ตอ่ ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ และสถานีต�ำรวจนครบาลศาลาแดงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ สิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) ประกอบมาตรา 36 ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ และสถานีตำ�รวจนครบาลศาลาแดงควรพิจารณา หรอื แนวทางทเ่ี หมาะสม ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนในคดีอาญา ท่ี 187/2553 ตั้งแต่ ในการปอ้ งกนั หรอื ผู้ท่ีได้รับมอบหมายคนแรกต่อเนื่องจนถึงคนปัจจุบัน เพ่ือให้ทราบว่าความบกพร่อง แก้ไขการละเมดิ ในการปฏิบัติหน้าท่ีน้ันเกิดจากผู้ใดแล้วจึงพิจารณาดำ�เนินการแก่ผู้น้ันตามกฎหมายและ สิทธิมนุษยชน ระเบยี บท่เี กี่ยวขอ้ งต่อไป 2) ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ควรพิจารณาก�ำชับและกวดขันพนักงานสอบสวน ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามกฎหมายและระเบยี บทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดยเนน้ ยำ้� วา่ ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี ด ๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ให้ถือปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน อย่างเครง่ ครัด 3) ส�ำ นกั งานต�ำ รวจแหง่ ชาตคิ วรแจง้ เวยี นใหเ้ จา้ หนา้ ทตี่ �ำ รวจศกึ ษาคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ าน ของเจ้าหน้าท่ีตำ�รวจตามหลักสิทธิมนุษยชนท่ีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จดั ทำ�และเผยแพร่ทาง www.nhrc.or.th ทั้งนี้ ใหด้ ำ�เนินการภายในระยะเวลา 60 วนั นบั แตว่ นั ท่ไี ด้รับรายงานน้ี

รายงานผลการปฏิบัตงิ านคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 86 คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ผลส�ำ เร็จ/ 1) ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ แจง้ วา่ ไดด้ �ำเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการ ความก้าวหนา้ สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตแิ ลว้ โดยใหผ้ บู้ ญั ชาการต�ำรวจนครบาลตรวจสอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ในการคุ้มครอง ของพนักงานสอบสวนสถานีต�ำรวจนครบาลศาลาแดง ตามคดีอาญาที่ 187/2553 สทิ ธมิ นุษยชน ว่ามีความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่ อย่างไร และได้แจ้งให้หน่วยงานในสังกัด ก�ำชบั และกวดขนั พนกั งานสอบสวนใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามกฎหมายและระเบยี บทเี่ กยี่ วขอ้ ง โดยเนน้ ยำ�้ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ หถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนอยา่ งเครง่ ครดั และแจง้ เวยี น ให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจศึกษาคู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ซึ่งเผยแพร่ทาง www.nhrc.or.th ตอ่ มา สถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดง แจง้ วา่ เดมิ คดอี าญาที่ 187/2553 พนกั งานสอบสวน สถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดง ผรู้ บั ผดิ ชอบ ไดท้ �ำการสอบสวนและ ท�ำหนงั สอื อายดั ตวั ผตู้ อ้ งหาไวต้ อ่ เรอื นจ�ำพเิ ศษธนบรุ ี (บางบอน) และสถานตี �ำรวจนครบาล แสมด�ำไวแ้ ลว้ เนอ่ื งจากผตู้ อ้ งหาไดถ้ กู จบั กมุ และถกู คมุ ขงั ในคดอี น่ื ตอ่ มาพนกั งานสอบสวน ผรู้ บั ผดิ ชอบ ไดย้ า้ ยไปด�ำรงต�ำแหนง่ ทอ่ี น่ื จงึ ไดม้ อบส�ำนวนการสอบสวนใหก้ บั รองผกู้ �ำกบั สบื สวนสถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดง ซงึ่ เปน็ หวั หนา้ งานสอบสวนรบั ไปเพอื่ น�ำไปมอบหมาย ใหก้ บั พนกั งานสอบสวนท�ำการสอบสวนตอ่ ไป โดยไดม้ กี ารสอบสวนคดดี งั กลา่ วจนแลว้ เสรจ็ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2554 มีความเห็นสั่งฟ้องโดยได้เสนอส�ำนวนการสอบสวนต่อ ผบู้ งั คบั บญั ชาตามล�ำดบั ชน้ั แลว้ แตใ่ นชว่ งเดอื นตลุ าคม 2554 ไดเ้ กดิ อทุ กภยั นำ�้ ทว่ มภาคกลาง และกรงุ เทพมหานคร รวมทง้ั สถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดง และทท่ี �ำการพนกั งานอยั การ พเิ ศษธนบรุ ี 1 ท�ำใหส้ ง่ ส�ำนวนการสอบสวนไมไ่ ด้ และเกบ็ ส�ำนวนการสอบสวนไว้ เมอื่ นำ�้ ลด ทกุ สถานทท่ี �ำงานไดต้ ามปกตกิ ม็ กี ารสง่ ส�ำนวนทที่ �ำการสอบสวนเสรจ็ ไปยงั พนกั งานอยั การ แต่ส�ำนวนคดีอาญาที่ 187/2557 ไม่ได้น�ำส่งไปด้วย ต่อมาได้รับหนังสือจากส�ำนักงาน คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติเพอ่ื แจง้ รายงานผลการตรวจสอบการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน สถานตี �ำรวจนครบาลศาลาแดงจงึ ไดม้ คี �ำสง่ั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ ปรากฏ ผลการสอบสวนวา่ เปน็ ความบกพรอ่ งจงึ ไดพ้ จิ ารณาโทษตามพระราชบญั ญตั ติ �ำรวจแหง่ ชาติ พ.ศ. 2547 หมวด 5 มาตรา 82 หากแตพ่ นกั งานสอบสวนผรู้ บั ผดิ ชอบไดย้ า้ ยไปด�ำรงต�ำแหนง่ สงั กดั กองบงั คบั การต�ำรวจปอ้ งกนั และปราบปรามการกระท�ำผดิ เกย่ี วกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม กองบัญชาการสอบสวนกลาง ดังนั้น สถานีต�ำรวจนครบาลศาลาแดง จงึ ไมม่ อี �ำนาจทจี่ ะพจิ ารณาลงโทษได้ แตไ่ ดส้ ง่ เรอ่ื งทง้ั หมดใหก้ องก�ำกบั การ 6 กองบงั คบั การ ต�ำรวจปอ้ งกนั และปราบปรามการกระท�ำผดิ เกยี่ วกบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กองบญั ชาการสอบสวนกลางตน้ สงั กดั พจิ ารณาด�ำเนนิ การตอ่ ไป 2) กรมราชทณั ฑ์แจง้ วา่ สง่ั การใหเ้ รอื นจ�ำ กลางเขาบนิ ยา้ ยน.ช.ผรู้ อ้ งไปคมุ ขงั ยงั เรอื นจ�ำ กลาง สมทุ รปราการเพอ่ื ด�ำ เนนิ คดขี องสถานตี �ำ รวจภธู รสาขลา จงั หวดั สมทุ รปราการ แตเ่ นอื่ งจาก น.ช. ผ้รู อ้ งเปน็ ผตู้ ้องขัง ทม่ี ีพฤตกิ ารณต์ อ้ งควบคมุ ดแู ลเป็นพิเศษ เกีย่ วข้องกบั ยาเสพตดิ และโทรศัพท์มือถือ ต้องกำ�หนดวันเวลาในการดำ�เนินคดีท่ีชัดเจนก่อนการย้ายผู้ต้องขัง ไปด�ำ เนนิ คดี เพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หาผตู้ อ้ งขงั ทม่ี พี ฤตกิ ารณเ์ กย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ และโทรศพั ท์ มือถือย้ายไปดำ�เนินคดีท่ีเรือนจำ�อ่ืนเป็นระยะเวลานานอาจมีการเคล่ือนไหวเก่ียวกับ ยาเสพตดิ และสรา้ งเครอื ขา่ ยได้ จงึ ไดใ้ หเ้ รอื นจ�ำ กลางเขาบนิ ประสานงานไปยงั สถานตี �ำ รวจ ภธู รสาขลา จงั หวดั สมทุ รปราการใหก้ �ำ หนดวนั เวลาในการด�ำ เนนิ คดกี บั ผตู้ อ้ งขงั ใหช้ ดั เจนกอ่ น แลว้ จงึ ดำ�เนินการยา้ ย น.ช. ผู้รอ้ ง ไปคมุ ขงั ยงั เรือนจ�ำ กลางสมทุ รปราการ

87 กรณีท่ี 11 ศักด์ศิ รคี วามเป็นมนษุ ย์ และสิทธิเสรภี าพในร่างกาย กรณีกลา่ วอา้ งวา่ การปฏิบตั ิ บทที่ โดยใชเ้ ครือ่ งพันธนาการแก่ผตู้ อ้ งขังในระหว่างการคมุ ตัวไปศาลเป็นการละเมิด 1 สิทธิมนษุ ยชน บทท่ี ประเดน็ การรอ้ งเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้รับเร่ืองร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณี 2 กล่าวอ้างว่า บุตรชายผู้ร้องกับพวกอีก 7 คน เป็นผู้ต้องขังในความควบคุมของเรือนจำ� บทที่ อำ�เภอพล อยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาลจังหวัดพล ในคดีความผิดฐานร่วมกัน 3 วางเพลิงเผาทรัพย์ ร่วมกันทำ�ให้เสียทรัพย์ อั้งย่ี ซ่องโจร และความผิดตามประมวล บทที่ กฎหมายอาญา มาตรา 112 จากเหตเุ ผาซุ้มเฉลิมพระเกยี รติรัชกาลที่ 9 ในอ�ำ เภอชนบท 4 จงั หวดั ขอนแกน่ บตุ รชายผรู้ อ้ งกบั พวก ถกู จบั กมุ และน�ำ ตวั มาฝากขงั ทเี่ รอื นจ�ำ อ�ำ เภอพล บทท่ี พนักงานสอบสวน ได้สรุปสำ�นวนพร้อมความเห็นควรสั่งฟ้องผู้ต้องหาท้ังแปด 5 เสนอพนกั งานอยั การจงั หวดั ขอนแกน่ โดยพนกั งานอยั การจงั หวดั ขอนแกน่ ไดย้ น่ื ฟอ้ งคดี ภาค ต่อศาลจังหวัดพล ซึ่งนัดพร้อมเพื่อสอบคำ�ให้การและตรวจพยานหลักฐาน เมื่อวันท่ี ผนวก 2 ตลุ าคม 2560 ในการคมุ ตวั บุตรชายผู้ร้องกับพวกอีก 7 คน ไปศาลจังหวัดขอนแก่น ผู้ถูกร้องได้ใส่ตรวนแก่บุตรชายผู้ร้องกับพวก และไม่อนุญาตให้บุตรชายผู้ร้องกับพวก ผกู เชอื กส�ำ หรบั ดงึ โซต่ รวนเพอ่ื ไมใ่ หเ้ ปน็ อปุ สรรคแกก่ ารเดนิ รวมทงั้ ไมอ่ นญุ าตใหใ้ สถ่ งุ เทา้ เพ่ือป้องกันการเสียดสีระหว่างตรวนกับข้อเท้า ผู้ร้องเห็นว่าการกระทำ�ของผู้ถูกร้อง เป็นการปฏิบัติที่โหดร้ายและละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องขังในคดี ที่ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล การด�ำ เนินการ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ พิจารณาแล้วเห็นวา่ ความเสียหายท่บี ุตรชาย ผรู้ อ้ งกบั พวกไดร้ บั เกดิ ขนึ้ ในชว่ งระยะเวลาทนี่ �ำ ตวั บตุ รชายผรู้ อ้ งกบั พวกออกไปภายนอก เรือนจำ�เท่าน้ัน และเป็นผลมาจากพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 ให้อำ�นาจ ผถู้ กู รอ้ งจ�ำ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของผตู้ อ้ งขงั ได้ การใชต้ รวนแมจ้ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี หายบา้ ง แต่สิทธิและเสรีภาพของบุตรชายผู้ร้องกับพวกมิได้หายไปอย่างสิ้นเชิง ดังนั้น การที่ผู้ถูกร้องใช้เคร่ืองพันธนาการประเภทตรวน แก่บุตรชายผู้ร้องกับพวกอีก 7 คน ในระหว่างการคุมตัวออกไปภายนอกเรือนจำ� จึงยังไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ของบุตรชายผู้ร้องกับพวก จึงมีมติให้ยุติเรื่อง อย่างไรก็ตาม การใช้เครื่องพันธนาการ แกผ่ ตู้ อ้ งขงั แมจ้ ะมกี ฎหมายราชทณั ฑก์ �ำ หนดประเภทและเงอ่ื นไขการใชเ้ ครอ่ื งพนั ธนาการไว้ แต่กฎหมายดังกล่าวมีลักษณะเป็นการเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ดุลพินิจเลือกใช้ เครอื่ งพนั ธนาการโดยมไิ ดก้ �ำ หนดหลกั เกณฑท์ ชี่ ดั เจนและแนน่ อนเปน็ แนวทางก�ำ กบั การ ใช้ดุลพินิจว่า เม่ือใดเป็นกรณีมีเหตุจำ�เป็นหรือมีเหตุสมควรท่ีจะใช้เครื่องพันธนาการ แกผ่ ตู้ อ้ งขงั ซงึ่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ กรณเี จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ใชด้ ลุ พนิ จิ เกนิ ขอบเขตและความจ�ำ เปน็ ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย อันเป็นการลดทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือกระทบ ตอ่ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของผตู้ อ้ งขงั เกนิ สมควรได้ ดงั นน้ั เพอื่ เปน็ การคมุ้ ครองสทิ ธขิ องบคุ คล จากการใช้อำ�นาจโดยเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และป้องกันมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อำ�นาจ เกินขอบเขตและเงื่อนไขที่กฎหมายกำ�หนด จึงให้มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือ แนวทางท่ีเหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อกรมราชทัณฑ์ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปิทรธะมิมนาณุษยพชน.ศแ.ห2่ง5ช6าต2ิ 88 คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ การด�ำ เนนิ การ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) และใหม้ ขี อ้ เสนอแนะมาตรการหรอื แนวทางในการสง่ เสรมิ และ ค้มุ ครองสทิ ธมิ นุษยชนตอ่ กระทรวงยุติธรรมและส�ำ นักงานศาลยตุ ธิ รรม ตามรฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (3) และพระราชบัญญตั ปิ ระกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (3) ประกอบมาตรา 42 ดงั นี้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) กรมราชทัณฑ์ควรกำ�ชับเรือนจำ�และทัณฑสถานทุกแห่งให้ถือปฏิบัติตามหนังสือ หรอื แนวทางทเ่ี หมาะสม สง่ั การของกรมราชทณั ฑ์ ท่ี ยธ 0705/ว38 ลงวนั ท่ี 10 มถิ นุ ายน 2548 เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั ิ ในการปอ้ งกันหรอื ในการใช้เครื่องพันธนาการกับผู้ต้องขังอย่างเคร่งครัด ในระหว่างท่ียังไม่มีกฎกระทรวง แกไ้ ขการละเมดิ ซ่ึงออกตามความในมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 มาใช้บังคับ สทิ ธมิ นุษยชน และควรจัดอบรมเจ้าหน้าท่ีให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในการ สง่ั ใชเ้ ครอ่ื งพนั ธนาการแกผ่ ตู้ อ้ งขงั อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั ความจ�ำ เปน็ โดยค�ำ นงึ ถงึ ศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ยแ์ ละสทิ ธเิ สรภี าพในชวี ติ และรา่ งกายของผตู้ อ้ งขงั ดว้ ย โดยเฉพาะ ผตู้ อ้ งขงั ซง่ึ ศาลยงั ไมม่ คี �ำ พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ วา่ กระท�ำ ความผดิ จะปฏบิ ตั ติ อ่ ผนู้ น้ั เสมอื นเปน็ ผู้กระทำ�ความผิดมิได้ 2) กรมราชทณั ฑ์ควรพจิ ารณาก�ำ หนดหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไขการใชเ้ คร่อื งพันธนาการ แกผ่ ตู้ อ้ งขงั ใหช้ ดั เจนยงิ่ ขนึ้ โดยน�ำ พฤตกิ ารณแ์ หง่ คดแี ละความรนุ แรงในการกระท�ำ ความผดิ รวมท้ังพฤติกรรมของผู้ต้องขังขณะท่ีอยู่ภายในเรือนจำ�มาพิจารณา เพื่อป้องกันมิให้ เจ้าหน้าท่ีใช้ดุลพินิจเกินกว่าความจำ�เป็นในการควบคุมผู้ต้องขัง และควรพิจารณาใช้ เคร่ืองพันธนาการประเภทอ่ืนทดแทนเคร่ืองพันธนาการประเภทตรวน เช่น กุญแจมือ กุญแจเท้า หรือชุดกุญแจมือและกุญแจเท้าเพื่อคุ้มครองบุคคลมิให้ถูกกระทำ�ในลักษณะ ลดทอนหรอื ละเมดิ ศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ และในกรณที จี่ �ำ เปน็ ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งพนั ธนาการ แกผ่ ตู้ อ้ งขงั ควรพจิ ารณาอนญุ าตหรอื จดั ใหม้ เี ครอื่ งปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ อนั ตรายหรอื บาดแผล จากการใชเ้ ครื่องพันธนาการตามสมควรได้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ กระทรวงยุติธรรม และสำ�นักงานศาลยุติธรรมควรพิจารณาจัดให้มีช่องทางเดิน หรอื แนวทางในการ สำ�หรับผู้ต้องขังเป็นการเฉพาะ เพ่ือความสะดวกในการคุมตัวผู้ต้องขังตั้งแต่ สง่ เสรมิ และคมุ้ ครอง ทางเดินระหว่างท่ีจอดรถไปยังห้องควบคุมตัวท่ีศาลอันจะช่วยป้องกันการใช้ สทิ ธมิ นุษยชน เครอ่ื งพนั ธนาการที่เกินสมควร ผลสำ�เรจ็ / 1) กรมราชทณั ฑ์ แจง้ ว่า ได้มหี นงั สือก�ำ ชับเรือนจ�ำ เกีย่ วกับการใชเ้ คร่อื งพนั ธนาการ ความก้าวหนา้ แก่ผู้ต้องขังให้เป็นไปตามกฎหมายแล้ว โดยสั่งการให้เรือนจำ�/ทัณฑสถานทั่วประเทศ ในการคุ้มครอง พิจารณาการใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังให้เป็นไปตามกฎหมาย และไม่ขัดกับ สิทธิมนษุ ยชน พระราชบญั ญัตริ าชทัณฑ์ พ.ศ. 2560

89 ผลสำ�เรจ็ / 2) ส�ำ นกั งานศาลยตุ ธิ รรม แจง้ วา่ ตามพระราชบญั ญตั ริ าชทณั ฑ์ พ.ศ. 2560 มาตรา 21 บทที่ ความกา้ วหน้า การใช้เครื่องพันธนาการกับผู้ต้องขังมีวัตถุประสงค์เพ่ือควบคุมไม่ให้ผู้ต้องขังท่ีมี 1 ในการคุ้มครอง พฤติกรรมส่อว่าเป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตไม่สมประกอบ ซึ่งอาจทำ�อันตรายต่อชีวิต สทิ ธิมนุษยชน รา่ งกายของตนเองหรอื ผอู้ น่ื หรอื มพี ฤตกิ รรม นา่ จะหลบหนกี ารควบคมุ อนั จ�ำ เปน็ ตอ่ การ บทที่ ใชเ้ ครอ่ื งพนั ธนาการ จงึ เหน็ วา่ การใชเ้ ครอ่ื งพนั ธนาการยงั ไมเ่ ปน็ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน 2 และตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย บทที่ พ.ศ. 2550 ข้อ 7 (4) (5) และข้อ 8 (ข) ได้กำ�หนดมาตรการเก่ียวกับอาคารสถานท่ี 3 เพ่ือความเหมาะสมในการรักษาความปลอดภัย โดยได้กำ�หนดช่องทางเข้าออก บทท่ี อย่างเป็นระบบ สำ�หรับรถราชทัณฑ์ที่มีหน้าท่ีรับส่งผู้ต้องคุมขังให้แยกช่องทางเข้าออก 4 และท่ีจอดรถพิเศษให้ใกล้กับห้องคุมขัง และจัดให้มีรั้วเหล็กก้ันโดยรอบอาคาร บทที่ ศาลยุติธรรม เพ่ือป้องกันบุคคลมิให้เข้าใกล้อาคาร อีกท้ังได้กำ�หนดช่องทางเดิน 5 ภายในอาคารศาลยุติธรรมอย่างเป็นสัดส่วนสำ�หรับผู้พิพากษา ผู้ต้องหาหรือจำ�เลย ภาค และผู้มาติดต่อไม่ให้ปะปนกัน สำ�หรับกรณีท่ีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผนวก เสนอให้จัดให้มีช่องทางเดินสำ�หรับผู้ต้องขังเป็นการเฉพาะน้ัน สำ�นักงานศาลยุติธรรม ได้ประสานไปยังศาลจังหวัดพลเกี่ยวกับช่องทางเดินระหว่างที่จอดรถไปยังห้องควบคุม ของศาลได้รับแจ้งว่า ปัจจุบันศาลจังหวัดพลมีการก่อสร้างอาคารที่ทำ�การศาลหลังใหม่ ซึ่งอยู่บริเวณด้านหลังอาคารท่ีทำ�การศาลเดิม ทำ�ให้รถราชทัณฑ์ท่ีนำ�ตัวผู้ต้องขัง มาศาลไม่สามารถจอดรถบริเวณใกล้ห้องควบคุมได้ จึงต้องเปลี่ยนจุดจอดรถเป็นบริเวณ ด้านข้างอาคารที่ทำ�การศาล และให้ผู้ต้องขังเดินเข้าประตูด้านข้างอาคารที่ทำ�การศาล ไปยังห้องควบคุมระยะทางประมาณ 50 เมตร โดยมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมรักษา ความปลอดภัย อย่างไรก็ตาม หากอาคารท่ีทำ�การหลังใหม่แล้วเสร็จ จะมีการปรับปรุง ห้องควบคุมโดยแยกห้องควบคุมชายและหญิงออกจากกัน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2550 และ การเคลอื่ นยา้ ยผตู้ อ้ งขงั จะกลบั มาใชจ้ ดุ จอดรถเดมิ ซงึ่ อยใู่ กลห้ อ้ งควบคมุ โดยมรี ะยะทาง จากทจี่ อดรถไปยงั หอ้ งควบคมุ ประมาณ 10 - 20 เมตร อนั เปน็ การสะดวกแกก่ ารเคลอื่ นยา้ ย ผู้ต้องขัง เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการ รักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2550 ขอ้ 7 (4) (5) และขอ้ 8 (ข) 3) กระทรวงยตุ ธิ รรม แจ้งว่า กระทรวงยตุ ธิ รรม โดยกรมราชทัณฑ์ ได้ให้ความส�ำคัญ ต่อการปฏิบัติกับผู้ต้องขังโดยค�ำนึงถึงการป้องกันมิให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามทก่ี ฎหมายก�ำหนด โดยก�ำหนดใหก้ รมราชทณั ฑม์ หี ลกั สตู รการอบรม เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ิ ต่อผู้ต้องขังตามหลักการสิทธิมนุษยชนให้เจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์อยู่แล้ว และเพ่ือป้องกัน ไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนแก่ผู้ต้องขัง กรณีการใช้เคร่ืองพันธนาการ จึงได้ก�ำหนดแนวทางในการพิจารณา กรณีการใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง อยู่ในหมวด 3 ข้อ 14-19 ของร่างกฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 ซึ่งก�ำหนดไว้ว่าในกรณีที่ต้องน�ำตัวผู้ต้องขังไปนอกเรือนจ�ำ ถ้าจะใช้เครื่องพันธนาการให้ใช้กุญแจมือ เว้นแต่ผู้ต้องขังที่ศาลได้มีค�ำพิพากษาถึงท่ีสุด ให้ลงโทษจ�ำคุกผู้ต้องขังนั้นต้ังแต่สิบปีขึ้นไป หรือเป็นผู้ต้องขังในคดีท่ีมีอัตราโทษจ�ำคุก อย่างสูงต้ังแตส่ บิ ปีข้นึ ไปจะใช้ตรวน หรอื กญุ แจเทา้ หรือชดุ กญุ แจมือและกญุ แจเท้ากไ็ ด้ และห้ามใช้เครื่องพันธนาการกับผู้ต้องขังซึ่งมีอายุต�่ำกว่า 18 ปี ผู้ต้องขังซึ่งมีอายุเกิน

รายงานผลการปฏิบตั ิงานคณะปกรระรจมำ�กปางี รบสปิทรธะิมมนาณษุ ยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 90 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ผลส�ำ เรจ็ / 60 ปี ผู้ต้องขังหญิง หรือผู้ต้องขังซึ่งเจ็บป่วย เว้นแต่เป็นคนดุร้ายหรือเสียจริต ความกา้ วหน้า ซึ่งเห็นเป็นการจ�ำเป็นต้องป้องกันมิให้ก่อภยันตราย ปัจจุบันร่างกฎกระทรวงดังกล่าว ในการคมุ้ ครอง ได้ผ่านความเห็นชอบแล้ว อยู่ระหว่างด�ำเนินการตามขั้นตอนออกอนุบัญญัติร่าง สิทธมิ นุษยชน กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญตั ิราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 กรณที ่ี 12 สทิ ธชิ ุมชน กรณีกลา่ วอ้างวา่ ชาวประมงพื้นบ้านไดร้ บั ผลกระทบจากผปู้ ระกอบการ เลยี้ งหอยแครงบุกรุกทีส่ าธารณประโยชน์ ประเด็นการรอ้ งเรียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเร่ืองร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณี กล่าวอ้างว่า ชาวประมงพื้นบ้านที่ประกอบอาชีพประมงในพ้ืนท่ีอ่าวบ้านดอน จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นจากกรณกี ลมุ่ นายทนุ ผปู้ ระกอบการขยายพนื้ ท่ี บุกรุกจับจองพื้นที่สาธารณประโยชน์ซ่ึงประชาชนใช้ร่วมกันเพื่อประกอบกิจการ เลี้ยงหอยแครงโดยผิดกฎหมาย ส่งผลกระทบต่อชาวประมงพ้ืนบ้านท�ำให้ไม่มีพ้ืนท่ี จับสัตว์น�้ำ ส�ำนักงานประมงจังหวัดสุราษฎร์ธานี และส�ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาค สาขาสรุ าษฎรธ์ านี ผถู้ กู รอ้ งทงั้ สองเปน็ หนว่ ยงานของรฐั ซง่ึ มอี �ำนาจหนา้ ทโ่ี ดยตรงในพนื้ ที่ ไมส่ ามารถแกไ้ ขปญั หาได้ การด�ำ เนินการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้ประกอบการหลายราย ได้เพาะเล้ียงหอยทะเลนอกเขตเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำ โดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย ว่าด้วยการประมง และปักเสาคอนกรีตหลักไม้ไผ่รวมท้ังสร้างสิ่งปลูกสร้างล่วงล้�ำล�ำน้�ำ ส่งผลกระทบต่อสิทธิของชุมชนและกลุ่มชาวประมงพื้นบ้านในการเข้าใช้ประโยชน์ ในที่สาธารณสมบัติของแผ่นดินอันเป็นแหล่งประกอบอาชีพประมงของชุมชน รวมทั้ง กีดขวางทางเดินเรือจนส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชาวประมงพ้ืนบ้าน จึงมีมติให้มี ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิด สิทธิมนุษยชน ต่อกรมประมง กรมเจ้าท่า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง คณะกรรมการประมงประจ�ำจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี และจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) และพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 26 (1) ประกอบ มาตรา 36 ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 1) คณะกรรมการประมงประจ�ำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรบูรณาการความร่วมมือกับ หรอื แนวทางทเ่ี หมาะสม กรมประมงและกรมเจ้าท่า ในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพ้ืนท่ีอ่าวบ้านดอน ในการปอ้ งกันหรือ เพื่อเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำ ทั้งนี้ โดยค�ำนึงถึงความเป็นธรรมต่อประชาชนผู้ใช้ประโยชน์ แก้ไขการละเมิด ในท่ีสาธารณะอ่าวบ้านดอนกลุ่มอื่น ๆ สทิ ธิมนุษยชน 2) กรมประมง กรมเจ้าท่า และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรส่ังการให้เจ้าหน้าท่ี ผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบและบังคับใช้กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ด�ำเนินการต่อ ผเู้ พาะเลย้ี งหอยทะเลนอกเขตเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้� โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต รวมทง้ั เฝา้ ระวงั ไมใ่ หม้ ี การเพาะเลย้ี งหอยหรอื สรา้ งสงิ่ ปลกู สรา้ งนอกพนื้ ทที่ คี่ ณะกรรมการประมงประจ�ำจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านกี �ำหนดใหเ้ ปน็ พนื้ ทเี่ พาะเลยี้ งสตั วน์ ำ้� ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประมง

91 ขอ้ เสนอแนะมาตรการ 3) จังหวัดสุราษฎร์ธานีร่วมกับกรมประมง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง บทที่ หรอื แนวทางทเ่ี หมาะสม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เก่ียวข้อง พิจารณาด�ำเนินการฟื้นฟูอ่าวบ้านดอน 1 ในการป้องกันหรือ ในส่วนท่ีจะมีการร้ือถอนคอกหอย ท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้กลับคืนสู่สภาพเดิม แก้ไขการละเมดิ ตามธรรมชาติ และควรอนุรักษ์ บ�ำรุงรักษาและจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร บทท่ี สทิ ธมิ นุษยชน สัตว์น้�ำอย่างยั่งยืน 2 บทที่ 4) กรมประมง และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งควรให้การสนับสนุนและ 3 ส่งเสริมให้ชุมชนชายฝั่งรอบพื้นที่อ่าวบ้านดอนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บทที่ ท่ีเกี่ยวข้องร่วมกันจัดท�ำแนวเขตเพ่ือการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 4 และวางกฎกติกาการใช้ประโยชน์และมาตรการควบคุมดูแลในชุมชนเพื่อป้องกันไม่ให้ บทที่ มีการขยายพ้ืนท่ีเพาะเล้ียงหอยทะเลโดยผิดกฎหมาย 5 ภาค ผลสำ�เรจ็ / 1) จังหวัดสุราษฎร์ธานี แจ้งว่า คณะกรรมการประมงประจ�ำจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผนวก ความก้าวหน้า กรมประมงและกรมเจ้าท่า และหน่วยงานต่าง ๆ อีก 19 หน่วยงาน ได้บูรณาการ ในการคุ้มครอง ความร่วมมือกัน ตามค�ำส่ังจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งแต่งตั้งคณะท�ำงานแก้ไขปัญหา สทิ ธิมนุษยชน การบุกรุกพื้นที่อ่าวบ้านดอน โดยได้แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ร่วมปฏิบัติการร้ือถอนคอกหอย ออกตรวจลาดตระเวนพ้ืนที่ เพ่ือป้องกันการบุกรุกพร้อมท้ังจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนชายฝั่ง รอบพ้ืนที่อ่าวบ้านดอน 2) กรมเจ้าท่า แจ้งว่า ได้ร้ือถอนคอกหอยที่ปักหลักครอบครองเข้ามาในเขต แนวชายฝั่ง 1,000 เมตรในเขตต�ำบลคลองฉนาก อ�ำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจัดท�ำโครงการ “ยุทธการทวงคืนผืนน�้ำ” เพื่อแก้ไขปัญหาและ บังคับใช้กฎหมายการบุกรุกพ้ืนท่ีอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) กรมประมง แจ้งว่า ได้ร่วมกับชุมชนชายฝั่งอ่าวบ้านดอน ปักหลักแนวเขตพื้นท่ี ท่ีเหมาะสมในการเล้ียงหอยในอ่าวบ้านดอนเพ่ือบริหารจัดการพื้นที่อนุญาตออกจาก พื้นที่นอกเขตอนุญาต มีการปักหลักแนวระยะเล้ียงและร่องน้�ำเดินเรือ ตลอดจนป้องกัน ไม่ให้มีการขยายพื้นที่เพาะเล้ียงหอยทะเลผิดกฎหมาย กรณที ่ี 13 สทิ ธิชมุ ชน กรณกี ลา่ วอ้างวา่ การก่อสรา้ งคลังก๊าชแหลมใหญแ่ ละท่าเทยี บเรือ ของคลงั กา๊ ซมผี ลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและการประกอบอาชพี ของชมุ ชนคลองนอ้ ย ประเด็นการรอ้ งเรยี น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับเร่ืองร้องเรียนขอให้ตรวจสอบ กรณี กล่าวอ้างว่า การก่อสร้างคลังก๊าชแหลมใหญ่และท่าเทียบเรือของคลังก๊าซมีผลกระทบ ต่อส่ิงแวดล้อมและการประกอบอาชีพของชุมชนคลองน้อย อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาตรวจสอบแล้ว และมีมติให้ส�ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาสมุทรสงคราม ซึ่งรับมอบอ�ำนาจจากอธิบดี กรมเจา้ ทา่ พจิ ารณาเพกิ ถอนใบอนญุ าตกอ่ สรา้ งทา่ เทยี บเรอื ขนาดไมเ่ กนิ 500 ตนั กรอส

รายงานผลการปฏิบัติงานคณะปกรระรจมำ�กปาีงรบสปทิ รธะิมมนาณุษยพชน.ศแ.ห2ง่ 5ช6าต2ิ 92 คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ ประเดน็ การร้องเรียน ของบริษัทเอกชน A ภายใน 90 วัน เนื่องจากขัดต่อการประกาศกฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม พ.ศ. 2558 ที่มีผลใช้บังคับเมื่อวันท่ี 12 มิถุนายน 2558 อีกท้ังการด�ำเนินโครงการขาดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ไมเ่ ปน็ ไปตามบทบญั ญตั ทิ ร่ี บั รอง ไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 57 มาตรา 66 และมาตรา 67 ซ่ึงรับรองโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 4 การด�ำ เนนิ การ ส�ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาสมุทรสงคราม แจ้งว่า ไม่สามารถเพิกถอนใบอนุญาต ให้ก่อสร้างท่าเทียบเรือดังกล่าวได้ เน่ืองจากเห็นว่าการขออนุญาตก่อสร้างท่าเทียบเรือ ไม่ขัดกับผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม และการออกใบอนุญาตให้ก่อสร้าง ทา่ เทยี บเรอื เปน็ การกระท�ำโดยชอบแลว้ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตพิ จิ ารณาแลว้ เห็นว่า ส�ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาสมุทรสงคราม ไม่ด�ำเนินการตามมาตรการ การแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร จึงมีมติให้รายงาน ต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือสั่งการให้มีการด�ำเนินการตามมาตรการการแก้ไขปัญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชน ผลส�ำ เรจ็ / คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันท่ี 19 มีนาคม 2562 รับทราบสรุปผลการพิจารณาต่อ ความกา้ วหนา้ ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ ในการคุ้มครอง สรุปสาระส�ำคัญได้ว่า ได้หารือกับกระทรวงมหาดไทยในฐานะเป็นผู้รักษาการ สิทธิมนษุ ยชน ตามกฎหมายของพระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ. 2518 ต่อมากระทรวงมหาดไทยได้แจ้ง ผลการหารือว่า การใช้ประโยชน์ที่ดินต้องถือปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎกระทรวงให้ใช้ บังคับผังเมืองรวมเมืองสมุทรสงคราม พ.ศ. 2558 ท่ีก�ำหนดไว้ แม้บริษัทเอกชน A ได้ย่ืนขออนุญาตก่อสร้างท่าเทียบเรือก่อนกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมือง รวมเมอื งสมทุ รสงคราม พ.ศ. 2558 มผี ลใชบ้ งั คบั และตอ่ มากรมเจา้ ทา่ ไดอ้ อกใบอนญุ าต ใหบ้ รษิ ทั เอกชน A ปลกู สรา้ งสงิ่ ลว่ งลำ้� ล�ำนำ้� ประเภททา่ เทยี บเรอื ขนาดไมเ่ กนิ 500 ตนั กรอส ตามใบอนุญาต เลขท่ี 5/2558 เม่ือวันที่ 30 กันยายน 2558 ก็ไม่ได้มีผลท�ำให้ กรณีดังกล่าวสามารถด�ำเนินการได้ เนื่องจากเป็นการอนุญาตภายหลังกฎกระทรวง ฯ มีผลบังคับใช้แล้ว ต่อมากระทรวงคมนาคมได้ส่ังการให้กรมเจ้าท่าน�ำความเห็น ทางกฎหมายของกระทรวงมหาดไทยไปพิจารณาด�ำเนินการตามกฎหมาย กฎ หรือ ระเบียบที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างกรมเจ้าท่าน�ำความเห็น ทางกฎหมายของกระทรวงมหาดไทยไปพิจารณาเพิกถอนใบอนุญาตให้ปลูกสร้าง สิ่งล่วงล้�ำล�ำน�้ำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook