ผลงานด้านองค์ความรู้ อยใู่ นรูปของผลงานวิจัยและหลักสตู รหลากหลายลกั ษณะ ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี โครงการ องค์ความรู้ • วิจัย รูปแบบและระบบนิเวศสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ • การพฒั นารปู แบบสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ทช่ี ว่ ยเยยี วยา ที่ช่วยเยียวยาส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีต่อเด็กและเยาวชนใน สง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ ทด่ี ตี อ่ เดก็ และเยาวชนในสถานศกึ ษา เพอ่ื ลด สถานศึกษาเพื่อลดผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง ผลกระทบจากสถานการณค์ วาม รนุ แรงในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดน ในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ภาคใต้ • สถานภาพความรกู้ ารวจิ ยั เกย่ี วกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ในประเทศไทย • ข้อมูลการสำรวจและวิเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้ด้าน ระหวา่ งปี ๒๕๔๐-๒๕๖๐ การวจิ ยั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ในประเทศไทยระหวา่ งปี ๒๕๔๐-๒๕๖๐ จำนวน ๑๓๐ ชิ้น ที่จำแนกให้เห็น ลักษณะของวัตถุประสงค์ การวจิ ยั และ กลมุ่ เนอ้ื หาในการวจิ ยั เชน่ พฒั นาการและนยิ าม การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ความสมั พนั ธข์ องการเปดิ รบั สอ่ื โฆษณากบั การ รเู้ ทา่ ทนั โฆษณา หลกั ธรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื โทรทศั น์ และสอื่ สังคมออนไลนป์ ระเภทเฟซบกุ๊ เป็นต้น • ผลิตสื่อสร้างสรรค์และปลอดภัยเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง • โครงร่างเนื้อหาหลักสูตร “การพัฒนาทักษะนักสร้าง และแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาทักษะการใช้สื่อเพื่อสร้าง การเปลย่ี นแปลงและทกั ษะการใชส้ อ่ื เพอ่ื สรา้ งการเปลย่ี นแปลง การเปล่ยี นแปลงสำหรบั คนรนุ่ ใหม่ สําหรับคนรนุ่ ใหม”่ • การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคู่มือ • รายงานการรวบรวมองคค์ วามรจู้ ากเอกสารเกย่ี วกบั แนวทาง การรายงานข่าวสิทธิเด็กบนสื่อสังคมออนไลน์ การปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กบนสื่อสังคมออนไลน์สําหรับ สอ่ื มวลชน • ตน้ แบบหลกั สตู รการผลติ สอ่ื โฆษณาทป่ี ลอดภยั และสรา้ งสรรค์ • หลักสูตรต้นแบบ “การผลิตสื่อโฆษณาที่ปลอดภัย เพอ่ื การพฒั นากำลงั คนดา้ นสอ่ื โฆษณาและการขบั เคลอ่ื นสงั คม และสร้างสรรค์” และสื่อวีดิทัศน์สำหรับการสอนตามหลักสูตร ใหม้ กี ารผลติ สอื่ โฆษณาทปี่ ลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๔ หมวด ๒๐ รายวิชา ในรูปแบบการสอนผ่านทางออนไลน์ (E-learning) ในระบบ Thai MOOC ไดแ้ ก่ การสอ่ื สารโฆษณา โฆษณาสร้างสรรค์ โฆษณาปลอดภัย และความคาดหวัง ของสังคมต่อโฆษณาโดยผู้เรียนไม่เสียค่าใช้จ่าย และได้รับ ใบประกาศ Certificate หลังจากเรียนจบหลักสูตร การสรา งการเรียนรตู ามแนวคิด Transmedia Storytelling (การเลา เรื่องขา มสือ่ ) และ Design Thinking Thai Media Lab พฒั นานวตั กรรม และองคค วามรเู พอื่ ผลิตส่อื ปลอดภัยและสรา งสรรค รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๔๕
โครงการ องค์ความรู้ • การพฒั นาตน้ แบบสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคส์ ำหรบั เยาวชน • คู่มือการอบรม ๒ เรื่อง ได้แก่ (๑) คู่มือการอบรม “พัฒนา และครอบครัวในพื้นที่พรมแดนเพื่อส่งเสริมทักษะรู้เท่าทันสื่อ ศักยภาพนักเรียนในการลดความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์และ ในการลดปญั หาความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ สง่ เสรมิ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื (๒) คมู่ อื การอบรมพฒั นาศกั ยภาพ ผู้ปกครองในพื้นที่ชายแดนเพื่อสร้างความตระหนักต่อปัญหา • พัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้เพื่อผลิตสื่อปลอดภัยและ การรังแกกันและลดความรนุ แรงในพ้นื ทอี่ อนไลน์ สร้างสรรค์ “Thai Media Lab” • คมู่ อื พฒั นาศกั ยภาพครใู นพน้ื ทช่ี ายแดนเพอ่ื สรา้ งความตระหนกั ต่อปัญหาการรังแกกนั และลดความรนุ แรงในพน้ื ทอี่ อนไลน์ • รายงานวิจัยการพัฒนาทักษะการคิดและรู้เท่าทันสื่อหลาก แพลตฟอรม์ เพอ่ื พฒั นาผผู้ ลติ สอ่ื ดว้ ยกระบวนการเลา่ เรอ่ื งขา้ มสอ่ื พรอ้ มทำเปน็ คมู่ อื ในการอบรม Design Thinking & Transmedia และย่อยขอ้ มูลความรู้นำเสนอผ่านการส่อื สารของโครงการฯ ๔๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
๓. โครงการสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชน เด็กและเยาวชน มที กั ษะในการรเู้ ท่าทนั สอ่ื และเป็น แนวร่วมในการเฝ้าระวงั สอื่ ภาพรวมผลท่เี กิดขึ้นจากโครงการในกลุม่ ที่ ๓ คอื โครงการสร้างความเขม้ แขง็ ให้ประชาชน เดก็ และเยาวชน มที กั ษะในการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ และเปน็ แนวรว่ มในการเฝา้ ระวงั สอ่ื ซงึ่ มจี �ำนวนโครงการทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากกองทนุ ฯ ๒๖ โครงการ มีดงั น้ี พฒั นาแนวรว่ มในการเฝ้าระวงั ส่ือไมป่ ลอดภยั และไม่สร้างสรรค์ เข้าถึงคนทกุ วยั เพือ่ พฒั นาสู่แนวร่วมเฝา้ ระวงั ภัยเสีย่ งท่ีมาจากส่อื สมยั ใหม่ และสนบั สนนุ ให้เกิดกลไกเฝ้าระวัง ดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี โครงการ ผลการดำเนินงาน • ละครสรา้ งสรรค์ทอ้ งถิ่นเทา่ ทนั • ทำให้เกิดการผนึกพลังระหว่าง ๒๖ องค์กรภาคีในพื้นที่ เปน็ แนวรว่ มในการขบั เคลอ่ื นพน้ื ทส่ี อ่ื สรา้ งการรเู้ ทา่ ทนั ในทอ้ งถน่ิ และ กลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์ ๘ กลุ่ม ที่ สรา้ งผลงานสอ่ื สรา้ งสรรคใ์ นรปู แบบละครและมหรสพสำหรบั เดก็ เยาวชนและคนในชมุ ชน • กลไกเฝ้าระวังสื่อในการนำเสนอประเด็นความหลากหลาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือและพัฒนาเครือข่ายผู้บริโภคสื่อ ทางเพศ ๔ ภาค ที่มีความหลากหลายทางเพศ ๔ ภาค จนเกิดกลไกเครือข่าย ผบู้ รโิ ภคสอ่ื ทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศรว่ มกบั องคก์ รผลติ สอ่ื และสื่อมวลชนท้องถิ่นมีกลุ่มไลน์ (Line) สื่อสาร แลกเปลี่ยน และเฝ้าระวังการนำเสนอประเด็นความหลากหลายทางเพศ ของแตล่ ะภาค รวมทง้ั สรา้ งคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านสอ่ื ในการนำเสนอ ประเดน็ ความหลากหลายทางเพศ • พฒั นาและเสรมิ สรา้ งจรยิ ธรรมนกั สอ่ื สารชายขอบ-พน้ื ทเ่ี ฉพาะ • ส่งเสริมประชาชนใน “พื้นที่ชายขอบ” ให้เป็นนักสื่อสาร ผา่ นการผลติ ขา่ วและเชอ่ื มประเดน็ ชายขอบกบั นโยบายสาธารณะ จนสำเร็จเป็นรูปธรรม ดังเช่นกรณีการนำเสนอข่าวโครงการ ระเบิดแก่งในแม่น้ำโขงอย่างต่อเนื่อง • ผสู้ งู วยั ยุคใหม่ เขา้ ถึง เขา้ ใจ เทา่ ทนั สือ่ • สง่ เสริมกลุ่มผสู้ งู อายุให้มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการ กลยทุ ธ์ การสื่อสาร พฤติกรรมการสื่อสาร และเทคโนโลยีการสื่อสาร ในยคุ ปจั จบุ นั โดยใชก้ ระบวนการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ผลประเมนิ พบวา่ ทำใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายเกดิ การตระหนกั รคู้ วามเสย่ี งทอ่ี าจแฝง มากับการใช้สื่อสมัยใหม่ เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก และวิธีการป้องกัน และระวงั ภยั ทอ่ี าจมาจากการใชง้ านสอ่ื สงั คมออนไลนเ์ พม่ิ มากขน้ึ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๔๗
การสร้างความเข้มแข็งใหป้ ระชาชน เด็กและเยาวชน มีทักษะในการรู้เท่าทันสอ่ื ทำใหเ้ กดิ การขับเคลือ่ นงานพัฒนาคนทกุ วัยใหม้ ที ักษะรู้เทา่ ทนั สอื่ ผ่านการอบรม และพฒั นากลไกเพอื่ ให้กลุ่มเปา้ หมายเกดิ ปฏิบตั ิการอย่างต่อเนอ่ื ง ดังตัวอยา่ งต่อไปนี้ โครงการ ผลการดำเนนิ งาน • พฒั นานกั สอ่ื สารดา นสอ่ื ปลอดภยั และสรา งสรรค เพอ่ื สง เสรมิ • พัฒนานักเรียนมัธยมต้นให้เป็นนักสื่อสารด้านสื่อปลอดภัย ทักษะรูเทา ทนั ส่อื ท่ีมผี ลตอสขุ ภาพวัยร่นุ และรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ผา่ นกระบวนการอบรมใหค้ วามรู้ ผลการทำงาน พบว่า เกิดนักสื่อสารด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๒๔ คน สามารถถ่ายทอดความรู้และดำเนินกิจกรรมเท่าทันสื่อและ เฝ้าระวังสื่อที่มีผลต่อสุขภาพในโรงเรียนและสื่อออนไลน์ได้ เกิดคณะทำงานเฝ้าระวังสื่อทั้ง ๒ โรงเรียน และเกิดเครือข่าย เฝา้ ระวงั สอ่ื ในโรงเรยี นในกลมุ่ สภานกั เรยี น หลงั ปดิ โครงการพบวา่ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นยงั สนบั สนนุ ใหค้ รใู ชก้ ระบวนการเรยี นรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ฯ บรู ณาการในวิชาอืน่ ๆ และนักเรียนชัน้ อนื่ ๆ • เยาวชนชายแดนใต้เท่าทัน เฝ้าระวังข่าวลวงและต่อต้าน • จัดกระบวนการศึกษาข่าวปลอม และพัฒนาศักยภาพ การใช้ Hate Speech ภาพการผลิตสื่อให้กับเยาวชนผ่านค่าย “เยาวชนชายแดนใต้ เทา่ ทนั สอ่ื เฝา้ ระวงั ขา่ วปลอม” (Fake News) ประเมนิ ผลพบวา่ เดก็ และเยาวชนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ๒๓๐ คน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ การรู้เท่าทันสื่อ การแยกข่าวปลอม และการระวังคำพูด ที่จะ ไมส่ รา้ งความเกลยี ดชงั ใหก้ บั ผอู้ น่ื มคี วามตระหนกั ในการใชส้ อ่ื รวมไปถึงมีสติก่อน “แชร์” และเกิดกลุ่มไลน์เครือข่ายเยาวชน โดยมีการแชร์ข่าวสารข้อมูล ประเด็นข่าวปลอมที่เกิดขึ้นทั้งใน และนอกพน้ื ทอ่ี ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ชว่ ยกนั เฝา้ ระวงั การแพรก่ ระจาย ของขา่ วปลอม • พัฒนาศักยภาพเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และครูแกนนำ • พัฒนาศักยภาพในการเฝ้าระวังสื่อในกลุ่มเด็กนักเรียน ในการเฝ้าระวังและรู้เท่าทันสื่อในยุคดิจิทัล และผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ครอื ขา่ ยการเฝา้ ระวงั สอ่ื ผลการทำงานพบวา่ เกิดเครือข่ายโรงเรียนส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อในยุคดิจิทัล สง่ เสรมิ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ไปยงั โรงเรยี นขา้ งเคยี ง ๖ เครอื ขา่ ย รวมทั้งเกิดกลุ่ม line เครือข่ายครูแกนนำรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ๔๘ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์
โครงการ ผลการดำเนนิ งาน • มือเลก็ ๆ เรียนร้เู ทา่ ทันสือ่ • พัฒนาศักยภาพด้านการผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการรู้ เท่าทันสื่อหลากหลายรูปแบบ ส่งผลให้เกิดตัวแบบ (Model) • สนบั สนนุ การพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนเพอ่ื ยตุ กิ ารกลน่ั แกลง้ การเรียนรู้เท่าสื่อในรูปแบบใหม่ ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเด็ก ในโลกออนไลน์ และเยาวชนอย่างมีประสิทธิภาพ ๑๐ รูปแบบ เช่น ชุดคู่มือ สาระความรดู้ า้ นรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื เอกสารแผน่ พบั เกมจก๊ิ ซอว์ การจดั กิจกรรมที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เป็นต้น • สร้างครแู กนนำในสถานศกึ ษาให้รู้เท่าทันโลกดิจิทลั ผา่ นการ พฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนทช่ี ว่ ยยตุ กิ ารกลน่ั แกลง้ ในโลกออนไลน์ เช่น (๑) ผลการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ ปญหาการกลั่นแกลง ในโลกออนไลน์ “Cyberbullying การกลน่ั แกลง ในโลกออนไลน” สำหรบั ใชเ ปน เนอ้ื หาในการอบรมพฒั นาศกั ยภาพครแู ละนกั เรยี น แกนนํายุติการกลั่นแกลงในโลกออนไลน์ (๒) คูมือฝกอบรม ครูแกนนํายุติการกลั่นแกลงในโลกออนไลน์ และสร้างชองทาง รณรงคก ารยตุ กิ ารกลน่ั แกลง ในโลกออนไลน เผยแพรข อ มลู ผลงาน ตอ่ สาธารณะผา่ น Facebook : “Cyberbully ภยั รา ยทางไซเบอร”์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๔๙
การด�ำเนนิ งานโครงการทสี่ �ำนกั งานดำ� เนนิ การ แม้ว่าภารกิจหลักหรือแนวคิดในการขับเคลื่อนงาน ดว้ ยเหตนุ ้ี คณะกรรมการกองทนุ ฯ จงึ เหน็ ชอบใหม้ ี ของกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคเ์ ปน็ การ โครงการในอกี ลกั ษณะหนง่ึ ทเ่ี รยี กวา่ โครงการด�ำเนนิ การเอง ด�ำเนนิ งานโดยภาคเี ครอื ขา่ ยผา่ นการสนบั สนนุ ทนุ กต็ าม ขบั เคลอื่ นควบคไู่ ปดว้ ยกนั โดยก�ำหนดทศิ ทางใหเ้ ปน็ ไป หากแตก่ ารเปดิ รบั ขอ้ เสนอโครงการจากภาคเี ครอื ขา่ ยนน้ั ในลักษณะ “ท�ำน้อย ได้มาก” นั่นคือท�ำเพ่ือสาธิต เปน็ การเปดิ รบั ตามยทุ ธศาสตร์ หรอื ประเดน็ ซง่ึ ยงั คงมี เปน็ ตัวอย่าง และท�ำในจดุ คานงดั ทส่ี �ำคัญ ช่องว่างในการด�ำเนินการอยู่ที่การสนับสนุนทุนเพียง ในปงี บประมาณ๒๕๖๒โครงการทก่ี องทนุ ฯด�ำเนนิ การ อยา่ งเดยี วไมส่ ามารถท�ำได้ หรอื ไม่สามารถท�ำไดอ้ ย่าง เองท่ีได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุนฯ มีประสิทธภิ าพ มที งั้ ทอ่ี ยใู่ นรปู ของโครงการและแผนงาน โดยบางสว่ น เปน็ โครงการต่อเนอื่ งหรอื ขยายผลจากปที ่ีผ่านมา โครงการและแผนงานทีส่ �ำคญั มสี าระส�ำคญั ดงั นี้ “โครงการ International Conference on Fake News และการจดั ท�ำคู่มอื เรื่อง Fake News” ๑. โครงการ International Conference on Fake การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) คณะนิเทศศาสตร์ News และ การจัดท�ำคูม่ ือเร่อื ง “Fake News” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวารสารศาสตร์และ ท่ามกลางสถานการณ์ปัจจุบันท่ี “ข่าวลวง” (Fake ส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สภาการ News) เป็นปัญหาส�ำคัญของระบบการสื่อสารทั้ง หนงั สอื พมิ พ์แห่งชาติ สมาคมผ้ผู ลติ ขา่ วออนไลน์ และ ในประเทศไทยและในระดับโลก และมีแนวโน้มจะ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่ง ทวคี วามรนุ แรงมากขนึ้ กองทนุ ฯจงึ รว่ มกบั ๗ภาคเี ครอื ขา่ ย ประเทศไทย ได้ร่วมกันขับเคล่ือนให้เกิดการจัดการ ด้านสอื่ มวลชน คอื Friedrich Naumann Foundation กบั ปญั หาดงั กลา่ ว ดว้ ยการใชอ้ งคค์ วามรเู้ ปน็ เครอ่ื งมอื for Freedom (FNF) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน ส�ำคญั ๕๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรค์
“โครงการรวมพลงั สื่อสรา้ งสรรคส์ งั คมไทย” กิจกรรมส�ำคัญของความร่วมมือครั้งนี้ ประกอบ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ ให้ ด้วย ๒ ส่วน ได้แก่ ด�ำเนนิ งานดา้ นการพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ (๑) การร่วมลงนามและประกาศปฏิญญารวมพลัง ผ่านการสนับสนุนทุน กองทุนฯ จึงริเริ่มโครงการน้ีข้ึน ขบั เคลอ่ื นต่อต้านขา่ วลวง ขา่ วปลอม ระหว่าง ๗ ภาคี เพอื่ สนบั สนนุ สง่ เสรมิ สานพลงั ภาคเี ครอื ขา่ ยภาคสว่ น เครือข่ายดังกล่าว เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ตา่ ง ๆ ให้ร่วมกันขับเคลื่อนสงั คมไทยใหม้ นี ิเวศส่ือทดี่ ี เพื่อประกาศจุดเร่ิมต้นของการขับเคล่ือนในการแก้ไข ในปที ผ่ี า่ นมา กองทนุ ฯ ไดด้ �ำเนนิ การตอ่ เนอ่ื งมาเปน็ ปญั หาขา่ วปลอม โดยภาคเี ครอื ขา่ ยจะรว่ มแบง่ ปนั ขอ้ มลู ปีที่ ๓ โดยด�ำเนินการครอบคลุมท้ัง ๔ ภูมิภาคท่ัว แบง่ ปนั ประสบการณ์ และรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ทเ่ี กยี่ วกบั ประเทศ ภายใต้แนวคดิ หลักในการขบั เคล่อื นงานร่วม การรับมือกับข่าวปลอมจากหลากหลายประเทศ เพื่อ กัน คือ “ผนึกก�ำลังส่ือสร้างสรรค์สู่นิเวศสื่อเพ่ือสังคม น�ำไปสู่การรู้เท่าทันส่ือ และเสริมสร้างความรู้ให้กับ ไทยน่าอยู่และปลอดภัย” ประชาชน กิจกรรมหลักที่จัดขึ้นในแต่ละพ้ืนท่ีระหว่างเดือน (๒) การจดั ประชมุ International Conference on สิงหาคม - กนั ยายน ๒๕๖๒ ประกอบดว้ ย ๕ กิจกรรม Fake News เมอ่ื วนั ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ เพือ่ ขยาย หลกั ได้แก่ (๑) การมอบรางวัลเชิดชผู ผู้ ลติ สือ่ ในแตล่ ะ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ผา่ นการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้บทเรยี น ภูมภิ าค เชน่ สอื่ สรา้ งสรรค์ส�ำหรบั เดก็ และเยาวชน สอ่ื ทักษะ และเครื่องมือ ในการท�ำงานรับมือข่าวลวง สรา้ งสรรคภ์ าษาถน่ิ สอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ เปน็ ตน้ (๒) ขา่ วปลอมจากนานาประเทศ มผี เู้ ขา้ รว่ มประมาณ๑๕๐คน การเสวนาวิชาการ “นิเวศส่ือ สื่อปลอดภัยและ ประกอบด้วย นักวิชาการ นักวิชาชีพ องค์กร ภาค สร้างสรรคใ์ นยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐” (๓) การประชมุ เชิง ประชาสังคม หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมถึง ปฏิบัติการ ด้านวิชาการ ด้านส่ือภูมิปัญญา ด้าน บคุ คลทว่ั ไปทส่ี นใจ นอกจากนย้ี งั มกี ารถา่ ยทอดสดเวที กระบวนการผลิตส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ (ส่ือมือ ผ่าน Facebook Live โดยสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส อาชพี ) ดา้ นเทา่ ทนั สอื่ และดา้ นสอ่ื เดก็ และเยาวชน (๔) (Thai PBS) และจะมกี ารจดั ท�ำคมู่ อื เรอื่ ง “Fake News” การแสดงนิทรรศการและบูธน�ำเสนอผลงานของภาคี เผยแพร่สสู่ งั คมในระยะตอ่ ไป (๕) การประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันในการขับเคลื่อน ๒. โครงการ “รวมพลงั ส่ือสรา้ งสรรค์สังคมไทย” ให้เกิดสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์อันน�ำไปสู่ข้อเสนอ จากการที่กองทุนฯ มุ่งเน้นในการส่งเสริมบุคคล เชิงนโยบายในแต่ละภูมิภาค โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม องค์กรชมุ ชน องคก์ รเอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์ รวม ประมาณ ๕,๐๐๐ คน รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๕๑
โครงการนไ้ี ดส้ รา้ งแรงกระเพอื่ มทางสงั คม ดว้ ยการ สร้างสรรค์ และเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับคน ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายที่ด�ำเนินงานเก่ียวกับส่ือ ท�ำงานดา้ นสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ตลอดจนสรา้ ง ปลอดภัยและสร้างสรรค์ได้มีเวทีในการแสดงผลงาน ให้สังคมได้รับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่ือปลอดภัยและ และร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ อีกทั้งเป็นการสร้างแรง สรา้ งสรรค์ บันดาลใจในการขับเคล่ือนงานด้านสื่อปลอดภัยและ “โครงการรวมพลังส่อื สร้างสรรค์สงั คมไทย” ๕๒ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
๓. โครงการสนับสนุนพ้ืนท่ีสร้างสรรค์ด้วยส่ือ ในปี ๒๕๖๒ พื้นที่ด�ำเนินงาน ซึ่งครอบคลุมท้ัง ๔ พหวุ ัฒนธรรม ภูมิภาค ประกอบด้วย ๑๐ จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี โครงการชดุ นรี้ เิ รมิ่ โดยอนกุ รรมการบรหิ าร มงุ่ เนน้ สง่ สพุ รรณบรุ ี กาญจนบรุ ี ล�ำพนู พะเยา ขอนแกน่ กาฬสนิ ธ์ุ เสริมสนับสนุนให้เกิดพ้ืนที่สร้างสรรค์ในระดับจังหวัด นครศรธี รรมราช ภูเกต็ และยะลา โดยแต่ละจังหวัดได้ โดยการใช้ “ส่ือพหุวัฒนธรรม” เพื่อให้ภาคีเครือข่าย ออกแบบกจิ กรรมให้สอดคล้องกับอตั ลกั ษณข์ องพ้ืนที่ ศิลปินท่ีด�ำเนินงานอยู่ในพื้นท่ีต่าง ๆ ได้น�ำเสนอ ในปี ๒๕๖๒ แต่ละจังหวัดได้จัดกิจกรรมภายใต้ ศิลปวัฒนธรรมของคนในพื้นท่ี ควบคู่กับเปิดพ้ืนท่ีให้ โครงการนี้ ๕ ครั้ง รวม ๕๐ ครั้ง สะท้อนให้เห็นถึง ประชาชนในพน้ื ท่ี ไดร้ บั รู้ เขา้ ใจ และยอมรบั ในแนวคดิ การเกดิ พนื้ ทสี่ รา้ งสรรคท์ ส่ี อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมทเี่ ปน็ การอยรู่ ว่ มกนั ภายใตว้ ัฒนธรรมท่ีหลากหลาย เอกลกั ษณข์ องแตล่ ะจงั หวดั ไดอ้ ยา่ งนา่ ตน่ื ตาตน่ื ใจ ดงั น้ี ความหลากหลายทางวัฒนธรรมทเ่ี กดิ ภายใตแ ผนงาน สนับสนุนพนื้ ทส่ี รางสรรคด ว ยสื่อพหวุ ัฒนธรรม ๑๐ จงั หวัด จงั หวัด ชื่องาน ประเด็นทางวฒั นธรรม ๑) ลพบุรี “กินอยูวิถีถิ่นมอญ” ศิลปวัฒนธรรมพื้นบานมอญ ๒) สุพรรณบุรี “ถนนคนเดินเมืองเหนออาทิวราห” วัฒนธรรมชุมชนสุพรรณบุรี ๓) กาญจนบุรี “สื่อสรางสรรค สรรสรางศิลป แผนดินกาญจน” ส่ือศิลปะของกาญจนบุรี ๔) ลําพูน “ขวงพันป@ลําพูน” ทกาางรวถัฒานยธทรอรดมอสงูคคนครวุนาใมหรมู ๕) พะเยา “ถนนวัฒนธรรมไทลื้อ กาดเมิงมาง” วัฒนธรรมไทลื้อ ๖) ขอนแกน “มวนคัก ๆ มักขอนแกน” ศิลปวัฒนธรรมไทลื้อ ๗) กาฬสินธุ “ตลาดดาวธุง@กาฬสินธุ” ส่ือสังคมวัฒนธรรมเพื่อการเรียนรู ๘) นครศรีธรรมราช “หลาดชุมทางทุงสง” ศิลปวัฒนธรรมวิถีใต ๙) ภูเก็ต “สื่อสรางสรรค โชวงานศิลป กินของหรอย” ศิลปวัฒนธรรมภาคใต ๑๐) ยะลา “ตลาดทาแพ ทาสาป” พหุวัฒนธรรมนําสันติสุข รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๕๓
๔. โครงการพฒั นาหลกั สตู ร “การสง่ เสรมิ การรเู้ ทา่ ทนั อยู่นอกระบบการศึกษาแบบทางการ ให้มีทักษะสู่ และเฝา้ ระวงั สอ่ื ” (Digital Information Literacy - DIL) การเป็นพลเมืองแห่งศตวรรษที่ ๒๑ หรือพลเมือง ในยุคที่ภูมิทัศน์ส่ือเกิดความเปลี่ยนแปลงอย่าง ยคุ ดจิ ทิ ลั (๒)เพอื่ สรา้ งความตระหนกั ความรู้ความเขา้ ใจ รวดเรว็ และไมห่ ยดุ นงิ่ โดย “สอื่ ออนไลน”์ มอี ทิ ธพิ ลมาก ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกลุ่มเด็กและเยาวชน ยิ่งขึน้ เปน็ ล�ำดบั ในขณะทส่ี อื่ ดง้ั เดมิ กย็ งั คงด�ำรงอยแู่ ละ ทอ่ี ยนู่ อกระบบการศกึ ษาแบบทางการทง้ั เพอ่ื การเทา่ ทนั มบี ทบาทหนา้ ทต่ี อ่ ชวี ติ และสงั คม “การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ” ถอื และเพอ่ื การใชป้ ระโยชนท์ ตี่ รงกบั ความตอ้ งการของตนเอง เปน็ ทกั ษะทมี่ คี วามส�ำคญั อยา่ งยง่ิ และจ�ำเปน็ ตอ้ งเสรมิ อกี ทงั้ ยงั สามารถสรา้ งสรรคม์ ลู คา่ เพม่ิ ในรปู แบบตา่ ง ๆ สร้างให้เกดิ ขนึ้ กับคนทกุ วยั โดยเฉพาะอย่างย่งิ แก่เดก็ ได้อย่างเหมาะสม (๓) เพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนท่ี และเยาวชน อยู่นอกระบบการศึกษาแบบทางการมีอิสระในการคิด ในปี๒๕๖๒กองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ การเขา้ ถงึ จึงร่วมกับ ศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและ หลักสูตรน้ี ออกแบบให้จัดการเรียนการสอน ๑๐ การพฒั นา (CCDKM) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช สปั ดาห์รวม๑๐ชวั่ โมงการเรยี นรู้ประกอบดว้ ยโครงสรา้ ง และประสานงานกบั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และ และค�ำอธิบายเรียงตามล�ำดับรายวิชาในรูปแบบของ สังคม ในการน�ำหลักสูตร “การเข้าใจดิจิทัลส�ำหรับ โมดูล จ�ำนวน ๖ โมดูล รวมทั้ง พัฒนาสู่รูปแบบของ พลเมอื งไทย” (Digital Literacy) ไดพ้ ฒั นาขนึ้ ในปี พ.ศ. การเรียนการสอนออนไลน์แบบมหาชน (MOOC : ๒๕๖๑ ไปสู่การพัฒนาต่อยอด เพ่ือให้เหมาะสมกับ Massive Open Online Course) เพ่ือให้เหมาะสมกบั กลมุ่ เดก็ และเยาวชนทอ่ี ยนู่ อกระบบการศกึ ษาแบบทางการ การเรียนรู้ในสหัสวรรษใหม่ โดยเฉพาะในเร่ืองของ (FormalEducation) เช่น เดก็ และเยาวชนที่ก�ำลงั ศกึ ษา การมที กั ษะของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง อยใู่ นกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี นระดบั ตา่ ง ๆ วทิ ยาลยั แบบตลอดชีวิต (Life-Long Learning) โดยผ่าน ชุมชน รวมทง้ั เด็กเยาวชนท่ัวไป กระบวนการทดลองเรยี นและทดสอบประสทิ ธภิ าพแลว้ หลกั สตู ร “การสง่ เสรมิ การรเู้ ทา่ ทนั และเฝา้ ระวงั สอ่ื ” และได้น�ำเสนอแนวทางการใช้ประโยชน์ ตลอดจน (Digital Information Literacy - DIL) ส�ำหรบั เยาวชน การพฒั นาต่อยอด และขยายผลสรู่ ะดับช้ันอืน่ ๆ และ ระดบั มธั ยมปลายทเี่ กดิ ขนึ้ จากโครงการนมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ ทกุ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระยะตอ่ ไปตอ่ กองทนุ ฯ แลว้ ๓ ประการ คือ (๑) เพื่อสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชนที่ “โครงการส่งเสริมด้านการรเู้ ทา่ ทนั และเฝ้าระวังสือ่ ” ๕๔ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
“โครงการเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนร้โู ดยกล่มุ นักขา่ วภมู ภิ าค” ๕. โครงการเวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรู้โดยกลมุ่ นกั ขา่ ว ๒. จดั กิจกรรมเวทีเสวนาแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหว่าง ภูมิภาค ตวั แทนกลมุ่ นกั ขา่ วและนกั สอ่ื สารสาธารณะประจ�ำพนื้ ท่ี เป็นโครงการที่อยู่ภายใต้ แผนงานพัฒนาและ ท้งั ๖ ภูมิภาค ในประเดน็ ปัญหาที่เก่ยี วกับสถานการณ์ สนับสนุนกลไกและกระบวนการการด�ำเนินงาน การสอื่ สารทข่ี าดความรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ตามแตล่ ะบรบิ ทพน้ื ท่ี ด้านการรู้เท่าทันและการเฝ้าระวังสื่อระดับพ้ืนที่ และภาคส่วนของผู้เข้าร่วม เพ่ือน�ำไปสู่การสังเคราะห์ ริเร่ิมขึ้นโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุนฯ แนวทางในการรเิ รม่ิ สรา้ งกลไกการสง่ เสรมิ การรเู้ ทา่ ทนั และเปน็ ภาพสะทอ้ นถึงเจตนารมณ์ “ท�ำน้อย ได้มาก” และเฝ้าระวังสอื่ ของแตล่ ะทอ้ งถ่ิน ของโครงการท่ีกองทุนฯ ด�ำเนินการเองได้เป็นอย่างดี ๓. ติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานพัฒนากลไก เนอื่ งจากเปน็ แผนงานทเี่ ลอื กท�ำใน “จดุ คานงดั ส�ำคญั ” ของแตล่ ะเครอื ขา่ ยพน้ื ที่รวมทงั้ ประสานงานกบั หนว่ ยงาน ทจ่ี ะสง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ การรเู้ ทา่ ทนั และการเฝา้ ระวงั สอ่ื และภาคส่วนอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง เพื่อเสริมหนุนให้การ ระดับพืน้ ทข่ี ึ้นท่ัวประเทศ ขบั เคลอ่ื นงานเปน็ ไปอยา่ งราบรนื่ และประสบความส�ำเรจ็ แผนงานนมี้ งุ่ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงาน ๔. ถอดบทเรียนจากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์กร ชุมชน และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน รวมถึง ทง้ั ๖ภมู ภิ าคเพอื่ สรปุ แนวทางการสรา้ งกลไกการสง่ เสรมิ ส่ือมวลชน ในการขับเคล่ือนงานด้านการรู้เท่าทันและ การร้เู ทา่ ทนั และเฝา้ ระวังสอ่ื ของแต่ละพ้นื ที่ เฝ้าระวังส่ือ การพัฒนากลไก การขยายผล ตลอดจน การสรา้ งพน้ื ทต่ี น้ แบบโดยไดม้ กี ารสรา้ งความรว่ มมอื กบั ผลท่ีเกิดขึ้น ภาคสว่ นตา่ งๆเชน่ มลู นธิ โิ รงเรยี นไทยรฐั วทิ ยาทจี่ ะผลกั ดนั เป็นการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่าย หลักสูตรการรู้เทา่ ทันส่ือเข้าสกู่ ารเรยี นการสอน นกั ขา่ วภมู ภิ าคใน ๖ ภมู ภิ าค ซง่ึ เกดิ เปน็ เปา้ หมายรว่ มกนั ในสว่ นของ โครงการเวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรโู้ ดยกลมุ่ ของนักข่าวภูมิภาคที่จะมุ่งเน้นการส่ือสารเพื่อสร้าง นกั ขา่ วภมู ภิ าคซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในโครงการส�ำคญั ประกอบดว้ ย ความเปลย่ี นแปลงใหก้ บั สงั คมไทย การท�ำหนา้ ทอี่ ยา่ ง ๔ กิจกรรมหลัก ดังน้ี มจี รยิ ธรรม และจรรยาบรรณ รวมทงั้ การท�ำงานทเี่ ปน็ ๑. จดั ประชุมวางแผนการด�ำเนนิ งาน และประสาน การรบั ใชส้ งั คม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การสรา้ งและพฒั นา งานร่วมกับตัวแทนนกั วิชาการสือ่ เครือข่ายวชิ าชพี สอ่ื ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ใหก้ บั เดก็ เยาวชน และประชาชน และเครือข่ายวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อเพื่อ ในพน้ื ท่ีซงึ่ สง่ิ เหลา่ นเี้ ปน็ สง่ิ ทก่ี ลนั่ ออกมาจากประสบการณ์ น�ำเสนอและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่สาธารณะ จาก และชีวิตการท�ำงานของเหล่านักข่าวท่ีท�ำงานอยู่ใน พน้ื ท่ี ๖ ภูมภิ าคท่ัวประเทศ ภมู ภิ าค ทไ่ี มส่ ามารถจะหาไดจ้ ากเอกสาร ต�ำรบั ต�ำราใด ๆ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๕๕
“โครงการค่ายคิดมนั ส์ ทนั สอื่ ....Like Know Show Share ปที ี่ ๓” ๖. โครงการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันสื่อ เกย่ี วกบั เสน้ ทางของการกระท�ำและผถู้ กู กระท�ำจากสอื่ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน “ค่ายคิดมันส์ ทันสื่อ.... ตลอดจนกระบวนการดูแล โรคซึมเศร้า และพลัง Like Know Show Share ปีที่ ๓” ของการสอื่ สาร สามารถเปลยี่ นพลงั ของโลกและเราได้ โครงการ“คา่ ยคดิ มนั ส์ทนั สอ่ื ”อยภู่ ายใต้แผนงานสรา้ ง (ข) ทักษะท่ีใช้ในการผลิตสื่อสร้างสรรค์และปลอดภัย และพฒั นาใหเ้ กดิ เครอื่ งมอื แนวทางวธิ กี ารในการขบั เคลอื่ น และ (ค) ภาคปฏบิ ตั ิ LAB เพอ่ื การผลติ สอ่ื ปลอดภยั และ งานดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั และการเฝา้ ระวงั สอ่ื ในระดบั พนื้ ที่ สร้างสรรค์ และ/หรอื สถานศกึ ษา ทม่ี งุ่ สรา้ งเวทใี นการ แลกเปลยี่ น ข้ันตอนการด�ำเนินโครงการ ได้แก่ (๑) การประชุม เรียนรู้ของครูแกนน�ำ แกนน�ำ และภาคีเครือข่ายที่ วางแผนเตรียมการด�ำเนินการจัดกิจกรรม (๒) เก่ียวข้องระดับพ้ืนที่ เพ่ือให้เกิดการพัฒนากลไก ประชาสัมพันธ์โครงการ และเปิดรับสมัครเด็ก กระบวนการในการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันและ และเยาวชนเข้าร่วม (๓) จัดค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการ การเฝา้ ระวงั สอ่ื และใหเ้ กดิ การด�ำเนนิ งานพฒั นาทกั ษะ ในกลุ่มเด็กและเยาวชนทั่วประเทศ (๔) การประกวด การรู้เท่าทันและเฝ้าระวังส่ือส�ำหรับเด็ก เยาวชน และ ผลิตส่ือสร้างสรรค์ จากทีมเด็กและเยาวชนที่ได้รับ ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายตา่ ง ๆ คัดเลือกเข้าร่วมค่ายอบรม (๕) การประกาศผล และ โครงการ “คา่ ยคิดมนั ส์ ทนั ส่อื ....Like Know Show จดั งานมอบรางวลั การผลติ สอ่ื สรา้ งสรรคใ์ หแ้ กเ่ ดก็ และ Share”ซง่ึ ด�ำเนนิ การตอ่ เนอ่ื งเปน็ ปที ่ี๓มงุ่ ทกี่ ารฝกึ อบรม เยาวชนทเ่ี ขา้ รว่ ม(๖)ตดิ ตามประเมนิ ผลและถอดบทเรยี น เชิงปฏิบัติการแก่เด็กและเยวชนในสถานศึกษาท่ีมี โครงการนดี้ �ำเนนิ การในโรงเรยี นทผี่ า่ นการคดั เลอื ก ความพรอ้ ม โดยแบง่ เนอ้ื หาไดเ้ ปน็ ๓ สว่ นหลกั ไดแ้ ก่ จ�ำนวน๓๐โรงเรยี นรวมเดก็ และเยาวชนชนั้ มธั ยมศกึ ษา (ก) เติมแต่งความคิดปรับมุมมอง “Stop Bullying” ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั และการเฝา้ ระวงั สอ่ื เพอื่ ใหเ้ ดก็ เยาวชนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการคน้ หาความหมาย ๑๒๐ คน ของค�ำวา่ สอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ สรา้ งความเขา้ ใจ ๕๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรค์
๗. โครงการสร้างช่องทางการสื่อสารกับสังคม น�ำเอาทฤษฎีการสร้างบทละครโทรทัศน์ มาปรับใช้ เพ่ือส่งเสริมคุณค่าของเน้ือหาและผลงานจาก กับงานสอ่ื ของตน ขณะเดยี วกันก็เปิดพื้นท่แี ลกเปลย่ี น เครือขา่ ยภาค ี ขอ้ มลู ระหวา่ งวทิ ยากรทอี่ ยใู่ นสายอาชพี กบั ผเู้ ขา้ อบรม ละครโทรทัศน์ นับเป็นส่ือบันเทิงที่ทรงอิทธิพลต่อ ท�ำใหเ้ กดิ การสรา้ งและพฒั นาผลงานชนิ้ ใหมท่ ส่ี ามารถ การพฒั นาสติปัญญา ความรู้ ความคิดของประชาชน น�ำมาต่อยอดสู่การผลิตส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ทกุ ระดับ ดังน้นั การสนับสนนุ ใหเ้ กดิ บทละครโทรทศั น์ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องผจู้ ดั อบรมไดใ้ นทสี่ ดุ โดยด�ำเนนิ การ ซง่ึ ถอื เปน็ “หวั ใจ”ของการผลติ ละครแตล่ ะเรอ่ื งใหส้ อ่ื สาร ใน ๒ ภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทจ่ี งั หวดั เนอ้ื หาและความบนั เทงิ ทป่ี ลอดภยั และสรา้ งสรรคส์ งั คม อบุ ลราชธานี และภาคเหนอื ทจี่ งั หวดั เชยี งรายมผี เู้ ขา้ รว่ ม จงึ เปน็ องคป์ ระกอบทม่ี คี วามส�ำคญั และจะสง่ ผลกระทบ การอบรมประมาณ ๖๐ คน ท่จี ะรว่ มเปน็ ภาคีเครอื ขา่ ย ดา้ นบวกไปสู่ประชาชนทกุ ช่วงวยั พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรคส์ บื เนอื่ งไป อกี ทง้ั ยงั ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นท่ีมาของการจัดอบรมเขียนบท ได้บทละครโทรทัศน์ที่น�ำเสนอเรื่องราวเก่ียวกับชุมชน ละครโทรทัศน์เชิงปฏิบัติการโครงการ “เล่าเร่ืองเป็น และชีวิตของผู้คนในท้องถ่ินท่ีหลากหลาย มีคุณภาพ ละคร” ที่มุ่งสร้างนวัตกรรมด้านเนื้อหาและพัฒนา สามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอดผลิตละครโทรทัศน์ได้ บคุ ลากรนกั เขยี นบทละครโทรทศั น์ โดยเฟน้ หาบคุ ลากร ในอนาคต ทางด้านส่ือสารมวลชนจากทุกภูมิภาคท่ีมีความสนใจ “โครงการสร้างช่องทางการส่อื สารกับสงั คมเพื่อสง่ เสรมิ คุณค่าของเนอื้ หาและผลงานจากเครือข่ายภาคี” รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาส่อื ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๕๗
“โครงการส่อื ประชาสมั พนั ธร์ ณรงคก์ ารร้เู ทา่ ทนั ข่าวปลอม กาลามสตู ร & Fake News” ๘. “กาลามสูตร & Fake News” และตลกนกั เลยี นเสยี ง (ฟ)ู อดุ ม ดนิ เดม็ มารว่ มเตอื นสติ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ตระหนกั ถงึ สงั คมภายใตห้ ลกั กาลามสตู ร ซงึ่ เปน็ หลกั แหง่ ความเชอื่ ความส�ำคญั ของปญั หาขา่ วลวง ขา่ วปลอม หรอื Fake ในทางศาสนาพุทธที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม News ท่ีเกิดขน้ึ บนสังคมออนไลนจ์ งึ ไดจ้ ัดท�ำสอื่ เพอื่ ให้ ให้ข้อคิดพุทธศาสนิกชนไม่ให้เช่ือส่ิงใดอย่างงมงาย สังคมเกิดการรู้เท่าทันส่ือในช่ือคลิป “กาลามสูตร & ให้ใช้ปัญญาพิจารณาให้ดีก่อน โดยหลักธรรมน้ี Fake News” ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยี VDR หรือ Video สามารถน�ำมาประยกุ ตไ์ ดเ้ ทา่ ทนั กบั สถานการณป์ ญั หา Dialogue Replacement โปรแกรม AI ทส่ี ามารถท�ำให้ ขา่ วปลอมในปัจจบุ ันว่าอยา่ เพงิ่ รีบเช่อื อยา่ เพง่ิ รีบแชร์ ผู้ท่ีอยู่ในคลิปขยับปากพูดอะไรก็ได้ ส่ือให้เห็นว่า ขา่ วทเี่ หน็ ใหใ้ ชส้ ตเิ ปน็ เครอ่ื งมอื ตรวจสอบและปอ้ งกนั เสยี งทเี่ ราไดย้ นิ และภาพทเี่ ราไดเ้ หน็ นนั้ อาจไมใ่ ชเ่ รอ่ื งจรงิ ข่าวปลอม โดยมียอดการรับชมผ่านเฟซบุ๊ก กองทุน เสมอไป โดยได้รับความเมตตาและความรว่ มมอื จาก พัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ จ�ำนวนกว่า พระราชธรรมนเิ ทศพยอมกลั ยาโณเจา้ อาวาสวดั สวนแกว้ ๔๐๐,๐๐๐ ครง้ั ๕๘ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์
ความกา้ วหน้าการดำ� เนนิ งานตามนโยบาย ปี ๒๕๖๒ มคี วามกา้ วหน้าเชิงนโยบาย ๔ ด้าน ดังน้ี เพอ่ื เปน็ กลไกส�ำคญั ในการขบั เคลอื่ นภารกจิ ของกองทนุ ฯ ๑. ดา้ นการสนบั สนนุ ทนุ นบั จากปี๒๕๖๐-๒๕๖๒ ๖ คณะ ไดแ้ ก่ คณะอนกุ รรมการบรหิ ารกองทุนพฒั นา กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์พิจารณา สอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรรค์ คณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ อนุมัติทนุ สนบั สนุนโครงการทั้งส้นิ ๓๔๓ โครงการ เป็น การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน คณะอนกุ รรมการเฝา้ ระวงั เงิน ๘๔๑ ล้านบาท ปี ๒๕๖๐ อนุมัติทุนสนับสนุน ส่ือที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ คณะอนุกรรมการ โครงการแบบเปดิ รบั ทว่ั ไปทสี่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งนวตั กรรมเพอ่ื การพฒั นาสอ่ื การจัดตั้งกองทนุ ฯ จ�ำนวน ๕๓ โครงการ เปน็ เงิน ๙๙ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์คณะอนกุ รรมการกลน่ั กรองและ ล้านบาท ปี ๒๕๖๑ ยกยอดมาให้การสนับสนุนใน พฒั นาโครงการและคณะอนกุ รรมการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ เป็นโครงการแบบเปิดรับทั่วไป ๓. ด้านการตอบสนองนโยบายรัฐบาลและ จ�ำนวน ๙๕ โครงการ เป็นเงิน ๑๗๗ ล้านบาท และ ยุทธศาสตร์ชาติ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ โครงการเชงิ ยุทธศาสตร์ จ�ำนวน ๔๖ โครงการ เปน็ เงิน สรา้ งสรรค์ ไดด้ �ำเนินการตามเปา้ หมายทก่ี �ำหนดไวใ้ น ๑๖๐ ลา้ นบาท ส�ำหรบั ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ใหก้ าร ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ แผนแมบ่ ท สนับสนุนทุนโครงการแบบเปิดรับทั่วไป จ�ำนวน ๘๑ ภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ แผนการ โครงการ เปน็ เงิน ๒๐๓ ล้านบาท และให้การสนบั สนุน ปฏิรูปประเทศ ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยี ทุนโครงการเชิงยุทธศาสตร์เพื่อป้องกันและแก้ไข สารสนเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปัญหาสงั คม ๕ ประเด็น ไดแ้ ก่ (๑) การกลน่ั แกล้งใน ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) และแผนอื่น ๆ ท่ี โลกออนไลน์ และการใช้ประทุษวาจา (๒) การรับมือ เกี่ยวข้อง มาวางแผนด�ำเนินการในส่วนที่เก่ียวข้องกับ กับข่าวปลอม (๓) การขาดความรู้เท่าทันส่ือของ ภารกิจกองทุนฯ โดยยึดหลักการการมีส่วนร่วมของ ประชาชนกลุ่มตา่ ง ๆ (๔) ปัญหาเด็กตดิ เกม และการ ประชาชนและภาคสว่ นตา่ ง ๆ ท้งั ภาครฐั เอกชน และ พนันออนไลน์ (๕) การสร้างนวัตกรรมส่ือท่ีเหมาะสม ประชาสังคม ส�ำหรับเด็กปฐมวยั เด็กและเยาวชน คนพิการ และผ้สู งู ๔. ดา้ นการเงนิ และงบประมาณ กองทนุ พฒั นาสอื่ อายุ จ�ำนวน ๖๘ โครงการ เปน็ เงนิ ๒๐๒ ลา้ น รวมถงึ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้ความส�ำคัญกับการเพ่ิม สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาใหม้ กี ารตอ่ ยอดโครงการ ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการจัดการ ที่มคี ุณภาพ รายได้ นอกจากเงินทไ่ี ด้รับการจัดสรรจากกองทุนวิจัย ๒. ดา้ นกลไกขบั เคลอื่ นภารกจิ กองทนุ พฒั นาสอ่ื และพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ ปลอดภยั และสรา้ งสรรรค์ คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ มอื่ วนั ที่ กิจการโทรคมนาคมแล้ว ทั้งยังแสวงหารายได้อ่ืนตาม ๔ ธนั วาคม ๒๕๖๑ เหน็ ชอบให้แตง่ ตงั้ กรรมการผ้ทู รง ท่ีกฎหมายก�ำหนด เช่น เงินค่าปรับท่ีได้รับจากการ คุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัย ลงโทษผู้ละเมิดลิขสิทธ์ิหรือสิทธิของนักแสดงตาม และสร้างสรรค์ จ�ำนวน ๙ คน และมีประกาศส�ำนัก กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธ์ิท่ีตกเป็นของกองทุนฯ รายได้ นายกรัฐมนตรี เร่ืองแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน จากการด�ำเนนิ กจิ การหรอื สทิ ธปิ ระโยชนเ์ พอ่ื ใหก้ องทนุ ฯ คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ น�ำรายไดเ้ หลา่ นน้ั มาพจิ ารณาใหก้ ารสนบั สนนุ โครงการทด่ี ี ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเมอ่ื วนั ที่๓มกราคม๒๕๖๒ ต่อสงั คมให้มากย่ิงขึน้ สบื ไป คณะกรรมการกองทนุ ฯ ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๕๙
การด�ำเนนิ งานดา้ นการพฒั นาองคก์ ร ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ กองทุนฯ ได้มีการด�ำเนินการ ด้านการบริหารจัดการและพัฒนาองค์กร ท่ีส�ำคัญเช่น (๑) ดา้ นการตรวจสอบภายในมคี ณะอนกุ รรมการตรวจสอบภายใน ด�ำเนินการโดยมีผู้อ�ำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายในเป็น เลขานกุ ารมกี ารออกกฎบตั รการตรวจสอบภายในมกี ารวางแผน การตรวจสอบภายในและการตรวจสอบตามแผนอย่างมี ความเป็นอิสระ (๒) ด้านการบริหารความเส่ียงและ การควบคมุ ภายใน กองทนุ ฯไดจ้ ดั วางระบบการควบคมุ ภายใน ตามมาตรฐานควบคุมภายในของกระทรวงการคลัง ท้ังยังมี ความสอดคล้องกับการแผนการบริหารเส่ียงของกองทุนฯ ทผี่ า่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการกองทนุ ฯมกี ารด�ำเนนิ การ ตามแผนประเมินผลการบริหารความเส่ียงและการควบคมุ ภายใน ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงของกองทุนฯ ได้มากกว่า รอ้ ยละ๕๐(๓)ดา้ นการบรหิ ารจดั การสารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศมกี ารพฒั นาระบบสารสนเทศProjectManagement ระยะที่ ๒ เพอื่ สนบั สนนุ การขอรบั ทนุ จากบคุ คลภายนอก และ เพื่อเป็นขอ้ มลู ประกอบการตัดสนิ ใจของผู้บรหิ าร อีกทง้ั ยงั มี การพฒั นาระบบ Human Resource Management (HRM) และระบบE-Sarabun(๔)ดา้ นการบรหิ ารงานทรพั ยากรบคุ คล คณะกรรมการกองทนุ ฯมมี ตเิ พม่ิ อตั ราก�ำลงั จากเดมิ ๕๓อตั รา เพ่ิมเป็น ๕๔ อัตรา และมีการออกระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับ การบรหิ ารผลการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื การปรบั ปรงุ แนวทางในการบรหิ าร ผลการปฏบิ ตั งิ าน และออกข้อบังคับคณะกรรมการกองทนุ ฯ วา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานบคุ คล (๖) งานกฎหมาย ไดม้ กี ารเสนอ คณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อออกระเบียบข้อบังคับ ระเบียบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารตา่ ง ๆ เพอื่ ใหก้ ารด�ำเนนิ งานของกองทนุ ฯ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส มธี รรมาภบิ าล นอกจากนี้ ยังได้ด�ำเนินการติดตามเงินค่าปรับที่ได้รับจากการลงโทษ ผู้ละเมิดลิขสิทธ์ิของนักแสดงตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธ์ิ (๗) งานวิเทศสัมพันธ์ ได้ประสานจัดการงานที่เกย่ี วขอ้ งกบั ตา่ งประเทศ การหาขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตา่ งประเทศ การจดั ท�ำขอ้ มลู ส่ือต่าง ๆ ในรปู แบบภาษาอังกฤษ ๖๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่อื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
รายงานของคณะกรรมการประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งาน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ คณะกรรมการประเมินผล การด�ำเนนิ งานของกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ไดก้ �ำหนดกรอบหลกั เกณฑแ์ ละตวั ชว้ี ดั การประเมนิ โดยน�ำเอา แนวทางการประเมินจากกรอบตัวช้ีวัดของกรมบัญชีกลาง โดยอิงจากกรอบหลักเกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงาน ทุนหมุนเวียนของกรมบัญชีกลาง ประจ�ำปีบัญชี ๒๕๖๒ บางส่วนมาประยุกต์ใช้ โดยตัวช้ีวัดดังกล่าวต้องค�ำนึงถึง บรบิ ทการด�ำเนนิ งานของกองทนุ ฯ ในการพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ และสะทอ้ นถงึ ผลการด�ำเนนิ งานของกองทนุ ฯ อยา่ งแทจ้ รงิ โดยมกี ารประชมุ เพอื่ พจิ ารณาและรบั ทราบ การก�ำหนด นโยบายและการด�ำเนินงานและผลการด�ำเนินงานต่าง ๆ ของกองทนุ ฯ รวม ๑๒ คร้ัง ในปงี บประมาณ และไดจ้ ดั ให้มี การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานของกองทนุ ฯ โดยใชว้ ธิ กี ารประเมนิ โดยการพจิ ารณาจากเอกสารหลกั ฐานตา่ งๆ การเรยี กบคุ คลมารายงาน การสงั เกตการณ์ รวมทงั้ การจดั ให้ มที ปี่ รกึ ษาภายนอกมาจดั ท�ำขอ้ มลู เพอื่ สนบั สนนุ การประเมิน รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๖๑
ผลการประเมนิ ผลประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานตามกรอบตวั ชวี้ ดั ทคี่ ณะกรรมการประเมนิ ผลฯ ใหค้ วามเหน็ ชอบ ซง่ึ ก�ำหนดขนึ้ โดยอิงกรอบหลักเกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงานทุนหมุนเวียนประจ�ำปีบัญชี ๒๕๖๒ ของกรมบัญชีกลาง กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์มีผลการประเมิน ผ่าน ในระดับคะแนน ๓.๔๖๑๘ จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐๐๐ สรปุ ไดด้ ังนี้ ตวั ช้ีวดั หนวยวัด นํ้าหนัก คาเกณฑการประเมนิ ผลดาํ เนินงาน คา คะแนนทไ่ี ด คาคะแนน (รอยละ) ระ๒ดบั ระ๓ดบั ระ๔ดับ ถวงนํา้ หนกั ดานท่ี ๑ การเงนิ ระ๑ดับ ระ๕ดบั ๑.๑ รอยละการอนุมัติเงิน สนับสนุนทุนของกองทุน ๓๐ ๑.๖๖๖๗ ๑.๒ รอยละการใชจายเงิน ตามแผนการใชจายที่ได รอยละ ๑๕ ๙๐ ๒๐ ๙๔ ๙๖ ๙๘ ๗๒.๗๘ ๑.๐๐๐๐ ๐.๑๕๐๐ รับอนุมัติ ๑.๓ ระดับความสําเร็จของ รอยละ ๑๐ ๘๘ ๙๐ ๙๒ ๙๔ ๙๖ ๗๐.๔๙ ๑.๐๐๐๐ ๐.๑๐๐๐ การรายงานทางการเงิน ระดับ ๒.๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๑๒๕๐ ๑.๔ ระดับความสําเร็จของ ระดับ ๒.๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๑๒๕๐ การดําเนินการตามแผนพัฒนา ระบบการจายเงิน และการรับเงิน ของกองทนุ ผานระบบอิเล็กทรอนิกส ดา นที่ ๒ การสนองประโยชน ๒๕ ๓.๗๒๐๐ ตอผูม สี ว นไดส วนเสีย ๒.๑ รอยละความพึงพอใจ รอยละ ๕ ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๘๑.๖๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๒๕๐๐ ของผูรับบริการ ระดับ ๒๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓.๔๐๐๐ ๓.๔๐๐๐ ๐.๖๘๐๐ ๒.๒ ระดับความสําเร็จของ การดําเนินงานตามแผนงาน สนับสนุนการใหทุนพัฒนา ส่ือปลอดภัยและสรางสรรค ดา นท่ี ๓ การปฏบิ ตั กิ ารและ ๓๐ ๔.๘๐๖๐ การบริหารจดั การกองทนุ ระดับ ๙ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๔๓๘๘ ๓.๑ ระดับความสําเร็จการ ระดับ ๙ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕.๐๐๐๐ ๕.๐๐๐๐ ๐.๔๕๐๐ ของการดําเนินงานตาม แผนงาน ระดับ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๖๒๐๐ ๔.๖๒๐๐ ๐.๑๓๘๖ ๓.๒ การตอบสนองตอผูมี ระดับ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๒๔๐๐ ๔.๒๔๐๐ ๐.๑๒๗๒ หนาที่กํากับ และ/หรือ ตรวจสอบและ/หรือ ประเมิน ๓.๓ การบริหารความเส่ียง และการควบคุมภายใน ๓.๔ การตรวจสอบภายใน ๓.๕ การบริหารจัดการ ระดับ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๙๐๐๐ ๔.๙๐๐๐ ๐.๑๔๗๐ สารสนเทศ ระดับ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๓๐๐๐ ๔.๓๐๐๐ ๐.๑๒๙๐ ๓.๖ การบริหารทรัพยากร บุคคล ๑๕ ๓.๙๓๓๓ ดา นที่ ๔ บทบาทการบริหารของ คณะกรรมการกองทุนฯ และ ระดับ ๑๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๔.๓๓๓๓ ๔.๓๓๓๓ ๐.๔๔๐๐ อนุกรรมการบริหารกองทนุ ฯ ๔.๑ บทบาทคณะกรรมการ บริหารทุนหมุนเวียน ๔.๒ การอนุมัติ การสนับสนุน ระดับ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓.๐๐๐๐ ๓.๐๐๐๐ ๐.๑๕๐๐ โครงการกิจกรรมของ คณะอนุกรรมการบริหารกองทุน น้ําหนักรวม ๑๐๐ คาคะแนนท่ีได ๓.๔๖๑๘ ๖๒ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
ด้านที่ ๑ ด้านการเงนิ (น�ำ้ หนกั ร้อยละ ๓๐) ตวั ชว้ี ดั ที่๑.๓ระดบั ความส�ำเรจ็ ของการรายงานทางการเงนิ ผลการด�ำเนนิ งาน : ๕.๐๐ ตวั ช้วี ัดที่ ๑.๑ รอ้ ยละการอนุมัตเิ งนิ สนับสนนุ ทนุ ของ กองทุนฯ ได้จัดส่งรายงานทางการเงินผ่านระบบ กองทุนฯ บริหารจัดการเงินนอกงบประมาณ ให้กับกรมบัญชี ผลการด�ำเนนิ งาน : ร้อยละ ๗๒.๗๘ กลางเม่ือวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ หรอื ๑๐ วนั นบั ถัด เปา้ หมายการอนมุ ตั เิ งนิ สนบั สนนุ ทนุ ประจ�ำปี๒๕๖๒ จากวันสิ้นปีงบประมาณ ส่งผลให้ตัวชี้วัดน้ีมีผลการ จ�ำนวน ๗๔๒,๓๓๐,๘๓๐ บาท โดยปัจจุบันคณะ ด�ำเนนิ งานอยู่ในระดับ ๕ คะแนนจากคะแนนเตม็ ๕ อนุกรรมการบริหารกองทุนฯ สามารถอนุมัติเงิน สนบั สนนุ โครงการคดิ เปน็ วงเงนิ ทอ่ี นมุ ตั ไิ ดท้ ง้ั สน้ิ จ�ำนวน ตัวชี้วัดท่ี ๑.๔ ระดับความส�ำเร็จของการด�ำเนินการ ๕๔๐,๓๓๐,๘๓๐ บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗๒.๗๘ ตามแผนพฒั นาระบบการจ่ายเงิน และการรบั เงนิ ของ กองทนุ ฯ ผ่านระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ตัวช้ีวัดท่ี ๑.๒ ร้อยละการใช้จ่ายเงินตามแผนการใช้ ผลการด�ำเนินงาน : ๕.๐๐๐๐ จา่ ยท่ไี ด้รบั อนุมัติ กองทนุ ฯ ไดแ้ ผนพัฒนาระบบการจ่ายเงนิ และการ ผลการด�ำเนินงาน : ร้อยละ ๗๐.๔๙ รับเงินของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ แผนการการใช้จ่ายประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยด�ำเนินการตามแผนฯ จ�ำนวน ๕๙๘,๐๕๖,๕๕๗.๗๐ บาท ซงึ่ กองทนุ ฯ สามารถ ครบถว้ นคดิ เปน็ รอ้ ยละ๑๐๐สง่ ผลใหม้ ผี ลการด�ำเนนิ งาน ใชจ้ า่ ยเงนิ ได้ ๔๒๑,๕๔๒,๒๓๕.๘๘ บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ในระดับ ๕ คะแนน จากคะแนนเตม็ ๕ คะแนน ๗๐.๔๙ ไม่เปน็ ไปตามแผนการใช้จ่ายทตี่ ั้งไว้ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๖๓
ดา้ นที่ ๒ การสนองประโยชนต์ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ด้านที่ ๓ การปฏิบัติการและการบริหารจัดการ (นำ�้ หนักร้อยละ ๒๕) กองทุนฯ (น้�ำหนกั รอ้ ยละ ๓๐) ตวั ชวี้ ัดที่ ๒.๑ รอ้ ยละความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ าร ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ ระดับความส�ำเร็จการของการด�ำเนิน ผลการด�ำเนินงาน : รอ้ ยละ ๘๑.๖๐ งานตามแผนงานทส่ี �ำนักงานกองทุนฯ ด�ำเนนิ การเอง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ กองทุนฯ ได้ด�ำเนินการ ผลการด�ำเนินงาน : ๕.๐๐๐๐ ส�ำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการปี ๒๕๖๒ โดยมี ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ กองทนุ ฯ ไดก้ �ำหนดการ ผลการส�ำรวจความพงึ พอใจคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๑.๖๐ อยู่ ประเมินผลแผนงานท่ีส�ำนักงานด�ำเนินการเองจ�ำนวน ในระดบั ๕ คะแนน ทงั้ สน้ิ ๔ แผนงาน มตี วั ชวี้ ดั จ�ำนวน ๘ ตวั ชวี้ ดั ทอ่ี ยภู่ ายใต้ แผนงานฯ ดังกล่าว โดยสามารถด�ำเนินการได้บรรลุ ตัวช้ีวัดที่ ๒.๒ ระดับความส�ำเร็จของการด�ำเนินงาน ตัวชี้วัดในระดับ ๕ ทุกตัวช้ีวัด ดังน้ันผลการประเมิน ตามแผนงานสนับสนุนการให้ทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย ระดบั ความส�ำเรจ็ ของแผนงานทสี่ �ำนกั งานด�ำเนนิ การเอง และสร้างสรรค์ เทา่ กับระดบั ๕ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๕ คะแนน ผลการด�ำเนนิ งาน : ๓.๔๐๐๐ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ กองทุนฯ มีการประกาศ ตัวช้วี ัดที่ ๓.๒ การตอบสนองตอ่ ผูม้ หี น้าทก่ี �ำกบั และ/ เปดิ รบั ขอ้ เสนอโครงการส�ำหรบั การสนบั สนนุ การใหท้ นุ หรือ ตรวจสอบและ/หรอื ประเมนิ จ�ำนวน ๔ รอบ โดยประเมินชุดโครงการที่ได้รับการ ผลการด�ำเนินงาน : ๕.๐๐๐๐ สนับสนุนทุนแบบเปิดท่ัวไป (Open Grant) ประจ�ำปี ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ กองทุนฯ ได้ด�ำเนินการ งบประมาณ ๒๕๖๑ ซึ่งผลการด�ำเนินงานส่วนใหญ่ แตง่ ตงั้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนนิ งาน เพอ่ื จะแลว้ เสรจ็ ในปงี บประมาณ๒๕๖๒โดยผลการประเมนิ ตอบสนองตอ่ ผมู้ หี นา้ ทก่ี �ำกบั และ/หรอื ตรวจสอบและ/ นั้นสามารถท�ำได้ ๓.๔๐๐๐ คะแนน จากคะแนนเต็ม หรือ ประเมิน โดยด�ำเนินการตอบสนองได้ครบทุก ๕ คะแนน ประเด็นท�ำใหต้ วั ชวี้ ดั นไี้ ด้ระดบั ๕ คะแนน ๖๔ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๓.๓ การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน ดา้ นที่๔บทบาทการบรหิ ารของคณะกรรมการกองทนุ ฯ ผลการด�ำเนินงาน : ๔.๖๒๐๐ และอนกุ รรมการบรหิ ารกองทนุ ฯ (นำ้� หนัก ๑๕) ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ กองทุนฯ สามารถด�ำเนิน การด้านการบริหารความเส่ียงและควบคุมภายในอยู่ ตัวชวี้ ดั ที่ ๔.๑ บทบาทคณะกรรมการกองทุนฯ ในระดบั ดี แตย่ งั มบี างประเดน็ เชน่ การประเมนิ ผลการ ผลการด�ำเนินงาน : ๔.๓๓๐๐ ควบคมุ ดว้ ยตนเอง CSA ยังไมค่ รบถ้วนท้งั องคก์ ร ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ กองทุนฯ ยังไมไ่ ดด้ �ำเนนิ การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของกองทุนฯ แต่ท้ังนี้ ตัวชว้ี ัดท่ี ๓.๔ การตรวจสอบภายใน ได้ด�ำเนินการจัดท�ำแผนปฏิบัติงานประจ�ำปี ๒๕๖๒ ผลการด�ำเนินงาน : ๔.๒๔๐๐ ซ่ึงผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุนฯ ใน ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ กองทนุ ฯ สามารถด�ำเนนิ การประชมุ ครง้ั ที่๕/๒๕๖๒เมอ่ื วนั ท่ี๒๕กนั ยายน๒๕๖๒ การส่วนใหญ่อยใู่ นระดับดี แตย่ งั มีบางประเดน็ ทีย่ ังไม่ สง่ ผลใหค้ ะแนนอยู่ที่ ๔.๓๓ จากระดับ ๕ คะแนน สามารถด�ำเนนิ การไดเ้ ชน่ IT Audit และประเด็นเรอ่ื ง การตดิ ตามขอ้ เสนอแนะและการตดิ ตามการปฏบิ ตั งิ าน ตัวช้ีวัดท่ี ๔.๒ การอนุมัติ การสนับสนุนโครงการ ตามข้อเสนอแนะให้ครบถ้วนทกุ ประเด็น กจิ กรรม ของคณะอนกุ รรมการบริหารกองทุนฯ ผลการด�ำเนนิ งาน : ๓.๐๐๐๐ ตวั ชว้ี ดั ที่ ๓.๕ การบรหิ ารจดั การสารสนเทศและดจิ ทิ ลั กองทนุ ฯ ใชร้ ะยะเวลาในการกลนั่ กรอง พฒั นา และ ผลการด�ำเนินงาน : ๔.๙๐๐๐ พจิ ารณาขอ้ เสนอโครงการทขี่ อรบั การสนบั สนนุ ทนุ จาก ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ กองทนุ ฯ มกี ารด�ำเนนิ งาน กองทุนฯ ประจ�ำปี ๒๕๖๒ โดยพบว่าระยะเวลาการ ที่ส�ำคัญๆ เช่น การทบทวนแผนแม่บทสารสนเทศ พิจารณาโครงการ ๒ รอบ เฉล่ียเท่ากับ ๑๐๑ วัน ได้ ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ท่ีสอดคล้องกับแผนดิจิทัลเพื่อ ระดับคะแนน ๓ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๕ คะแนน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย การจัดท�ำระบบ HRM ระบบ E - Saraban และพฒั นาระบบ Project Management : PM ระยะที่ ๒ เป็นต้น ตวั ชีว้ ัดที่ ๓.๖ การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ผลการด�ำเนินงาน : ๔.๓๐๐๐ ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ กองทนุ ฯ มกี ารด�ำเนนิ งาน ทส่ี �ำคญั ๆ เชน่ การจดั ท�ำโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน และ ค�ำบรรยายลกั ษณะงาน Job Description และการน�ำ ผลการประเมินรายบุคคลเพ่ือพิจารณาผลตอบแทน ทง้ั นส้ี ามารถด�ำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ ารไดร้ อ้ ยละ๑๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๖๕
ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมนิ ผลฯ ข้อสังเกต ขอ้ เสนอแนะ • กระบวนการกลั่นกรองและพิจารณาโครงการ หลายขั้นตอน • ควรลดขั้นตอนการพิจารณาโครงการให้มีความกระชับ ใชร้ ะยะเวลามาก กำหนดกรอบระยะเวลาในแต่ละขัน้ ตอนใหช้ ดั เจน • ปี ๒๕๖๒ มีการเปิดรับข้อเสนอโครงการ ๔ รอบ ทำให้ • ควรใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการพิจารณาเชิงเทคนิค รอบสุดท้ายอนุมัติไม่ทันในปี และอาจจัดทำบญั ชรี ายชอ่ื ผ้เู ชี่ยวชาญแต่ละดา้ น • ผู้สนใจขอรับทุน จำนวนมากทั้งงบประมาณและจำนวน • ควรปรับลดรอบการเปิดรับข้อเสนอโครงการฯ และควรร่น โครงการ ระยะเวลาในการเปิดรบั ขอ้ เสนอฯ • ยงั สามารถวเิ คราะหเ์ พม่ิ เตมิ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ถงึ การกระจายตวั มติ ติ า่ งๆ • ควรจัดทำแผนที่ทางเดินสู่ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ของการให้ทุนสนับสนุน เช่น กลุ่มผู้รับทุน กลุ่มผู้รับประโยชน์ (Roadmap to Result) เพอ่ื วเิ คราะหแ์ ละจดั ลำดบั ความสำคญั เปน็ ต้น ในการสนับสนนุ ทุน • ภูมิทัศน์สื่อเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว สื่อเก่าลดความสำคัญลง • ควรใหน้ ำ้ หนกั การสง่ เสรมิ การเผยแพรส่ อ่ื ผา่ น Platform ใหมๆ่ ถูกแทนทดี่ ว้ ยสอื่ ใหมเ่ กิดชอ่ งทาง (Platform) ใหม่ ๆ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามสอ่ื เกา่ อยา่ งการสง่ เสรมิ การอา่ นกเ็ ปน็ สง่ิ สำคญั พ้นื ฐานของเดก็ เยาวชน ๖๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
ส่วนท่ี ๔ รายงานของผู้สอบบญั ชี และงบการเงนิ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๖๗
รายงานของผ้สู อบบญั ชรี ับอนุญาต เสนอ คณะกรรมการกองทุนพฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ความเห็น ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ งบการเงนิ ของกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ (“กองทนุ ฯ”) แสดงฐานะทางการเงนิ ของกองทุนฯ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ผลการด�ำเนินงานทางการเงินและกระแสเงินสดส�ำหรับปีส้ินสุด วันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ท่กี �ำหนดโดยกระทรวงการคลงั งบการเงินของกองทนุ ฯ ทีต่ รวจสอบ ประกอบดว้ ย - งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ - งบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงนิ ส�ำหรบั ปสี น้ิ สุดวันเดียวกนั - งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสนิ ทรัพยส์ ุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสดุ วนั เดยี วกัน - งบกระแสเงนิ สด ส�ำหรบั ปีส้นิ สุดวันเดียวกนั และ - หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ซ่งึ รวมถงึ หมายเหตสุ รปุ นโยบายการบญั ชที ี่ส�ำคญั เกณฑใ์ นการแสดงความเหน็ ขา้ พเจา้ ไดป้ ฏบิ ตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชี ความรบั ผดิ ชอบของขา้ พเจา้ ไดก้ ลา่ วไวใ้ นวรรค ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระ จากกองทุนฯ ตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอ่ืน ๆ ซ่ึง เป็นไปตามข้อก�ำหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีท่ีข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อ ใช้เปน็ เกณฑใ์ นการแสดงความเหน็ ของข้าพเจา้ ๖๘ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
เรื่องอื่น งบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ ที่แสดงเปรียบเทียบตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอ่ืน ซึ่งแสดงความเห็นอยา่ งไม่มเี งอื่ นไข ตามรายงานลงวนั ที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๖๑ ความรบั ผดิ ชอบของผบู้ รหิ ารต่องบการเงนิ ผู้บริหารมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินเหล่าน้ีโดยถูกต้องตามท่ีควรตามมาตรฐาน การบญั ชภี าครฐั และนโยบายการบญั ชภี าครฐั ทกี่ ระทรวงการคลงั ประกาศใช้ และรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การควบคมุ ภายในทผ่ี บู้ รหิ ารพจิ ารณาวา่ จ�ำเปน็ เพอื่ ใหส้ ามารถจดั ท�ำงบการเงนิ ทป่ี ราศจากการแสดงขอ้ มลู ทขี่ ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกดิ จากการทุจริตหรือขอ้ ผดิ พลาด ในการจัดท�ำงบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกองทุนฯ ในการด�ำเนินงาน ตอ่ เน่อื ง เปิดเผยเรือ่ งทเ่ี ก่ยี วกบั การด�ำเนินงานตอ่ เน่ืองตามความเหมาะสม และการใชเ้ กณฑก์ ารบัญชสี �ำหรับ การด�ำเนินงานต่อเน่อื งเว้นแตม่ ขี ้อก�ำหนดในกฎหมายหรอื นโยบายรัฐบาลทจี่ ะเลกิ กองทุน หรอื หยดุ ด�ำเนนิ งาน หรอื ไม่สามารถด�ำเนินงานต่อเนอื่ งตอ่ ไปได้ ความรับผิดชอบของผสู้ อบบญั ชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ได้ความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวม ปราศจากการแสดงขอ้ มลู ทขี่ ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระส�ำคญั หรอื ไม่ ไมว่ า่ จะเกดิ จากการทจุ รติ หรอื ขอ้ ผดิ พลาด และเสนอรายงานของผสู้ อบบญั ชซี งึ่ รวมความเหน็ ของขา้ พเจา้ อยดู่ ว้ ยความเชอื่ มน่ั อยา่ งสมเหตสุ มผลคอื ความเชอื่ มน่ั ในระดบั สงู แตไ่ มไ่ ดเ้ ปน็ การรบั ประกนั วา่ การปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชจี ะสามารถตรวจพบ ขอ้ มลู ทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระส�ำคญั ทม่ี อี ยไู่ ดเ้ สมอไป ขอ้ มลู ทขี่ ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อาจเกดิ จากการทจุ รติ หรอื ขอ้ ผดิ พลาดและถอื วา่ มสี าระส�ำคญั เมอ่ื คาดการณไ์ ดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผลวา่ รายการทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ แตล่ ะรายการ หรือทกุ รายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกจิ ของผู้ใชง้ บการเงนิ จากการใชง้ บการเงนิ เหล่าน้ี ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัย เยี่ยงผูป้ ระกอบวชิ าชพี ตลอดการตรวจสอบ การปฏบิ ัตงิ านของข้าพเจา้ รวมถึง รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๖๙
- ระบแุ ละประเมนิ ความเสย่ี งจากการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระส�ำคญั ในงบการเงนิ ไมว่ า่ จะ เกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเส่ียง เหลา่ นน้ั และไดห้ ลกั ฐานการสอบบญั ชที เี่ พยี งพอและเหมาะสมเพอื่ เปน็ เกณฑใ์ นการแสดงความเหน็ ของขา้ พเจา้ ความเสย่ี งทไี่ มพ่ บขอ้ มลู ทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระส�ำคญั ซงึ่ เปน็ ผลมาจากการทจุ รติ จะสงู กวา่ ความเสยี่ งท่ี เกดิ จากข้อผิดพลาดเน่ืองจากการทุจริตอาจเก่ียวกบั การสมรรู้ ่วมคดิ การปลอมแปลงเอกสารหลกั ฐานการตงั้ ใจ ละเวน้ การแสดงขอ้ มูล การแสดงข้อมูลทีไ่ มต่ รงตามขอ้ เท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน -ท�ำความเขา้ ใจในระบบการควบคมุ ภายในทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การตรวจสอบเพอ่ื ออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบทเ่ี หมาะสม กับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพ่ือวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ของกองทุนฯ - ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทาง บัญชีและการเปิดเผยขอ้ มูลทีเ่ กย่ี วขอ้ งซ่งึ จดั ท�ำขนึ้ โดยผ้บู ริหาร - สรปุ เกยี่ วกบั ความเหมาะสมของการใชเ้ กณฑก์ ารบญั ชสี �ำหรบั การด�ำเนนิ งานตอ่ เนอ่ื งของผบู้ รหิ ารและจาก หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนท่ีมีสาระส�ำคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ ท่ีอาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยส�ำคัญต่อความสามารถของกองทุนฯ ในการด�ำเนินงานต่อเน่ืองหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของ ข้าพเจ้าโดยให้ข้อสังเกตถึงการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินที่เก่ียวข้อง หรือถ้าเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจา้ จะเปลีย่ นแปลงไป ขอ้ สรุปของขา้ พเจา้ ขึน้ อยู่กบั หลักฐานการสอบบัญชีท่ีได้รับจนถงึ วนั ท่ี ในรายงานของผสู้ อบบญั ชขี องขา้ พเจา้ อยา่ งไรกต็ าม เหตกุ ารณห์ รอื สถานการณใ์ นอนาคตอาจเปน็ เหตใุ หก้ องทนุ ฯ ตอ้ งหยดุ ด�ำเนนิ งานต่อเน่อื ง - ประเมนิ การน�ำเสนอ โครงสรา้ งและเนือ้ หาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยขอ้ มลู วา่ งบการเงนิ แสดงรายการและเหตุการณใ์ นรูปแบบ ท่ที �ำให้มกี ารน�ำเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามทคี่ วรหรอื ไม่ ขา้ พเจ้าไดส้ ือ่ สารกบั ผบู้ รหิ ารในเรอื่ งตา่ ง ๆ ท่สี �ำคัญ ซงึ่ รวมถงึ ขอบเขตและชว่ งเวลาของการตรวจสอบตามท่ี ไดว้ างแผนไว้ ประเดน็ ทมี่ นี ยั ส�ำคญั ทพี่ บจากการตรวจสอบ รวมถงึ ขอ้ บกพรอ่ งทมี่ นี ยั ส�ำคญั ในระบบการควบคมุ ภายในหากข้าพเจา้ ไดพ้ บในระหวา่ งการตรวจสอบของขา้ พเจา้ บรษิ ทั สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (นางสาวสุภาภรณ์ มง่ั จิตร) ผสู้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน ๘๑๒๕ วนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ ๗๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์
กองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรค์ งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) สินทรัพย์ หมายเหตุ ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ สนิ ทรพั ย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด ๔ ๕๑๑,๕๕๒,๖๕๙.๓๘ ๑๕๒,๘๙๙,๐๖๔.๘๘ ลกู หนี้อน่ื ระยะสน้ั ๕ ๕๕๐,๐๙๐.๙๗ ๑๖๓,๗๑๓.๙๗ วัสดคุ งเหลือ ๖ ๒๐๕,๘๙๙.๖๒ ๓๒๖,๖๐๐.๖๙ สินทรัพย์หมุนเวยี นอื่น ๗ ๔๗๓,๕๑๖.๐๒ ๒๕๗,๐๙๖.๑๗ รวมสนิ ทรัพย์หมนุ เวียน ๕๑๒,๗๘๒,๑๖๕.๙๙ ๑๕๓,๖๔๖,๔๗๕.๗๑ สนิ ทรพั ย์ไมห่ มนุ เวียน ส่วนปรบั ปรุงอาคารและอปุ กรณ์ ๘ ๘,๔๕๕,๐๓๒.๒๕ ๘,๗๖๐,๘๙๐.๑๗ สนิ ทรัพยไ์ ม่มีตวั ตน ๙ ๙,๘๗๗,๖๒๖.๐๐ ๙,๑๘๕,๖๙๑.๕๕ สินทรัพยไ์ มห่ มุนเวยี นอนื่ ๑๐ ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ รวมสนิ ทรัพยไ์ มห่ มนุ เวียน ๑๙,๒๕๙,๖๒๘.๒๕ ๑๘,๘๗๓,๕๕๑.๗๒ รวมสินทรัพย ์ ๕๓๒,๐๔๑,๗๙๔.๒๔ ๑๗๒,๕๒๐,๐๒๗.๔๓ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายงานการเงินน้ี ………………………….……...….…….…. ………………………….……...….…….…. ( นางสาวนฤชนา กติ ิมานนต์ ) ( นายวสันต์ ภัยหลีกลี้ ) ผอู้ �ำนวยการฝา่ ยอ�ำนวยการ ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๗๑
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) หนส้ี ิน หมายเหตุ ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ หนีส้ ินหมนุ เวยี น เจ้าหนี้อืน่ ระยะส้นั ๑๑ ๓,๔๒๙,๗๕๐.๕๐ ๔๓๑,๙๔๑.๔๘ หนส้ี ินหมนุ เวียนอ่ืน ๑๒ ๒,๔๒๙,๔๕๑.๘๕ ๓,๙๗๙,๐๕๐.๑๐ รวมหนีส้ นิ หมุนเวยี น ๕,๘๕๙,๒๐๒.๓๕ ๔,๔๑๐,๙๙๑.๕๘ หน้ีสินไม่หมนุ เวียน หนส้ี ินไม่หมุนเวียนอ่ืน ๑๓ - ๔๙,๙๔๗.๘๕ รวมหน้ีสินไม่หมนุ เวียน - ๔๙,๙๔๗.๘๕ รวมหนีส้ นิ ๕,๘๕๙,๒๐๒.๓๕ ๔,๔๖๐,๙๓๙.๔๓ สนิ ทรพั ย์สทุ ธิ/สว่ นทนุ ๕๒๖,๑๘๒,๕๙๑.๘๙ ๑๖๘,๐๕๙,๐๘๘.๐๐ สินทรัพยส์ ทุ ธิ/สว่ นทนุ ทนุ - - รายได้สูงกวา่ ค่าใช้จา่ ยสะสม ๕๒๖,๑๘๒,๕๙๑.๘๙ ๑๖๘,๐๕๙,๐๘๘.๐๐ รวมสินทรัพยส์ ุทธิ/สว่ นทนุ ๕๒๖,๑๘๒,๕๙๑.๘๙ ๑๖๘,๐๕๙,๐๘๘.๐๐ หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายงานการเงินนี้ ………………………….……...….…….…. ………………………….……...….…….…. ( นางสาวนฤชนา กติ ิมานนต์ ) ( นายวสนั ต์ ภยั หลีกลี้ ) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอ�ำนวยการ ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๗๒ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรค์
กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ งบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงนิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ (หน่วย : บาท) รายได้ หมายเหตุ ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ รายไดจ้ ากการอุดหนนุ อน่ื และบริจาค ๑๕ ๗๓๑,๓๒๐,๗๙๕.๖๐ ๑๑๓,๓๗๕,๙๓๓.๑๓ รายไดอ้ น่ื ๑๖ ๗,๖๗๐,๑๑๕.๔๙ ๑,๑๙๑,๖๘๙.๓๖ รวมรายได ้ ๗๓๘,๙๙๐,๙๑๑.๐๙ ๑๑๔,๕๖๗,๖๒๒.๔๙ คา่ ใชจ้ า่ ย คา่ ใช้จ่ายบคุ ลากร ๑๗ ๒๖,๔๓๙,๘๔๐.๓๘ ๑๕,๖๘๕,๓๗๓.๒๘ ค่าตอบแทน ๑๘ ๖๖๓,๐๐๐.๐๐ ๒๔๗,๙๐๐.๐๐ คา่ ใชส้ อย ๑๙ ๑๘,๓๔๒,๖๖๙.๑๘ ๑๓,๓๓๕,๔๘๘.๖๐ ค่าวสั ดุ ๙๑๖,๔๑๑.๙๒ ๖๒๕,๑๔๓.๐๗ คา่ สาธารณปู โภค ๒๐ ๘๘๘,๙๘๐.๐๐ ๘๖๐,๔๒๐.๓๑ ค่าเสอ่ื มราคาและค่าตดั จ�ำหนา่ ย ๒๑ ๕,๔๐๙,๙๓๒.๙๗ ๑,๖๒๘,๘๓๒.๙๕ คา่ ใชจ้ า่ ยจากการอดุ หนนุ อนื่ และบรจิ าค ๒๒ ๓๒๘,๒๐๖,๕๗๒.๗๕ ๙๓,๔๐๓,๗๐๙.๔๓ รวมค่าใช้จ่าย ๓๘๐,๘๖๗,๔๐๗.๒๐ ๑๒๕,๗๘๖,๘๖๗.๖๔ รายได้สงู / (ตำ่� ) กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายสทุ ธ ิ ๓๕๘,๑๒๓,๕๐๓.๘๙ (๑๑,๒๑๙,๒๔๕.๑๕) หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายงานการเงินน้ ี ………………………….……...….…….…. ………………………….……...….…….…. ( นางสาวนฤชนา กติ มิ านนต์ ) ( นายวสนั ต์ ภยั หลกี ล้ี ) ผ้อู �ำนวยการฝ่ายอ�ำนวยการ ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาส่อื ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๗๓
กองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ งบแสดงการเปลย่ี นแปลงสินทรัพยส์ ุทธิ ส�ำหรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) รายได้สงู /(ตำ่� )กว่า ค่าใช้จา่ ยสะสม ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๐ ๑๗๙,๒๗๘,๓๓๓.๑๕ รายไดส้ งู /(ต�ำ่ )กวา่ คา่ ใชจ้ ่ายส�ำหรบั ป ี (๑๑,๒๑๙,๒๔๕.๑๕) ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ ๑๖๘,๐๕๙,๐๘๘.๐๐ การเปลี่ยนแปลงในสนิ ทรพั ยส์ ุทธิ ส�ำหรบั ปี ๒๕๖๒ รายได้สงู /(ต�่ำ)กว่าคา่ ใช้จา่ ยส�ำหรบั ปี ๓๕๘,๑๒๓,๕๐๓.๘๙ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ๕๒๖,๑๘๒,๕๙๑.๘๙ หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เป็นส่วนหนงึ่ ของรายงานการเงินน ้ี ………………………….……...….…….…. ………………………….……...….…….…. ( นายวสนั ต์ ภัยหลีกล้ี ) ( นางสาวนฤชนา กิตมิ านนต์ ) ผ้อู �ำนวยการฝา่ ยอ�ำนวยการ ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๗๔ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ งบกระแสเงินสด ส�ำหรบั ปสี ิน้ สุดวันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ (หน่วย : บาท) หมายเหตุ ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ กระแสเงนิ สดจากกจิ กรรมด�ำเนินงาน รายได้สงู / (ต�่ำ) กว่าค่าใชจ้ า่ ยสทุ ธ ิ ๓๕๘,๑๒๓,๕๐๓.๘๙ (๑๑,๒๑๙,๒๔๕.๑๕) ปรบั กระทบยอดเปน็ กระแสเงินสดสทุ ธจิ ากกิจกรรมด�ำเนนิ งาน ค่าเสอ่ื มราคาและค่าตดั จ�ำหน่าย ๕,๔๐๙,๙๓๒.๙๗ ๑,๖๒๘,๘๓๒.๙๕ วัสดคุ งคลัง ลดลง ๑๒๐,๗๐๑.๐๗ ๒๓๘,๙๑๔.๒๓ ลกู หนอี้ ืน่ ระยะส้ัน เพมิ่ ขึ้น (๓๘๖,๓๗๗.๐๐) (๓๑,๓๖๓.๐๓) สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียนอื่น เพ่มิ ขึน้ (๒๑๖,๔๑๙.๘๕) (๑๑๕,๙๒๙.๙๖) เจ้าหน้ีอนื่ ระยะสั้น เพม่ิ ขึ้น (ลดลง) ๒,๙๙๗,๘๐๙.๐๒ (๙๘๘,๑๕๔.๐๘) หนสี้ นิ หมุนเวียนอืน่ เพ่มิ ข้นึ (ลดลง) (๑,๕๔๙,๕๙๘.๒๕) ๓,๓๙๕,๐๗๘.๑๐ หน้สี นิ ไม่หมนุ เวียนอ่ืน (ลดลง) (๔๙,๙๔๗.๘๕) - กระแสเงินสดสุทธิจากกจิ กรรมด�ำเนนิ งาน ๓๖๔,๔๔๙,๖๐๔. ๐๐ (๗,๐๙๑,๘๖๖.๙๔) กระแสเงนิ สดจากกิจกรรมลงทุน เงนิ สดจ่ายซื้อทรัพยส์ นิ ถาวร (๑,๙๗๕,๙๕๙ .๕๐) (๘,๙๔๘,๑๐๓.๔๔) เงนิ สดจ่ายซอ้ื สินทรัพย์ไม่มตี ัวตน (๓,๘๒๐,๐๕๐.๐๐) (๘,๘๘๗,๔๖๔.๕๐) กระแสเงินสดสุทธจิ ากกิจกรรมลงทุน (๕,๗๙๖,๐๐๙.๕๐) (๑๗,๘๓๕,๕๖๗.๙๔) เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงินสดเพม่ิ ขึ้น (ลดลง) สทุ ธิ ๓๕๘,๖๕๓,๕๙๔.๕๐ (๒๔,๙๒๗,๔๓๔.๘๘) เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สดคงเหลอื ณ วนั ตน้ งวด ๑๕๒,๘๙๙,๐๖๔.๘๘ ๑๗๗,๘๒๖,๔๙๙.๗๖ เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สดคงเหลอื ณ วนั ปลายงวด ๔ ๕๑๑,๕๕๒,๖๕๙.๓๘ ๑๕๒,๘๙๙,๐๖๔.๘๘ หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเป็นสว่ นหนงึ่ ของรายงานการเงินน ี้ ………………………….……...….…….…. ………………………….……...….…….…. ( นางสาวนฤชนา กติ มิ านนต์ ) ( นายวสันต์ ภัยหลกี ล้ี ) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอ�ำนวยการ ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๗๕
กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน ส�ำหรบั ปีสิ้นสุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ หมายเหตุ ๑ ขอ้ มลู ท่ัวไป ๑.๑ กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ (“กองทุนฯ”) จัดตั้งขึ้นตามความในพระราชบัญญัติ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซง่ึ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๒ ตอนท่ี ๒๑ ก ลงวนั ท่ี ๒๖ มนี าคม ๒๕๕๘ และมผี ลบงั คบั ตงั้ แตว่ นั ที่ ๒๗ มนี าคม ๒๕๕๘ โดยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม รกั ษาการตามพระราชบญั ญัติ ดังน้ี วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ตงั้ กองทุนพัฒนาส่อื ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๑. รณรงค์ สง่ เสริมและสนับสนนุ การพฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๒. สง่ เสรมิ ให้มีการพัฒนาศกั ยภาพของผผู้ ลติ สอื่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๓. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนโดยเฉพาะเด็ก เยาวชนและครอบครัวมีทักษะในการ รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื เฝา้ ระวงั สอ่ื ทไ่ี มป่ ลอดภยั และไมส่ รา้ งสรรค์ และสามารถใชส้ อื่ ในการพฒั นาตนเอง ชมุ ชนและสงั คม ๔. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนอยา่ งกวา้ งขวาง เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๕. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั อบรม พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละการสรา้ งนวตั กรรมดา้ นสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๖. ส่งเสริมบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอ่ืนๆ ของรัฐ ที่ด�ำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสื่อให้มีการผลิตและพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ๗. ด�ำเนนิ การและสง่ เสรมิ ใหม้ สี อื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรคท์ ที่ กุ คนสามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชน์ ไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ ๑.๒ ต้ังอยู่เลขท่ี ๓๘๘ อาคาร เอส.พี. (ไอบีเอ็ม) ชั้น ๖ อาคาร บี ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑.๓ กรอบกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้แก่ ๑.๓.๑ พระราชบัญญตั ิกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ.๒๕๕๘ ๑.๓.๒ ประกาศกระทรวงวฒั นธรรม เรอ่ื ง ก�ำหนดหลกั เกณฑก์ ารไดร้ บั เบย้ี ประชมุ หรอื ประโยชน์ ตอบแทนอน่ื ของประธานกรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษา อนกุ รรมการ และกรรมการสรรหา ๑.๓.๓ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ว่าด้วย คุณสมบัติ ลกั ษณะตอ้ งหา้ ม วาระการด�ำรงต�ำแหนง่ และการพน้ จากต�ำแหนง่ ของอนกุ รรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และการประชมุ ของคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ พ.ศ.๒๕๕๙ ๑.๓.๔ ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคว์ า่ ดว้ ยสว่ นงานภายใน ของส�ำนกั งานกองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ พ.ศ.๒๕๕๙ ๗๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์
๑.๓.๕ ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคว์ า่ ดว้ ยการบรหิ ารงาน ของส�ำนกั งานกองทุนพฒั นาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ.๒๕๕๙ ๑.๓.๖ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคว์ า่ ดว้ ยการคดั เลอื กผจู้ ดั การ การปฏบิ ตั ิงานและการมอบอ�ำนาจของผ้จู ัดการ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑.๓.๗ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคว์ า่ ดว้ ยการเงนิ พ.ศ.๒๕๕๙ ๑.๓.๘ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ว่าด้วยการบริหาร งานบุคคล พ.ศ.๒๕๕๙ (แกไ้ ขเพิ่มเติม ฉบบั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๑) ๑.๓.๙ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ว่าด้วยค่าตอบแทน และคา่ รับรอง พ.ศ.๒๕๕๙ ๑.๓.๑๐ ขอ้ บงั คบั คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคว์ า่ ดว้ ยการตรวจสอบ ภายใน พ.ศ.๒๕๕๙ ๑.๓.๑๑ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารจัดสรรเงนิ แก่โครงการหรอื กิจกรรมฯ พ.ศ.๒๕๖๐ (แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบบั ที่ ๔ พ.ศ.๒๕๖๑) ๑.๓.๑๒ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ว่าด้วยส่วนงาน ภายในของส�ำนกั งานกองทุนพัฒนาส่ือและสรา้ งสรรค์ พ.ศ.๒๕๖๑ ๑.๓.๑๓ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ว่าด้วยการบริหาร งานของส�ำนกั งานกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑.๓.๑๔ ข้อบงั คบั คณะกรรมการกองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรคว์ ่าดว้ ยการจ่ายเงนิ ส�ำรองกรณีฉุกเฉินหรอื จ�ำเปน็ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑.๓.๑๕ ข้อบังคับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ว่าด้วยการปฏิบัติ งานนอกเวลาท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑.๓.๑๖ ระเบียบส�ำนกั งานกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ว่าดว้ ยการจัดสวัสดกิ าร แกเ่ จา้ หนา้ ที่ พ.ศ.๒๕๖๐ ๑.๓.๑๗ ระเบยี บส�ำนกั งานกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคว์ า่ ดว้ ยหลกั เกณฑว์ ธิ กี าร ตรวจสอบการใชจ้ า่ ยเงนิ งวดของโครงการหรอื กจิ กรรมตามสญั ญาใหท้ นุ สนบั สนนุ จากกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ.๒๕๖๒ ๑.๔ งบการเงินนี้ได้เสนอให้คณะกรรมการกองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรคร์ ับทราบเม่อื วนั ที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ตามขอ้ บังคบั คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ วา่ ด้วยการเงนิ พ.ศ. ๒๕๕๙ หมวด ๕ การบัญชีและรายงานการเงนิ ข้อ ๗๓ และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและ สร้างสรรคม์ ี มตทิ ีป่ ระชุม รบั ทราบเพอ่ื น�ำส่งให้ผตู้ รวจสอบบญั ชีภายนอกด�ำเนนิ การต่อไป รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ๗๗
หมายเหตุ ๒ เกณฑใ์ นการจัดท�ำงบการเงิน ๒.๑ งบการเงินน้ีจัดท�ำข้ึนตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่ก�ำหนดโดย กระทรวงการคลงั และแสดงรายการในงบการเงนิ ตามแนวปฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี เรอ่ื ง รปู แบบการน�ำเสนอรายงาน การเงินของหน่วยงานของรฐั ตามหนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค ๐๔๑๐.๓/ว ๓๕๗ ลงวันที่ ๑๕ สงิ หาคม ๒๕๖๑ มาถือปฏิบตั ิกับงบการเงนิ ส�ำหรบั รอบระยะเวลาบัญชปี ี ๒๕๖๑ เป็นต้นไป งบการเงนิ น้จี ัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑร์ าคาทุนเดิม เวน้ แตจ่ ะได้เปิดเผยเป็นอยา่ งอน่ื ในนโยบายการบัญชี ๒.๒ มาตรฐานการบัญชีภาครฐั ทีม่ ีผลบังคบั ใช้ส�ำหรบั ระยะเวลาบญั ชที ่ีเร่มิ ในหรอื หลังวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ มีดังน้ี ๒.๒.๑ กระทรวงการคลังได้ออกประกาศให้หน่วยงานของรัฐจัดท�ำบัญชีและรายงานการเงิน ตามมาตรฐานการบญั ชแี ละนโยบายการบญั ชภี าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๑ ในเร่ืองดังตอ่ ไปน้ี หลักการและนโยบายการบญั ชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรฐานการบญั ชีภาครัฐ ฉบับที่ ๑ เรอ่ื ง การน�ำเสนอรายงานทางการเงิน เรื่อง นโยบายการบญั ชี และการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานการบญั ชภี าครฐั ฉบับที่ ๓ ประมาณการทางบญั ชแี ละขอ้ ผดิ พลาด มาตรฐานการบญั ชีภาครฐั ฉบับที่ ๕ เรอ่ื ง ตน้ ทนุ การก้ยู มื มาตรฐานการบญั ชีภาครฐั ฉบบั ท่ี ๑๒ เรื่อง สนิ ค้าคงเหลอื มาตรฐานการบัญชีภาครฐั ฉบบั ท่ี ๑๓ เรื่อง สัญญาเชา่ มาตรฐานการบัญชภี าครฐั ฉบับท่ี ๑๔ เร่ือง เหตุการณภ์ ายหลงั วนั ท่ีในรายงาน มาตรฐานการบญั ชีภาครัฐ ฉบบั ที่ ๑๖ เร่อื ง อสงั หาริมทรพั ยเ์ พ่ือการลงทุน มาตรฐานการบัญชภี าครฐั ฉบบั ท่ี ๑๗ เรอ่ื ง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชภี าครฐั ฉบับท่ี ๓๑ เร่อื ง สนิ ทรัพย์ไมม่ ตี วั ตน นโยบายการบญั ชีภาครัฐ เรอ่ื ง เงนิ ลงทุน ๒.๒.๒ กระทรวงการคลงั ไดอ้ อกประกาศ เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั ใิ นการจดั ท�ำรายงานการเงนิ ภาพรวม ส�ำหรบั หนว่ ยงานของรฐั ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๒ โดยใหเ้ รม่ิ จดั ท�ำรายงานการเงนิ ภาพรวมส�ำหรบั ปงี บประมาณพ.ศ. ๒๕๖๑ เปน็ ต้นไป ฝา่ ยบรหิ ารไดป้ ระเมนิ และเหน็ วา่ มาตรฐานการบญั ชภี าครฐั และแนวปฏบิ ตั ขิ า้ งตน้ ไมม่ ผี ลกระทบ ต่องบการเงนิ ท่ีน�ำเสนอ ๗๘ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
๒.๓ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐทีม่ ผี ลบังคบั ใช้ส�ำหรับระยะเวลาบญั ชที ่ีเริม่ ในหรือหลังวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ที่กองทนุ ฯ ยังไม่ไดน้ �ำมาถือปฏิบตั ิก่อนวนั ท่มี ผี ลบงั คับใช้ มาตรฐานการบัญชภี าครัฐ ฉบับที่ ๙ เร่ือง รายได้จากการแลกเปลย่ี น มาตรฐานการบญั ชีภาครฐั ฉบบั ที่ ๒๓ เร่ือง รายไดจ้ ากรายการไมแ่ ลกเปล่ยี น ฝา่ ยบรหิ ารไดป้ ระเมนิ และเหน็ วา่ มาตรฐานการบญั ชภี าครฐั ขา้ งตน้ ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ งบการเงนิ ทนี่ �ำเสนอ หมายเหตุ ๓ สรุปนโยบายการบัญชที ส่ี �ำคญั ๓.๑เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงินสด เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด ไดแ้ ก่ เงนิ สดในมอื เงนิ ฝากธนาคารทกุ ประเภท แตไ่ มร่ วมเงนิ ฝาก ประเภทท่ีต้องจ่ายคืนเม่ือส้ินระยะเวลาที่ก�ำหนดที่เกินกว่า ๓ เดือน และเงินฝากที่มีภาระผูกพันหรือน�ำไป ค�ำ้ ประกนั ๓.๒ ลกู หนอี้ ่ืน ลูกหน้ีอ่ืน หมายถึง รายไดค้ า้ งรบั และลูกหนี้เงินยมื ทดรองจา่ ยท่ีเปน็ ลูกหนีภ้ ายในหนว่ ยงาน กรณี ให้เจ้าหนา้ ทยี่ มื เงนิ เพอ่ื ใชจ้ า่ ยในการปฏบิ ตั งิ านของกองทนุ ฯ โดยไมม่ ดี อกเบยี้ กองทนุ ฯ จะรบั รลู้ กู หนตี้ ามมลู คา่ ท่ีจะได้รับ ๓.๓ วัสดุคงเหลอื วสั ดคุ งเหลอื หมายถงึ ของใชส้ น้ิ เปลอื งนอกจากสนิ คา้ ทห่ี นว่ ยงานมไี วเ้ พอ่ื ใชใ้ นการด�ำเนนิ งานตามปกติ โดยทัว่ ไปมมี ลู คา่ ไมส่ ูงและไมม่ ลี ักษณะคงทนถาวร วสั ดทุ ซี่ อ้ื มารบั รเู้ ปน็ สนิ ทรพั ยท์ ง้ั จ�ำนวน และควบคมุ รายการวสั ดุ ณ วนั สน้ิ เดอื นปรบั ปรงุ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ตามจ�ำนวนที่ใช้ไปและแสดงราคาทุนของวสั ดคุ งเหลือโดยวธิ เี ข้าก่อนออกก่อน(FIFO) ๓.๔ อาคาร และอุปกรณ์ อาคารและสงิ่ ปลกู สรา้ งรวมทง้ั สว่ นปรบั ปรงุ อาคารทงั้ อาคารและสง่ิ ปลกู สรา้ งทห่ี นว่ ยงานมกี รรมสทิ ธ์ิ และไมม่ กี รรมสทิ ธแิ์ ตห่ นว่ ยงานไดค้ รอบครองและน�ำมาใชป้ ระโยชนใ์ นการด�ำเนนิ งาน แสดงมลู คา่ สทุ ธติ ามบญั ชี ทเี่ กิดจากราคาทนุ หักคา่ เสอื่ มราคาสะสม อาคารทีอ่ ยู่ระหวา่ งการกอ่ สรา้ งแสดงตามราคาทุน อุปกรณ์ ได้แก่ ครุภัณฑ์ประเภทต่างๆ รับรู้เป็นสินทรัพย์เฉพาะรายการที่มีมูลค่าต่อหน่วยต้ังแต่ ๕,๐๐๐.๐๐ บาทขนึ้ ไป และแสดงมูลค่าตามมูลค่าสุทธติ ามบญั ชีท่ีเกดิ จากราคาทนุ หักคา่ เสือ่ มราคาสะสม รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๗๙
คา่ เสอ่ื มราคาบนั ทกึ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในงบแสดงผลการด�ำเนนิ งานทางการเงนิ ค�ำนวณโดยวธิ เี สน้ ตรง ตามอายุการใช้งานท่กี �ำหนด ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๒๓.๓/ว ๒๓๘ ลงวนั ที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๗ เรือ่ ง หลกั เกณฑก์ ารค�ำนวณคา่ เส่อื มราคาสนิ ทรพั ย์ถาวรส�ำหรบั หน่วยงานภาครัฐ ประมาณการอายกุ ารใช้งาน ของสินทรัพยแ์ สดงได้ ดังน้ี ส่วนปรบั ปรุงอาคาร ๑๐ ปี ครภุ ัณฑ ์ ๓, ๕ ปี ๓.๕ สินทรัพย์ไมม่ ตี วั ตน สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตนแสดงมลู คา่ ดว้ ยมลู คา่ สทุ ธติ ามบญั ชีทเ่ี กดิ จากราคาทนุ หกั คา่ ตดั จ�ำหนา่ ยสะสม ค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการ เงนิ ค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชนโ์ ดยประมาณดงั น้ี โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๓ ปี ๓.๖ สญั ญาเชา่ ด�ำเนนิ งาน สัญญาเช่าระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของ ไมไ่ ดโ้ อนมาใหห้ นว่ ยงานในฐานะผเู้ ชา่ ถอื เปน็ สญั ญาเชา่ ด�ำเนนิ งาน จ�ำนวนเงนิ ทจี่ า่ ยตามสญั ญาเชา่ ด�ำเนนิ งาน รับรเู้ ป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงนิ ตามวิธีเสน้ ตรงตลอดอายขุ องสญั ญาเช่า ๓.๗ การรบั รรู้ ายได้และคา่ ใชจ้ า่ ย ๓.๗.๑ รายไดจ้ ากการอุดหนุนอื่นและบริจาค รายไดจ้ ากเงนิ อดุ หนนุ จากกองทนุ วจิ ยั และพฒั นากจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกิจการโทรคมนาคมเพ่ือประโยชน์สาธารณะ (กทปส.) รับรู้เม่ือกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้รับเงิน รายได้จากเงินโอนและเงินบริจาคจากบุคคลอื่นนอกจากหน่วยงานภาครัฐ รับรู้เมื่อได้รับเงิน ยกเว้น ในกรณที ม่ี เี งอื่ นไขเปน็ ขอ้ จ�ำกดั ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามในการใชจ้ า่ ยเงนิ หรอื ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื และบรจิ าคเปน็ สนิ ทรพั ย์ ท่ีให้ประโยชน์แก่หน่วยงานเกินหน่ึงปี จะทยอยรับรู้เป็นรายได้ตามสัดส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการน้ันเกิดข้ึนหรือ เกณฑ์การค�ำนวณคา่ เสื่อมราคาสินทรัพยท์ ี่ไดร้ ับตลอดอายุของสนิ ทรัพยน์ ้นั ๓.๗.๒ รายได้อนื่ ดอกเบยี้ รบั , รายไดอ้ น่ื รบั รตู้ ามเกณฑค์ งคา้ ง, เงนิ รบั คนื โครงการ รบั รตู้ ามเกณฑ์เงินสด ๓.๗.๓ คา่ ใช้จา่ ยจากการอดุ หนุน รับร้เู ม่อื ไดร้ บั อนมุ ตั ิการจ่ายจากผู้จัดการกองทุน ๓.๗.๔ ค่าใชจ้ า่ ยอื่น รับรู้ตามเกณฑค์ งค้าง หมายเหตุ ๔ เงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสด (หนว่ ย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ เงนิ ฝากสถาบนั การเงินประเภทออมทรพั ย์ ๕๑๑,๕๕๒,๖๕๙.๓๘ ๑๕๒,๘๙๙,๐๖๔.๘๘ รวมเงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด ๕๑๑,๕๕๒,๖๕๙.๓๘ ๑๕๒,๘๙๙,๐๖๔.๘๘ เงินฝากออมทรัพย์คงเหลือ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๕๑๑,๕๕๒,๖๕๙.๓๘ บาท สว่ นหนง่ึ เปน็ เงนิ ทร่ี อจา่ ยภาระผกู พนั ตามสญั ญาใหท้ นุ สนบั สนนุ การด�ำเนนิ โครงการจ�ำนวน๒๑๔สญั ญาจ�ำนวนเงนิ ๓๐๖,๒๓๐,๔๘๔.๐๐ บาท (ตามหมายเหตุ ๑๔.๔) และโครงการหรือกิจกรรมทีไ่ ด้รับอนมุ ตั ิหลงั รอบระยะเวลา รายงาน จ�ำนวน ๖๘ โครงการจ�ำนวนเงนิ ๒๐๒,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท (ตามหมายเหตุ ๒๓) ๘๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์
หมายเหตุ ๕ ลกู หน้อี ืน่ ระยะส้ัน (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ ลูกหนเี้ งนิ ทดรองจา่ ย ๓,๘๐๐.๐๐ ดอกเบี้ยคา้ งรบั ๕๔๖,๒๙๐.๙๗ - ๑๖๓,๗๑๓.๙๗ รวมลูกหนอี้ ื่นระยะส้นั ๕๕๐,๐๙๐.๙๗ ๑๖๓,๗๑๓.๙๗ หมายเหตุ ๖ วสั ดคุ งเหลอื ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) ๒๐๕,๘๙๙.๖๒ ๒๕๖๑ ๒๐๕,๘๙๙.๖๒ ๓๒๖,๖๐๐.๖๙ วสั ดคุ งเหลอื ๓๒๖,๖๐๐.๖๙ รวมวัสดุคงหลือ วสั ดคุ งหลอื จ�ำนวน ๒๐๕,๘๙๙.๖๒ บาท ประกอบดว้ ย วสั ดสุ �ำนกั งาน จ�ำนวน ๒๐๓,๒๕๓.๕๑ บาท และวสั ดุงานบ้านงานครวั จ�ำนวน ๒,๖๔๖.๑๑ บาท หมายเหตุ ๗ สินทรัพยห์ มนุ เวียนอืน่ ๒๕๖๒ (หน่วย : บาท) ๔๗๓,๕๑๖.๐๒ ๒๕๖๑ ๒๕๗,๐๙๖.๑๗ คา่ ใชจ้ ่ายจา่ ยล่วงหนา้ รวมสินทรพั ย์หมนุ เวยี นอื่น ๔๗๓,๕๑๖.๐๒ ๒๕๗,๐๙๖.๑๗ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า จ�ำนวน ๔๗๓,๕๑๖.๐๒ บาท เป็นค่าเบี้ยประกันชีวิตและสุขภาพของ เจ้าหน้าท่ี จ�ำนวน ๓๔๙,๗๕๑.๕๕ บาท ค่าใช้บริการลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และโปรแกรม Antivirus Kaspersky และค่าบริการ Domain Name จ�ำนวน ๑๒๓,๗๖๔.๔๗ บาท รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๘๑
หมายเหตุ ๘ ส่วนปรบั ปรงุ อาคารและอุปกรณ์ (หนว่ ย : บาท) สว่ นปรบั ปรงุ อาคาร ครภุ ัณฑ์ รวม ราคาทนุ ณ วนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐ - ๑,๒๙๓,๓๒๐.๑๐ ๑,๒๙๓,๓๒๐.๑๐ ซื้อเพม่ิ ๓,๑๕๕,๓๙๓.๓๗ ๖,๐๑๘,๗๑๐.๐๗ ๙,๑๗๔,๑๐๓.๔๔ ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ ๓,๑๕๕,๓๙๓.๓๗ ๗,๓๑๒,๐๓๐.๑๗ ๑๐,๔๖๗,๔๒๓.๕๔ ซ้อื เพ่ิม - ๑,๙๗๕,๙๕๙.๕๐ ๑,๙๗๕,๙๕๙.๕๐ ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ๓,๑๕๕,๓๙๓.๓๗ ๙,๒๘๗,๙๘๙.๖๗ ๑๒,๔๔๓,๓๘๓.๐๔ คา่ เสอ่ื มราคาสะสม ๓๔๑,๒๐๐.๒๓ ๓๔๑,๒๐๐.๒๓ ณ วันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ - ค่าเสื่อมราคาประจ�ำปี (คา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนนิ งาน) ๑๗๐,๗๗๒.๕๔ ๑,๑๙๔,๕๖๐.๖๐ ๑,๓๖๕,๓๓๓.๑๔ ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑ ๑๗๐,๗๗๒.๕๔ ๑,๕๓๕,๗๖๐.๘๓ ๑,๗๐๖,๕๓๓.๓๗ คา่ เส่อื มราคาประจ�ำปี ๓๑๕,๑๗๒.๘๙ ๑,๙๖๖,๖๔๔.๕๓ ๒,๒๘๑,๘๑๗.๔๒ (ค่าใชจ้ ่ายในการด�ำเนินงาน) ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ๔๘๕,๙๔๕.๔๓ ๓,๕๐๒,๔๐๕.๓๖ ๓,๙๘๘,๓๕๐.๗๙ มลู ค่าสุทธิตามบัญช ี ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑ ๒,๙๘๔,๖๒๐.๘๓ ๕,๗๗๖,๒๖๙.๓๔ ๘,๗๖๐,๘๙๐.๑๗ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ๒,๖๖๙,๔๔๗.๙๔ ๕,๗๘๕,๕๘๔.๓๑ ๘,๔๕๕,๐๓๒.๒๕ ๘๒ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
หมายเหตุ ๙ สนิ ทรัพยไ์ มม่ ีตัวตน (หน่วย : บาท) โปรแกรม งานระหวา่ ง รวม คอมพิวเตอร์ ก่อสรา้ ง ราคาทนุ ณ วนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐ ๕๘๐,๐๔๕.๘๘ - ๕๘๐,๐๔๕.๘๘ ซ้อื เพ่ิม ๓๐๗,๔๖๔.๕๐ ๘,๕๘๐,๐๐๐.๐๐ ๘,๘๘๗,๔๖๔.๕๐ ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ ๘๘๗,๕๑๐.๓๘ ๘,๕๘๐,๐๐๐.๐๐ ๙,๔๖๗,๕๑๐.๓๘ ซ้ือเพ่มิ ๗๐๖,๒๐๐.๐๐ ๓,๑๑๓,๘๕๐.๐๐ ๓,๘๒๐,๐๕๐.๐๐ รบั โอน(โอนออก) ๑๐,๘๕๐,๐๐๐.๐๐ (๑๐,๘๕๐,๐๐๐.๐๐) - ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ๑๒,๔๔๓,๗๑๐.๓๘ ๘๔๓,๘๕๐.๐๐ ๑๓,๒๘๗,๕๖๐.๓๘ ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ๑๘,๓๑๙.๐๒ ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐ ๑๘,๓๑๙.๐๒ - ๒๖๓,๔๙๙.๘๑ ค่าตัดจ�ำหน่ายประจ�ำปี - (คา่ ใชจ้ ่ายในการด�ำเนนิ งาน) ๒๖๓,๔๙๙.๘๑ ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑ ๒๘๑,๘๑๘.๘๓ - ๒๘๑,๘๑๘.๘๓ ค่าตัดจ�ำหน่ายประจ�ำปี ๓,๑๒๘,๑๑๕.๕๕ - ๓,๑๒๘,๑๑๕.๕๕ (ค่าใชจ้ ่ายในการด�ำเนนิ งาน) ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ๓,๔๐๙,๙๓๔.๓๘ - ๓,๔๐๙,๙๓๔.๓๘ มลู คา่ สุทธติ ามบัญช ี ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑ ๖๐๕,๖๙๑.๕๕ ๘,๕๘๐,๐๐๐.๐๐ ๙,๑๘๕,๖๙๑.๕๕ ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ๙,๐๓๓,๗๗๖.๐๐ ๘๔๓,๘๕๐.๐๐ ๙,๘๗๗,๖๒๖.๐๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๘๓
งานระหว่างก่อสร้าง จ�ำนวน ๘๔๓,๘๕๐.๐๐ บาท เป็นโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพอ่ื การบรหิ ารจดั การโครงการทขี่ อรบั ทนุ สนบั สนุนจากกองทนุ ฯ ระยะท่ี ๒ จ�ำนวน ๒๕๐,๐๐๐.๐๐ บาท และ โครงการพัฒนาระบบ E-Office จ�ำนวน ๕๙๓,๘๕๐.๐๐ บาท หมายเหตุ ๑๐ สินทรัพยไ์ มห่ มุนเวยี นอื่น ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ ๒๕๖๑ ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ ลูกหนีเ้ งนิ มดั จ�ำและเงนิ ประกัน รวมสนิ ทรัพยไ์ ม่หมุนเวยี นอนื่ ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอ่นื จ�ำนวน ๙๒๖,๙๗๐.๐๐ บาท เปน็ เงนิ มัดจ�ำตามสัญญาเชา่ อาคาร และบริการตามสัญญาเลขที่ SPB.๐๓/๒๕๖๐ โดยตกลงเช่าช้นั ที่ ๖ อาคาร บี ของบรษิ ทั เอส.พ.ี อาคาร จ�ำกัด มีเน้ือท่ีเช่า ๕๘๓ ตารางเมตร ตงั้ อยเู่ ลขท่ี ๓๘๘ ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร มีก�ำหนด ๓ ปี นับต้ังแต่วันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๖๐ สิ้นสุดวันท่ี ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ เงินมัดจ�ำจะได้คืน เมอื่ ครบก�ำหนดตามสัญญาเช่า หมายเหตุ ๑๑ เจา้ หนีอ้ ่นื ระยะส้ัน ๒๕๖๒ (หน่วย : บาท) ๓,๔๒๙,๗๕๐.๕๐ ๒๕๖๑ ๔๓๑,๙๔๑.๔๘ เจ้าหน้อี ืน่ ระยะสน้ั รวมเจ้าหน้ีอ่ืนระยะสนั้ ๓,๔๒๙,๗๕๐.๕๐ ๔๓๑,๙๔๑.๔๘ เจ้าหนี้อ่ืนระยะสั้น จ�ำนวน ๓,๔๒๙,๗๕๐.๕๐ บาท เป็นเจ้าหนี้เงินอุดหนุนโครงการจ�ำนวน ๓,๐๔๑,๙๖๘.๐๐ บาท ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่ายจ�ำนวน ๙,๖๒๒.๐๖ บาท ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอ่ืน ๆ จ�ำนวน ๒๕๖,๑๙๘.๒๗ บาท และภาษหี ัก ณ ท่ีจ่ายรอน�ำสง่ จ�ำนวน ๑๒๑,๙๖๒.๑๗ บาท ๘๔ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาส่อื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
หมายเหตุ ๑๒ หนสี้ ินหมุนเวยี นอืน่ (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ เงินประกนั ๒,๔๒๙,๔๕๑.๘๕ ๓,๙๗๙,๐๕๐.๑๐ รวมหนี้สินหมุนเวยี นอืน่ ๒,๔๒๙,๔๕๑.๘๕ ๓,๙๗๙,๐๕๐.๑๐ เงนิ ประกนั จ�ำนวน ๒,๔๒๙,๔๕๑.๘๕ บาท เปน็ เงนิ ประกนั สญั ญา จ�ำนวน ๒๐ ราย รวมจ�ำนวน ๒,๓๘๙,๔๕๑.๘๕ บาท และเงินประกนั การปฏิบตั ิงานตามสญั ญา จ�ำนวน ๑ ราย จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐.๐๐ บาท หมายเหตุ ๑๓ หน้ีสินไม่หมนุ เวียนอ่ืน ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) - ๒๕๖๑ - เงินประกัน - ระยะยาว ๔๙,๙๔๗.๘๕ รวมหนีส้ ินไม่หมนุ เวยี นอนื่ ๔๙,๙๔๗.๘๕ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ๘๕
หมายเหตุ ๑๔ ภาระผกู พนั (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ ไมเ่ กิน ๑ ปี เกนิ ๑ ปี ไมเ่ กนิ ๑ ปี เกนิ ๑ ปี ไม่เกิน ๓ ป ี ไมเ่ กนิ ๓ ปี ภาระผกู พันตามสญั ญาเช่า ๑,๖๒๘,๗๕๖.๒๕ - ๓,๙๐๙,๐๑๕.๐๐ ๑,๖๒๘,๗๕๖.๒๕ ด�ำเนนิ งาน ภาระผกู พนั ตามสัญญา จ้างเหมาบริการ ๒๕,๔๙๗,๗๘๐.๐๐ - ๑๗,๔๕๐,๒๖๔.๗๓ - ภาระผกู พันตามสญั ญา จัดซือ้ จัดจ้าง พัสดแุ ละบริการอื่นๆ ๘,๕๗๕,๗๙๘.๗๖ - ๘๙๔,๗๘๘.๕๗ - ภาระผกู พนั ตามสัญญาใหท้ ุน สนบั สนนุ การด�ำเนินโครงการ ๓๐๖,๒๓๐,๔๘๔.๐๐ - ๒๙,๘๙๖,๖๙๘.๐๐ - รวม ๓๔๑,๙๓๒,๘๑๙.๐๑ - ๕๒,๑๕๐,๗๖๖.๓๐ ๑,๖๒๘,๗๕๖.๒๕ ๑๔.๑ ภาระผกู พนั ตามสัญญาเช่าด�ำเนนิ งาน ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๑ กองทนุ ฯ มภี าระผูกพันตามสัญญาเชา่ อาคารและ บรกิ ารทตี่ อ้ งจา่ ยในอนาคตตามสญั ญาเชา่ ด�ำเนนิ งานจ�ำนวน๑สญั ญาจากบรษิ ทั เอส.พ.ี อาคารจ�ำกดั ระยะเวลาเชา่ ๓ ปี ตัง้ แต่วนั ท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๖๐ ถึงวนั ที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ๑๔.๒ ภาระผกู พันตามสัญญาจ้างเหมาบรกิ าร ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๑ กองทนุ ฯ มีภาระผูกพนั ตามสญั ญาจา้ งเหมาบริการ จัดตกแตง่ อาคารส�ำนักงานจา้ งเหมาพัฒนาระบบสารสนเทศ และจา้ งเหมาบริการอื่นๆ ๑๔.๓ ภาระผกู พันตามสญั ญาจัดซื้อจัดจา้ งพสั ดุและบริการอืน่ ๆ ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๑ กองทนุ ฯ มีภาระผกู พนั ที่ต้องจา่ ยตามส�ำหรับสญั ญา จัดซื้อจัดจ้างพัสดุและบรกิ ารอนื่ ๆ ๑๔.๔ ภาระผูกพันตามสญั ญาใหท้ นุ สนับสนุนการด�ำเนินโครงการ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๑ กองทนุ ฯ มีภาระผูกพนั ทตี่ ้องจา่ ยตามสญั ญาให้ทุน สนับสนุนการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ (Granting) จ�ำนวน ๒๑๔ สัญญา ๘๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
หมายเหตุ ๑๕ รายไดจ้ ากการอุดหนุนอนื่ และบริจาค (หนว่ ย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ รายได้จากการอดุ หนนุ และ บรจิ าคเพ่ือการด�ำเนินงานอ่ืน ๗๓๑,๒๘๙,๘๙๕.๖๐ ๑๑๓,๓๑๘,๑๓๓.๑๓ รายไดจ้ ากการบริจาค ๓๐,๙๐๐.๐๐ ๕๗,๘๐๐.๐๐ รวมรายได้จากการอดุ หนุนอน่ื และบริจาค ๗๓๑,๓๒๐,๗๙๕.๖๐ ๑๑๓,๓๗๕,๙๓๓.๑๓ ๑๕.๑ รายไดจ้ ากการอุดหนุนอ่ืนและบรจิ าคเพื่อการด�ำเนนิ งานอนื่ จ�ำนวน ๗๓๑,๒๘๙,๘๙๕.๖๐ บาท เป็นรายได้ท่ีกองทุนฯ ได้รับจากกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม เพ่ือประโยชนส์ าธารณะ(กทปส.) เพ่ือสนบั สนุนการด�ำเนินงานของกองทุนฯ ประกอบด้วย ๑๕.๑.๑ ตามหนังสือส�ำนกั งาน กสทช.ท่ี สทช ๑๐๐๔/๓๓๗๓๐ ลงวันท่ี ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ จ�ำนวน ๔๘,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ๑๕.๑.๒ ตามหนงั สอื ส�ำนกั งาน กสทช.ที่ สทช ๒๑๐๔/๑๑๒๑๘ ลงวนั ท่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๕๓๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ๑๕.๑.๓ ตามหนงั สอื ส�ำนกั งาน กสทช.ท่ี สทช ๒๑๐๔/๑๓๕๘๖.๓๔ ลงวนั ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๘๒,๖๔๕,๔๐๐.๐๐ บาท ๑๕.๑.๔ ตามหนงั สอื ส�ำนกั งาน กสทช.ท่ี สทช ๒๑๐๔/๒๒๒๕๓.๓๔ ลงวนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ จ�ำนวน ๗๐,๖๔๔,๔๙๕.๖๐ บาท ๑๕.๒ รายไดจ้ ากการบรจิ าค จ�ำนวน ๓๐,๙๐๐.๐๐ บาท เปน็ เงนิ รายไดท้ กี่ องทนุ ฯ ไดร้ บั จากบคุ คลท่ัวไป ใหก้ ารสนับสนุนการด�ำเนินงานของกองทนุ ฯ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๘๗
หมายเหตุ ๑๖ รายไดอ้ ื่น (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ รายได้ดอกเบี้ยเงนิ ฝากจากสถาบันการเงิน ๑,๓๒๐,๗๒๕.๔๖ ๕๓๐,๐๐๙.๙๕ รายไดอ้ ืน่ ๖,๓๔๙,๓๙๐.๐๓ ๖๖๑,๖๗๙.๔๑ รวมรายได้อน่ื ๗,๖๗๐,๑๑๕.๔๙ ๑,๑๙๑,๖๘๙.๓๖ รายไดอ้ น่ื จ�ำนวน ๖,๓๔๙,๓๙๐.๐๓ บาท ประกอบดว้ ยเงนิ รบั คนื โครงการ จ�ำนวน ๖,๑๑๕,๖๕๔.๗๖ บาท รายไดค้ า่ ปรบั สง่ งานลา่ ชา้ จ�ำนวน ๗๒,๔๔๐.๐๐ บาท รายไดค้ า่ ธรรมเนยี มการสมคั รสอบ จ�ำนวน ๔๔,๕๐๐.๐๐ บาท และรายได้อืน่ ๆ จ�ำนวน ๑๑๖,๗๙๕.๒๗ บาท หมายเหตุ ๑๗ คา่ ใช้จา่ ยบุคลากร ๒๕๖๒ (หนว่ ย : บาท) ๒๔,๒๑๗,๔๖๙.๑๕ ๒๕๖๑ ๑๔,๑๖๐,๐๓๗.๘๓ เงินเดอื น ๔๘๐,๐๐๐.๐๐ ๔๘๐,๐๐๐.๐๐ ค่าตอบแทนพเิ ศษ ๑๙๘,๐๐๘.๒๒ ๑๐๙,๒๒๔.๖๑ คา่ ล่วงเวลา ๖๖๘,๒๐๑.๓๙ ๓๙๕,๘๕๔.๘๐ เงินสมทบกองทนุ ส�ำรองเลยี้ งชพี ๓๘๘,๘๔๔.๐๐ ๑๘๒,๗๙๒.๐๐ เงนิ สมทบกองทนุ ประกนั สังคม ๓๔๐,๒๕๒.๖๒ ๒๐๘,๕๖๔.๐๔ คา่ เบยี้ ประกันสุขภาพ ๑๔๗,๐๖๕.๐๐ ๑๔๘,๙๐๐.๐๐ คา่ ใช้จ่ายบคุ ลากรอนื่ ๒๖,๔๓๙,๘๔๐.๓๘ ๑๕,๖๘๕,๓๗๓.๒๘ รวมคา่ ใช้จ่ายบคุ ลากร ๘๘ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์
หมายเหตุ ๑๘ ค่าตอบแทน (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ คา่ ตอบแทนการปฏบิ ัตงิ าน ๖๖๓,๐๐๐.๐๐ ๒๔๗,๙๐๐.๐๐ รวมค่าตอบแทน ๖๖๓,๐๐๐.๐๐ ๒๔๗,๙๐๐.๐๐ หมายเหตุ ๑๙ คา่ ใชส้ อย (หนว่ ย : บาท) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ค่าใชจ้ ่ายฝกึ อบรม ๕๙๘,๔๒๐.๐๐ ๙๓,๗๕๙.๐๐ ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง ๑,๓๒๑,๖๗๒.๕๒ ๑๖๕,๓๙๗.๐๐ ค่าซอ่ มแซมและบ�ำรงุ รักษา ๙๔,๒๖๑.๖๕ ๓๙๘,๕๐๕.๔๕ คา่ จ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก ๓,๔๓๖,๐๔๔.๕๖ ๒,๔๑๗,๓๗๐.๐๕ คา่ ธรรมเนียม ๗,๐๑๘.๐๐ ๓๔,๖๖๕.๐๐ คา่ จา้ งท่ีปรึกษา - ๑๕๐,๐๐๐.๐๐ คา่ ใชจ้ า่ ยในการประชมุ ๔,๑๓๙,๓๘๓.๖๐ ๓,๐๙๐,๓๓๕.๒๗ ค่าเชา่ ๕,๐๘๔,๐๓๘.๐๐ ๕,๐๙๑,๒๒๒.๗๓ ค่าวิจยั และพัฒนา - ๒๐๐,๐๐๐.๐๐ ค่าครุภัณฑ์มูลคา่ ต�่ำกวา่ เกณฑ์ ๖๑,๘๗๖.๘๐ ๖๒๒,๙๐๔.๑๓ คา่ ประชาสัมพนั ธ์ ๓๓๑,๓๕๗.๕๘ ๗๔๔,๖๓๘.๕๒ ค่าใช้สอยอืน่ ๓,๒๖๘,๕๙๖.๔๗ ๓๒๖,๖๙๑.๔๕ ๑๓,๓๓๕,๔๘๘.๖๐ รวมค่าใชส้ อย ๑๘,๓๔๒,๖๖๙.๑๘ ค่าเช่า จ�ำนวน ๕,๐๘๔,๐๓๘.๐๐ บาท ประกอบด้วย ค่าเช่าและค่าบริการพื้นที่ส�ำนักงาน จ�ำนวน ๓,๙๒๐,๕๗๔.๒๑ บาท ค่าเช่าและค่าบริการเครื่องถ่ายเอกสาร จ�ำนวน ๑,๑๖๓,๔๖๓.๗๙ บาท รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๘๙
หมายเหตุ ๒๐ ค่าสาธารณูปโภค (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ ค่าไฟฟา้ ๒๒๐,๕๗๒.๗๕ ๑๘๙,๒๔๗.๕๘ ค่าโทรศพั ท์ ๑๑๓,๐๕๐.๙๒ คา่ บรกิ ารส่ือสารและโทรคมนาคม ๔๔๙,๔๗๑.๓๓ ๖๖,๐๓๔.๕๓ คา่ บรกิ ารไปรษณีย์โทรเลขและขนส่ง ๑๐๕,๘๘๕.๐๐ ๔๙๔,๓๒๒.๒๐ ๘๘๘,๙๘๐.๐๐ ๑๑๐,๘๑๖.๐๐ รวมคา่ สาธารณูปโภค ๘๖๐,๔๒๐.๓๑ หมายเหตุ ๒๑ คา่ เสื่อมราคาและคา่ ตดั จ�ำหนา่ ย (หน่วย : บาท) ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๑๗๐,๗๗๒.๕๔ คา่ เสอื่ มราคา - สว่ นปรับปรงุ อาคาร ๓๑๕,๑๗๒.๘๙ ๑,๑๙๔,๕๖๐.๖๐ ค่าเสือ่ มราคา - ครภุ ณั ฑ์ ๑,๙๖๖,๖๔๔.๕๓ ๒๖๓,๔๙๙.๘๑ คา่ ตัดจ�ำหน่ายสนิ ทรัพย์ - ไมม่ ตี ัวตน ๓,๑๒๘,๑๑๕.๕๕ ๑,๖๒๘,๘๓๒.๙๕ รวมค่าเสือ่ มราคาและค่าตดั จ�ำหนา่ ย ๕,๔๐๙,๙๓๒.๙๗ ๙๐ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
หมายเหตุ ๒๒ คา่ ใชจ้ ่ายจากการอุดหนุนอ่ืนและบรจิ าค (หน่วย : บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๑ ค่าใช้จา่ ยจากการอุดหนนุ โครงการขอรับทุน ๒๕๗,๘๕๔,๓๓๓.๙๖ ๕๕,๙๐๒,๓๖๒.๐๐ ค่าใชจ้ า่ ยในการด�ำเนนิ โครงการ ๓๗,๕๐๑,๓๔๗.๔๓ - กองทุนฯด�ำเนนิ การ ๗๐,๓๕๒,๒๓๘.๗๙ รวมคา่ ใชจ้ า่ ยจากการอดุ หนนุ อน่ื และบรจิ าค ๓๒๘,๒๐๖,๕๗๒.๗๕ ๙๓,๔๐๓,๗๐๙.๔๓ หมายเหตุ ๒๓ เหตกุ ารณภ์ ายหลงั รอบระยะเวลารายงาน ตามมตทิ ป่ี ระชมุ คณะอนกุ รรมการบรหิ ารกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ครง้ั ท๑ี่ ๒/๒๕๖๒ เมอื่ วนั ท่ี ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ มีมติอนมุ ตั ิการสนับสนนุ โครงการหรอื กจิ กรรม จ�ำนวน ๖๘ โครงการ จ�ำนวน ๒๐๒,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทุนพฒั นาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๙๑
งผลการดำเนนิ งานทางการเงนิ งบแสดงฐานะการเงนิ ปส น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ๓๘๐.๘๗ ลา นบาท ๓๕๘.๑๒ ลานบาท ลา นบาท สนิ ทรพั ย ๕๓๒.๐๔ ลา นบาท หนีส้ ิน ๕.๘๖ ลานบาท คา ใชจ า ย รายไดส งู กวา คา ใชจ า ย ๖๐๐ ๕๐๐ สนิ ทรพั ยแ ละหนส้ี นิ ๔๐๐ ๓๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๐ ภาพที่ ๑ : งบแสดงฐานะการเงนิ จากภาพที่ ๑สนิ ทรพั ยร์ วมจ�ำนวนเงนิ ๕๓๒.๐๔ลา้ นบาท ได้รับเงินสนับสนุนประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ประกอบดว้ ย สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น จ�ำนวนเงนิ ๕๑๒.๗๘ ตามงบประมาณเตม็ จ�ำนวน ๕๓๐.๐๐ ล้านบาท และ ล้านบาท และ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน จ�ำนวนเงิน ได้มีการด�ำเนินการเบิกจ่ายเงินให้ทุนสนับสนุนกับ ๑๙.๒๖ ล้านบาท ด้านหน้ีสินรวม จ�ำนวนเงิน ๕.๘๖ ผู้รับทุนที่ผูกพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ และ ล้านบาท ประกอบด้วย หนี้สินหมุนเวียน จ�ำนวนเงิน ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ โดยสามารถด�ำเนินการเป็นไป ๕.๘๖ ล้านบาท สินทรัพย์สุทธิจ�ำนวนเงิน ๕๒๖.๑๘ ตามแผนงานใหท้ ุนประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๒ ลา้ นบาท โดยกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงนิ งบแสดงฐานะการเงนิ สำหรบั ปส น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ลา นบาท ลา นบาท สินทรพั ย ๕๓๒.๐ หนส้ี ิน ๕.๘๖ ลานบ ๘๐๐ ๗๓๘.๙๙ ลานบาท ๖๐๐ ๕๐๐ สนิ ทรพั ยแ ละหนส้ี นิ ๖๐๐ ๔๐๐ ๓๐๐ ๔๐๐ ๓๘๐.๘๗ ลา นบาท ๓๕๘.๑๒ ลา นบาท ๒๐๐ ๑๐๐ ๒๐๐ ๐ ๐ รายได คา ใชจ า ย รายไดส งู กวา คา ใชจ า ย ภาพท่ี ๒ : งบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงนิ จากภาพท่ี ๒ รายไดร้ วมจ�ำนวนเงนิ ๗๓๘.๙๙ลา้ นบาท ๒๕๖๒ เปน็ เงนิ ๔๐๕.๐๐ ลา้ นบาท แบง่ เปน็ การใหท้ นุ ประกอบดว้ ยรายไดจ้ ากการอดุ หนนุ จ�ำนวนเงนิ ๗๓๑.๒๙ แบบเปิดท่ัวไปวงเงิน ๒๐๓.๐๐ ล้านบาท และแบบ ลา้ นบาท และ รายได้อืน่ จ�ำนวนเงนิ ๗.๗๐ ลา้ นบาท เชงิ ยทุ ธศาสตรว์ งเงนิ ๒๐๒.๐๐ลา้ นบาทโดยมงี บผกู พนั ค่าใชจ้ ่ายรวม จ�ำนวนเงิน ๓๘๐.๘๗ ล้านบาท ท�ำให้ การใหท้ นุ สนบั สนนุ ฯจ�ำนวน ๒๑๔สญั ญาเปน็ จ�ำนวนเงนิ รายไดส้ งู กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ย จ�ำนวนเงนิ ๓๕๘.๑๒ ลา้ นบาท ๓๐๖.๒๓ ล้านบาท และการให้ทุนเชิงยุทธศาสตร์ โดยในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ ดา้ นรายได้ กองทนุ พฒั นา ประจ�ำปงี บประมาณ ๒๕๖๒ อยรู่ ะหวา่ งรอการประกาศ ส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ได้รับเงินสนับสนุนจาก ผไู้ ดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการ ด้านค่าใช้จ่าย กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ โทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคม ในปงี บประมาณ ๒๕๖๒ สร้างสรรค์สามารถเบิกจ่ายเงินให้ทุนสนับสนุนตาม เป็นเงินท้ังส้ิน ๕๓๐.๐๐ ล้านบาท และงบประมาณ แผนงานปีงบประมาณ ๒๕๖๒ เป็นจ�ำนวนเงินท้ังส้ิน ทผี่ กู พนั ปี ๒๕๖๑ และไดร้ บั เงนิ สนบั สนนุ ฯ ในปี ๒๕๖๒ ๓๒๘.๑๒ ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๖.๑๗ ของ วงเงินประมาณ ๒๐๑.๒๙ ล้านบาท ขณะท่ีวงเงิน รายจา่ ยรวมปีงบประมาณ ๒๕๖๒ งบประมาณการให้ทุนสนับสนุนประจ�ำปีงบประมาณ ๙๒ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
สว่ นท่ี ๕ ภาคผนวก รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พฒั นาส่อื ปลอดภยั และสร้างสรรค์ ๙๓
รายชอ่ื โครงการท่ไี ด้รบั ทนุ สนบั สนุน โครงการหรอื กิจกรรมประเภทเปดิ รับทัว่ ไป (Open Grant) ท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ จากกองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ประจำ� ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จำ� นวน ๘๑ โครงการ งบประมาณสนับสนนุ รวม ๒๐๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท โครงการหรอื กจิ กรรมท่ีเกี่ยวกบั การพัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๑ ส�ำหรบั เด็กและเยาวชน จ�ำนวน ๒๗ โครงการ งบประมาณ ๗๔,๔๗๙,๔๕๐ บาท โครงการหรอื กจิ กรรมที่เกี่ยวกบั การพฒั นาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ๒ ส�ำหรับประชาชน รวมทัง้ ผพู้ กิ ารและผู้สูงอายุ จ�ำนวน ๒๕ โครงการ งบประมาณ ๘๐,๒๐๐,๐๐๐ บาท โครงการหรอื กิจกรรมทเี่ กี่ยวกับการวจิ ัยและขับเคล่อื นสงั คม ๓ ในประเดน็ การพัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ จ�ำนวน ๕ โครงการ งบประมาณ ๑๕,๐๕๐,๐๐๐ บาท โครงการหรือกิจกรรมท่เี กย่ี วกบั การสง่ เสรมิ การรเู้ ท่าทนั และเฝ้าระวังสอ่ื จ�ำนวน ๒๔ โครงการ งบประมาณ ๓๓,๒๗๐,๕๕๐ บาท ๔ ๙๔ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๒ กองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 654
Pages: