Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2. เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม เล่มที่ 1

2. เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม เล่มที่ 1

Published by agenda.ebook, 2021-01-19 07:11:09

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม เล่มที่ 1 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 22 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564

Search

Read the Text Version

16 อันดบั ทุนหมนุ เวยี น ดา้ นที่ 1 ดา้ นท่ี 2 ด้านที่ 3 ดา้ นท่ี 4 ด้านที่ 5 ด้านท่ี 6 เฉลย่ี 2 กองทุนฟน้ื ฟแู ละพฒั นา - 3.2067 3.5729 2.8000 1.4667 1.8246 2.8523 เกษตรกร* 3 กองทนุ เพือ่ ส่งเสรมิ การ 4.2340 3.1200 1.8219 3.0167 3.4250 1.4000 2.8056 ทอ่ งเท่ยี วไทย 4 กองทนุ จัดการซากดกึ ดาบรรพ์ 4.6000 2.3380 1.6768 3.0967 2.2450 3.0000 2.7158 5 กองทนุ พฒั นาดจิ ิทัลเพอ่ื - 3.0000 2.4000 2.4567 2.2188 1.7000 2.4880 เศรษฐกจิ และสงั คม* 6 กองทุนพฒั นอสงั หาริมทรพั ย์ 1.0000 3.0000 2.3333 2.7067 1.1500 3.4000 2.4110 ของรฐั 7 เงนิ ทนุ หมุนเวยี นกรมท่าอากาศ 1.0000 3.5995 1.0000 2.8100 2.5563 4.8040 2.4054 ยาน 8 กองทุนพัฒนาเทคโนโลยเี พ่ือ 1.7380 2.8800 2.2857 2.4767 2.0150 1.6729 2.2330 การศกึ ษา คะแนนเฉลย่ี 2.9287 2.7680 2.3999 2.5704 2.2402 2.4252 2.6036 หมายเหตุ : * หมายถึง ทนุ หมุนเวียนท่ไี ม่ไดม้ กี ารประเมินผลการดาเนินงานด้านที่ 1 การเงิน แถบสีเทา หมายถงึ กรอบหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลทีท่ นุ หมุนเวียนมีคะแนนผลการประเมินต่ากวา่ ๓.๐๐๐๐ คะแนน 3.4 ผลการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานทนุ หมนุ เวยี นในแต่ละด้าน จากผลการประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวียนทั้ง ๖ ด้าน ประกอบด้วย ด้านการเงิน ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านการปฏิบัติการ ด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียน ดา้ นการปฏบิ ัติงานของคณะกรรมการบรหิ าร ผบู้ ริหารทนุ หมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้าง และด้านการดาเนินงาน ตามนโยบายรัฐ/กระทรวงการคลังโดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยจาแนกตามเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงาน ประจาปบี ัญชี 2558 – 256๒ (ตารางท่ี ๘) ตารางที่ ๘ สรุปผลการประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวยี น ประจาปีบัญชี 2558 - 2562 เกณฑก์ ารวดั ผล ปีบัญชี คะแนน 2558 2559 2560 2561 2562 เฉลยี่ ด้านการเงิน 3.9283 3.8904 3.4945 3.6426 3.5718 3.7055 ด้านการสนองประโยชนต์ อ่ ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย 4.1802 4.2290 4.3198 4.4204 4.2880 4.2875 ดา้ นการปฏิบตั กิ าร 3.8890 3.9148 3.9449 3.8339 3.9694 3.9104 3.7909 3.6568 3.3340 3.5472 3.7100 3.6078 ด้านการบรหิ ารจดั การทนุ หมุนเวยี น ด้านการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร - - - - 3.8572 3.8572 ผ้บู ริหารทนุ หมุนเวยี น พนกั งาน และลกู จ้าง ด้านการดาเนนิ งานตามนโยบายรฐั / - - - - 3.6690 3.6690 กระทรวงการคลงั 3.9010 3.8830 3.7509 3.8398 3.9083 3.8351 คะแนนเฉล่ีย

17 3.4.1 ผลการประเมนิ ผลด้านการเงนิ จากผลการประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวียน พบว่า คะแนนผลการประเมิน ด้านการเงินเฉลี่ยในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.5718 คะแนน ลดลง 0.0708 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบกับผล การประเมินในปีบัญชี 2561 ซึ่งประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนนผลการประเมินด้านการเงินเฉล่ียสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพ่ือการกู้ยืม (3.9042 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพ่ือการสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม (3.7291 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพ่ือการสนับสนุนส่งเสริม (3.5457 คะแนน) ตามลาดบั (ภาพท่ี 7) ภาพที่ 7 ผลการประเมนิ ด้านการเงิน ประจาปบี ญั ชี 2561 - 2562 จาแนกตามประเภททุนหมุนเวียน เพ่ือการสนับสนุน 5.0000ส่งเสริม 4.0000 3.5457 3.0000 เพื่อการจาหน่าย ปี 2562 เพอ่ื การกูย้ ืม 2.0000 ปี 2561 3.290แ3ละการผลติ 3.9042 1.0000 เพ่ือการบริก3า.ร1522 เพ่ือการสงเคราะห์ 3.72แ9ละ1สวสั ดกิ ารสงั คม 3.4.2 ผลการประเมนิ ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการสนองประโยชน์ ต่อผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียเฉล่ียในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 4.2880 คะแนน ลดลง 0.1324 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบ กับผลการประเมิน ในปีบัญชี 2561 ซ่ึงประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนนผลการประเมินด้านการสนอง ประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพ่ือการกู้ยืม (4.6058 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพื่อการจาหน่ายและการผลิต (4.4740 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพื่อการบริการ (4.3191 คะแนน) ตามลาดับ (ภาพที่ 8) ภาพท่ี 8 ผลการประเมินด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประจาปีบัญชี 2561 - 2562 จาแนกตามประเภท ทนุ หมุนเวียน เพือ่ การสนับสนนุ 5.0000สง่ เสรมิ 4.1376 4.0000 เพอื่ การกู้ยืม 3.0000 เพ่อื การจาหนา่ ย ปี 2562 2.0000 ปี 2561 4.6058 1.0000 4แ.4ล7ะก4า0รผลติ เพ่ือการบริการ เพื่อการสงเคราะห์ 4.3191 4.3แ0ล8ะส5วัสดกิ ารสังคม

18 3.4.3 ผลการประเมนิ ดา้ นการปฏิบัตกิ าร จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการปฏิบั ติการเฉล่ีย ในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.9694 คะแนน เพิ่มข้ึน 0.1355 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบกับผลการประเมิน ในปีบัญชี 2561 ซึ่งประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนนผลการประเมินด้านการปฏิบัติการเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพื่อการจาหน่ายและการผลิต (4.1294 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพื่อการ สงเคราะห์และสวัสดิการสังคม (4.0419 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพ่ือการสนับสนุนส่งเสริม (3.9838 คะแนน) ตามลาดบั (ภาพที่ 9) ภาพท่ี 9 ผลการประเมนิ ดา้ นปฏิบัตกิ าร ประจาปีบัญชี 2561 - 2562 จาแนกตามประเภทของทุนหมุนเวียน เพื่อการสนับสนนุ ส่งเสรมิ 5.0000 3.9838 4.0000 เพ่อื การก้ยู ืม 3.0000 เพอ่ื การจาหนา่ ย ปี 2562 2.0000 และการผลิต ปี 2561 3.8382 1.0000 4.1294 เพื่อการบริการ เพ่อื การสงเคราะห์ 3.6352 4.04แล1ะ9สวัสดิการสงั คม 3.4.4 ผลการประเมินด้านการบรหิ ารจัดการทนุ หมนุ เวียน คณะอนุกรรมการประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวียนได้เห็นชอบให้ประเมินผล การดาเนินงานทนุ หมนุ เวยี นด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียน โดยแบ่งย่อยออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการ บริหารความเส่ียงและการควบคุมภายใน ด้านการตรวจสอบภายใน และด้านการบริหารจัดการสารสนเทศ และดิจิทัล ทั้งนี้ จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียน เฉล่ียในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.7100 คะแนน ซึ่งประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนนผลการประเมิน ด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียนเฉล่ียสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพ่ือการกู้ยืม (3.9106 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพื่อการบริการ (3.7489 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพ่ือการจาหน่าย และการผลิต (3.7239 คะแนน) ตามลาดบั (ภาพท่ี 10) ภาพท่ี 10 ผลการดาเนินงานดา้ นการบรหิ ารจดั การทนุ หมุนเวยี น ประจาปีบัญชี 2562 จาแนกตามประเภททุนหมนุ เวยี น เพอ่ื การสนบั สนุน 5.0000ส่งเสริม 4.0000 3.6524 เพือ่ การกยู้ มื 3.0000 เพื่อการจาหนา่ ย ปี 2562 2.0000 และการผลติ 3.9106 1.0000 3.7239 เพอื่ การบริการ เพื่อการสงเคราะห์ 3.7489 3.6แ1ล2ะส2วัสดกิ ารสังคม

19 (ก) ผลการประเมนิ ดา้ นการบรหิ ารความเสี่ยงและการควบคมุ ภายใน จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการบริหารความเส่ียง และการควบคุมภายในเฉลี่ยในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.6475 คะแนน โดยประเภทของทุนหมุนเวียนที่มีคะแนน ผลการประเมินเฉลี่ยในประเด็นดังกล่าวสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืม (3.9732 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพ่ือการบริการ (3.7883 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพื่อการสนับสนุนส่งเสริม (3.6230 คะแนน) ตามลาดบั (ภาพที่ ๑1) ภาพที่ 11 ผลการประเมินด้านการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ประจาปีบัญชี 2562 จาแนกตามประเภท ทุนหมนุ เวยี น เพื่อการสนบั สนุน 5.0000สง่ เสริม 4.0000 3.6230 เพ่ือการกยู้ ืม 3.0000 เพื่อการจาหนา่ ย ปี 2562 2.0000 3.9732 1.0000 3.58แ9ล7ะการผลติ เพอ่ื การบริการ เพ่อื การสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม 3.7883 3.5549 (ข) ผลการประเมินด้านการตรวจสอบภายใน จากผลการประเมิน พบวา่ คะแนนผลการประเมินดา้ นการตรวจสอบภายในเฉลี่ย ในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 4.2201 คะแนน โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนผลการประเมิน เฉลี่ยด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียนในประเด็นอ่ืน ๆ ซึ่งประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนนผล การประเมนิ ดา้ นการตรวจสอบภายในเฉล่ยี สงู สดุ 3 อนั ดบั แรก คือ ทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืม (4.4786 คะแนน) ทนุ หมุนเวยี นเพื่อการบริการ (4.3167 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพื่อการสนับสนุนส่งเสริม (4.2598 คะแนน) ตามลาดบั (ภาพที่ 12) ภาพท่ี 12 ผลการประเมินดา้ นการตรวจสอบภายใน ประจาปบี ญั ชี 2562 จาแนกตามประเภททนุ หมุนเวียน เพื่อการสนับสนุน 5.0000ส่งเสร4มิ .2598 4.0000 เพื่อการกูย้ มื 3.0000 เพื่อการจาหนา่ ย ปี 2562 2.0000 4.4786 1.0000 3.9แ4ล1ะ7การผลติ เพือ่ การบริการ เพื่อการสงเคราะหแ์ ละ 4.3167 4.172ส8วสั ดิการสงั คม

20 (ค) ผลการประเมนิ ด้านการบรหิ ารจัดการสารสนเทศ จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการบริหารจัดการ สารสนเทศเฉล่ียในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.0788 คะแนน มีค่าเฉลี่ยต่าสุด เม่ือเปรียบเทียบกับคะแนนผล การประเมินเฉลี่ยด้านการบริหารจัดการทุนหมุนเวียนในประเด็นอื่น ๆ โดยประเภทของทุนหมุนเวียนที่มี คะแนนผลการประเมินเฉล่ียในประเด็นดังกล่าวสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพื่อการจาหน่าย และการผลิต (3.2771 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืม (3.2536 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพ่ือการ บริการ (3.1417 คะแนน) (ภาพท่ี ๑3) ภาพท่ี 13 ผลการประเมนิ ดา้ นการบรหิ ารจัดการสารสนเทศ ประจาปบี ญั ชี 2562 จาแนกตามประเภทของทุนหมุนเวียน เพ่ือการสนบั สนนุ สง่ เสริม 3.0474 5.0000 4.0000 เพ่อื การกู้ยมื 3.0000 เพอ่ื การจาหน่าย และการผลติ 3.2536 2.0000 3.2771 1.0000 ปี 2562 เพอื่ การบรกิ าร เพ่ือการสงเคราะห์และ สวัสดิการสังคม 3.1417 3.0676 3.4.5 ผลการประเมินดา้ นการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนกั งาน และลกู จา้ ง คณะอนุกรรมการประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวียนได้เห็นชอบให้ประเมินผล การดาเนินงานทุนหมุนเวียนด้านการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจา้ ง โดยแบง่ ยอ่ ยออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ ด้านบทบาทคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน และด้านการ บริหารทรัพยากรบุคคล ท้ังน้ี จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริหารผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้าง เฉลี่ยในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.8572 คะแนน ซึ่งประเภทของทนุ หมุนเวียน ที่มีคะแนนผลการประเมินด้านการบริหารทุนหมุนเวียนเฉลี่ย สูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืม (4.2121 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพื่อการจาหน่าย และการผลติ (4.0558 คะแนน) และทุนหมุนเวยี นเพอ่ื การสนบั สนุนสง่ เสริม (3.7784 คะแนน) (ภาพท่ี ๑4)

21 ภาพท่ี 14 ผลการประเมินด้านการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร ผู้บริหารทุนหมุนเวียน พนักงาน และลูกจ้าง ประจาปีบัญชี 2562 จาแนกตามประเภททนุ หมุนเวยี น เพื่อการกยู้ มื เพอื่ การสนับสนุน เพอ่ื การจาหน่าย ปี 2562 สง่ เสริม และการผลติ 4.2121 5.0000 3.7784 4.0558 4.0000 3.0000 2.0000 1.0000 เพ่อื การบรกิ าร เพ่ือการสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม 3.7429 3.6964 (ก) ผลการประเมนิ ดา้ นบทบาทคณะกรรมการบรหิ ารทุนหมนุ เวียน จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านบทบาทคณะกรรมการบริหาร ทุนหมุนเวียนเฉล่ียในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 4.0613 คะแนน โดยประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนน ผลการประเมินด้านบทบาทคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียน เพื่อการกู้ยืม (4.4043 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพื่อการจาหน่ายและการผลิต (4.1583 คะแนน) และทนุ หมนุ เวยี นเพอ่ื การสงเคราะห์และสวัสดกิ ารสังคม (4.0897 คะแนน) ตามลาดับ (ภาพท่ี ๑5) ภาพที่ 15 ผลการประเมินด้านบทบาทคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ประจาปีบัญชี 2562 จาแนกตามประเภท ทุนหมนุ เวียน เพอื่ การกู้ยืม เพื่อการสนบั สนุน เพอ่ื การจาหนา่ ย ปี 2562 สง่ เสรมิ และการผลติ 4.4043 5.0000 3.9979 4.1583 4.0000 3.0000 2.0000 1.0000 เพือ่ การบรกิ าร เพือ่ การสงเคราะห์ 3.8900 4.08แล9ะ7สวสั ดกิ ารสงั คม (ข) ผลการประเมินด้านการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการบริหารทรัพยากร บุคคลเฉล่ียในปีบัญชี 2562 เท่ากับ 3.5545 คะแนน โดยประเภทของทุนหมุนเวียนท่ีมีคะแนนผล การประเมินด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียนเพ่ือการกู้ยืม (3.9697 คะแนน) ทนุ หมนุ เวียนเพือ่ การจาหน่ายและการผลติ (3.8866 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพื่อการ บริการ (3.5958 คะแนน) ตามลาดบั (ภาพที่ 16)

22 ภาพที่ 16 ผลการประเมินด้านการบริหารทรัพยากรบคุ คล ประจาปบี ัญชี 2562 จาแนกตามประเภทของทุนหมนุ เวยี น เพ่ือการสนับสนนุ 5.0000สง่ เสริม 4.0000 3.5005 เพอ่ื การกูย้ มื 3.0000 เพ่อื การจาหน่าย และการผลติ 3.9697 2.0000 3.8866 1.0000 ปี 2562 เพื่อการบริการ เพอ่ื การสงเคราะหแ์ ละ สวสั ดกิ ารสงั คม 3.5958 3.2309 3.4.6 ผลการประเมินดา้ นการดาเนินงานตามนโยบายรัฐ/กระทรวงการคลงั จากผลการประเมิน พบว่า คะแนนผลการประเมินด้านการดาเนินงานตามนโยบายรัฐ/ กระทรวงการคลงั เฉล่ียในปบี ญั ชี 2562 เท่ากับ 3.6690 คะแนน ซง่ึ ประเภทของทุนหมุนเวียนที่มีคะแนนผล การประเมินด้านการดาเนินงานตามนโยบายรัฐ/กระทรวงคลัง เฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทุนหมุนเวียน เพอ่ื การบริการ (4.2360 คะแนน) ทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืม (4.1552 คะแนน) และทุนหมุนเวียนเพื่อการ จาหน่ายและการผลิต (3.8624 คะแนน) ตามลาดับ (ภาพที่ 17) ภาพท่ี 17 ผลการประเมินด้านการดาเนินงานตามนโยบายรัฐ/กระทรวงการคลัง ประจาปีบัญชี 2562 จาแนกตามประเภท ของทุนหมนุ เวียน เพ่ือการสนับสนนุ ส่งเสริม 3.5700 5.0000 4.0000 เพือ่ การกูย้ ืม 3.0000 เพื่อการจาหน่าย 2.0000 และการผลติ 4.1552 1.0000 3.8624 ปี 2562 เพอ่ื การบริการ เพ่ือการสงเคราะหแ์ ละ สวสั ดิการสงั คม 4.2360 3.3291 4. บทบาทของทนุ หมุนเวียนทม่ี ตี อ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม ทุนหมุนเวียนถือเป็นกลไกที่สาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ ความมั่นคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ซ่งึ ในปบี ัญชี 2562 ทุนหมุนเวียนมบี ทบาทสาคัญในการผลักดนั ให้เกดิ การพัฒนา และสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารของรัฐในด้านต่าง ๆ เชน่ 4.1 ปลูกฝงั ใหป้ ระชาชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมสี ่วนร่วมทางการเมอื งตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่พรรคการเมืองโดยมุ่งประโยชน์ ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เช่น โครงการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย

23 ธรรมาภิบาล และสนั ติวธิ ี และโครงการพัฒนาผ้นู าใหเ้ ป็นผนู้ าทางความคดิ และการทางานเพื่อเผยแพร่ การพัฒนา ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และสันติวิธีของกองทุนเพื่อการพัฒนาและเผยแพร่ประชาธิปไตย การให้การ สนับสนุนและสง่ เสรมิ พรรคการเมืองของกองทุนเพ่ือการพฒั นาพรรคการเมือง 4.2 สนบั สนุนและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศในการสร้าง มูลค่าเพ่ิมของสินค้าเกษตรและต่อยอดไปสู่อุตสาหกรรมชีวภาพ ตลอดจนส่งเสริมการทาเกษตรแบบย่ังยืน และลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ อาทิ โครงการพัฒนาด้านโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมฝังสมองกล และพัฒนาอุปกรณ์ของระบบสารวจทาแผนที่ภูมิประเทศท้ังระบบของเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือการชลประทาน การสนับสนุนให้เกษตรกรผลิตและใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีของ เงินทุนหมุนเวียน ในการผลิตเชื้อไรโซเบียม โครงการลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตรกรเพ่ือส่งเสริม การใชเ้ มลด็ พันธ์ดุ ีในกลมุ่ สมาชิกสหกรณ์ของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภัณฑ์สัตว์ เพอ่ื สนองตอบความต้องการของเกษตรกรของเงนิ ทนุ หมนุ เวยี นเพ่อื ผลิตวัคซนี จาหน่าย 4.3 ยกระดับขีดความสามารถด้านบริการขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศเพื่อเชื่อมโยงกับเครือข่าย โลจิสติกส์ของโลก อาทิ การเปิดใช้งานทางหลวงพิเศษหมายเลข ๗ เส้นทางกรุงเทพฯ - ชลบุรี สายใหม่ รวมถงึ ทางหลวงพิเศษหมายเลข ๖ เปน็ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองท่ีกาลังก่อสร้าง เชื่อมต่อจากกรุงเทพมหานคร ไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เส้นทางเริ่มต้นจากอาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไปส้ินสุด ท่ีจังหวัดหนองคาย ของเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและการให้บริการขนส่ง ทางอากาศ เชิงพาณิชย์ของกองทุนการท่าอากาศยานอู่ตะเภา และโครงการพัฒนาท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ ของเงินทุนหมนุ เวียนเพือ่ การบริหารท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ - กองทัพเรือ เพ่ือรองรับนโยบายรัฐบาลในการพัฒนา พื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โครงการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวก ข อ ง ท่ า อ า ก า ศ ย า น ใ น สั ง กั ด ก ร ม ท่ า อ า ก า ศ ย า น ใ ห้ เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล แ ล ะ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ของเงินทนุ หมนุ เวยี นกรมทา่ อากาศยาน 4.4 การพัฒนาธุรกิจด้านการท่องเท่ียว และการให้ความช่วยเหลือนักท่องเท่ียว อาทิ กองทุน เพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเที่ยวไทย กองทนุ คุ้มครองธรุ กิจนาเทยี่ ว 4.5 เสริมสร้างความม่ันคงด้านพลังงานของประเทศ พร้อมทั้งสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก เพ่ือลดการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศ อาทิ การรักษาเสถียรภาพของระดับ ราคาขายปลีกน้ามันเช้ือเพลิงของกองทุนน้ามันเช้ือเพลิง การส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยี ท่ีใชป้ ระกอบกิจการไฟฟูาทม่ี ผี ลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อยของกองทุนพัฒนาไฟฟูา โครงการติดตั้งระบบไฟฟูา พลังงานแสงอาทิตย์ให้แกภ่ าครัฐและเกษตรกรของกองทุนเพอื่ สง่ เสรมิ การอนุรกั ษ์พลังงาน 4.6 ส่งเสริมการสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริง ในเชิงพาณชิ ย์ ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ดังกล่าวไปสู่ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม อาทิ การพัฒนาไลโซไซม์ (Lysozyme) เพ่ือใช้ในการยับย้ังแบคทีเรียจากโปรตีนไข่ขาว ของกองทนุ เพือ่ การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4.7 เสริมสร้างองค์ความรู้และพัฒนาผู้ประกอบการไทยให้มีทักษะเพียงพอ พร้อมรับต่อการแข่งขันท่ี จะเกิดขึ้นในอนาคต อาทิ โครงการพัฒนาผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยีท่ีมีคุณภาพของ กองทุนพัฒนาผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม โครงการพัฒนาสู่สุดยอดเอสเอ็มอีจังหวัด (SME Provincial Champions) ในการก้าวสู่ Thailand 4.0 และโครงการสนับสนุนเครือข่าย SME ของกองทุนส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โครงการพัฒนาผู้ประกอบการสู่ไทยแลนด์ 4.0 ด้วยเทคโนโลยีมาตรวิทยา SM+L ของกองทนุ เพอ่ื การพัฒนาระบบมาตรวทิ ยา

24 4.8 สร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนด้วยต้นทุนที่เหมาะสมเพ่ือใช้สาหรับการดารงชีพ หรือการประกอบอาชีพ อาทิ เป็นแหล่งเงินทุนแก่นักเรียนและนักศึกษากู้ยืมเพ่ือเป็นค่าเล่าเรียน ของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เป็นแหล่งเงินทุนแก่เกษตรกรและผู้ยากจนสาหรับใช้เพื่อการประกอบอาชีพ ของกองทุนหมุนเวียนเพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกรและผู้ยากจน และกองทุนการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม เป็นแหล่งเงินทุนแก่ผู้รับงานไปทาที่บ้านสาหรับใช้ซื้อวัตถุดิบและอุ ปกรณ์ในการประกอบอาชีพ ของกองทุนเพื่อผู้รับงานไปทางานท่ีบ้าน เป็นแหล่งเงินทุนสาหรับแก้ไขปัญหาหนี้สินข้าราชการครู ของเงินทนุ หมนุ เวียนเพอ่ื แก้ไขปัญหาหน้สี ินข้าราชการครู 4.9 เสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางศาสนาเพื่อเป็นสถาบันหลักในการหล่อหลอมคนไทย ให้มีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนสามารถนาหลักธรรมคาสอนมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต อาทิ โครงการสง่ เสริมพระสงฆแ์ ละพทุ ธศาสนิกชนไปประกอบศาสนกิจ ณ สังเวชนียสถาน 4 ตาบล ประเทศอินเดีย - เนปาล และโครงการกิจกรรมขับเคลื่อนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของกองทุนส่งเสริมการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา การให้การดูแลและอานวยความสะดวกให้แก่ชาวไทยมุสลิม ในการเดินทางไปประกอบพิธีฮจั ย์ของกองทุนสาหรับผูเ้ ดนิ ทางไปประกอบพิธีฮจั ย์ 4.10 เพิ่มโอกาสและสนับสนุนการเข้าถึงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเสมอภาคและทั่วถึงรวมทั้ง ยกระดับคุณภาพของสถาบันการศึกษาเพื่อให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ โครงการ พัฒนาซอฟต์แวร์ห้องสมุดและห้องเรียนรู้สาหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางการเห็นพิการซ้อน ผ่านระบบ ให้บริการออนไลน์ โครงการจัดต้ังศูนย์ฝึกการปฏิบัติงานและฝึกอาชีพนักเรียนพิการ ผู้ปกครอง และผู้ดูแล นักเรียนพิการเพื่อการมีงานทาสู่วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดกาแพงเพชร ของกองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสาหรับคนพิการ เป็นแหล่งเงินทุนให้โรงเรียนเอกชนในระบบกู้ยืม เพ่อื ใชใ้ นการจัดการศกึ ษาของกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ โครงการพัฒนาคุณภาพอาหารนักเรียนในโรงเรียน ของกองทนุ เพอ่ื โครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศึกษา 4.11 สนับสนุนการพัฒนาส่ือการเรียนรู้เพื่อใช้เป็นแหล่งอ้างอิงหรือการเรียนรู้สาหรับอาจารย์ ครู นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนผู้ท่ีสนใจท่ัวไป อาทิ โครงการการสร้างอาณาจักรการเรียนรู้ดิจิทัลเพ่ือพัฒนา แรงงานแห่งศตวรรษที่ 21 และโครงการการพัฒนาส่ือการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง ตามแบบจาลองจินตวิศวกรรมสาหรับห้องเรียนอัจฉริยะของกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โครงการ สื่อการสอนโปรแกรมม่ิงในโรงเรียน (Coding at School Project) ของกองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 4.12 ส่งเสริมการออกกาลังกายและกีฬาข้ันพื้นฐานให้แก่ประชาชนทุกช่วงวัย พร้อมท้ังพัฒนา ทักษะของนักกีฬาและบุคลากรกีฬาให้มีความเป็นเลิศสู่การประกอบอาชีพและมีเส้นทางอาชีพที่มั่นคง อาทิ การพัฒนาท่าบริหารร่างกายสไตล์ไทย 12 ท่า ของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ โครงการพัฒนา บุคลากรกีฬาสู่ความเป็นเลิศ และการส่งเสริมนักกีฬาไทยเข้าร่วมรายการแข่งขันมหกรรมกีฬา (เอเชี่ยนเกมส์ ยูธโอลมิ ปิกเกมส์ และโอลมิ ปกิ เกมส์ฤดูหนาว) ของกองทุนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ 4.13 ส่งเสริมความเสมอภาคและลดความเหล่ือมล้าในการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขท่ีจาเป็น ของประชาชนทุกช่วงวัย รวมท้ังพัฒนาระบบคุ้มครองการรักษาพยาบาลเพ่ือเป็นหลักประกันและลดภาระทาง การเงนิ ของผูม้ รี ายไดน้ อ้ ย อาทิ การเพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถงึ ยาตา้ นไวรัสสาหรบั ผู้ติดเช้ือเอชไอวีและผู้ปุวยเอดส์ ของกองทุนหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ การเพ่ิมสิทธิประโยชน์ด้านการตรวจสุขภาพประจาปีของผู้ประกันตน สิทธิประกันสังคมของกองทุนประกนั สงั คม 4.14 อนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสนับสนุนให้ภาคประชาชน มสี ่วนร่วมในการรักษาสภาพแวดลอ้ มและพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน อาทิ โครงการสร้างเสริมพลังชุมชนเพื่อการ

25 อนุรักษ์และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพในพ้ืนที่ปุาใหญ่โคกจิก - ตาลอก อาเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม และโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะท่ีต้นทาง ของกองทุน สิ่งแวดล้อม การเผยแพร่องค์ความรู้เก่ียวกับการอนุรักษ์ ชายฝ่ังทะเล และพันธุ์สัตว์น้าต่าง ๆ ของเงินทุนหมุนเวียน สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้า จังหวัดภูเก็ต การจัดงานอุทยานธรณีโลกสตูล Satun Unesco Global Geopark Fossil Festival ครัง้ ท่ี ๖ จังหวดั สตลู ของกองทนุ จดั การซากดึกดาบรรพ์ 4.15 อนุรักษ์และทานุบารุงรักษาวัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ ตลอดจนเผยแพร่วัฒนธรรมไทยให้เป็น ที่ประจักษ์แก่สาธารณชน อาทิ การจัดการแสดงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เน่อื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ ของเงินทุนหมุนเวียน การสังคีต โครงการเยี่ยมบ้านสานสัมพันธ์ศิลปินแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม และผู้มีผลงานดีเด่น ทางวัฒนธรรม ของกองทุนสง่ เสริมงานวัฒนธรรม 5. ปัญหาอปุ สรรคการดาเนนิ งานของทนุ หมนุ เวยี น 5.1 คณะกรรมการและผู้บริหารทุนหมุนเวียนบางทุนยังไม่ตระหนักและให้ความสาคัญในการกากับ ติดตามผลการการดาเนินงานทุนหมุนเวียนสม่าเสมอ รวมทั้งไม่สามารถผลักดันให้ผลการดาเนินงาน ของทุนหมุนเวยี นเปน็ ไปตามเปูาประสงค์ทีก่ าหนดไว้ในแผนการดาเนินงานได้ 5.2 สภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยที่เปล่ียนแปลงไป ประกอบกับขาดการทบทวนบทบาท และภารกิจของทุนหมุนเวียนให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน ทาให้ทุนหมุนเวียนบางทุนประสบปัญหา ไม่สามารถดาเนินการตามแผนการดาเนนิ งานทีก่ าหนดได้ 5.3 แผนการดาเนินงานของทุนหมุนเวียนบางทุนยังขาดความสมบูรณ์ในรายละเอียด โดยเฉพาะ อย่างยิ่งขาดการกาหนดแนวทางการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบจากการดาเนินงานท่ีชัดเจน ส่งผลให้ ไมส่ ามารถประเมนิ ความคุ้มค่าและประสิทธิผลจากการดาเนินโครงการได้ 6. ขอ้ สังเกตการประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวียน ประจาปีบัญชี ๒๕๖๒ ของคณะทางานจัดทาบันทึก ขอ้ ตกลงและประเมนิ ผลการดาเนินงานทุนหมุนเวยี น 6.1 ทุนหมุนเวียนควรมีการทบทวนวิสัยทัศน์ ให้สอดคล้องกับพันธกิจและวัตถุประสงค์จัดตั้ง และให้สอดคล้องกับความต้องการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังการกาหนดยุทธศาสตร์ ทช่ี ัดเจนเพ่ือรองรบั และใหส้ ามารถบรรลุวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจและวัตถุประสงค์จัดต้ังโดยควรมีแผนการดาเนินงาน เพ่ือรองรับยุทธศาสตร์ ทั้งระยะสั้น และระยะยาว รวมทั้งการกาหนดเปูาหมายและตัวช้ีวัดท่ีสะท้อน ถงึ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของแผนการดาเนนิ งานท่ตี อบสนองตามพันธกจิ และวตั ถุประสงคจ์ ดั ตง้ั ๖.2 ทนุ หมุนเวียนประเภทสนับสนุนส่งเสริมและทุนหมุนเวียนประเภทอื่น ๆ ท่ีมีวัตถุประสงค์จัดตั้ง หรือพันธกิจในลักษณะดังกล่าวและมีตัวช้ีวัดการติดตามประเมินผลโครงการที่ให้การสนับสนุนส่งเสริมการ ประเมินผลส้ินปีบญั ชีของกรมบญั ชีกลางและที่ปรึกษานอกจากจะใช้วธิ ีการสอบทานผลประเมินของตัวช้ีวัดด้วย วิธีการต่าง ๆ เช่นการสอบทานผ่านรายงานของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลโครงการของทุน หมุนเวียน การสอบทานผ่านรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน การสอบทานจากรายงาน ผู้ตรวจสอบภายใน เปน็ ต้น แล้วนั้นควรมีแนวทางในการสอบทานผลประเมินของตัวชี้วัดเพ่ิมเติมด้วย เช่น วิธีสุ่ม ตรวจสอบโดยตรงกับผู้ท่ีได้รับการสนับสนุนส่งเสริมเพ่ือให้มั่นใจได้ว่าผลลัพธ์หรือผลผลิตที่ได้เป็นไปตามท่ีได้ กาหนดไวต้ ามวัตถปุ ระสงค์ในการขอรบั การสนับสนนุ สง่ เสริม ๖.3 ทุนหมุนเวียนท่ีมีโครงสร้างคณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนท่ีมีจานวนคณะกรรมการฯ มากเกินไปซ่ึงส่งผลต่อความไม่คล่องตัวในการดาเนินงานควรทบทวนจานวนและคุณลักษณะเพื่อให้โครงสร้าง คณะกรรมการฯ มคี วามสอดคล้องกับพันธกจิ และวัตถปุ ระสงคจ์ ัดต้ังของทุนหมุนเวยี น

26 ๖.4 ทุนหมุนเวียนที่มีวัตถุประสงค์เดียวกันหรือสามารถดาเนินการร่วมกันได้กรมบัญชีกลางควร ทบทวนให้มีการควบรวมหรือยุบเลิกทุนหมุนเวียน โดยเฉพาะทุนหมุนเวียนท่ีอยู่ในกลุ่มเกี่ยวกับด้านการเกษตร เพ่ือใหก้ ารดาเนินการมีประสิทธิภาพและยกระดับคุณภาพชวี ิตเกษตรกรได้อย่างครบถ้วนและชัดเจน ๖.5 ทุนหมนุ เวยี นควรเริ่มนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ในการดาเนินงาน เช่น การสารวจต่าง ๆ สามารถ ใช้ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ช่องทางออนไลน์ ทดแทนการสารวจด้วยการกรอกแบบสารวจเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว ลดต้นทุนและมรี ะบบฐานข้อมูลที่เปน็ ระบบ เป็นต้น ๖.6 ทุนหมุนเวียนควรแสดงความเชื่อมโยงระหว่างประสิทธิผลของกระบวนการบริหารพัฒนา ทุนหมุนเวียนกับผลลพั ธ์ในการดาเนนิ งานของตวั ช้ีวัดดา้ นต่าง ๆ ใหช้ ดั เจนมากข้นึ ๖.7 ทุนหมุนเวียนควรมีการเทียบเคียง/เปรียบเทียบ (Benchmark) ผลการดาเนินงาน กบั หนว่ ยงานอน่ื หรอื การเทียบเคียงระหวา่ งหน่วยงาน 7. การประเมินผลการดาเนนิ งานทุนหมนุ เวียนท่ีมกี ฎหมายเฉพาะบัญญตั ใิ ห้มกี ารประเมนิ ผลการดาเนินงาน ทุนหมุนเวียนท่ีมีกฎหมายเฉพาะเก่ียวกับการประเมินผลและจัดให้มีการประเมินผลการดาเนินงาน จานวน 9 ทุน ได้แก่ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนเพื่อการพัฒนาและเผยแพร่ประชาธิปไตย กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ กองทุนพัฒนาไฟฟูา กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ กองทุน เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ กองทุนเพื่อความเสมอภาค ทางการศึกษา และกองทุนเพ่ือการพัฒนาพรรคการเมือง โดยในปีบัญชี 256๒ ได้จัดส่งรายงานสรุปผล การดาเนนิ งานให้กรมบญั ชกี ลาง จานวน 9 ทุน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 7.1 กองทนุ พัฒนาไฟฟา้ ผลการประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟูา รอบ 12 เดือน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยภาพรวมอยทู่ รี่ ะดับ “4.3243” คะแนน โดยสามารถสรปุ ผลการดาเนินงานได้ดงั ตารางที่ 9 ตารางที่ 9 ผลการประเมินผลการดาเนินงานของกองทนุ พฒั นาไฟฟูา ประจาปงี บประมาณ 256๒ เกณฑว์ ัด ดา้ นที่ 1 ดา้ นท่ี 2 ด้านที่ 3 ดา้ นท่ี 4 ดา้ นท่ี 5 ด้านท่ี 6 คะแนน ทนุ หมนุ เวียน การเงนิ การสนอง การ ประโยชน์ การบริหาร การ การ ตอ่ ผมู้ ีสว่ นได้ ปฏบิ ตั ิการ ส่วนเสยี พัฒนา ปฏบิ ัติงาน ดาเนินงาน ทุนหมุนเวียน ของ ตาม คณะกรรมการ นโยบายรัฐ/ บริหาร กระทรวง ผู้บริหาร การคลงั ทุนหมนุ เวียน พนกั งาน และลกู จา้ ง กองทนุ - 4.1996 4.3063 4.4500 4.3904 4.3910 4.3243 พัฒนาไฟฟา้ หมายเหตุ : คณะอนุกรรมการประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนพัฒนาไฟฟูาไม่มีข้อสังเกตเก่ียวกับ ผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

27 7.2 กองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดองค์กร ณ สิ้นปีงบประมาณ 2562 กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ มีค่าคะแนนรวมเฉล่ียถ่วงน้าหนัก 4.5400 คะแนน (คะแนนเต็ม 5.0000 คะแนน) ซ่ึงผลการ ดาเนนิ งานในแต่ละด้านของปีงบประมาณ 2562 รายละเอยี ดดังตารางท่ี ๑0 ตารางที่ 10 ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง ก อ ง ทุ น ส นั บ ส นุ น ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ( ส ส ส . ) ประจาปงี บประมาณ 2562 ตัวช้วี ัด น้าหนกั คะแนน (รอ้ ยละ) 1. ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนินการตามเปาู ประสงค์ ดา้ น - ตัวชว้ี ดั หลัก ร้อยละ 25 35 ผลสัมฤทธิ์ - ตวั ชว้ี ดั บูรณาการ ร้อยละ 10 ตามพันธกิจ 4.93 4.81 ดา้ นผู้มี 2. ระดับความสาเร็จของการตอบสนองตอ่ ภาคการเมือง 4 5.00 ส่วนได้ และนโยบาย 4 3.62 สว่ นเสยี 3. ระดบั การรบั รแู้ ละการยอมรับภาพลักษณ์ สสส. 4. ระดับความสาเรจ็ ในการพัฒนาศกั ยภาพของภาคี 4 2.74 ดา้ นการเงิน 5. ร้อยละของการอนุมตั งิ บประมาณ 6 5.00 6. รอ้ ยละของการเบิกจา่ ยงบประมาณ 6 6.1 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณของโครงการตอ่ เนือ่ ง ร้อยละ 4 5.00 6.2 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณของโครงการใหม่ ร้อยละ 2 4.19 7. การบรหิ ารจดั การเงินทุนท่ียังไมถ่ ึงกาหนดเบิกจ่าย 3 0.00 8. การจดั สง่ รายงานการรับและการใช้จ่ายเงนิ ใหก้ รมบญั ชกี ลาง 3 5.00 ดา้ นปฏิบัตกิ าร 9. รอ้ ยละของการปิดโครงการล่าช้า 4 3.49 10. ระดบั ความสาเรจ็ ด้านการจดั การความรภู้ ายในองค์กร 5 4.15 11. ความกา้ วหนา้ การดาเนินงานไปสอู่ งคก์ ารแบบดจิ ทิ ัล 6 11.1 ร้อยละของโครงการทใ่ี ช้ระบบออนไลน์สาหรบั งานบรหิ าร 5.00 โครงการของภาคี ร้อยละ 4 11.2 ระดบั ความสาเร็จในการจดั ทาสถาปตั ยกรรมองค์การ 5.00 4 5.00 และแผนปฏิบตั ิการดิจิทลั ระยะยาว ร้อยละ 2 4 5.00 ด้านพฒั นา 12. บทบาทคณะกรรมการกองทนุ 4 5.00 ทุนหมุนเวยี น 13. การบรหิ ารความเสย่ี งและการควบคมุ ภายใน 4 4.00 4 5.00 14. การตรวจสอบภายใน 100 4.34 100 4.54 15. การบริหารจดั การสารสนเทศ 16. การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล รวม คา่ คะแนนรวมเฉลย่ี ถ่วงน้าหนัก

28 ภาพท่ี 18 คะแนนผลการดาเนินงานในภาพรวมขององคก์ ร ประจาปีงบประมาณ 2555 - 2562 5 4.9 4.8 4.82 4.78 4.7 4.72 4.71 4.64 ผลคะแนน 4.6 4.56 4.54 4.5 4.4 4.3 4.33 4.2 4.1 4 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ปงี บประมาณ หมายเหตุ : ปี 2561 ยกเว้นการประเมิน 1 ตัวชี้วัด “ร้อยละของข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ” เนื่องจากระบบข้อเสนอ โครงการออนไลน์ (e-proposal) ยงั ไมพ่ ร้อมใชง้ านสง่ ผลกระทบตอ่ ข้อเสนอโครงการ ภาพท่ี 19 คะแนนผลการประเมนิ เฉล่ียในแต่ละดา้ นของ สสส. ประจาปงี บประมาณ 2561 - 2562 5 4.90 4.90 4.73 4.72 4.60 4.80 4.74 4 3.79 4.3 4.08 คะแนน 3 2 ปี 2561 ปี 2562 1 0 หมายเหตุ : ไมร่ วมคะแนน รอ้ ยละของข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ

29 7.3 กองทนุ บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ คณะกรรมการกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.) ได้มีมติเห็นชอบแผนการดาเนินงาน ของทุนหมุนเวียน ประจาปีบัญชี 2562 รวมท้ังเห็นชอบตัวช้ีวัดองค์กร ประจาปีบัญชี 2562 ซึ่ง กบข. ได้ดาเนินการตามแผนการดาเนินงานและนาเสนอผลการดาเนินงานดังกล่าวต่อคณะกรรมการ กบข. ในคราว การประชมุ ครง้ั ที่ 1/2563 เมอ่ื วนั ที่ 17 มกราคม 2563 โดยมรี ายละเอียดดงั ตารางท่ี ๑1 ตารางที่ ๑1 ผลการประเมินผลการดาเนินงานของกองทนุ บาเหน็จบานาญข้าราชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ตัวชวี้ ดั (KPI) นา้ หนกั ค่าเกณฑว์ ัดทร่ี ะดับ 5 ผลการดาเนนิ งาน คะแนนท่ีได้ 5 ด้านสมาชิก (10 ตวั ชี้วดั ) 5 1. ผลสาเร็จของการดาเนินงานพลิกโฉมโครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นเทคโนโลยี (Digital Transformation) 5 1.1 ความสาเรจ็ 5 พัฒนา My GPF พัฒนา My GPF ในการดาเนินงาน End-to- Mobile Application Mobile Application End Service on Mobile เสร็จสมบรู ณ์ (Go Live) เสรจ็ สมบรู ณ์ (Go Live) Platform สามารถเปดิ ใช้ได้ ครบ 11 Modules ตามแผนงานทก่ี าหนด 1.2 ความสาเร็จ 5 พฒั นาระบบ พฒั นาระบบ ในการใหบ้ รกิ ารเครื่องมอื Pension Dashboard Pension Dashboard วางแผนการเงนิ เพ่อื การ เสรจ็ สมบรู ณ์ (Go Live) เสรจ็ สมบรู ณ์ (Go Live) เกษียณเป็นรายบคุ คล โดยสามารถใหบ้ รกิ าร (Personalized Pension เครอื่ งมือวางแผนการเงนิ Dashboard) เพอ่ื การเกษยี ณเปน็ รายบคุ คล แกส่ มาชกิ GPF Mobile Application และ My GPF Web รวมถงึ สมาชกิ สามารถทา ธรุ กรรมออมเพิ่มและ เปล่ยี นแผนการลงทนุ ได้ 1.3 ความสาเรจ็ ในการ ใช้ 5 เริ่มเสนอบรกิ าร สิทธิประโยชน์ สามารถนาข้อมูล Data Analytics หรือการให้ความรู้ดา้ นการออม และเชอ่ื มขอ้ มลู สมาชิก เพ่ือการวิเคราะห์ แก่ สมาชกิ ตามลักษณะ/ (Big Data) พร้อมนา และใหบ้ ริการสมาชกิ พฤตกิ รรม ขอ้ มลู มา (1) วเิ คราะห์ ความเพียงพอทางการเงนิ ของสมาชกิ เพือ่ จัดกลมุ่ สมาชกิ และ (2) วิเคราะห์ จัดกลุ่มสมาชกิ โดยใช้ Cluster Analytics Model เพือ่ เสนอบรกิ าร สิทธปิ ระโยชน์และความรู้ ดา้ นการออมใหส้ มาชิก ตามลกั ษณะ/พฤตกิ รรม ของสมาชกิ ใน 3 หวั ข้อ ไดแ้ ก่ e – Statement สวสั ดกิ าร และบรกิ าร

ตัวชี้วัด (KPI) น้าหนกั คา่ เกณฑว์ ัดท่รี ะดับ 5 ผลการดาเนนิ งาน 30 5 ใช้บริการ (Chat Bot) 1.4 ความสาเร็จในการพฒั นา (Go Live) ข้อมลู ทางการเงนิ คะแนนท่ไี ด้ ระบบตอบข้อมลู สมาชิกแบบ (Financial Assistant 5 อตั โนมตั ิ 5 ให้บรกิ ารขอ้ มลู ทางการเงนิ ทั้ง Service) (Chat Bot) In - bound และ Out bound 5 โดยมเี จา้ หนา้ ท่มี ีใบอนญุ าต ใชบ้ ริการ (Chat Bot) 1.5 ความสาเรจ็ ในการ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ราย (Go Live) ในเดอื น 5 ให้บริการข้อมลู ทางการเงิน ธันวาคม 2562 โดย (Financial Assistant 3 เริ่มใชร้ ะบบ Digital สามารถตอบข้อมูล Service) Memo / Digital ท้ังแบบเลือกเมนู Approval / Digital และปลายเปดิ 1.6 ความสาเร็จ Signature / Digital เพ่อื ใหบ้ ริการสมาชิก ใน ของการพัฒนาองค์กร Conference / Km 4 หมวด ไดแ้ ก่ สูก่ ารเป็นองค์กรดิจิทลั (1)สทิ ธิประโยชนส์ มาชกิ (Digital Organization) (2) บรกิ ารสมาชกิ (3) สวสั ดกิ ารสมาชกิ และ (4) ขอ้ มลู ทางการเงนิ เปิดตวั ศูนยข์ ้อมูลการเงิน อย่างเป็นทางการตงั้ แต่ 23 พฤษภาคม 2562 ให้บรกิ ารขอ้ มลู ทาง การเงินทง้ั (1) In – bound ผา่ นทาง โทรศัพท์/ การสนทนาแบบเหน็ หน้า (Live Chat) /อเี มลล์ [email protected] และ Out bound ผ่าน Facebook GPF Community วารสาร GPF Bulletin YouTube Channel รวมถึงบทความบน เวปไซตโ์ พสต์ทเู ดย์ โดย ขณะนมี้ เี จา้ หน้า ทม่ี ใี บอนญุ าตจานวน 9 ราย เรม่ิ ใช้ระบบ Memo / Digital Approval / Digital Signature / Digital Conference / Km พร้อมจัดหลักสตู รอบรม ให้พนกั งานเขา้ ใชง้ าน ต้ังแต่เดือนตลุ าคม ท่ผี า่ นมา

ตัวช้ีวัด (KPI) นา้ หนกั ค่าเกณฑว์ ดั ท่รี ะดับ 5 ผลการดาเนินงาน 31 2. ความสาเรจ็ ในการจัดทา 5 นาเสนอดชั นคี วามมนั่ คงฯ นาเสนอดัชนีความมน่ั คงฯ คะแนนทไี่ ด้ ดัชนีความมั่นคงทางการเพื่อ แก่หนว่ ยงานนโยบาย ตอ่ สานกั งานเศรษฐกิจ 5 การเกษยี ณ การคลัง (Retirment Readiness Index) 3. ความสาเรจ็ ในการจัด 5 12 สวสั ดกิ าร สามารถจดั สวัสดิการใหม/่ 5 สวัสดกิ ารใหม่ หรอื ปรับปรุง และใหบ้ ริการ ปรับปรุงสวสั ดกิ ารเดิม 5 5 สวสั ดกิ ารเดิม Happy Retiree 1 สวัสดกิ าร ใหด้ ีขน้ึ ได้ 23 สวสั ดกิ าร 5 5 ให้ดขี น้ึ รวมถงึ ให้บรกิ าร 5 สวัสดิการในกลมุ่ Happy Retiree จานวน 1 สวสั ดิการ ได้แกส่ ิทธิ พเิ ศษโครงการสนิ เชอ่ื ท่ีอยู่ อาศยั สาหรับผสู้ ูงอายุ (Reverse Mortgage) รว่ มกบั ธนาคารออมสนิ 4. ผลสาเรจ็ ในการบริการสมาชิก และความมสี ่วนร่วมของ GPF Community 4.1 จานวนผใู้ ช้งานท่ีเขา้ ร่วม 4 + 100% มจี านวนผู้ใชง้ านทีเ่ ข้าร่วม ของ GPF Community ท่เี พ่มิ ขนึ้ ของ GPF Community จาก 31 ต.ค. 2561 527,063 บญั ชีผ้ใู ช้ เพ่ิมขน้ึ + 227% 4.2 จานวนการใชง้ าน 4 + 100% มจี านวนการใช้งาน สวสั ดิการรวม ท่เี พิ่มขึ้นจาก สวสั ดิการรวม ยอดรวมปี 2561 484,297 สทิ ธิ เพม่ิ ข้ึน + 545% 4.3 จานวนผใู้ ชง้ านท่ีมสี ว่ น 4 + 100% มจี านวนผูใ้ ช้งานท่มี สี ว่ น ร่วมใน Facebook รว่ มใน Facebook ทเ่ี พ่ิมขึ้นจากยอดรวม เพ่มิ ขน้ึ + 201% ปี 2561 4.4 จานวนการใช้ 3 + 50% จานวนจานวนการใช้ My GPF Mobile My GPF Mobile Application (Hit Rate) ที่ Application (Hit Rate) เพ่ิมข้ึนจากยอดรวมปี 2561 13,952,534 ครง้ั เพ่มิ ข้ึน + 356% 5. รอ้ ยละความพึงพอใจของ 5 + 75% 87.70% สมาชกิ ต่อการเปลย่ี นแปลง บรกิ ารของ กบข. (Member Satisfaction Score) ณ ส้ินปี 2561

ตวั ชี้วดั (KPI) น้าหนกั ค่าเกณฑ์วดั ท่ีระดบั 5 ผลการดาเนินงาน 32 36 ด้านลงทนุ (4 ตัวชวี้ ดั ) 14 ≥BM + 0.68 ≥BM + 0.64 คะแนนทไ่ี ด้ 4.88 6. ผลสาเร็จของการ 1 ≥BM + 0.82 ≥BM + 0.78 4.91 ดาเนนิ งานด้านลงทุน 5 15 ผลตอบแทนการลงทนุ ผลตอบแทนการลงทุน 5 6.1 อตั ราผลตอบแทนการ ระยะยาวเทยี บกับอตั รา ระยะยาวเทียบกับอัตรา ลงทนุ ของแผนหลักทเ่ี ทยี บ 5 เงนิ เฟอู เฉล่ีย 10 ปี (CPI) + เงินเฟูอเฉลี่ย 10 ปี (CPI) 5 กบั ตวั เทยี บวัด 2.3 % + 3.58 % 5 (Benchmark : BM) ผลการทบทวนการจดั สรรเงิน เสนอผลการทบทวน 4.9800 ลงทุนระยะยาว การจัดสรรเงนิ ลงทนุ 6.2 คา่ เฉลย่ี (LT-SAA)/ ได้รับอนมุ ัติจาก ระยะยาว (LT-SAA)/ ของผลตอบแทน คณะอนุกรรมการจดั การลงทนุ ไดร้ บั อนุมตั ิจาก ที่เหนือกวา่ ตัวเทยี บวดั ของ ภายในปี 2562 และปรับปรุง คณะอนกุ รรมการ เมอ่ื กอง MIC การวางกลยทุ ธ์สนิ ทรพั ย์ เดือนตุลาคม พรอ้ ม แตล่ ะกอง ต่างประเทศ (GTAA) ปรับปรงุ การวางกลยุทธ์ แลว้ เสร็จ สินทรพั ยต์ ่างประเทศ 6.3 ผลตอบแทน (GTAA) แล้วเสร็จ การลงทนุ ระยะยาวเทียบกับ เดือนกรกฎาคม อัตราเงินเฟูอเฉลี่ย 10 ปี (CPI) + 2.05 % ผลการประเมินอย่ใู น เกณฑด์ ีมาก (Very 6.4 ความสาเร็จของการ Good) ที่รอ้ ยล่ะ 94.38 ทบทวนการจดั สรรเงนิ ลงทนุ ระยะยาว (Loving-term 100% ของ Successor Strategic Asset ไดร้ ับการพฒั นาตามแผน Allocation : LT-SAA) และ ท่กี าหนด Global Tactical Asset Allocation (GTAA) ด้านบรหิ ารองคก์ ร (2 ตัวชว้ี ัด) 7. ผลสาเร็จของการดาเนินงานดา้ นบริหารองค์กร 7.1 ความสาเร็จของแผนการ 4 ผลการประเมนิ อยใู่ นเกณฑ์ดี ประเมนิ คณุ ธรรมและความ (Good) โปรง่ ใสในการงานของ หน่วยงานภาครฐั (ITA) 7.2 ความสาเรจ็ ของแผนการ 3 100% ของ Successor ไดร้ บั สร้างผสู้ บื ทอดตาแหนง่ การพัฒนาตามแผนที่กาหนด ผูบ้ รหิ ารเพ่อื ความต่อเนื่อง ในการดาเนนิ ธุรกจิ รวมคะแนน (เตม็ 5)

33 7.4 กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์ สาธารณะ (กทปส.) ในปีบัญชี 2562 กทปส. ไดก้ าหนดกรอบหลักเกณฑป์ ระเมินผลการดาเนนิ งานทนุ หมุนเวียน รวมทั้ง ติดตามประเมินผลตามกรอบหลกั เกณฑด์ ังกล่าว โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 7.4.1 การประเมินผลด้านประสทิ ธภิ าพ พิจารณาจากการจัดสรรเงินเพื่อสนับสนุนการดาเนินโครงการตามมาตรา 52 ให้เป็นไป ตามแผนการดาเนินงานท่ีกาหนด โดยในปีบัญชี 2562 มีผู้ที่ได้รับการพิจารณาสนับสนุนเงิน จานวน 24 โครงการ เป็นยอดวงเงินจัดสรร รวมทั้งสิ้นจานวน 142.998 ล้านบาท จากวงเงินคาขอรับการส่งเสริมและสนับสนุน จานวน 270.008 ล้านบาท โดยสามารถพิจารณาปรับลดงบประมาณได้ จานวน 127.010 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 47.04 ซ่ึงโครงการที่ผ่านความเห็นชอบจาก กทปส. เช่น โครงการผลิตและพัฒนาบุคลากร ด้านโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือเตรียความพร้อมสู่ยุคดิจิทัล โครงการวิจัยพัฒนาและจัดตั้งศูนย์ประสานงานรักษา ความมนั่ คงปลอดภยั ระบบคอมพวิ เตอรส์ าหรบั กิจการโทรคมนาคมแหง่ ประเทศไทย 7.4.2 การประเมินผลด้านประสิทธผิ ล - ผลการดาเนินงานของกองทุนฯ ในปี 2562 กองทุนฯ มีรายได้จานวน 4,864.06 ล้าน บาท เพม่ิ ขน้ึ จากปีท่ีผา่ นมาจานวน 151.79 ลา้ นบาท ค่าใช้จา่ ยจานวน 3,012.71 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจานวน 360.14 ล้านบาท ฐานะการเงินของกองทุนฯ ในปี 2562 กองทุนมีสินทรัพย์ 66,286.75 ล้านบาทลดลง จากปีท่ีผ่านมาจานวน 2,794.49 ล้านบาท หนี้สินรวมจานวน 60,906.12 ล้านบาท ลดลงจากปีที่ผ่านมา จานวน 4,986.36 ล้านบาท Current Ratio เป็น 40.67 เทา่ เพิ่มขน้ึ จากปที ี่ผา่ นมา 23.05 เทา่ และดีกว่า เกณฑ์ท่ัวไปท่ีไม่ควรต่ากว่า 1.5 เท่า และ Debt Ratio เป็น 0.92 เท่า ลดลงจากปีที่ผ่านมา 0.03 เท่า และดีกว่าเกณฑท์ ว่ั ไปที่ไม่ควรต่ากว่า 1.5 เท่า - พิจารณาจากจานวนโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก กทปส. และโครงการท่ีได้รับการ ส่งเสริมและสนับสนุนเงินจาก กทปส. ก่อให้เกิดการขับเคล่ือนการพัฒนาด้านกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม รวมทั้งเป็นกลไกท่ีสาคัญในการพัฒนาประเทศไทยในหลายมิติ ได้แก่ ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ ด้านสังคม และด้านความม่ันคงปลอดภยั 7.5 กองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ในปีบัญชี 256๒ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ได้กาหนดกรอบหลักเกณฑ์ประเมินผล การดาเนินงานทุนหมุนเวียน รวมท้ังติดตามประเมินผลตามกรอบหลักเกณฑ์ดังกล่าว โดยมีรายละเอียด ดงั ตารางที่ ๑2 ตารางที่ ๑2 ผลการประเมินผลการดาเนนิ งานของกองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ตัวชวี้ ดั น้าหนกั ผลคะแนน คะแนน (ร้อยละ) ท่ีได้ ถว่ งนา้ หนัก ดา้ นที่ 1 การเงนิ 30 1.6667 1.1 ร้อยละการอนุมตั เิ งินสนบั สนนุ ทุนของกองทุน 15 1.0000 0.1500 1.2 ร้อยละการใช้จ่ายเงนิ ตามแผนการใช้จ่ายทไี่ ดร้ บั อนมุ ัติ 10 1.0000 0.1000 1.3 ระดบั ความสาเร็จของการรายงานทางการเงิน 2.5 5.0000 0.1250 1.5 ระดบั ความสาเร็จของการดาเนินการตามแผนพัฒนาระบบการจ่ายเงนิ 2.5 5.0000 0.1250 และการรบั เงนิ ของกองทุนผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ ส์

34 ด้านท่ี 2 การสนองประโยชน์ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย 25 3.7200 2.1 รอ้ ยละความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ าร 5 5.0000 0.2500 2.2 ระดบั ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานตามแผนงานสนบั สนนุ การให้ทนุ 20 3.4000 0.6800 พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ดา้ นที่ 3 การปฏบิ ตั ิการและการบริหารจดั การกองทุน 30 4.8060 3.1 ระดบั ความสาเร็จของการดาเนนิ งานตามแผนงาน 9 5.0000 0.4388 3.2 การตอบสนองตอ่ ผ้มู ีหน้าทกี่ ากบั และ/หรอื ตรวจสอบและ/หรือ 9 5.0000 0.4500 ประเมิน 3.3 การบริหารความเสยี่ งและควบคุมภายใน 3 4.6200 0.1386 3.4 การตรวจสอบภายใน 3 4.2400 0.1272 3.5 การบริหารจดั การสารสนเทศ 3 4.9000 0.1470 3.6 การบริหารทรัพยากรบคุ คล 3 4.3000 0.1290 ด้านที่ 4 บทบาทการบริหารของคณะกรรมการกองทุนฯ 15 3.9333 และอนกุ รรมการบริหารกองทนุ ฯ 4.1 บทบาทคณะกรรมการทนุ หมนุ เวยี น 10 4.3333 0.4400 4.2 การอนมุ ตั ิการสนบั สนุนโครงการกิจกรรม ของคณะอนุกรรมการบริหาร 5 3.0000 0.1500 กองทนุ ฯ ผลคะแนนภาพรวม 3.4618 หมายเหตุ : * หมายถึง ตัวชว้ี ดั ตามกรอบหลักเกณฑ์การประเมนิ ผลที่ไม่ไดก้ าหนดคา่ นา้ หนัก 7.6 กองทนุ เพื่อการพฒั นาและเผยแพร่ประชาธปิ ไตย 7.6.1 ผลการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของกองทุนเพื่อการพัฒนาและเผยแพร่ประชาธปิ ไตย ในปีบัญชี พ.ศ. 2562 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานได้ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนเพื่อการพัฒนาและเผยแพร่ประชาธิปไตย ตามกรอบตัวช้ีวัด ผลสมั ฤทธแ์ิ ละเกณฑ์การประเมินที่ได้ตกลงร่วมกับฝุายบริหารของสถาบันพระปกเกล้า ซ่ึงจากผลการประเมิน พบวา่ กองทนุ เพอื่ การพฒั นาและเผยแพร่ประชาธิปไตยมีคะแนนผลการประเมินเฉลี่ยในภาพรวม 100.00 คะแนน โดยมีรายละเอยี ดดงั ตารางที่ 13 ตารางท่ี 13 ผลการประเมินกองทุนเพ่อื การพฒั นาและเผยแพร่ประชาธิปไตย ประจาปบี ญั ชี 256๒ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ /เปา้ หมาย ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 25.00 25.00 การพัฒนาองคค์ วามรู้เพือ่ การพฒั นาประชาธปิ ไตย ธรรมาภิบาล และสนั ติวธิ ี ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1.1 จานวนครัง้ การอา้ งอิงผลงานวิจัย 45 ครง้ั /ปี 53 ครง้ั ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1.2 จานวนหนว่ ยงานที่นาผลงานวจิ ยั ไปประยกุ ต์ใช้ 30 หน่วยงาน/ปี 39 หน่วยงาน/ปี ตวั ชี้วดั ที่ 1.3 ร้อยละของผใู้ ชป้ ระโยชนจ์ ากงานวจิ ยั รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป ทม่ี คี วามพงึ พอใจในระดับมากถึงมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 100 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 20.00 การพัฒนาผู้นาให้เป็นผู้นาทางความคิดและการทางานเพ่ือเผยแพร่ 20.00 การพฒั นาประชาธปิ ไตย ธรรมาภิบาล และสันติวธิ ี ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ตวั ชี้วดั ที่ 2.1 รอ้ ยละของหลกั สูตรทผ่ี ูเ้ ขา้ รับการศึกษาอบรมมีความรูเ้ พมิ่ ข้ึน ร้อยละ 75 ขึ้นไป รอ้ ยละ 100 ตัวชี้วัดท่ี 2.2 รอ้ ยละของผูเ้ ขา้ รบั การศึกษาอบรมมีการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ร้อยละ 10 ขึ้นไป รอ้ ยละ 77.78 ตวั ชวี้ ดั ที่ 2.3 ร้อยละของผูเ้ ข้ารับการศกึ ษาอบรมทีน่ าความรู้ไปใช้ประโยชน์ รอ้ ยละ 70.53

35 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ /เป้าหมาย ตัวชี้วดั ท่ี 2.4 จานวนผไู้ ดร้ ับประโยชนจ์ ากการจดั กจิ กรรมของนกั ศกึ ษาสถาบนั มากกวา่ 4,500 15,107 คน ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 3 คน/ปี 20.00 การพฒั นาและสรา้ งความเป็นพลเมอื ง 20.00 ตัวชว้ี ดั ที่ 3.1 รอ้ ยละของโครงการอบรมท่ีผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ รอ้ ยละ 100 เก่ยี วกบั ความเปน็ พลเมืองเพิ่มขนึ้ ร้อยละ 90 ขน้ึ ไป ตวั ชี้วัดท่ี 3.2 รอ้ ยละของผ้ผู ่านการอบรมมีพฤตกิ รรม ร้อยละ 89.54 ความเปน็ พลเมืองเพิ่มข้นึ ร้อยละ 80 ขึน้ ไป ตัวชี้วดั ท่ี 3.3 ร้อยละของกลมุ่ เปูาหมายไดร้ ว่ มกนั นาเสนอ ศูนยพ์ ฒั นาการเมือง ในระดับนโยบายหรอื รว่ มกันดาเนนิ การกจิ กรรม/โครงการ ศูนยพ์ ฒั นาการเมอื ง ภาคพลเมือง ภาคพลเมอื ง และโรงเรยี น และโรงเรยี น พลเมอื ง ร้อยละ พลเมือง ร้อยละ 15 21.12 ขึ้นไป และ ขน้ึ ไป และโรงเรยี น โรงเรียน รอ้ ยละ 60 ข้ึนไป ร้อยละ 66.66 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 10.00 10.00 การสง่ เสริมงานวิชาการของรฐั สภา ตัวชี้วดั ท่ี 4.1 จานวนรายงานการศกึ ษาวิเคราะหร์ ่างกฎหมายทดี่ าเนินการ จานวน 9 เรอ่ื ง จานวน 9 เร่อื ง แล้วเสร็จ ตัวชีว้ ัดที่ 4.2 จานวนรายงานการศกึ ษาวิเคราะหร์ า่ งกฎหมายที่มีการอ้างองิ จานวน 3 เรือ่ ง จานวน 9 เรอื่ ง ในกระบวนการพิจารณาของฝาุ ยนิติบัญญตั ิ ตวั ช้วี ดั ท่ี 4.3 ร้อยละของผู้ช่วยและผู้ปฏบิ ัตงิ าน/ผเู้ ช่ียวชาญและผู้ชานาญการ รอ้ ยละ 75 ข้นึ ไป นาไปประเมนิ ผล ใน ประจาตัวสมาชิกรัฐสภาทเ่ี ข้ารับการอบรมมคี วามรเู้ พิม่ ขน้ึ ปี 2563 ตวั ชวี้ ัดที่ 4.4 รอ้ ยละความพึงพอใจของสมาชกิ รฐั สภาที่เข้ารว่ มกจิ กรรม ร้อยละ 80 ขึ้นไป ร้อยละ 100 เตรียมความพรอ้ มสาหรับปฏิบัติหนา้ ที่ มีความพึงพอใจในระดบั มากข้ึนไป ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 15.00 15.00 การส่งเสริมและพัฒนาพิพิธภัณฑพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพระปกเกลา้ ศกึ ษา เพม่ิ ขึ้น 3 ดา้ น/ปี 3 ด้าน/ปี ตัวชี้วัดท่ี 5.1 จานวนด้านขององค์ความรู้เก่ียวกับพระปกเกล้าศึกษา ที่เพม่ิ ข้นึ 28,000 คน 32,313 คน/ปี ตวั ชวี้ ดั ท่ี 5.2 จานวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์แบบเข้าชมเอง (Walk-in) และเข้า ขึ้นไป/ปี ชมเปน็ หม่คู ณะ 9,000 คน 102,497 คน/ปี ตัวชี้วดั ท่ี 5.3 จานวนผู้เขา้ ชมนทิ รรศการเคลื่อนท่ี ขึน้ ไป/ปี 10.00 10.00 ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพัฒนาองคก์ รสู่สมรรถนะและสากล 1. ไดร้ บั ผลการดาเนินงาน ตัวชว้ี ดั ท่ี 6.1 ประสทิ ธภิ าพของการดาเนินงานตามระบบบรหิ ารคณุ ภาพ การประเมนิ “ผา่ น” เปน็ ไปตามแผนงาน ISO ความเปน็ พลเมอื งเพิ่มข้นึ ในการตรวจประเมิน หรือตรวจติดตาม และมผี ลการ 2. ภายหลัง ประเมินการ ผูต้ รวจการประเมิน

36 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ คะแนนเตม็ คะแนนทีไ่ ด้ /เป้าหมาย ตัวช้ีวัดที่ 6.2 ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนการพัฒนา การตรวจประเมิน ภายนอกตามระบบ ความผกู พนั ของบุคลากรตอ่ องค์กร หรือตรวจติดตาม บรหิ ารคณุ ภาพ ISO ตัวชี้วัดที่ 6.3 ร้อยละของหน่วยงานเครือข่ายต่างประเทศท่ีจัดกิจกรรม ผู้ตรวจประเมิน รว่ มกับสถาบนั ประเมินวา่ ไมม่ ี NC เมอื วันท่ี 26 ตัวชี้วดั ที่ 6.4 จานวนกจิ กรรมท่ีดาเนินการเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ (Non Conformity) กุมภาพันธ์ 2562 ในทุกกระบวนงาน 3. ภายหลงั ไดร้ บั การตรวจประเมนิ Gp (Good หรอื ตรวจติดตาม Practice) ผตู้ รวจประเมิน 2 กระบวน และ PI ประเมนิ วา่ ให้ GP (Potential for (Good Practice) improvement) 1 อยา่ งน้อย กระบวนงาน 1 กระบวนงาน ร้อยละ 90 ขึ้นไป รอ้ ยละ 93.33 รอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป ร้อยละ 83.33 16 ครง้ั /ปี 16 กิจกรรม 7.6.2 ขอ้ คดิ เห็นของคณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน (ก) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และสันติวธิ ี ถงึ แมใ้ นปงี บประมาณ 2562 สถาบันจะดาเนนิ การได้เกินกว่าเปูาหมายที่ต้ังไว้ร้อยละ 125 แต่ถ้านับเป็นจานวนโครงการทาได้เพียง 2 โครงการ ซึ่งน้อยกว่าปีงบประมาณ 2562 ท่ีสามารถดาเนินการได้ 4 โครงการ (ข) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาผู้นาให้เป็นผู้นาทางความคิดและการทางาน เพื่อเผยแพร่การพัฒนาประชาธปิ ไตย ธรรมาภิบาล และสนั ติวิธี - ตวั ช้ีวัดท่ี 2.1 ร้อยละของหลักสูตรทผี่ เู้ ข้ารบั การศกึ ษาอบรมมคี วามรเู้ พิ่มขึน้ - ไม่มี - - ตัวช้วี ัดที่ 2.2 ร้อยละของผู้เขา้ รบั การศกึ ษาอบรมมกี ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม - ไม่มี - - ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2.3 รอ้ ยละของผเู้ ขา้ รบั การศกึ ษาอบรมท่ีนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สถาบันพระปกเกล้าควรปรับค่าเกณฑ์วัดตัวช้ีวัดดังกล่าวให้สูงข้ึน เพ่ือให้เกิด ความทา้ ทายมากยงิ่ ข้ึน - ตวั ชี้วัดท่ี 2.4 จานวนผู้ได้รบั ประโยชน์จากการจัดกจิ กรรมของนกั ศกึ ษาสถาบนั สถาบันพระปกเกล้าควรปรับค่าเกณฑ์วัดตัวชี้วัดดังกล่าวให้สูงข้ึน เพื่อให้เกิ ด ความทา้ ทายมากย่งิ ขึ้น

37 (ค) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาและสร้างความเปน็ พลเมอื ง - ตัวชี้วัดท่ี 3.1 ร้อยละของโครงการอบรมท่ีผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับ ความเป็นพลเมอื งเพ่มิ ขึ้น - ไมม่ ี - - ตวั ช้ีวัดที่ 3.2 ร้อยละของผผู้ า่ นการอบรมมพี ฤตกิ รรมความเป็นพลเมืองเพิ่มข้ึน เน่ืองจากแบบวัดความเป็นพลเมืองที่ได้รับกลับคืนมาไม่ครบทุกคน ดังน้ัน สถาบัน ควรกาหนดเกณฑ์มาตรฐานแบบวัดความเป็นพลเมืองท่ีได้รับกลับคืนมาควรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผผู้ ่านการอบรมทงั้ หมด - ตัวช้ีวัดท่ี 3.3 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้ร่วมกันนาเสนอในระดับนโยบาย หรือ รว่ มกันดาเนินการกิจกรรม/โครงการ - ไม่มี – (ง) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การส่งเสริมงานวิชาการของรัฐสภา - ตัวชีว้ ัดที่ 4.1 จานวนรายงานการศกึ ษาวิเคราะหร์ ่างกฎหมายท่ีดาเนนิ การแล้วเสร็จ - ไม่มี - - ตัวชี้วัดที่ 4.2 จานวนรายงานการศึกษาวิเคราะห์ร่างกฎหมายท่ีมีการอ้างอิง ในกระบวนการพิจารณาของฝ่ายนติ บิ ญั ญัติ การประเมินผลตัวช้ีวัดดังกล่าว ไม่สามารถหาหลักฐานได้ชัดเจนว่าฝุายนิติบัญญัติ ได้นารายงานการศึกษาวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ จึงเห็นสมควรให้กองทุนฯ ทบทวนและกาหนดตัวช้ีวัดดังกล่าวใหม่ เพื่อใหส้ ามารถสะท้อนการดาเนินงานได้อยา่ งชดั เจน - ตัวชี้วัดท่ี 4.3 ร้อยละของผู้ช่วยและผู้ปฎิบัติงาน/ผู้เชี่ยวชาญและผู้ชานาญการ ประจาตัวสมาชิกรฐั สภาทีเ่ ขา้ รับการอบรมมีความรเู้ พมิ่ ขึน้ เนื่องจากการเลอื กตัง้ ไดม้ ีข้นึ ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 และได้มีประกาศรับรองผล การเลือกต้ังครบร้อยละ 95 เม่ือวันที่ 9 พฤษภาคม 2562 จึงทาให้กระบวนการได้มาซึ่ง ส.ส. และ ส.ว. ผู้ช่วยและผู้ปฏิบัติงาน/ผู้เช่ียวชาญและผู้ชานาญการประจาตัวสมาชิกรัฐสภาแล้วเสร็จประมาณเดือนสิงหาคม 2562 ประกอบกับผ้ชู ่วยและผู้ปฏิบัติงาน/ผู้เช่ียวชาญและผู้ชานาญการ ประจาตัวสมาชิกรัฐสภามีจานวนมาก สถาบันจึงได้กาหนดหลักสูตรอบรมจานวน 10 รุ่น โดยมีระยะเวลาดาเนินการตั้งแต่เดือนกันยายน 2562 - มกราคม 2563 ทาให้สถาบันไม่สามารถสรุปผลการจัดอบรมได้ และการประเมินระดับความรู้ได้ภาย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดงั นน้ั คณะกรรมการติดตามฯ เหน็ ควรประเมนิ ตวั ชว้ี ดั ดงั กล่าวใน ปีงบประมาณ 2563 ต่อไป ทั้งน้ี ให้นาค่าน้าหนักคะแนนการประเมินตัวช้ีวัด 4.3 ซ่ึงมีค่าน้าหนักร้อยละ 30 เฉลี่ยให้กับ ตวั ชว้ี ัดที่เหลอื อกี 3 ตัวชว้ี ัด - ตัวชี้วัดท่ี 4.4 ร้อยละความพึงพอใจของสมาชิกรัฐสภาท่ีเข้าร่วมกิจกรรม เตรยี มความพรอ้ มสาหรบั ปฏบิ ตั ิหน้าท่ี มคี วามพึงพอใจในระดับมากข้ึนไป - ไม่มี -

38 (จ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมและพัฒนาพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หัวให้เปน็ แหลง่ เรียนรู้ดา้ นพระปกเกลา้ ศึกษา - ตัวช้ีวัดที่ 5.2 จานวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์แบบเข้าชมเอง (Walk-in) และเข้าชม เป็นหมู่คณะ สถาบนั พระปกเกล้าควรทบทวนแนวทางการกาหนดค่าเกณฑ์วัดของตัวชี้วัดดังกล่าว โดยนาผลการดาเนินงานในอดีตมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา เพ่ือให้การประเมินผลการดาเนินงาน ทนุ หมุนเวียนมีความเหมาะสมยิง่ ขึ้น - ตวั ช้ีวัดที่ 5.3 จานวนผู้เข้าชมนิทรรศการเคลือ่ นท่ี สถาบันพระปกเกล้าควรทบทวนแนวทางการกาหนดค่าเกณฑ์วัดของตัวชี้วัดดังกล่าว โดยนาผลการดาเนินงานในอดีตมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา เพ่ือให้การประเมินผลการดาเนินงาน ทุนหมนุ เวียนมคี วามเหมาะสมยิ่งข้ึน (ฉ) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาองคก์ รส่สู มรรถนะและสากล - ไมม่ ี - 7.6.3 ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการพัฒนา ปรบั ปรุงการดาเนนิ งานโดยภาพรวม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สถาบันสามารถดาเนินการได้ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งมีท้ังผลงานที่สามารดาเนินการได้น้อยกว่าปีที่ผ่านมา และมีบางส่วนท่ีทาได้สูงกว่าปีที่ผ่านมามาก ดังน้ัน สถาบันควรทบทวนความเหมาะสมของการกาหนดตัวช้ีวัดดังกล่าว และควรกาหนดค่าเปูาหมาย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อให้เกิดความท้าทายมากย่ิงข้ึนกว่าเดิมเพ่ือให้เกิดการพัฒนาขององค์กร อย่างแท้จริง 7.7 กองทนุ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศสาหรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมาย ในปีงบประมาณ 2562 สานักงานได้การดาเนินงานภายใต้พระราชบัญญัติการเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศสาหรบั อุตสาหกรรมเปูาหมาย ในขอบข่ายของมาตรฐานและกรอบการทางานต่าง ๆ ท่ีวางไว้ เพ่ือให้การดาเนินงานบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเปูาหมาย สานักงานได้จัดทารายงานสรุปผล การดาเนินงานของกองทนุ ฯ โดยแบง่ ออกเปน็ 4 ด้าน ดงั น้ี 7.7.1 ด้านการปฏิบัตกิ าร ด้านหลกั เกณฑแ์ ละนโยบาย - สานักงานได้มีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงการดาเนินงานของกองทุนฯ หลายประการ เพื่อให้การบริหารของกองทุนฯ เป็นไปตามข้ันตอนท่ีพระราชบัญญัติการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย กาหนด และเกิดความคล่องตัวในการดาเนินงาน สานักงาน ได้ดาเนนิ การแตง่ ตัง้ คณะทางานผเู้ ชย่ี วชาญรายโครงการ เน่ืองจากมีโครงการมาย่ืนขอรับการส่งเสริมการลงทุน น้ัน เป็นโครงการท่ียังไม่ได้ดาเนินการในประเทศมาก่อน และมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ ใช้ความรู้ขั้นสูง เป็นต้น รวมทั้งมีบางโครงการต้องการผู้เช่ียวชาญเฉพาะทาง เพื่อให้เกิดความเห็นเชิงเทคนิคได้อย่างครบถ้วน ดังนั้น การแต่งคณะทางานผู้เช่ียวชาญตามกลุ่มงานก่อนหน้าน้ีอาจยังให้ความเห็นชอบโครงก ารไม่ครอบคลุม ทุกประเด็น จาเป็นต้องแต่งตั้งคณะทางานผู้เช่ียวชาญรายโครงการ เพ่ือช่วยกล่ันกรองข้อเสนอโครงการ เบอ้ื งตน้ โดยมีอานาจหนา้ ท่ี ดังนี้ - ให้ความเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอโครงการภายใต้พระราชบัญญัติการเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย เพ่ือประกอบการพิจารณาแก่คณะอนุกรรมการสรรหา

39 และเจรจาในด้านต่าง ๆ เช่น ความเหมาะสมดา้ นเทคโนโลยี ความเหมาะสมของแผนวิจัยและพัฒนาและ/หรือ แผนถา่ ยทอดความรู้ ความสมเหตขุ องเงนิ ทขี่ อรบั การสนับสนุน เปน็ ต้น - ปฏิบัติหนา้ ท่ีอื่นตามทส่ี านักงานมอบหมาย การดาเนินการพิจารณาให้การสนับสนนุ พระราชบัญญัติเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันฯ บัญญัติเพื่อดึงดูดการลงทุน ในอุตสาหกรรมเปาู หมายทม่ี ีคุณคา่ และศกั ยภาพสูงตามนโยบายรัฐบาลท่ีต้องการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหลัก และนวัตกรรมข้ันสูง การวิจัยและพัฒนาที่เข้มข้น ซ่ึงดึงดูดได้ด้วยเครื่องมือเดิม ดังน้ันการชักจูงการลงทุน และใหข้ ้อมูลสทิ ธแิ ละประโยชนแ์ ก่นักลงทุน สานักจาเป็นต้องมุ่งเน้นไปที่สิทธิและประโยชน์ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการลงทุนก่อน และหากพิจารณาแล้วเห็นว่าโครงการนั้นเป็นการลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ ท่ีจะก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างสูงในวงกว้างต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งหลักเกณฑ์เดิมนั้นอาจไม่จูงใจ เท่าที่ควร ดังนั้น การพิจารณาเพ่ือให้การสนับสนุนจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือตามพระราชบัญญัติเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย ในการชักจงู แทน ปัจจุบัน มีนักลงทุนได้สอบถามเพื่อขอย่ืนข้อเสนอโครงการตามพระราชบัญญัติเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย จานวนทั้งส้ิน 32 ราย โดยแบ่งเป็น ในปีงบประมาณ 2560 จานวน 17 ราย ในปีงบประมาณ 2561 จานวน 8 ราย และในปีงบประมาณ 2562 จานวน 7 ราย จากนักลงทุน 32 ราย ท่ีย่ืนข้อเสนอโครงการตามพระราชบัญญัติเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย สานักงานได้ดาเนินการคัดกรองตามหลักเกณฑ์ ท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนดไว้ โดยคานึงถึงคุณประโยชน์และผลกระทบเชิงบวกท่ีประเทศจะได้รับ เปน็ หลกั ผลปรากฏวา่ มขี ้อเสนอโครงการทผ่ี า่ นเข้าสู่กระบวนพจิ ารณายน่ื ขอ้ เสนอโครงการตามพระราชบัญญัติ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศสาหรบั อุตสาหกรรมเปาู หมาย จานวนทัง้ ส้ิน 5 ราย อยู่ระหว่าง พิจารณาข้อเสนอโครงการ 1 ราย ผ่านสู่กระบวนการเจรจา 4 ราย โดยที่ผ่านผลการเจรจา 1 ราย และยุ ติ การเจรจา 3 ราย เนื่องจากแผนการดาเนินงานของบริษัทฯ ไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์หรือไม่เป็นไปตาม วตั ถุประสงค์ของพระราชบญั ญัติเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขันฯ จากข้อเสนอโครงการที่เข้าสู่กระบวนพิจารณาภายใต้ย่ืนข้อเสนอโครงการตามพระราชบัญญัติ เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันฯ จานวน 5 รายสามารถจาแนกประเภทตามวัตถุประสงค์การชักจูง การลงทนุ ได้ ดงั นี้ - เพ่ือดึงดูดโครงการลงทุนขนาดใหญ่หรือโครงการท่ีไม่สามารถชักจูงได้ด้วยวิธีปกติ จานวน 3 ราย - เพอื่ พัฒนาบุคลากรสาหรบั อุตสาหกรรมเปูาหมายและยกระดับการศึกษาไทยให้สอดคล้อง กบั ทิศทางการพัฒนาประเทศ จานวน 1 ราย - เพื่อสนับสนุนการนาผลงานวิจัยและพัฒนามาต่อยอดเป็นการผลิตในเชิงพาณิชย์ ซงึ่ เป็นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจเพอื่ สรา้ งรายได้และความม่งั ค่ังให้แก่ประเทศ จานวน 1 ราย 7.7.2 ดา้ นการเงนิ การเบกิ จา่ ยเงินกองทนุ ในปีงบประมาณ 2562 มีการเบกิ จ่ายเงนิ กองทุนจานวน 866,752 บาท ซ่ึงเป็นค่าใช้จ่าย ในการประชมุ และบริหารกองทนุ ไดแ้ ก่ - ค่าใช้จ่ายการจัดประชุม คณะกรรมการนโยบาย คณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจา คณะอนุกรรมการบริหารกองทุน คณะทางานผู้เช่ียวชาญอุตสาหกรรม พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมายและประชุมหารือ

40 แนวทางการดาเนินงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายพันมิตรมหาวิทยาลัยเพ่ือการวิจัย และคณะส่งเสริมการลงทุน รว่ มทัง้ ส้นิ 154,602 บาท - ค่าใช้จ่ายบริหารกองทุน การจัดจ้างพนักงานกองทุน 3 รายโดยเป็นระดับปริญญาตรี จานวน 2 ราย (เร่ิมสัญญาเมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2561) และระดับปริญญาโท จานวน 1 ราย (เร่ิมสัญญา เมื่อวนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2561 ) รวมท้งั สิ้น 712,150 บาท - การควบคุมค่าใช้จ่าย การจัดจ้างพนักงานกองทุนสาหรับการดาเนินงานภายใต้ พระราชบัญญัติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันฯ น้ัน ได้มีการจัดจ้างเฉพาะในส่วนท่ีจาเป็นเร่งด่วนเท่าน้ัน เนื่องจากในปีงบประมาณ 2562 เป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับการดาเนินงานในอนาคตภายใต้กลุ่มงาน อาทิ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กลุ่มการประชุม และกลุ่มบริหารการคลังและพัสดุ จึงมีการจัดจ้างพนักงาน กองทุนในหน่วยงานดังกล่าว สาหรับการดาเนินงานภายใต้กลุ่มงานอื่นๆ จะยังคงใช้บุคลากรร่วมกับ พระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การลงทุน เพอื่ เป็นการประหยัดงบประมาณแผ่นดิน - การรายงานทางการเงิน สานักงานได้ดาเนินการจัดทารายงานการเงินของกองทุน ประจาปีงบประมาณ 2562 ส่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ต้ังแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2562 ทั้งน้ี สานักงาน การตรวจเงนิ แผ่นดิน อยรู่ ะหว่างการดาเนนิ การจดั ทารายงานการสอบบญั ชี 7.7.3 ด้านการสนองประโยชนต์ ่อผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี สานกั งานมกี ารประชุมหารอื กบั ผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ ง ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย หน่วยงานของรัฐ และเครือข่ายพันธมิตรอื่นๆ เช่น เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพ่ือการวิจัย (Research University Network : RUN) สานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สานักงานสภานโยบาย การอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมแหง่ ชาติ (สอวช.) สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) เป็นต้น เพื่อรับฟังความคิดเห็น รวบรวมประเด็นความต้องการต่างๆ สาหรับใช้ในการกาหนดนโยบาย และวิธีการ ดาเนินงานตามพระราชบัญญัติการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรม เปาู หมาย ตัวอยา่ งความรว่ มมอื เช่น 1. มหาวิทยาลยั เพอื่ การวิจัย (Research University Network : RUN) - RUN ได้หมอบหมายผู้แทนในการประสานงานและติดต่อภารกิจต่าง ๆ เก่ียวกับ สานกั งานเพ่ือประสทิ ธิภาพในการทางานรว่ มกัน - สานกงานจะประสานงานกับ RUN หรือสถาบันการศึกษามีความประสงค์ท่ีจะจัด นักศึกษาเข้าดูงานในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง และสร้างแรง บนั ดาลใจเกีย่ วกับสายอาชพี ในอนาคต - สานกั งานรว่ มมือกบั RUN ในการพัฒนาและผลักดันโครงการสหกิจศึกษาและสนับสนุน ฐานข้อมลู นกั วิจยั หรอื ผ้เู ชีย่ วชาญในภาคอตุ สาหกรรม รวมถึงการมสี ่วนรว่ มในการกาหนดนโยบายเพ่ือส่งเสริม การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาที่เหมาะสม และให้ความเห็นด้านเทคโนโลยี และ/หรือกลไกการสร้าง ความร่วมมือระหวา่ งภาคเอกชนและภาควิจัยพัฒนาภาคการศึกษาในระบบการพิจารณาการขอรับการส่งเสริม การลงทนุ - สานักงานจะทาการประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลวิจัยของสานักการวิจัยแห่งชาติ และรายช่ือผู้สาเร็จการศึกษาตามโครงการกาญจนาภิเษกภาคเอกชน เพ่ือให้สามารถเข้าถึงบุคลากร ด้านการวจิ ัยไดส้ ะดวกขึน้ - RUN จะจัดส่งข้อมูลนักศึกษาท่ีเหมาะสมกับความต้องการของภาคเอกชน โดยสานักงานจะส่งรายละเอียดวุฒิการศึกษา หรือสาขาที่เอกชนแสดงความต้องการเพื่อประกอบ การดาเนินการ

41 - RUN จะจดั ส่งอาจารยห์ รอื นกั วจิ ยั รว่ มกจิ กรรมชักจูงการลงทุนสร้างเครือข่ายพันธมิตร ด้านการลงทุนในต่างประเทศ ของสานกั งาน เพื่อสนับสนุนข้อมูลด้านเทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนา และข้อมูล ดา้ นบคุ ลากร 2. สานกั งานสภานโยบายการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรมแห่งชาติ (สอวช.) - ในการร่วมมือด้านวิจัยและพัฒนาของผู้ยื่นข้อเสนอโครงการภายใต้พระราชบัญญัติ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันฯ ควรมีความสอดคล้องกับหัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศต้องการ ซ่ึง สอวช. จะเข้ามามีส่วนร่วมสร้างกลไกความร่วมมือและถ่ายทอดองค์ความรู้ ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานหลัก ของประเทศ - สอวช. มีการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เช่น Research Gab Fun และ Startup Voucher ซ่ึงสามารถนากลุ่มผู้ประกอบการท่ีได้รับการสนับสนุนเหล่าน้ีมาต่อยอดสู่การผลิตในระดับ Mass Production ไดต้ ามมาตรการสนบั สนุนการนาผลวิจัยมามาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ภายใต้พระราชบัญญัติ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั ฯ - สอวช. มีการสร้างกลไกเทคโนโลยีฐานแบบบูรณาการ (Integrated Technology Platform) มุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีเกิดจากการรวมเทคโนโลยีหลากหลายสาขา และนาไปสู่การใช้ประโยชน์ในอนาคต และได้สร้างแพลตฟอร์มขึ้นมาใหม่ 3 เร่ือง ได้แก่ Sensor, H - Performance Computing & Data Analytics (HPC & DA) และ Bio - based Materials โดยต่อยอด จากฐานความเชย่ี วชาญ 4 ศูนยแ์ หง่ ชาติ เพ่ือประยกุ ตใ์ ชใ้ นอุตสาหกรรมต่าง ๆ - สอวช. มีการจัดทาโครงการศูนย์ระบบประเมินเทคโนโลยีประเทศไทย โดยใช้โมเดล การประเมินเทคโนโลยีท่ีเรียกว่า (Thailand Technology Rating System - TTRS) ซ่ึงได้รับการถ่ายทอด ความรู้และประสบการจากรัฐบาลเกาหลี ต้ังแต่ พ.ศ. 2557 โดยหน่วยงาน Korea Technology Finance Corporation (KOTEC) ผ่านเครื่งมือท่ีพัฒนาจาก Korea Technology Rating System (KTRS) ซึ่งเป็น ตน้ แบบในการประเมนิ เทคโนโลยีและเปน็ เครอื่ งมือของภาครัฐที่ให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการที่มีเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ประสบความสาเร็จในสาธารณะเกาหลีและได้การยอมรับในระดับสากล นักวิจัย และผู้เชี่ยวชาญของ สอวช. ได้บูรณาการองค์ความรู้และพัฒนาเคร่ืองมือ TTRS เพ่ือใช้ประเมินเทคโนโลยี ของผ้ปู ระกอบการทางด้านเทคโนโลยีและนวตั กรรม 3. สานักงานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) - สานกั งานการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.) ทาหน้าที่ในการให้ทุนวิจัยและนวตั กรรมให้แก่ หน่วยงานในระบบวิจัยและสถาบนั อุดมศึกษา ไดแ้ ก่ นักวจิ ยั สถาบนั วิจยั มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั การศึกษา หนว่ ยงานและองค์กรมหาชน ทง้ั ภายในและภายนอกกระทรวง อดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ครอบคลุมทงั้ การวิจยั พ้ืนฐาน วจิ ยั ประยกุ ตใ์ นดา้ นวทิ ยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์และสหสาขาวชิ า ซ่งึ สามารถนาวิจยั ที่ได้รับการสนับสนนุ ดังกลา่ วมาตอ่ ยอดสู่การผลติ ในระดบั Mass Production โดยผ่าน การสนบั สนนุ การนาผลวจิ ยั และพฒั นามาต่อยอดในการผลติ เชิงพาณิชย์ภายใต้พระราชบัญญตั กิ ารเพม่ิ ขีด ความสามารถในการแข่งขนั ฯ - สานักงานการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.) ได้พฒั นาระบบบริหารจดั การวจิ ยั แหง่ ชาติ (National Research Management System : NRMS) ให้สามารถบริหารจัดการทุนวิจัยในแบบออนไลน์เพื่อเป็นเครื่องมือ ทีส่ นบั สนนุ การบรหิ ารจดั การวิจัยและนวัตกรรมอย่างเป็นระบบและการบูรณาการ ระหว่างนักวิจัย หน่วยงาน ให้ทุน ผู้พิจารณาทุนวิจัย และทีมบริหารจัดการ เพ่ืออานวยความสะดวก และลดระยะเวลาการดาเนินงาน ขอ้ มลู ท่ีถูกต้องและเช่ือถือได้ และสามารถติดตาม ตรวจสอบได้และเกิดความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

42 อีกทั้งนักวิจัยสามารถติดตามสถานะข้อเสนอโครงการวิจัยได้ทุกขั้นตอน พร้อมท้ังมีระบบแจ้งเตือนการส่งงาน สนบั สนนุ การบริหารจัดการงานวิจยั ของหนว่ ยงาน 7.7.4 ด้านบริหารจัดการทุนหมุนเวยี น 1. การตรวจสอบภายในและบริหารความเส่ียง เพ่ือให้เป็นไปตามาตรฐานการตรวจสอบ ภายในและจริยธรรมในการปฏิบัติงานของทางราชการ เพื่อนาไปใช้ปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงานให้มี มาตรฐานประสิทธิภาพมากข้ึน สานักงานดาเนินการตรวจสอบโครงสร้างมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ซงึ่ มแี นวทางดังน้ี 1.1 วัตถปุ ระสงค์การตรวจสอบภายใน - เพื่อให้เกิดความเช่ือถือในการดาเนินการและจัดจ้างท่ีปรึกษาได้ปฏิบัติ โดยถูกตอ้ งตามระเบยี บ กฎเกณฑแ์ ละข้อกาหนดตา่ ง ๆ - เพอ่ื เสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและประเมนิ ผลมากยง่ิ ขน้ึ 1.2 ขอบเขตการตรวจสอบภายใน - ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการนโยบายเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย ว่าเร่ืองการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารเงินกองทุนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย ปี พ.ศ. 2560 - ตรวจสอบค่าเบ้ียประชุมตามมติคณะอนุกรรมการกองทุนเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศสาหรบั อตุ สาหกรรมเปาู หมาย - ตรวจสอบการเบิกค่าอาหารกลางวัน ตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายตาม มาตรการประหยัดของสานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทนุ - ตรวจสอบการดาเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพ่มิ เตมิ ผลการตรวจสอบตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน พบว่าการดาเนินการ ของกองทนุ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศสาหรับอุตสาหกรรมเปูาหมาย เป็นไปตามกฎระเบียบ ท่ีเกีย่ วข้อง โดยมขี ้อเสนอแนะดงั น้ี - เจ้าหน้าที่สานักควรศึกษาระเบียบพัสดุ โดยเฉพาะพระราชบัญญัติการจัดซื้อ จัดจ้างฯ พ.ศ. 2560 ที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบันและเพิ่มความระมัดระวังในการจัดทาเอกสารให้ครบถ้วน ถูกตอ้ งตามระเบียบทีก่ าหนด - ก่อนเบิกจ่ายเงินค่าจ้างท่ีดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างโดยสานักงานในต่างประเทศ สานักงานควรตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของเอกสาร ในการจัดซื้อจัดจ้างท่ีดาเนินการโ ดยเจ้าหน้าที่ ของสานกั งานในตา่ งประเทศดว้ ย เพือ่ ปูองกันหรือแกไ้ ขความผิดท่ีอาจจะเกิดขน้ึ ได้ 2. การกาหนดแผนปฏบิ ตั งิ านและแผนเบิกจ่ายของกองทนุ ฯ คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพิจารณาแผนปฏิบัติงานและแผนเบิกจ่ายของกองทุนฯ ประจาปีงบประมาณ 2562 โดยมีแผนการปฏิบัติงานในการอนุมัติให้เงินสนับสนุนแก่โครงการลงทุน 2,000 ล้านบาท และแผนเบิกจ่ายเงินสนับสนุนในปีงบประมาณ 2562 ประมาณร้อยละ 30 หรือจานวน 600 ลา้ นบาท

43 ปัญหาและขอ้ จากดั ในการดาเนนิ งาน 1. ดา้ นการกาหนดเปูาหมายของกองทุนฯ สานกั งานไดด้ าเนินการทบทวนเปูาหมายของกองทุนฯ ในปี พ.ศ. 2563 - 2565 โดยพิจารณา จากข้อจากัดในการดาเนินการต่าง ๆ โดยเฉพาะการพิจารณาให้การสนับสนุน การพิจารณาความคุ้มค่า ของการให้เงินสนับสนุน ตลอดจนสิทธิและประโยชน์ รวมไปถึงความสอดคล้องและการเกื้อหนุนต่อยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นสาคัญ ซึ่งสานักงานอยู่ระหว่างพิจารณานาเสนอ คณะกรรมการนโยบายในการปรับแผนการดาเนินงานกองทุนฯ 2. ดา้ นการบรหิ ารกองทนุ สานกั งานได้รบั หนังสอื จากสานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดินเรื่องการจัดหาบุคคลภายนอกเป็นผู้สอบ บัญชีของกองทนุ ฯ ต้ังแตง่ วดบญั ชี 2562 เปน็ ตน้ ไป ซง่ึ ทาให้สานักงานยังมีข้อกังวลอยู่หลายประการ เนื่องจาก ข้อมูลกองทุนฯ เป็นข้อมูลที่เป็นความลับ การให้บุคคลภายนอกที่เป็นหน่วยงานเอกชน มาตรวจสอบบัญชี ของกองทนุ ฯ อาจมคี วามเสย่ี งของขอ้ มูล ซ่ึงไมอ่ าจเปดิ เผยสู่สาธารณชนได้ 3. ข้นั ตอนและกระบวนการทางาน ด้วยข้ันตอนการดาเนินงานภายใต้ พระราชบัญญัติการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ฯ ได้กาหนดไว้อย่างชัดเจน ประกอบกับกระบวนการทางานที่ต้องระมัดระวังในการรักษาความลับ ถึงแม้ว่า คณะกรรมการนโยบาย (กกข.) หรือคณะอนุกรรมการสรรหาและเจรจา (อสจ.) จะมีการมอบอานาจ ในบางข้ันตอน แต่เมื่อดาเนินการจริงจะทาให้มีงานเอกสารและข้ันตอนการดาเนินงานเพิ่มข้ึน เช่น การเจรจา กับนักลงทุน (อสจ.) ได้มอบหมายให้ต้ังคณะทางานเจรจาดาเนินการแทน จะต้องมีข้ันตอนที่เพ่ิมข้ึนมา ได้แก่ การร่างคาส่ังแต่งต้ังคณะทางานเจรจา การจัดประชุมคณะทางานเจรจา การจัดทาสรุปผลการเจรจา การรับรองผล การเจรจาของคณะทางาน จากนั้นจะต้องนาเสนอผลการเจรจา จัดประชุมคณะอนุสรรหา และเจรจาเพ่อื พิจารณาผลการเจรจาอีกครง้ั หน่งึ 4. ความคาดหวงั จากผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี จากประสบการณ์ที่ได้ให้ข้อมูลแก่นักลงทุน ผู้ประกอบการจานวนหนึ่งโดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิสาหกิจเริ่มต้น หรือ SMEs จะต้องการได้รับเงินสนับสนุนเพื่อลดภาระในการประกอบการหรือลงทุน แต่เม่ือได้ทราบข้อเท็จจริงว่าการให้เงินสนับสนุนของกองทุนฯจะเป็นการจ่ายเงินสนับสนุนของกองทุนฯ จะเป็นการจ่ายภายหลังจากผู้ท่ีได้รับส่งเสริมได้ดาเนินการตามเง่ือนไขเรียบร้อย ทาให้ไม่สามารถตอบโจทย์ ความตอ้ งการของบรษิ ัทท่ีเปน็ วิสาหกิจขนาดเล็ก 7.8 กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เนื่องจากมาตรา 44 และมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 กาหนดให้คณะกรรมการประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนฯ ดาเนินการประเมินผลกองทุนฯ ทกุ 3 ปี และเพ่ือประโยชน์ในการประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนฯ ให้เร่ิมนับปีถัดจากปีที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บงั คบั 7เปน็ ปีท่ี 1 ดงั นั้น การประเมนิ ผลจะเร่มิ เมอื่ ส้นิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 7.9 กองทนุ เพอื่ การพฒั นาพรรคการเมือง ก อ ง ทุ น เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง จั ด ตั้ ง ขึ้ น ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 78 โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สนบั สนุนพรรคการเมือง และตามระเบียบ 7 พระราชบญั ญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันท่ี 13 พฤษภาคม 2561 โดยมาตรา 2 กาหนดให้มีผลใช้บังคบั ตงั้ แต่วดั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

44 คณะกรรมการการเลือกต้ังว่าด้วยกองทุนเพ่ือการพัฒนาพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ข้อ 39 ให้สานักงาน คณะกรรมการการเลือกตัง้ จดั ให้มีการติดตามประเมนิ ผลการใช้จ่ายเงินของกองทุนฯ เป็นประจาทุกปีเพ่ือเสนอ คณะกรรมการกองทุนฯ และคณะกรรมการการเลอื กตั้ง แต่เน่อื งจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้มีประกาศ ห้ามมใิ หด้ าเนนิ กิจกรรมในทางการเมอื ง รวมทัง้ ใหร้ ะงับการจัดสรรเงินของกองทุนฯสนับสนุนแก่พรรคการเมือง ไว้เป็นการชั่วคราว ต่อมาเม่ือวันท่ี 24 มีนาคม 2562 ได้กาหนดให้มีการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส) และสานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) ประกาศรับรองผลการเลือกต้ัง ส.ส. แล้วเสร็จในช่วง เดอื นพฤษภาคม 2562 ทาให้การสนับสนุนพรรคการเมืองตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ อยู่ระหว่างดาเนินการ ในชว่ งไตรมาสสดุ ทา้ ยของปบี ัญชี 2562 ดังนัน้ กกต. จึงจะดาเนินการประเมินผลการดาเนินงานของกองทุนฯ ของปีบัญชี 2562 ไปพร้อมกับปบี ญั ชี 2563

45 ภาคผนวก

46 ตารางที่ 14 ขอ้ มลู พ้นื ฐานทนุ หมนุ เวยี น ลาดบั ชอื่ ทุนหมนุ เวยี น สถานะ ประเภท ประเภททนุ หมุนเวียน 1 กองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ นติ บิ คุ คล ปบี ญั ชี ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนุนส่งเสรมิ 2 กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา นิติบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ 3 กองทนุ ฟ้นื ฟแู ละพัฒนาเกษตรกร นติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสงเคราะห์และสวัสดกิ ารสงั คม 4 กองทนุ จดั รปู ทด่ี นิ เพือ่ พัฒนาพนื้ ที่ นิติบคุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนบั สนุนสง่ เสรมิ 5 กองทนุ อ้อยและนา้ ตาลทราย นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนนุ ส่งเสรมิ 6 กองทุนหมบู่ า้ นและชมุ ชนเมอื งแหง่ ชาติ นิตบิ ุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการกยู้ ืม 7 กองทุนสงเคราะห์ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสงเคราะหแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คม 8 กองทุนบริหารเงนิ กเู้ พือ่ การปรบั นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนนุ สง่ เสรมิ โครงสร้างหนีส้ าธารณะและพัฒนาตลาด นิติบุคคล ปีปฏิทนิ เพื่อการสนบั สนุนสง่ เสรมิ ตราสารหน้ใี นประเทศ 9 กองทุนประกันชวี ติ 10 กองทุนประกันวนิ าศภัย นิตบิ ุคคล ปีปฏทิ นิ เพื่อการสนับสนุนสง่ เสรมิ 11 กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ นติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสงเคราะห์และสวัสดิการสงั คม 12 กองทุนการออมแหง่ ชาติ นติ บิ คุ คล ปีปฏทิ ิน เพอ่ื การสงเคราะห์และสวัสดกิ ารสงั คม 13 กองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ นิติบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนนุ สง่ เสรมิ 14 กองทุนยุตธิ รรม นิตบิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนับสนนุ สง่ เสรมิ 15 กองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ ืมเพ่ือการศกึ ษา นิติบุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการกูย้ ืม 16 กองทุนส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลาง ไม่เป็นนติ บิ ุคคล ปีปฏิทนิ เพื่อการสนับสนนุ ส่งเสรมิ และขนาดยอ่ ม 17 กองทนุ เพือ่ การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนส่งเสรมิ และเทคโนโลยี 18 กองทุนเพ่ือการพัฒนาระบบมาตรวทิ ยา ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพอื่ การสนบั สนุนสง่ เสรมิ 19 กองทุนเพอ่ื การพฒั นาระบบสาธารณสขุ ไม่เปน็ นติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ 20 กองทนุ เพอ่ื การพฒั นาและเผยแพร่ ไมเ่ ป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนบั สนุนสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนุนส่งเสรมิ 21 เงนิ ทุนหมนุ เวียนเพื่อพัฒนากฎหมาย 22 เงินทนุ หมุนเวยี นเพ่อื การบรหิ ารท่าเรือ ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการบริการ พาณชิ ยส์ ัตหีบ - กองทัพเรอื 23 เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นเพือ่ ผลติ รปู ถา่ ย ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การจาหนา่ ยและการผลิต ทางอากาศ 24 เงนิ ทุนหมุนเวียนโรงงานเภสัชกรรมทหาร ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพ่ือการจาหนา่ ยและการผลิต 25 เงินทนุ หมุนเวยี นอุตสาหกรรมปอู งกัน ไม่เป็นนติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การจาหน่ายและการผลติ ประเทศ

47 ลาดบั ชอ่ื ทนุ หมุนเวยี น สถานะ ประเภท ประเภททุนหมนุ เวียน ปีบญั ชี 26 เงินทุนหมุนเวียนโรงงานผลติ วัตถรุ ะเบดิ ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพ่ือการจาหนา่ ยและการผลติ ทหาร 27 เงนิ ทุนหมุนเวยี นศูนย์อานวยการ ไมเ่ ป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอื่ การจาหน่ายและการผลติ สรา้ งอาวุธ 28 กองทนุ เพอ่ื โครงการอาหารกลางวนั ไม่เป็นนติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสงเคราะห์และสวัสดิการสงั คม ในโรงเรยี นประถมศึกษา 29 เงนิ ทุนหมนุ เวียนเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาหนสี้ นิ ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพ่อื การกยู้ มื ข้าราชการครู 30 กองทนุ สงเคราะห์เกษตรกร ไม่เป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การกยู้ มื 31 กองทุนหมุนเวียนเพ่อื การกู้ยืม ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการกู้ยมื แก่เกษตรกรและผู้ยากจน ไมเ่ ป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนับสนุนส่งเสรมิ 32 เงนิ ทนุ หมุนเวยี นเพ่ือการชลประทาน 33 เงินทุนหมุนเวยี นในการผลติ พนั ธ์ุปลา ไม่เปน็ นติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการจาหนา่ ยและการผลติ พนั ธกุ์ ้งุ และพันธ์ุสตั ว์นา้ อ่นื ๆ 34 เงินทนุ หมนุ เวยี นเพอื่ ผลิตวัคซีนจาหนา่ ย ไม่เป็นนติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การจาหนา่ ยและการผลติ 35 เงินทุนหมุนเวียนยางพารา ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ 36 เงนิ ทนุ หมุนเวยี นในการผลิตเชื้อไรโซเบยี ม ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนับสนนุ สง่ เสรมิ 37 เงินทุนหมุนเวียนเพอ่ื ผลิต ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การจาหนา่ ยและการผลิต และขยายพันธ์ุพืช ไมเ่ ปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการกู้ยืม 38 กองทนุ พฒั นาสหกรณ์ 39 กองทุนการปฏิรูปท่ดี ินเพื่อเกษตรกรรม ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการกู้ยืม 40 เงนิ ทุนหมุนเวียนเพอ่ื จัดทาแผ่นปาู ย ไม่เป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอื่ การจาหนา่ ยและการผลิต ทะเบยี นรถ ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การบริการ 41 เงนิ ทุนคา่ ธรรมเนียมผา่ นทาง 42 เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นค่าเครอื่ งจักรกล ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การบริการ ของกรมทางหลวง 43 เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นสถานแสดงพันธส์ุ ตั วน์ า้ ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพ่ือการบริการ จังหวดั ภูเกต็ 44 กองทุนส่ิงแวดลอ้ ม ไม่เปน็ นติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ 45 กองทนุ เพ่ือสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนุนส่งเสรมิ 46 กองทุนส่งเสรมิ การค้าระหวา่ งประเทศ ไม่เปน็ นติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ 47 กองทนุ ปูองกนั และปราบปรามยาเสพติด ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีปฏทิ นิ เพอ่ื การสนบั สนุนส่งเสรมิ 48 กองทนุ เพ่ือชว่ ยเหลอื คนหางานไปทางาน ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสงเคราะหแ์ ละสวสั ดิการสงั คม ในต่างประเทศ 49 กองทนุ เพ่ือผู้รับงานไปทาทบี่ า้ น ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การกยู้ มื 50 กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการกยู้ มื

48 ลาดบั ชื่อทนุ หมนุ เวยี น สถานะ ประเภท ประเภททุนหมนุ เวียน 51 กองทนุ เพอ่ื ผใู้ ชแ้ รงงาน ปีบญั ชี ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพ่อื การกยู้ มื 52 กองทนุ สงเคราะหล์ กู จ้าง ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปีปฏิทนิ เพอ่ื การสงเคราะห์และสวัสดกิ ารสงั คม 53 กองทนุ ประกันสงั คม ไม่เป็นนติ ิบคุ คล ปปี ฏิทนิ เพื่อการสงเคราะหแ์ ละสวัสดกิ ารสงั คม 54 กองทนุ เงินทดแทน ไม่เป็นนติ ิบุคคล ปีปฏิทิน เพ่อื การสงเคราะห์และสวัสดิการสงั คม 55 เงนิ ทนุ หมุนเวยี นการสงั คตี ไมเ่ ป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพือ่ การสนับสนุนส่งเสรมิ 56 กองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพอื่ การสนบั สนุนส่งเสรมิ 57 กองทนุ สง่ เสริมงานวัฒนธรรมจงั หวดั ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนส่งเสรมิ 58 เงนิ ทนุ หมุนเวยี นยาเสพตดิ ไม่เป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การจาหนา่ ยและการผลติ 59 กองทุนหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ ไม่เป็นนติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสงเคราะห์และสวัสดิการสงั คม 60 เงินทุนหมนุ เวียนเพื่อให้ขา้ ราชการ ไม่เป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การกู้ยมื สานกั เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรกู้ยมื เพอ่ื ชาระหนี้สนิ 61 เงนิ ทนุ หมนุ เวียนเพ่อื พัฒนา ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการก้ยู ืม สถาบนั อุดมศึกษาเอกชน 62 เงินทนุ หมนุ เวียนเพือ่ การส่งเสริมอาชพี ไมเ่ ป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การกูย้ ืม อุตสาหกรรมในครอบครวั และหตั ถกรรมไทย 63 กองทนุ เพอ่ื ความปลอดภัยในการใชร้ ถ ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนสง่ เสรมิ ใช้ถนน 64 กองทนุ ปรับโครงสรา้ งการผลติ ภาค ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนนุ ส่งเสรมิ เกษตรเพ่ือเพ่มิ ขดี ความสามารถการ แขง่ ขันของประเทศ 65 กองทุนภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ไมเ่ ปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนนุ ส่งเสรมิ 66 กองทุนพฒั นาน้าบาดาล ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนสง่ เสรมิ 67 กองทนุ คุ้มครองพนั ธ์ุพืช ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีปฏทิ นิ เพือ่ การสนับสนุนส่งเสรมิ 68 กองทุนเพื่อการสบื สวนและสอบสวน ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนนุ ส่งเสรมิ คดีอาญา ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ 69 กองทนุ สง่ เสริมการเผยแผ่ ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพอื่ การกู้ยมื พระพุทธศาสนาเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษา 70 กองทนุ ส่งเสริมโรงเรยี นในระบบ 71 กองทนุ เพือ่ ส่งเสริมการท่องเท่ียวไทย ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสนับสนนุ สง่ เสรมิ 72 กองทุนส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไม่เปน็ นติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การกยู้ มื คนพิการ 73 เงินทุนหมุนเวยี นโรงงานแบตเตอรที่ หาร ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพือ่ การจาหน่ายและการผลิต 74 กองทุนค้มุ ครองธุรกิจนาเทีย่ ว ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสงเคราะห์และสวัสดกิ ารสงั คม

49 ลาดบั ชือ่ ทุนหมนุ เวยี น สถานะ ประเภท ประเภททุนหมุนเวยี น 75 กองทุนการแพทย์ฉกุ เฉิน ปีบญั ชี 76 กองทนุ จัดการซากดกึ ดาบรรพ์ ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสงเคราะห์และสวัสดกิ ารสงั คม 77 กองทุนทดแทนผปู้ ระสบภัย ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปปี ฏทิ ิน เพื่อการสนับสนุนสง่ เสรมิ 78 กองทนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาการศกึ ษา ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปปี ฏิทนิ เพอ่ื การสงเคราะห์และสวสั ดิการสงั คม สาหรบั คนพิการ ไม่เป็นนติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพ่ือการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ 79 กองทนุ สง่ เสรมิ ศลิ ปะรว่ มสมยั ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนบั สนุนส่งเสรมิ 80 กองทุนเพื่อการปูองกนั และปราบปราม ไมเ่ ปน็ นติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสงเคราะหแ์ ละสวัสดิการสงั คม การคา้ มนษุ ย์ ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนบั สนุนส่งเสรมิ 81 กองทนุ พัฒนาไฟฟาู ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ไม่เปน็ นติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ 82 กองทนุ พัฒนาเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนสง่ เสรมิ 83 กองทุนความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสงเคราะห์และสวสั ดกิ ารสงั คม ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสนับสนุนสง่ เสรมิ 84 กองทุนการปอู งกนั และปราบปราม ไม่เปน็ นติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนุนส่งเสรมิ การฟอกเงิน ไม่เป็นนติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสงเคราะหแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คม 85 กองทุนเพื่อผู้เคยเป็นสมาชิกรฐั สภา ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ไม่เป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสงเคราะห์และสวสั ดิการสงั คม 86 กองทนุ ส่งเสรมิ งานจดหมายเหตุ ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนนุ ส่งเสรมิ ไมเ่ ป็นนติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพือ่ การสงเคราะหแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คม 87 กองทนุ พัฒนาอสงั หาริมทรพั ยข์ องรัฐ ไม่เปน็ นติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ 88 กองทุนช่วยเหลือเยียวยานกั ท่องเทีย่ ว ไมเ่ ปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนสง่ เสรมิ ชาวต่างชาติ ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนส่งเสรมิ ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ 89 กองทุนผ้สู ูงอายุ ไมเ่ ป็นนติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสงเคราะหแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คม 90 เงินทนุ หมนุ เวยี นโรงงานในอารกั ษ์ ไม่เปน็ นติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การบรกิ าร 91 กองทุนคุม้ ครองเด็ก ไมเ่ ปน็ นติ ิบุคคล ปีงบประมาณ เพ่ือการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ 92 กองทนุ สง่ เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารสงั คม 93 กองทนุ เพอ่ื พฒั นาการอาชีวศึกษา และการฝึกอบรมวิชาชีพ 94 กองทนุ พฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ 95 กองทุนจัดรปู ท่ดี ิน 96 กองทุนวิจยั และพฒั นากิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทศั น์ และกจิ การ โทรคมนาคม เพ่ือประโยชน์สาธารณะ 97 กองทนุ ส่งเสริมความเท่าเทยี ม ระหวา่ งเพศ 98 กองทนุ การทา่ อากาศยานอู่ตะเภา 99 กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี 100 กองทุนพัฒนาระบบสถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ

50 ลาดบั ชอ่ื ทุนหมุนเวียน สถานะ ประเภท ประเภททุนหมุนเวยี น ปีบญั ชี 101 เงินทนุ หมุนเวียนการบริหารจดั การ ไมเ่ ปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การจาหนา่ ยและการผลติ เหรยี ญกษาปณ์ ทรัพย์สนิ มคี า่ ของแผน่ ดินและการทาของ 102 กองทุนพฒั นาผูป้ ระกอบการเทคโนโลยี ไมเ่ ปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนุนสง่ เสรมิ และนวัตกรรม 103 กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจ ไมเ่ ป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนุนส่งเสรมิ และสังคม 104 กองทุนเพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ไม่เป็นนติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนุนส่งเสรมิ ของประเทศสาหรบั อุตสาหกรรมเปูาหมาย 105 กองทนุ สาหรับผเู้ ดินทางไปประกอบพธิ ฮี จั ย์ ไม่เป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนุนสง่ เสรมิ 106 กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอตี ามแนวประชารฐั ไมเ่ ปน็ นติ ิบุคคล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนับสนนุ ส่งเสรมิ 107 กองทุนรวมเพอื่ ช่วยเหลอื เกษตรกร ไม่เปน็ นติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนนุ ส่งเสรมิ 108 กองทนุ เพื่อการบริหารจดั การการทางาน ไม่เปน็ นติ บิ ุคคล ปงี บประมาณ เพื่อการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ของคนต่างดา้ ว 109 กองทนุ เพ่อื การพัฒนาพรรคการเมอื ง ไม่เป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการสนับสนุนส่งเสรมิ 110 กองทุนเพอื่ การพัฒนาการตรวจเงนิ ไม่เป็นนติ บิ คุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนุนสง่ เสรมิ แผน่ ดิน ไม่เป็นนติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพื่อการบรกิ าร 111 เงินทนุ หมุนเวียนกรมทา่ อากาศยาน 112 กองทุนส่งเสรมิ การร่วมลงทุนระหว่างรฐั ไมเ่ ป็นนติ บิ ุคคล ปีงบประมาณ เพอ่ื การสนับสนนุ ส่งเสรมิ และเอกชน 113 กองทุนพฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษ ไมเ่ ปน็ นติ ิบคุ คล ปงี บประมาณ เพอ่ื การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ภาคตะวนั ออก 114 กองทุนส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ ไม่เป็นนติ ิบคุ คล ปีงบประมาณ เพื่อการสนับสนุนส่งเสรมิ วิจยั และนวตั กรรม 115 กองทุนนา้ มันเชือ้ เพลงิ ไม่เป็นนติ บิ คุ คล ปงี บประมาณ เพ่อื การสนับสนนุ สง่ เสรมิ

51 ตารางท่ี 15 กรอบหลกั เกณฑ์การประเมินผลการดาเนนิ งานทนุ หมนุ เวยี น ประจาปบี ัญชี 2562 เกณฑป์ ระเมนิ ผลฯ นา้ หนัก แนวทางการกาหนดตัวช้ีวัด (รอ้ ยละ) ด้านที่ 1 15 หลกั การพิจารณาผลสาเรจ็ ดา้ นการเงินให้ครอบคลมุ ทงั้ การเงิน -/+10 1. ผลสาเร็จของการจัดการด้านการเงิน เช่น ร้อยละการชาระหน้ีตามแผน/ อัตราการปล่อยสินเช่ือ/การเพ่ิมความม่ันคงของเงินกองทุน/การบริหาร ต้นทุนต่อหน่วย/การบริหารรายได้นอกงบประมาณ และการจัดหาแหล่ง เงินทนุ ภายนอกตามแผนการจัดการทางการเงิน เป็นต้น 2. ผลสาเร็จที่เป็นตัวเงิน แบ่งกลุ่มตามประเภททุนหมุนเวียน 5 ประเภท ไดแ้ ก่ ตวั ชว้ี ัดด้านการเงินแบง่ กลุ่ม ตัวอย่างตัวชว้ี ัด ตามประเภททนุ หมนุ เวียน 5 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. เพื่อการกยู้ ืม อัตราหน้ีคา้ งชาระ รายได้ดอกเบี้ย 2. เพอ่ื การจาหน่ายและการผลิต รายได้มากกว่าคา่ ใชจ้ า่ ย รายได้จากการ ดาเนินงาน ต้นทุนการผลติ ต่อหน่วย 3. เพื่อการบริการ ต้นทนุ การให้บริการต่อหนว่ ย คา่ ใชจ้ ่าย ดาเนนิ การ ค่าใช้จ่ายพนักงานต่อรายได้ จากการใหบ้ ริการ 4. เพื่อการสงเคราะหแ์ ละ คา่ ใชจ้ า่ ยดาเนินการ คา่ ใช้จา่ ยพนกั งาน สวสั ดกิ ารสังคม ตอ่ จานวนผู้ได้รบั ประโยชน์จากการ ดาเนินงานโครงการหรือต่อจานวน โครงการที่ไดร้ ับการสนับสนุน 5. เพือ่ การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ คา่ ใชจ้ ่ายดาเนนิ การ คา่ ใชจ้ ่ายพนกั งาน ตอ่ จานวนผไู้ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการ ดาเนนิ งานโครงการ หรือหรือต่อจานวน โครงการท่ีไดร้ ับการสนับสนุน

52 เกณฑ์ประเมนิ ผลฯ นา้ หนกั แนวทางการกาหนดตวั ช้ีวัด (ร้อยละ) ดา้ นที่ 2 หลักการขยายขอบเขตการประเมินใหค้ รอบคลมุ ท้ัง การสนองประโยชน์ 15 -/+10 1. การสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี ทเี่ ปน็ หลักเกณฑ์เดิม ต่อผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสยี 2. การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) การพฒั นาสังคมและสง่ิ แวดล้อมตามหลักการพัฒนา ทย่ี ัง่ ยืน พจิ ารณาจากการดาเนนิ งานท่ี ตวั อยา่ งตวั ชวี้ ัด ตอบสนองความต้องการความ คาดหวังของผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี สงั คม และส่ิงแวดล้อม 1. ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการ1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ ารท่มี ี ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานของทุนฯ ในระดับ 4 และ 5 2. การพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านที่ เช่น สะทอ้ นความรับผดิ ชอบต่อ - การปรับปรุงผลิตภณั ฑ์ บรกิ าร และการ สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม ปฏบิ ัตงิ านจากสารวจความต้องการ และ/หรอื การไดร้ บั ผลกระทบเชงิ ลบ ของผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียของทุนหมุนเวยี น - การพฒั นาเครือขา่ ยพนั ธมิตรเพ่อื เสริมสรา้ งการมีสว่ นร่วมของผ้มู สี ว่ นได้ ส่วนเสยี ของทนุ หมุนเวียน - การจัดทาแผนการลดการใช้พลงั งาน และการประหยดั วสั ดุ อปุ กรณ์ในการ ผลิตและการใหบ้ ริการ เปน็ ต้น 3. การประเมินผลลพั ธ์ ระดับความสาเร็จในการบริหารจัดการข้อ (Outcome) ของการ ร้องเรียน การแก้ไขปัญหา และแนวทาง ดาเนนิ งานของทุนฯ แก้ไขอยา่ งเปน็ รปู ธรรม 4. การจดั การขอ้ ร้องเรยี น เชน่ ระดับทัศนคตเิ ชงิ บวกของผูม้ สี ่วนได้ สว่ นเสีย อตั ราส่วนการใช้พลงั งานท่ีลดลง 5. การจดั การดา้ นสงั คมและ จากปที ีผ่ ่านมา และร้อยละของวสั ดุ ส่งิ แวดล้อม อปุ กรณ์ทนี่ ากลบั มาใชซ้ า้ (Reuse) หรือ นากลับมาใหม่ (Recycle) เปน็ ตน้

53 เกณฑป์ ระเมินผลฯ น้าหนกั แนวทางการกาหนดตัวช้ีวดั (รอ้ ยละ) เพ่ิมเติมตัวช้ีวัดร่วม : การจัดทารายงานวิเคราะห์ผู้ใช้บริการหลักและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียทั้งทางตรงและทางอ้อมของทุนหมุนเวียน โดยกาหนดประเมินทุก ทุนหมุนเวียน เพื่อให้ทุนหมุนเวียนเกิดการทบทวนและระบุได้ถึงกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียทั้งทางตรงและทางอ้อมท่ีเก่ียวข้องกับทุนหมุนเวียนอย่างแท้จริง สาหรับใช้ในการกาหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์การดาเนินการ การตอบสนอง ความตอ้ งการ และวิเคราะห์ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์จัดต้ังจากวามสามารถ ในการตอบสนองต่อผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ทกุ กลมุ่ ได้อย่างครบถว้ นสมบรู ณ์ ดา้ นท่ี 3 35 หลกั การเพอ่ื มงุ่ เน้นการประเมนิ ที่ครอบคลุมทง้ั การปฏิบัติการ -/+10 1. การบริหารจัดการกระบวนการปฏิบัติงานสาคัญท่ีทุนหมุนเวียนใช้สร้าง คณุ คา่ และมลู ค่าเพม่ิ ตามวัตถปุ ระสงคจ์ ัดตั้ง 2. ผลสาเร็จจากการบริหารจัดการกระบวนการปฏิบัติงานที่สาคัญ ท่ีสะท้อน ในรูปของประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล คุณภาพ และความเป็นมาตรฐาน กาหนดตวั ช้ีวัดไม่เกิน ตวั อยา่ งตวั ช้วี ัด 3 ตัวชว้ี ดั โดยตัวช้ีวดั - ความสาเร็จของการวิเคราะห์ และจัดทา ตอ้ งสอดคล้องตามภารกิจหลกั แผนพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานสาคัญท่ี ของทนุ หมนุ เวียน สร้างคุณค่าและมูลค่าเพ่ิมตามวัตถุประสงค์ จัดต้งั - ความสาเร็จของการดาเนินงานตามภารกิจ - การดาเนินงานตาม SLA โดยพิจารณาจาก ระดับความสาเร็จการดาเนินงานตาม SLA ท่ี กาหนด - การแกไ้ ขปัญหาทเ่ี ป็นข้อสังเกตจากหนว่ ยงาน ภายนอกเช่น สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) คณะอนุกรรมการประเมินผล ฯ คณะทางานจัดทาบันทึกข้อตกลงฯ กระทรวง เจ้ าสั งกัด โ ด ย พิจ าร ณ า จ า ก : ร ะ ดั บ ความสาเร็จในการทาแผนแก้ไขปัญหาและ ดาเนนิ งานตามแผนงานที่กาหนด สาหรับทุนหมุนเวียนท่ีอยู่ในกลุ่มแผนฟื้นฟู และแผนปรับปรุงและพัฒนาการดาเนินงาน ประเมนิ ผลสาเรจ็ ตามแผนฟื้นฟู และแผนปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินงาน โดยวัดเป็นร้อยละ ความสาเรจ็ ในการปฏิบัติงานตามแผนงานในปี บัญชี 2562 และผลลัพธ์ตามเปูาหมายที่ กาหนด และนาเสนอคณะกรรมการบริหารทุน หมุนเวียนเพื่อพิจารณาและมอบข้อสังเกต รวมท้งั แนวทางแก้ไข

54 เกณฑป์ ระเมินผลฯ นา้ หนัก แนวทางการกาหนดตวั ช้ีวดั (รอ้ ยละ) ด้านท่ี 4 15 กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผล 3 ดา้ น ดงั น้ี การบรหิ ารจดั การ − การบริหารความเสี่ยงและการควบคมุ ภายใน ทนุ หมุนเวียน2 − การตรวจสอบภายใน − การบรหิ ารจดั การสารสนเทศและดิจทิ ัล ดา้ นที่ 4 10 กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผล 2 ดา้ น ดงั น้ี 10 − บทบาทคณะกรรมการบริหารทนุ หมุนเวียน การปฏิบัตงิ านของ − การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล คณะกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารทนุ หมุนเวียน กาหนดเกณฑ์การประเมินผล ดังนี้ พนกั งาน และลูกจา้ ง2 − การเบิกจ่ายเงินตามแผนการเบิกจ่ายที่ได้รับ ดา้ นที่ 6 อนุมตั ิ การดาเนินงานตาม − การรายงานทางการเงิน − การดาเนินการตามแผนพัฒนาระบบการ นโยบายรฐั / กระทรวงการคลัง จา่ ยเงิน และการรับเงินของทนุ หมนุ เวียนผา่ น ระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ หมายเหตุ :1 กรณีทท่ี นุ หมุนเวยี นกาหนดตัวช้ีวัดในด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการสารวจ ความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และดาเนินงานสารวจเอง ให้กาหนดกรอบน้าหนักไม่เกิน รอ้ ยละ 10 โดยหากกาหนดเป็นตวั ชีว้ ัด จะกาหนดชือ่ ตวั ชี้วัดคือ ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ และคานิยามร่วมกัน คือร้อยละของผู้มาใช้บริการท่ีมีความพึงพอใจระดับ 4 (พึงพอใจ) และระดับ 5 (พึงพอใจมาก) เทียบกับจานวนผู้ใช้บริการที่มีการสารวจท้ังหมด (Top 2 Boxes) ซึ่งใช้แบบสอบถาม รวมทัง้ การสัมภาษณ์เป็นเคร่ืองมือในการเก็บข้อมูล โดยกาหนดความพึงพอใจตาม Likert Scale ออกเป็น 5 ระดับ ซึ่งความหมายของแต่ละระดับเป็นดังต่อไปน้ี ระดับท่ี 1 หมายถึง ควรปรับปรุง อยา่ งเรง่ ดว่ นระดบั ท่ี 2 หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ ระดับท่ี 3 หมายถงึ ปานกลางระดับที่ 4 หมายถึง พงึ พอใจ และระดบั ที่ 5 ระดบั หมายถึง พึงพอใจมาก ท้ังน้ี การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ครอบคลุมทุกกลุ่ม โดยกาหนดให้วิธีการวิเคราะห์ผลต้องทาการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา เช่น คา่ สถิติความถี่ (Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉล่ีย (Mean) เป็นต้น เพื่อสรุป ลักษณะตัวอย่าง และสามารถใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลได้ และจานวนต้องเป็นไปตามหลักการ ทางสถิติ อย่างน้อยต้องเป็นตามหลักการ Yamane การกาหนดกลุ่มตัวอย่างต้องครอบคลุมทุกกลุ่ม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสุ่มตัวอย่างต้องกาหนดวิธีการท่ีชัดเจน เช่น การสุ่มอย่างเป็นระบบ (Systematic sampling) หรือการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตามสัดส่วน (Proportional random sampling) เป็นต้น รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากคาถามปลายเปิด จาแนกตามประเดน็ ต่าง ๆ เช่น ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเก่ียวกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสยี เป็นต้น 2 หมายถงึ ตวั ชว้ี ัดรว่ ม ----------------------------------------------------



รายงานการรบั จ่ายเงินงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กรมบัญชีกลาง กองบัญชภี าครัฐ

รัฐบาลไทย รายงานการรับจ่ายเงินงบประมาณประจาปี สนิ้ สุดวันท่ี 30 กนั ยายน 2563 (1) (2) (3) (4) = (2) + (3) หน่วย : บาท (5) = (4) - (1) รายการ งบประมาณ รับจริง - จ่ายจริง เงินกนั ไว้เบกิ เหลอ่ื มปี รวมรับจริง - จา่ ยจริง และเงินกันไวเ้ บกิ เหลอื่ มปี สงู (ตา่ ) กวา่ งบประมาณ 1. รายรับ (423,784,410,734.97) 232,283,641,515.49 1.1 รายได้แผน่ ดิน (รายละเอียดประกอบ 1) 2,731,000,000,000.00 2,307,215,589,265.03 - 2,307,215,589,265.03 (191,500,769,219.48) 1.2 เงนิ กเู้ พอ่ื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ (รายละเอยี ดประกอบ 2) 469,000,000,000.00 701,283,641,515.49 - 701,283,641,515.49 (58,837,468,614.46) รวมรายรับ (ก) 3,200,000,000,000.00 3,008,499,230,780.52 - 3,008,499,230,780.52 - 2. รายจา่ ยตามงบประมาณประจาปี พ.ศ. 2563 (รายละเอยี ดประกอบ 3) (52.20) (58,837,468,666.66) 2.1 รายจา่ ยตามงบประมาณ 3,103,600,662,982.26 2,847,456,332,741.64 197,306,861,626.16 3,044,763,194,367.80 (76,247,179.25) 2.2 รายจา่ ยชาระคืนต้นเงนิ กู้ 33,689,871,217.74 33,689,871,217.74 - 33,689,871,217.74 (650,742,075.08) (675,780,803.17) 2.3 รายจ่ายเพอ่ื ชดใช้เงนิ คงคลัง 62,709,465,800.00 62,709,465,747.80 - 62,709,465,747.80 (621,201,032.83) (1,780,184,810.57) รวม (ข) 3,200,000,000,000.00 2,943,855,669,707.18 197,306,861,626.16 3,141,162,531,333.34 (4,452,758,523.96) (7,015,051,959.82) 3. รายจ่ายจากเงินกนั ไว้เบกิ เหลอ่ื มปี (เงินงบประมาณปกี อ่ น) (23,224,720,283.68) (38,496,686,668.36) 3.1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 128,994,610.54 52,747,431.29 - 52,747,431.29 - 3.2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 836,641,672.06 185,899,596.98 - 185,899,596.98 - (97,334,155,335.02) 3.3 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 1,567,392,591.53 891,611,788.36 - 891,611,788.36 (364,946,942,068.31) 3.4 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 1,370,115,789.19 748,914,756.36 - 748,914,756.36 (132,663,300,552.82) 3.5 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 4,029,489,005.30 2,249,304,194.73 - 2,249,304,194.73 (94,166,613,884.46) 3.6 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 14,241,120,431.26 9,788,361,907.30 - 9,788,361,907.30 3.7 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 48,271,854,698.86 41,256,802,739.04 - 41,256,802,739.04 3.8 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 192,921,235,103.29 169,696,514,819.61 - 169,696,514,819.61 รวม (ค) 263,366,843,902.03 224,870,157,233.67 - 224,870,157,233.67 4. รายจา่ ยตามกฎหมายว่าดว้ ยเงินคงคลัง รายจ่ายตามกฎหมายวา่ ดว้ ยเงนิ คงคลัง ---- รวม (ง) ---- รวมรายจ่ายทง้ั สนิ้ (จ) = [ (ข) + (ค) + (ง) ] 3,463,366,843,902.03 3,168,725,826,940.85 197,306,861,626.16 3,366,032,688,567.01 5. ดลุ ของงบประมาณประจาปี 5.1 รายไดแ้ ผน่ ดนิ สงู (ตา่ ) กว่ารายจ่ายตามงบประมาณ [ 1.1 - (ข) ] (469,000,000,000.00) (636,640,080,442.15) (197,306,861,626.16) (833,946,942,068.31) 5.2 รายรับสงู (ตา่ ) กว่ารายจ่ายตามงบประมาณ [ (ก) - (ข) ] - 64,643,561,073.34 (197,306,861,626.16) (132,663,300,552.82) 6. ดลุ การรับ - จ่ายเงิน รายรับสูง (ตา่ ) กวา่ รายจา่ ยทง้ั สนิ้ (ก) - (จ) (263,366,843,902.03) (160,226,596,160.33) (197,306,861,626.16) (357,533,457,786.49) หมายเหตุ : เรียกขอ้ มลู ณ วันท่ี 12 ตลุ าคม 2563 1. วงเงนิ กเู้ พอื่ ชดเชยการขาดดลุ งบประมาณแสดงตามเอกสารพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 469,000.00 ล้านบาท ซ่ึงวงเงนิ กเู้ พอื่ รองรับกรณีรายจา่ ยสูงกว่ารายได้ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี จานวน 214,093.00 ล้านบาท ไม่ได้นามารวมแสดงไว้ด้วย 2. รายรับจริงจากเงนิ กนู้ น้ั เปน็ การรวมรายรับจากเงนิ กเู้ พอื่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณและรายรับจากเงนิ กเู้ พอื่ รองรับกรณีรายจา่ ยสูงกว่ารายได้

รายงานสรปุ รายรบั ประเภทรายได้แผ่นดนิ รายละเอียดประกอบ 1 ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หนว่ ย : บาท ประเภทรายได้ (1) (2) ประมาณการ รบั จรงิ (3) = (2) - (1) 1. รายได้ภาษีอากร สูง (ตา่ ) กว่าประมาณการ ภาษที างตรง 2,969,417,058,400.00 2,493,750,590,488.58 ภาษกี ารขายท่ัวไป 1,144,200,000,000.00 957,807,340,542.39 (475,666,467,911.42) ภาษกี ารขายเฉพาะ 808,595,297,223.02 (186,392,659,457.61) ภาษสี ินค้าเข้า - ออก 971,900,000,000.00 579,412,880,762.48 (163,304,702,776.98) ภาษลี ักษณะอนุญาต 690,659,066,000.00 91,722,537,504.82 (111,246,185,237.52) 108,600,000,000.00 56,212,534,455.87 (16,877,462,495.18) 2. การขายสิงของและบรกิ าร 54,057,992,400.00 20,655,362,955.14 3. รฐั พาณชิ ย์ 40,515,638,500.00 188,860,848,969.65 2,154,542,055.87 4. รายไดอ้ ืน 188,800,000,000.00 64,049,993,474.56 (19,860,275,544.86) 38,767,303,100.00 รวมรายไดแ้ ผ่นดิน 3,237,500,000,000.00 2,767,316,795,887.93 60,848,969.65 หกั ถอนคืนรายได้แผ่นดิน 506,500,000,000.00 460,101,206,622.90 25,282,690,374.56 2,731,000,000,000.00 (470,183,204,112.07) รายได้สุทธิ 2,307,215,589,265.03 (46,398,793,377.10) หมายเหตุ : เรยี กขอ้ มูล ณ วนั ที่ 12 ตุลาคม 2563 (423,784,410,734.97)

รายงานสรปุ รายรบั ประเภทเงนิ กู้เพอื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ รายละเอียดประกอบ 2 ประจ่าปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 หน่วย : บาท ประเภทเงนิ กู้ (1) (2) (3) = (2) - (1) วงเงนิ รบั จรงิ สูง (ตา่ ) กว่าวงเงนิ เงนิ กู้เพอื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ประจ่าปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 1,840,000,000.00 1. สัญญากู้ยมื 60,000,000,000.00 60,000,000,000.00 141,207,057,258.10 89,236,584,257.39 2. ต๋ัวสัญญาใช้เงิน 81,380,000,000.00 83,220,000,000.00 232,283,641,515.49 3. พนั ธบตั รรัฐบาล 147,620,000,000.00 288,827,057,258.10 4. ตั๋วเงินคลัง 180,000,000,000.00 269,236,584,257.39 รวมเงนิ กู้เพอื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 469,000,000,000.00 701,283,641,515.49 หมายเหตุ : 1. วงเงินกเู้ พื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณแสดงตามเอกสารพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 469,000.00 ล้านบาท ซึ่งวงเงินกู้เพื่อรองรับกรณีรายจา่ ยสูงกวา่ รายได้ตามมติคณะรฐั มนตรี จานวน 214,093.00 ล้านบาท ไม่ได้นามารวมแสดงไวด้ ้วย 2. รายรับจรงิ จากเงินกู้นั้นเปน็ การรวมรายรบั จากเงินกเู้ พอื่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณและรายรบั จากเงินกู้เพ่ือรองรบั กรณรี ายจ่ายสูงกวา่ รายได้ 3. รายรบั จรงิ จากเงินกู้ของรัฐบาลได้รวมส่วนเกนิ และหกั ส่วนตา่ กวา่ มูลค่า จานวน 18,190.64 ล้านบาท

รายละเอียดประกอบ 3 รายงานสรปุ รายจ่ายในงบประมาณ จา่ แนกตามงบรายจ่าย ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 รายการ (1) (2) (3) (4) = (2) + (3) หนว่ ย : บาท เงนิ กันไว้เบกิ เหล่ือมปี รวมรายจ่ายจรงิ และ (5) = (4) - (1) งบประมาณรายจ่าย รายจ่ายจรงิ เงนิ กันไว้เบกิ เหลื่อมปี รวมรายจ่ายจรงิ และ (หลังโอนเปลี่ยนแปลง) 30 กันยายน 2563 เงนิ กันไวเ้ บกิ เหลื่อมปี (ต่า) กวา่ งบประมาณรายจ่าย รายจ่ายตามงบประมาณประจ่าปี 1.1 รายจ่ายงบประมาณ 3,103,600,662,982.26 2,847,456,332,741.64 197,306,861,626.16 3,044,763,194,367.80 (58,837,468,614.46) 552,196,163,167.40 23,836,436,374.80 576,032,599,542.20 (28,871,695,243.25) - งบกลาง 604,904,294,785.45 623,943,201,429.86 - 623,943,201,429.86 (1,727,729,455.12) 138,546,481,657.60 6,682,335,524.07 145,228,817,181.67 (2,899,176,853.90) - งบบคุ ลากร 625,670,930,884.98 265,985,508,285.85 107,236,768,813.04 373,222,277,098.89 (7,891,319,438.86) 683,120,539,582.63 25,368,763,720.33 708,489,303,302.96 (14,485,035,969.87) - งบดาเนินงาน 148,127,994,035.57 583,664,438,618.30 34,182,557,193.92 617,846,995,812.22 (2,962,511,653.46) 33,689,871,217.74 - 33,689,871,217.74 - งบลงทนุ 381,113,596,537.75 62,709,465,747.80 - 62,709,465,747.80 - (52.20) - งบอดุ หนุน 722,974,339,272.83 2,943,855,669,707.18 197,306,861,626.16 3,141,162,531,333.34 (58,837,468,666.66) - งบรายจา่ ยอ่ืน 620,809,507,465.68 1.2 รายจ่ายช่าระคืนต้นเงนิ กู้ 33,689,871,217.74 1.3 รายจ่ายเพอ่ื ชดใชเ้ งนิ คงคลัง 62,709,465,800.00 รวมทั้งสิ้น 3,200,000,000,000.00 หมายเหตุ : เรียกขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 12 ตุลาคม 2563

รายละเอียดประกอบ รายงานการรับจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

สารบัญ หนา้ 1 รายละเอียดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผน่ ดิน 6 รายละเอียดรายรับประเภทเงินกู้ (เงินกเู้ พ่ือชดเชยการขาดดลุ งบประมาณ) รายละเอยี ดรายจ่ายเงนิ งบประมาณประจาปีเปรียบเทยี บงบประมาณรายจ่าย 9 10 - งบประมาณรายจ่ายงบกลาง 48 - งบประมาณรายจ่ายของหน่วยรบั งบประมาณ 64 - งบประมาณรายจ่ายสาหรบั แผนงานบูรณาการ 74 - งบประมาณรายจ่ายสาหรับแผนงานบคุ ลากรภาครฐั 76 - งบประมาณรายจ่ายสาหรับทุนหมนุ เวยี น 77 - งบประมาณรายจ่ายเพื่อการชาระหน้ีภาครฐั 78 - งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใชเ้ งินคงคลัง รายละเอียดรายจา่ ยชาระคืนตน้ เงนิ กู้ 79 รายงานสรุปรายจ่ายจากเงินกันไว้เบกิ เหลอ่ื มปี 80 - ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2555 81 - ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 82 - ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 83 - ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 84 - ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 86 - ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 88 - ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

รายละเอยี ดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผน่ ดนิ รายละเอยี ดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผ่นดนิ รบั จรงิ หนว่ ย : บาท -1- ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 2,493,750,590,488.58 สูง (ต่า) กวา่ ประมาณการ ประเภทรายได้ 957,807,340,542.39 1. รายไดภ้ าษอี ากร ประมาณการ 337,056,875,708.98 (475,666,467,911.42) 2,969,417,058,400.00 549,704,429,870.38 (186,392,659,457.61) 1.1 ภาษที างตรง 1,144,200,000,000.00 70,900,910,078.92 ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา 358,500,000,000.00 145,124,884.11 (21,443,124,291.02) ภาษเี งินไดน้ ิติบคุ คล 727,000,000,000.00 1,535,943,249,946.19 (177,295,570,129.62) ภาษเี งนิ ได้ปโิ ตรเลยี ม 58,700,000,000.00 808,595,297,223.02 ภาษมี รดก - 736,012,102,389.10 12,200,910,078.92 1,825,217,058,400.00 57,501,266,158.46 145,124,884.11 1.2 ภาษีทางอ้อม 971,900,000,000.00 15,081,524,803.66 1.2.1 ภาษีการขายทวั ไป 890,000,000,000.00 403,871.80 (289,273,808,453.81) ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ 65,600,000,000.00 579,412,880,762.48 (163,304,702,776.98) ภาษธี รุ กิจเฉพาะ 16,300,000,000.00 537,919,420,942.05 (153,987,897,610.90) อากรแสตมป์ - 1,979,186,627.00 ภาษกี ารขายทว่ั ไปอ่นื 690,659,066,000.00 55,437,277,667.26 (8,098,733,841.54) 1.2.2 ภาษกี ารขายเฉพาะ 641,914,409,900.00 78,925,200,360.74 (1,218,475,196.34) (1) ภาษโี ภคภณั ฑ์ภายใน 2,918,420,000.00 24,392,923,956.70 ภาษรี ถจกั รยานยนต์ 51,467,490,000.00 62,361,898,984.80 403,871.80 ภาษสี ุราและแสตมปส์ ุรา 79,109,220,000.00 197,814,911,431.92 (111,246,185,237.52) ภาษเี บยี ร์ 23,205,790,000.00 82,298,893,731.10 (103,994,988,957.95) ภาษเี ครื่องด่มื ไมม่ ีแอลกอฮอล์ 43,304,980,000.00 31,979,302,619.10 แสตมปย์ าสูบ 234,076,050,000.00 190,175,527.17 (939,233,373.00) ภาษนี ้ามนั 137,725,300,000.00 714,443,237.14 3,969,787,667.26 ภาษสี รรพสามิตจากการน้าเข้า 66,705,820,000.00 29,397,335.48 (184,019,639.26) ภาษรี ถยนต์ 203,630,000.00 1,795,809,463.64 1,187,133,956.70 ภาษผี ลิตภณั ฑเ์ คร่ืองหอมและเคร่ืองสา้ อาง 1,114,409,900.00 41,493,459,820.43 19,056,918,984.80 ภาษสี ถานบรกิ าร 28,920,000.00 66,301,772.02 (36,261,138,568.08) คา่ ธรรมเนยี มประทับตราไพ่ 2,054,380,000.00 209,771.82 (55,426,406,268.90) ภาษแี บตเตอรี่ 48,744,656,100.00 404,255.74 (34,726,517,380.90) (2) ภาษที รพั ยากรธรรมชาติ 62,645,700.00 191,093.80 อากรการประมง 276,000.00 1,510,620,048.04 (13,454,472.83) คา่ ภาคหลวงไมส้ กั 340,000.00 39,915,732,879.01 (399,966,662.86) ค่าภาคหลวงไม้กระยาเลย 15,000.00 ค่าภาคหลวงฟนื ถ่านและของปา่ อืน่ ๆ 1,949,600,000.00 477,335.48 ค่าภาคหลวงแร่ 46,731,779,400.00 (258,570,536.36) ค่าภาคหลวงนา้ มนั และกา๊ ชธรรมชาติ (7,251,196,279.57) 3,656,072.02 (66,228.18) 64,255.74 176,093.80 (438,979,951.96) (6,816,046,520.99)

รายละเอียดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผน่ ดนิ รายละเอยี ดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผน่ ดนิ รบั จรงิ หนว่ ย : บาท -2- ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 91,722,537,504.82 สงู (ตา่ ) กว่าประมาณการ ประเภทรายได้ 148,177,996.07 1.2.3 ภาษีสนิ คา้ เขา้ - ออก ประมาณการ 91,574,359,508.75 (16,877,462,495.18) 108,600,000,000.00 56,212,534,455.87 48,177,996.07 อากรขาออก 100,000,000.00 398,049,890.48 อากรขาเขา้ 108,500,000,000.00 38,394,530.60 (16,925,640,491.25) 1.2.4 ภาษีลกั ษณะอนุญาต 54,057,992,400.00 9,596,644.82 2,154,542,055.87 คา่ ใบอนุญาตอื่นด้านภาษสี รรพสามติ ยาสูบ 522,500,000.00 3,255,692,664.14 คา่ ใบอนุญาตดา้ นปา่ ไม้ 41,000,000.00 51,211,337,423.71 (124,450,109.52) คา่ ใบอนุญาตยาง 9,000,000.00 32,434,356.36 (2,605,469.40) คา่ ใบอนญุ าตตา่ งด้าว 5,872,022,000.00 95,745,172.76 596,644.82 ค่าธรรมเนียมใบอนญุ าตวทิ ยคุ มนาคม 46,800,000,000.00 821,131,053.31 คา่ ใบอนญุ าตการพนัน 37,203,400.00 336,096,601.74 (2,616,329,335.86) ค่าใบอนญุ าตอาวธุ ปนื และดอกไมเ้ พลงิ 98,513,700.00 8,757,740.95 4,411,337,423.71 ค่าใบอนุญาตอื่นด้านมหาดไทย 430,721,400.00 5,175,677.00 ค่าใบอนญุ าตสาธารณสุข 233,786,700.00 122,700.00 (4,769,043.64) ค่าใบอนญุ าตนา้ บาดาล 4,380,000.00 20,655,362,955.14 (2,768,527.24) ค่าใบอนญุ าตสงวน และคมุ้ ครองสตั วป์ า่ 8,638,400.00 1,553,745,242.27 390,409,653.31 รายได้ใบอนุญาตประกอบกจิ การคลงั สินค้า ไซโล และหอ้ งเยน็ 226,800.00 184,583,016.45 102,309,901.74 2. การขายสิงของและบรกิ าร 40,515,638,500.00 9,960.00 4,377,740.95 2.1 การขายหลักทรพั ยแ์ ละทรพั ย์สิน 1,030,250,600.00 184,573,056.45 (3,462,723.00) 2.1.1 ค่าขายอสงั หารมิ ทรพั ย์ 29,330,800.00 115,077,536.54 ค่าขายอสังหารมิ ทรพั ย์ทว่ั ไป - 150,912.50 (104,100.00) ค่าขายทีด่ นิ และอาคารราชพสั ดุ 29,330,800.00 3,881,441.47 (19,860,275,544.86) 2.1.2 ค่าขายผลติ ภณั ฑ์ธรรมชาติ 134,079,600.00 111,045,182.57 คา่ ขายนา้ มนั - 4,779,569.70 523,494,642.27 คา่ ขายไม้ 1,700,000.00 4,779,569.70 155,252,216.45 คา่ ขายพชื ผลและพนั ธุ์สัตว์ 132,379,600.00 1,249,305,119.58 2.1.3 คา่ ขายหนงั สอื ราชการ 5,495,900.00 - 9,960.00 ค่าขายหนงั สอื ราชการ 5,495,900.00 132,716,253.65 155,242,256.45 2.1.4 ค่าขายสิงของอืน 861,344,300.00 584,368,265.83 (19,002,063.46) รายไดจ้ ากการขายลงทุน 1,000,000.00 6,399,022.18 คา่ ขายของกลาง 53,583,200.00 373,343,750.00 150,912.50 คา่ ขายของเบด็ เตล็ด 618,657,900.00 152,477,827.92 2,181,441.47 คา่ ขายผลิตผลจากการวจิ ยั 51,962,500.00 (21,334,417.43) รายไดค้ ่าซือเอกสารจัดซือจดั จ้าง 63,590,100.00 (716,330.30) ค่าขายครภุ ณั ฑ์ 72,550,600.00 (716,330.30) 387,960,819.58 (1,000,000.00) 79,133,053.65 (34,289,634.17) (45,563,477.82) 309,753,650.00 79,927,227.92

รายละเอียดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผน่ ดนิ รายละเอยี ดรายรบั ประเภทรายไดแ้ ผ่นดนิ รบั จรงิ หน่วย : บาท -3- ประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 19,101,617,712.87 สูง (ต่า) กวา่ ประมาณการ ประเภทรายได้ 11,880,874,808.92 2.2 การขายบรกิ าร ประมาณการ 7,845,547,839.37 (20,383,770,187.13) 39,485,387,900.00 531,979,631.80 (20,490,212,391.08) 2.2.1 ค่าบรกิ าร 32,371,087,200.00 334,400,740.69 (4,530,589,660.63) (1) คา่ ธรรมเนียม 12,376,137,500.00 523,408,763.00 ค่าธรรมเนียมท่ีดิน และคา่ จดทะเบยี นอสงั หารมิ ทรพั ย์ 575,560,700.00 37,211.00 (43,581,068.20) คา่ ธรรมเนียมศุลกากร - 27,883,160.02 334,400,740.69 คา่ ธรรมเนียมควบคมุ โรคระบาดสัตว์ 401,450,000.00 1,292,040.90 121,958,763.00 คา่ ธรรมเนียมประตนู ้า 38,500.00 - คา่ ธรรมเนียมการประมง 42,326,000.00 778,523.00 (1,289.00) ค่ารรมเนียมบ้ารงุ ปา่ 1,500,100.00 208,354,809.87 (14,442,839.98) ค่าธรรมเนียมการบนิ 478,800,000.00 431,186,237.97 ค่าธรรมเนยี มการใชส้ นามบนิ - 30,938,834.64 (208,059.10) ค่าธรรมเนียมการขนสง่ ทางบก 270,308,400.00 3,013.10 (478,800,000.00) ค่าธรรมเนียมการขนสง่ ทางน้า 413,274,000.00 14,780,754.49 ค่าธรรมเนียมการปโิ ตรเลียม - 2,135,805,896.65 778,523.00 ค่าธรรมเนยี มอื่น - 210,636,821.43 (61,953,590.13) ค่าธรรมเนยี มแร่ 337,000.00 560,179,461.81 17,912,237.97 ค่าธรรมเนียมจดทะเบยี นการคา้ 2,349,146,300.00 57,182,138.00 30,938,834.64 คา่ ธรรมเนยี มโรงงาน 409,673,700.00 2,150,879,719.33 คา่ ธรรมเนียมสมั ปทาน 772,342,800.00 623,683,331.67 3,013.10 คา่ ธรรมเนยี มประกอบอาชพี คนต่างด้าว 70,000,000.00 2,000.00 14,443,754.49 คา่ ธรรมเนยี มการกงสุล 6,033,930,000.00 1,102,130.00 (213,340,403.35) คา่ ธรรมเนยี มนา้ บาดาล 555,600,000.00 1,032,620.00 (199,036,878.57) ค่าธรรมเนียมในการจดั รปู ทีด่ ิน - 4,035,326,969.55 (212,163,338.19) ค่าธรรมเนยี มใบอนุญาตจัดหางานใหค้ นหางานทา้ งานในประเทศ 1,080,000.00 4,035,326,969.55 (12,817,862.00) คา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าตใหค้ นงานเพอ่ื ไปทา้ งานในตา่ งประเทศ 770,000.00 7,220,742,903.95 (3,883,050,280.67) (2) ค่าธรรมเนยี มเบด็ เตล็ด 19,994,949,700.00 7,218,737,013.73 68,083,331.67 ค่าธรรมเนยี มเบต็ เตล็ด 19,994,949,700.00 7,218,737,013.73 7,114,300,700.00 2,005,890.22 2,000.00 2.2.2 คา่ เชา่ 7,098,074,200.00 2,005,890.22 22,130.00 (1) ค่าเชา่ อสงั หารมิ ทรพั ย์ 7,098,074,200.00 262,620.00 ค่าเชา่ อสังหารมิ ทรพั ย์ 16,226,500.00 (15,959,622,730.45) (2) คา่ เชา่ เบด็ เตล็ด 16,226,500.00 (15,959,622,730.45) ค่าเชา่ เบด็ เตล็ด 106,442,203.95 120,662,813.73 120,662,813.73 (14,220,609.78) (14,220,609.78)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook