Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2. เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม เล่มที่ 1

2. เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม เล่มที่ 1

Published by agenda.ebook, 2021-01-19 07:11:09

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม เล่มที่ 1 การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 22 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564

Search

Read the Text Version

ทผี่ า่ นมา บตท. มงุ่ มนั่ ในการพฒั นาบคุ ลากรและดา้ นเทคโนโลย ี เพอื่ ใหม้ คี วามพรอ้ ม ท่ีจะปฏิบัติงานตามบทบาทและพฤติกรรมท่ีคาดหวังในบริบทของการปรับเปล่ียน เปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั  และสามารถนา� เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนเ์ พอื่ สง่ มอบ ผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณค่าต่อลูกค้า นักลงทุน  และประชาชนอย่างสูงสุด  เพอ่ื พฒั นาองคก์ รใหเ้ ปน็ องคก์ รคณุ ธรรม มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ทุกภาคสว่ นในบทบาทของสถาบันการเงนิ เฉพาะกจิ ของรฐั   ในโอกาสน ้ี ผมขอขอบคณุ คณะกรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน บตท. ทกุ ทา่ น ส�าหรับความทุ่มเทและความอุตสาหะในปีท่ีผ่านมา  ส่งผลให้ผลประกอบการ และการดา� เนนิ งานของ บตท. อยใู่ นระดบั ทน่ี า่ พอใจภายใตส้ ถานการณแ์ ละบรบิ ท ทางเศรษฐกิจท่ีผันผวน  และขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องท่ีได้สนับสนุน การดา� เนนิ งานของ บตท. มาโดยตลอด ทา� ให ้ บตท. สามารถทา� หนา้ ทต่ี ามพนั ธกจิ   ในฐานะหน่วยงานสังกัดกระทรวงการคลงั ไดอ้ ย่างภาคภูมใิ จ (นายอรรถพล อรรถวรเดช) ประธานกรรมการ รายงานประจำาปี 2562 7

สารรักษาการผจู้ ัดการ บตท. Message from Acting President of SMC ในป ี 2562 เศรษฐกิจไทยคอ่ นข้างผนั ผวน และชะลอตัวลง พบว่าผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (จดี พี ี)  ขยายตวั  2.4% (ตามรายงานภาวะเศรษฐกจิ ของสา� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คม แหง่ ชาต ิ (สศช.) เมอื่ เดอื นกมุ ภาพนั ธ ์ 2563) ซงึ่ เปน็ ผลจากการชะลอตวั ของเศรษฐกจิ โลก มาตรการกดี กนั ทางการคา้  การแขง็ คา่ ของเงนิ บาท และผลกระทบปญั หาภยั แลง้  ประกอบกบั การเรม่ิ แพรร่ ะบาดของไวรสั โควดิ -19 ในชว่ งปลายป ี 2562 ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การทอ่ งเที่ยวทวั่ โลก ทผี่ า่ นมาภาวะตลาดอสังหาริมทรพั ย์ เผชญิ กบั ความทา้ ทายจากปจั จยั ดา้ นเศรษฐกจิ  ภาครฐั จงึ ไดอ้ อกมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกจิ  เพอ่ื สรา้ ง บรรยากาศเชงิ บวกแกต่ ลาดทอี่ ยอู่ าศยั  อาท ิ “โครงการบา้ นนม้ี ดี าวน”์  เพอ่ื ลดภาระและสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชน ทว่ั ไปมที อี่ ยอู่ าศยั เปน็ ของตนเอง มาตรการ “ชมิ ชอ้ ปใช”้  เปน็ การกระตนุ้ การใชจ้ า่ ยในประเทศ มาตรการ ลดภาระใหก้ บั ผซู้ อื้ ทอ่ี ยอู่ าศยั  โดยลดคา่ ธรรมเนยี มจดทะเบยี นการโอนและการจดจา� นอง  เพอื่ บรรเทาภาระ ใหแ้ ก่ประชาชน และเพ่ือใหต้ ลาดอสงั หาริมทรัพยม์ ีแรงขบั เคลือ่ นไดต้ อ่ เน่อื ง แมว้ า่ ในป ี 2562 บตท. ไมม่ กี ารขยายธรุ กรรมจากการซอื้ สนิ เชอื่ ทอ่ี ยอู่ าศยั เพม่ิ ขนึ้ แตอ่ ยา่ งใด ณ สนิ้ ป ี 2562  บตท. กย็ งั สามารถรกั ษาผลประกอบการไวอ้ ยา่ งนา่ พอใจ โดยมกี า� ไรสทุ ธ ิ 74 ลา้ นบาท จากการลดลง ของการส�ารองหนี้สงสัยจะสูญ  และการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพ  มีสินทรัพย์รวม  15,645  ล้านบาท  และมีมูลค่าคงค้างของตราสารหน้ีภายใต้โครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ท่ีเปน็ หุน้ กชู้ นดิ มหี ลักประกัน 9,666 ลา้ นบาท นอกจากน้ ี บตท. ยังได้รบั การคงอันดับเครดิตองคก์ ร และพนั ธบตั รไมด่ อ้ ยสทิ ธไิ มม่ หี ลกั ประกนั  รวมทง้ั หนุ้ กมู้ ปี ระกนั ตามโครงการแปลงสนิ ทรพั ยเ์ ปน็ หลกั ทรพั ย์ ท ี่ ระดบั  AA- ดว้ ยแนวโนม้  “Stable” หรอื  “คงท”ี่  ดว้ ยความมงุ่ มน่ั ดา� เนนิ งานตามแผนงานบรหิ ารความเสย่ี ง ที่มปี ระสิทธิภาพ ภายใตก้ ลยทุ ธท์ เ่ี หมาะสม จงึ ทา� ให้ บตท. สามารถลดผลกระทบของปจั จยั เสยี่ ง และ ปรบั แนวทางดา� เนินงานให้สอดคลอ้ งกับภาวการณ์ท่เี กดิ ขนึ้ ไปไดด้ ้วยดี 8 รายงานประจาำ ปี 2562

บตท.  ได้ลงนามความร่วมมือกับบริษัทบริหารสินทรัพย์สุขุมวิท  จ�ากัด  (SAM)  เพื่อมอบหมายให้ท�าหน้าที่บริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์รอการขาย  รวมถึง น�าทรัพย ์ NPA ประชาสมั พนั ธใ์ หแ้ กล่ กู ค้า ในงานประมูลขายบา้ นมอื สองร่วมกบั ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สว่ นงานดา้ นความสมั พันธ์กบั ต่างประเทศน้ัน บตท.  ไดร้ ว่ มงานสมั มนา “The 6th Asian Fixed Income Summit : AFIS” และงานประชมุ สมาคมตลาดรองสนิ เชอ่ื ทอ่ี ยอู่ าศยั แหง่ เอเชยี  (Asian Secondary Mortgage Market  Association:  ASMMA)  เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์น�าไปพัฒนา การดา� เนินงานของกลุ่มประเทศสมาชิก นอกจากน ้ี บตท. ยงั ใหค้ วามสา� คญั กบั การดา� เนนิ งานดา้ นสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม  มงุ่ เนน้ จัดกจิ กรรมใหค้ วามรูท้ างการเงนิ กบั  “SMC Money  Talk” ใหค้ วามรู้ แกค่ ณาจารย ์ บคุ ลากรทางการศกึ ษาและนกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑติ   การผลิตวิดีโอให้ความรู้ผ่านสื่อออนไลน์กับแคมเปญ  “SMC  FinClip :  บตท. ชวนท�าดีเพ่ือแม่” กับการให้ความรู้เทคนิคการออมกับเจ้าหน้าท่ีของมูลนิธิ บ้านกึ่งวิถีหญิง  รวมถึงจัดแคมเปญลดภาวะโลกร้อนกับการรณรงค์ใช้ถุงผ้า  “SMC :  Good Things  Inside”  เพื่อส่งเสริมนโยบายภาครัฐในการลดใช้ ถงุ พลาสติกเพ่อื รักษาสงิ่ แวดล้อม  ท้ายทีส่ ุดนี้ ผมขอขอบคุณหนว่ ยงานก�ากบั ดูแล บตท. คคู่ า้  พนั ธมิตร และลกู ค้า  ท่ีใหก้ ารสนับสนุน  บตท.  ด้วยดีเสมอมา  และขอขอบคุณ  ผบู้ ริหาร  พนักงาน  และลกู จา้ ง ในการทมุ่ เทปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความรบั ผดิ ชอบมาตลอดทงั้ ป ี ทา� ให ้ บตท.  ดา� เนนิ งานสา� เรจ็ ตามเป้าหมายและมีผลประกอบการเปน็ ทนี่ า่ พอใจ ผมเชื่อมน่ั ว่า  บตท. จะเป็นองค์กรที่มีคุณค่า  และมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและความพร้อม ในการสรา้ งประโยชนแ์ กป่ ระชาชน และประเทศชาตสิ บื ไป (นายกรพล ชนิ พัฒน์) รกั ษาการผู้จัดการ บตท. ผู้ชว่ ยกรรมการผู้จัดการ สายบรหิ ารสนิ เชื่อ หมายเหต ุ : ดา� รงตา� แหนง่ รักษาการผ้จู ดั การ บตท. ตัง้ แตว่ ันที ่ 1 มีนาคม 2563 รายงานประจาำ ปี 2562 9

คณะกรรมการ บตท. Board of Directors นายอรรถพล อรรถวรเดช ประธานกรรมการ 10 รายงานประจำาปี 2562

ประวตั ิการศกึ ษา / อบรม ประวัติการทา� งาน • ปริญญาโทกฎหมาย นติ ศิ าสตรมหาบัณฑิต • ผู้อาำ นวยการสำานกั กฎหมาย สาำ นกั งานเศรษฐกิจการคลัง (สาขากฎหมายธรุ กิจ) มหาวทิ ยาลัยรามคำาแหง • กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ในคณะกรรมการคมุ้ ครองข้อมลู เครดติ • คณะทำางานปรับปรุงคณุ ภาพสินทรพั ย์ • ปรญิ ญาตรีกฎหมาย นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยรามคาำ แหง บรษิ ัท บรหิ ารสนิ ทรพั ยส์ ุขมุ วทิ จาำ กัด • คณะอนกุ รรมการกฎหมาย สาำ นักงานความรว่ มมอื พัฒนา • ประกาศนียบตั รบัณฑิตทางกฎหมายธรุ กิจ (สาขากฎหมายกับการบรหิ ารความเสี่ยง) เศรษฐกจิ กับประเทศเพือ่ นบา้ น มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ • คณะกรรมการเปรยี บเทยี บ สำานกั งานคณะกรรมการกาำ กบั • หลักสูตรนักบรหิ ารระดับสูง รุ่นที่ 80 สำานกั งาน ก.พ. หลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ • หลักสูตรนกั บรหิ ารกิจการยุติธรรมทางแพง่ และพาณชิ ย์ ตา� แหน่งปจั จบุ ัน กระทรวงยุตธิ รรม • หลกั สูตรนกั บรหิ ารระดับกลาง สถาบนั ทีป่ รึกษา • รองผ้อู ำานวยการ สาำ นักงานเศรษฐกิจการคลงั • คณะกรรมการ บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จำากดั (มหาชน) เพอ่ื พัฒนาประสิทธภิ าพในราชการ • หลักสูตรประกาศนยี บตั รกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรภาษาและวัฒนธรรม Nanzan University ประเทศญ่ีป่นุ รายงานประจาำ ปี 2562 11

คณะกรรมการ บตท. Board of Directors นายชยั ชาญ สทิ ธวิ ริ ชั ธรรม นางศรินทิพย์ ชนะภัย กรรมการ กรรมการ 12 รายงานประจำาปี 2562

นายชัยชาญ สิทธวิ ิรัชธรรม กรรมการ ประวัตกิ ารศกึ ษา / อบรม นางศรินทพิ ย์ ชนะภยั • ปริญญาโท ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (รฐั ศาสตร)์ กรรมการ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง ประวัติการศกึ ษา / อบรม • เนตบิ ัณฑิตไทย สาำ นกั อบรมศกึ ษากฎหมาย แหง่ เนติบัณฑติ ยสภา • บริหารธุรกจิ มหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ • บริหารธุรกิจบัณฑติ (การตลาด) มหาวิทยาลยั รามคำาแหง • ประกาศนยี บัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน • หลกั สูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาำ หรับนกั บริหารระดับสงู (ปปร.) รุ่นท่ี 20 • ปริญญาตรี นติ ศิ าสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคาำ แหง สถาบันพระปกเกล้า • Legal and Legislation Studies – Community • หลักสูตรการเสรมิ สร้างพลังความเป็นผู้นาำ (ELP) คณะพาณิชยศาสตร์และการบญั ชี & Strata Titles, New South Wales Land Titles Office มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ Sydney, Australia • โครงการสัมมนาผบู้ ริหารธนาคารและสถาบันการเงนิ • ดงู านดา้ นระบบจดทะเบยี นสิทธิและนติ กิ รรม FINEX รุ่น 21 ในอสังหารมิ ทรัพย์โดยอัตโนมัตผิ า่ นระบบเครอื ข่ายและ • หลกั สตู ร Success Formulation & Execution ระบบศูนย์ข้อมูลแผนท่รี ูปแปลงทีด่ ินแห่งชาติ of Strategy รุ่น SFE 5/2009 สมาคมสง่ เสริมสถาบัน ณ ประเทศองั กฤษ และสก๊อตแลนด์ กรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรการบรหิ ารเศรษฐกิจสาธารณะ สำาหรบั นกั บรหิ าร ประวตั ิการท�างาน ระดับสงู (ปศส.) รนุ่ ท่ี 8 สถาบนั พระปกเกล้า • หลักสูตร International Housing Finance Program, • รองอธิบดีกรมทด่ี ิน Wharton School, University of Pennsylvania, • ผู้ตรวจราชการกรมท่ดี นิ สหรัฐอเมรกิ า • ผู้อำานวยการสาำ นกั มาตรฐานการทะเบียนท่ีดิน • ผ้เู ช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นการทะเบยี นที่ดนิ ประวัติการทา� งาน • เจา้ พนกั งานท่ีดินจงั หวดั ลพบรุ ี • ผ้ชู ่วยกรรมการผ้จู ัดการ สายงานสาขาภูมิภาค 2 ตา� แหนง่ ปัจจุบนั ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • ทปี่ รกึ ษาด้านประสทิ ธิภาพ (นกั วิเคราะห์นโยบาย • ผชู้ ว่ ยกรรมการผ้จู ัดการ สายงานการตลาด และแผนทรงคุณวุฒิ) กรมทด่ี นิ และพฒั นาธุรกจิ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • ผอู้ ำานวยการฝ่ายลกู ค้าสัมพันธ์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • ผอู้ าำ นวยการสาำ นักพระราม 9 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ต�าแหน่งปัจจบุ ัน • รองกรรมการผจู้ ัดการ กลุ่มงานสนิ เชื่อ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ รายงานประจาำ ปี 2562 13

คณะกรรมการ บตท. Board of Directors นางสิรวิ ภิ า สุพรรณธเนศ นายสมั มา คตี สนิ กรรมการ กรรมการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ) 14 รายงานประจำาปี 2562

นางสิรวิ ภิ า สพุ รรณธเนศ นายสัมมา คตี สิน กรรมการ กรรมการ (ผ้ทู รงคณุ วุฒิ) ประวัตกิ ารศึกษา / อบรม ประวตั กิ ารศึกษา / อบรม • ปริญญาโท บรหิ ารธรุ กิจ การเงนิ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น • ปริญญาโท MBA ท่ี University of Houston, Texas, USA มิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปรญิ ญาตรีด้านเศรษฐศาสตร์ท่ี Claremont Men’s College, • ปรญิ ญาตรี การบญั ชี จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั California, USA • หลักสูตรผบู้ ริหารระดับสูงดา้ นการคา้ และการพาณิชย์ • ประกาศนียบัตรหลกั สตู ร International TEPCoT รุน่ ที่ 11 Housing Finance Program, Wharton School, • หลักสูตร Facilitative Leadership สำาหรับผู้บริหาร University of Pennsylvania, Philadelphia, USA • หลักสูตร Leadership Succession Program (LSP) • สมาชิกผทู้ รงคุณวุฒอิ าวโุ ส (Fellow Member) หลักสตู ร Director Certification Program (DCP) รนุ่ ท่ี 7 รุ่นที่ 54 ของสมาคมส่งเสริมสถาบนั กรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Neuro-Linguistic Program • หลักสูตรประกาศนยี บัตรชนั้ สงู การเมอื งการปกครอง • หลกั สูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวทิ ยาการตลาดทุน ในระบอบประชาธิปไตยสำาหรับนกั บริหารระดับสูง ร่นุ ที่ 22 สถาบนั พระปกเกล้า (วตท.) รนุ่ ท่ี 20 • หลกั สตู ร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) รนุ่ ท่ี 30 ของสมาคมส่งเสรมิ สถาบนั กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�างาน • หลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP) ร่นุ ที่ 5 ของสมาคมส่งเสริมสถาบนั กรรมการบริษทั ไทย (IOD) • ผู้ชว่ ยเลขาธกิ าร สำานักงาน ก.ล.ต. • ผอู้ ำานวยการฝ่ายจดทะเบียนหลักทรพั ย์ – ตราสารทุน ประวัตกิ ารทา� งาน และโครงสร้างพ้ืนฐาน สำานักงาน ก.ล.ต. • ผู้อาำ นวยการศูนยข์ อ้ มลู อสังหารมิ ทรพั ย์ • ผูอ้ าำ นวยการฝ่ายจดทะเบยี นหลักทรพั ย์ – ตราสารทนุ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สำานักงาน ก.ล.ต. • ทป่ี รึกษา บรษิ ทั ขอ้ มลู เครดิตแหง่ ชาติ • ผู้อำานวยการฝา่ ยสง่ เสริมบรรษัทภบิ าล สำานักงาน ก.ล.ต. • กรรมการผจู้ ัดการ บรษิ ทั ขอ้ มูลเครดติ ไทย • ผูอ้ าำ นวยการฝ่ายกาำ กับตลาด สำานกั งาน ก.ล.ต. • ผจู้ ดั การใหญ่ บริษทั ข้อมูลเครดติ กลาง • ผู้ช่วยผอู้ าำ นวยการอาวุโส ฝ่ายกาำ กับธุรกจิ นายหน้า • ผู้อาำ นวยการอาวโุ ส บริษัทหลักทรพั ยก์ ิมเอง็ และค้าหลกั ทรพั ย์ สำานักงาน ก.ล.ต. ตา� แหนง่ ปจั จบุ ัน • ผวู้ ิเคราะห์ ธนาคารแห่งประเทศไทย • กรรมการอสิ ระ บมจ. เสนาดเี วลลอปเม้นท์ ต�าแหนง่ ปจั จุบัน • รองเลขาธิการ สาำ นักงาน ก.ล.ต. • รองประธานกรรมการ คณะกรรมการกองทุน เพอื่ การพัฒนาตลาดทุน (CMDF) รายงานประจำาปี 2562 15

คณะกรรมการ บตท. Board of Directors นายภูมิพฒั น์ สินาเจรญิ นางวสกุ านต์ วิศาลสวสั ด์ิ กรรมการ (ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ) กรรมการและเลขานกุ าร 16 รายงานประจำาปี 2562

นายภมู พิ ัฒน์ สนิ าเจริญ นางวสุกานต์ วศิ าลสวัสด์ิ กรรมการ (ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ) กรรมการและเลขานกุ าร ประวตั ิการศกึ ษา / อบรม ประวตั ิการศกึ ษา / อบรม • ปริญญาโท MBA Thunderbird School of Global • ปริญญาโท สาขาการวเิ คราะห์และ Management, USA. ประเมนิ โครงการลงทนุ คณะพัฒนาการเศรษฐกจิ สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ • Disruptive World, Standford University, USA. • ปรญิ ญาตรี สาขาการเงนิ การธนาคาร • Executive Development Program คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วทิ ยาลัยตลาดทนุ • หลักสตู รผู้บริหารระดับสงู ร่นุ 17 สถาบนั วทิ ยาการตลาดทุน (วตท.) • หลักสตู ร DAP และ CSP ของสมาคมสง่ เสริม • หลกั สตู ร AACP ของสมาคมส่งเสริมสถาบนั กรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร DCP ของสมาคมส่งเสริมสถาบนั กรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) สถาบนั กรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) • หลักสตู ร DAP ของสมาคมส่งเสริมสถาบนั กรรมการบรษิ ัทไทย (IOD) • หลักสตู ร RMP ของสมาคมส่งเสรมิ สถาบนั กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวตั ิการทา� งาน • หลกั สูตรผูบ้ รหิ ารระดับกลาง โดยคณะรฐั ศาสตร์ • Chief People Officer จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย บรษิ ทั เอพี (ไทยแลนด)์ จำากัด (มหาชน) • หลกั สตู รเลขานุการบริษัท โดยตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย • Chief Finance Officer & Investor Relations และจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั บรษิ ทั เอพี (ไทยแลนด)์ จำากดั (มหาชน) ประวัตกิ ารทา� งาน • Corporate Planning & Investor Relations บริษัท เอพี (ไทยแลนด)์ จาำ กัด (มหาชน) • ประธานเจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารสายงานการเงนิ บรษิ ัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จาำ กัด (มหาชน) • ผ้จู ดั การฝ่ายวางแผนการเงนิ บริษทั ฮทั ชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มลั ตมิ เิ ดยี จาำ กัด • รองกรรมการผู้อำานวยการใหญ่ สายการเงินและการบญั ชี บรษิ ทั การบนิ ไทย จำากดั (มหาชน) ตา� แหนง่ ปจั จบุ ัน • ผูอ้ ำานวยการใหญส่ ายการเงนิ บรษิ ทั การบินไทย จาำ กดั (มหาชน) • Executive Vice President, PTG Energy Plc. • ผอู้ ำานวยการใหญฝ่ า่ ยพัฒนาธุรกิจ บริษัท การบนิ ไทย จำากดั (มหาชน) • คณะกรรมการ องคก์ ารสุรา • กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ • คณะกรรมการ องค์การอตุ สาหกรรมป่าไม้ บรษิ ัท ซิลิค คอร์ป จาำ กัด (มหาชน) • กรรมการ และประธานกรรมการความเส่ียง บริษทั กรุงไทย แอกซา่ ประกนั ชีวิต จำากดั (มหาชน) • กรรมการ บริษัท วิงสแปน เซอร์วิสเซส จาำ กัด • กรรมการและประธานกรรมการบรหิ าร บริษทั โรงแรมทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิ จำากดั • กรรมการ บริษทั บรกิ ารเชือ้ เพลิงการบินกรงุ เทพ จำากัด (มหาชน) ตา� แหนง่ ปัจจุบนั • กรรมการและผจู้ ดั การ บรรษัทตลาดรองสนิ เช่ือท่ีอย่อู าศยั รายงานประจำาปี 2562 17

คณะกรรมการ บตท. Board of Directors คณะกรรมการบรรษัทตลาดรองสินเชือ่ ทอ่ี ยูอ่ าศยั 1. นายอรรถพล อรรถวรเดช ประธานกรรมการ 2. นายชัยชาญ สิทธิวริ ชั ธรรม กรรมการ 3. นางศรนิ ทิพย์ ชนะภยั กรรมการ (ดาำ รงตาำ แหนง่ ต้งั แตว่ ันที่ 1 ตุลาคม 2562) 4. นายเลอพงษ์ ชปู ระยูร กรรมการ (ดาำ รงตาำ แหนง่ ถึงวนั ท่ี 30 กันยายน 2562) 5. นางสริ วิ ิภา สุพรรณธเนศ กรรมการ (ดำารงตาำ แหนง่ ตง้ั แต่วันที่ 10 พฤษภาคม 2562) 6. นายรพี สุจริตกลุ กรรมการ (ดาำ รงตาำ แหน่งถึงวันท่ี 30 เมษายน 2562) 7. นายสมั มา คตี สิน กรรมการ 8. นายภูมพิ ัฒน์ สินาเจรญิ กรรมการ 9. นางวสุกานต์ วศิ าลสวสั ด์ิ กรรมการและเลขานกุ าร คณะกรรมการบริหาร ประธานกรรมการ (ดำารงตาำ แหนง่ ต้ังแตว่ ันท่ี 1 ตุลาคม 2562) ประธานกรรมการ (ดาำ รงตำาแหนง่ ถงึ วนั ที่ 30 กันยายน 2562) 1. นางศรนิ ทิพย์ ชนะภยั กรรมการ 2. นายเลอพงษ์ ชูประยูร กรรมการและเลขานกุ าร 3. นายสมั มา คีตสนิ 4. กรรมการและผ้จู ดั การ คณะกรรมการตรวจสอบ 1. นางสิรวิ ภิ า สุพรรณธเนศ ประธานกรรมการ (ดำารงตาำ แหน่งตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มิถุนายน 2562) 2. นายชัยชาญ สิทธวิ ริ ัชธรรม กรรมการ 3. นายภูมพิ ัฒน์ สินาเจริญ กรรมการ ผอู้ ำานวยการหรอื ผู้มีตาำ แหน่งสูงสดุ ของฝ่ายตรวจสอบภายใน เลขานกุ าร 18 รายงานประจาำ ปี 2562

คณะอนกุ รรมการสรรหาและกา� หนดคา่ ตอบแทน เลขานุการ 1. นายชัยชาญ สิทธวิ ริ ัชธรรม อนกุ รรมการ 2. นายภูมพิ ฒั น์ สินาเจรญิ อนุกรรมการ ผูอ้ าำ นวยการฝา่ ยหรือผบู้ รหิ ารสูงสดุ ของฝา่ ยทรพั ยากรบคุ คล คณะอนกุ รรมการกา� กบั ดแู ลกจิ การทีด่ ี 1. นายสมั มา คตี สนิ ประธานอนุกรรมการ 2. นายชยั ชาญ สทิ ธวิ ริ ชั ธรรม อนุกรรมการ 3. นายภูมพิ ฒั น์ สนิ าเจริญ อนุกรรมการ 4. นางวสุกานต์ วศิ าลสวสั ด์ิ อนกุ รรมการ ผู้อำานวยการฝ่ายหรือผบู้ ริหารสูงสุดของสำานักกรรมการผ้จู ัดการ เลขานุการ คณะอนกุ รรมการกา� กบั ดแู ลด้านบริหารความเสยี่ ง 1. นายภมู พิ ฒั น์ สินาเจริญ ประธานอนุกรรมการ 2. นายสัมมา คีตสิน อนุกรรมการ 3. กรรมการและผู้จดั การ อนกุ รรมการและเลขานุการ ผอู้ าำ นวยการฝา่ ยหรอื ผบู้ รหิ ารสูงสุดของฝ่ายบริหารความเส่ียง ผชู้ ว่ ยเลขานุการ รายงานประจาำ ปี 2562 19

หน้าทข่ี องคณะกรรมการชดุ ต่างๆ Functions of the Committees หน้าทีข่ องคณะกรรมการ การแต่งตั้งและถอดถอนผู้จัดการตามวรรคหนึ่ง บรรษัทตลาดรองสินเชื่อทีอ่ ยอู่ าศัย ประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในส่ีของกรรมการ ตามพระราชกำาหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ท้งั หมด พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพมิ่ เตมิ พระราชกำาหนด บรรษัทตลาดรองสินเช่ือที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2560 หน้าทีข่ องคณะกรรมการบรหิ าร กำาหนดอำานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการบรรษัทตลาดรอง 1. อนุมัติกำรจัดซื้อสินเชื่อท่ีอยู่อำศัยภำยในวงเงิน สนิ เชอ่ื ทอี่ ยู่อาศัยไว้ดังนี้ จดั ซ้อื ไมเ่ กิน 500 ลำ้ นบำท มาตรา 17 คณะกรรมการมอี ำานาจหน้าที่วางนโยบาย 2. อนุมัติกำรปรับปรุงและก�ำหนดหลักเกณฑ์และ และควบคุมดูแลโดยท่ัวไปซึ่งกิจการของบรรษัทภายในขอบ เง่อื นไขตำ่ งๆ ที่เกย่ี วกบั กำรจัดซือ้ สินเชื่อท่อี ย่อู ำศัย ภำยในวงเงนิ จดั ซื้อไมเ่ กิน 500 ล้ำนบำท วตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา 7 อาำ นาจหน้าท่ีเช่นวา่ นี้ให้รวมถงึ 1. กำ� หนดขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั กำรบรหิ ำรงำนบคุ คล เงนิ 3. กลั่นกรองกำรขออนุมัติจัดซ้ือสินเช่ือที่อยู่อำศัย ตอบแทน และค่ำใชจ้ ำ่ ย ท่ีมีวงเงินเกินกว่ำ 500 ลำ้ นบำท 2. ก�ำหนดขอ้ บงั คบั เกี่ยวกับกำรจัดซอื้ จัดจำ้ ง กำรเงิน 4. กล่ันกรองกำรขออนุมัติกำรปรับปรุงและก�ำหนด ทรัพยส์ ิน และกำรบญั ชี รวมทั้งกำรตรวจสอบและ หลักเกณฑ์และเง่ือนไขต่ำงๆ ท่ีเก่ียวกับกำรจัดซ้ือ สอบบญั ชภี ำยใน สินเช่ือท่ีอยู่อำศัยท่ีมีวงเงินเกินกว่ำ 500 ล้ำนบำท 3. ก�ำหนดข้อบังคับเกี่ยวกับกำรบริหำรงำนและ 5. อนุมัติโครงกำรแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ด�ำเนนิ กิจกำร ในวงเงินไม่เกิน 500 ลำ้ นบำท 4. ก�ำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเก่ียวกับคุณสมบัติ 6. อนุมัติโครงกำรที่ บตท. เข้ำรับประกันควำมเส่ียง ของลกู หนี้สินเชอื่ ทอี่ ยอู่ ำศยั ซึง่ บตท. จะรบั โอน ให้แก่ผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ที่ออกด้วยกำรแปลง 5. ก�ำหนดมำตรฐำนสัญญำสนิ เชอ่ื ที่อยู่อำศัยที่ บตท. สินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ท้ังนิติบุคคลเฉพำะกิจ จะรับโอน ทีจ่ ัดต้งั โดย บตท. หรือนิตบิ คุ คลเฉพำะกจิ อื่นๆ ทผ่ี ำ่ น 6. ก�ำหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับกำรประเมินรำคำ กำรอนมุ ตั โิ ครงกำรจดั ตงั้ จำก ก.ล.ต. ในวงเงนิ ไมเ่ กนิ สินทรัพย์ท่ี บตท. จะรับโอน ตลอดจนก�ำหนด 500 ล้ำนบำท หลกั เกณฑ ์ วธิ ีกำร และเง่ือนไข และกำรรบั ประกนั 7. อนุมัติกำรระดมทุนทั้งระยะส้ันและระยะยำว ควำมเสี่ยงใหแ้ กผ่ ลู้ งทนุ ในหลกั ทรัพยท์ ี่ บตท. ออก ตำมควำมจำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ งนิ ของ บตท. ภำยในวงเงนิ ในกำรแปลงสินทรพั ยเ์ ป็นหลกั ทรพั ย์ ไม่เกิน 500 ล้ำนบำท 7. พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบงบประมำณของ บตท. 8. อนุมัติกำรกู้ยืมเงินภำยในประเทศหรือต่ำงประเทศ มาตรา 18 คณะกรรมการมอี าำ นาจแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ เพื่อใช้ในกิจกำรของ บตท. ภำยในวงเงินไม่เกิน 500 ลำ้ นบำท บริหารคณะหนึ่ง ประกอบด้วยผู้จัดการและกรรมการ ในคณะกรรมการไม่น้อยกว่าสามคนและไม่เกินห้าคนเป็น 9. อนุมัติกำรลงทุนในตลำดเงินและตรำสำรหน้ี กรรมการบริหาร และกำาหนดให้กรรมการบริหารคนหน่ึง ท้ังในตลำดแรกและตลำดรองจำกเงินคงเหลือ อยู่เปล่ำ หรือกระแสเงินส่วนเกิน และก�ำหนด นอกจากผจู้ ัดการเปน็ ประธานกรรมการบริหาร กฎกำรลงทุนเพ่ือเป็นระเบียบปฏิบัติและควบคุม ใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารมอี าำ นาจหนา้ ทตี่ ามทค่ี ณะกรรมการ ควำมเสี่ยงจำกกำรลงทุน ภำยในวงเงินไม่เกิน มอบหมาย 500 ลำ้ นบำท มาตรา 19 เพื่อประโยชน์แก่กิจการของ บตท. ให้ คณะกรรมการมีอำานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ 10. กลั่นกรองกำรขออนุมัติโครงกำรแปลงสินทรัพย์ ดาำ เนินการอย่างใดอย่างหนง่ึ ของ บตท. ได้ เป็นหลักทรัพย์ กำรรับประกันควำมเส่ียงให้แก่ ผู้ลงทุน กำรระดมทุน และกำรกู้ยืมเงินที่มีวงเงิน มาตรา 20 คณะกรรมการมีอาำ นาจแตง่ ต้งั และถอดถอน เกินกว่ำ 500 ลำ้ นบำท ผูจ้ ดั การดว้ ยความเหน็ ชอบของรัฐมนตรี 20 รายงานประจำาปี 2562

11. อนมุ ตั กิ ำรจำ้ งทปี่ รกึ ษำตำ่ งๆ ของ บตท. อนั เกยี่ วเนอ่ื ง 3. ก�ำหนดนโยบำยกำรจ่ำยค่ำตอบแทนและ จำกกำรจัดซ้ือสินเช่ือท่ีอยู่อำศัย กำรระดมทุน ผลประโยชน์อื่น รวมถึงจ�ำนวนค่ำตอบแทนและ กำรกู้ยืมเงิน และโครงกำรแปลงสินทรัพย์เป็น ผลประโยชน์อ่ืนให้แก่กรรมกำรในคณะกรรมกำร หลักทรัพย์ ท่ีนอกเหนือจำกอ�ำนำจอนุมัติของ ชุดย่อยต่ำงๆ รองกรรมกำรผู้จัดกำร และผู้ช่วย กรรมกำรและผู้จัดกำร ภำยในวงเงินไม่เกิน 5 ล้ำนบำท กรรมกำรผู้จัดกำร โดยต้องมีหลักเกณฑ์ท่ีชัดเจน 12. อนุมัติบรรดำค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆ อันเกี่ยวเน่ืองจำก โปรง่ ใส เพอ่ื เสนอใหค้ ณะกรรมกำร บตท. พจิ ำรณำ กำรระดมทุน กำรกู้ยืมเงิน กำรแปลงสินทรัพย์ อนมุ ตั ิ เปน็ หลกั ทรพั ย ์ และกำรจดั ซ้อื สินเชอ่ื ทีอ่ ยู่อำศัย 4. คดั เลอื กและเสนอชอ่ื บคุ คลทมี่ คี ณุ สมบตั เิ หมำะสม 13. แต่งตั้งคณะอนุกรรมกำรให้ด�ำเนินกำรตำมกรอบ เพื่อด�ำรงต�ำแหน่งต่ำงๆ ดังต่อไปน้ี เพ่ือเสนอต่อ อ�ำนำจหน้ำท่ขี องคณะกรรมกำรบริหำร คณะกรรมกำร บตท. 14. ให้ประธำนกรรมกำรบริหำรมีอ�ำนำจหน้ำท่ีก�ำกับ - กรรมกำรในคณะกรรมกำรชุดย่อยต่ำงๆ ท่ีได้ ดแู ลกำรบริหำรงำนภำยในของฝ่ำยจดั กำร รับมอบหมำยอ�ำนำจหน้ำท่ีและควำมรับผิดชอบ 15. มีอ�ำนำจหน้ำที่อื่นๆ ตำมท่ีคณะกรรมกำร บตท. จำกคณะกรรมกำร บตท. มอบหมำย - รองกรรมกำรผู้จัดกำร และผู้ช่วยกรรมกำร เม่ือคณะกรรมกำรบริหำรด�ำเนินกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด ผูจ้ ัดกำร ข้ำงต้นแล้ว ให้คณะกรรมกำรบริหำรรำยงำนผลกำร 5. ดูแลให้กรรมกำรในคณะกรรมกำรชุดย่อยต่ำงๆ ดำ� เนนิ กำรใหค้ ณะกรรมกำร บตท. ทรำบ รองกรรมกำรผจู้ ดั กำร และผชู้ ่วยกรรมกำรผู้จัดกำร ได้รับผลตอบแทนที่เหมำะสมกับหน้ำที่และ หนำ้ ที่ของคณะกรรมกำรตรวจสอบ ควำมรับผิดชอบ โดยกรรมกำรท่ีได้รับมอบหมำย โดยให้คณะกรรมกำรตรวจสอบมีบทบำทในกำรช่วย ให้มีหน้ำที่และควำมรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ควรได้รับ คณะกรรมกำร บตท. ก�ำกับดูแลให้มีกำรสอบทำนในเรื่อง คำ่ ตอบแทนทเ่ี หมำะสมกบั หนำ้ ทแ่ี ละควำมรบั ผดิ ชอบ ดังตอ่ ไปนี้ ท่ีไดร้ ับมอบหมำยนน้ั 1. สอบทำนควำมน่ำเชื่อถือของรำยงำนกำรด�ำเนินงำน 6. ก�ำหนดแนวทำงกำรประเมินผลงำนของกรรมกำร ทำงกำรเงนิ ในคณะกรรมกำรชุดย่อยต่ำงๆ รองกรรมกำร 2. สอบทำนเกี่ยวกับกำรบริหำรควำมเสี่ยง กำรควบคุม ผู้จัดกำร และผู้ช่วยกรรมกำรผู้จัดกำร เพ่ือพิจำรณำ ภำยใน กำรตรวจสอบภำยใน และกำรก�ำกับดูแล ปรับผลตอบแทนประจ�ำปี โดยจะต้องค�ำนึงถึง เพ่ือให้กำรด�ำเนินงำนเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิผล หนำ้ ท่ีควำมรบั ผดิ ชอบ และควำมเส่ยี งทเ่ี ก่ยี วข้อง และประสทิ ธิภำพ 7. เปิดเผยนโยบำยและรำยละเอียดของกระบวน 3. สอบทำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมกฎ ข้อบังคับ กำรสรรหำ กำรก�ำหนดค่ำตอบแทนและเปิดเผย ระเบยี บตำ่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ค่ำตอบแทนในรูปแบบต่ำงๆ รวมทง้ั จดั ท�ำรำยงำน 4. ปฏิบัติงำนอื่นใดตำมท่ีคณะกรรมกำร บตท. กำรก�ำหนดค่ำตอบแทน โดยอย่ำงน้อยต้องมี มอบหมำย ซ่ึงอยู่ภำยใต้ขอบเขตหน้ำท่ีและ รำยละเอียดเกี่ยวกับเป้ำหมำย กำรด�ำเนินงำน ควำมรบั ผิดชอบของคณะกรรมกำรตรวจสอบ และควำมเห็นของคณะอนุกรรมกำรสรรหำและ กำ� หนดค่ำตอบแทนไว้ในรำยงำนประจ�ำปีด้วย หน้ำท่ีของคณะอนุกรรมกำรสรรหำและก�ำหนด 8. กำ� หนดนโยบำยในกำรสบื ทอดตำ� แหนง่ (Succession คำ่ ตอบแทน Plan) สำ� หรบั ต�ำแหนง่ ผูบ้ รหิ ำรระดับสูง 1. กำ� หนดนโยบำยในกำรสรรหำและหลกั เกณฑใ์ นกำร 9. สรรหำและก�ำหนดค่ำตอบแทนพนักงำนแบบ กำ� หนดคำ่ ตอบแทนพนักงำน มีก�ำหนดเวลำและพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ 2. ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรสรรหำ พนักงำนแบบมีก�ำหนดเวลำที่ขอเปล่ียนสภำพ รองกรรมกำรผ้จู ดั กำร และผู้ชว่ ยกรรมกำรผู้จัดกำร กำรจำ้ งเปน็ พนกั งำน สำ� หรบั กรณที เี่ กนิ อำ� นำจของ เพื่อเสนอให้คณะกรรมกำร บตท. พิจำรณำอนุมัติ กรรมกำรและผจู้ ัดกำร รายงานประจำาปี 2562 21

10. พิจำรณำประเมินผลกำรปฏิบัติงำนของผู้จัดกำร ด้ำนปฏิบัติกำร ควำมเสี่ยงด้ำนกลยุทธ์ และ ตำมหลักเกณฑ์เงื่อนไขต่ำงๆ ท่ีก�ำหนดไว้ และ ควำมเสย่ี งที่มผี ลกระทบต่อช่ือเสียงของกิจกำร รำยงำนผลกำรประเมินต่อคณะกรรมกำร บตท. 2. กำ� หนดนโยบำยกำรบรหิ ำรควำมเสย่ี งใหส้ อดคลอ้ ง เพอ่ื พจิ ำรณำตอ่ ไป กบั กลยทุ ธ ์ โดยใหค้ รอบคลมุ ถงึ กำรประเมนิ ตดิ ตำม 11. ปฏิบัติงำนอ่ืนๆ ตำมท่ีคณะกรรมกำร บตท. และดูแลปริมำณควำมเสี่ยงของสถำบันกำรเงิน มอบหมำย เฉพำะกจิ ให้อยใู่ นระดบั ทเี่ หมำะสม 3. ทบทวนควำมเพียงพอของนโยบำยและกระบวนกำร หน้ำท่ีของคณะอนกุ รรมกำรก�ำกบั ดูแลกิจกำรท่ดี ี กำรบริหำรควำมเสย่ี ง ซ่งึ รวมถึงควำมมีประสทิ ธผิ ล 1. จัดท�ำกฎบัตรว่ำด้วยกำรก�ำกับดูแลกิจกำรท่ีดีของ ของกระบวนกำรและกำรปฏิบัติตำมนโยบำยที่ คณะอนกุ รรมกำรกำ� กบั ดแู ลกจิ กำรทด่ี ใี หส้ อดคลอ้ ง กำ� หนด ตำมหลักธรรมำภิบำล บตท. โดยได้รับอนุมัติจำก 4. รำยงำนตอ่ คณะกรรมกำรตรวจสอบอยำ่ งสมำ่� เสมอ คณะกรรมกำร บตท. และมีกำรทบทวนกฎบัตร ในส่ิงท่ีต้องด�ำเนินกำรปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้อง ดังกล่ำวอย่ำงนอ้ ยปีละ 1 คร้ัง กับนโยบำยและกลยุทธ์ท่ีก�ำหนด 2. พัฒนำ จัดท�ำ เสนอแนะ หรือพิจำรณำทบทวน 5. นำ� เสนอรำยงำนผลกำรดำ� เนนิ งำนกำรบรหิ ำรควำม ซ่ึงหลักกำร นโยบำย และข้อพึงปฏิบัติส�ำคัญ เสี่ยงต่อคณะกรรมกำร บตท. อย่ำงน้อยไตรมำส ด้ำนธรรมำภิบำลที่เหมำะสม เพ่ือให้เกิดกำรก�ำกับ ละ 1 คร้งั ดแู ลกจิ กำรทดี่ ขี อง บตท. และนำ� เสนอคณะกรรมกำร 6. พิจำรณำอนุมัติแผนกำรสอบทำนสินเชื่อประจ�ำปี บตท. พิจำรณำ และรำยงำนคณะกรรมกำร บตท. เพื่อทรำบ 3. สอดส่อง ดแู ล และตดิ ตำมกจิ กรรมและกำรปฏิบตั ิ รวมถึงรับทรำบรำยงำนผลกำรสอบทำนสินเชื่อ โดยรวมด้ำนธรรมำภิบำลตำมหลักกำร นโยบำย ประจ�ำไตรมำสและรำยงำนคณะกรรมกำร บตท. และข้อพึงปฏิบัติที่ก�ำหนดไว้ และรำยงำนต่อคณะ เพือ่ ทรำบ กรรมกำร บตท. ทรำบเป็นระยะ 7. มีอ�ำนำจแต่งต้ังคณะท�ำงำนบริหำรควำมเสี่ยง 4. มอี ำ� นำจแตง่ ตง้ั คณะทำ� งำนเพอ่ื สนบั สนนุ และจดั กำร เพื่อสนับสนุนและจัดกำรให้มีกำรปฏิบัติตำมนโยบำย ด้ำนธรรมำภิบำล ให้มีกำรปฏิบัติตำมหลักกำร และกลยุทธด์ ำ้ นบริหำรควำมเสีย่ งท่กี ำ� หนดไว้ นโยบำย และขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ทิ สี่ ำ� คญั ดำ้ นธรรมำภบิ ำล 8. พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบนโยบำยกำรบริหำร ตลอดจนจัดกิจกรรมด้ำนธรรมำภิบำลให้มีผล ควำมต่อเนื่องทำงธุรกิจ (Business Continuity ในทำงปฏิบัติ Management Policy : BCM Policy) กอ่ นน�ำเสนอ 5. ปฏบิ ตั งิ ำนอน่ื ๆ ตำมทค่ี ณะกรรมกำร บตท. มอบหมำย คณะกรรมกำร บตท. เพ่ือพจิ ำรณำอนุมัติ 9. พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบแผนรองรับกำรด�ำเนิน หน้ำที่ของคณะอนุกรรมกำรก�ำกับดูแลด้ำนบริหำร ธุรกิจอย่ำงต่อเนื่อง (Business Continuity Plan : ควำมเส่ยี ง BCP) ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมกำร บตท. เพ่ือ 1. กำ� หนดนโยบำยเพอื่ นำ� เสนอตอ่ คณะกรรมกำร บตท. พิจำรณำอนมุ ตั ิ เพื่อพิจำรณำในเรื่องของกำรบริหำรควำมเสี่ยง 10. ก�ำกับดูแลกำรด�ำเนินกำรบริหำรควำมต่อเน่ือง โดยรวม ซ่งึ ตอ้ งครอบคลุมถึงควำมเสีย่ งประเภทตำ่ งๆ ทำงธุรกิจให้เป็นไปตำมนโยบำยและแผนรองรับ ท่ีส�ำคัญ เช่น ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิต ควำมเสี่ยง กำรด�ำเนินธุรกจิ อยำ่ งต่อเนอ่ื งทีก่ ำ� หนดไว้ ด้ำนตลำด ควำมเส่ยี งด้ำนสภำพคลอ่ ง ควำมเสยี่ ง 11. ปฏิบัติงำนอ่ืนๆ ตำมท่ีคณะกรรมกำร บตท. มอบหมำย 22 รายงานประจาำ ปี 2562

การเขา้ รว่ มประชุมและคา่ ตอบแทนของคณะกรรมการชุดต่างๆ ชื่อ – สกลุ ตา� แหนง่ คณะกรรมการ บตท. คณะกรรมการบ ิรหาร คณะตกรรวรจมสกอาบร ก�าคกับณะดูแอลนุกิกจรกรามรกที่ารดี ก�ากัคบดูณะแอลนุด้คากวรนารบมเมิร ี่สหกาายงรร 1. นายอรรถพล อรรถวรเดช ประธานกรรมการ 12/12 - - -- 2. นายชยั ชาญ สิทธิวิรัชธรรม กรรมการ 11/12 - 7/7 -- 3. นายเลอพงษ์ ชปู ระยรู * กรรมการ 9/9 9/9 - 6/6 - 4. นางศรินทิพย์ ชนะภยั * กรรมการ 3/3 4/4 - -- 5. นายรพี สุจริตกุล * กรรมการ 4/4 - - -- 6. นางสิริวภิ า สุพรรณธเนศ * กรรมการ 6/8 - 7/7 -- 7. นายสมั มา คตี สนิ กรรมการ 12/12 13/13 - 6/6 12/12 8. นายภมู ิพัฒน์ สินาเจริญ กรรมการ 12/12 - 7/7 6/6 12/12 9. นางวสุกานต์ วิศาลสวัสดิ์ 12/12 13/13 - 6/6 12/12 กรรมการและเลขานกุ าร จำานวนคร้ัง 12 13 7 6 12 ทม่ี กี ารประชุม (ครั้ง) * หมำยเหตุ : ลำ� ดับที ่ 3 ดำ� รงตำ� แหน่งถงึ วันท่ ี 30 กันยำยน 2562 ล�ำดับที ่ 4 ดำ� รงตำ� แหน่งตัง้ แต่วันท ่ี 1 ตลุ ำคม 2562 ลำ� ดับที่ 5 ดำ� รงตำ� แหนง่ ถึงวนั ที่ 30 เมษำยน 2562 ล�ำดบั ท ี่ 6 ด�ำรงตำ� แหนง่ ตั้งแตว่ ันท่ี 10 พฤษภำคม 2562 กำรจำ่ ยคำ่ ตอบแทนรำยเดอื นและเบย้ี ประชุมคณะกรรมกำรของ บตท. ดำ� เนนิ กำรตำมบันทกึ สคร. ท ี่ 0803.2/ว 46 ลงวนั ท ่ี 17 พฤษภำคม 2562 เรื่อง แจ้งเวียนอัตรำและหลักเกณฑ์กำรจ่ำยค่ำตอบแทนรำยเดือนและเบ้ียประชุมกรรมกำรรัฐวิสำหกิจ และกรรมกำรอนื่ ในคณะกรรมกำรชดุ ย่อย คณะอนกุ รรมกำร หรือคณะทำ� งำนอืน่ ตำมมตคิ ณะรัฐมนตร ี วนั ท่ี 24 เมษำยน 2562 โดยให้มผี ลใชบ้ ังคบั ถัดจำกเดือนท่ีคณะรัฐมนตรเี หน็ ชอบ ภำยใตห้ ลักเกณฑด์ ังน้ี - คำ่ ตอบแทนรำยเดอื นไมเ่ กนิ 10,000 บำทตอ่ เดอื น จำ่ ยตำมสดั สว่ นระยะเวลำทดี่ ำ� รงตำ� แหนง่ โดยจำ่ ยใหป้ ระธำนกรรมกำร ในอตั รำ 2 เท่ำของทีจ่ ำ่ ยกรรมกำร - เบย้ี ประชมุ ไมเ่ กนิ 20,000 บำทตอ่ เดอื น กรณคี ณะกรรมกำรชดุ ใหญ ่ ใหจ้ ำ่ ยไดเ้ ดอื นละ 1 ครงั้ กรณจี ำ่ ยมำกกวำ่ นนั้ ตอ้ งไมเ่ กนิ 15 ครั้งต่อป ี และกรณีคณะกรรมกำรชดุ ย่อย ใหจ้ ่ำยเท่ำกันทัง้ กรรมกำรรัฐวิสำหกจิ และกรรมกำรจำกภำยนอก ในอัตรำ 0.5 เท่ำ ของเบีย้ ประชุมกรรมกำรชดุ ใหญ่ รวมแล้วไมเ่ กิน 2 คณะ คณะละไมเ่ กนิ 1 ครง้ั ตอ่ เดอื น ท้ังน้ ี ประธำนในทปี่ ระชุมได้รับเบ้ยี ประชุม สูงกว่ำกรรมกำรในอตั รำรอ้ ยละ 25 ทั้งนี้ ค่ำตอบแทนรำยเดือนและเบ้ียประชุมของคณะกรรมกำรทุกคณะตลอดปี 2562 เป็นเงิน 3,887,096.77 บำท โบนัส กรรมกำร ปี 2562 เปน็ เงิน 665,623.88 บำท รายงานประจาำ ปี 2562 23

ผู้บริหาร Management Team 8 75 3 124 6 1 นางวสุกานต์ วิศาลสวัสด์ิ 4 นางตระกลู ธดิ า พงษ์สุทธพิ าณชิ ย์ 7 นางสาวอุทัยวรรณ ลมิ่ กังวาฬมงคล กรรมการและผจู้ ัดการ ผ้ชู ว่ ยกรรมการผู้จัดการ ผู้อำานวยการ สายกลยทุ ธ์ ฝา่ ยบรหิ ารเงิน 2 นายกรพล ชินพฒั น์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผ้จู ดั การ 5 นางสาวสรุ ีพันธ์ สิรอิ าภรณส์ กลุ 8 นางสาวอรอนงค์ เหมือนวงษ์ญาติ สายบรหิ ารสนิ เชื่อ ผอู้ าำ นวยการอาวโุ ส ผูอ้ าำ นวยการ ฝ่ายสือ่ สารองคก์ ร สำานักกรรมการผจู้ ดั การ 3 นายปียษุ เตชะตระการธรรม ผู้ชว่ ยกรรมการผูจ้ ัดการ 6 นางศิวะพร นิมิตสรุ ชาติ สายการตลาดและบรหิ ารเงิน ผู้อาำ นวยการ ฝา่ ยกฎหมาย 24 รายงานประจาำ ปี 2562 หมายเหต ุ : รายนามผู้บรหิ าร ประจา� ป ี 2562

14 13 11 9 10 12 15 9 นางสาวจุราพร ชยั วิเศษ 12 นางสาววิภาภรณ์ พนสั 15 นายสิทธิพร สวสั ดิฤ์ ทธิรณ ผู้อำานวยการ ผอู้ าำ นวยการ ผู้อำานวยการ ฝา่ ยบรหิ ารหนี้ ฝ่ายทรพั ยากรบุคคล ฝ่ายปฏิบัตกิ าร 10 นางสาวจุฬาพรรณ บรรจงสตั ย์ 13 นายธีรชัย เจยี มจตรุ พัฒพร ผู้อำานวยการ ผู้อำานวยการ ฝ่ายตรวจรบั สินเชือ่ ฝ่ายวจิ ยั และพฒั นา 11 นายจริ ทัศน์ พัฒนอมร 14 นายสิทธานต์ วงศป์ ณุ ณวฒั น์ ผูอ้ ำานวยการ ผ้อู าำ นวยการ ฝา่ ยตรวจสอบภายใน ฝ่ายบญั ชแี ละการเงิน รายงานประจาำ ปี 2562 25

โครงสร้างองคก์ ร Organization Chart คณะกรรมการ บตท. คณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ คณะอนุกรรมการ คณะอนกุ รรมการสรรหา คณะกรรมการ บรหิ าร กาำ กับดูแลกิจการที่ดี กาำ กบั ดแู ลด้านบรหิ าร และกำาหนดคา่ ตอบแทน ตรวจสอบ ความเสย่ี ง กรรมการและผู้จัดการ ฝา่ ยตรวจสอบภายใน รองกรรมการผจู้ ดั การ รองกรรมการผู้จัดการ สายการตลาดและบรหิ ารสนิ เชอื่ สายกลยุทธ์และบรหิ ารองคก์ ร ผชู้ ว่ ยกรรมการผ้จู ดั การ ผู้ชว่ ยกรรมการผูจ้ ัดการ ผชู้ ว่ ยกรรมการผ้จู ดั การ ผูช้ ่วยกรรมการผู้จัดการ สายการตลาดและบริหารเงนิ สายบรหิ ารสินเชอื่ สายกลยุทธ์ สายบรหิ ารองค์กร ฝา่ ยการตลาดและ ฝา่ ยตรวจรบั สนิ เชอ่ื ฝา่ ยยุทธศาสตร์องค์กร ฝ่ายทรพั ยากรบุคคล จัดซื้อสนิ เชอื่ ฝ่ายปฏิบตั ิการ ฝา่ ยบรหิ ารความเส่ยี ง ฝ่ายบญั ชีและการเงิน ฝ่ายตลาดทนุ ฝ่ายบริหารเงนิ ฝ่ายบรหิ ารหน้ี ฝา่ ยวจิ ยั และพัฒนา ฝา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฝ่ายกฎหมาย สาำ นักกรรมการผ้จู ัดการ ฝ่ายส่ือสารองคก์ ร อตั รากาำ ลังบรรษทั ตลาดรองสินเชื่อทอ่ี ยอู่ าศยั ณ สิ้นสดุ ปี ธนั วาคม 2562 มพี นักงานจำานวน 81 คน ลูกจา้ งประจำา จาำ นวน 21 คนรวม 102 คน ณ สน้ิ สุดปี ธนั วาคม 2561 มีพนกั งานจาำ นวน 84 คน ลูกจา้ งประจาำ จำานวน 19 คนรวม 103 คน ณ ส้ินสุดปี ธนั วาคม 2560 มพี นกั งานจาำ นวน 83 คน ลูกจ้างประจาำ จาำ นวน 20 คนรวม 103 คน ณ ส้นิ สุดปี ธันวาคม 2559 มพี นักงานจาำ นวน 88 คน ลกู จา้ งประจำา จาำ นวน 20 คนรวม 108 คน ณ ส้ินสดุ ปี ธนั วาคม 2558 มพี นักงานจาำ นวน 87 คน ลกู จา้ งประจำา จาำ นวน 19 คน รวม 106 คน ณ สิ้นสดุ ปี ธนั วาคม 2557 มพี นกั งานจาำ นวน 81 คน ลูกจา้ งประจาำ จาำ นวน 17 คน รวม 98 คน ณ สิ้นสดุ ปี ธันวาคม 2556 มีพนกั งานจาำ นวน 73 คน ลูกจา้ งประจำา จำานวน 8 คน รวม 81 คน 26 รายงานประจาำ ปี 2562

บตท. ดา� เนินงาน ตามพันธกิจ เพ่อื รองรบั การเจริญเติบโต ภาคอสงั หาริมทรพั ย์

ข้อมลู บรรษทั ตลาดรองสินเชอ่ื ท่อี ยอู่ าศยั Company Profile ความเปน็ มา บรรษทั ตลาดรองสนิ เชอ่ื ท่อี ยู่อาศัย (บตท.) หรือ Secondary Mortgage Corporation (SMC) มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสถาบันการเงินในสังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งข้ึนโดยพระราชกำาหนด บรรษัทตลาดรองสินเช่ือท่ีอยู่อาศัย พ.ศ. 2540 ด้วยทุนประเดิมจากกระทรวงการคลัง 1,000 ล้านบาท ในปี 2561 มีการแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชกำาหนด บรรษัทตลาดรอง สินเช่ือที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2560 ซึ่งปัจจุบันมีทุนจากกระทรวงการคลัง 1,230 ล้านบาท โดยมีวัตถปุ ระสงค์หลกั ในการพัฒนาตลาดรองสนิ เชอื่ ทอี่ ยอู่ าศยั ดว้ ยการนาำ หลกั การแปลงสนิ ทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์มาใช้ เพ่ือให้สามารถระดมทุนสำาหรับการขยายสินเช่ือที่อยู่อาศัยได้มากเพียงพอ สมาำ่ เสมอ และเปน็ การขยายสินเชื่อท่อี ยอู่ าศัยในวงกวา้ งข้นึ เพอื่ สร้างเสถยี รภาพดา้ นสนิ เชื่อทอ่ี ยูอ่ าศัย ในธรุ กิจอสังหาริมทรพั ย์ และรกั ษาความมั่นคงทางเศรษฐกจิ ของประเทศ คา� ขวัญ วสิ ัยทัศน์ เชอ่ื มโยงตลาดทนุ สนับสนนุ สนิ เช่ือบ้าน เปน็ กลไกในการจัดหาเงนิ ทนุ ระยะยาว รองรบั การขยายตวั ของระบบสนิ เชือ่ ท่ีอยู่อาศัย 28 รายงานประจาำ ปี 2562

วัฒนธรรมองคก์ ร  การพัฒนาสู่ความเปน็ มืออาชีพ  ความเปน็ ผู้นาำ การเปลยี่ นแปลง  จติ สาำ นกึ ในการให้บรกิ ารลกู ค้าหรอื ผู้มาตดิ ตอ่  ความทมุ่ เทต่อองคก์ ร สงั คม และประเทศ คา่ นยิ ม  ม่งุ เน้นการเรียนรู้ระดบั องค์กรและระดับบคุ คล  มีความรับผดิ ชอบตอ่ ประเทศชาตแิ ละสงั คม  มงุ่ เน้นผลลพั ธ์ พนั ธกจิ บตท. จะส่งเสรมิ กำรพฒั นำตลำดรองสนิ เชอ่ื ที่อยู่อำศยั โดย 1. ทำาหน้าทต่ี ลาดรองสินเชอ่ื ท่ีอยอู่ าศยั เพือ่ สนบั สนนุ การปล่อยสินเชอื่ ทอี่ ยู่อาศัย ของสถำบนั กำรเงิน ผปู้ ระกอบกำรธรุ กจิ พฒั นำท่ีอยู่อำศัย และผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ทีใ่ ห้สนิ เชอื่ โดยกำรรบั จ�ำนองท่ีอยู่อำศยั ใหเ้ ชำ่ ซือ้ หรือ ให้เช่ำแบบลิสซง่ิ 2. พัฒนาตลาดทุนโดยออกตราสารทางการเงิน หรือกำรแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization) เป็นกำรระดมทุนจำกตลำดทุนเขำ้ สตู่ ลำดสนิ เช่ือที่อยู่อำศัย 3. ช่วยใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงแหลง่ เงินทุนและมีสินเช่อื ทอี่ ยูอ่ าศัย ที่มีอตั รำดอกเบี้ยคงทใ่ี นระยะยำวไดม้ ำกข้นึ ธุรกรรม 1. การรบั ซอ้ื สินเชือ่ ที่อยู่อาศยั เพ่อื การลงทนุ (Portfolio Investment) บตท. จะดำ� เนินกำรซอื้ สินเชอื่ ที่อยู่อำศัยท่ีมีคุณภำพจำกสถำบันกำรเงินในตลำดแรกและผู้ประกอบธุรกิจอสังหำริมทรัพย์ กำรรับซื้อสินเชื่อ ดงั กลำ่ วจะช่วยเสรมิ สรำ้ งสภำพคลอ่ ง และลดควำมเสี่ยงให้แก่สถำบันในตลำดแรก และเปน็ กำรลงทุนโดยถือเป็น สินทรัพย์ของ บตท. เอง 2. การทำาธุรกรรมแปลงสินทรพั ยเ์ ปน็ หลักทรพั ย์ (Securitization) บตท. จะซ้อื สินเช่ือทอ่ี ยู่อำศัยจำก สถำบันกำรเงินในตลำดแรก และน�ำสินทรัพย์ คือ สินเชื่อท่ีอยู่อำศัยมำแปลงเป็นหลักทรัพย์โดยกำรออกตรำสำร ทำงกำรเงนิ ทม่ี สี นิ เชอ่ื ทอ่ี ยอู่ ำศยั หนนุ หลงั หรอื ตรำสำรกำรเงนิ อน่ื ขำยใหแ้ กน่ กั ลงทนุ ทงั้ ในประเทศและตำ่ งประเทศ 3. การสนับสนุนให้มีสินเช่ืออัตราดอกเบี้ยคงท่ีระยะยาว เพื่อช่วยให้ประชำชนมีท่ีอยู่อำศัยได้ โดยลด ควำมเสยี่ งจำกกำรที่อัตรำดอกเบย้ี ผันผวน รายงานประจำาปี 2562 29

หลกั การตลาดรองสินเชือ่ ทอ่ี ย่อู าศัย ควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงตลำดแรก และ ตลำดรองสินเชอ่ื ที่อยู่อำศัย แผนภูมแิ สดงหลกั การทำางานของตลาดรองสินเชอื่ ทอี่ ยู่อาศัย ตลำดแรก ตลำดรอง สินเช่ือท่อี ยูอ่ ำศัย สินเชื่อท่ีอยู่อำศัย สนิ เช่ือทอ่ี ย่อู ำศยั ขำยสินเชอื่ ท่อี ยูอ่ ำศัย ระดมเงินทนุ ระยะยำว ออกตรำสำรหนรี้ ะยะยำว ออกตรำสำรหนี้ท่ีมีสนิ เช่อื ทอี่ ยอู่ ำศัยหนุนหลัง (Securitization : ABS, MBS) ผกู้ ู้สนิ เช่อื บำ้ น สถตำลบำันดกแำรรกเงนิ บตท. นกั ลงทุนในตลำดทนุ เงนิ สด เงนิ สด พันธบัตร เงินสด หลักการตลาดรองสินเชอ่ื ที่อย่อู าศยั หลกั การ ระดมเงนิ จำกตลำดทนุ มำใหต้ ลำดสนิ เชอื่ ทอี่ ยอู่ ำศยั โดยรบั ซอ้ื สนิ เชอื่ ทำ� ใหส้ นิ เชอื่ ทอ่ี ยอู่ ำศยั กลำยเปน็ สนิ เชอ่ื ท่ีมีสภำพคล่อง สำมำรถซือ้ ขำยเปลยี่ นมือได้ นำ� สินเช่อื น้ันมำหนุนหลังตรำสำรทำงกำรเงนิ เปน็ กำรระดมเงนิ จำกตลำดทนุ และพัฒนำตลำดทุน ประโยชนห์ ลกั ช่วยสร้ำงเสถยี รภำพของระบบกำรเงนิ และควำมเปน็ อยทู่ ี่ดขี องประชำชน 30 รายงานประจำาปี 2562

ประโยชน์ของ บตท. Benefits of SMC ต่อสถาบันการเงนิ / ผู้ประกอบธุรกิจให้สนิ เชือ่ โดยการรบั จา� นอง ทอี่ ยู่อาศยั ให้เชา่ ซือ้ หรอื ให้เช่าแบบลสิ ซ่ิง เสรมิ สร้ำงสภำพคล่องของผูใ้ หส้ นิ เชือ่ ลดควำมเสี่ยงด้ำนเครดิตจำกกำรขำยสนิ เชือ่ ออกไป ลดควำมเสยี่ งด้ำนสภำพคลอ่ งทเี่ กดิ จำกกำรนำ� เงินระยะสั้น มำให้สินเชอื่ ท่ีอยอู่ ำศัยระยะยำว ลดภำระในกำรดำ� รงเงนิ กองทนุ ข้นั ต�่ำของสถำบันกำรเงนิ ผูป้ ระกอบธุรกิจให้สนิ เชื่ออนื่ มีบทบำทเพิม่ ขนึ้ ในกำรใหส้ นิ เช่ือทอ่ี ยอู่ ำศัย ตอ่ ประชาชนผูก้ ู้ มีท่ีอยู่อำศยั เป็นของตนเอง และสำมำรถเข้ำถงึ สนิ เช่อื ที่อยู่อำศัยไดง้ ำ่ ยขน้ึ ท้งั จำกสถำบนั กำรเงินและผู้ประกอบธรุ กจิ ใหส้ ินเช่อื ที่อยอู่ ำศัยอื่น ลดควำมเส่ียงดำ้ นอัตรำดอกเบยี้ ผนั ผวน หำกเลือกสินเชอื่ ดอกเบ้ีย คงที่ระยะยำว ต่อตลาดทุน มีกำรออกตรำสำรทซี่ ับซ้อนมำกขึ้น เปน็ กำรพฒั นำตลำดทุน ใหก้ วำ้ งและลึกขึน้ แหล่งเงนิ ออมระยะยำว มีทำงเลอื กในกำรลงทนุ ในตรำสำรหนร้ี ะยะยำว ท่มี คี วำมเสย่ี งตำ่� มำกข้ึน ต่อภาคอสงั หาริมทรพั ย์ มกี ำรเจรญิ เตบิ โตจำกควำมต้องกำร และควำมสำมำรถในกำรซ้อื ทอ่ี ยูอ่ ำศยั ของประชำชน อยำ่ งตอ่ เนือ่ ง รายงานประจำาปี 2562 31

การก�ากบั ดูแลกิจการทดี่ ี Corporate Governance: CG บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) ในฐานะรัฐวิสาหกิจ ประเภทสถาบันการเงิน สังกัดกระทรวงการคลัง จัดต้ังข้ึนโดยพระราชกำาหนดบรรษัทตลาดรองสินเช่ือที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญัติแก้ไข เพม่ิ เตมิ พระราชกาำ หนดบรรษทั ตลาดรองสนิ เชอ่ื ทอี่ ยอู่ าศยั พ.ศ. 2560 มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประกอบธรุ กจิ ตลาดรองสนิ เชอ่ื ทอี่ ยอู่ าศยั และกจิ การอนื่ ทส่ี ง่ เสรมิ และพฒั นาตลาดรองสนิ เชอื่ ทอี่ ยอู่ าศยั โดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ปฏิบัติตามแนวทางการกำากับดูแลกิจการที่ดีของ บตท. ที่กำาหนดไว้ในหลัก ธรรมาภบิ าลของบตท.ซงึ่ ประกอบดว้ ยนโยบายหลกั การและแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นธรรมาภบิ าลรวมถงึ การปฏบิ ตั ิ ตามประมวลจริยธรรม ซ่ึงเป็นปัจจัยหลักในการเสริมสร้างให้ บตท. ขับเคล่ือนการดำาเนินกิจการ ได้อย่างยั่งยืน ได้รับความเช่ือถือและไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังภายในและภายนอกของ บตท. เพอ่ื สรา้ งบคุ ลากรใน บตท. ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมงุ่ หวงั จะใหบ้ ุคลากรใน บตท. มคี วามรับผิดชอบและรว่ มกนั มุ่งมน่ั เพ่อื ให้ บตท. เป็นองคก์ รแห่งคณุ ธรรม บตท.จงึ ไดก้ ำ� หนดกรอบกำรกำ� กบั ดแู ลกจิ กำรทดี่ ี โดย มีหลกั กำรดำ้ นธรรมำภบิ ำล 7 ด้ำน ดงั นี้ 1. หลักกำรด้ำนควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ 2. หลักกำรต่อผมู้ สี ่วนได้เสีย 3. หลักกำรด้ำนกำรเปิดเผยข้อมูล ควำมโปร่งใส รำยงำนทำงกำรเงนิ และกำรด�ำเนนิ งำน 4. หลกั กำรดำ้ นกำรบริหำรควำมเสีย่ ง 5. หลักกำรด้ำนกำรควบคุมและตรวจสอบภำยใน 6. หลกั กำรดำ้ นกำรตดิ ตำมและประเมนิ ผลกำรปฏบิ ตั งิ ำน 7. หลักกำรดำ้ นจรรยำบรรณ คณะกรรมกำร บตท. มเี จตนำรมณส์ ง่ เสรมิ ให ้บตท. เปน็ องค์กรที่มีประสิทธิภำพในกำรด�ำเนินธุรกิจทโดยยึดหลัก กำรกำ� กบั ดแู ลกจิ กำรทด่ี ี จงึ ไดแ้ ตง่ ตง้ั ใหม้ คี ณะอนกุ รรมกำร ก�ำกับดูแลกิจกำรท่ีดี ท�ำหน้ำท่ีก�ำหนดแผนงำนด้ำน กำรก�ำกบั ดแู ลกจิ กำรทด่ี ี รวมถงึ กำรตดิ ตำมผล นอกจำกนี้ ได้แต่งต้ังคณะท�ำงำนสนับสนุนและจัดกำรด้ำนก�ำกับ ดูแลกิจกำรท่ีดี และควำมรับผิดชอบต่อสังคม ท�ำหน้ำที่ สนับสนุนและติดตำมกำรปฏิบัติงำนตำมแผน รวมถึงกำรจัดท�ำรำยงำนผลกำรด�ำเนินงำนต่อคณะอนุกรรมกำรก�ำกับ ดูแลกิจกำรที่ดี และคณะกรรมกำร บตท. โดย บตท. ได้จัดให้มีกำรเปิดเผยข้อมูลด้ำนกำรก�ำกับดูแลกิจกำรท่ีดี และสื่อสำรไปยังพนกั งำนและผ้มู ีส่วนไดเ้ สียภำยนอกได้อยำ่ งโปร่งใสและเพียงพอ 32 รายงานประจำาปี 2562

กำรบริหำรจัดกำรภำยในองค์กรของ บตท. ได้ยึด สมดุลในกำรประสำนประโยชน์ร่วมกัน และคณะกรรมกำร หลักเกณฑ์ และแนวทำงกำรก�ำกับดูแลกิจกำรท่ีด ี บตท. จัดให้มีรำยงำนเก่ียวกับข้อมูลเกี่ยวกับฐำนะและ ในรัฐวิสำหกิจ และกรอบกำรก�ำกับดูแลกิจกำรตำม กำรด�ำเนินงำนของ บตท. ให้ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้มีส่วน มำตรฐำนสำกล โดยคณะกรรมกำร บตท. ได้ก�ำหนด เกยี่ วขอ้ งทรำบไวใ้ นรำยงำนประจำ� ป ี และเวบ็ ไซตข์ อง บตท. ให้มีงำนก�ำกับดูแล (compliance) ท�ำหน้ำท่ีก�ำกับดูแล มกี ำรกำ� กบั ดแู ลไมใ่ หผ้ บู้ รหิ ำรและพนกั งำนใชต้ ำ� แหนง่ หนำ้ ที่ กำรปฏิบัติงำนให้เป็นไปตำมกฎระเบียบ และกฎหมำย ในกำรแสวงหำผลประโยชน์ส่วนตนโดยมิชอบ รวมท้ัง ท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนให้ควำมส�ำคัญในกำรควบคุมภำยใน ส่งเสริมให้ผู้บริหำรและพนักงำนมีกำรแข่งขันทำงธุรกิจ กำรตรวจสอบภำยใน และกำรบริหำรควำมเสี่ยง ให้เป็น ด้วยควำมถูกต้อง เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ เพ่ือให้ ไปตำมหลักเกณฑ์ และแนวทำงกำรก�ำกับดูแลกิจกำรที่ดี มีควำมรับผิดชอบในกำรประกอบธุรกิจต่อสังคม โดย ในรัฐวิสำหกิจ เพื่อให้เกิดควำมโปร่งใส น่ำเช่ือถือ และมี เปิดเผยข้อเท็จจริง ปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมซื่อสัตย์สุจริต ประสทิ ธภิ ำพในกำรบริหำรจดั กำรภำยในของ บตท. อีกทั้งให้ค�ำแนะน�ำ ช่วยเหลือลูกค้ำ พร้อมรับฟังปัญหำ ในกำรปฏบิ ตั ติ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ของ บตท. คณะกรรมกำร ขอ้ ร้องเรียนต่ำงๆ และแก้ไขปญั หำให้กบั ลกู คำ้ อยำ่ งทั่วถึง บตท. ส่งเสริมให้เกิดควำมร่วมมือระหว่ำง บตท. และผู้มี นอกจำกนี้ บตท. ได้จัดให้มีกำรจัดท�ำรำยงำนเปิดเผย สว่ นไดเ้ สยี ไดแ้ ก ่ รัฐบำล คคู่ ้ำ ลกู คำ้ เจ้ำหนี ้ และพนกั งำน ข้อมูลเพ่ือป้องกันควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ โดยมี โดยก�ำหนดให้มีประมวลจริยธรรม ของ บตท. เพื่อให้มี กำรทบทวนอย่ำงสม่�ำเสมอเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องและ กำรปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ให้ได้รับควำมเป็นธรรมและ เป็นปัจจุบัน รวมถึงมีกำรก�ำกับดูแลให้พนักงำนตระหนัก ถึงควำมส�ำคัญในกำรเปิดเผยข้อมูลของลูกค้ำต่อบุคคล ภำยนอก ตระหนักถึงควำมส�ำคัญของสิ่งแวดล้อม และ ควำมปลอดภัยของผู้มีส่วนได้เสียท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจน ส่งเสริมกิจกรรมทำงสังคมในกำรรักษำส่ิงแวดล้อม และ พัฒนำคุณภำพชวี ิตของคนในชมุ ชน โดย บตท. จะมงุ่ สรำ้ ง ใหบ้ คุ คลทม่ี สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั บตท. รวมทงั้ ประชำชนทว่ั ไป เกิดควำมเช่ือม่ันในกำรปฏิบัติงำนตำมหลักธรรมำภิบำล ของ บตท. รายงานประจำาปี 2562 33

กิจกรรมตำมแผนงำนดำ้ นกำรกำ� กับดแู ลกิจกำรทดี่ ี ปี 2562 แผนงานท่ี 1 แผนพฒั นาและสง่ เสรมิ ดา้ นธรรมาภิบาลในสว่ นทีเ่ กีย่ วกบั ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี 1.1 จดั บรรยำยใหค้ วำมรแู้ กผ่ บู้ รหิ ำรและพนกั งำน บตท. ในเรอื่ งกำรประเมนิ ITA ในหวั ขอ้ “การประเมนิ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสยี ภายใน (Internal Integrity & Transparency Assessment)” โดยวทิ ยำกรภำยใน เมือ่ วันที่ 28 มนี ำคม 2562 ณ ส�ำนักงำน บตท. 1.2 บตท. ไดน้ ำ� ขอ้ เสนอแนะมำปรบั ปรงุ และพฒั นำกำรประเมนิ คณุ ธรรมและควำมโปรง่ ใสในกำรดำ� เนนิ งำนของหนว่ ยงำน ภำครัฐ ประจำ� ปี 2562 ทำ� ให้ผลกำรประเมินในป ี 2562 บตท. ไดร้ บั คะแนนรวมรอ้ ยละ 89.64 (จัดอยใู่ นกลุม่ A) 1.3 บตท. สรำ้ งเครือข่ำยและให้ควำมรู้ด้ำนคณุ ธรรมเพ่อื ให ้ บตท. ก้ำวส่อู งค์กรคุณธรรม ดังนี้  ในวันที่ 3 กรกฎำคม 2562 บตท. เข้ำร่วมงำนสมัชชำคุณธรรมแห่งชำติ คร้ังที่ 10 “1 ทศวรรษ สร้างสังคม คณุ ธรรม : วินัยคนสะท้อนวินยั ชาต”ิ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย  ในวันท่ี 17 กันยำยน 2562 บตท. ได้จัดบรรยำยให้ควำมรู้และอบรมเชิงปฏิบัติกำรแก่ผู้บริหำรและพนักงำน บตท. ในเรื่องกำรประเมนิ ITA ในหวั ข้อ “องคก์ รคุณธรรม” โดยวิทยำกรผทู้ รงคุณวุฒจิ ำกศูนยค์ ุณธรรม ณ ส�ำนักงำน บตท. 1.4 บตท. ได้จัดโครงกำรพนักงำนต้นแบบด้ำนคุณธรรมและจริยธรรม บตท. ประจ�ำปี 2562 และได้มีกำรมอบ รำงวัลให้กับพนักงำนต้นแบบด้ำนคุณธรรมและจริยธรรม บตท. ประจ�ำปี 2562 ในวันที่ 16 ตุลำคม 2562 โดยมีประธำนกรรมกำร บตท. และประธำนคณะอนุกรรมกำรกำ� กับดแู ลกิจกำรที่ดีเป็นผูม้ อบรำงวลั แผนงานที่ 2 เสริมสร้างธรรมาภิบาลภายใต้กรอบนโยบายต่อต้านคอรร์ ปั ชนั (Anti- Corruption) 2.1 บตท. มีกำรประชำสัมพันธ์ให้ควำมรู้เรื่องกำรจัดซ้ือจัดจ้ำงภำครัฐ ผลประโยชน์ทับซ้อนและกำรแยกผลประโยชน์ ส่วนตนและส่วนรวม รวมทั้งข้อมูลต่ำงๆ ที่เก่ียวข้องผ่ำนทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ “น้องใจใส” โดยเผยแพร่ใน E-Mail intranet และ Website บตท. ให้ผมู้ ีส่วนได้เสยี ทั้งภำยในและภำยนอกของ บตท. ทรำบ 2.2 ในวนั ท ่ี 19 สงิ หำคม 2562 บตท. เข้ำร่วมประชุมกบั ส�ำนกั งำน ป.ป.ช. เรอ่ื งกำรด�ำเนนิ กำรตำมแผนยทุ ธศำสตร์ชำติ วำ่ ด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทจุ รติ ระยะท ่ี 3 และกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรเรอ่ื งกำรป้องกนั กำรทุจรติ เชงิ รกุ ณ โรงแรมมริ ำเคลิ แกรนด ์ กรงุ เทพฯ 2.3 ในวันท่ี 21 สิงหำคม 2562 บตท. ได้เข้ำร่วมกำรประชุมเครือข่ำยรัฐวิสำหกิจในเร่ืองกำรประเมิน ITA และ กำรขับเคล่ือนกำรด�ำเนินงำนของศูนย์ปฏิบัติกำรต่อต้ำนกำรทุจริตในรัฐวิสำหกิจ ณ ส�ำนักงำนใหญ่ กำรปิโตรเลียม แหง่ ประเทศไทย 2.4 ในวันท่ี 23 กันยำยน 2562 สถำบันกำรเงินของรัฐร่วมกับสมำคมนักบริหำรพัสดุแห่งประเทศไทยได้จัดกำรอบรม เร่ืองกำรจัดซื้อจัดจ้ำง ให้กับสถำบันกำรเงินของรัฐ และได้เชิญวิทยำกรที่มีควำมรู้ ควำมช�ำนำญในเร่ืองกำรจัดซ้ือ จดั จำ้ งพสั ด ุ โดยมผี ูบ้ ริหำรและพนักงำนของ บตท. เข้ำรับกำรอบรมในครั้งน้ี 2.5 ในวนั ท ่ี 24 ธนั วำคม 2562 บตท. ไดเ้ ขำ้ รว่ มกำรสมั มนำประจำ� ปเี พอื่ แลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ นวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี (Best Practice) ด้ำนกำรป้องกันกำรทจุ ริตในภำครฐั วิสำหกิจ ณ โรงแรมรชิ มอนด์ 2.6 กำรรำยงำนผลกำรดำ� เนนิ งำนของศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ำรต่อต้ำนกำรทจุ รติ ของ บตท. ตัง้ แต่เดอื นมกรำคม - ธันวำคม 2562 บตท. ไม่มขี อ้ ร้องเรียนทจุ รติ 34 รายงานประจาำ ปี 2562

บตท. มุ่งเนน้ การกา� กับดูแล กิจการท่ดี ี เปน็ กลาง และเทีย่ งธรรม

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ Conflict of Interrest 1. ระดบั กรรมการ ถอื เปน็ หลกั กำรสำ� คญั ทก่ี ำ� หนดไวเ้ พอื่ ไมใ่ หค้ ณะกรรมกำร บตท. ใชโ้ อกำสจำกกำรดำ� รงตำ� แหนง่ แสวงหำผลประโยชน์ ส่วนตน หรือประกอบธุรกิจท่ีแข่งขันกับ บตท. หรือหลีกเล่ียงกำรท�ำรำยกำรที่เกี่ยวโยงกับตนเองท่ีก่อให้เกิดควำมขัดแย้ง ทำงผลประโยชนก์ บั บตท. หำกมกี รณจี ำ� เปน็ ตอ้ งทำ� รำยกำรดงั กลำ่ ว คณะกรรมกำร บตท. มหี นำ้ ทด่ี แู ลใหก้ ำรทำ� รำยกำรนน้ั เป็นไปอย่ำงโปร่งใส เที่ยงธรรม เสมอเหมือนกำรท�ำรำยกำรกับบุคคลภำยนอก ทั้งนี้ คณะกรรมกำร บตท. ต้องไม่มี สว่ นไดเ้ สียในรำยกำรนัน้ และไม่มสี ่วนในกำรพิจำรณำอนมุ ัติ 1. จัดท�ำรำยกำรเปิดเผยข้อมูลรำยกำรควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ ทุกครั้งที่ได้รับต�ำแหน่งและทบทวนรำยกำร เปน็ ประจ�ำทุกปี 2. กระตนุ้ ใหผ้ บู้ รหิ ำรและพนกั งำนมจี ติ สำ� นกึ ในกำรปฏบิ ตั งิ ำนดว้ ยควำมซอื่ สตั ย ์ไมแ่ สวงหำประโยชนส์ ว่ นตนมำกกวำ่ สว่ นรวม 3. ไมแ่ สวงหำผลประโยชนใ์ ห้ตนเองและผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ งโดยใช้ข้อมลู ใดๆ ของ บตท. ซ่งึ ยังไม่เปิดเผยต่อสำธำรณะ และ ไม่ดำ� เนนิ กำรใดๆ ในลักษณะท่อี ำจก่อให้เกดิ ควำมขดั แยง้ ทำงผลประโยชนต์ อ่ บตท. หรือเอ้ือประโยชนใ์ ห้กับตนเองและ ผูเ้ กย่ี วขอ้ ง 4. ไม่ปิดบังข้อมูลท่ีกรรมกำรมีส่วนร่วมหรือเป็นหุ้นส่วนในกิจกำรหรือบริษัทท่ีเข้ำร่วมประมูลในกำรจัดซ้ือจัดจ้ำง ทำ� ใหเ้ กดิ ควำมขดั แย้งทำงผลประโยชน์ 5. กำรเข้ำเป็นคู่ค้ำกับกิจกำรที่กรรมกำรมีผลประโยชน์เก่ียวข้อง ต้องได้รับอนุมัติจำกท่ีประชุมคณะกรรมกำร บตท. ด้วยมตเิ ปน็ เอกฉันท ์ โดยไมม่ ีกรรมกำรผ้นู น้ั เขำ้ รว่ มพิจำรณำอนุมตั ดิ ้วย 6. กรรมกำรทอี่ ำจมคี วำมเกย่ี วขอ้ งหรอื มสี ว่ นไดเ้ สยี ในวำระกำรประชมุ ใด จะตอ้ งงดออกเสยี ง งดใหค้ วำมเหน็ ในวำระ นัน้ หรือออกจำกห้องประชุม 7. ก�ำกบั ใหผ้ ู้ด�ำเนินกำรจดั ซื้อจดั จ้ำง กระท�ำดว้ ยควำมชัดเจน โปร่งใส และถกู ตอ้ งตำมระเบยี บขอ้ บงั คบั เพ่อื ป้องกัน ควำมขดั แย้งทำงผลประโยชน์ในกำรจัดหำผซู้ ้ือและผูร้ บั จำ้ ง 8. ไมพ่ งึ ทำ� ธรุ กจิ โดยอำศยั ชอื่ ของ บตท. หรอื ประกอบธรุ กจิ ใด ๆ ทมี่ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กบั กจิ กำรของ บตท. หรอื แอบอำ้ ง ช่ือเสยี งของ บตท. ไปใชใ้ นกิจกรรมของตนเอง ไมว่ ่ำจะเปน็ ทำงตรงหรอื ทำงอ้อม 9. สอดสอ่ งดแู ลและจดั กำรแก้ไขปัญหำควำมขัดแยง้ ทำง ผลประโยชน์ท่ีอำจเกิดขึ้น รวมถึงรำยกำรที่เกี่ยวโยงกัน ให้ควำมส�ำคัญในกำรพิจำรณำธุรกรรมหลักท่ีมีควำมส�ำคัญ โดยมุ่งเนน้ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อองคก์ ร 10. ไม่พึงกระท�ำกำรให้และรับของขวัญซ่ึงมีมูลค่ำเกินกว่ำ 3,000 บำทจำกผู้มีส่วนได้เสียกับกิจกำรของ บตท. หำกมีเหตุผลควำมจ�ำเป็นที่จะต้องรับไว้ ให้แจ้งรำยละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับกำรรับของขวัญน้ันต่อประธำนกรรมกำร บตท. โดยทนั ทที ี่สำมำรถกระทำ� ได้ 36 รายงานประจำาปี 2562

2. ระดบั ผบู้ ริหารและพนกั งาน ผู้บริหำรและพนักงำนต้องไม่ใช้โอกำสจำกกำรเป็นผู้บริหำรหรือพนักงำนในกำรแสวงหำผลประโยชน์ส่วนตนตำม ท่ีคณะกรรมกำร บตท. ได้วำงหลกั กำรไว ้ นอกจำกน ี้ ผ้บู รหิ ำรมีหน้ำท่ดี แู ลใหม้ กี ำรปฏิบตั ิตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร ในกำร ท�ำรำยงำนเปิดเผยข้อมูลควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ อย่ำงถูกต้อง ครบถ้วน เพ่ือเป็นที่น่ำเช่ือถือและไว้วำงใจของผู้มี ส่วนได้เสียทุกฝ่ำย รวมท้ังให้ผู้บริหำรและพนักงำนแยกเรื่องส่วนตัวออกจำกต�ำแหน่งหน้ำท่ีและยึดถือประโยชน์ส่วนรวม เหนือกวำ่ ประโยชน์สว่ นตน 1. ตอ้ งจดั ทำ� รำยกำรเปดิ เผยขอ้ มลู รำยกำรควำมขดั แยง้ ทำงผลประโยชนใ์ หถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน และครบถว้ น เมอ่ื มพี นกั งำน ใหม่ หรือพนักงำนมีกำรโยกย้ำย/สบั เปลีย่ นต�ำแหนง่ โดยตอ้ งมกี ำรทบทวนรำยกำรเป็นประจำ� ทุกปี 2. กระตนุ้ ใหพ้ นกั งำนปฏบิ ตั หิ นำ้ ทดี่ ว้ ยควำมซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มคี วำมระมดั ระวงั รอบคอบ และปฏบิ ตั หิ นำ้ ทอี่ ยำ่ งโปรง่ ใส และไม่เบียดบังประโยชนข์ องผู้มสี ว่ นไดเ้ สียหรอื บตท. มำเป็นของตนเอง 3. ไมแ่ สวงหำผลประโยชน์ใหต้ นเอง และผทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ งโดยใชข้ อ้ มูลใดๆ ของ บตท. ซึง่ ยังไมเ่ ปดิ เผยต่อสำธำรณะ และ ไม่ดำ� เนินกำรใดๆ ในลกั ษณะที่อำจกอ่ ให้เกดิ ควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ตอ่ บตท. หรือเออื้ ประโยชน์ใหก้ ับตนเองและ ผู้เกย่ี วข้อง รวมทง้ั ใหแ้ ยกเรือ่ งส่วนตัวออกจำกต�ำแหนง่ หน้ำทแ่ี ละยึดถือประโยชนส์ ่วนรวมเหนือกว่ำประโยชน์สว่ นตน 4. ไมป่ ดิ บงั ขอ้ มลู ทผ่ี บู้ รหิ ำรมสี ว่ นรว่ มหรอื เปน็ หนุ้ สว่ นในกจิ กำรหรอื บรษิ ทั ทเ่ี ขำ้ รว่ มประมลู ในกำรจดั ซอ้ื จดั จำ้ ง ทำ� ให้ เกิดควำมขดั แย้งทำงผลประโยชน ์ 5. กรณีมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องในกิจกำรใดในกำรพิจำรณำอนุมัติ ต้องได้รับอนุมัติจำกคณะท�ำงำนที่เหนือกว่ำ โดยไมม่ ีผูม้ ีสว่ นไดเ้ สียน้ันอยใู่ นกำรประชุมพจิ ำรณำอนมุ ัติ 6. ด�ำเนนิ กำรจัดซ้ือจดั จำ้ งใหเ้ ปน็ ไปตำมระเบียบข้อบงั คบั อย่ำงชดั เจน โปรง่ ใส และถกู ตอ้ ง เพือ่ ปอ้ งกันควำมขดั แย้ง ทำงผลประโยชนใ์ นกำรจดั หำผูซ้ ื้อและผ้รู บั จ้ำงในกำรจัดซ้อื จัดจำ้ ง 7. หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติงำนอ่ืนที่มิใช่กำรปฏิบัติงำนตำมหน้ำที่ที่ บตท.ก�ำหนด เป็นผลให้เกิดควำมล่ำช้ำและเกิด ควำมเสยี หำยต่อ บตท. 8. ไม่พึงท�ำธุรกิจโดยอำศัยชื่อของ บตท. หรือประกอบธุรกิจใด ๆ ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจกำรของ บตท. หรือ แอบอ้ำงชือ่ เสียงของ บตท. ไปใชใ้ นกจิ กรรมของตนเอง ไม่ว่ำจะเปน็ ทำงตรงหรอื ทำงออ้ ม 9. สอดส่องดูแลและจัดกำรแก้ไขปัญหำควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ท่ีอำจเกิดข้ึน รวมถึงรำยกำรท่ีเกี่ยวโยงกัน และใหค้ วำมสำ� คญั ในกำรพจิ ำรณำธรุ กรรมหลกั ทม่ี ีควำมสำ� คัญ โดยม่งุ เน้นใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ องคก์ ร 10. ไม่พึงกระท�ำกำรให้และรับของขวัญซ่ึงมีมูลค่ำเกินกว่ำ 3,000 บำทจำกผู้มีส่วนได้เสียกับกิจกำรของ บตท. หำกมีเหตุผลควำมจ�ำเป็นท่ีจะต้องรับไว้ ให้แจ้งรำยละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรรับของขวัญนั้นต่อผู้มีอ�ำนำจถอดถอน โดยทันทที ี่สำมำรถกระท�ำได ้ รายงานประจาำ ปี 2562 37

รายการระหวา่ งกนั ประจา� ปี 2562 ตารางแสดงความสัมพนั ธเ์ ฉพาะบรษิ ัทจำากดั และบรษิ ัทมหาชนจาำ กดั ทั้งเอกชนและรัฐวสิ าหกจิ ท่ีเกย่ี วโยงกบั กรรมการบตท. คณะกรรมการ บตท. ดาำ รงตำาแหน่งในหนว่ ยงานอื่น รายการทีอ่ าจขัดแย้ง การถือครอง ทางผลประโยชน/์ หลักทรัพย์ “หุ้น” รายการทีเ่ กยี่ วโยงกนั / ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธ์ทางครอบครวั กบั กรรมการและผบู้ ริหาร บตท. นำยอรรถพล อรรถวรเดช สาำ นกั งานเศรษฐกจิ การคลงั ไม่มี ไม่มี - รองผ้อู �ำนวยกำร นำยชัยชำญ สิทธวิ ริ ัชธรรม กรมที่ดิน ไม่มี ไมม่ ี - ที่ปรกึ ษำด้ำนประสิทธิภำพ (นักวิเครำะห์ นำยเลอพงษ์ ชูประยรู นโยบำย ไมม่ ี ไมม่ ี นำงศรินทิพย์ ชนะภัย และแผนทรงคณุ วฒุ ิ) ไมม่ ี ไมม่ ี นำงสริ วิ ิภำ สพุ รรณธเนศ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ นำยสมั มำ คีตสนิ - ผตู้ รวจกำรธนำคำร ไม่มี ไม่มี นำยภูมพิ ัฒน์ สินำเจรญิ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ นำงวสกุ ำนต์ วศิ ำลสวสั ด ิ์ - รองกรรมกำรผจู้ ดั กำร กลุ่มงำนสินเชอื่ ไม่มี ไมม่ ี สาำ นักงานคณะกรรมการกาำ กับหลกั ทรพั ย์ ไมม่ ี ไม่มี และตลาดหลกั ทรพั ย์ (ก.ล.ต.) ไม่มี ไมม่ ี - รองเลขำธกิ ำร บมจ. เสนาดเี วลลอปเมน้ ท์ - กรรมกำรอสิ ระ PTG Energy Plc. - Executive Vice President บรรษัทตลาดรองสนิ เชอ่ื ทีอ่ ยู่อาศัย - กรรมกำรและผู้จดั กำร ในกำรเข้ำท�ำรำยกำรระหว่ำงกัน บตท. มีนโยบำยท่ีจะปฏิบัติให้เป็นไปตำมมำตรฐำนกำรบัญชีเรื่องกำรเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับ บคุ คลหรอื กจิ กำรทีเ่ กย่ี วข้องกนั ซ่งึ ก�ำหนดโดยสมำคมนกั บัญชีและผ้สู อบบญั ชรี บั อนุญำตแหง่ ประเทศไทย ทัง้ นี ้ ในอนำคต หำก บตท. มกี ำรเขำ้ ทำ� รำยกำรระหวำ่ งกนั กบั บคุ คลทอี่ ำจมคี วำมขดั แยง้ บตท. จะไดจ้ ดั ใหม้ คี ณะกรรมกำรตรวจสอบ มหี นำ้ ทแ่ี ละควำมรบั ผดิ ชอบ ในกำรพิจำรณำกำรเปิดเผยข้อมูลของบรรษัท ในกรณีที่เกิดรำยกำรที่เก่ียวโยงกัน หรือรำยกำรที่อำจมีควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน ์ ใหม้ คี วำมโปรง่ ใสและถกู ตอ้ งครบถว้ น และเนอ่ื งจำกกระทรวงกำรคลงั เปน็ ผถู้ อื หนุ้ รอ้ ยละ 100 ของ บตท. กรรมกำร บตท. จงึ ไมส่ ำมำรถ ถอื ครองห้นุ ใน บตท. ได้ บตท. ได้จัดต้งั บริษทั นติ ิบุคคลเฉพำะกิจ บตท. (7) จำ� กดั บริษัท นิติบุคคลเฉพำะกจิ บตท. (8) จ�ำกัด และบริษทั นติ ิบุคคลเฉพำะ กิจ บตท. (9) จ�ำกัด เพือ่ เปน็ นิตบิ คุ คลเฉพำะกจิ ประกอบธุรกิจกำรแปลงสนิ ทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ตำมพระรำชก�ำหนดนิติบุคคลเฉพำะ กิจเพ่อื กำรแปลงสินทรพั ยเ์ ปน็ หลกั ทรัพย ์ พ.ศ. 2540 ค่าตอบแทนของผูส้ อบบญั ชี บตท. และบริษทั ยอ่ ย มีคา่ ธรรมเนียมสอบบญั ชปี ระจาำ ปี 2562 จำานวน 700,000 บาท 38 รายงานประจาำ ปี 2562

ความรับผิดชอบตอ่ สังคม Corporate Social Responsibilities แนวทางการด�าเนนิ งานด้าน CSR บทบาทหนา้ ที่ตามพนั ธกิจ บตท. การสง่ เสรมิ ความรูท้ างการเงนิ การดแู ลสังคมและสิ่งแวดลอ้ ม (Core Business for Public) (Financial Literacy) (Social and Environment) การทำาหน้าที่เป็นตัวกลางจัดหาแหล่ง นาำ ความรคู้ วามเชยี่ วชาญดา้ นการเงนิ เป็นหัวใจสำาคัญในการดำาเนินงาน เงนิ ระยะยาวเพอื่ สนบั สนนุ ตลาดสนิ เชอื่ ของ บตท. มาอำานวยประโยชน์แก่ผู้มี เพื่อวางแนวทางสู่การเป็นองค์กรแห่ง ทีอ่ ยอู่ าศยั ดว้ ยการจัดซ้ือสินเชอ่ื ท่ีอยู่ สว่ นไดส้ ว่ นเสยี ชมุ ชนและสงั คม “ความร”ู้ ความย่ังยืน การแสดงออกถึงความ อาศัยจากสถาบันการเงิน ผู้ประกอบ เปน็ เครอ่ื งมอื สาำ คญั ในการสรา้ งความ รับผิดชอบต่อสังคมเป็นความคาดหวัง การอสังหาริมทรัพย์ ผู้ประกอบธุรกจิ เข้มแข็งให้กับประชาชน และภาคสังคม ของประชาชนต่อหน่วยงานภาครัฐ ให้สินเช่ือโดยการรับจำานองอสังหา- ทาำ ใหป้ ระเทศเกดิ การพฒั นา และเตบิ โต องค์กรจะต้องคำานึงถึงความต้องการ ริมทรัพย์ ให้เช่าซ้ือ หรือให้เช่าแบบ อย่างยงั่ ยืน ของสงั คมควบคู่กับการดาำ เนินธุรกิจ ลิสซ่ิง เพื่อนำามาแปลงสินทรัพย์เป็น หลักทรัพย์ พัฒนำคน ดำ� เนนิ งำน พัฒนำควำมรู้ ด้วยควำมรบั ผิดชอบ ตำมบทบำทพนั ธกจิ ของ บตท. และต่อยอด ร่วมพฒั นำสงั คม สร้ำงส่ิงแวดลอ้ ม เพ่อื ควำมยั่งยนื รายงานประจำาปี 2562 39

กลยทุ ธก์ ารสอ่ื สารดา้ น CSR บตท. มงุ่ เน้นกำรให้ควำมรู้ทำงกำรเงนิ ในหลำกหลำย Platform เพื่อสร้ำงควำมนำ่ สนใจใหก้ ับกลมุ่ เป้ำหมำยผ่ำนชอ่ งทำงออนไลน์ และออฟไลน์ “การสง่ เสริมความรู้ทางการเงนิ ” เผยแพรค่ วามรทู้ างการเงนิ ดว้ ยภาพ โดยจัดทา� การพฒั นาบคุ ลากร และนำาสมรรถนะหลกั Infographic ใหค้ วามรู้ ของ บตท. มาเชอ่ื มโยงความรดู้ ้านการเงนิ สูส่ งั คมเพราะ “ความรู้ เป็นเครือ่ งมอื ในการสร้างสังคมอย่างย่ังยืน” โดยการนาำ เสนอส่อื ความรู้ในรปู แบบตา่ งๆ เพื่อให้เกดิ การเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย จดั ทา� บทความให้ความรู้ จดั กจิ กรรมให้ความรู้ ทางการเงิน การเผยแพร่ความรูท้ างการเงนิ ด้วยภาพ Line Official Account, Facebook และ Twitter 40 รายงานประจาำ ปี 2562

กำรจดั ทำ� บทควำมให้ควำมรู้ เผยแพร่ทำงสื่อออนไลน์ Line Official Account, Facebook และ Twitter กำรเผยแพร่ควำมรทู้ ำงกำรเงินและ ควำมรู้ทว่ั ไปดว้ ย VDO บทสัมภาษณ์กรรมการ บตท. เผยแพร่ทาง Youtube Channel กำรจัดทำ� วำรสำรข่ำวสำรอเิ ล็กทรอนิกส์ เผยแพร่การดาำ เนินงาน ดา้ น CSR ของ บตท. รายงานประจาำ ปี 2562 41

SMC รกั ษ์ส่งิ แวดล้อม กิจกรรมเพ่อื สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 42 รายงานประจำาปี 2562

การควบคุมและตรวจสอบภายใน Internal Control and Audit คณะกรรมการ ผู้บรหิ าร และพนกั งานของบรรษทั ตลาดรองสนิ เชือ่ ทีอ่ ยอู่ าศัย (บตท.) ตระหนกั และให้ความสาำ คญั ตอ่ การควบคุมภายในท่ีดี เป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุม ภายในสาำ หรบั หนว่ ยงานของรฐั พ.ศ. 2561 และตามกรอบการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน องิ ตามมาตรฐาน สากล(TheCommitteeofSponsoringOrganizationsoftheTreadwayCommission:COSO)มี5องคป์ ระกอบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) การประเมินความเส่ียง (Risk Assessment) กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) สารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communications) และการติดตามประเมินผล (Monitoring) เพื่อให้องค์กรมีการบริหารและดำาเนินงานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ เชอ่ื ถอื ได้ โปรง่ ใส คำานึงถึงผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย (Stakeholder) ทุกกลุ่ม และเตบิ โตไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน บตท. มสี ภำพแวดลอ้ มกำรควบคมุ ทดี่ ี ผบู้ รหิ ำรองคก์ ร นอกจำกน้ี บตท. ก�ำหนดให้ทุกฝ่ำยงำนมีส่วนร่วม ได้สร้ำงบรรยำกำศของกำรควบคุมเพื่อให้เกิดทัศนคติท่ีดี ในกำรประเมินกำรควบคุมภำยในของตนเอง (Control ตอ่ กำรควบคมุ ภำยใน โดยใหค้ วำมสำ� คญั กบั ควำมซอื่ สตั ย์ Self-Assessment : CSA) เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในกำร จรยิ ธรรม และควำมโปรง่ ใส มกี ำรเผยแพรห่ ลกั ธรรมำภบิ ำล บริหำรควำมเส่ียงและควบคุมภำยในให้มีประสิทธิภำพ และบทควำมต่ำงๆ ผ่ำนทำง Intranet ให้พนักงำนทั่วท้ัง และประสิทธิผลย่ิงขึ้น โดยมีคณะท�ำงำนประเมินกำร องค์กรได้รับทรำบและถือปฏิบัติในแนวทำงเดียวกัน ควบคมุ ภำยในทำ� หน้ำที ่ พจิ ำรณำ กลั่นกรอง และสรปุ ผล นอกจำกนี้ ผู้บริหำรและพนักงำนทุกระดับได้เปิดเผย กำรประเมินกำรควบคุมภำยในในภำพรวมขององค์กร ขอ้ มูลเพื่อป้องกันกำรขัดแย้งทำงผลประโยชน ์ (Conflict of มีกำรติดตำมประเมินผลกำรด�ำเนินงำนตำมแผนควบคุม Interest) ซึ่งมีกำรทบทวนเป็นประจำ� ทุกป ี ภำยในน�ำเสนอต่อผู้บริหำรระดับสูง และคณะกรรมกำร บตท. ก�ำหนดและทบทวนแนวทำงกำรปฏิบัติงำน ชุดตำ่ งๆ ท่เี กยี่ วข้อง เป็นประจำ� รำยไตรมำส มีนโยบำย และระเบียบวิธีปฏิบัติท่ีเหมำะสม ท�ำให้มั่นใจ ได้วำ่ กจิ กรรมกำรควบคมุ ทก่ี ำ� หนดไวส้ ำมำรถทำ� ให้องคก์ ร บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ มีกำรสอบทำนรำยงำนข้อมูล ทำงกำรเงิน และไม่ใช่กำรเงิน รวมท้ังสอบทำนกำรปฏิบัติ งำนให้เป็นไปตำมระเบียบปฏบิ ตั งิ ำน กฎหมำย กฎเกณฑ์ ของทำงกำร นอกจำกน้ี บตท. ให้ควำมส�ำคัญกับระบบ เทคโนโลยีสำรสนเทศ มีกำรแต่งต้ังคณะท�ำงำนนโยบำย เทคโนโลยีสำรสนเทศ (ITG) มีหน้ำท่ีในกำรจัดให้มีระบบ เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำรที่ดี ตำมหลัก IT Good Governance กำ� หนดนโยบำยกำรรกั ษำควำมมนั่ คง ปลอดภัยด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ (ISMS Policy) แผนแม่บทด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ โดยด�ำเนินงำน ตำมแนวทำง ISO 27001 และหลักเกณฑ์กำรก�ำกับดูแล ควำมเสีย่ งดำ้ นเทคโนโลยีสำรสนเทศ มีกำรเผยแพร่ข้อมลู ข่ำวสำรให้แก่พนักงำนภำยในองค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผำ่ นทำง Intranet และผำ่ นทำงเว็บไซต์ (www.smc.or.th) รายงานประจาำ ปี 2562 43

การบริหารความเสีย่ ง Risk Management บตท. ตระหนักถึงความสำาคัญในการบริหารความเสี่ยงซ่ึงเป็นพ้ืนฐานที่สำาคัญในการดำาเนินธุรกรรมและการบริหาร จัดการองค์กรเพ่ือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ บตท. โดยได้นำากรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยรวม (Enterprise Risk Management Framework) ตามมาตรฐานของ Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission : COSO และแนวทางการกำากับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มาใช้เป็นกรอบในการบริหารความเส่ียง โดยกำาหนดแนวทางการบริหารความเส่ียงในแต่ละด้านเพ่ือให้มั่นใจ ไดว้ ่า บตท. มีการบรหิ ารความเส่ียงที่ดีและมปี ระสทิ ธิภาพ บตท. จดั ใหม้ โี ครงสร้ำงองค์กรเพื่อสนบั สนนุ กำรบริหำร ควำมเส่ียง มีคณะอนุกรรมกำรก�ำกับดูแลด้ำนบริหำร ควำมเส่ียง คณะท�ำงำนบริหำรควำมเสี่ยง และฝ่ำยบริหำร ควำมเสี่ยง ด�ำเนินกำรบริหำรควำมเส่ียงในภำพรวมขององค์กร มีกำรก�ำหนดนโยบำยและแนวทำงกำรบริหำรควำมเส่ียง ก�ำหนดกลยุทธ์กำรบริหำรควำมเส่ียงและมีกำรทบทวน ควำมเพียงพอเหมำะสมของนโยบำยและกลยุทธ์ในกำร บริหำรควำมเสี่ยงเป็นประจ�ำทุกปีหรือเม่ือมีกำรเปลี่ยนแปลง ท่มี นี ัยส�ำคัญ เพอื่ เป็นกำรปลกู ฝงั เปน็ วฒั นธรรมกำรบรหิ ำร ควำมเสยี่ งในองค์กรให้เป็นไปอยำ่ งย่งั ยืนในระยะยำว ในปี 2562 บตท. ได้พัฒนำกำรบริหำรควำมเสี่ยง สถำนกำรณก์ ำรแขง่ ขนั ดำ้ นอตั รำดอกเบยี้ สนิ เชอื่ ทอี่ ยอู่ ำศยั อยำ่ งต่อเนอื่ งจำกปที ผี่ ำ่ นมำ โดยยึดถือแนวทำงตำมเกณฑ์ ของสถำบนั กำรเงนิ ยงั คงมคี วำมรนุ แรง สถำบนั กำรเงนิ ตำ่ งๆ กำรก�ำกับดูแลของธนำคำรแห่งประเทศไทย รวมถึง ใชก้ ลยทุ ธใ์ นกำรใหด้ อกเบยี้ สนิ เชอื่ ในอตั รำทต่ี ำ่� ในกำรจงู ใจ กำรบูรณำกำรกำรบริหำรควำมเส่ียงกับยุทธศำสตร์องค์กร ลูกหนี้ ประกอบกับกองสินเชื่อที่ บตท. มีอยู่ส่วนใหญ่เป็น ส�ำหรับประเภทควำมเสี่ยงของ บตท. แบ่งเป็น 5 ด้ำน สินเช่ือที่ได้รับอัตรำดอกเบ้ียลอยตัว (Float rate) ส่งผลให้ ตำมแนวทำงของธนำคำรแหง่ ประเทศไทยดังน้ี รำยไดด้ อกเบย้ี สนิ เชอ่ื ลดลง ดงั นน้ั บตท. จงึ ตอ้ งปรบั เปลย่ี น กลยทุ ธใ์ นกำรรกั ษำลกู คำ้ ชน้ั ด ี โดยกำรกำ� หนดมำตรกำรให้ 1) ควำมเสีย่ งด้ำนกลยุทธ์ (Strategic Risk) ลูกหนี้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตำมเกณฑ์ เข้ำร่วมโครงกำร Retention รวมท้ังลดต้นทุนทำงกำรเงินและค่ำใช้จ่ำย ควำมเส่ียงด้ำนกลยุทธ์ หมำยถึง ควำมเสี่ยงที่เกิดจำก ในกำรด�ำเนินงำน เพื่อยังคงรักษำผลประกอบกำรให้มี กำรกำ� หนดแผนกลยทุ ธ์ แผนกำรด�ำเนนิ งำน และกำรนำ� ไป ก�ำไร ไมเ่ ป็นภำระของภำครัฐ ปฏิบัติที่ไม่เหมำะสมหรือไม่สอดคล้องกับสภำพแวดล้อม ทั้งภำยในและภำยนอกอันจะส่งผลกระทบต่อรำยได้ 2) ควำมเสีย่ งด้ำนเครคิต (Credit Risk) เงนิ กองทุน หรอื กำรดำ� รงอยูข่ อง บตท. ปี 2561-2562 บตท. ด�ำเนินงำนภำยใต้นโยบำยกำร ควำมเส่ียงด้ำนเครคิต หมำยถึง ควำมเส่ียงที่เกิดจำก หยุดซื้อสินเชื่อของกระทรวงกำรคลัง ปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญ ลูกหน้ีหรือคู่สัญญำไม่ช�ำระหนี้คืน หรือไม่สำมำรถปฏิบัติ ท่ีท�ำให้กองสินเช่ือลดลงคือกำรช�ำระหนี้เพื่อปิดบัญชี ตำมสัญญำท่ีตกลงไว้ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อรำยได้และเงิน ก่อนก�ำหนดและกำร Refinance ของลูกหน้ี เน่ืองจำก กองทนุ ของ บตท. 44 รายงานประจาำ ปี 2562

ในป ี 2562 บตท. ไดใ้ หค้ วำมสำ� คญั กบั กำรบรหิ ำรจดั กำร ไถถ่ อนกอ่ นครบก�ำหนด ทำ� ให ้ บตท. มีกระแสเงนิ ส่วนเกนิ กองสนิ เชอื่ ที่มีอย ู่ ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหำหนไ้ี มก่ อ่ ให้เกดิ เพิ่มข้ึนอย่ำงต่อเน่ือง ส่งผลให้ บตท. มีสภำพคล่องอยู่ใน รำยได ้ (NPL) เพอื่ รกั ษำระดบั รำยไดด้ อกเบย้ี รบั สนิ เชอื่ และ ระดับคอ่ นขำ้ งสงู แต่อยำ่ งไรกต็ ำม บตท. มแี นวทำงในกำร ลดภำระกำรต้ังส�ำรองหนี้สงสัยจะสูญเพ่ือไม่ให้ส่งผลกระ น�ำสภำพคล่องส่วนเกินดังกล่ำวไปลงทุน โดยได้ทบทวน ทบต่อเป้ำหมำยก�ำไรสทุ ธิทอี่ งค์กรไดก้ �ำหนดไว้ นโยบำยกำรลงทุนเพ่ือให้ได้รับผลตอบแทนสูงสุด รวมทั้ง บตท. จงึ มุง่ เนน้ กำรสกดั และติดตำมลูกหน้ที เ่ี รม่ิ ผิดนัด มีกำรจัดท�ำรำยงำน Liquidity Gap เพื่อพิจำรณำกระแส ช�ำระหน้ี ป้องกันไม่ให้ลูกหน้ีตกช้ันไปเป็นหน้ีช้ันกล่ำวถึง เงินสุทธิ และสภำพคล่องคงเหลือในช่วงเวลำต่ำงๆ ในอีก เป็นพิเศษ (SM) โดยจัดให้เพิ่มบุคลำกรเพื่อช่วยในกำร 1 ปีข้ำงหน้ำ มีกำรทบทวนแผนเงินทุนฉุกเฉิน เพื่อรองรับ ตดิ ตำมลกู หนี้อยำ่ งใกลช้ ิด ในกรณีลกู หน้ที มี่ ีกำรคำ้ งช�ำระ ในกำรจัดหำทุนหำกมีควำมจ�ำเป็น โดยมีวงเงินเงินกู้ ต่อเน่ือง มีแนวโน้มท่ีจะเป็น NPL บตท. ได้ปรับกลยุทธ์ ระยะส้ัน (Credit Line) ที่ได้รับจำกสถำบันกำรเงินรวม เชิงรุกเน้นกำรบริหำรจัดกำรโดยใช้ Outsource เพื่อเพิ่ม 3,175 ล้ำนบำท ประสิทธิภำพในกำรติดตำมหนี้ 5) ควำมเสยี่ งดำ้ นปฏิบตั ิกำร (Operational 3) ควำมเส่ียงด้ำนตลำด (Market Risk) Risk) ควำมเส่ยี งดำ้ นตลำด หมำยถึง ควำมเสี่ยงท่ีอำจไดร้ บั ควำมเสย่ี งดำ้ นปฏบิ ตั กิ ำร หมำยถงึ ควำมเสย่ี งทจี่ ะเกดิ ควำมเสียหำยเน่ืองจำกกำรเปล่ียนแปลงมูลค่ำของฐำนะ ควำมเสียหำยอันเน่ืองมำจำกกำรขำดกำรก�ำกับดูแล ทำงกำรเงนิ ทอี่ ยใู่ นงบแสดงฐำนะกำรเงนิ และนอกงบแสดง กิจกำรที่ดีหรือขำดธรรมำภิบำลในองค์กร มีสำเหตุจำก ฐำนะกำรเงิน โดยปัจจัยหลักของ บตท.เกิดจำกกำร กระบวนกำรทำ� งำนภำยในขำดกำรควบคมุ ภำยในทด่ี ี ทง้ั ใน เปลย่ี นแปลงของอตั รำดอกเบีย้ ด้ำนบุคลำกร ระบบงำน หรือเหตุกำรณ์ภำยนอก และ บตท. ไดพ้ จิ ำรณำผลกระทบของกำรเปลย่ี นแปลงอตั รำ ครอบคลุมถึงควำมเส่ียงด้ำนกฎหมำย (Legal Risk) และ ดอกเบี้ย โดยกำรวิเครำะห์ควำมแตกต่ำงของระยะเวลำ ควำมเสี่ยงด้ำนปฏิบัติตำมกฎเกณฑ์ (Compliance Risk) ในกำรก�ำหนดอัตรำดอกเบี้ยใหม่หรืออำยุสัญญำคงเหลือ ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อรำยไดแ้ ละเงนิ กองทนุ ของ บตท. ระหวำ่ งทรพั ยส์ นิ และหนสี้ นิ (Repricing Gap) และประเมนิ ในป ี 2562 บตท. มีกำรพัฒนำและปรับปรุงกำรบริหำร ผลกระทบต่อรำยได้ดอกเบ้ียสุทธิในอนำคต โดยติดตำม ควำมเส่ียงด้ำนปฏิบัติกำรอย่ำงต่อเน่ือง ผ่ำนเคร่ืองมือ และรำยงำนเป็นรำยเดอื น บริหำรควำมเส่ียงที่ส�ำคัญ ได้แก่ กำรประเมินกำรควบคุม ภำยในด้วยตนเอง (Control Self-Assessment : CSA) 4)ควำมเสยี่ งดำ้ นสภำพคลอ่ ง(LiquidityRisk) เพ่ือให้ทุกฝ่ำยงำนประเมินควำมเส่ียงและควบคุม กระบวนกำรท�ำงำนของตนเอง มีกำรจัดท�ำแผนควบคุม ควำมเสย่ี งด้ำนสภำพคลอ่ ง หมำยถงึ ควำมเสย่ี งทีเ่ กดิ ภำยในระดับองค์กร โดยให้มีกำรติดตำมและรำยงำนผล จำกกำรที่ บตท. ไม่สำมำรถช�ำระหนี้สินและภำระผูกพัน ต่อคณะท�ำงำนบริหำรควำมเส่ียง และคณะอนุกรรมกำร ทมี่ อี ยไู่ ดเ้ มอ่ื ถงึ กำ� หนด เนอื่ งจำกไมส่ ำมำรถเปลย่ี นสนิ ทรพั ย์ ก�ำกับดูแลด้ำนบริหำรควำมเสี่ยงรำยไตรมำส รวมทั้ง ท่ีมีอยู่เป็นเงินสดได้ทันเวลำ หรือไม่สำมำรถจัดหำเงินทุน มีกำรจัดเก็บข้อมูลเหตุกำรณ์ควำมเสียหำยที่เกิดจำก ได้อย่ำงเพียงพอ อำจส่งผลท�ำให้ธุรกิจไม่สำมำรถด�ำเนิน ควำมเสี่ยงด้ำนปฏิบัติกำร (Loss Data) โดยรำยงำน ต่อไปได้ เ ห ตุ ก ำ ร ณ ์ ค ว ำ ม เ สี ย ห ำ ย เ ป ็ น ร ำ ย เ ดื อ น ห รื อ เ ม่ื อ มี ในปี 2562 จำกผลกระทบของกำรแข่งขันด้ำนอัตรำ เหตุกำรณ์เกิดควำมเสียหำยขึ้นกับองค์กร เพ่ือก�ำหนด ดอกเบ้ีย ท�ำให้กองสินเชื่อมีกำร Refinance และปิดบัญชี แนวทำงในกำรป้องกันและควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดขึ้น อีกในอนำคต รายงานประจาำ ปี 2562 45

การบรหิ ารจดั การสารสนเทศ Information Management ในปี 2562 บตท. ได้ดำาเนินการพัฒนาปรับปรุง เพียงพอและเหมำะสม เช่น กำรปรับปรุงกระบวนกำรปิด และต่อยอดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กระทบยอดส้ินเดือนให้รวดเร็วและมีประสิทธิภำพมำกข้ึน เพ่ือสนับสนุนการดำาเนินธุรกรรมขององค์กร กำรตรวจสอบขอ้ มลู ลกู หนต้ี ำมกฎหมำย ปปง. กำรคำ� นวณ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบ ภำระหนี้ย้อนหลังตำมวันท่ีระบุ และกำรประมวลผลเพ่ือ สนับสนุนงานปฏิบัติการสินเช่ือที่อยู่อาศัย ท�ำรำยงำนประมำณกำรลูกหน้ีก�ำลังจะเลื่อนชั้นเป็น NPL ระบบการส่งขอ้ มูลเขา้ NCB ของ SPV ระบบ ก่อนปิดระบบส้ินเดือนได้ รวมทั้งกำรออกรำยงำนเพ่ิมเติม ติดตามหน้ี (LDIS) ระบบบริหารจัดการต๋ัว ตำมค�ำร้องขอจำกผ้ใู ช้งำนระบบ เปน็ ต้น P/N(P/NManagement)ระบบบรหิ ารจดั การ ระบบติดตำมหนี้ (LDIS) ได้มีกำรพัฒนำเพิ่มเติม งบประมาณ เปน็ ต้น ควำมสำมำรถในกำรบริหำรพอร์ตลูกหนี้เพื่อส่งให้บริษัท ภำยนอก (Outsource) ช่วยด�ำเนินกำรติดตำมหนี้ให้มี ในสว่ นของระบบสนับสนุนงานปฏิบตั กิ ารสนิ เช่อื ประสิทธภิ ำพมำกขึน้ ทอี่ ยอู่ าศยั ทใี่ ชง้ านอยใู่ นปจั จบุ นั (ระบบ MOSS) ซง่ึ เปน็ ในด้ำนของศูนย์คอมพิวเตอร์นั้น บตท. ใช้บริกำร ระบบงำนหลักน้ันยังคงได้รับกำรพัฒนำ ปรับปรุง ต่อยอด ศูนย์คอมพิวเตอร์นอกสถำนท่ี และมีกำรติดต้ังอุปกรณ์ และเพ่ิมเติมควำมสำมำรถอย่ำงต่อเนื่องเพื่อให้สำมำรถ Load Balancer เพื่อเพิ่มควำมเร็วในกำรรับส่งข้อมูล รองรับกำรด�ำเนินธุรกรรมในปัจจุบันขององค์กรได้อย่ำง ระหว่ำงศูนย์คอมพิวเตอร์และอำคำรส�ำนักงำนของ บตท. ข้นึ อีก 100% ท�ำใหเ้ พิม่ เสถียรภำพในกำรรับส่งข้อมูลใหด้ ีขึน้ 46 รายงานประจำาปี 2562

บตท. ดา� เนนิ งาน ตามนโยบายภาครฐั เพ่ือส่งเสรมิ เศรษฐกจิ อยา่ งยัง่ ยืน รายงานประจำาปี 2562 47

ทศิ ทางและนโยบายการด�าเนินงานของ บตท. Strategic Plan สบื เนอื่ งจากการประชมุ คณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ (คนร.) ครงั้ ท่ี 1/2562 เมอื่ วนั ที่ 17 มกราคม 2562 ไดม้ มี ติเห็นชอบในหลักการแนวทางการควบรวมบรรษทั ตลาดรองสนิ เชือ่ ท่ีอยูอ่ าศยั (บตท.) เข้ากบั ธนาคาร อาคารสงเคราะห์ (ธอส.) โดยมอบหมายให้กระทรวงการคลังดำาเนินการตรากฎหมายควบรวมกิจการ และ มอบหมายใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งประกอบดว้ ย สาำ นกั งานเศรษฐกจิ การคลงั (สศค.) สาำ นกั งานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ธอส. และ บตท. จัดทาำ รายละเอยี ดในการควบรวมพรอ้ มรา่ งกฎหมายและขอ้ มลู อนื่ ๆ ท่เี กย่ี วข้อง ซ่ึงตอ่ มาเร่อื งดงั กลา่ วได้ถูกนาำ เขา้ สู่การพิจารณาในข้ันตอนต่างๆ ตามกระบวนการ ต่อมำเมอ่ื วนั ท่ ี 15 ตลุ ำคม 2562 คณะรัฐมนตร ี มีมติ จัดกำรด้ำนสนิ ทรัพยแ์ ละหนี้สนิ กำรด�ำเนนิ กำรดำ้ นกฎหมำย เหน็ ชอบรำ่ งพระรำชบญั ญตั ยิ บุ เลกิ บรรษทั ตลำดรองสนิ เชอ่ื กำรด�ำเนินกำรด้ำนกำรเงินและบัญชี กำรบริหำรจัดกำร ที่อยอู่ ำศยั พ.ศ….. เป็นกำรควบรวมกจิ กำร บตท. เขำ้ เป็น ด้ำนสำรสนเทศ กำรประชำสัมพันธ์ ผลกระทบด้ำนธุรกิจ สว่ นหนึง่ ของ ธอส. โดยให ้ ธอส. เปน็ แกนน�ำ ด้วยเหตุผล ของธนำคำร กำรรำยงำนกำรควบรวมและโอนกิจกำร ส�ำคัญในกำรเพิ่มประสิทธิภำพให้กับองค์กร มิใช่เพ่ือ ต่อหนว่ ยงำนทกี่ ำ� กับดูแลเป็นระยะ แกป้ ญั หำ เนอื่ งจำกในป ี 2561 บตท. มผี ลกำ� ไรสทุ ธจิ ำ� นวน ทงั้ น ี้ ในป ี 2562 ตอ่ เนอื่ งถงึ ป ี 2563 บตท. จะดำ� เนนิ กำร 102 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกปีก่อน 3.8 เท่ำ แต่เนื่องด้วย เตรียมควำมพร้อมกำรด�ำเนินกำรก่อน พ.ร.บ. ยุบเลิก ภำรกจิ มขี อ้ จำ� กดั ทำ� ใหโ้ อกำสเตบิ โตนอ้ ย ทง้ั น ี้ รำ่ งพระรำช บรรษทั ตลำดรองสนิ เช่อื ที่อยู่อำศยั พ.ศ….. มผี ลบงั คบั ใช ้ บญั ญตั ฯิ ดังกลำ่ วอย่รู ะหว่ำงกำรพจิ ำรณำในขั้นตอนต่ำงๆ ตำมแผนงำนท่ีสำมำรถด�ำเนินกำรได้ก่อนและด�ำเนินกำร ตำมกระบวนกำร ต่อเนื่องจนกว่ำ พ.ร.บ. ยุบเลิกบรรษัทตลำดรองสินเช่ือท่ี บตท. และ ธอส. ได้หำรือและก�ำหนดกรอบแนวทำง อยอู่ ำศัย พ.ศ….. มีผลบงั คบั ใช ้ กำรด�ำเนินงำนกำรเตรียมควำมพร้อมเพ่ือกำรควบรวม จำกกำรด�ำเนินกำรดังกล่ำวข้ำงต้นและจำกนโยบำย ร่วมกัน โดยมีเป้ำหมำยโอนกิจกำร ทรัพย์สิน หน้ีสิน กระทรวงกำรคลังให้ บตท. หยุดท�ำธุรกรรมตำมพันธกิจ ทนุ ภำระผกู พนั และพนกั งำนของ บตท. ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภำยใน ตง้ั แต่เดือนกรกฎำคม 2561 เปน็ ต้นมำ ส่งผลให้ขนำดกอง 270 วัน นับแต่ พ.ร.บ. ยุบเลิกบรรษัทตลำดรองสินเช่ือ สินเช่ือและรำยได้ดอกเบี้ยรับลดลงอย่ำงต่อเน่ือง บตท. ที่อยู่อำศัย พ.ศ….. มีผลใช้บังคับ ซ่ึง บตท. ได้น�ำกรอบ จึงได้ก�ำหนดกลยุทธ์กำรด�ำเนินงำนเพื่อรักษำระดับรำยได้ แนวทำงดังกล่ำวมำจัดท�ำเป็นแผนควบรวมกิจกำรของ ให้เพียงพอต่อค่ำใช้จ่ำยด�ำเนินงำนและผลประกอบกำร บรรษัทตลำดรองสินเชื่อที่อยู่อำศัย (บตท.) เข้ำกับ ให้มกี �ำไรสุทธิไว ้ 3 เรอื่ งส�ำคญั ไดแ้ ก่ ธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ (ธอส.) โดยแบ่งกำรด�ำเนินงำน เป็น 2 ช่วง ได้แก่ กำรเตรียมควำมพร้อมกำรด�ำเนินกำร 1.การบรหิ ารจดั การหนีท้ ่ีไมก่ อ่ ให้เกดิ รายได้ ก่อน พ.ร.บ. ยุบเลิกบรรษัทตลำดรองสินเชื่อท่ีอยู่อำศัย พ.ศ….. มีผลบังคับใช้ และกำรด�ำเนินกำรต้ังแต่ พ.ร.บ. เร่งติดตำมแก้ไขหนี้ NPL ให้มีประสิทธิภำพสูงสุด ยุบเลิกบรรษัทตลำดรองสินเชื่อท่ีอยู่อำศัย พ.ศ….. มีผล มุ่งเน้นกำรสกัดหน้ีตกชั้นท่ีจะกลำยเป็น NPL ในอนำคต บังคับใช้ โดยมีแนวทำงกำรด�ำเนินงำน 8 ด้ำน ได้แก่ เรง่ ดำ� เนนิ กำรปรบั ปรงุ โครงสรำ้ งหน ี้ กำรทำ� ยอมในชนั้ ศำล กำรด�ำเนินกำรด้ำนโครงสร้ำงและบุคลำกร กำรบริหำร เร่งด�ำเนินคดีและบังคับคดียึดทรัพย์หลักประกันออกขำย 48 รายงานประจาำ ปี 2562

ทอดตลำดเพ่ือน�ำเงินเข้ำช�ำระหน้ี ภำยใต้นโยบำยและ กำรลงทุนเพื่อน�ำสภำพคล่องส่วนเกินดังกล่ำวไปลงทุน มำตรกำรแกไ้ ขหนแ้ี ละกำรปรบั ปรงุ โครงสรำ้ งหนที้ สี่ อดคลอ้ ง เพอื่ ให้ไดร้ บั ผลตอบแทนและเกดิ ประโยชน์สงู สุด ตำมหลักเกณฑ์ของธนำคำรแห่งประเทศไทย รวมท้ังจ้ำง ผใู้ หบ้ รกิ ำรตดิ ตำมหน ี้(Outsource) เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพใน 3. มาตรการรักษาระดับรายได้และประหยัด กำรตดิ ตำมหน ี้ และมกี ำรตดิ ตำมผลอยำ่ งใกลช้ ดิ นอกจำกน้ี คา่ ใช้จา่ ย เร่งพัฒนำบุคลำกรติดตำมหน้ีให้สำมำรถเจรจำต่อรอง ให้ค�ำปรึกษำ/แนะน�ำ/จูงใจให้ลูกหน้ีช�ำระหนี้ตำมเงื่อนไข สืบเนื่องจำกกำรหยุดท�ำธุรกรรมจัดซื้อสินเชื่อตำม และชผี้ ลกระทบกรณลี กู หนผี้ ดิ นดั ชำ� ระหน ี้รวมถงึ กำรปรบั ปรงุ นโยบำยของกระทรวงกำรคลงั ทำ� ใหก้ องสนิ เชอ่ื มขี นำดเลก็ ลง กระบวนกำรท�ำงำนและจัดทีมงำนเสริมช่วยงำนติดตำมหน้ี ต่อเน่ือง ประกอบกับสภำวะกำรแข่งขันด้ำนอัตรำดอกเบ้ีย อย่ำงเป็นระบบ โดยจัดสรรพนักงำนจำกหน่วยงำนที่หยุด สินเชื่อที่อยู่อำศัยยังคงมีควำมรุนแรงต่อเนื่อง ส่งผลให้ ท�ำธุรกรรมมำช่วยติดตำมหน้ี ซ่ึงถือเป็นงำนส�ำคัญที่ต้อง ลูกค้ำบำงส่วนขอ Refinance ไปสถำบันกำรเงินอ่ืนท�ำให้ เร่งดำ� เนนิ กำร รำยได้ดอกเบี้ยมีแนวโน้มลดลงอย่ำงต่อเนื่องเช่นเดียวกัน บตท. จึงพยำยำมรักษำระดับรำยได้จำกกำรรักษำลูกค้ำ 2. การบรหิ ารตน้ ทนุ ทางการเงนิ และบรหิ าร ชน้ั ดีด้วยกำรจดั ทำ� Retention Program โดยจัดเกบ็ ขอ้ มูล จดั การสภาพคลอ่ ง เชงิ สถติ ิ กำรรบั ฟังและกำรวิเครำะหเ์ สยี งของลูกค้ำ (Voice of Customer : VOC) น�ำมำพฒั นำผลติ ภณั ฑ ์ Retention ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์มุ่งเน้นกำรระดมทุนในตรำสำรหนี้ Program ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมและควำมต้องกำร ระยะส้ันเพื่อลดต้นทุนทำงกำรเงินและบริหำรสภำพคล่อง ของลูกคำ้ กำ� หนดเง่อื นไขหรอื อัตรำดอกเบยี้ ส�ำหรบั ลกู ค้ำ ส่วนเกินให้อยู่ในระดับที่เหมำะสม โดยในช่วงที่ผ่ำนมำ ท่มี ีศกั ยภำพเพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหล้ กู คำ้ Refinance ไปสถำบนั บตท. หยดุ ทำ� ธรุ กรรมตำมนโยบำยกระทรวงกำรคลงั เปน็ ผล กำรเงินอื่น รวมถึงก�ำหนดนโยบำยประหยัดค่ำใช้จ่ำยและ ใหม้ ีสภำพคลอ่ งสว่ นเกนิ เน่อื งจำกลกู คำ้ ช�ำระคนื ตำมปกติ เน้นกำรบริหำรงบประมำณให้คุ้มค่ำและเกิดประสิทธิภำพ รวมท้ังลูกค้ำช�ำระคืนก่อนครบก�ำหนดจำกกำร Refinance สงู สุด และลกู คำ้ ปดิ บญั ชกี อ่ นกำ� หนดจำ� นวนสงู จงึ ทบทวนนโยบำย รายงานประจำาปี 2562 49

ปจั จยั ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อกำรด�ำเนนิ งำนของ บตท. Factors Influencing SMC Operation ดว้ ยโมเดลธรุ กจิ ของ บตท. ซงึ่ ยดึ หลกั กำรในกำรระดม ฐำนภำษีอำกรที่ส�ำคัญของภำครัฐ ส�ำหรับสถำบันกำรเงิน เงินจำกตลำดทุนมำให้ตลำดสินเชื่อท่ีอยู่อำศัย โดยมีกำร ภำคอสังหำริมทรัพย์มีควำมเช่ือมโยงต่อระบบธนำคำร รับซื้อสินเชื่อจำกสถำบันกำรเงินในตลำดแรกสินเชื่อ พำณิชยอ์ ยำ่ งมำก โดยประมำณ 1 ใน 5 ของเงนิ ให้สินเชอ่ื ท่ีอยู่อำศัย ท�ำให้สินเชื่อที่อยู่อำศัยกลำยเป็นสินทรัพย์ ทั้งหมดของธนำคำรพำณิชย์ท้ังระบบ (ไม่รวม Interbank) ท่ีมีสภำพคล่องและสำมำรถซ้ือขำยเปล่ียนมือได้ จำกนั้น อยู่ในภำคอสังหำริมทรัพย์ แยกเป็นสินเช่ือเพื่อท่ีอยู่อำศัย จะน�ำสินเชื่อเหล่ำน้ันมำหนุนหลังตรำสำรทำงกำรเงิน (Housing Loan) รอ้ ยละ 76.50 โดยประมำณ และสนิ เชอ่ื แก่ ภำยใต้หลักกำรแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ อันเป็น ผ้ปู ระกอบกำรอสังหำริมทรพั ย์ร้อยละ 23.50 โดยประมำณ กำรระดมเงินจำกตลำดทุนและพัฒนำตลำดทุน ดังน้ัน และเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศแล้ว บตท. จงึ เปรยี บเสมอื นเปน็ ตวั กลำงในกำรเชอื่ มโยงระหวำ่ ง ยอดสนิ เชอ่ื ทอี่ ยอู่ ำศยั คงคำ้ งในระบบมมี ลู คำ่ สงู ถงึ ประมำณ 2 ตลำดหลัก ได้แก่ ตลำดแรกสินเชื่อท่ีอยู่อำศัย และ 1 ใน 5 อกี ดว้ ย ตลำดทุน ดงั นัน้ ปจั จยั แวดล้อมพน้ื ฐำนหลกั ท่สี ่งผลกระทบ ภำพรวมธุรกิจอสงั หำรมิ ทรัพยใ์ นป ี 2562 มีกำรเติบโต ตอ่ กำรด�ำเนินงำนของ บตท. จงึ สะท้อนได้จำกสภำวะของ ทชี่ ะลอตวั ลงจำกในป ี2561 เนอื่ งจำกตอ้ งเผชญิ กบั ปจั จยั ลบ ทง้ั 2 ตลำดขำ้ งต้น ดงั น้ี หลำยประกำร อำทิ ภำวะเศรษฐกจิ โลกท่ถี ดถอย สงครำม กำรค้ำระหว่ำง 2 มหำอ�ำนำจ ได้แก่ สหรัฐอเมริกำกับจีน 1) กำรเจรญิ เตบิ โตของภำคอสงั หำรมิ ทรพั ย์ ซึ่งกระทบต่อกำรส่งออกและกำรท่องเที่ยวของไทย และตลำดที่อยอู่ ำศัย เป็นผลให้ภำพรวมเศรษฐกิจในประเทศไทยชะลอตัว ประกอบกับปัญหำหนี้ครัวเรือนของประเทศท่ียังอยู่ ภำคอสังหำริมทรัพย์จัดเป็นภำคเศรษฐกิจที่สำมำรถ ในระดับสูง ท�ำให้ก�ำลังซ้ือผู้บริโภคหดตัว นอกจำกน้ี สร้ำง Multiplier effect ไปสู่อุตสำหกรรมต่อเน่ือง มำตรกำรควบคุมสินเช่ือเพ่ือท่ีอยู่อำศัย หรือ LTV อ่ืนๆ ได้มำกมำย เน่ืองจำกมีห่วงโซ่อุปทำนในระดับสูง ของธนำคำรแห่งประเทศไทยที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันท่ี 1 อำทิ กำรเชื่อมโยงสู่อุตสำหกรรมก่อสร้ำง อุตสำหกรรม เมษำยน 2562 ส่งผลให้ภำพรวมตลำดอสังหำริมทรัพย์ เฟอร์นิเจอร์ อุตสำหกรรมเหล็ก เป็นต้น รวมท้ังยังเป็น ชะลอตวั ลงคอ่ นขำ้ งมำก 50 รายงานประจำาปี 2562

เคร่อื งชีธ้ รุ กจิ อสังหาริมทรัพย์ 2560 2561 2562 คา่ ธรรมเนยี มจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนิตกิ รรม (ลา้ นบาท) 21,148.31 22,778.10 20,145.11 มลู คา่ การซ้ือขายท่ดี นิ และส่งิ ปลูกสร้างท้งั ประเทศ (ล้านบาท) 1,057,415.26 1,138,905.05 1,007,255.49 ภาคกลาง 696,615.68 741,899.92 653,797.11 ภาคตะวนั ออก 123,913.35 135,771.40 118,693.72 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 87,444.31 94,451.21 82,541.68 ภาคเหนอื ภาคใต้ 84,239.05 92,449.11 80,979.95 การออกใบอนญุ าตจดั สรรท่ีดนิ ท้งั ประเทศ (หนว่ ย : แปลง / หลัง) 65,202.87 74,333.42 71,243.03 เพือ่ ทอ่ี ยอู่ าศยั เพอื่ การพาณิชยกรรม 76,079 81,992 91,193 ที่ดินเปลา่ 70,845 77,993 88,366 อื่น ๆ 3,436 2,253 1,576 การออกใบอนญุ าตจดั สรรทด่ี นิ ท้งั ประเทศ (หนว่ ย : แปลง / หลงั ) 1,594 1,281 1,238 กรุงเทพมหานคร จังหวดั อน่ื ๆ 204 465 13 พนื้ ท่ีก่อสรา้ งที่ไดร้ บั อนญุ าตทง้ั ประเทศ (หน่วย : พันตารางเมตร) 76,079 กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล 14,011 81,992 91,193 จังหวัดอ่ืน ๆ 62,068 18,251 13,359 การขอจดทะเบียนอาคารชุดทง้ั ประเทศ (หน่วย : หอ้ ง) 62,009.01 63,741 77,834 กรุงเทพมหานคร 26,925.28 65,007.11 56,069.80 จงั หวดั อื่น ๆ 35,083.73 28,995.33 20,646.56 ท่ีอยู่อาศยั จดทะเบยี นเพิม่ ในเขตกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล (หน่วย : หลัง / หอ้ ง) 72,521 36,011.78 35,423.24 บ้านจัดสรร 34,490 101,581 70,841 แฟลตและอาคารชดุ 38,031 56,602 42,081 ปลูกสร้างเอง 114,503 44,979 28,760 สนิ เชื่ออสงั หารมิ ทรพั ย์ของธนาคารพาณิชย์ (ลา้ นบาท) 30,978 130,835 111,657 สนิ เชอ่ื ผู้ประกอบการ 63,319 37,715 38,251 สนิ เชื่อเพอื่ ท่ีอยอู่ าศยั ส่วนบคุ คล 20,206 73,121 53,163 2,708,754.90 19,999 20,243 ที่มา : ธนาคารแหง่ ประเทศไทย 626,528.22 2,940,268.62 3,093,262.12 2,082,226.68 695,690.58 726,927.08 2,244,578.04 2,366,335.04 รายงานประจำาปี 2562 51

ด้ำนภำวะตลำดสินเชื่อที่อยู่อำศัย จำกข้อมูลสถิติ เพิ่มข้ึน 212,168 ล้ำนบำท เม่ือเทียบกับฐำน ณ สิ้น ของธนำคำรแห่งประเทศไทยท่ีผ่ำนมำพบว่ำ ยอดคงค้ำง ไตรมำสท ่ี 4 ของป ี 2561 หรอื เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 5.72 โดยแบง่ เปน็ เงินให้กู้ยืมเพ่ือที่อยู่อำศัยส่วนบุคคลของสถำบันกำรเงิน เงนิ ใหส้ นิ เช่ือเพ่อื ทอ่ี ย่อู ำศยั ของธนำคำรพำณิชย ์ 2,366,335 มกี ำรเตบิ โตในระดบั ตำ�่ กวำ่ ระดบั ศกั ยภำพ กลำ่ วคอื ทร่ี ะดบั ลำ้ นบำท (ส่วนแบ่งตลำดรอ้ ยละ 60.39) และเงินใหส้ ินเชอ่ื รอ้ ยละ 5.72 ตอ่ ป ี (ชว่ งเวลำทเ่ี ศรษฐกจิ เปน็ ปกต ิ ยอดคงคำ้ ง เพื่อที่อยู่อำศัยของสถำบันกำรเงินเฉพำะกิจ 1,550,541 สินเช่ือท่ีอยู่อำศัยจะเติบโตเกินร้อยละ 10 ต่อปี) ทั้งน้ียอด ล้ำนบำท (สว่ นแบ่งตลำดรอ้ ยละ 39.57) ส่วนท่ีเหลือเป็นเงนิ สนิ เชอื่ ทอี่ ยอู่ ำศยั คงคำ้ งในระบบสถำบนั กำรเงนิ (รวมธนำคำร ให้สินเช่ือเพ่ือที่อยู่อำศัยจำกสถำบันกำรเงินอ่ืนๆ อำท ิ พำณชิ ย์และสถำบนั กำรเงินเฉพำะกจิ ) ณ สน้ิ ไตรมำสที ่ 4 บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์และบริษัทเครดิต ของปี 2562 พบว่ำมีจ�ำนวนท้ังส้ิน 3,918,565 ล้ำนบำท ฟองซิเอร ์ เป็นตน้ (ล้ำนบำท) ยอดสินเชื่อท่อี ยู่อาศัยในระบบสถาบันการเงิน 4,500,000 4,000,000 16.00% 3,500,000 10.25% 11.28% 10.89% 10.88% 14.00% 3,000,000 9.56% 8.58% 12.00% 2,500,000 10.00% 2,000,000 1,500,000 7.90% 7.60% 7.47% 8.00% 6.07% 5.72% 6.00% 1,000,000 1,709,897 4.00% 500,000 1,885,139 2.00% 2,034,137 0.00% - 2,263,552 2,510,048 2,783,125 3,021,811 3,251,488 3,448,852 3,706,397 3,918,565 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 มูลคำ่ ยอดคงคำ้ งเงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอื่ ท่ีอยอู่ ำศัยส่วนบุคคลของสถำบันกำรเงนิ %อตั รำกำรเจรญิ เตบิ โตสนิ เชอื่ ทอ่ี ยอู่ ำศยั ทมี่ า : ธนาคารแห่งประเทศไทย สัดส่วนยอดคงคา้ งเงนิ ใหก้ ู้ยมื พอื่ ท่ีอยอู่ าศัยส่วนบคุ คลของสถาบนั การเงิน ณ สิน้ ปี 2562 สถาบันการเงินเฉพาะกิจทร่ี ับฝากเงิน 1,550,541 ลา้ นบาท รอ้ ยละ 39.57 ธนาคารพาณิชย์ สถาบ้นการเงินอนื่ 2,366,335 ลา้ นบาท 1,689 ล้านบาท ร้อยละ 0.04 ร้อยละ 60.39 ทีม่ า : ธนาคารแห่งประเทศไทย 52 รายงานประจาำ ปี 2562

ส�ำหรับแนวโน้มปี 2563 คำดว่ำสินเช่ือที่อยู่อำศัย เงนิ กองทนุ และเงนิ สำ� รองยงั อยใู่ นระดบั สงู สำมำรถรองรบั มีแนวโน้มชะลอตัวลง เนื่องจำกต้องเผชิญกับปัจจัยลบ ควำมผันผวนทำงเศรษฐกจิ ได้ หลำยประกำรท่ีต่อเน่ืองมำตั้งแต่ช่วงปลำยปี 2562 อำทิ ส�ำหรับภำพรวมในแง่ของสินเชื่อที่อยู่อำศัยในระบบ มำตรกำรคุมเข้มในกำรปล่อยสินเชื่อท่ีอยู่อำศัยใหม่ ธนำคำรพำณิชย์ มอี ตั รำกำรชะลอตัวลงจำกระดับรอ้ ยละ 7.8 ของธนำคำรแห่งประเทศไทย สถำนกำรณ์ชะลอตัว ในปี 2561 ลงมำท่ีระดับร้อยละ 5.4 ในปี 2562 เมื่อพิจำรณำ ทำงเศรษฐกิจของประเทศ หน้ีครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง ในแง่คุณภำพสินเชื่อ พบว่ำมีคุณภำพด้อยลง โดย NPLs และจ�ำนวนที่อยู่อำศัยรอกำรขำยสะสมในตลำดสูง รวมถึง ของพอร์ตสินเช่ือที่อยู่อำศัยเพ่ิมข้ึนจำกร้อยละ 3.25 กำรเกิดโรคระบำดไวรัสโคโรน่ำซึ่งกระจำยไปทั่วโลกและ ในป ี 2561เพมิ่ ขนึ้ เปน็ รอ้ ยละ 3.71 ในป ี 2562 และ Special ประเทศไทย อันส่งผลกระทบต่อก�ำลังซ้ือ โดยเฉพำะ Mention เพิ่มขนึ้ จำกร้อยละ 1.77 ในปี 2561 เพิ่มขน้ึ เป็น ตลำดคอนโดมิเนียมที่กฎหมำยเปิดให้ชำวต่ำงชำติ ร้อยละ 1.89 ในปี 2562 ท้ังนี้เป็นผลจำกภำวะเศรษฐกิจ ถือครองในสดั ส่วน 49% ชะลอตวั ลง เปน็ ตน้ และกำรแขง่ ขันปลอ่ ยสินเชอ่ื ในด้ำนสภำพคล่องในระบบธนำคำรพำณิชย์ในช่วง 2)ผลการดา� เนนิ งานของระบบธนาคารพาณชิ ย์ ท่ีผ่ำนมำ พบว่ำภำพรวมสถำบันกำรเงินผู้ปล่อยกู้สินเช่ือ ท่ีอยู่อำศัยในตลำดแรกมีสภำพคล่องเพ่ิมขึ้นเล็กน้อย ธนำคำรพำณิชย์ จึงจัดเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเม่ือพิจำรณำจำกอัตรำส่วนสินเช่ือต่อเงินฝำก ลดลง ทส่ี ำ� คัญของ บตท. เน่อื งจำกพอรต์ สินเชอ่ื ท ่ี บตท. ไดจ้ ัดซอื้ จำกร้อยละ 98.3 ในปี 2561 ลดเหลือร้อยละ 96.3 เข้ำมำส่วนใหญ่เป็นลูกค้ำของระบบธนำคำรพำณิชย์ ทั้งน้ี ในปี 2562 ซ่ึงสภำพคล่องดังกล่ำวยังคงมีเพียงพอ จำกข้อมูลของธนำคำรแห่งประเทศไทย พบว่ำในปี 2562 ในกำรสนับสนุนกำรขยำยตวั ของสินเชอ่ื ตอ่ ไปได้ ภำพรวมของระบบธนำคำรพำณชิ ยม์ คี วำมมนั่ คง โดยระดบั อตั ราส่วนสนิ เชอ่ื ต่อเงนิ ฝาก (ไมร่ วม Interbank) 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ทมี่ า : ธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานประจำาปี 2562 53

3) ภาวะตลาดทุนและตราสารหน้ี จำกปี 2561 ซ่ึงมีมูลค่ำ 12,577,484 ล้ำนบำท เท่ำกับ 719,044 ล้ำนบำท หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.72 โดยประมำณ ตลำดทุนและตลำดตรำสำรหนี้จึงจัดเป็นแหล่งระดมทุน ทั้งนีป้ ระมำณกำรสดั สว่ นตรำสำรหนี้ภำครฐั : ภำคเอกชน ท่สี ำ� คัญตำมพนั ธกจิ ของ บตท. เนอ่ื งจำก เมื่อกระบวนกำร เท่ำกับ 72 : 28 โดยตรำสำรหนที้ ีม่ มี ูลค่ำกำรซือ้ ขำยสูงสดุ แปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ( Securitization) เสร็จ 3 อันดับแรก ได้แก่ พันธบัตรธนำคำรแห่งประเทศไทย สิ้น ตรำสำรหนี้จะถูกน�ำเสนอขำยต่อนักลงทุนในตลำด มลู คำ่ กำรซือ้ ขำย 15,224,001 ล้ำนบำท รองลงมำ ได้แก ่ ทุน และตลำดตรำสำรหนี้ ท้ังน้ีจำกข้อมูลของสมำคม พันธบัตรรัฐบำล มูลค่ำกำรซื้อขำย 4,821,333 ล้ำนบำท ตลำดตรำสำรหนี้ไทย (ThaiBMA) พบว่ำในภำพรวม และตรำสำรหนี้ภำคเอกชนระยะยำว มูลค่ำกำรซ้ือขำย ตลำดตรำสำรหนไี้ ทยป ี 2562 มกี ำรเติบโตเพ่ิมขน้ึ เลก็ นอ้ ย 779,305 ลำ้ นบำท ตำมลำ� ดับ จำกปี 2561 โดย พบว่ำมีมูลค่ำคงค้ำง (Outstanding) รำยละเอยี ดยอดคงคำ้ งในระบบ, ปรมิ ำณกำรซอื้ ขำย ของตลำดโดยรวมทั้งส้ิน 13,296,528 ล้ำนบำท เพ่ิมขึ้น ในตลำดตรำสำรหนีป้ ระเภทตำ่ ง ๆ เป็นดังน ้ี รายละเอียดมลู คา่ ตราสารหนอ้ี อกใหม,่ ยอดคงคา้ งในระบบ, ปรมิ าณการซอื้ ขาย ในตลาดตราสารหน้ปี ระเภทต่างๆ เปน็ ดังนี้ ประเภท มูลตา่ ตราสารหน้อี อกใหม่ ปริมาณการซ้อื ขาย (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 1. ตราสารหน้ีภาครฐั (Government Debt Securities) 2561 2562 %∆ 2561 2562 %∆ 1.1 ตัว๋ เงนิ คลงั (Treasury Bills) 9,156,391 9,561,914 4.43% 18,183,894 20,259,862 11.42% 1.2 พันธบัตรรฐั บาล (Government Bond) 1.3 พนั ธบัตรธนาคารแหง่ ประเทศไทย 120,732 30,000 -75.15% 474,185 100,598 -78.79% 4,737,808 4,939,562 4.26% 4,085,823 4,821,333 18.00% (Bank of Thailand Bond) 3,476,686 3,717,748 6.93% 13,470,165 15,224,001 13.02% 1.4 พันธบตั รรฐั วสิ าหกิจ (State 821,165 873,603 6.39% 153,721 113,930 -25.89% (Owned Enterprise Bond) - ค้าำ ประกนั (Guaranteed) 547,008 553,826 1.25% 122,946 86,072 -29.99% 274,157 314,777 14.82% 30,776 27,858 -9.48% - ไมค่ ้ำาประกนั (Non-guaranteed) 3,326,322 3,639,516 9.42% 1,117,522 1,149,784 2.89% 2. ตราสารหนภ้ี าคเอกชน (Corporate Bond) 3,032,721 3,412,777 12.53% 736,361 779,305 5.83% 2.1 ตราสารหนภ้ี าคเอกชนระยะยาว 293,601 226,740 -22.77% 381,161 370,479 -2.80% (Long-term Corporate Bond) 94,771 95,098 0.35% 12,988 2,475 -80.94% 2.2 ตราสารหนภี้ าคเอกชนระยะส้นั 12,577,484 13,296,528 5.72% 19,314,404 21,412,122 10.86% (Commercial Paper) 3. หนุ้ ก้ตู า่ งประเทศ (Foreign Bond) รวม ท่ีมา : สมาคมตลาดตราสารหนี้ (ThaiBMA) 54 รายงานประจำาปี 2562

ผลการด�าเนนิ งานในปี 2562 และบทวเิ คราะห์ Performance Report ข้อมูลสำาคัญทางการเงนิ ปี 2558 ป ี 2559 ป ี 2560 ป ี 2561 ป ี 2562 งบแสดงฐานะการเงนิ รวม (ลา้ นบาท) สินทรพั ย์รวม 24,878.7 26,601.3 20,151.9 18,971.7 15,645.0 เงินให้สินเชอ่ื แก่ลูกหนแ้ี ละดอกเบยี้ คำ้ งรับสุทธิ 23,899.1 22,217.6 19,133.5 16,599.7 14,551.9 หนสี้ นิ รวม 23,902.0 25,713.8 19,236.7 17,987.0 14,625.1 ตรำสำรหนที้ ีอ่ อกและเงินกู้ยืม 23,798.0 25,601.8 19,170.9 17,899.7 14,561.8 ทุน 1,230.0 1,230.0 1,230.0 1,230.0 1,230.0 ส่วนของเงินกองทุน 976.7 887.5 915.2 984.7 1,019.9 งบกาำ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม (ลา้ นบาท) 932.6 1,197.7 970.1 797.2 711.4 รำยได้ดอกเบีย้ 375.5 502.5 278.0 200.6 174.6 รำยได้ดอกเบย้ี สุทธิ 170.0 436.4 115.0 -44.5 -41.1 หนส้ี งสัยจะสญู รำยได้จำกกำรด�ำเนนิ งำนอน่ื ๆ 4.7 7.7 8.2 2.1 2.8 คำ่ ใชจ้ ่ำยจำกกำรดำ� เนินงำน ก�ำไรจำกกำรดำ� เนินงำน 143.5 147.2 144.9 145.2 144.9 กำ� ไรสุทธิ 236.7 363.0 141.3 57.5 32.5 66.7 -73.4 26.3 102.0 73.6 อัตราสว่ นทางการเงนิ รำยได้ดอกเบย้ี สทุ ธิต่อสนิ ทรพั ย์ 2.0% 2.0% 1.2% 1.0% 0.9% ท่กี ่อใหเ้ กิดรำยได ้ (%) ค่ำใชจ้ ำ่ ยดำ� เนนิ งำนต่อรำยไดส้ ุทธิ 37.7% 28.8% 50.6% 71.7% 81.7% จำกกำรด�ำเนนิ งำน (%) อัตรำผลตอบแทนต่อสินทรัพยเ์ ฉลีย่ (%) 0.3% -0.3% 0.1% 0.5% 0.4% อตั รำผลตอบแทนตอ่ สว่ นของเงนิ กองทนุ เฉลย่ี (%) 7.0% -7.9% 2.9% 10.7% 7.3% อตั รำเงินกองทนุ ต่อสนิ ทรพั ยแ์ ละภำระผูกพนั (%) 10.1% 9.1% 10.1% 11.4% 14.4% การนำาส่งรายไดแ้ ผ่นดิน 23.8 21.6 - 32.3 38.4 รายงานประจำาปี 2562 55

ผลการดา� เนนิ งานรวม ลำ้ นบำท 236.7 363.0 ในป ี 2562 บตท. และบรษิ ัทย่อย มีก�ำไรจำก 400 66.7 141.3 กำรด�ำเนินงำน 32.5 ล้ำนบำท และก�ำไรสุทธิ 350 73.6 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีก่อนเนื่องจำกพอร์ต 300 2558 102.0 73.6 สินเชื่อท่ีลดลง และไม่มีกำรจัดซื้อสินเชื่อใหม ่ 250 57.5 ตำมนโยบำยกระทรวงกำรคลัง 200 คำ่ ใชจ้ ่ำยจำกกำรดำ� เนนิ งำนป ี 2562 เทำ่ กบั 150 26.3 32.5 144.9 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีก่อนจำกค่ำใช้อื่น 100 โดยกำรบริหำรจัดกำรค่ำใช้จ่ำยในด้ำนต่ำงๆ 50 (73.4) 2560 2561 2562 อัตรำส่วนค่ำใช้จ่ำยที่มิใช่ดอกเบ้ียต่อรำยได้ - สุทธิจำกกำรด�ำเนินงำนเพ่ิมขึ้นจำกร้อยละ 71.7 (50) 2559 เป็นร้อยละ 81.7 เนื่องจำกไม่มีกำรจัดซื้อสินเช่ือ (100) ใหม ่ ตำมนโยบำยกระทรวงกำรคลัง ท�ำให้รำยได้ ต�่ำกว่ำปีกอ่ นมำก กาำ ไรจากการดาำ เนนิ งาน กำาไร (ขาดทุน) สุทธิ หนสี้ งสยั จะสญู ในป ี2562 เทำ่ กบั (41.1) ลำ้ นบำท ล้ำนบำท 76.5 71.8 88.6 ลดลงจำกกำรกลับรำยกำรส�ำรองหนี้สงสัยจะสูญ 90.00 75.8 87.2 ทเ่ี ปน็ ผลจำกกำรตดิ ตำมแกไ้ ขหน ี้ บตท. ตง้ั สำ� รอง 80.00 50.0 หน้ีสงสัยจะสูญตำมเกณฑ์ของธนำคำรแห่ง 70.00 46.1 29.739.4 30.0 30.2 ประเทศไทย โดยมีอัตรำส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิด 60.0 28.0 26.1 รำยไดร้ อ้ ยละ 16.7 50.0 29.3 40.0 16.9 2560 2561 2562 30.0 20.0 2558 2559 10.0 -00 คชจ. พนกั งาน คชจ. อาคารสถานท่ี คชจ. อนื่ ลำ้ นบำท 436.4 500 400 300 200 170.0 115.0 100 0 3.1% 10.8% 14.1% 14.8% 16.7% (44.5) (41.1) -100 2558 2559 2560 2561 2562 หน้ีสงสัยจะสูญ อตั ราส่วนหนี้ท่ีไม่ก่อให้เกดิ รายได้ 56 รายงานประจาำ ปี 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook