Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา2 (ว30252)

3. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา2 (ว30252)

Published by Rawat Yukerd, 2021-07-17 09:23:14

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา2 (ว30252) โดย ครูเรวัตร อยู่เกิด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรรพยาวิทยา

Search

Read the Text Version

ก สารบัญ หน้า สารบญั .............................................................................................................................................................. ก แผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง การศึกษาพนั ธุศาสตรข์ องเมนเดล ........................................................................3 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง กฎของความน่าจะเปน็ .........................................................................................8 แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง กฎแหง่ การแยกและกฎแหง่ การรวมกล่มุ อยา่ งอสิ ระ .........................................13 แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง การผสมเพื่อทดสอบ..........................................................................................20 แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง ลักษณะทางพนั ธุกรรมท่เี ป็นส่วนขยายของเมนเดล I.........................................25 แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทีเ่ ปน็ สว่ นขยายของเมนเดล II........................................38 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ลักษณะทางพนั ธุกรรมท่เี ปน็ สว่ นขยายของเมนเดล III.......................................49 แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง ลกั ษณะทางพันธกุ รรมทเ่ี ปน็ ส่วนขยายของเมนเดล IV ......................................56 แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม..........................................................................66 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอื่ ง โครโมโซม..........................................................................................................77 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง องคป์ ระกอบและโครงสรา้ งของ DNA...............................................................83 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง การสงั เคราะห์ DNA ..........................................................................................99 แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง การสงั เคราะหโ์ ปรตีน I (การถอดรหสั : Transcription) ............................... 107 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การสงั เคราะหโ์ ปรตีน II (การแปลรหสั : Translation).................................. 121 แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง มิวเทชนั I (มวิ เทชันระดับยีน) ........................................................................ 138 แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง มวิ เทชัน II (มิวเทชนั ระดับโครโมโซม) ............................................................ 146 แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง พนั ธวุ ิศวกรรม ................................................................................................ 161 แผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีทาง DNA............................................................... 170 แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่อื ง หลกั ฐานทางววิ ฒั นาการ................................................................................. 182 แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง พนั ธุศาสตร์ประชากร I (ความถ่ีของแอลลีและทฤษฎีของของฮารด์ ีไวน์เบริ ก์ )190 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปจั จัยท่ีทำใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงความถขี่ องแอลลีล .................................... 196 ภาคผนวก ก แบบประเมินผลการเรยี นรู้..................................................................................................... 205 เกณฑป์ ระเมินทักษะการสรา้ งผังกราฟกิ โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมินแบบรบู ริคส์ .................................... 206 เกณฑก์ ารประเมินการสรุปบทเรยี น โดยใชเ้ กณฑ์การประเมนิ แบบรูบริคส์ ............................................ 208 เกณฑ์ประเมินทกั ษะการสร้างโปสเตอร์ โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินแบบรูบริคส์ ...................................... 209

ข เกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคด์ ้านความม่งุ มัน่ ในการทำงาน .......................................... 210 โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ แบบรบู รคิ ส์ ..................................................................................................... 210 เกณฑ์ประเมนิ ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม โดยใช้เกณฑก์ ารประเมนิ แบบรบู ริคส์ .................................... 211

1 บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนสรรพยาวิทยา อำเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท ๑๗๑๕๐ ท่ี วนั ท่ี เดือน พ.ศ. 2563 เรือ่ ง ขออนญุ าตใชแ้ ผนการสอนรายวชิ าชีววิทยา 2 รหสั วิชา ว30252 เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสรรพยาวิทยา ตามที่ข้าพเจ้า นายเรวัตร อยู่เกิด ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาปลาย ประจำปีการศึกษา 2563 รายวชิ าชีววทิ ยา 2 รหัสวิชา ว30252 ในการนี้เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นสูงขน้ึ และเป็นไปตามเจตนารมณข์ องหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ข้าพเจ้าจึงได้จัดเตรียมการจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการ และหลักวิชา โดยดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเสร็จสมบูรณ์แล้ว จึงขออนุญาตใช้แผน การจัดการเรยี นรู้ ดงั รายละเอียดท่แี นบมาพรอ้ มนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณา (นายเรวัตร อย่เู กดิ ) ตำแหน่ง ครู กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ความคดิ เห็นหัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นางศริ ลิ ักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

2 ความคดิ เห็นรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นางสาวเครือวลั ล์ เทย่ี งพลบั ) รองผู้อำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา ความคิดเห็นผอู้ ำนวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นายสมชาย บุษบงค์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา

โรงเรยี นสรร กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทย แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง การ ภาคการศึกษาปลาย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4/พ และ 4/1 สาระชีววิทยา 2. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบน ดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูล และแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีว กำเนิดของสงิ่ มชี วี ิต ความหลากหลายของส่ิงมชี วี ติ และอนุกรมวิธาน ผลการเรยี นรู้ ม.4/1 สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และสรปุ ผลการทดลองของเมนเดล

3 รพยาวทิ ยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รศกึ ษาพนั ธศุ าสตรข์ องเมนเดล รายวิชา ชีววิทยา2 ว30252 ผสู้ อน นายเรวตั ร อยเู่ กดิ นโครโมโซม สมบัติ และหน้าที่ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทาง วิต ภาวะสมดุลของฮารด์ ี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชสี ์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ น รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอื้ หาสาระ กจิ กรรมการ เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น ลักษณะทางพันธุกรรม ข้นั นำ (5 นาที) นกั เรียนสามารถ แบ่งออกเป็นลักษณะเด่น 1. ครูแสดงภาพด้านลา่ งนี้ใน Powe 1. บอกลักษณะเด่น (dominant trait) แ ล ะ และลักษณะด้อยของ ลักษณะด้อย (recessive สง่ิ มีชีวติ ได้ (K) trait) โดยลัก ษณะ ทา ง 2. อธิบายการควบคุม พันธุกรรมถูกควบคุมโดย ก า ร แ สด ง อ อ ก ข อ ง ยีนที่เป็นอัลลีลกัน อยู่บน ภาพที่ 1 ภาพแสดง ลักษณะทางพันธุกรรม ตำแหน่ง (locus) เดียวกนั 1.1นักเรียนคิดว่าลิงทั้ง 2 ตัว อันเป็นผลมาจากยีนได้ บนโครโมโซมคู่เหมือน (K) (homologous เหตใุ ด (เป็น เพราะมีลกั ษณะ 3. เขียนจีโนไทป์ของ chromosome) ยีนที่อยู่ 1.2นักเรียนสงสัยหรือไม่ว่าสิ่ง ส่ิงมชี วี ิตได้ (K) เป็นคู่กันนี้เขียนแทนด้วย แสดงออกของสิ่งมีชีวิตให้เป 4. บอกฟีโนไทป์ของ ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 2. ครนู ำนักเรียนเขา้ สู่กจิ กรรมจดหม สงิ่ มชี วี ติ ได้ (K) เ ร ี ย ก ว ่ า จ ี โ น ไ ท ป์ สวมบทบาทเป็นผศู้ กึ ษาพนั ธุศาสตร (Genotype) ซ่งึ ถา้ หากยนี ข้ันสอน (35 นาที) ที่มาเข้าคู่กันเป็นยีนเด่น 1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 7 เหมือนกันจะเรียก ว่ า ตัวแทนกลุ่มออกมารับแบบบันทึก homologous dominant กลุ่มหน้าชั้นเรียน (เอกสารทั้งสอง ถ้าเป็นยีนด้อยเหมือนกัน จดั การเรียนรู้ฉบบั นแ้ี ลว้ ) จะเรียกว่า ส่วนลักษณะที่ 2. ครูให้นักเรียนศึกษาบทความใ แสดงออกมาให้เห็นนั้น ตัวแทนกลุ่มออกมาเขยี นข้อมูลลักษ เ ร ี ย ก ว ่ า ฟ ี โ น ไ ท ป์ ไดศ้ กึ ษาในตารางบนกระดาน (Phenotype)

4 รเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ 1. PowerPoint 1. นักเรยี นตอบถามในแบบ erPoint แลว้ ใช้คำถามดงั นี้ 2. แบบบันทกึ กิจกรรม บนั ทึกกิจกรรมได้ถกู ต้อง 8 เรื่องจดหมายจาก ข้อขน้ึ ไป เมนเดล (Mendel’s 2. นักเรยี นบนั ทึกข้อมลู ลงใน letter) ตารางบันทกึ ผลได้ถูกต้อง 3. เอกสารบทความ และสมบรู ณ์ งแมล่ ิงกบั ลกู ลงิ จดหมายของเมนเดล 7 ฉบับ วนี้เป็นแม่ลูกกันหรือไม่ เพราะ ะเหมอื นหรอื คลา้ ยกนั ) งใดเป็นตัวกำหนดลักษณะการ ปน็ เช่นนั้น มายของเมนเดลเพื่อใหน้ ักเรยี น ์ตามการทดลองของเมนเดล 7 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แล้วให้ กกิจกรรมและจดหมายประจำ งฉบับแนบไว้ด้านท้ายแผนการ ในเอกสารที่ได้รับ จากนั้นให้ ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีแต่ละกลุ่ม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรมการ 3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย คำถามจากการศึกษาบทความ ดังน้ี 3.1เมนเดลใช้พืชชนิดใดในกา จึงเลือกพืชชนิดนั้น (ถั่ว สมบูรณ์เพศ ประกอบกับกา จึงทำให้ถั่วลันเตานั้นเกิดก (self-pollination) เท่านั้น ท แสดงลักษณะเปน็ พนั ธ์ุแท้ (p ปลูกได้ง่าย อายุสั้น ให้ลูกห ทางพนั ธกุ รรมที่แตกตา่ งกนั อ 3.2ลักษณะของต้นถั่วลันเตาท อะไร แบ่งเป็นลักษณะใดบ แบ่งเปน็ ลักษณะต้นสงู กับลักษณ 3.3ลักษณะของพืชรุ่นแรก (รุ่น ต้นถั่วลันเตาที่มีลักษณะใ ลันเตาต้นสูงกับถ่วั ลนั เตาต้นเต้ยี 3.4ลักษณะของพืชรุ่นลูกเซต บ้าง แต่ละลักษณะมีจำนว 100 ตน้ )

รเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ 5 ยผลการศึกษาค้นคว้า และตอบ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ารทดลอง เพราะเหตุใดเมนเดล วลันเตา เพราะเป็นพืชที่มีดอก ารมีกลีบดอกปิดกลุ่มเกสรนั้นไว้ การผสมเฉพาะในดอกเดียวกัน ทำให้ฉันได้เฉพาะต้นถั่วลันเตาท่ี pure line) หลานจำนวนมาก และมีลักษณะ อยา่ งเด่นชดั ) ที่กลุ่มของนักเรียนได้ศึกษาคือ บ้าง (เช่น ลักษณะความสูงของตน้ ณะตน้ เต้ยี ) นพ่อแม่) เป็นการผสมระหว่าง ใด (เช่น เป็นการผสมระหว่างถั่ว ย) A (รุ่น F1) มีลักษณะอย่างไร วนกี่ต้น (มีลักษณะต้นสูงทั้งหมด

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรมการ 3.5ลักษณะของพืชรุ่นลูกเซต บ้าง แต่ละลักษณะมีจำนว 73 ต้น และลักษณะตน้ เตยี้ อกี 4. ครบู รรยายใหค้ วามรเู้ พิ่มเติมเก่ีย ยีนเด่น ยีนด้อย การควบคุมลักษณ กันของยีนที่เป็นอัลลีล (allele) ก ของฮอมอโลกัสโครโมโซม (homo เขียนจีโนไทป์ (genotype) และฟีโน PowerPoint (สื่อ PowerPoint ได เรยี นรฉู้ บบั นี้แลว้ ) 5. ครูให้นักเรียนทำคำถามหลังอภ ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายคำต 5.1 จ า ก ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ต ้ น ถ ั ่ ว ทำการศึกษา ลักษณะใดเ trait) และลักษณะใดเป็นล จงบอกเหตุผลประกอบ (เช เนื่องจากเป็นลักษณะที่ปรากฏ เตี้ยเป็นลักษณะด้อยเนื่องจา ปรากฏให้เห็นในรุ่นท่ี 2) 5.2แฟกเตอร์ (factor) ที่นัก ควบคุมการแสดงออกของ

รเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ 6 B (รุ่น F2) มีลักษณะอย่างไร วนกี่ต้น (มีลักษณะต้นสูงทั้งหมด การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ก 27 ตน้ ) ยวกับลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ณะทางพันธุกรรมโดยการเข้าคู่ กัน บนโลคัส (locus) เดียวกัน ologous chromosome) การ นไทป์ (phenotype) โดยใช้สื่อ ด้แนบมาท้ายแผนการจัดการ ภิปรายผลจากบทความ จากนั้น ตอบของคำถามรว่ มกนั ดังนี้ ว ล ั น เ ต า ท ี ่ ก ล ุ ่ ม น ั ก เ ร ี ย น ไ ด้ เป็นลักษณะเด่น (dominant- ลักษณะด้อย (recessive trait) ช่น ลักษณะต้นสูงเป็นลักษณะเด่น ฏให้เห็นในรุ่นที่ 1 ส่วนลักษณะตน้ ากไม่ปรากฏให้เห็นในรุ่นที่ 1 แต่ กวิทยาศาสตร์คิดว่าเป็นสิ่งที่ งลักษณะของสิ่งมีชีวิต คืออะไร

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการ และสามารถแบ่งได้กแี่ บบ อ (dominant gene) และยีนด้อ 5.3การที่แฟกเตอร์ (facto แสดงออกของลักษณะนั้ (แฟกเตอร์หรือยีนนั้นจะต้อ เดียวกัน หรือเป็นอัลลีลซึ่งกัน (homologous chromosome 5.4ถ้าให้อัลลีล A แทนลักษณ แทนลกั ษณะของดอกสขี าว 5.5.1 ต้นพืชที่มีลักษณะ dominant จะมีจีโนไทป์แ เป็น AA มฟี โี นไทป์เป็นดอกสแี 5.5.2 ต้นพืชที่มีลักษณะ recessive จะมีจีโนไทป์แ เปน็ aa มฟี ีโนไทป์เป็นดอกสีข 5.5.3 ต้นพืขที่มีลักษณะ จะมีจีโนไทปแ์ ละฟีโนไทป์อ ไทปเ์ ปน็ ดอกสแี ดง) ขั้นสรุป (10 นาที) 1. ครูสรุปบทเรียนโดยใช้ภาพและผ พันธุศาสตร์ของเมนเดลจากสื่อ Po ได้แนบมาทา้ ยแผนการจดั การเรียนร

รเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ 7 อะไรบ้าง (ยนี โดยแบง่ เปน็ ยนี เด่น การประเมินผลการเรยี นรู้ อย (recessive gene)) or) ดังกล่าวจะควบคุมการ นได้ จะต้องอยู่ในลักษณะใด องเข้าคู่กันบนตำแหน่ง (locus) นและกันบนฮอมอโลกัสโครโมโซม e)) ณะของดอกสีแดง และอัลลีล a วแลว้ ะจีโนไทป์เป็น Homozygous และฟีโนไทป์อย่างไร (มีจีโนไทป์ แดง) ะจีโนไทป์เป็น Homozygous และฟีโนไทป์อย่างไร (มีจีโนไทป์ ขาว) ะจีโนไทป์เป็น Heterozygous อย่างไร (มีจีโนไทปเ์ ป็น Aa มีฟีโน ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับการศึกษา owerPoint (สื่อ PowerPoint รู้ฉบบั นแ้ี ล้ว)

โรงเรยี นสรร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทย แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ภาคการศกึ ษาปลาย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/พ และ 4/1 สาระชีววิทยา 2. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโคร ดเี อ็นเอ หลกั ฐานขอ้ มลู และแนวคดิ เก่ียวกบั ววิ ัฒนาการของส่ิงมชี วี ติ กำเนิดของสิ่งมีชวี ติ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนกุ รมวิธาน ผลการเรยี นรู้ ม.4/2 อธิบาย และสรปุ กฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกล่มุ กนั และในใช้ในการคำนวณโอกาสในการเกดิ ฟโี นไทป์ และจีโนไทป์แบบ

8 รพยาวิทยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อง กฎของความนา่ จะเป็น รายวชิ า ชีววิทยา2 ว30252 ผสู้ อน นายเรวัตร อยู่เกิด รโมโซม สมบัติ และหนา้ ทขี่ องสารพันธุกรรม การเกดิ มิวเทชัน เทคโนโลยีทาง ต ภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวน์เบริ ก์ การเกิดสปชี ีสใ์ หม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ น รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ นอยา่ งอสิ ระ และนำกฎของเมนเดลน้ไี ปอธบิ ายการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม บต่าง ๆ ของรนุ่ F1 และ F2

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หาสาระ กิจกรรมการ เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น กฎของความน่าจะเป็น ข้ันนำ (5 นาที) นักเรียนสามารถ คือกฎทางคณิตศาสตร์ท่ี 1. ครูทบทวนผลการศึกษาพันธุศา 1. คำน ว ณหา ค ว า ม เมนเดลนำมาใช้อธิบายผล ผลการทดลองของต้นถั่วลันเต น่าจะเป็นในการเกิด การศึกษาพันธุศาสตร์ท่ี เป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อ สิ่งมีชีวิตได้รูปแบบ เขาได้ทำการศึกษา โดยกฎ ท้ัง 7 ลักษณะของตน้ ถว่ั ลนั เตาท ลักษณะความสูงของลำต้น รูปร ต่าง ๆ ได้ (K) ข อ ง ค ว า ม น ่ า จ ะ เ ป ็ น น้ี ของเมล็ด ตำแหนง่ ของดอก สีขอ 2. อ ธ ิ บ า ย ก า ร เ กิ ด สามารถอธิบายการเกิด อัตราส่วนของจีโนไทป์ อัตราส่วนของจีโนไทป์ที่มี และฟีโนไทป์โดยใช้กฎ การเข้าคู่กันของยีนแบบ PowerPoint ประกอบการทบท ของความน่าจะเป็นได้ เด่นเด่น : เด่นด้อย : ด้อย 2. ครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้นักเ (K) ด้อย เป็น 1 : 2 : 1 ได้ หรอื ไมว่ า่ เพราะเหตใุ ดจงึ เกิดอตั และสามารถอธิบายการ เกดิ อัตราสว่ นของฟีโนไทป์ ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์และตอ ที่แสดงลักษณะเด่นต่อ นักเรียนเขา้ สู่ขัน้ สอน ลกั ษณะดอ้ ยเปน็ 3 : 1 ได้ โดยกฎของความน่าจะเป็น ขั้นสอน (35 นาที) 1. ครแู สดงตัวอย่างการทดลองโยน น ั้น มี 2 ข้อ สำคัญ คือ แสดงเนอ้ื หาการทดลอง จากนัน้ กฎการคูณซึ่งจะใช้กับ 1.1ผลของการโยนเหรียญที่จ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อม พลิกออกมาเป็นหน้าใดได้ กันและเป็นอิสระต่อกัน กบั หนา้ ก้อย) และกฎการบวกซึ่งจะใช้ 1.2นักเรียนคิดว่าโอกาสที่จะ กับเหตุการณ์ที่ไม่สามารถ เท่าใด (50/50 หรือ ½) เกิดขึ้นได้พร้อมกัน

9 รเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ 1. PowerPoint 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการ าสตร์ของเมนเดล ในส่วนที่เปน็ 2. ใบงานเรื่องกฎของ ตอบคำถามในช้ันเรียน ตาที่มีอัตราส่วนของฟีโนไทป์ท่ี ค ว า ม น ่ า จ ะ เ ป็ น 2. นักเรียนตอบคำถามในใบ (คำถามจำนวน 12 งานถูกต้องสมบูรณ์ 8 อยของรุ่นลูกรุ่น F2 เป็น 3 : 1 ขอ้ ) จำนวนข้อข้ึนไป ทเ่ี มนเดลได้ทำการศึกษา ไดแ้ ก่ ร่างของฝัก รูปร่างของเมล็ด สี องดอก และสีของฝกั โดยใชส้ ่อื ทวน เรียนสงสัยว่า “นักเรียนทราบ ตราส่วนดังกลา่ วขนึ้ ” โดยครรู อ อบคำถามสักครู่ จากนั้นจึงนำ นเหรยี ญโดยใช้สอื่ PowerPoint นครใู ชค้ ำถามดงั นี้ จะเกิดขึ้นนั้น เหรียญสามารถ บ้าง (พลิกได้ 2 หน้าคือหน้าหวั ะได้หน้าหัวหรือหน้าก้อยเป็น

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรมการ 2. ครูกำหนดสถานการณ์ในการโ “ถ้าครูให้นักเรียนโยนเหรียญบ จากนัน้ ครูใชค้ ำถามดงั น้ี 2.1นักเรียนคิดว่าผลการทดลอ จะออกมาได้กี่แบบ อะไรบ และกอ้ ยกอ้ ย) 2.2เงื่อนไขในการโยนเหรียญ (โยนทั้งสองเหรียญพร้อม ๆ ก นักเรียนว่าทั้งสองเหรียญน เหรียญใดเหรียญนึงออกหน นา่ จะเปน็ ของอกี เหรียญเปล 2.3โอกาสที่จะเกดิ เหตุการณ์ขอ ก้อย และก้อยก้อย มโี อกาส 1/4 ตามลำดบั ) 3. จากตัวอย่างการทดลองโยนเหร กฎการบวกโดยใช้สถานการณต์ ัว 3.1โอกาสที่เหรียญแรกออกห หน้าก้อยเป็นเท่าใด (โอกาส และโอกาสที่เหรียญที่สองจะอ โอกาสที่เหรียญแรกออกหน้าห เปน็ ½ x ½ เทา่ กบั ¼)

รเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ 10 โยนเหรียญให้กับนักเรียนดังนี้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ บาทสองเหรียญพร้อม ๆ กัน” องที่ได้จากการโยนเหรียญน้ัน บ้าง (3 แบบ คือ หัวหัว หัวก้อย ญทั้งสองเหรียญนี้เป็นอย่างไร กัน) และครูเสริมคำตอบให้กับ นั้นถือว่าเป็นอิสระต่อกัน เม่ือ น้าใดหน้าหนึ่ง ก็ไม่ทำให้ความ ปลย่ี นแปลงไป องเหรยี ญในรปู แบบ หัวหัว หัว สเปน็ เทา่ ใดบ้าง (1/4, 1/2 และ รียญ ครูอธิบายกฎการคูณและ วอยา่ งดังน้ี หน้าหัวและเหรียญที่สองออก สที่เหรียญแรกจะออกหน้าหวั คือ ½ ออกหน้าก้อยคือ ½ เช่นกัน ดังน้ัน หวั และเหรียญที่สองออกหน้าก้อยจะ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรมการ 3.2โอกาสทเี่ หรยี ญทัง้ สองจะอ เท่าใด (เกิดไดส้ องกรณคี ือ หัว ซึ่งมีโอกาสเกิด ¼ เช่นกัน ดัง หนา้ หัวและก้อยจะเปน็ ¼ + ¼ 4. ครูเปรียบเทียบการทดลองโย ศาสตร์ของเมนเดล โดยครูเ เปรียบเทียบให้หน้าเหรียญท ลักษณะเมล็ดสีเหลือง) และใหห้ (ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเขยี ว) แล 4.1อตั ราส่วนของจีโนไทป์ YY : 1/2 : 1/4 หรือ 1 : 2 : 1) 4.2จากบทเรียนทีผ่ ่านมาพืชทแี่ โนไทปอ์ ย่างไร (YY และ Yy) 4.3พชื ทแี่ สดงฟีโนไทป์เมลด็ สีเ 4.4แล้วอัตราส่วนของพืชที่มีเ เขียวเปน็ เทา่ ใด (3/4 : 1/4 5. ครูนำอภิปรายสรุปผลการทดลอ ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อยเป ศกึ ษา โดยใชก้ ฎของความน่าจะ

รเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ 11 ออกหนา้ หัวและก้อยจะมีโอกาส การประเมินผลการเรียนรู้ วกอ้ ยซง่ึ มีโอกาสเกิด ¼ และก้อยหัว งนั้นโอกาสที่เหรียญทั้งสองจะออก ¼ เท่ากับ ½) ยนเหรียญกับการศึกษาพันธุ เลือกลักษณะสีของเมล็ดมา ที่ออกหัวเป็นยีน Y (ควบคุม หนา้ เหรยี ญทอ่ี อกก้อยเป็นยีน y ลว้ ใช้คำถามดังนี้ : Yy : yy จะเปน็ อย่างไร (1/4 แสดงฟโี นไทป์เมลด็ สีเหลืองมีจี ) เขียวมีจีโนไทป์อยา่ งไร (yy) เมล็ดสีเหลืองต่อพืชที่มีเมล็ดสี 4 หรอื 3 : 1) องของเมนเดลทีม่ ีอัตราส่วนของ ป็น 3 : 1 ในทุก ๆ ลักษณะที่ ะเปน็ ในการอธิบาย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรมการ ข้นั สรปุ (10 นาท)ี 1. ครูใช้คำถามสถานการณต์ ัวอย่าง ผ้เู รยี นจำนวน 4 ขอ้ โดยเลือกส เรียนขอ้ ละ 2 คน จากนนั้ ครอู ภ

รเรยี นรู้ ส่อื การเรียนรู้ 12 งเพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ สุ่มผู้เรียนมาแสดงวิธีทำหน้าช้ัน ภปิ รายคำตอบรว่ มกบั นกั เรยี น

โรงเรียนสรร กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทย แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง กฎแหง่ การแ ภาคการศกึ ษาปลาย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/พ และ 4/1 สาระชวี วิทยา 2. เขา้ ใจการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม การถา่ ยทอดยีนบนโคร ดเี อ็นเอ หลักฐานขอ้ มลู และแนวคิดเก่ยี วกบั ววิ ฒั นาการของสิ่งมีชีวติ กำเนดิ ของส่ิงมีชวี ิต ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ิต และอนุกรมวธิ าน ผลการเรียนรู้ ม.4/2 อธิบาย และสรุปกฎแหง่ การแยก และกฎแหง่ การรวมกลุ่มกัน และในใชใ้ นการคำนวณโอกาสในการเกิดฟีโนไทป์ และจีโนไทปแ์ บบ

13 รพยาวทิ ยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แยกและกฎแหง่ การรวมกลุ่มอย่างอิสระ รายวชิ า ชีววทิ ยา2 ว30252 ผู้สอน นายเรวัตร อย่เู กดิ รโมโซม สมบัติ และหน้าท่ขี องสารพันธกุ รรม การเกดิ มิวเทชัน เทคโนโลยีทาง ต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบริ ์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ น รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ นอย่างอสิ ระ และนำกฎของเมนเดลนไ้ี ปอธบิ ายการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม บต่าง ๆ ของรุ่น F1 และ F2

จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหาสาระ กิจกรรมการ เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น กฎแ ห่งกา รถ่า ย ทอ ด ขั้นนำ (10 นาที) นกั เรยี นสามารถ ลักษณะทางพันธุกรรม 1. ครูทบทวนเรื่องการศึกษาลัก 1. อธิบายกฎแห่งการ ข อ ง เ ม น เ ด ล เป็น ก ฎ ลันเตาทั้ง 7 ลักษณะที่เมนเดลไ แยกและกฎแห่งการ พื้นฐานที่เมนเดลพบจาก รวมกลุ่มอย่างอิสระได้ การทดลองการ ศึ ก ษา ความสงู ของลำตน้ รูปร่างของฝ (K) ลักษณะทางพันธุกรรมของ ตำแหน่งของดอก สีของดอก แ (Parent) รุ่นลูกรุ่นที่ 1 (F1) แล 2. ค ำ น ว ณ ห า ต้นถ่ัวลนั เตาทั้ง 7 ลักษณะ PowerPoint ประกอบการทบท อัตราส่วนของจีโนไทป์ มอี ยดู่ ว้ ยกัน 2 ข้อ คอื กฎ แ ล ะ ฟ ี โ น ไ ท ป์ ข อ ง แห่งการแยกที่ใช้ในการ 2. ครูทบทวนผลการศึกษาพนั ธุศา สิ่งมีชีวิต โดยพิจารณา ระบชุ นดิ ของเซลล์สืบพันธ์ุ ผลการทดลองของต้นถั่วลันเต เพียงลักษณะเดียวและ ของสิ่งมีชีวิตซึ่งนำมาใช้ เป็นลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อ พิจารณาสองลักษณะ ทำนายลักษณะของลูกรุ่น ได้ (K) ได้ และกฎแห่งการ ทั้ง 7 ลักษณะ 3. ครูกล่าวว่าจากการทดลองของเ 3. ใชต้ ารางพนั เนตต์ใน รวมกลุ่มอย่างอิสระที่ใช้ใน การคำนวณหา การทำนายอัตราส่วนของ การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกร อัตราส่วนของจีโนไทป์ จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของ และกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอ และฟีโนไทปไ์ ด้ (K) สิ่งมีชีวิตได้ โดยการ กระตุน้ ให้นักเรยี นคิดดังน้ี 4. บอกถึงความสำคัญ รวมกลุ่มอย่างอิสระเป็น 3.1 จากที่นักเรียนได้เรียนเรือ่ ง ของการทำนายลกั ษณะ การรวมกลุ่มของยีน แบ่ง นักเรียนทราบหรือไม่ว่ากฎดังก ของสิ่งมีชีวิตต่อมนุษย์ ได้เป็นสองประเภทคือ การทดลองของเมนเดลได้อย่าง บทเรยี นในขั้นตอ่ ไป หรือสิ่งมีชีว ิ ตใน การผสมพิจารณา เพียง ธรรมชาติได้ (A) ลักษณะเดียว หรือเรียกวา่ monohybrid cross) และ

14 รเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมินผลการเรยี นรู้ 1. PowerPoint 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการ กษณะทางพันธุศาสตร์ของถั่ว 2. ชุดกิจกรรมเรื่องกฎ ตอบคำถามในช้ันเรยี น ได้ทำการศึกษา ได้แก่ ลักษณะ ของเมนเดล 2. นักเรียนตอบคำถามในใบ ฝกั รปู รา่ งของเมล็ด สขี องเมล็ด 3. แบบบันทึกกิจกรรม งานถูกต้องสมบูรณ์ และสีของฝัก ทั้งในรุ่นพ่อแม่ เรื่องกฎของเมนเดล ละรุ่นลูกรุ่นที่ 2 (F2) โดยใช้สื่อ ทวน าสตร์ของเมนเดล ในส่วนที่เป็น ตาที่มีอัตราส่วนของฟีโนไทป์ที่ อยของรุ่นลูกรุ่น F2 เป็น 3 : 1 เมนเดลทำให้เมนเดลคน้ พบกฎ รรม 2 ข้อคอื กฎแหง่ การแยก อิสระ จากนั้นครูใช้คำถามเพ่ือ งกฎของความน่าจะเป็นมาแล้ว กล่าวนั้นสามารถนำมาอธิบาย งไร จากนั้นครูนำนกั เรียนเข้าสู่

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หาสาระ กจิ กรรมการ การผสมพิจารณาสอง ขั้นสอน (80 นาที) ลักษณะ หรือเรียกว่า 1. ครูทบทวนเรื่องการแบ่งเซลล์แ dihybrid cross ซ่ึ ง ก า ร Anaphase I ซึ่งเป็นขั้นที่ม วิเคราะหจ์ ีโนไทป์และฟโี น homologous chromosome ไ ท ป ์ จ า ก ก ฎ ท ั ้ ง ส อ ง น้ั น การแยกกันของ sister chrom สามารถใช้ตารางพันเนตต์ ภาพด้านล่างแล้วใชค้ ำถามดงั นี้ (Punnett square) ช ่ ว ย ใ น ก า ร ท ำ น า ย จ ี โ น ไ ท ป์ และฟีโนไทปไ์ ด้ดว้ ย ภาพที่ 1 การแบง่ เซ 1.1จากภาพการแบ่งเซลล์แบ นักเรียนสังเกตเห็นอะ homologous chromosome 1.2จากภาพการแบ่งเซลล์แบบ นักเรียนสังเกตเห็นอะไร chromatid)

รเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ 15 แบบไมโอซิส I โดยเน้นในข้ัน การประเมินผลการเรียนรู้ มีการแยกออกจากกันของ และขั้น Anaphase II ซึ่งเป็น matid โดยครูให้นักเรียนสังเกต ซลลแ์ บบไมโอซิส บไมโอซิส ในขั้น Anaphase I ะไร (การแยกออกจากกันของ e) บไมโอซิส ในขั้น Anaphase II ร (การแยกออกจากกันของ sister

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการ 1.3เ ม ื ่ อ เ ก ิ ด ก า ร แ ย ก ก chromosome และ siste เขา้ คู่กันอยู่จะเป็นอย่างไร เ กนั เพราะยนี อยู่บนโครโมโซม) 1.4การแบ่งเซลล์ในลักษณะน ใดบา้ ง (เซลลส์ บื พนั ธ์ุ หรือ ga 2. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปราย เชื่อมโยงกับการแบ่งเซลล์แบบ และ Anaphase II โดยใช้ตวั อย พ่อแม่มาอธิบาย ซึ่งต้นพ่อแม่ท Gg ก็จะแยกเซลล์สืบพันธุ์ (gam และ G กับ g ตามลำดบั ส่วนต้น gg กจ็ ะแยกเซลลส์ ืบพนั ธุ์ (gam 3. ครูแสดงตัวอย่างการแบ่งเซลล์ส เพิ่มเติม โดยแสดงการแยกเซล เห็นในลกั ษณะเดยี วกนั กบั ลกั ษณ 4. ครูแสดงภาพตัวอย่างการผสมต ลกั ษณะ (dihybrid cross) โดย สขี องเมล็ดร่วมกัน จากนน้ั ครูใช 4.1การผสมต้นถั่วลันเตาในภา (รูปรา่ งของเมล็ดและสีของเมล

รเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ 16 ก ั น ข อ ง ท ั ้ ง homologous er chromatid แล้ว ยีนที่เคย การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพราะเหตใุ ด (ยีนจะแยกออกจาก นี้พบในการแบ่งเซลล์จำพวก amete) ยสรุปกฎแห่งการแยกที่มีความ บ meiosis ในขั้น Anaphase I ยา่ งลักษณะของสีของฝักของรุ่น ที่มีฝักสีเขียวจีโนไทป์ GG และ mete) ได้เป็น G เพียงตัวเดียว นพอ่ แมท่ ่มี ีฝักสเี หลืองจีโนไทป์ mete) ได้เป็น g เพียงตวั เดยี ว สืบพันธุ์ของลักษณะสีของดอก ลล์สืบพันธุ์ของต้นรุ่นพ่อแม่ให้ ณะสขี องฝกั ต้นถั่วลันเตาโดยพิจารณาสอง ยจะพจิ ารณาลักษณะรปู ร่างและ ช้คำถามดงั นี้ าพนั้นพิจารณาลักษณะใดบ้าง ล็ดไปพรอ้ ม ๆ กนั )

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรมการ 4.2ถ้าให้อัลลีล R ควบคุมล ลักษณะเมล็ดขรุขระ, Y ค และ y ควบคุมลักษณะเม เมล็ดกลมสีเหลือง และต้น เขยี วมจี โี นไทป์อย่างไรบา้ ง 4.3จากกฎแห่งการแยก ต้นพ เซลลส์ ืบพนั ธ์แุ บบใดได้บ้าง 4.4เม่อื ทำการผสมตน้ พ่อและต มีจีโนไทป์และฟีโนไทป์อย เหลือง) 4.5รุ่นลูกรุ่น F1 ดังกล่าวจะ อะไรบ้าง (4 รปู แบบ ได้แก่ R 4.6เมื่อนำรุน่ ลูกรุน่ F1 ผสมกนั แบบใดได้บ้าง ในอัตราส่ว พันเนตต์ (Punnett squa RRyy, rryy, RrYY, RRYy, RrY กลมสีเหลือง : เมล็ดกลมสีเขี ขรุขระสเี ขยี ว ในอตั ราส่วน 9 : 5. ครูเพิ่มเติมการใช้ตารางพันเนต ผสมพิจารณาลักษณะเดียว (m ลักษณะสีของดอกมาเป็นตัวอย

รเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ 17 ลักษณะเมล็ดกลม, r ควบคุม ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเหลือง การประเมนิ ผลการเรียนรู้ มล็ดสีเขียว ต้นพ่อที่มีลักษณะ นแม่ที่มีลักษณะเมล็ดขรุขระสี (RRYY และ rryy) พ่อและต้นแม่ดังกล่าวจะแบ่ง ง (RY และ ry) ตน้ แม่ดังกลา่ วจะได้ลูกรุน่ F1 ที่ ย่างไร (RrYy มีฟีโนไทป์เมลด็ กลมสี ะมีเซลล์สืบพันธุ์ได้กี่รูปแบบ RY Ry rY ry) นเอง จะมีจโี นไทปแ์ ละฟีโนไทป์ วนเท่าใด คำนวณโดยใช้ตาราง are) ช่วย (มีจีโนไทป์ RRYY, rrYY, Yy, rrYy, Rryy และมีฟีโนไทป์เมล็ด ยว : เมล็ดขรุขระสีเหลือง : เมล็ด : 3 : 3 : 1) ตต์ (Punnett square) ในการ monohybrid cross) โดยเลือก ย่างในการวิเคราะห์ กำหนดให้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการ ยีน P ควบคุมลักษณะดอกสีม่ว ดอกสีขาว ซึ่งเมื่อคำนวณแล้ว PP : Pp : pp เป็น 1 : 2 : 1 แ ดอกสมี ว่ ง : ดอกสีขาวเป็น 3 : 1 6. ครูแสดงตัวอย่างในการผสมถั่ว (dihybrid cross) เพิ่มเติม โดย เป็น RRYy x RrYY, rrYy x Rryy โดยแสดงการแยกเซลล์สืบพันธ รปู แบบตา่ ง ๆ ลักษณะของลกู ร รุ่น F1 ลักษณะน้ัน ๆ โดยใช้กฎข 7. ครูแบ่งกลุ่มผู้เรยี นออกเป็น 6 ก แจกใบกิจกรรม “กฎของเมน สถานการณ์ให้นักเรียนผสมต้น เมล็ดที่แตกต่างกันออกไป แล้ว ของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ที่น่า เมนเดลท้งั 2 ข้อทไ่ี ดศ้ กึ ษาไปแล 8. นักเรียนออกมานำเสนอผลกา ตนเองหน้าชั้นเรียน โดยอธิบา รวมกนั ของเซลล์สบื พันธุ์ท่สี อดค 9.

รเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ 18 วง และยีน p ควบคุมลักษณะ วจะได้อัตราส่วนของจีโนไทป์ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ และอัตราส่วนของฟีโนไทป์ 1 วลันเตาพิจารณาสองลักษณะ ยกำหนดจีโนไทป์ของรุ่นพ่อแม่ y และ Rryy x RrYy ตามลำดับ ธุ์ของต้นพ่อแม่ออกมาเป็นยีน รุ่น F1 และโอกาสในการเกิดลูก ของความน่าจะเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จากนั้นครู นเดล” โดยจะเป็นการจำลอง นถั่วลันเตาที่มีรูปร่างและสีของ วให้นักเรียนทำนายอัตราส่วน าจะเป็นไปได้โดยอาศัยกฎของ ล้ว ารผสมต้นถั่วลันเตาของกลุ่ม ายให้เห็นการแยกกันและการ คล้องกบั กฎของเมนเดล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กิจกรรมการ ขัน้ สรุป (10 นาท)ี 1. ครูใช้คำถามที่เป็นสถานการณ เข้าใจของผูเ้ รียนจำนวน 1 ข้อ การผสมต้นถั่วลันเตาต้นสูงดอ ดอกสีม่วง โดยเลือกสุ่มผู้เรียน คน จากนั้นครูและนักเรียนทั้ ของโจทย์ปญั หาร่วมกัน

รเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ 19 ณ์ตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ อ โดยเป็นโจทย์ปญั หาเกีย่ วการ อกสีม่วงกับต้นถั่วลันเตาต้นเตยี้ นมาแสดงวิธีทำหน้าชั้นเรียน 3 งหมดร่วมกันอภิปรายคำตอบ

โรงเรียนสรร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทย แผนการจดั การเรยี นรู้ เร ภาคการศึกษาปลาย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/พ และ 4/1 สาระชีววทิ ยา 2. เข้าใจการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การถ่ายทอดยนี บนโคร ดเี อน็ เอ หลกั ฐานข้อมูล และแนวคิดเกี่ยวกับววิ ฒั นาการของส่ิงมีชวี ติ กำเนิดของสิ่งมชี ีวติ ความหลากหลายของส่งิ มีชีวิต และอนุกรมวธิ าน ผลการเรยี นรู้ ม.4/2 อธบิ าย และสรปุ กฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกลุ่มกัน และในใช้ในการคำนวณโอกาสในการเกดิ ฟีโนไทป์ และจีโนไทปแ์ บบ

20 รพยาวทิ ยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รอ่ื ง การผสมเพอื่ ทดสอบ รายวชิ า ชวี วทิ ยา2 ว30252 ผสู้ อน นายเรวตั ร อยู่เกิด รโมโซม สมบตั ิ และหน้าที่ของสารพนั ธุกรรม การเกดิ มวิ เทชนั เทคโนโลยีทาง ต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชสี ์ใหม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ น รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ นอย่างอสิ ระ และนำกฎของเมนเดลน้ีไปอธิบายการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม บต่าง ๆ ของร่นุ F1 และ F2

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอ้ื หาสาระ กิจกรรมกา เ ม ื ่ อ จ บ ค า บ เ ร ี ย น ก า ร ผ ส ม เ พ ื ่ อ ท ด ส อ บ ขั้นนำ (5 นาที) นักเรยี นสามารถ (testcross) เป็นการผสม 1. ครูทบทวนความรู้เรื่องสิ่งมีช 1. อธิบายหลักการของ ระหว่างรุ่นลูก ที่ แส ดง รปู ภาพและคำถามดงั น้ี วิธีการผสมเพื่อทดสอบ ลักษณะเด่นไม่ทราบจีโน และการผสมกลับ (K) ไทป์ที่ต้องการตรวจสอบ 2. บ อ ก ค ว า ม ส ำ คั ญ (unknown) กับสิ่งมีชีวิต ภาพที่ 1 ฝักถวั่ ลันเตาสองฝักทแ่ี สด ของวิธีการผสมเพ่ือ ท ี ่ แ ส ด ง ล ั ก ษ ณ ะ ด ้ อ ย แบบ Homozygous domin ทดสอบและการผสม (homozygous recessive Hetero กลับในสิง่ มีชีวติ ได้ (K) หรือ tester) ถ้ารุ่นลูกที่ได้ a. จากการศึกษาลักษณะสีฝ 3. ทำงานร่วมกับผู้อ่ืน แสดงลักษณะเด่นทั้งหมด ลันเตาสีเขียวทีน่ ักเรียนเ หรอื ลักษณะดอ้ ย (ลกั ษณ อย่างตัง้ ใจ (A) สิ่งมีชีวิตทนี่ ำมาทดสอบจะมี b. การที่ถั่วลันเตาจะแสด สามารถมีจีโนไทปไ์ ด้กร่ี ูป ล ั ก ษ ณ ะ เ ด ่ น พ ั น ธ ุ ์ แ ท้ G เป็นยีนที่ควบคุมลัก (homozygous dominant) แต่ถ้าหากรุ่นลูกที่ได้แสดง ทั้งลักษณะเด่นและลักษณะ ควบคมุ ลักษณะฝกั สเี หลอื ด้อยในอัตราส่วน 1 : 1 สิง่ มชี ีวติ ท่ีนำมาทดสอบจะมี c. การเข้าคู่กันของยีนที่ม ลักษณะเด่นพันธุ์ทาง รปู แบบนี้ว่าอะไร (Homo (heterozygous) ส่วนการ d. การเข้าคู่กันของยีนที่ม ผ ส ม ก ล ั บ (backcross) เป็นการผสมระหว่างรุ่นลูก รูปแบบน้ีว่าอะไร (Hetero แ ล ะ ร ุ ่ น พ ่ อ แ ม ่ โ ด ย มี ว ัตถุปร ะ สง ค์หลัก เพ่ือ

21 ารเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. PowerPoint 1. นักเรียนวิเคราะห์และ ชีวิตที่แสดงลักษณะเด่นโดยใช้ 2. กระดาษ flipchart แสดงการผสมเพื่อทดสอบใน 3. ใบงานเรอื่ งการผสม ชน้ิ งานกลุม่ ไดถ้ ูกต้อง เพื่อทดสอบและการ 2. นักเรียนตอบคำถามในใบ ผสมกลบั งานเร่อื งการผสมเพ่อื ทดสอบ ดงลักษณะเด่นโดยฝักหน่ึงมจี โี นไทป์ และการผสมกลับได้ถูกต้อง nant ส่วนอกี ฝกั มีจโี นไทป์แบบ ต้ังแตร่ อ้ ยละ 80 ขึ้นไป ozygous 2. นักเรียนมีส่วนร่วมในการ ฝักถว่ั ลันเตาของเมนเดล ฝักถั่ว ตอบคำถามในชัน้ เรียน เห็นในภาพนั้นเป็นลักษณะเดน่ 3. นักเรียนมีส่วนร่วมในการ ทำกจิ กรรมกลุม่ อยา่ งตัง้ ใจ ณะเด่น) ดงลักษณะเด่นออกมาได้นั้น ปแบบ อะไรบ้าง (กำหนดให้ยีน กษณะฝักสีเขียว g เป็นยีนที่ อง) (GG และ Gg) มีจีโนไทป์ GG เรียกจีโนไทป์ ozygous dominant genotype) มีจีโนไทป์ Gg เรียกจีโนไทป์ ozygous genotype)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหาสาระ กจิ กรรมกา ปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวิตให้มี e. นกั เรียนจะทราบได้อย่าง ลกั ษณะตามต้องการ มีจีโนไทป์แบบ Homo Heterozygous ข้นั สอน (35 นาที) 1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น นักเรียนออกมารับแบบบ “What is your Genotype” มีสถานการณ์ตวั อย่างดงั นี้ “ป ในสวนที่เมนเดลปลูกเอาไว้ โ ฝักสีเขียวออกมา ถ้าปิยพรต้อ ฝักสีเขียวนั้นเป็นลักษณะเ dominant) หรือลักษณะเด ปิยพรจะมีวิธีการตรวจสอบไ นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ระด ประมาณ 15 นาที โดยเขีย นำมาแปะไว้หน้าชั้นเรียน ตรวจสอบต้นถวั่ ลนั เตาทแ่ี ตล่ ะ 2. ครูให้ความหมายของการผ หลังจากที่นักเรียนออกมาราย การผสมระหว่างส่ิงมีชวี ิตที่แส

ารเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ 22 งไรวา่ ฝกั ถว่ั ลนั เตาทมี่ ีสีเขียวนั้น การประเมินผลการเรยี นรู้ ozygous dominant หรือแบบ นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แล้วให้ บันทึกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ” โดยในแบบบันทึกกิจกรรมจะ ปิยพรไดเ้ ขา้ ไปเก็บต้นถ่ัวลันเตา ดยปิยพรหยิบต้นถั่วลันเตาที่มี องการทราบว่าต้นถั่วลันเตาที่มี เด่นพันธุ์แท้ (homozygous ด่นพันธุ์ทาง (heterozygous) ได้อย่างไร” จากนั้นครูให้เวลา ดมสมองเพ่ือแก้หาวิธีตรวจสอบ ยนใส่กระดาษ flipchart แล้ว น เพ่ือนำมาอภิปรายวิธีการ ะกลมุ่ คดิ ได้ ผสมเพื่อทดสอบ (testcross) ยงานผลเรยี บร้อยแล้ววา่ “เป็น สดงลักษณะเดน่ แต่ไม่ทราบจีโน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหาสาระ กจิ กรรมกา ไทป์ (tester) กบั สิง่ มีชีวติ ที่แส จีโนไทป์ของ tester โดยถ้า ทั้งหมด tester จะมีจีโนไทปแ์ บ แตถ่ ้าหากรนุ่ ลกู ทีไ่ ดแ้ สดงท้งั ล อัตราสว่ น 1 : 1 tester จะมีจ โดยใช้สื่อ PowerPoint 3. ครูกำหนดสถานการณ์ว่า “ ควบคุมลักษณะฝักสีเขียว g เหลืองแล้ว หากนักเรียนผสม GG กับ gg แลว้ ได้ลูกรุน่ F1 ท คำถามดังต่อไปน้ี 3.1หากต้องการให้พืชรุ่น F นักเรียนจะนำลูกรุ่น F รปู แบบใด โดยครใู ห้เวลา 4. ครูแสดงการผสมรุ่น F1 กับ Homozygous dominant เพ ขั้นตอนในการได้มาซ่ึงลูกรุ่น จากนน้ั ครูใชค้ ำถามดงั นี้

ารเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ 23 สดงลกั ษณะด้อย เพอื่ ตรวจสอบ รุ่นลูกที่ได้แสดงลักษณะเด่น การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ บบ Homozygous dominant ลักษณะเด่นและลกั ษณะด้อยใน จโี นไทป์แบบ Heterozygous” “ถ้ากำหนดให้ยีน G เป็นยีนที่ เป็นยีนที่ควบคุมลักษณะฝักสี มถั่วลันเตารุ่นพ่อแม่ท่ีมจี ีโนไทป์ ท่ีมีจโี นไทป์ Gg ท้งั หมด” แล้วใช้ F2 มีลักษณะเด่นทั้งหมดทุกต้น F1 ไปผสมกับพืชที่มีจีโนไทป์ านักเรียนคดิ สกั ครู่ บพืชที่มีจีโนไทป์ในรูปแบบ พื่อแสดงให้นักเรียนเห็นลำดับ F2 ที่แสดงลักษณะเด่นท้งั หมด

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ กจิ กรรมกา 4.1 จีโนไทป์ของพืชที่นำมา จีโนไทป์เหมอื นกับรนุ่ พอ่ แมห่ ร พอ่ หรือต้นแม่ (เหมือน โดยเหมือ 5. ครใู ห้ความหมายของการผสมก “การนำลูกรุ่น F1 ที่ได้ กลับ เรียกว่าการผสมกลับ (back ปรับปรุงพันธุ์ให้มีลักษณะท PowerPoint ประกอบคำบรร ขน้ั สรุป (10 นาท)ี 1. ครูกำหนดคำถามเรื่องการผ จำนวน 4 ข้อ แลว้ สมุ่ นักเรยี น

ารเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ 24 าผสมกับรุ่น F1 มีรูปแบบของ รือไม่ หากเหมอื นเหมอื นกบั ต้น การประเมินผลการเรียนรู้ อนกบั ต้นพ่อ) กลบั (backcross) โดยกลา่ วว่า บไปผสมกับพืชต้นพ่อแม่นั้น kcross) ซึ่งมีประโยชน์ในการ ที่ดีตามต้องการได้” โดยใช้ส่ือ รยาย ผสมทดสอบและการผสมกลับ นตอบคำถาม 2-3 คน

โรงเรยี นสรร กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทย แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง ลกั ษณะทาง (หวั ข้อการข่มไมส่ มบรู ณ์ การ ภาคการศึกษาปลาย ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4/พ และ 4/1 สาระชีววทิ ยา 2. เข้าใจการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การถ่ายทอดยนี บนโคร ดเี อน็ เอ หลักฐานขอ้ มูล และแนวคิดเกยี่ วกบั ววิ ัฒนาการของสิง่ มีชีวิต กำเนดิ ของส่ิงมีชวี ติ ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ และอนุกรมวิธาน ผลการเรียนรู้ ม.4/3 สบื ค้นขอ้ มูล วิเคราะห์ อธิบาย และสรปุ เก่ียวกับการถ่ายทอด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook