ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ - ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง รายชื่อยาแผนโบราณที่เป็นยาอันตราย (ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ชใ้ นตำ� รบั ยาแผนโบราณ) “โหราเดอื ยไก”่ ทที่ ำ� ใหห้ มดความเปน็ พษิ แลว้ ส�ำหรับกินในม้ือหนึ่งไม่เกิน 2.5 กรัม และยาท่ีผลิตข้ึนส�ำหรับใช้ภายนอก ยาต�ำรับน้ีเป็นยาผง ใช้เกล่ือนในกระพุ้งแก้ม อาจจะมีตัวยาถูกดูดซึมไปในระบบ ทางเดนิ อาหาร - ตัวยาโหราเดอื ยไกต่ อ้ งนึง่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.48) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เล่ม ๒. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสขุ 79
ยาแก้ฝใี นคอ ท่มี าของต�ำรบั ยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธ์ิ) [1, 2] “ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะวัณโรคบังเกิดภายใน อันช่ือว่า ฟองพระสมุทร บังเกิดเพื่อวาโย เพื่อโลหิตระคนกันขึ้นในคอต้นขาตะไกรนั้นเป็นค�ำรบ ๕ เมื่อแรกข้ึนมีสัณฐานดังหลังเบี้ย ถ้าขึ้นขวาตัวผู้ ถ้าข้ึนซ้ายตัวเมีย มีอาการกระท�ำให้เจ็บในล�ำคอเป็นก�ำลัง จะกลืนข้าวกลืนน�้ำมิได้ ให้เจ็บปวด ดังจะขาดใจตาย ถ้ายาถูกก็เกล่ือนหายไป ถ้ายามิถูกก็จ�ำเริญแก่ข้ึนเป็นบุพโพ มีความเวทนาเป็นอันมากนัก แล้วกระท�ำพิษให้จับสะบัดร้อนสะท้านหนาวดุจไข้จับให้เชื่อมมัว ให้ร้อนแต่ศีรษะตลอดจนปลายเท้า จะได้เหมือน ไข้เหนือสันนิบาตนั้นหามิได้ ให้ทุรนทุรายไปกว่าบุพโพจะแตก แลวัณโรคฟองสมุทรนี้เป็นยาปะยะโรครักษาได้ จะไดต้ ายนัน้ หามไิ ด้ ฯ ขนานหนึ่ง เอาโพกพาย รากย่านาง เถาวัลย์เปรียง รากพุมเรียงท้ังสอง ขม้ินอ้อย ยาข้าวเย็นเหนือ ยาข้าวเย็นใต้ เอาเสมอภาคต้มตามวิธีให้กิน แก้พิษฝีอันช่ือว่าฟองสมุทร อันบังเกิดในต้นขาตะไกรนั้นหาย แลยาขนานนเ้ี ปน็ ยาตัดรากสรรพฝีทั้งปวง ถ้าเป็นบาดแผลแทรกก�ำมะถนั ลง ๑ ตำ� ลงึ ๑ บาท วเิ ศษนกั ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 8 ชนิด รวมปรมิ าณ 600 กรัม ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา ขม้ินอ้อย 75 กรัม ขา้ วเย็นใต ้ 75 กรมั ขา้ วเย็นเหนอื 75 กรัม เถาวัลยเ์ ปรยี ง 75 กรัม พุมเรียงบ้าน 75 กรมั พุมเรียงป่า 75 กรัม โพกพาย 75 กรัม ยา่ นาง 75 กรัม สรรพคุณ แก้ฝีในคอ รูปแบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 100-150 มิลลิลิตร ดื่มวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ด่ืม ตามอาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ด่ืมขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วนั โดยให้อนุ่ น้ำ� สมนุ ไพรทกุ ครงั้ กอ่ นใช้ยา ข้อมูลเพ่มิ เติม ยาต�ำรบั น้ีหากใชใ้ นกรณีท่ฝี แี ตก ให้เพ่มิ กำ� มะถันก้อน 75 กรัม ลงในนำ�้ ยาแล้วต้มดืม่ เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม ๒. พิมพค์ รง้ั ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. 80 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ฝใี นหู ทมี่ าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาฝีในหู ยาด�ำ 1 มหาหงิ คุ์ 1 ผกั เสยี้ นผี 1 ลูกล�ำโพง 1 น�ำ้ มันดิบใส่ในลกู ลำ� โพง ปดิ ฝาหุงด้วยไฟ แกลบ ใส่ฝีในหูหาย ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 5 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา น�้ำมนั ยางนา* 1 ส่วน ผักเส้ยี นผี 1 สว่ น มหาหงิ ค ุ์ 1 สว่ น ยาด�ำ 1 ส่วน ล�ำโพง (ผล) 1 สว่ น *ในตำ� รับนี้ใชน้ ้ำ� มนั ยางนาแทนน�ำ้ มนั ดบิ สรรพคณุ รักษาฝใี นหู รูปแบบยา ยาน้ำ� มัน (ดภู าคผนวก 3.6) วธิ ปี รุงยา ตวั ยาผักเสี้ยนผี มหาหิงค์ุ ยาดำ� บดให้ละเอยี ด ผสมกบั น�้ำมนั ยางนาใส่ในล�ำโพง (ผล) จากนัน้ นำ� มาหุงด้วยไฟแกลบ ขนาดและวิธกี ารใช้ หยอดหู 1-2 หยด วนั ละ 2 ครงั้ เชา้ และเย็น เปน็ ยาใชภ้ ายนอก ห้ามกิน ข้อมูลเพ่ิมเติม - ตัวยามหาหงิ ค์ุตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตัวยายาดำ� ตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 257. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง, หนา้ ๑-2. หนา้ ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสขุ 81
ยาแก้ฝีมานทรวง ทม่ี าของตำ� รับยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ [1, 2] “ล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะวัณโรคบังเกิดภายในอันชื่อว่า ฝีมานทรวงนั้น เป็นค�ำรบ ๓ เมื่อจะบังเกิดกระท�ำให้ยอกเสียดหายใจขัดในทรวงอก เจ็บกลางวันกลางคืนให้ไอ เป็นเสมหะเหนียว ใหซ้ ูบผอม ใหแ้ น่นหนา้ อกเปน็ กำ� ลงั ดังอาจารยก์ ลา่ วไวด้ งั นี้ ฯ ขนานหนึง่ เอายาดำ� ๑ สว่ น เทยี นดำ� ๔ ส่วน ยาขา้ วเยน็ ท้งั สอง สิง่ ละ ๑๐ สว่ น กระเทียม ๑๑ ส่วน ต้นสาบเสือท้ังต้นทั้งราก ๖ ส่วนต้มตามวิธีให้กินตามสมุฏฐานธาตุ ถ้าจะถ่ายแทรกดีเกลือกินตามธาตุหนัก ธาตุเบา แลว้ ใหก้ ินประจ�ำไปทุกวันจนกว่าจะหายวเิ ศษนัก ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 6 ชนิด รวมปริมาณ 42 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระเทียม ๑๑ ส่วน ขา้ วเยน็ เหนือ ๑๐ สว่ น ข้าวเยน็ ใต้ ๑๐ สว่ น สาบเสอื 6 ส่วน เทียนด�ำ ๔ ส่วน ยาดำ� ๑ ส่วน สรรพคณุ แก้ฝมี านทรวง ทีม่ อี าการหอบเหนอ่ื ยจากวัณโรคปอด รูปแบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครง้ั ละ 100-150 มลิ ลลิ ติ ร ดม่ื วนั ละ 2 ครงั้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ ใหด้ มื่ ตามอาการ ของโรคและก�ำลังของผ้ปู ว่ ย ดม่ื ขณะยายงั อุ่น ยา ๑ หม้อ ใชต้ ดิ ต่อกนั ๕-๗ วัน โดยให้ อุ่นนำ้� สมุนไพรทกุ ครั้งก่อนใช้ยา ขอ้ มูลเพ่ิมเติม - ยาตำ� รบั นใ้ี ชใ้ นผปู้ ว่ ยวณั โรค มอี าการไอ หอบหดื เจบ็ บรเิ วณชอ่ งทอ้ ง กลนื นำ�้ ไมค่ อ่ ยได ้ น้�ำลายเป็นฟอง มีภาวะน้�ำท่วมปอด ตรวจจากฟิล์มเอกซ์เรย์ พบว่ามีจุดท่ีปอด เมอื่ ใชย้ าตำ� รบั นรี้ ักษาแลว้ อาการไอและเสมหะลดลง - สดั สว่ นของตน้ สาบเสอื ใช้ใบ 2 สว่ น ต้น 2 ส่วน และราก 2 สว่ น - หากอาการดีข้นึ จะใชต้ �ำรับยาอ่ืนรักษา เชน่ ยาสัตตะโกฐ ยาจันทลลี า - ตัวยายาด�ำต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)์ิ เล่ม ๒. พิมพ์ครง้ั ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. 82 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ฝหี ัวคว่�ำ ทมี่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ขนานหนึ่ง เอา ขมนิ้ อ้อย 1 ใบคนทสี อ 1 ใบสะเดา 1 ต�ำละลายเหล้ากนิ ดับพิษฝหี ัวคว�ำ่ แล ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 3 ชนดิ รวมปริมาณ 3 ส่วน ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 1 ส่วน ขมิน้ อ้อย 1 ส่วน คนทสี อ 1 สว่ น สะเดา สรรพคณุ แกฝ้ ีหวั ควำ่� รูปแบบยา ยาสด (ดภู าคผนวก 3.10) วิธีปรุงยา ยาท้ังหมดต�ำให้ละเอียด ผสมสุรา (๔๐ ดีกรี) ปริมาตร 30 มิลลิลิตร คั้นเอาน้�ำไว ้ สำ� หรับกนิ เก็บสว่ นกากไวส้ �ำหรับพอก ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยากิน ครั้งละ 1 ช้อนโตะ๊ (15 มิลลิลิตร) กินวนั ละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น ยาพอก พอกบริเวณที่เป็นวนั ละ ๓ ครงั้ เชา้ กลางวัน และเยน็ ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญงิ ให้นมบตุ ร และเดก็ อายุต�่ำกวา่ 12 ปี คำ� เตือน ควรระวังการใชย้ าในผ้ปู ่วยโรคพิษสรุ าเร้อื รงั และผู้ป่วยโรคตบั ข้อมลู เพิ่มเตมิ - ยาตำ� รบั ยานค้ี วรใช้ในรูปแบบยากนิ และยาพอก - ใช้น้�ำขา้ วหมากหรอื น�้ำสาโทเป็นกระสายยาแทนสรุ าได้ เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 266. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง, หน้า ๑-2. หน้า ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสุข 83
ยาแกฝ้ เี อน็ ทมี่ าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “แก้ฝเี อน็ เอา เถาวลั ยเ์ ปรียง 1 ใบรกั ๑ กากมะพร้าว 1 นำ�้ ส้มสายชู 1 ประคบฝเี อน็ หายแล ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 4 ชนดิ รวมปรมิ าณ 4 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา เถาวลั ยเ์ ปรยี ง (เถาสด) 1 ส่วน นำ้� ส้มสายช ู 1 สว่ น มะพร้าว (กาก) 1 ส่วน รกั (ใบสด) 1 ส่วน สรรพคณุ แก้ฝีเอน็ รูปแบบยา ยาประคบ (ดภู าคผนวก 3.8) วธิ ปี รุงยา น�ำตัวยาเถาวัลย์เปรียงและรัก ต�ำให้ละเอียด จากน้ันผสมกับกากมะพร้าวและ นำ้� สม้ สายชู แล้วหอ่ ดว้ ยผ้าดิบ ขนาดและวิธีการใช้ ประคบบริเวณท่ีเปน็ วนั ละ 3 คร้งั เช้า กลางวนั และเยน็ เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. 84 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกพ้ ยาธิโรคเรอื้ น ช่ืออ่ืน ยากนิ ภายใน ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธ)ิ์ [1, 2] “ในล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรค ๔ จ�ำพวกน้ันเป็นค�ำรบ ๖ ตามอาจารย์กลา่ วไวด้ ังนี้ ฯ ๑. คือเรอ้ื นจำ� พวกหนึง่ สมมุตวิ า่ เรือ้ นบอน เมือ่ แรกผุดข้ึนมาน้ันเป็นรู ๆ ประไปมิใครจ่ ะเหน็ ถงึ จะเห็น ก็เต็มพืดเห็นแตข่ าว ๆ แดง ๆ อยูใ่ นเนอื้ ร�ำไรมไิ ด้เหน็ ถนัด ฯ ๒. ยงั เรื้อนจำ� พวกหน่งึ สมมตุ ิว่าเรอ้ื นหดิ นั้น มกั ขึ้นท่วั ทงั้ ตัวแลว้ ลามไป ดจุ บุคคลเปน็ กลาก ฯ ๓. ยังเรอื้ นจ�ำพวกหนึ่งสมมตุ ิว่า เร้ือนดอกหมากน้ันผุดข้นึ ขาว ๆ ด่ังดอกหมาก ถา้ เหงื่อออก กระท�ำให้ คนั เกาจนน�้ำเหลืองซมึ จงึ หายคนั ฯ ๔. ยังเร้ือนจ�ำพวกหนึ่งสมมุติว่าเร้ือนมะไฟนั้น ขึ้นเป็นเกล็ดแดงขอบขาวใหญ่เท่าผลมะไฟ ถ้าบังเกิด แก่บุคคลผู้ใดแล้ว มักกระท�ำให้ร้อนดุจต้องเพลิง ให้พอง ๆ ข้ึนมา ฯ อันว่าพยาธิโรคท้ัง ๔ ประการ ซึ่งกล่าวมาน้ี ยาแก้ดุจกนั ตามอาจารย์กลา่ วไวด้ ังน้ี ฯ ยากินภายใน เอารากช้าหมอง ก�ำแพงเจ็ดชั้น โรกท้ังสอง เชือกเขาหนัง ต้นไข่แลน หญ้าหนวดแมว หัวยัง้ ยาขา้ วเย็น สิ่งละ ๒ ต�ำลงึ ๒ บาท กะลามะพรา้ วไฟ ๓ ซกี ตาไมไ้ ผป่ า่ ๗ ตา ตม้ ตามวิธีใหก้ ิน เม่ือจะกิน ให้เสกด้วยพุทธคณุ ๗ คาบ แก้พยาธโิ รคคอื เรือ้ น ๔ จ�ำพวก ซ่งึ กล่าวมาน้นั หายดนี กั ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 11 ชนดิ รวมปรมิ าณ 1,350 กรมั * ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา 150 กรัม กำ� แพงเจ็ดชน้ั 150 กรมั ขา้ วเย็นเหนือ 150 กรัม ไข่แลน 150 กรมั ขันทองพยาบาท 150 กรัม เชอื กเขาหนัง 150 กรมั ย้ัง 150 กรมั โรกขาว 150 กรัม โรกแดง 150 กรมั หญ้าหนวดแมว ไผป่ า่ (ตาไม้) 7 ตา มะพร้าวไฟ (กะลา) 3 ซกี *ไม่รวมปรมิ าณมะพรา้ วไฟ (กะลา) และไผ่ปา่ (ตาไม)้ สรรพคณุ แกโ้ รคสะเกด็ เงิน รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) กระทรวงสาธารณสุข 85
ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 150 มลิ ลลิ ติ ร ดม่ื วนั ละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ดื่มขณะ ยายังอุน่ ยา 1 หม้อ ใชต้ ดิ ต่อกัน 5-7 วนั โดยให้อุ่นนำ�้ สมนุ ไพรทุกครั้งกอ่ นใช้ยา ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใช้ในผู้ปว่ ยท่มี ีการท�ำงานของหวั ใจหรอื ไตบกพรอ่ ง ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจ�ำกัดปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผู้ท่ีเป็นโรคหัวใจ เนอื่ งจากหญ้าหนวดแมวมีปริมาณโพแทสเซียมสูง - เม่อื กนิ ยาต�ำรับน้ี อาจท�ำใหม้ ีอาการมึนงงได้ ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ - ตามกรรมวิธโี บราณ เมอ่ื จะกินยานใ้ี ห้เสกด้วยคาถาพุทธคณุ 7 คาบ แล้วจึงกนิ ยา - ตวั ยาหัวย้ังต้องคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.45) เอกสารอ้างอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เล่ม 2. พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ;์ 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแกพ้ ษิ ฝี ทมี่ าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “แก้ฝที ี่นม บอระเพ็ด 1 ขมิน้ อ้อย 1 เกลือ 1 กระเทียม 1 จุนสี 1 นำ�้ มันดิบ หงุ เป็นน้ำ� มนั กไ็ ดแ้ กพ้ ิษฝี ทนี่ ม แลฝที ั้งปวงแล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 6 ชนดิ รวมปริมาณ 7.25 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา น้ำ� มนั ยางนา* 3 สว่ น กระเทยี ม 1 สว่ น เกลือ 1 ส่วน ขมนิ้ อ้อย 1 ส่วน บอระเพด็ 1 ส่วน จนุ ส ี 0.25 สว่ น *ต�ำรบั นีใ้ ช้นำ�้ มนั ยางนาแทนน้�ำมันดิบ สรรพคุณ แกฝ้ ี รูปแบบยา ยานำ�้ มนั (ดูภาคผนวก 3.6) วิธีปรงุ ยา น�ำตัวยากระเทียม เกลือ ขมิ้นอ้อย และบอระเพ็ดมาบดให้ละเอียด จากนั้นหุงด้วย น้ำ� มนั ยางนาและเตมิ จุนสีตามส่วน 86 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขนาดและวิธกี ารใช้ ทาบริเวณทเี่ ป็นวนั ละ 2-3 ครง้ั เช้า กลางวนั และเย็น ข้อมูลเพิม่ เติม - ตัวยาจุนสีในต�ำรับยานี้ให้ลดปริมาณลงเหลือ ๑ ใน ๔ ส่วน และเติมภายหลังจาก ปรงุ ยาเสรจ็ - ตวั ยาเกลอื ต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๕) - ตวั ยาจนุ สตี ้องสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.11) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง, หนา้ ๑-2. ยาแก้ฟกบวมเม่อื ยขบ ท่มี าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาทาฟกบวมแลเมอ่ื ยขบท้ังปวง ทา่ นให้เอา ใบประค�ำไก่ 1 ต�ำลึง ใบกมุ่ บก 1 ตำ� ลึง พริกไทย 1 ต�ำลึง ขงิ 1 ต�ำลงึ ดปี ลี 1 ต�ำลึง บดปั้นเป็นแท่งไว้พน่ ดว้ ยสรุ ากไ็ ด้ น้ำ� มะกรูดกไ็ ดแ้ ล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 300 กรัม ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 60 กรัม กมุ่ บก (ใบ) 60 กรมั ขงิ 60 กรมั ดปี ลี 60 กรมั ประค�ำไก ่ 60 กรัม พรกิ ไทย สรรพคณุ แก้ปวดเมอื่ ยแกฟ้ กบวม รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) วธิ ปี รุงยา ยาทง้ั หมดบดใหล้ ะเอยี ด ขนาดและวิธกี ารใช้ ละลายสรุ าหรือนำ้� มะกรูด ทาบริเวณทเี่ ป็นวนั ละ 2-3 ครั้ง เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 239. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑39 ง. หนา้ ๑-3. กระทรวงสาธารณสุข 87
ยาแก้มะเร็งไร ทีม่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยามะเรง็ ไรชอนให้คัน เอาใบชงิ ช้าชาลี สองสว่ น 1 ใบพทุ รา 1 ขา้ วสุก 1 จุนสนี อ้ ยหน่ึง บดทา ๚” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 4 ชนดิ ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา ชงิ ช้าชาลี (ใบสด) 2 สว่ น ข้าวจ้าว (หุงสกุ ) 1 สว่ น พทุ รา (ใบสด) 1 สว่ น จนุ ส ี 1 รำ� หดั สรรพคณุ แกม้ ะเรง็ ไร มะเร็งชอนท�ำใหค้ นั รูปแบบยา ยาสด (ดูภาคผนวก 3.10) วิธีปรุงยา ยาทัง้ หมดบดใหล้ ะเอียด ขนาดและวธิ ีการใช้ ทาบริเวณทีเ่ ปน็ วนั ละ 2 คร้ัง เชา้ และเยน็ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ตัวยาจุนสีต้องสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.11) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๓๑๕. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. 88 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกม้ านลม ท่ีมาของต�ำรับยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วดั โพธ)ิ์ [1, 2] “ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะอุทรโรค คือมานลม ๔ ประการ อันบังเกิดแต่ กองอโธคมาวาต อุทธังคมาวาต แลกองลมกุจฉิยาวาต โกฏฐาไสยาวาตน้ัน เม่ือแรกจะบังเกิดข้ึน ให้เป็นเหตุแห่ง อุทรโรค คือว่าด้วยลักษณะมานลม ๔ ประการน้ันสืบต่อไป ฯ อันว่าลักษณะมานลม ๔ประการนั้นจะขอยก แยกออกว่าแต่อุทรโรค อันบังเกิดแต่กองอโธคมาวาตน้ันก่อนเป็นปฐม คือกระท�ำให้ลมนั้นตั้งอยู่ในนาภี มิได้ พลดั ลงไปเปน็ ปรกติ จึงให้พะอืดพะอมแลให้นาภนี ัน้ ขนึ้ มิรู้วาย บางทใี ห้จุก บางทีใหแ้ น่นไปทง้ั ท้องจะบรโิ ภคอาหาร มไิ ด้ ให้อิ่มไปดว้ ยลมเป็นก�ำลัง จะผายลมกม็ ไิ ดส้ ะดวก ให้อุทรนนั้ ผูกเป็นพรรดึกโดยกำ� ลังลมกองนกี้ ระทำ� จึงใหน้ าภี นั้นขนึ้ พอสงั เกตตั้งอยู่ใตส้ ะดอื ๒ นวิ้ ครั้นงวดจึงกระจายออกแล้วกลับแขง็ เข้าเล่าลอยขึน้ มาทับเสน้ อัณฑพฤกษอ์ ยู่ ลมนัน้ จงึ พัดกล้าขน้ึ ให้นาภีนนั้ ใหญอ่ อกแล้วแขง็ ดงั ประดจุ กลา่ วมาดงั น้ี ฯ ถา้ จะแก้ เอาจันทน์แดง จนั ทน์ขาว จนั ทนช์ ะมด เทพทาโร ขา่ ตน้ กรุงเขมา แกน่ แสมสาร แกน่ แสมทะเล รากคนทีสอ สิ่งละส่วน มหาหิงคุ์ สมอพิเภก มะขามป้อม สมอไทย ว่านน�้ำ ส่ิงละ ๓ ส่วน หัศคุณเทศ ๕ ส่วน ท�ำเปน็ จุณบดละลายน้�ำสม้ ซา่ กินหนกั ๑ สลงึ แกอ้ ุทรโรคกล่าวคือมานลม นั้นหายดีนกั ฯ” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 15 ชนดิ รวมปริมาณ 29 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา 5 สว่ น หสั คุณเทศ 3 ส่วน มหาหิงค์ ุ 3 ส่วน มะขามปอ้ ม 3 ส่วน ว่านนำ้� 3 สว่ น สมอไทย 3 สว่ น สมอพิเภก 1 ส่วน กรุงเขมา 1 ส่วน ข่าตน้ 1 สว่ น คนทสี อ (ราก) 1 ส่วน จันทน์ขาว 1 ส่วน จนั ทน์ชะมด 1 ส่วน จันทนแ์ ดง 1 ส่วน เทพทาโร 1 ส่วน แสมทะเล 1 ส่วน แสมสาร สรรพคณุ ขบั ผายลม แก้ลมพรรดกึ รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ คร้งั ละ 400-800 มิลลกิ รมั ละลายนำ้� สม้ ซา่ กินวันละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ขอ้ มูลเพ่มิ เติม ตวั ยาหสั คณุ เทศต้องคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) กระทรวงสาธารณสขุ 89
เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เลม่ ๒. พมิ พค์ รั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. ยาแกม้ านหนิ สูตร 1 ทมี่ าของต�ำรบั ยา ศลิ าจารึกตำ� รายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ์) [1, 2] “ลำ� ดบั นจี้ ะกลา่ วดว้ ยนยั อนั หนง่ึ ใหม่ วา่ ดว้ ยลกั ษณะอทุ รโรคคอื มานหนิ อนั บงั เกดิ แตก่ องโกฏฐาสยาวาต อัณฑพฤกษ์ รัตตฆาต ซึ่งระคนกนั นั้นเป็นคำ� รบ ๔ คอื โกฏฐาสยาวาตพดั ในลำ� ไส้นนั้ กลา้ ยิง่ นัก ใหล้ �ำไส้น้ันพองข้ึน ทับอัณฑพฤกษ์ รัตตฆาตน้ันจึงจมไปแขวนติดกระดูกสันหลังอยู่ ยันลงมาเอาท้องน้อยให้ตึงหน้าเหน่าเป็นก�ำลังแล้ว ตั้งเป็นก้อนแข็งใหญ่ขึ้น มีอาการแต่ให้ถ่วงท้องน้อยและให้ยอกสันหลัง หน้าตะโพกอันว่า มานหินท้ัง ๔ ประการ ซ่ึงกล่าวมาน้ี โทษจะได้เหมือนมานน้�ำ มานลมนั้นหามิได้ เป็นแต่นาภีนั้นใหญ่ดุจหญิงทรงครรภ์ ด้วยเป็นชาติ โรคใหบ้ งั เกิดดุจอาจารย์กล่าวไวด้ ังนี้ ฯ อน่ึง เอาตรกี ฏกุ ไพล ข่าหลวง กระชาย มหาหิงค์ุ การบูร เปลือกมะรุม ว่านนำ้� วา่ นเปราะ ผลพิลังกาสา ส่งิ ละสว่ น ผวิ มะกรดู พรกิ ไทย ขิงแหง้ สิ่งละ ๒ สว่ น ใบสมอทะเลนึ่ง ๒๐ ส่วน ทำ� เป็นจณุ ละลายนำ�้ ผึ้งใหก้ นิ หนกั ๑ สลึง แก้มานหนิ อนั บังเกดิ แตก่ องโกฏฐาสยาวาต กองอัณฑพฤกษ์ กองรัตตฆาต ระคนกนั นั้นหายวิเศษนัก ฯ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 14 ชนดิ รวมปรมิ าณ 38 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 20 ส่วน สมอทะเล (ใบ) 3 ส่วน ขงิ แหง้ 3 สว่ น พริกไทย 2 ส่วน มะกรูด 1 สว่ น กระชาย 1 สว่ น การบูร 1 สว่ น ขา่ หลวง 1 ส่วน ดีปลี 1 ส่วน พลิ ังกาสา 1 สว่ น ไพล 1 สว่ น มหาหงิ ค์ ุ 1 ส่วน มะรุม 1 ส่วน วา่ นน้�ำ 1 ส่วน ว่านเปราะ 90 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคณุ เปน็ ยาถา่ ย ระบาย ขับลม ในผ้ปู ว่ ยทอ้ งมาน รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 0.9-1.5 กรมั กินวันละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ตามธาตุหนกั เบา ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ตวั ยามหาหงิ คตุ์ อ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เลม่ ๒. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแก้มานหิน สูตร 2 ที่มาของต�ำรับยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์)ิ [1, 2] “ล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะอุทรโรคคือมานหิน อันบังเกิดแต่กองกุจฉิสยาวาต อัณฑพาต ปัตฆาต ซึ่งระคนกันนั้นเป็นค�ำรบ ๓ คือกุจฉิสยาวาตนั้น ก�ำเริบข้ึนในอุทรกล้ายิ่งนัก มิได้พัดลง ตามช่องทวาร จึงกระท�ำให้อัณฑพาต ปัตฆาต เป็นเถาแข็งโดยอ�ำนาจลมเดินในล�ำเส้นน้ันกล้า เส้นนั้น ก็พองขึ้น ติดกบั ชายโครงขา้ งขวา เปน็ แผ่นแข็งดจุ แผ่นเหล็ก มอี าการให้แนน่ โครงแลว้ กระทำ� ใหเ้ จ็บอยสู่ องสามวนั แลว้ หายไป โดยก�ำลังพิษวาโยกระทำ� ดงั กล่าวมานี้ ฯ อน่งึ เอาตรีกฏุก ว่านน�้ำ ผวิ มะกรดู มหาหงิ ค์ุ สิง่ ละส่วน เทียนเยาวพาณี เปราะหอม การบูร เจตมลู เพลิง ส่งิ ละ ๒ สว่ น เทียนขาว ๓ ส่วน ผักแพวแดง ๖ ส่วน บดท�ำแท่งไวล้ ะลายน้�ำสม้ ซ่าให้กนิ หนกั ๑ สลงึ แก้อทุ รโรค คือมานหิน อันบังเกดิ แตก่ องกจุ ฉิสยาวาต อณั ฑพาต ปัตฆาต ซึง่ ระคนกันน้ันหายดนี กั ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 12 ชนดิ รวมปริมาณ 23 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 6 ส่วน ผักแพวแดง 3 สว่ น เทยี นขาว 2 สว่ น การบูร 2 ส่วน เจตมลู เพลงิ แดง 2 สว่ น เทียนเยาวพาณ ี 2 ส่วน เปราะหอม 1 สว่ น ขิงแห้ง 1 ส่วน ดีปล ี 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 ส่วน มหาหงิ คุ์ 1 สว่ น มะกรดู 1 ส่วน วา่ นน�้ำ กระทรวงสาธารณสขุ 91
สรรพคุณ ขับลมในชอ่ งท้องซ่งึ ท�ำใหม้ ีอาการจุกเสยี ดแน่นชายโครง รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 0.6-1 กรัม ละลายน�ำ้ สม้ ซา่ กินวันละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใช้ในเดก็ สตรตี ้งั ครรภ์ และผ้ทู มี่ ไี ข้ ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ตวั ยามหาหงิ คุต์ ้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) เลม่ ๒. พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแกม้ ตุ ฆาต สตู ร 1 ที่มาของต�ำรับยา แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 1 [1, 2] “มตุ รฆาฏ ๔ ประการ วา่ เม่อื จะถ่ายปสั สาวะออกมานัน้ ใหป้ วดใหข้ ดั เจบ็ เปนก�ำลงั ให้โลหิตช�ำ้ เปนหนอง ข้นขุ่นด�ำดุจดังน้�ำครามนั้น ชื่อมุตรฆาฏ อันน้ีเกิดด้วยกระทบชอกช�้ำจึ่งส�ำแดงโทษเปนดังน้ี กระท�ำให้ขัดราวข้าง ดุจเส้นปัตฆาฏ แลให้เสียดแทงในอก จะไหวไปมามิสดวก บริโภคอาหารมิได้ให้อาเจียรเปนลมเปล่ารู้มิถึงว่า เปนเมด็ ยอดภายใน ขนานหน่งึ เอา โกฐทัง้ 5 ชะมด 1 พิมเสน 1 ดอกจันทน์ 1 แหว้ หมู 1 รากขี้กาแดง 1 การะบูร 1 ขิงแห้ง 1 ขัดมอน 1 ตรีผลา 1 เทียนด�ำ 1 น�้ำประสานทอง 1 ยาท้ังน้ีเอาเสมอภาคท�ำผงละลายน�้ำผึ้งรวง กนิ แก้มุตฆาฏแล” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 18 ชนิด รวมปรมิ าณ 18 สว่ น ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 1 ส่วน การบรู 1 ส่วน โกฐเขมา 1 ส่วน โกฐจฬุ าลมั พา 1 ส่วน โกฐเชยี ง 1 สว่ น โกฐสอ 1 สว่ น โกฐหัวบวั 1 สว่ น ขดั มอน 1 ส่วน ขงิ แห้ง 1 ส่วน ขกี้ าแดง (ราก) 1 ส่วน ชะมดเชด็ 92 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตวั ยา ปริมาณตัวยา ดอกจันทน์ 1 ส่วน เทียนดำ� 1 ส่วน นำ้� ประสานทอง 1 ส่วน พมิ เสน 1 ส่วน มะขามปอ้ ม 1 สว่ น สมอไทย 1 ส่วน สมอพเิ ภก 1 ส่วน แห้วหม ู 1 ส่วน สรรพคณุ แก้มตุ ฆาต รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 0.9-1.5 กรมั กนิ วันละ ๓ ครง้ั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น ข้อมูลเพมิ่ เติม - ยาต�ำรับนี้โบราณระบุให้บดเป็นผงละลายน�้ำผึ้งรวงกิน จึงสามารถท�ำเป็นรูปแบบ ยาลกู กลอนได้ เพือ่ ให้สะดวกในการกินและเก็บไว้ได้นาน - สูตรต�ำรับดั้งเดิมของยาต�ำรับน้ีไม่ได้ก�ำหนดขนาดและวิธีการใช้เอาไว้ คณะท�ำงาน จึงมีมติให้ก�ำหนดขนาดและวิธีใช้ของยาต�ำรับนี้เป็น “คร้ังละ 0.9-1.5 กรัม กินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น” และสาเหตุที่ยาต�ำรับน้ี ตอ้ งกนิ 3 เวลา เน่อื งจากอาการของโรคมุตฆาตเปน็ อาการเฉยี บพลันและรนุ แรง - ตัวยาชะมดเชด็ ต้องฆา่ ฤทธ์กิ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.12) - ตัวยานำ้� ประสานทองตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.16) เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 2๗1 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 93
ยาแกม้ ตุ ฆาต สตู ร ๒ ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ 1 [1, 2] “มุตรฆาฏ ๔ ประการ ว่าเมื่อจะถ่ายปัสสาวะออกมาน้ันให้ปวดให้ขัดเจ็บเปนก�ำลัง ให้โลหิตช้�ำเปน หนองขน้ ขนุ่ ดำ� ดจุ ดงั นำ�้ ครามนน้ั ชอ่ื มตุ รฆาฏ อนั นเี้ กดิ ดว้ ยกระทบชอกชำ�้ จง่ึ สำ� แดงโทษเปนดงั นี้ กระทำ� ใหข้ ดั ราวขา้ ง ดุจเส้นปัตฆาฏ แลให้เสียดแทงในอก จะไหวไปมามิสดวก บริโภคอาหารมิได้ให้อาเจียรเปนลมเปล่า รู้มิถึงว่า เปนเม็ดยอดภายใน… ขนานหน่ึงเอา โกฐสอ ๑ อบเชย ๑ งาเมด็ ๑ เจตมลู เพลิง ๑ บอระเพ็ด ๑ ชะมด ๑ มกู มัน ๑ พมิ เสน ๑ มหาหิงค์ุ ๑ โกฐก้านพร้าว ๑ บุกรอ ๑ อุตพิด ๑ โลทนง ๑ รากชะคราม ๑ ไพล ๑ ใบคนทิสอ ๑ เกลอื สมทุ ๑ โคกกระสนุ ๑ พรกิ เทศ ๑ กะเทยี ม ๑ นำ�้ ประสานทอง ๑ เทียนท้ัง ๕ รากจิงจ้อ ๑ ผลจิงจ้อ ๑ เสมอภาค ทำ� เปนผง ละลายน้�ำร้อน กินบ�ำบัดโรคทั้ง ๑๒ ประการในปัสสาวะ คือให้น�้ำปัสสาวะเปนโลหิต แลน�้ำปัสสาวะแดงเปน มุตรฆาฏแลช�้ำรัว่ โรคแหง่ สตั รี และเปนเสมหะ อปุ ะทมแลริศดวงซง่ึ กล่าวมา จบมุตรฆาฏ” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 28 ชนิด รวมปริมาณ 28 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา กระเทียม 1 ส่วน เกลือสมทุ ร 1 ส่วน โกฐก้านพร้าว 1 ส่วน โกฐสอ 1 ส่วน คนทสี อ 1 ส่วน โคกกระสนุ 1 ส่วน งา 1 ส่วน จิงจอ้ 1 ส่วน จิงจ้อ (ผล) 1 สว่ น เจตมลู เพลิงแดง 1 สว่ น ชะคราม 1 สว่ น ชะมดเช็ด 1 สว่ น เทยี นขาว 1 ส่วน เทียนข้าวเปลือก 1 ส่วน เทียนด�ำ 1 ส่วน เทยี นแดง 1 ส่วน เทยี นตาตัก๊ แตน 1 ส่วน น�้ำประสานทอง 1 ส่วน บอระเพ็ด 1 ส่วน 94 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 ส่วน บกุ รอ 1 ส่วน พรกิ เทศ 1 ส่วน พิมเสน 1 สว่ น ไพล 1 สว่ น มหาหงิ ค์ุ 1 ส่วน โมกมนั 1 ส่วน โลดทะนง 1 สว่ น อบเชย 1 ส่วน อตุ พดิ สรรพคณุ แก้มตุ ฆาต แกช้ ้ำ� รัว่ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 0.9-1.5 กรมั กินกับน้ำ� อุ่น วนั ละ ๓ ครงั้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ขอ้ มลู เพมิ่ เติม - สตู รตำ� รับด้งั เดิมของยาตำ� รบั นก้ี �ำหนดให้ “ท�ำเปน็ ผง ละลายน้�ำรอ้ นกนิ ” แตผ่ ู้ทรง คณุ วฒุ มิ คี วามเหน็ วา่ ควรทำ� เปน็ รปู แบบยาลกู กลอน เพอื่ ใหก้ นิ งา่ ยและเกบ็ ไวไ้ ดน้ าน โดยให้กินกบั น�้ำอุน่ - สูตรต�ำรับด้ังเดิมของยาต�ำรับนี้ไม่ได้ก�ำหนดขนาดและวิธีการใช้เอาไว้ คณะท�ำงาน จึงมมี ตใิ หก้ ำ� หนดขนาดและวธิ ใี ชข้ องยาตำ� รับนเี้ ป็น “ครงั้ ละ 0.9-1.5 กรมั กินกบั น้�ำอุ่นวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น” และสาเหตุท่ียาต�ำรับน ้ี ตอ้ งกิน 3 เวลา เน่ืองจากอาการของโรคมุตฆาตเป็นอาการเฉยี บพลันและรุนแรง - “อบเชย” ท่ีใช้ในต�ำรับยาแผนไทยหากไม่ระบุว่าเป็นชนิดใด ให้ถือว่าเป็นอบเชย ที่หาได้ในท้องถ่ิน คือ Cinnamomum bejolghotha (Buch-Ham.) Sweet หรือ Cinnamomum iners Reinw. ex Blume - “โลดทะนง” ที่ใช้ในต�ำรับยาแผนไทยคือชนิด Trigonostemon albiflorus Airy Shaw - ตัวยาชะมดเชด็ ตอ้ งฆ่าฤทธิ์กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.12) - ตวั ยามหาหิงค์ุต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยาบกุ รอต้องควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.18) - ตัวยาอตุ พดิ ตอ้ งคัว่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) - ตัวยาน�้ำประสานทองตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.16) เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 2๗1 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสขุ 95
ยาแก้ระดูขัด ที่มาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [๑, ๒] “ยาแกร้ ะดขู ดั ทา่ นใหเ้ อาฝักสม้ ป่อย ๒ สลงึ ลูกผกั กาด ๒ สลงึ เทยี นดำ� ๒ สลงึ รากส้มกงุ้ ๒ สลงึ หางไหลแดง ๒ สลึง ยาด�ำ ๑ บาท ใบสมอทะเลเท่ายาทั้งหลาย ต้มกิน ถ้าจะให้ลง แทรกดีเกลือ แล้วกินไป อย่าใส่ดีเกลอื เลย โลหติ งามดนี กั แล ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 7 ชนดิ รวมปรมิ าณ 105 กรัม ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา สมอทะเล (ใบ) 52.5 กรมั ยาดำ� เทยี นดำ� 15 กรมั เมล็ดพรรณผกั กาด 7.5 กรมั สม้ กุง้ 7.5 กรัม สม้ ป่อย (ฝัก) 7.5 กรัม หางไหลแดง 7.5 กรมั 7.5 กรมั สรรพคุณ แกร้ ะดขู ัด รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครัง้ ละ 100 มลิ ลลิ ติ ร กินวันละ 2 ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ ดมื่ ขณะยายงั อนุ่ ให้ดื่มจนกว่าประจ�ำเดือนจะมา แต่ไม่ควรดื่มติดต่อกันเกิน 1 เดือน ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ต่อกัน ๕-๗ วนั โดยใหอ้ ุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครงั้ ก่อนใช้ยา ข้อห้ามใช ้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลงั คลอด หญงิ ตงั้ ครรภ์ และผมู้ ไี ข้ - ห้ามใชใ้ นหญงิ ท่ีกำ� ลงั มีระดู เพราะจะทำ� ให้มีการขบั ระดอู อกมามากขนึ้ ข้อมูลเพ่ิมเติม - ต�ำรับยาน้ีควรใช้ภายใต้การควบคุมดูแลของแพทย์แผนไทย เน่ืองจากต้องมีการ ติดตามผลการใช้และการรักษาอย่างต่อเนื่องเพราะต�ำรับยามีฤทธ์ิเป็นยาถ่าย ดังน้ัน เม่ือกินยาในวันแรกถ้ามีอาการถ่ายมาก ให้ลดปริมาณยาที่กินต่อมื้อ ไม่ต้องแทรกดีเกลือ แต่หากกินแล้วยังไม่มีการขับถ่ายออกมา จึงค่อยแทรกดีเกลือ ในยาหมอ้ ต่อ ๆ ไป - ตวั ยาสมอทะเล (ใบ) ต้องน่งึ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.35) - ตวั ยายาดำ� ตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตัวยาสม้ ป่อยตอ้ งปิง้ ไฟกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.34) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 218. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง. หน้า ๑. 96 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ร�ำมะนาด ท่มี าของตำ� รับยา ศลิ าจารึกตำ� รายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ)์ิ [1, 2] “ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะวัณโรคบังเกิดภายในอันชื่อว่า ทันตกุฏฐัง บังเกิด ในกรามนั้นเป็นค�ำรบ ๒ ถ้าขึ้นขวาช่ือว่าทันตกุฏฐัง ถ้าบังเกิดข้ึนซ้ายนั้นได้ช่ือทันตมุนลัง มีประเภทดุจกันผิดกัน แต่ช่ือเม่ือแรกต้ังข้ึน มีวรรณะสัณฐานดังเม็ดข้าวโพด มีสีแดง สีเหลือง สีผลหว้า บางทีแข็งดุจเม็ดหูด ร้ายนัก เมื่อแตกออกมีสัณฐานดังดอกล�ำโพง แล้วเปื่อยลามเข้าไปถึงล�ำคอ มีน�้ำเหลืองมากกว่าบุพโพ มีพิษกล้ายิ่งนัก กระทำ� ให้ปวดแตต่ ้นคางขนึ้ ไปกระหมอ่ ม ฟกบวมออกมาภายนอก ให้จับสะบัดร้อนสะบัดหนาว ใหบ้ ริโภคอาหารมิได้ แพทย์มิรู้ถึง ก็สมมุติว่ามะเร็งร�ำมะนาด ย่อมตายเสียเป็นอันมาก ดุจอาจารย์ท่านกล่าวไว้ดังนี้ ฯ ถ้าจะแก้ให้แก้ แต่ยงั มแิ ตกยังอ่อนอยู่นน้ั ๆ ขนานหน่งึ เอา เกลือสนิ เธาว์ พนั ธผ์ุ กั กาด สมอเทศ สมอไทย สมอพิเภก โกฐกระดกู วา่ นน�้ำ หญา้ รงั กา ใบสะเดา ขิงแห้ง ดีปลี เทียนด�ำ เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ ละลายสุราทาเกล่ือนฝีอันชื่อว่า ทนั ตกุฏฐงั อันบงั เกดิ ต้นกรามน้นั หายดนี กั ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 12 ชนดิ รวมปรมิ าณ 12 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา เกลือสินเธาว์ 1 ส่วน โกฐกระดูก 1 ส่วน ขงิ แห้ง 1 สว่ น ดปี ล ี 1 สว่ น เทียนด�ำ 1 สว่ น เมลด็ พรรณผักกาด 1 สว่ น วา่ นน�ำ้ 1 ส่วน สมอเทศ 1 สว่ น สมอไทย 1 ส่วน สมอพเิ ภก 1 สว่ น สะเดา 1 ส่วน หญ้ารงั กา 1 ส่วน สรรพคุณ แกร้ ำ� มะนาดและเหงอื กบวมในระยะแรก รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ คร้งั ละ 300-600 มลิ ลิกรมั ทาวนั ละ 3-4 ครงั้ เกลอ่ื นบรเิ วณเหงอื กที่บวม เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เลม่ ๒. พมิ พค์ ร้ังท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสุข 97
ยาแกร้ ดิ สดี วงจมกู สตู ร ๑ ทมี่ าของตำ� รบั ยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) [1, 2] “ล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันช่ือว่าฆานะ กล่าวคือ โรคริดสีดวง อันบังเกิดขึ้นในนาสิกนั้นเป็นค�ำรบ ๓ มีอาการกระท�ำให้หายใจขัด บางทีเป็นเม็ดยอดข้ึนในนาสิก แล้วแตก ล�ำลาบออกเหม็นคาวคอกระท�ำพิษให้ปวด ให้แสบร้อนเป็นก�ำลัง บางทีให้น้�ำมูกไหลอยู่เป็นนิจ ใสดุจน�้ำฝน ให้เหมน็ คาวคอย่ิงนัก ฯ อน่ึง เอาบุกรอ ดองดึง ผลมะกล่ำ� ใหญ่ ดีปลี มะขามป้อม สมอไทย สมอเทศ กระวาน สมุลแว้ง ชะเอมเทศ โกฐสอ เทียนขาว เทียนสตั ตบษุ ย์ เทยี นเยาวพาณี สง่ิ ละสว่ น เจตมลู เพลงิ ๒ สว่ น ท�ำเปน็ จณุ บด ทำ� แทง่ ไว้ละลายนำ�้ กระสายอันควรแก่โรคให้กิน แก้ริดสีดวงอันบังเกิดในนาสิก อันอาจารย์กล่าวไว้สืบ ๆ กันมา อย่าสนเท่ห์เลย ไดใ้ ช้มามากแลว้ เปน็ มหาวเิ ศษนัก ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑5 ชนิด รวมปริมาณ 16 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา เจตมลู เพลิง 2 สว่ น กระวาน ๑ สว่ น โกฐสอ ๑ ส่วน ชะเอมเทศ ๑ ส่วน ดองดึง ๑ ส่วน ดปี ล ี ๑ สว่ น เทยี นขาว ๑ สว่ น เทียนเยาวพาณี ๑ ส่วน เทียนสัตตบุษย์ ๑ สว่ น บุกรอ ๑ สว่ น มะกลำ�่ ใหญ่ ๑ สว่ น มะขามป้อม ๑ ส่วน สมอเทศ ๑ ส่วน สมอไทย ๑ สว่ น สมลุ แว้ง ๑ สว่ น สรรพคุณ แก้ริดสดี วงจมกู รปู แบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 1-2 กรมั กินวนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ต้งั ครรภ ์ ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาบุกรอต้องค่วั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.18) - ตัวยาดองดึงตอ้ งนึง่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) 98 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เลม่ ๒. พิมพค์ รั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. ยาแกร้ ิดสดี วงจมูก สตู ร ๒ ที่มาของต�ำรับยา ศลิ าจารึกต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์ิ) [1, 2] “ล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันช่ือว่าฆานะ กล่าวคือ โรคริดสีดวง อนั บงั เกดิ ขน้ึ ในนาสกิ นน้ั เปน็ คำ� รบ ๓ มอี าการกระทำ� ใหห้ ายใจขดั บางทเี ปน็ เมด็ ยอดขน้ึ ในนาสกิ แลว้ แตกลำ� ลาบออก เหม็นคาวคอกระท�ำพิษให้ปวด ให้แสบร้อนเป็นก�ำลัง บางทีให้น�้ำมูกไหลอยู่เป็นนิจ ใสดุจน�้ำฝน ให้เหม็นคาวคอ ยิ่งนกั ฯ อนึง่ เอาขงิ แหง้ ดองดึง อตุ พดิ กระดาดแดง กระดาดขาว บกุ รอ กลอย กระวาน สงิ่ ละส่วน พริกไทย ๘ ส่วน ทำ� เป็นจณุ บดละลายนำ้� รอ้ นกนิ แกร้ ดิ สดี วงอนั เกิดแต่นาสกิ นนั้ หายดนี กั ฯ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 9 ชนดิ รวมปรมิ าณ 16 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 8 สว่ น พริกไทย ๑ สว่ น กระดาดขาว ๑ สว่ น กระดาดแดง ๑ ส่วน กระวาน ๑ ส่วน กลอย ๑ สว่ น ขงิ แห้ง ๑ สว่ น ดองดึง ๑ ส่วน บุกรอ ๑ สว่ น อตุ พดิ สรรพคุณ แกร้ ดิ สดี วงจมกู รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ 1-2 กรัม วนั ละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ขอ้ มูลเพิม่ เติม - ตัวยากระดาดขาวตอ้ งปงิ้ ไฟหรอื นึ่งก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.1) - ตวั ยากระดาดแดงตอ้ งปิง้ ไฟหรือนง่ึ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.2) กระทรวงสาธารณสุข 99
- ตวั ยากลอยต้องควั่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๓) - ตวั ยาดองดึงต้องนึง่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตัวยาบกุ รอต้องคั่วก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตวั ยาอุตพดิ ตอ้ งควั่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เลม่ ๒. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแกร้ ดิ สีดวงทวารหนัก สตู ร ๑ ทม่ี าของตำ� รบั ยา ศลิ าจารึกตำ� รายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ)์ [1, 2] “ล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันช่ือว่าบานทะโรค กล่าวคือริดสีดวง อนั บังเกดิ ขึน้ ตามขอบทวารรอบน้ันเป็นค�ำรบ ๑๗ มีลกั ษณะอาการกระท�ำให้เป่อื ยไปทัง้ ทวารหนัก เปน็ บุพโพโลหติ เหม็นเน่า เหม็นโขงย่ิงนัก ให้ปวดแสบปวดร้อนเป็นก�ำลัง และอุจจาระน้ันผูกเข้ามิได้ ถ้าผูกเข้ากระท�ำให้เจ็บปวด ให้ตงึ ไปทงั้ ทวาร มคี วามเวทนาเปน็ อนั มาก ฯ ถ้าจะแก้เอา รากถ่ัวพู รากมะแว้งเครือ รากมะเขือข่ืน หอมแดง หญ้าแพรก หญ้าปากควาย ใบกะเม็ง ใบตำ� ลงึ ตัวผู้ ผลล�ำโพงกาสลกั เอาน�้ำส่ิงละถว้ ย น�ำ้ มันงาถว้ ย ๑ หงุ ดว้ ยไฟแกลบใหค้ งแตน่ ำ้� มนั แลว้ จงึ เอา ดีงเู หลอื ม ๑ เฟ้อื ง ปรงุ ลงในน�้ำมนั ทาแก้ริดสดี วงอันบังเกิดขึน้ ตามขอบทวารหนกั น้ันหายดนี ัก ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๐ ชนดิ ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา งเู หลอื ม 1.875 กรมั กะเม็ง (น�้ำคั้นจากใบ) ต�ำลึงตัวผู้ (น้�ำคนั้ จากใบ) 150 มลิ ลลิ ติ ร ถวั่ พู (นำ้� คน้ั จากราก) 150 มลิ ลิลติ ร น�้ำมันงา 150 มิลลลิ ิตร มะเขือข่ืน (นำ้� คน้ั จากราก) 150 มลิ ลิลติ ร มะแวง้ เครอื (นำ้� คัน้ จากราก) 150 มิลลิลิตร ล�ำโพงกาสลกั (นำ้� คนั้ จากผล) 150 มิลลิลติ ร หญ้าปากควาย (น้�ำคน้ั จากท้ังตน้ ) 150 มิลลลิ ติ ร หญ้าแพรก (น้ำ� คั้นจากทั้งตน้ ) 150 มิลลิลิตร หอมแดง (น�ำ้ ค้ันจากหัว) 150 มิลลิลติ ร 150 มิลลิลติ ร 100 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แก้ริดสดี วงทวารหนัก รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก 3.6) ขนาดและวิธีการใช้ ทาบริเวณทีเ่ ป็นอย่างนอ้ ยวนั ละ ๓ ครง้ั เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) เลม่ ๒. พิมพค์ รงั้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. ยาแกร้ ดิ สีดวงทวารหนัก สูตร ๒ ที่มาของตำ� รับยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วดั โพธ)์ิ [1, 2] “ล�ำดับน้ีจะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันช่ือว่าบานทะโรค กล่าวคือริดสีดวง อนั บังเกดิ ขึ้นตามขอบทวารรอบนั้นเปน็ คำ� รบ ๑๗ มลี กั ษณะอาการกระทำ� ใหเ้ ปอ่ื ยไปท้ังทวารหนัก เป็นบุพโพโลหิต เหมน็ เน่า เหม็นโขงย่ิงนกั ให้ปวดแสบปวดร้อนเป็นก�ำลงั และอุจจาระนั้นผกู เข้ามไิ ด้ ถา้ ผกู เขา้ กระทำ� ใหเ้ จบ็ ปวดใหต้ งึ ไปท้งั ทวาร มคี วามเวทนาเปน็ อันมาก ฯ ขนานหนึ่ง เอา พรกิ ไทย ขิงแห้ง ผลกระวาน ผลจนั ทน์ สะคา้ น ดปี ลี รากช้าพลู รากกัญชา เอาเสมอภาค ทำ� เปน็ จณุ บดละลายน�ำ้ ผง้ึ รวงกินหนัก ๑ สลงึ แกร้ ิดสดี วงอนั บังเกดิ ขึ้นตามขอบทวารหนัก หายดีนกั ฯ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 8 ชนดิ รวมปริมาณ 8 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา กระวาน ๑ สว่ น กญั ชา (ราก) ๑ ส่วน ขงิ แหง้ ๑ สว่ น ชะพลู ๑ สว่ น ดปี ลี ๑ ส่วน พรกิ ไทย ๑ ส่วน ลูกจันทน ์ ๑ ส่วน สะค้าน ๑ สว่ น สรรพคุณ แกร้ ิดสีดวงทวารตามขอบทวารหนกั รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ กนิ ครั้งละ 0.9-1.๕ กรัม วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ตวั ยากัญชาตอ้ งควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) กระทรวงสาธารณสขุ 101
เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)์ิ เลม่ ๒. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาแกร้ ิดสีดวงทวารหนกั สูตร ๓ ทม่ี าของตำ� รับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ)ิ์ [1, 2] “ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันช่ือว่าบานทะโรค กล่าวคือริดสีดวง อันบังเกิดขนึ้ ตามขอบทวารรอบนัน้ เป็นค�ำรบ ๑๗ มีลกั ษณะอาการกระท�ำให้เปอื่ ยไปท้ังทวารหนกั เป็นบุพโพโลหติ เหม็นเน่า เหม็นโขงยิ่งนัก ให้ปวดแสบปวดร้อนเป็นก�ำลัง และอุจจาระน้ันผูกเข้ามิได้ ถ้าผูกเข้ากระท�ำให้เจ็บปวด ใหต้ ึงไปทง้ั ทวาร มคี วามเวทนาเปน็ อันมาก ฯ ขนานหนึ่ง เอา สเี สยี ดเทศ ยาขา้ วเยน็ เนระพสู ี หญ้าปากควาย เอาเสมอภาคตม้ ตามวิธีให้กนิ แกร้ ิดสดี วง อนั บงั เกิดขึน้ ขอบทวารหนกั หายดนี กั ฯ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 4 ชนดิ รวมปริมาณ 4 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ข้าวเย็นเหนอื ๑ ส่วน เนระพสู ี ๑ สว่ น สีเสียดเทศ ๑ สว่ น หญา้ ปากควาย ๑ สว่ น สรรพคุณ แก้ริดสดี วงทวารตามขอบทวารหนกั ที่มีเลือดออก รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ ๑๐๐-๑๕๐ มิลลิลิตร กินวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ใหด้ ื่มตามอาการของโรคและกำ� ลังของผปู้ ่วย ด่มื ขณะยายงั อุน่ ยา ๑ หมอ้ ใช้ตดิ ตอ่ กนั ๕-๗ วนั โดยให้อนุ่ น�้ำสมนุ ไพรทกุ ครง้ั กอ่ นใช้ยา ค�ำเตอื น ควรระวังการใช้ในผูป้ ่วยท่มี อี าการท้องผูก ข้อมูลเพมิ่ เติม ตัวยาสเี สียดเทศต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.41) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) เลม่ ๒. พิมพค์ รั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. 102 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้รดิ สีดวงทวารหนกั สตู ร ๔ ทมี่ าของต�ำรบั ยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ์) [1, 2] “๏ ลำ� ดบั นจ้ี ะกลา่ วด้วยนัยอันหน่งึ ใหม่ วา่ ดว้ ยลกั ษณะหฤศโรค อันชอื่ วา่ บานทะโรค กลา่ วคือริดสดี วง อันบงั เกิดขึ้นตามขอบทวารรอบนั้นเป็นค�ำรบ ๑๗ มลี ักษณะอาการกระท�ำใหเ้ ปือ่ ยไปทงั้ ทวารหนัก เป็นบุพโพโลหติ เหม็นเน่า เหม็นโขงย่ิงนัก ให้ปวดแสบปวดร้อนเป็นก�ำลัง และอุจจาระนั้นผูกเข้ามิได้ ถ้าผูกเข้ากระท�ำให้เจ็บปวด ใหต้ งึ ไปท้ังทวาร มีความเวทนาเป็นอนั มาก ฯ ขนานหน่ึง เอา ดีปลี ใบหนาด ไพล ขิงแห้ง กัญชาเทศ รากส้มกุ้ง รากมะแว้งต้น รากมะแว้งเครือ รากมะเขือขนื่ บุกรอ กลอย อตุ พดิ กระดาดทัง้ สอง เกลอื สมุทร ดินประสวิ ขาว สารส้ม เอาเสมอภาค ทำ� เป็นจุณแล้ว จงึ เอาน�ำ้ มะนาว น้�ำส้มซ่า น�้ำผึง้ เอาเสมอภาคพอควร ใส่กระทะตัง้ ไฟให้งวด แลว้ เอายาผงน้ันใส่ลงกวนไปใหป้ นั้ ได้ จึงใหก้ นิ หนัก ๑ สลงึ แกร้ ดิ สดี วง อนั บังเกิดขึ้นขอบทวารหนกั หายดีนัก ฯ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑7 ชนิด รวมปรมิ าณ 17 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา กระดาดขาว ๑ สว่ น กระดาดแดง ๑ ส่วน กลอย ๑ สว่ น กัญชาเทศ ๑ ส่วน เกลือสมทุ ร ๑ สว่ น ขิงแหง้ ๑ สว่ น ดินประสิวขาว ๑ สว่ น ดีปลี ๑ สว่ น บุกรอ ๑ สว่ น ไพล ๑ สว่ น มะเขอื ขน่ื ๑ ส่วน มะแว้งเครือ (ราก) ๑ ส่วน มะแว้งตน้ (ราก) ๑ สว่ น สม้ กุ้ง ๑ สว่ น สารส้ม ๑ ส่วน หนาด ๑ สว่ น อตุ พดิ ๑ ส่วน สรรพคุณ แกร้ ดิ สดี วงทวารตามขอบทวารหนกั รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 0.9-1.5 กรัม กนิ วันละ ๓ ครง้ั ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น กระทรวงสาธารณสุข 103
ข้อมูลเพิ่มเตมิ - ตวั ยากระดาดขาวต้องปง้ิ ไฟหรอื น่งึ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.1) - ตัวยากระดาดแดงทต่ี ้องป้งิ ไฟหรอื นึง่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.2) - ตัวยากลอยต้องค่ัวกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) - ตัวยาดินประสวิ ตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.14) - ตัวยาบกุ รอต้องควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตวั ยาสารส้มต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) - ตวั ยาอตุ พดิ ต้องควั่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ เลม่ ๒. พิมพค์ รง้ั ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาแก้รดิ สีดวงลำ� คอ สตู ร ๑ ทม่ี าของตำ� รับยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) [1, 2] “ล�ำดบั นจี้ ะกลา่ วดว้ ยนัยหนง่ึ ใหม่ ว่าด้วยลกั ษณะหฤศโรค อนั ชื่อว่าโรหินีกลา่ วคือโรครดิ สีดวง อนั บงั เกดิ ในล�ำคอนั้นเป็นค�ำรบ ๕ มีอาการกระท�ำให้ชุ่มไปด้วยเสมหะ ให้เหม็นคาวล�ำคอเป็นก�ำลัง บางทีให้เน่าเหม็นโขง ให้ลำ� คอเปน็ เลือด บรโิ ภคอาหารมิไดไ้ มม่ รี ส ฯ ขนานหน่ึง เอาแก่นสน ส่วน ๑ ขิงแห้ง ๒ ส่วนท�ำเป็นจุณเอาน้�ำมะนาวเป็นกระสาย บดท�ำแท่งไว้ ละลายน�้ำมะง่วั สว่ นหนึ่ง นำ้� รอ้ นสองสว่ น แก้ริดสดี วงอนั บังเกิดในล�ำคอนนั้ หายดีนัก ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 2 ชนิด รวมปรมิ าณ 3 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 2 สว่ น ขิงแห้ง ๑ ส่วน สน สรรพคุณ แกร้ ิดสดี วงในลำ� คอ เม่ือมีเสมหะมาก เหมน็ คาวในลำ� คอ กนิ อาหารไม่รู้รส เปน็ ต้น รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 400-800 มิลลิกรัม ละลายน้�ำมะง่ัว 1 ช้อนชา น้�ำร้อน ๒ ช้อนชา ผสมใหเ้ ข้ากนั ป้ายคอวันละ ๒ ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ หรือเม่ือมเี สมหะมาก 104 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. ยาแก้ริดสีดวงล�ำคอ สตู ร ๒ ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ์) [1, 2] “ลำ� ดับนจี้ ะกลา่ วดว้ ยนัยหนึ่งใหม่ ว่าดว้ ยลักษณะหฤศโรค อนั ชือ่ วา่ โรหนิ ีกล่าวคือ โรคริดสีดวงอนั บงั เกดิ ในล�ำคอนั้นเป็นค�ำรบ ๕ มีอาการกระท�ำให้ชุ่มไปด้วยเสมหะ ให้เหม็นคาวล�ำคอเป็นก�ำลัง บางทีให้เน่าเหม็นโขง ใหล้ ำ� คอเปน็ เลอื ด บรโิ ภคอาหารมไิ ด้ไม่มรี ส ฯ ขนานหนึ่ง เอาใบมะนาว กระวาน รากมะเขือขืน่ ขมิ้นชนั สมอไทย ผกั แพวแดง เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณ บดท�ำแทง่ ไว้ละลายนำ้� รอ้ น กินแกร้ ิดสดี วงในลำ� คอนนั้ หายดนี ัก ฯ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมปรมิ าณ ๖ สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ๑ สว่ น กระวาน ๑ ส่วน ขมน้ิ ชนั ๑ สว่ น ผักแพวแดง ๑ ส่วน มะเขือข่นื ๑ ส่วน มะนาว (ใบ) ๑ ส่วน สมอไทย สรรพคุณ แก้ริดสีดวงในลำ� คอ เมอื่ มเี สมหะมาก เหมน็ คาวในล�ำคอ กินอาหารไมร่ ู้รส เปน็ ต้น รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 400-800 มลิ ลิกรัม ละลายนำ้� รอ้ น กนิ วันละ ๓ คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ หรอื เมือ่ มเี สมหะมาก เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เลม่ ๒. พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. กระทรวงสาธารณสขุ 105
ยาแก้ริดสดี วงลำ� ไส้ ท ่ีมาของตำ� รับยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) [1, 2] “ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะหฤศโรค อันชื่อว่าอันตคุณะ กล่าวคือโรคริดสีดวง อนั บังเกดิ ในล�ำไสน้ อ้ ยน้ันเป็นค�ำรบ ๙ มอี าการกระทำ� ใหล้ งท้องยง่ิ นัก อยูด่ ี ๆ ก็ลงไประคนดว้ ยวาโยมกี ำ� ลงั เม่ือไป อุจจาระนั้นดจุ ผายลม มีเสยี งอนั ดงั บางทมี ีเสมหะ บางทหี าเสมหะมไิ ด้ ใหห้ วิ โหยถอยกำ� ลงั ย่งิ นัก ฯ อนงึ่ เอากะทือ ไพล ขมิ้นอ้อย อบเชย เจตมลู เพลิง สมลุ แว้ง ข่าตน้ ขมิน้ เครือ สิง่ ละส่วน รากมะแว้ง ท้ังสอง สิ่งละ ๒ ส่วน ตรีกฏุก ส่ิงละ ๔ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำร้อนกินหนัก ๑ สลึง แก้ริดสีดวงอันบังเกิด ในลำ� ไส้นอ้ ยนั้นหายดีนกั ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๓ ชนิด รวมปรมิ าณ 24 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ขิงแหง้ 4 สว่ น ดปี ลี 4 สว่ น พริกไทย 4 สว่ น มะแว้งเครือ (ราก) 2 ส่วน มะแว้งต้น (ราก) 2 สว่ น กะทอื ๑ ส่วน ขมนิ้ เครือ ๑ ส่วน ขม้นิ อ้อย ๑ ส่วน ขา่ ตน้ ๑ ส่วน เจตมลู เพลิงแดง ๑ สว่ น ไพล ๑ สว่ น สมลุ แวง้ ๑ สว่ น อบเชยเทศ ๑ ส่วน สรรพคุณ แกร้ ดิ สดี วงล�ำไส้ทม่ี อี าการท้องเสยี บอ่ ย ๆ รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ 1-2 กรัม กินกับน้ำ� อุ่นวันละ ๓-๔ ครงั้ ก่อนอาหาร หรือเมื่อมอี าการ เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม ๒. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. 106 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้เรมิ แลงูสวดั ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาเริมแลงสู วดั ท่านให้เอา เปลอื กเพกา ฝนกับนำ้� ปนู ใสทาหายแล” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 2 ชนิด รวมปรมิ าณ 2 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา น้ำ� ปูนใส 1 สว่ น เพกา (เปลอื กฝกั ) 1 ส่วน สรรพคุณ แก้เรมิ และงูสวดั รูปแบบยา ยาทา (ดภู าคผนวก 3.14) วิธปี รงุ ยา น�ำเปลือกฝกั เพกาฝนกับนำ้� ปนู ใส ขนาดและวธิ กี ารใช้ ทาบรเิ วณท่เี ป็นวันละ 2-3 คร้ัง เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 239. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑39 ง. หนา้ ๑-3. ยาแกเ้ รือ้ นกวาง ท่ีมาของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกเ้ รอ้ื นกวาง เอา ลกู มะกอกเผาไฟ 1 บดละลายน�้ำมนั ดบิ ทาหายแล ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 2 ชนดิ รวมปริมาณ 2 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 ส่วน น�ำ้ มนั ยางนา* 1 สว่ น มะกอกปา่ *ต�ำรับน้ีใชน้ ้�ำมนั ยางนาแทนนำ้� มันดิบ กระทรวงสาธารณสขุ 107
สรรพคุณ แกเ้ รื้อนกวาง รูปแบบยา ยาน�้ำมนั (ดภู าคผนวก 3.6) วธิ ีปรุงยา นำ� เมล็ดมะกอกปา่ ทเ่ี ผาแลว้ บดให้ละเอยี ด ผสมกับนำ้� มันยางนา ขนาดและวิธีการใช้ ทาบรเิ วณที่เป็นวนั ละ 2 ครงั้ เชา้ และเยน็ ข้อมลู เพ่ิมเติม ตวั ยามะกอกป่าตอ้ งสุมก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.25) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 263. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. ยาแก้โรคจติ ท่ีมาของตำ� รบั ยา อายรุ เวทศึกษา [1, 2] “เอาเปลือกกุ่มน�้ำ ๒ บาท เปลือกมะรุม 6 บาท แห้วหมู เปล้าน้อย เปล้าใหญ่ รางแดง จันทน์เทศ เปลือกมะตูม ก้านกัญชา บอระเพ็ด เปลือกโมกมัน หญ้าชันกาด สนเทศ ส่ิงละ ๑ บาท ระย่อมเท่ายาท้ังหลาย รวมตาํ ผงละลายน้�ำร้อนแทรกพมิ เสน กินครั้งแรกหนกั ๒ ไพ ถ้านอนไมห่ ลับ ให้ทวยี าข้ึนไปถึง 1 สลงึ ” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 14 ชนดิ รวมปริมาณ 570 กรมั ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ระยอ่ ม 285 กรัม มะรมุ 90 กรัม กุ่มน้ำ� 30 กรมั กญั ชา (กา้ นใบ) 15 กรัม จนั ทนเ์ ทศ 15 กรัม บอระเพ็ด 15 กรมั เปล้านอ้ ย (ราก) 15 กรมั เปลา้ ใหญ่ (ราก) 15 กรมั มะตมู (เปลอื กต้น) 15 กรัม โมกมนั 15 กรัม รางแดง 15 กรมั สนเทศ 15 กรัม หญ้าชันกาด 15 กรมั แห้วหมู 15 กรัม 108 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคณุ แก้โรคลมท่ที �ำให้กังวล เครยี ด นอนไมห่ ลับ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง คร้ังละ 500 มิลลิกรัม ละลายน�้ำต้มสุกแทรกพิมเสนกินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น หากอาการไม่ดีข้ึน/หรือยังนอนไม่หลับ ปรับขนาดยาเป็น คร้ังละ 1 กรมั ละลายน้�ำต้มสกุ แทรกพมิ เสนกนิ วนั ละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ยาแคปซูล ครั้งละ 500 มิลลิกรัม กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น หากอาการไมด่ ขี นึ้ /หรอื ยงั นอนไมห่ ลบั ปรบั ขนาดยาเปน็ ครง้ั ละ 1 กรมั กนิ วนั ละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ควรเร่ิมกินจากขนาดยาน้อย ๆ ก่อน ถ้ายังมีอาการ นอนไมห่ ลบั อยู่ ให้เพิ่มขนาดยามากข้นึ ข้อห้ามใช้ - หา้ มใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภ์ ผู้ทมี่ ไี ข้ และผทู้ ม่ี อี ายตุ ำ�่ กวา่ 18 ปี - ห้ามใช้ในผู้ทใ่ี ชย้ าลดความดนั โลหติ ข้อควรระวงั - ควรระวังการใช้ยาต�ำรับท่ีมีระย่อมเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากสารส�ำคัญซึ่งมีฤทธ ์ิ ในการลดความดัน คือ สารเรเซอร์พีน (reserpine) และแอลคาลอยด์อ่ืน ๆ หากได้รับในขนาดที่สูงเกินไปจะเป็นพิษต่อระบบประสาท มีผลกดการท�ำงาน ของประสาท ท�ำให้เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ ปากแห้ง คัดจมูก ท้องร่วง มึนงง หนา้ มดื ใจสัน่ ซมึ มอื แขนสั่น หรือถงึ ขนั้ หัวใจหยดุ เตน้ ได้ ข้อมูลเพ่มิ เตมิ - ยาแก้โรคจิตต�ำรับนี้ เป็นต�ำรับยาตามต�ำราอายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม ๒ ทั้งน้ี ไม่ได้หมายถึงโรคจิตในความหมายของการแพทย์แผนปัจจุบัน (โรคทางจิตเวชและไบโพลาร์) - ตวั ยากัญชาตอ้ งค่ัวกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตัวยาระย่อมต้องค่ัวก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.30) เอกสารอา้ งองิ 1. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา. เลม่ 2. กรงุ เทพฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ 2516. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ นุ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพิเศษ 152 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 109
ยาแกล้ ม สูตร ๑ ทม่ี าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้ลม มือตายลมเหน็บชาเท้าเย็น ลมชักสะดุ้ง ลมเรอ ลมสวิงสวาย ประดุจล้นใจ ท่านให้เอาราก ตองแตก ๓ บาท รากจิงจ้อเหล่ียม ๒ บาท ลูกมะตูมอ่อน ๒ บาท ลูกสมอไทย ๑ บาท ลูกกระวาน ๑ บาท กานพลู ๒ สลึง ลูกจนั ทน์ ๒ สลึง เทียนทง้ั ๕ เอาส่งิ ละ ๑ บาท ๑ สลึง ดปี ลี ๑ บาท ยาท้งั น้ตี ม้ เป็นผงกนิ กับนำ�้ ร้อน แก้ลมไหล่ตายยกไม่ข้ึน แก้เสลดแห้งติดอกติดคอ เหม็นคาวคอ แก้ลมพันระดึก แก้กล่อนเป็นก้อนในท้อง แกม้ ตุ กดิ ๒ ประการ แก้ลมเบาเปน็ เลือด เบาหยดหยอด มสิ ะดวก เสียวถึงหวั ใจหาย ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 13 ชนิด รวมปรมิ าณ 258.75 กรัม ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ตองแตก 45 กรัม จงิ จ้อเหลี่ยม 30 กรมั มะตมู 30 กรัม เทยี นขาว เทยี นขา้ วเปลอื ก 18.75 กรมั เทยี นด�ำ 18.75 กรมั เทียนแดง 18.75 กรัม เทยี นตาต๊กั แตน 18.75 กรมั กระวาน 18.75 กรมั ดปี ล ี สมอไทย 15 กรมั กานพล ู 15 กรัม ลูกจนั ทน ์ 15 กรัม 7.50 กรมั 7.50 กรมั สรรพคุณ แก้อาการมอื ตาย เหน็บชา เท้าเย็น แก้ลมชักสะดงุ้ ลมเรอ ลมสวงิ สวาย แก้ลมไหลต่ าย ยกไมข่ นึ้ แกเ้ สลดแหง้ ตดิ อกตดิ คอ เหมน็ คาวคอ แกล้ มพรรดกึ แกก้ ลอ่ นเปน็ กอ้ นในทอ้ ง แก้ลมทำ� ใหป้ สั สาวะเปน็ เลือด ปัสสาวะกะปรดิ กะปรอยไมส่ ะดวก แกล้ มเสียวถงึ หัวใจ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 1 กรมั ละลายน�ำ้ อุ่นกนิ วนั ละ 3 ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ขอ้ มลู เพ่ิมเติม ตัวยาตองแตกต้องค่ัวกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.15) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๑๘. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. 110 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ลม สูตร ๒ ทมี่ าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้ลม ๚ ๏๓๘๚ ยาแก้ลมมือตีนตายเป็นง่อยเปลี้ย เดินมิได้ กินอาหารมิได้ เอา มหาหิงคุ์ ๑ ลูกผักกาด ๑ หัวหอม ๑ ใบผักเสี้ยนท้ัง ๒ กระดาดทั้ง ๒ ผิวไม้สีสุก ๑ หัวเต่าเกียด ๑ ผักคราดท้ังต้น ทั้งราก ทงั้ ใบ ทงั้ ดอก ผวิ มะกรดู เท่ายาทั้งหลาย ต�ำเป็นผงลายเหลา้ นำ�้ ขิง นำ้� ขา่ น�้ำส้มซา่ กไ็ ด้ กิน แก้สารพัดลมดีนกั แล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 11 ชนิด รวมปรมิ าณ 20 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา มะกรูด 10 ส่วน กระดาดขาว 1 ส่วน กระดาดแดง 1 ส่วน เตา่ เกยี ด 1 ส่วน เมลด็ พรรณผักกาด 1 ส่วน ผักคราด 1 ส่วน ผักเส้ยี นไทย (ใบ) 1 ส่วน ผกั เสี้ยนผี (ใบ) 1 ส่วน ไผ่สสี ุก 1 สว่ น มหาหิงค์ุ 1 สว่ น หอม 1 ส่วน สรรพคณุ แก้สารพดั ลม แกล้ มมอื ตายเท้าตายกินอาหารไมไ่ ด้ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครงั้ ละ 1 ช้อนชา ละลายสรุ า น�้ำขงิ นำ้� ขา่ หรือน�้ำส้มซา่ กนิ วันละ 3 คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อมลู เพิม่ เตมิ - ตวั ยากระดาดขาวต้องป้ิงไฟหรือน่งึ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.1) - ตวั ยากระดาดแดงต้องปงิ้ ไฟหรอื นง่ึ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.2) - ตวั ยามหาหงิ ค์ุตอ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. กระทรวงสาธารณสุข 111
ยาแกล้ มกล่อน สูตร 1 ทมี่ าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแกล้ มกล่อน โคคลาน ๑ ต�ำลึง เทียนสตั ตบษุ ย์ ๑ ตำ� ลึง ๒ บาท การบรู ๓ บาท กระวาน ๑ ตำ� ลงึ ๒ บาท กญั ชา ๓ บาท พรกิ ไทย ๒ ต�ำลงึ หิงค์ุ ๒ ตำ� ลงึ ลกู เอน็ ๑ ต�ำลงึ ๒ บาท เจตมลู ๒ ตำ� ลึง ๓ บาท ดีปลี ๕ ต�ำลึง ขงิ ๒ ตำ� ลงึ ๒ บาท สมุลแวง้ ๓ ต�ำลงึ รากมะเขือข่นื ๓ บาท บกุ รอ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท หอยแครง ๒ บาท หอยขม ๒ บาท น้ําอ้อยแดง นํ้าเปลือกมะรุมเป็นกระสายกิน แก้ลมกล่อน ขัดข้อให้เมื่อยแลเสียดแทง ขัดข้อ กนิ หาย ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 16 ชนิด รวมปรมิ าณ 1,710 กรมั ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ดีปลี 300 กรัม สมลุ แวง้ 180 กรมั เจตมูลเพลงิ แดง 165 กรัม ขงิ 150 กรัม บกุ รอ 150 กรัม พริกไทย 120 กรมั มหาหิงค์ ุ 120 กรมั กระวาน 90 กรัม เทียนสัตตบุษย์ 90 กรัม ลกู เอ็น 90 กรมั โคคลาน 60 กรัม กญั ชา 45 กรัม การบรู 45 กรมั มะเขือข่นื 45 กรมั หอยขม 30 กรัม หอยแครง 30 กรมั สรรพคณุ แก้ลมกล่อน ขอ้ ขดั ปวดเมอื่ ย รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) วิธปี รุงยา ยาท้ังหมดบดให้ละเอียด ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 1 ชอ้ นชา (5 กรัม) ละลายนำ้� อ้อยแดงหรอื น�ำ้ เปลือกมะรมุ กินวนั ละ ๒ ครั้ง หลงั อาหาร เชา้ และเย็น ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนือ่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกิดพษิ ได้ 112 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อมูลเพม่ิ เตมิ - ต�ำรับยานี้มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมการใช ้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทยตามหลกั เกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตวั ยาบกุ รอเปน็ สมุนไพรหายาก สามารถใช้บกุ คางคกทดแทนได้ - ตัวยากญั ชาตอ้ งคั่วก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๔) - ตวั ยาบุกรอต้องค่ัวกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตัวยามหาหงิ คต์ุ อ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตัวยาหอยขมตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.43) - ตัวยาหอยแครงตอ้ งสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.44) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 275. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. ยาแกล้ มกลอ่ น สตู ร 2 ท่มี าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกล้ มกล่อน เอา รากผักเส้ยี นท้งั ๒ โคกกระสุน ๑ เถาวลั ย์เปรียง ๑ พญามือเหลก็ ๑ แก่นขีเ้ หล็ก ๑ เถาวัลยเ์ หลก็ ๑ แกแล ๑ ใบมดั กา ๑ แกน่ ขนุน ๑ ตม้ กนิ แกล้ มกลอ่ นเหน็บ แกล้ มกลอ่ นชา ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 10 ชนิด รวมปรมิ าณ 10 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา แกแล 1 สว่ น ขนุนละมุด 1 ส่วน ขีเ้ หลก็ 1 ส่วน โคกกระสนุ 1 ส่วน เถาวัลยเ์ ปรยี ง 1 ส่วน เถาวลั ย์เหลก็ 1 ส่วน ผักเสย้ี นไทย (ราก) 1 สว่ น ผักเส้ียนผี (ราก) 1 สว่ น พญามือเหลก็ 1 ส่วน มะกา 1 ส่วน กระทรวงสาธารณสขุ 113
สรรพคณุ แกล้ มกล่อนเหนบ็ แกล้ มกลอ่ นชา รปู แบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 100 มลิ ลลิ ิตร กินวนั ละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ดมื่ ขณะ ยายังอุน่ ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ต่อกนั ๕-๗ วัน โดยใหอ้ ่นุ น�้ำสมนุ ไพรทกุ ครัง้ กอ่ นใช้ยา เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 278. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. ยาแก้ลมกลอ่ นให้จุก ท่มี าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแก้ลมกล่อนให้จกุ แก่นแสมทงั้ ๒ เบยี้ จนั ทนเ์ ผาไฟ ๑ หอยแครงเผาไฟ ๑ พรกิ ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ กระเทียม ๑ ข่า ๑ แกจ้ ุก” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 9 ชนดิ รวมปรมิ าณ 9 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 สว่ น กระเทยี ม 1 สว่ น ข่า 1 ส่วน ขงิ 1 สว่ น ดีปลี 1 สว่ น เบีย้ จนั่ 1 สว่ น พรกิ ไทย 1 ส่วน แสมทะเล 1 ส่วน แสมสาร 1 ส่วน หอยแครง สรรพคณุ แก้จกุ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครัง้ ละ 1 ช้อนชา กนิ วนั ละ 3 ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ มูลเพม่ิ เติม - ตัวยาเบย้ี จัน่ ตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.20) - ตวั ยาหอยแครงตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.44) 114 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒25. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ยาแกล้ มกษยั ทีม่ าของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้ลมกล่อนและลมกระษัย ขับอุจจาระไหลลง เอา เทียนทั้ง ๕ สมอทั้ง ๓ เอาสิ่งละ ๑ บาท มหาหิงคุ์ ๑ ต�ำลึง ดองดึง ๑ บาท ข้าวข้า ๑ บาท เอา กระเทียมเท่ายาท้ังหลาย ตําผงละลายน้ําตามสรรพคุณ และกระบวนโรคนัน้ เถดิ ใช้ไดม้ ากอยู่ ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 12 ชนดิ รวมปรมิ าณ 420 กรมั ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระเทียม 210 กรัม มหาหงิ ค์ุ 60 กรมั เขา้ คา่ 15 กรมั ดองดงึ 15 กรมั เทยี นขาว 15 กรัม เทยี นข้าวเปลือก 15 กรมั เทยี นด�ำ 15 กรัม เทียนแดง 15 กรมั เทียนตาตก๊ั แตน 15 กรัม สมอเทศ (เนื้อผล) 15 กรัม สมอไทย (เนอื้ ผล) 15 กรัม สมอพเิ ภก (เนือ้ ผล) 15 กรัม สรรพคุณ แกล้ มกล่อน ลมกษยั และบรรเทาอาการทอ้ งผกู รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ 1 ช้อนชา (5 กรมั ) ละลายน�้ำ กินวนั ละ 2 คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - ตัวยามหาหิงคต์ุ อ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยาเขา้ คา่ ต้องประสะกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๘) - ตวั ยาดองดงึ ต้องนง่ึ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) กระทรวงสาธารณสขุ 115
เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒45. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หน้า ๑-3. ยาแก้ลมกษยั กล่อน ท่มี าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาแก้ลมกระษัยกล่อน เอา รากชะพลู ๑ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง เจตมูลเพลิง ๒ สลึง ขิง ๑ บาท สะค้าน ๒ สลึง ดีปลี ๑ บาท เทียนแดง เทียนขาว เอาสิ่งละ ๑ บาท มหาหิงคุ์ ๑ บาท พริกไทย ๒ สลึง การบูร ๒ สลงึ ฯ” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 10 ชนิด รวมปรมิ าณ 125.625 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ชะพล ู 20.625 กรมั ขิง ดปี ลี 15 กรมั เทียนขาว 15 กรัม เทยี นแดง 15 กรัม มหาหงิ คุ์ 15 กรัม การบรู 15 กรมั เจตมูลเพลิงแดง 7.5 กรมั พรกิ ไทย 7.5 กรัม สะค้าน 7.5 กรมั 7.5 กรัม สรรพคณุ แก้ลมกษัยกล่อน อาการเหน็บชา รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 1 ช้อนชา (5 กรมั ) กินวนั ละ ๒ ครง้ั หลังอาหาร เชา้ และเย็น ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ ผูท้ ีม่ ไี ข้ และเด็กอายุต�ำ่ กว่า ๑๒ ปี ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ตัวยามหาหิงคต์ุ อ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) 116 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒18. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ยาแก้ลมกษยั ลูกอัณฑะใหญ่ ท่มี าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกล้ มกระษยั ลกู คนั ทะ(อณั ฑะ)ใหญก่ นิ แลว้ หาย...(เลอื น)...ใหเ้ อา ขา้ วเหนยี วดำ� สาม ยาแปง้ ขา้ วหมาก ๓ ใบ ให้เป็นหมากดีแล้วเอากระชาย ๑ ตําลึง พริกไทยค่อนทะนานหนึ่ง ตํากับกระชายเคล้าข้าวหมากกินแห้ง ตําตากตาํ ผงละลายน้ําผ้ึงกินหายแล” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 4 ชนดิ รวมปรมิ าณ 3,060 กรัม* ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา ข้าวเหนยี วดำ� (น่ึง) 2,400 กรมั พรกิ ไทย 600 กรมั กระชาย 60 กรมั แปง้ ข้าวหมาก 3 ลูก * ไมร่ วมปริมาณแปง้ ขา้ วหมาก สรรพคุณ แกล้ มกษยั รูปแบบยา ยาสด (ดูภาคผนวก 3.10), ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) วธิ ีปรงุ ยา ยาสด ข้าวเหนียวด�ำน่ึง ผ่ึงให้เย็น ผสมกับแป้งข้าวหมาก หมักทิ้งไว้ ๒ คืน แล้วผสมกับ พรกิ ไทยและกระชายทตี่ ำ� ละเอยี ดใหเ้ ข้ากนั ยาลกู กลอน ข้าวเหนียวด�ำนึ่งผึ่งให้เย็น ผสมกับแป้งข้าวหมาก หมักทิ้งไว้ ๒ คืน ผสมกับพริกไทย และกระชายที่ต�ำละเอียดใหเ้ ขา้ กัน ตากแหง้ ต�ำเปน็ ผง ละลายนำ้� ผึ้ง ปนั้ เปน็ ลูกกลอน ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาสด ครงั้ ละ ๑ ช้อนชา (5 กรมั ) กนิ วันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร ๑ ช่ัวโมง เชา้ และเย็น ยาลูกกลอน ครัง้ ละ 2 กรมั กินวนั ละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร ๑ ช่วั โมง เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช ้ - ห้ามใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ ผู้ท่มี ไี ข้ และเดก็ อายตุ �่ำกว่า 12 ปี - หา้ มใช้ในผูท้ ่กี นิ ยาละลายลม่ิ เลอื ด คำ� เตือน ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอกั เสบควรกนิ ยานห้ี ลงั อาหาร กระทรวงสาธารณสขุ 117
ข้อมลู เพมิ่ เติม - ยาต�ำรับน้ีเหมาะส�ำหรับผู้ป่วยโรคกระษัยกล่อนลมในผู้หญิง และต่อมลูกหมากโต ในผูช้ าย หากมีอาการเรอื้ รงั ใหใ้ ช้ตำ� รบั ยานร้ี ่วมกบั การนวดจะทำ� ให้ได้ผลเรว็ ข้นึ - ตวั ยามหาหงิ คต์ุ อ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 528. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. ยาแกล้ มกุจฉิสวาตอตสิ าร ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) [1, 2] “จะกล่าวลกั ษณะลมกุจฉสิ ยาวาตอตสิ าร อันเป็นปัจจบุ นั กรรมน้นั เป็นค�ำรบ ๕ ลมกองน้ี เกิดอยนู่ อกไส้ พัดแต่เพียงคอลงไปทวารหนักเบา เมื่อจะให้โทษนั้นประมวลกันเข้าเป็นก้อนในท้อง แต่ว่าอยู่นอกไส้ กระท�ำให้ ลงท้องเหม็นคาว แต่มิได้ปวดมวน อยู่ ๆ ก็ไหลออกมาเอง เหตุว่าลมกองน้ีเป็นเจ้าของทวาร มิได้หยัดทวารไว้ได้ สมมุติว่าทวารเปิดอยูด่ ุจกล่าวมาดงั น้ี “ถ้าจะแก้ เอาโกฐทัง้ หา้ เทยี นทงั้ ห้า ส่งิ ละสว่ น กระเทียม การบรู มหาหิงค์ุ ส่งิ ละ ๒ สว่ น ขม้ินอ้อย ขมิ้นชัน ว่านรอ่ นทอง กะทอื กระชาย ข่าตาแดง ลกู จันทน์ กานพลู ลูกเบญกานี ฝิ่นต้น ลูกมะตูมอ่อนสิ่งละ ๔ สว่ น ท�ำเปน็ จุณบดท�ำแท่งไว้ละลายน�้ำมะรุมตม้ กินแก้ลมกุจฉิสยาวาตอตสิ ารหาย ฯ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 24 ชนดิ รวมปริมาณ 60 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 4 สว่ น กระชาย 4 ส่วน กะทือ 4 สว่ น กานพลู 4 สว่ น ขมน้ิ ชัน 4 สว่ น ขมิน้ ออ้ ย 4 ส่วน ขา่ ตาแดง 4 ส่วน เบญกานี 4 ส่วน ฝนิ่ ต้น 4 สว่ น มะตมู 4 สว่ น ลกู จันทน์ 4 สว่ น วา่ นร่อนทอง 2 ส่วน กระเทียม 2 ส่วน การบูร 118 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปรมิ าณตัวยา มหาหงิ คุ์ 2 ส่วน โกฐเขมา ๑ ส่วน โกฐจุฬาลัมพา ๑ สว่ น โกฐเชียง ๑ สว่ น โกฐสอ ๑ สว่ น โกฐหวั บวั ๑ ส่วน เทยี นขาว ๑ ส่วน เทียนข้าวเปลือก ๑ ส่วน เทียนด�ำ ๑ ส่วน เทยี นแดง ๑ ส่วน เทียนตาตั๊กแตน ๑ สว่ น สรรพคุณ แก้ท้องเสยี ที่เกิดจากลมกจุ ฉสิ ยาวาต รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 400-800 มิลลิกรัม ละลายน้�ำมะรุมต้ม กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ เลม่ ๒. พิมพ์ครง้ั ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. กระทรวงสาธารณสขุ 119
ยาแกล้ มต่าง ๆ ที่มาของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้ลมต่างๆให้เจ็บหน้าอก เกลียวข้างเส้นตึงแน่นท้องเพื่อเส้นตึงแต่หัวหน่าวข้ึนมาหน้าอก ใหป้ วดทอ้ ง ใหต้ าเจ็บ ให้เหียนราก ให้ปวดหนงั ทอ้ ง ใหน้ ้าํ ลายเป็นฟอง ถม่ นํา้ ลายอยู่ยังรงุ่ ยังค่าํ ใหอ้ อก ให้หน้ามืดแล วงิ เวียนแลลมกระษัยยาแก้ริดสดี วงเลอื ดอยู่ไฟไม่ได้ ท่านใหเ้ อา ขมน้ิ อ้อยหัวใหญ่ มะกรดู ๓ ใบ เอาแต่ผวิ ๑ พริกไทย ถว้ ยน้าํ นม ๑ ดีปลี ๗ ดอก ขิง ๗ แว่น กระเทียม ๗ กลีบ ๑ การบูร ๒ บาท ยาทั้งนตี้ ํายัดใส่ในขมิ้นอ้อยหมกไฟใหส้ กุ แช่เหลา้ ฝงั ขา้ วเปลือกไว้ ๓ วนั กินหาย ตาคงเปน็ เจา้ ของตักบาตรไปเถิด ๚ สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 8 ชนิด ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระเทียม 7 กลบี การบูร 30 กรัม ขมน้ิ อ้อย 1 หวั ขงิ 7 แว่น ดปี ล ี 7 ดอก พริกไทย ตวง ๓๐ มิลลลิ ติ ร มะกรูด ๓ ผล สรุ า ๗๕๐ มลิ ลิลิตร สรรพคณุ แก้ลมต่าง ๆ ซ่ึงท�ำให้มีอาการเจ็บหน้าอก ตึงแน่นท้อง คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง หนา้ มดื วงิ เวียน แก้ลมกระษยั แกร้ ดิ สีดวงเลอื ดอย่ไู ฟไมไ่ ด้ รูปแบบยา ยาดอง (ดภู าคผนวก 3.11) วธิ ีปรงุ ยา ตัวยากระเทียม การบรู ขงิ ดีปลี พรกิ ไทย และมะกรดู ต�ำพอหยาบ ๆ ใส่ในขมิ้นอ้อย ทค่ี ว้านเอาไสใ้ นออก ปิดฝา น�ำไปหมกไฟ จากนัน้ น�ำไปแช่สุรา ๗๕๐ มลิ ลิลิตร (ทว่ มยา) และน�ำไปฝังในขา้ วเปลือก 3 วัน ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 1 ช้อนโตะ๊ (15 มลิ ลิลติ ร) กินวนั ละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญงิ ตัง้ ครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร และเดก็ อายตุ �ำ่ กวา่ 12 ปี ค�ำเตือน ควรระวังการใชใ้ นผปู้ ่วยโรคตบั และโรคพิษสรุ าเรอ้ื รงั ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติของ ตบั ไต เนื่องจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกิดพษิ ได้ ข้อมูลเพิ่มเตมิ หากพบการบรู ลอยข้ึนมาบริเวณผวิ ของยาหลังปรุงยาเสรจ็ ใหต้ ักทิ้ง 120 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 278. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. ยาแก้ลมทุนะยกั ษวาโย ทม่ี าของต�ำรบั ยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ [1, 2] “๏ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า ทุนยักษวาโย เป็นค�ำรบ ๒ นั้น เกิดแต่กองลมอัมพาต เป็นต้น ลมกองนี้มักกระท�ำให้เสียดสีข้างแลชายโครงข้ึนมามิให้ตึงตัวได้ มักให้โก่งตัวอยู่ ให้ท้องแข็งเป็นเกลียว บรโิ ภคอาหารมไิ ด้ มกั รากลมเปล่าแลมกั เปน็ ร�ำมะนาดเจรจากล้อแกล้ มกั ให้ตามดื ตาฟางแลกระท�ำใหล้ งเปน็ คราว ๆ มักพัดเตโชให้ดบั ถา้ ผู้ใดเปน็ ดังกลา่ วมานีม้ ักถอยอายุทกุ วนั ฯ ขนานหนึง่ เอาลูกจนั ทน์ ดอกจนั ทน์ มหาหิงคุ์ สิ่งละสว่ น การบูร ๖ ส่วน ยาดำ� ๘ สว่ น พรกิ ไทย ๒๖ สว่ น ทำ� เปน็ จณุ น้ำ� เปลือกมะรมุ ตม้ เป็นกระสายบดท�ำแท่งไวเ้ ท่าเมด็ ฝ้ายหีบ ให้กนิ หนกั ๑ สลึง แก้ลม ทนุ ะยักษวาโยนน้ั หายดวี ิเศษนัก” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 6 ชนิด รวมปรมิ าณ 43 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ๒๖ ส่วน พรกิ ไทย ๘ สว่ น ยาดำ� ๖ ส่วน การบูร 1 สว่ น ดอกจันทน ์ 1 ส่วน มหาหงิ ค์ุ 1 ส่วน ลกู จันทน ์ สรรพคุณ แก้ลมทุนะยกั ษวาโย เกิดแต่กองลมอัมพาต รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) วิธปี รุงยา บดเป็นผงละเอียด ผสมกบั น้ำ� เปลอื กมะรุม แลว้ ทำ� เปน็ เมด็ ขนาดและวธิ ีการใช้ ครงั้ ละ 0.6-1.2 กรัม กนิ วันละ ๒ ครงั้ กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ข้อหา้ มใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภ์ ผู้ที่มไี ข้ และเด็กอายุตำ่� กว่า 12 ปี กระทรวงสาธารณสุข 121
คำ� เตือน - ควรระมดั ระวังการใช้ในผสู้ ูงอายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนอื่ งจากต�ำรบั นมี้ พี ริกไทยในปริมาณสูง ข้อควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ได้ ขอ้ มลู เพ่มิ เติม - ตวั ยามหาหิงค์ุตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยายาดำ� ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) เอกสารอ้างอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ เล่ม ๓. พิมพค์ รัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. ยาแก้ลมปะกงั ท่มี าของตำ� รบั ยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รัชกาลที่ ๕ เลม่ 3 [1, 2] “ยาแก้ลมปะกงั เอาพรกิ ไทย 2 สลึง ฃิงสด ๑ บาท ผวิ มะกรดู สด 1 บาท 2 สลึง หญ้าแพรก 3 บาท สารส้ม 2 ต�ำลึง ตำ� พอกแก้ลมปะกงั แก้ลมเขา้ ขอ้ หายแล ๚ะ๛” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 210 กรัม ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 120 กรมั สารส้ม 45 กรมั หญ้าแพรก 22.5 กรัม มะกรูด 15 กรัม ขิง 7.5 กรมั พรกิ ไทย รปู แบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) สรรพคณุ แกล้ มปะกงั แกล้ มเขา้ ข้อ ขนาดและวธิ กี ารใช้ พอกศีรษะหรอื ข้อต่อที่มีอาการปวด คร้ังละ 10-15 นาที เมื่อมีอาการ ระวังอยา่ ให้ เข้าตา เป็นยาใช้ภายนอกหา้ มกิน 122 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อห้ามใช้ ห้ามพอกบรเิ วณท่ีมีบาดแผล ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ตัวยาสารสม้ ตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรนิ ทร์พร้ินต้ิงแอนดพ์ ับลิชชิ่ง จ�ำกดั (มหาชน); 2555. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ยาแก้ลมปตั ฆาต สตู ร 1 ท่มี าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ แกล้ มปตั คาด เอา ข่า ๑ วา่ นนำ้� ๑ รากหนาด ๑ ใบคนทีสอ ๑ เฉียงพร้ามอญ ๑ กระเทยี ม ๑ ไพล ๑ พริก ๑ ขงิ ๑ ดปี ลี ๑ มหาหิงคุ์ ๑ เจตบูล (เจตมลู ) แดง ๑ ใบสะเดา ๑ ผิวมะกรูด ๑ การบรู ๑ ต�ำเปน็ ผงละลายน้ำ� รอ้ น แกจ้ กุ เสียดลมหายแล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 15 ชนดิ รวมปรมิ าณ 15 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา กระเทยี ม 1 สว่ น การบูร 1 สว่ น ขา่ 1 ส่วน ขิง 1 ส่วน คนทีสอ 1 สว่ น เจตมูลเพลิงแดง 1 สว่ น ดปี ล ี 1 สว่ น พริกไทยด�ำ 1 สว่ น ไพล 1 ส่วน มหาหงิ คุ ์ 1 สว่ น มะกรูด 1 สว่ น วา่ นน้�ำ 1 ส่วน สันพรา้ หอม 1 ส่วน สะเดา 1 ส่วน หนาด (ราก) 1 สว่ น กระทรวงสาธารณสขุ 123
สรรพคณุ แก้จุกเสยี ด รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครง้ั ละ 1 กรัม ละลายน้ำ� อ่นุ กินวนั ละ 3 ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นหญิงตั้งครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร ผู้ท่ีมไี ข้ และเด็กอายุต่ำ� กว่า 12 ปี ขอ้ ควรระวงั ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต เนอ่ื งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ได้ ข้อมลู เพมิ่ เตมิ ตวั ยามหาหิงคุ์ต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. ยาแก้ลมปัตฆาต สูตร 2 ท่ีมาของตำ� รบั ยา คัมภีรธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบับใบลาน [1, 2] “ขนานหนึ่งให้เอาสหัสคุณเทศ สหัสคุณไทย รากเปล้าน้อย รากเปล้าใหญ่ รากเจตมูลเพลิง สลัดได ฝานตากแห้ง ตรกี ฏุก เทียนดำ� ส่งิ ละส่วน เอารากตองแตกใบแฉก ๓ ส่วนทำ� เปนจุณละลายน้�ำผ้ึง น�้ำส้มสา้ น�ำ้ มะนาว กไ็ ดก้ นิ แกล้ มปตั ฆาฏลมราทยกั ษ์ ลมชอื่ มหาสดมภ์ ครอบลมทง้ั ปวงหายสน้ิ แลเอาแตส่ หสั คณุ เปลา้ ทงั้ ๒ รากตองแตก นั้นประสะเสยี ก่อนจงึ จะไมค่ ล่นื เหียน” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 11 ชนิด รวมปริมาณ 13 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา ตองแตก 3 ส่วน ขงิ แห้ง 1 ส่วน เจตมลู เพลิงแดง 1 ส่วน ดปี ล ี 1 ส่วน เทียนด�ำ 1 สว่ น เปล้านอ้ ย 1 ส่วน เปลา้ ใหญ่ 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 สว่ น สลดั ได (ตน้ ) 1 ส่วน หสั คุณเทศ 1 สว่ น หัสคุณไทย 1 ส่วน 124 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แก้ลมปตั ฆาฏ ลมราทยักษ์ ลมมหาสดมภ์ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 250-500 มลิ ลกิ รัม ละลายนำ�้ ผ้ึง น้�ำสม้ ซ่า หรอื น้�ำมะนาว กนิ วนั ละ ๒ ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใช้ยานีใ้ นหญิงต้งั ครรภแ์ ละผู้ทมี่ ไี ข้ ค�ำเตือน ควรระมดั ระวังการใช้ยานรี้ ่วมกับยาลดความดนั โลหิต ขอ้ ควรระวัง ไมค่ วรกนิ ตดิ ต่อกันเกิน 5 วนั ข้อมูลเพิม่ เตมิ - ตัวยาสลัดไดต้องประสะกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.37) - ตัวยาหสั คณุ เทศต้องคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) - ตวั ยาหสั คณุ ไทยตอ้ งคว่ั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.47) เอกสารอา้ งองิ ๑. หอสมุดแหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร. “กำ� ภีธาตพุ รณะราย”. คมั ภรี ใ์ บลาน ๑ ผูก. อักษรไทย. ภาษาไทย. เสน้ จาร. ฉบบั ลานดิบ. เลขท่ี ๑๑๔๓. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. กระทรวงสาธารณสขุ 125
ยาแกล้ มพาหรุ วาโย ท่มี าของต�ำรบั ยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ [1, 2] “๏ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า พาหุระวาโย เป็นค�ำรบ ๙ น้ัน บังเกิดแต่สุขุมังคะวาต กล่าวคือลมคูถทวารแล่นขึ้นมาจับเอาหลังมือ กระท�ำให้มือบวมขึ้นแล้วแล่นลงมาจับเอาหลังเท้ากระท�ำให้เท้านั้น เบ่งข้ึนแล้วกลับแล่นข้ึนสู่กระบาลศีรษะ กระท�ำให้หนักศีรษะ ให้ศีรษะซุนไปให้วิงเวียนแลให้น�้ำมูกตกน�้ำตาตก ใหเ้ สียวลำ� มอื ลำ� เทา้ ใหเ้ ปน็ เหนบ็ แลลมกองน้ีเกดิ แกผ่ ู้ใดกำ� หนด ๕ เดือน จะลุกขึน้ มิได้เลย ฯ ขนานหนึ่ง เอาแห้วหมู ใบสะเดา พริกไทย ขงิ แหง้ ดปี ลี กะทอื ไพล ขา่ กระชาย ขม้ินออ้ ย กระเทียม ผิวมะกรูด เทียนดำ� เทยี นขาว สิง่ ละสว่ น หอมแดง กระเทียม สงิ่ ละ ๒ สว่ น การบรู ๔ ส่วน ลูกพิลังกาสา ๒๒ สว่ น ท�ำเปน็ จุณบดละลายน�ำ้ ผ้งึ รวงกนิ หนกั ๑ สลงึ แก้ลมพาหุรวาโย อนั บงั เกดิ แตก่ องสุขุมังคะวาตนน้ั หายวเิ ศษดนี ัก ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 17 ชนดิ รวมปรมิ าณ 44 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๒๒ สว่ น พลิ งั กาสา ๔ สว่ น การบูร ๓ สว่ น กระเทียม ๒ ส่วน หอมแดง 1 ส่วน กระชาย 1 สว่ น กะทอื 1 ส่วน ขมิ้นออ้ ย 1 ส่วน ขา่ 1 สว่ น ขิงแหง้ 1 สว่ น ดปี ล ี 1 ส่วน เทียนขาว 1 สว่ น เทียนดำ� 1 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน ไพล 1 ส่วน มะกรดู 1 ส่วน สะเดา 1 ส่วน แหว้ หมู สรรพคุณ แกล้ มพาหุรวาโย อันเกิดแต่กองสขุ มุ ังคะวาต รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 1.2 กรัม กินวันละ ๒-๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรือ เมื่อมีอาการ ยาตำ� รบั นี้ควรใช้ภายใต้การดแู ลของผ้ปู ระกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทย 126 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เน่ืองจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พิษได้ เอกสารอ้างองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ)์ เล่ม ๓. พมิ พ์คร้งั ท่ี 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-8. ยาแก้ลมพทุ ยักษ์ ที่มาของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกล้ มกล่อนแลลมพุทยักษ์ ราทยักษ์ ยาเอา มหาหิงคุ์ ๑ บาท การบูร ๑ บาท พริกลอ่ น ๓ สลงึ ขิงแห้ง ๓ บาท ดปี ลี ๓ สลึง กระเทียม ๒ บาท ลกู กระวาน ๒ สลงึ เกลอื สนิ เธาว์ ๑ สลึง ยาทงั้ น้ตี ำ� เป็นผงละลายดว้ ย ขงิ ก็ได้ ขา่ ก็ได้ น�้ำสม้ ซา่ ก็ได้ น�้ำกระเทียมกไ็ ด้ ท�ำเป็นผงกไ็ ด้ สดก็ได้ ยานไี้ ดท้ ำ� แล้วบอกไวร้ แู้ ล ๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 8 ชนิด รวมปริมาณ 138.75 กรมั ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา 45 กรมั ขงิ แหง้ 30 กรัม กระเทยี ม 15 กรัม การบูร 15 กรัม มหาหงิ ค ์ุ ดปี ล ี 11.25 กรัม พรกิ ลอ่ น 11.25 กรัม กระวาน 7.50 กรัม เกลือสินเธาว ์ 3.75 กรมั สรรพคุณ ยาแกล้ มกลอ่ นแลลมพทุ ยักษ์ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 1 กรัม ละลายน้�ำขิง น�้ำข่า น�้ำส้มซ่า หรือน้�ำกระเทียม กินวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ หญงิ ใหน้ มบตุ ร ผู้ท่ีมีไข้ และเดก็ อายตุ ำ่� กว่า 12 ป ี ขอ้ ควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พิษได ้ กระทรวงสาธารณสุข 127
ข้อมูลเพม่ิ เติม ตวั ยามหาหงิ คุต์ อ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๓๕๐. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. ยาแก้ลมมหาสดมภ์ ท ีม่ าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาแก้ลมมหาสดมภ์แลลมอมั พาตคกู่ ัน เมือ่ จบั นนั้ ลนิ้ หด เอา ใบผักคราด ๑ ใบแมงลกั คา ๑ สารส้ม ๑ เกลือสินเธาว์ ๑ พรมมิ ๑ บดทาลน้ิ หายแล ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนดิ รวมปริมาณ 5 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 1 ส่วน เกลอื สินเธาว์ 1 สว่ น ผักคราด 1 ส่วน พรมม ิ 1 สว่ น แมงลักคา 1 ส่วน สารส้ม สรรพคณุ แก้อาการล้ินกระด้างคางแข็ง ควบคุมล้ินล�ำบาก พูดไม่ชัด ที่เกิดจากลมมหาสดมภ์ และลมอมั พาต รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ใชท้ าลน้ิ เมือ่ มอี าการ ข้อมูลเพ่ิมเตมิ - ตำ� รบั ยาดงั กล่าวใช้ในกรณที ลี่ ิน้ หดจากลมมหาสดมภแ์ ละลมอัมพาต - ผักคราด ควรใช้ส่วนของดอก เน่ืองจากมีรสเผ็ดร้อนกว่าใบ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญ ในการออกฤทธิ์ - ตัวยาสารส้มต้องสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หน้า ๑-4. 128 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 532
Pages: