Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Description: รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Search

Read the Text Version

ยาทาท้อง สตู ร 3 ช่ืออ่นื ยาทาท้อง [1, 2] , ยาทาทอ้ งใหร้ ะบายลม [3, 4] ทีม่ าของตำ� รับยา 1. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รชั กาลท่ี ๕ เลม่ ๑ [1, 2] “ยาทาท้องขนานน้ีท่านให้เอายาด�ำ มหาหิง รงทอง ฝักราชพฤกษ มฃามเปียก ไพล ขมิ้นอ้อย น้�ำประสานทอง รวมยา ๘ ส่ิงนี้เอาเสมอภาค บดท�ำแท่งไว้ละลายน้�ำซ่มมะฃามเปียก แล้วเอาตั้งเพลิงเสียให้อุ่น ทาท้องขน้ึ แลกลัดอุจารไมอ่ อกกต็ กสน้ิ หายดนี ักฯ” 2. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาทาท้องให้ระบายลม ท่านให้เอายาด�ำ มหาหิงคุ์ รงทอง ฝักราชพฤกษ์ มะขามเปียก ไพล ขมนิ้ อ้อย น�้ำประสานทอง บดละลาย ตั้งไฟใหอ้ ุ่นทาทอ้ งดีนกั ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๘ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๘ สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ขมนิ้ อ้อย 1 สว่ น นำ�้ ประสานทอง 1 สว่ น ไพล 1 ส่วน มหาหิงค ์ุ 1 สว่ น มะขามเปยี ก 1 ส่วน ยาด�ำ 1 สว่ น รงทอง 1 สว่ น ราชพฤกษ ์ 1 สว่ น สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องผกู ทอ้ งอดื ทอ้ งเฟ้อ รปู แบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ละลายน�้ำมะขามเปียก แล้วต้ังไฟให้อุ่น ทาบริเวณท้องเมื่อมีอาการวันละ 1 ครั้ง หา้ มทาบรเิ วณขอบตา เนอ้ื เยอ่ื ออ่ น ผวิ หนงั ทม่ี บี าดแผลหรอื แผลเปดิ เปน็ ยาใชภ้ ายนอก ไม่ควรกิน ขอ้ มูลเพิ่มเติม - ตัวยาน�้ำประสานทองต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.16) - ตวั ยามหาหงิ คต์ุ อ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตัวยารงทองตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.29) กระทรวงสาธารณสขุ 229

เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ติง้ แอนด์พับลชิ ชิ่ง จำ� กัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ 1-2. ยาทาท้อง สูตร 4 ที่มาของตำ� รบั ยา 1. ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [๑, ๒] “ยาทาท้องทา่ นใหเ้ อา รากทนดี ๑ ข่าแก่ ๑ หงิ ๑ ยาดำ� ๑ รง ๑ ฝนทาแกข้ ดั อุจจาระ ปัสสาวะ มิออกดนี ัก ๚” 2. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ [3, 4] “ยาทาท้อง ทา่ นใหเ้ อา รากทนดี ๑ ข่าแก่ ๑ หงิ คุ์ ๑ ยาดำ� ๑ รง ๑ ฝนทาแกอ้ ุจจาระ ปสั สาวะ ไม่ออกดีนัก” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนดิ รวมปรมิ าณ 5 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 สว่ น ข่า 1 สว่ น ทนด ี 1 สว่ น มหาหิงค ุ์ 1 ส่วน ยาดำ� 1 ส่วน รงทอง สรรพคุณ แกอ้ ุจจาระ ปัสสาวะไม่ออก รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ฝนทาบรเิ วณทอ้ ง เม่อื มอี าการ หา้ มทาบริเวณขอบตา เนื้อเยอ่ื อ่อน ผิวหนงั ทม่ี บี าดแผล หรอื แผลเปิด เปน็ ยาใชภ้ ายนอก ไมค่ วรกิน 230 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ข้อมลู เพม่ิ เติม - ตวั ยามหาหงิ คุต์ อ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตวั ยารงทองตอ้ งสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.29) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรนิ ทร์พรนิ้ ติง้ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง จ�ำกดั (มหาชน); 2542. หนา้ 294. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาทาพระเส้น ที่มาของต�ำรับยา คมั ภรี ธ์ าตุพระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน [1, 2] “ทาพระเส้น ให้เอาพริกไทย ข่า กระชาย หอม กะเทียม มหาหิงคุ์ ยาด�ำ สิ่งละส่วน ตะไคร้หอม ใบขเี้ หลก็ ใบตองแตก ใบมะขาม ใบเลี่ยน สงิ่ ละ ๔ สว่ น เอาใบมะค�ำไก่ ๑๖ ส่วน นำ�้ สรุ า นำ�้ ส้มสาชกู ็ได้ เปน็ กระสาย น�้ำสม้ สาชทู าแก้พระเส้นพิรุธ แลแก้ลมอัมพาต ลมปัตฆาฏ กล่อน ตระครวิ จับโปง เม่ือยขบท้งั ปวงหายสิ้นแล ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 13 ชนดิ รวมปรมิ าณ 43 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา ๑๖ สว่ น มะค�ำไก ่ ๔ ส่วน ข้ีเหลก็ (ใบ) ๔ สว่ น ตองแตก (ใบ) ๔ สว่ น ตะไคร้หอม ๔ ส่วน มะขาม ๔ สว่ น เลย่ี น 1 สว่ น กระชาย 1 ส่วน กระเทยี ม 1 สว่ น ขา่ 1 สว่ น พรกิ ไทย 1 สว่ น มหาหงิ คุ ์ 1 สว่ น ยาด�ำ 1 สว่ น หอม กระทรวงสาธารณสขุ 231

สรรพคุณ แก้ปวดเม่อื ยตามเส้นเอ็น ในโรคอมั พาต ปัตฆาต เปน็ ตะครวิ ปวดบวมตามขอ้ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ละลายเหล้าหรือน้�ำส้มสายชูทาหรือพอกวันละ 2-3 ครั้ง เช้า (กลางวัน) เย็น เป็นยาใช้ภายนอกหา้ มกิน ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - การใช้ยาขนานนพ้ี อกเข่าเปน็ เวลานานเกิน 1 ชัว่ โมง อาจท�ำให้ผิวหนงั บรเิ วณท่พี อก ลอกเป็นขุยได้ แตไ่ มท่ �ำใหเ้ กิดอันตรายแต่อย่างใด - นำ้� สม้ สายชทู ใี่ ชเ้ ปน็ กระสายนน้ั ควรเปน็ นำ�้ สม้ สายชทู ไี่ ดจ้ ากการหมกั ตามธรรมชาติ - ตัวยาตองแตกต้องค่ัวกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.15) - ตัวยามหาหิงคุต์ อ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) เอกสารอ้างองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ คมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน (ตำ� ราพระโอสถพระนารายณ)์ . พมิ พ์ครง้ั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ;์ 2555. หน้า 116. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ยาทิพดารา ท่มี าของต�ำรับยา คมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาทิพดารา แก้ไข้พิษไขก้ าฬ ไขส้ ันนิบาต ไข้รากสาด ไขก้ าฬโรค ไข้ประดงท้ังปวง ไขเ้ หือดหดั อีสุกอไี ส เอาจากชิงชี่ รากคนทา รากมะเด่ือชุมพร รากเท้ายายม่อม รากหญ้านาง เอาส่ิงละ ๑ บาท เหมือดคน ช้องระอา รากล�ำโพง ระย่อม ไคร้เครอื จันทนแ์ ดง จันทนข์ าว จันทนช์ ะมด จนั ทนา เอาส่ิงละ ๘ บาท เปลือกตน้ ปลาไหลเผอื ก เท่ายาทั้งหลาย ฝางเสนก่ึงยาทั้งหลาย บดปั้นแท่งด้วยน�้ำดอกไม้ แทรกชะมด พิมเสน กระแจะตะนาว หญ้าฝร่ัน อำ� พนั ทอง ดีหมี ดีหมปู ่า ดตี ะพาบน้�ำ ละลายนำ้� กระสายกนิ ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 16 ชนดิ รวมปริมาณ 2,887.5 กรัม ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ปลาไหลเผอื ก (เปลือกตน้ ) 1,155 กรัม ฝางเสน 577.5 กรัม ไครเ้ ครอื จันทน์ขาว 120 กรัม จันทน์ชะมด 120 กรัม จันทน์แดง 120 กรัม 120 กรัม 232 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 120 กรมั จนั ทนา 120 กรมั ชองระอา 120 กรัม ระย่อม 120 กรมั ล�ำโพง 120 กรมั เหมือดคน 15 กรัม คนทา 15 กรัม ชงิ ช่ี 15 กรมั มะเด่ืออทุ มุ พร 15 กรมั ไม้เทา้ ยายม่อม 15 กรมั ยา่ นาง สรรพคณุ แกไ้ ข้พษิ ไขก้ าฬ ไขส้ ันนิบาต ไขร้ ากสาด ไข้กาฬ ไขป้ ระดงทั้งปวง ไข้เหอื ดหดั อสี กุ อีใส รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) วธิ ปี รุงยา บดป้นั แทง่ ดว้ ยน�้ำดอกไม้แทรกชะมดพมิ เสน กระแจะตะนาว หญา้ ฝรน่ั ดหี มี ดีหมปู า่ ดตี ะพาบนำ้� ละลายน้ำ� กระสาย ขนาดและวิธีการใช้ ครัง้ ละ 0.6-1.2 กรมั กินวันละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ข้อมลู เพมิ่ เติม - ตวั ยาไคร้เครือตอ้ งคั่วก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๙) - ตวั ยาระย่อมตอ้ งคั่วกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.30) - ตวั ยาลำ� โพงต้องค่วั หรือสมุ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.32) เอกสารอ้างอิง 1. โสภิตบรรณลกั ษณ,์ ขุน (อ�ำพัน กติ ตขิ จร). คัมภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ อุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสขุ 233

ยาทภิ าวุธ ท่มี าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “๏ ยาชอื่ ทภิ าวุธ เอา โกฐ (หัว) บัว โกฐเชยี ง โกฐกระดกู เทียนขาว อบเชยเทศ ชะเอมเทศ สง่ิ ละสว่ น กฤษณา กระล�ำพัก ชะลูด สิ่งละ ๒ ส่วน พริกหาง เปราะหอม สิ่งละ ๓ ส่วน ขอนดอก ๔ ส่วน ท�ำเป็นจุณ บดท�ำแทง่ ไว้ ละลายน�ำ้ ดอกไม้แทรกชะมด แทรกพิมเสนให้กนิ แกล้ มสัถกะวาต ซงึ่ กระทาให้จักษมุ ัว แลใหห้ ิวหาแรง มิไดน้ ้ันหายวิเศษนกั ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 12 ชนดิ รวมปรมิ าณ 22 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา 4 ส่วน ขอนดอก 3 สว่ น เปราะหอม 3 สว่ น พรกิ หาง 2 ส่วน กระล�ำพัก 2 สว่ น กฤษณา 2 สว่ น ชะลดู 1 ส่วน โกฐกระดกู 1 สว่ น โกฐเชียง 1 ส่วน โกฐหัวบัว 1 สว่ น ชะเอมเทศ 1 ส่วน เทียนขาว 1 สว่ น อบเชยเทศ สรรพคุณ แกล้ มสตั ถกวาตซง่ึ กระท�ำให้จักษุมวั แลใหห้ ิวหาแรงมิได ้ รปู แบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 500 มิลลิกรัม ละลายน�้ำดอกไม้ แทรกพิมเสนหรือชะมด กินวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๓. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. 234 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาธรณสี นั ฑะฆาต ช่ืออ่นื ธรณีสันฑคาต [1, 2] ท่ีมาของต�ำรับยา สูตรตำ� รับทีใ่ กล้เคียงต�ำรับนี้ พบในอายุรเวทศกึ ษา เลม่ ๒ [1, 2] “ยา ธรณสี นั ฑคาต เอาลกู จนั ทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู เทยี นดำ� เทยี นขาว ดองดงึ หวั บกุ หวั กลอย กระดาดแดง กระดาดขาว ลูกเร่ว ขิงแห้ง ชะเอมเทศ เจตมูล โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน�้ำเต้า ส่ิงละ ๑ บาท ผกั แพวแดง ลกู มะขามป้อม ส่ิงละ ๒ บาท สมอไทย มหาหิงค์ุ การบรู สิง่ ละ ๖ บาท รงทอง ๑๒ บาท ยาดำ� ๒๐ บาท พริกไทย ๙๖ บาท ตำ� เป็นผง กินถ่าย” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๒๖ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๑๖๐ กรมั ดงั นี้ [3] ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา พริกไทยล่อน ๙๖ กรัม ยาดำ� ๒๐ กรมั การบรู ๖ กรมั มหาหิงค์ ุ ๖ กรมั สมอไทย (เนื้อผล) ๖ กรัม รงทอง ๔ กรัม ผกั แพวแดง ๒ กรัม มะขามป้อม (เนือ้ ผล) ๒ กรัม กระดาดขาว ๑ กรมั กระดาดแดง ๑ กรมั กระวาน ๑ กรัม กลอย ๑ กรมั กานพล ู ๑ กรัม โกฐกระดูก ๑ กรมั โกฐเขมา ๑ กรมั โกฐน�ำ้ เตา้ ๑ กรัม ขิง ๑ กรัม เจตมูลเพลิงแดง ๑ กรัม ชะเอมเทศ ๑ กรัม ดอกจันทน์ ๑ กรัม ดองดึง ๑ กรัม เทียนขาว ๑ กรมั เทยี นด�ำ ๑ กรมั บกุ ๑ กรัม เรว่ ๑ กรัม ลกู จันทน์ ๑ กรมั กระทรวงสาธารณสุข 235

สรรพคุณ แกเ้ ถาดาน ทอ้ งผูก แกก้ ษยั เสน้ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก 3.3), ยาเมด็ (ดภู าคผนวก 3.4), ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผง ครั้งละ 0.5-๑ กรมั ละลายนำ�้ สุกหรือผสมน�้ำผ้ึงปัน้ เป็นลูกกลอน กินวันละ ๑ คร้งั กอ่ นอาหารเช้าหรือก่อนนอน ยาแคปซูล ยาเมด็ และยาลูกกลอน ครัง้ ละ 0.5-๑ กรมั กินวนั ละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน ขอ้ หา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตงั้ ครรภ์ ผู้ท่มี ีไข้ และเด็กเลก็ อายุต่�ำกว่า ๖ ปี ค�ำเตอื น - ควรระวงั การใชใ้ นผู้สงู อายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลือด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนอ่ื งจากตำ� รับนม้ี พี รกิ ไทยในปริมาณสูง ข้อควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนื่องจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พษิ ได้ ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ - ตัวยากระดาดขาวตอ้ งปิง้ ไฟหรอื นึง่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.1) - ตัวยากระดาดแดงตอ้ งป้งิ ไฟหรอื น่ึงกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.2) - ตัวยากลอยต้องควั่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๓) - ตวั ยาดองดึงตอ้ งนึ่งก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) - ตวั ยาบุกตอ้ งคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.17) - ตวั ยามหาหงิ คุ์ตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตัวยายาด�ำตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยารงทองต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.29) เอกสารอ้างองิ ๑. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. หน้า ๑๘๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2561. (๒๕๖1, 29 มิถุนายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หนา้ ๑-2. 3. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่ือง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ ที่ ๒89, 311) 236 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาธาตุเด็ก ทมี่ าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาธาตเุ ด็ก ใบเจตมูล ๑ ใบดปี ลี ๑ ใบขิง ๑ ใบสะค้าน ๑ ใบชา้ พลู ๑ ใบโหระพาเทา่ ยา ทำ� เมด็ กนิ แกธ้ าตุมเิ สมอกนั ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 6 ชนิด รวมปรมิ าณ 10 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา โหระพา 5 สว่ น ขิง (ใบ) 1 สว่ น เจตมูลเพลงิ แดง (ใบ) 1 สว่ น ชะพลู (ใบ) 1 สว่ น ดีปลี (ใบ) 1 ส่วน สะคา้ น (ใบ) 1 ส่วน สรรพคุณ แก้ธาตุไม่เสมอกัน (บ�ำรุงธาตุในเด็ก เช่น แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย เจ็บปว่ ยงา่ ย) รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เดก็ อายุ ๑ เดอื น-5 เดือน ครั้งละ 100 มิลลกิ รัม อายุ 6 เดอื น-๑ ปี ครงั้ ละ 200 มลิ ลกิ รัม อายุ ๑ ป-ี ๕ ปี คร้ังละ 300 มิลลิกรมั อายุ ๕ ปี ขนึ้ ไป ครงั้ ละ 400 มลิ ลกิ รัม ละลายน้�ำตม้ สุกกินวนั ละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นเดก็ ทมี่ ีไข ้ เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๓๑๔. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หน้า ๑-4. กระทรวงสาธารณสขุ 237

ยาธาตบุ รรจบ ที่มาของตำ� รับยา สูตรต�ำรับที่ใกล้เคียงต�ำรับน้ี ระบุในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญ ประจำ� บ้านฉบบั ท่ี ๒ [1] “วัตถุส่วนประกอบ ขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนด�ำ เทียนขาว เทียนสัตตบุษย์ เทยี นเยาวพาณี เทยี นแดง ลูกจนั ทน์ ดอกจันทน์ กานพลู การบรู เปลอื กสมลุ แว้ง ลกู กระวาน ลูกผกั ชลี า ใบพิมเสน รากไคร้เครือ ดีปลี เปราะหอม หนักสิ่งละ ๔ ส่วน โกฐก้านพร้าว หนัก ๘ ส่วน เนื้อลูกสมอไทย หนัก ๑๖ ส่วน น�ำ้ ประสานทองสะตุ หนกั ๑ ส่วน” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๒ ชนิด รวมปริมาณ ๑๐๔ กรัม ดงั น้ี [2] ตัวยา ปริมาณตัวยา สมอไทย (เนือ้ ผล) ๑๖ กรมั โกฐกา้ นพรา้ ว ๘ กรมั กระวาน ๔ กรมั กานพลู ๔ กรมั การบูร ๔ กรมั โกฐเขมา ๔ กรมั โกฐเชยี ง ๔ กรมั โกฐพุงปลา ๔ กรมั โกฐสอ ๔ กรมั ขิง ๔ กรมั ดอกจันทน์ ๔ กรมั ดปี ลี ๔ กรมั เทียนขาว ๔ กรมั เทียนด�ำ ๔ กรมั เทียนแดง ๔ กรมั เทียนเยาวพาณี ๔ กรมั เทยี นสตั ตบษุ ย ์ ๔ กรมั เปราะหอม ๔ กรมั พมิ เสนตน้ ๔ กรมั ลูกจนั ทน์ ๔ กรมั ลูกชลี า ๔ กรมั สมุลแวง้ ๔ กรัม สรรพคณุ บรรเทาอาการทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ บรรเทาอาการอจุ จาระธาตพุ กิ าร ทอ้ งเสยี ชนดิ ทไี่ มเ่ กดิ จากการติดเช้อื เชน่ อุจจาระไม่เปน็ มูกหรอื มีเลอื ดปน ท้องเสียชนดิ ท่ไี มม่ ีไข้ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) 238 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง ผู้ใหญ่ คร้ังละ ๑ กรัม ละลายน้�ำกระสายยากินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมอื่ มีอาการ เด็ก อายุ ๖-๑๒ ปี คร้งั ละ ๕๐๐ มลิ ลกิ รัม ละลายน้ำ� กระสายยากนิ วันละ ๓ คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น เมื่อมีอาการ กระสายยาทใ่ี ช้ - บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม ๓ กลีบ ทุบชงน�้ำร้อนหรือใช้ ใบกะเพราตม้ - บรรเทาอาการอจุ จาระธาตุพิการ ทอ้ งเสยี ชนดิ ท่ีไม่เกดิ จากการตดิ เชื้อ ใชเ้ ปลือกแค เปลอื กสะเดา หรือเปลือกผลทับทมิ ตม้ แทรกกบั นำ้� ปูนใส - ถา้ หานำ�้ กระสายยาไมไ่ ดใ้ หใ้ ช้นำ�้ สกุ แทน ยาแคปซลู และยาลกู กลอน ผู้ใหญ ่ ครง้ั ละ ๑ กรมั กนิ วันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น เมอ่ื มอี าการ เด็ก อายุ ๖-๑๒ ปี คร้ังละ ๕๐๐ มิลลิกรัม กินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ เม่อื มีอาการ ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญิงต้ังครรภแ์ ละผ้ทู ่มี ีไข้ ค�ำเตอื น ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลอื ด ขอ้ ควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอื่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พษิ ได้ - ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน ๑ วัน หากอาการไม่ดีข้ึน ควรปรึกษาแพทย์ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ สูตรต�ำรับยาธาตุบรรจบตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีตัวยา “น�้ำประสานทองสะตุ และ ไครเ้ ครอื ” เปน็ สว่ นประกอบ [1] แตไ่ ด้ตัดน�ำ้ ประสานทอง สะตอุ อกจากสตู รตำ� รบั ตามประกาศยาสามญั ประจำ� บา้ นแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ [3] ส่วน “ไคร้เครือ” ตัดออกจากสูตรต�ำรับเน่ืองจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งช้ีว่า ไคร้เครือ ท่ีใช้และจ�ำหน่ายกันในท้องตลาดเป็นพืชในสกุล Aristolochia ซ่ึงพืชในสกุลน ้ี มีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต และเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศ ใหพ้ ืชสกลุ Aristolochia เปน็ สารกอ่ มะเร็งในมนษุ ย์ [2] เอกสารอา้ งองิ ๑. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับท่ี ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง. หนา้ ๘๕. ๒. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เรอื่ ง บัญชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ ๒80, ๒90). 3. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๖ ตอนพเิ ศษ ๖๗ ง. หนา้ ๔๔. กระทรวงสาธารณสขุ 239

ยาธาตอุ บเชย ทีม่ าของต�ำรบั ยา สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยปรับสตู รตำ� รบั จากยาธาตุนำ�้ เปลอื กอบเชย ของหมอจนั ดี เข็มเฉลมิ แพทยป์ ระจ�ำ ต�ำบลเกาะขนนุ อำ� เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา [1] “ยาธาตนุ ้�ำเปลือกอบเชย ตัวยา (๑) เปลือกอบเชย ๕๐ กรมั (๒) เปลอื กสมลุ แวง้ ๕๐ กรัม (๓) ชะเอมเทศ ๕๐ กรมั (๔) กานพลู ๕๐ กรัม (๕) การบรู ๑๐ กรมั (๖) เม็นทอล ๕ กรัม (๗) นำ�้ สะอาด ๕,๐๐๐ ซ.ี ซี.” สูตรต�ำรบั ยา ในน�ำ้ ๑๐๐ มิลลิลติ ร ประกอบดว้ ยตัวยา ๗ ชนิด รวมปรมิ าณ ๔,๑๐๐ มิลลิกรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระวาน ๘๐๐ มิลลกิ รมั กานพล ู ๘๐๐ มิลลกิ รัม ชะเอมเทศ ๘๐๐ มลิ ลิกรัม สมลุ แว้ง ๘๐๐ มิลลกิ รมั อบเชยเทศ ๘๐๐ มิลลกิ รัม การบรู ๕๐ มลิ ลิกรัม เกลด็ สะระแหน ่ ๕๐ มลิ ลกิ รัม สรรพคณุ ขบั ลม บรรเทาอาการท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ ๑๕-๓๐ มิลลิลิตร ดมื่ วันละ ๓ คร้งั หลังอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ข้อควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอ่ื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ ขอ้ มลู เพิ่มเติม ยาธาตุอบเชย เดิมชื่อยาธาตุน�้ำเปลือกอบเชย เป็นสูตรต�ำรับของหมอจันดี เข็มเฉลิม แพทยป์ ระจำ� ตำ� บลเกาะขนนุ อำ� เภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา โดยผูใ้ หญ่วบิ ูลย ์ เข็มเฉลิม (บุตรชาย) ได้มอบสูตรต�ำรับให้โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเองเป็น ผู้เผยแพร่สูตรต�ำรับ [2] มีการใช้อย่างแพร่หลาย และมีการปรับสูตรต�ำรับเพิ่มเติม เชน่ การเพม่ิ ลูกกระวาน ทงั้ น้ี ยงั ไดต้ พี มิ พ์ในตำ� ราแพทย์โบราณทั่วไปสาขาเภสชั กรรม ของกองการประกอบโรคศิลปะ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข [3] และม ี งานวิจยั [4] รองรบั 240 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เรอ่ื ง บัญชยี าหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า ๒81). ๒. โครงการสมนุ ไพรเพอื่ การพง่ึ ตนเอง. ยาไทยทใี่ ชไ้ ดผ้ ล. อนสุ รณฐ์ านงานบรรจอุ ฎั ฐิ หมอจนั ดี เขม็ เฉลมิ ; ๒๕๒๘. ๓. กองการประกอบโรคศิลปะ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ต�ำราแพทย์แผนโบราณท่ัวไป สาขาเภสชั กรรม. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์แห่งประเทศไทย; ๒๕๔๑. หน้า ๒๑๘. ๔. กําไร กฤตศลิ ป,์ กุลลณา ตนั ติประวรรณ, ขนิษฐา วลั ลพี งษ,์ จริ ัญญา มุขขันธ,์ ฉวีวรรณ ม่วงน้อย และคณะ. ประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาธาตอุ บเชยในการรักษาผปู้ ่วย Functional Dyspepsia. สารศริ ริ าช ๒๕๔๙; ๕๘(๑๑): ๑๑๐๓–๖. ยานนทเสน ทมี่ าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [๑, ๒] “ยาบ�ำรงุ เอา ดอกคำ� ๑ สลึง จนั ทน์แดง ๒ สลึง จนั ทนข์ าว ๒ สลึง จนั ทนา ๒ สลงึ ชะเอมเทศ ๒ สลงึ กฤษณา ๑ สลงึ รากมะกรดู ๑ สลงึ รากมะตมู ๑ สลงึ ชะลูด ๑ สลึง รากแฝกหอม๑ สลึง ฝาง เทา่ ยาทัง้ หลาย ตำ� ผงละลายน�้ำฝางกิน บ�ำรุงเลือดแล ชอ่ื นนทเสน ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๑ ชนิด รวมปริมาณ ๑๐๕ กรมั ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 52.5 กรมั ฝาง 7.5 กรมั จนั ทนข์ าว 7.5 กรัม จันทนแ์ ดง 7.5 กรัม จนั ทนา 7.5 กรมั ชะเอมเทศ 3.75 กรมั กฤษณา 3.75 กรมั ค�ำไทย 3.75 กรัม ชะลูด 3.75 กรัม แฝกหอม 3.75 กรมั มะกรดู (ราก) 3.75 กรมั มะตูม (ราก) สรรพคุณ บำ� รงุ โลหิต รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครัง้ ละ 1 กรมั ละลายน�ำ้ ฝางกินวันละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า ข้อมลู เพม่ิ เติม ผงยาตอ้ งมีขนาดท่ีผา่ นแร่งเบอร์ ๘๐ ได้ กระทรวงสาธารณสุข 241

เอกสารอ้างองิ ๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๕๑. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง. หนา้ ๑. ยานาดธจิ ร ทม่ี าของตำ� รบั ยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)์ิ [1, 2] “๏จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้สรรพโรค ท้ังปวงต่าง ๆ สืบกันมา ฯ ในท่ีน้ีจะว่าแต่วิเศษสรรพคุณ คือคณะสรรพยาซ่ึงจะแก้โรคสมมุติว่า หฤศโรคคือ สรรพริดสีดวงนนั้ โดยนัยดังน้ี ฯ ยาชอ่ื นาดธจิ ร เอาโกฐสอ โกฐเขมา เทยี นขาว ผลจนั ทน์ กานพลู ส่ิงละส่วน รากทนดี รากชงิ ช่ี รากจิงจ้อ เปลือกทองหลางใบมน เปลือกมะรุม เปลือกกุ่มท้ังสอง บุกรอ กลอย อุตพิด ตรีกฏุก กระเทียม มะตูมอ่อน แห้วหมู กัญชา สิ่งละ ๒ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดด้วยน�้ำผึ้งให้กินหนัก ๑ สลึง แก้โรคริดสีดวงผอมเหลืองบริโภค อาหารเผ็ดรอ้ นมิไดน้ ้นั หายดนี กั ฯ” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 22 ชนดิ รวมปรมิ าณ 39 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา กระเทยี ม 2 สว่ น กลอย 2 สว่ น กญั ชา 2 ส่วน กมุ่ น�ำ้ 2 สว่ น กมุ่ บก 2 ส่วน ขิงแห้ง 2 ส่วน จิงจอ้ ใหญ ่ 2 ส่วน ชงิ ช ี่ 2 สว่ น ดปี ลี 2 ส่วน ทนด ี 2 สว่ น ทองหลางใบมน 2 สว่ น บุกรอ 2 ส่วน พรกิ ไทย 2 สว่ น มะตูม 2 ส่วน 242 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 2 ส่วน มะรุม 2 สว่ น แห้วหมู 2 ส่วน อุตพิด ๑ ส่วน กานพลู ๑ ส่วน โกฐเขมา ๑ สว่ น โกฐสอ ๑ สว่ น เทียนขาว ๑ ส่วน ลูกจนั ทน์ สรรพคณุ แกร้ ิดสีดวงผอมเหลือง ซ่งึ ทำ� ให้กนิ อาหารเผ็ดรอ้ นไม่ได้ เปน็ ตน้ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 1-1.๕ กรมั กินวนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ข้อมูลเพิม่ เติม - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทยแ์ ผนไทยตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ - ตวั ยากลอยต้องคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) - ตัวยากัญชาตอ้ งคว่ั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตัวยาบกุ รอตอ้ งคั่วกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตวั ยาอตุ พดิ ตอ้ งคว่ั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.50) เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เลม่ ๒. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. กระทรวงสาธารณสุข 243

ยานารายณป์ ระสทิ ธ์ิ ทม่ี าของตำ� รับยา คัมภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยานารายณ์ประสิทธ์ิ แก้ไข้พิษไข้กาฬ ไข้สันนิบาต ไข้รากสาดท่ีลงเป็นโลหิต ไข้จับส่ัน แก้ร้อนภายใน ภายนอก ถอนเบื่อเมาต่าง ๆ เอาเปลือกต้นปลาไหลเผือก รากล�ำโพงกาสลัก ช้องระอา รากชิงชี่ รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากเท้ายายม่อม รากหญ้านาง จันทน์แดง จันทน์ขาว จันทน์เทศ จันทน์ชะมด จันทนา โกฏสอ โกฏหัวบวั รากมะปรางหวาน รากมะนาว รากมะกรดู ฝางเสน เอาส่งิ ละ ๔ บาท เหมือดคนเท่ายาท้งั หลาย บดปัน้ แทง่ ดว้ ยน�้ำดอกไม้ แทรกชะมดพมิ เสน กระแจะตะนาว ดีงเู หลอื ม ดีจรเข้ ดีหมปู ่า ดีหมี ละลายน้ำ� กระสายตามควร แกโ่ รคกิน” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 20 ชนดิ รวมปรมิ าณ 2,280 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา เหมอื ดคน 1,140 กรัม โกฐสอ โกฐหวั บวั 60 กรัม คนทา 60 กรัม จันทน์ขาว 60 กรัม จนั ทนช์ ะมด 60 กรมั จันทนแ์ ดง 60 กรัม จันทนเ์ ทศ 60 กรัม จนั ทนา 60 กรัม ชองระอา 60 กรัม ชิงช ี่ 60 กรมั ปลาไหลเผือก (เปลอื กตน้ ) 60 กรมั ฝางเสน 60 กรัม มะกรดู (ราก) 60 กรมั มะเดอ่ื อทุ มุ พร 60 กรัม มะนาว 60 กรมั มะปรางหวาน 60 กรมั ไม้เท้ายายมอ่ ม 60 กรัม ยา่ นาง 60 กรัม ล�ำโพงกาสลกั 60 กรัม 60 กรมั สรรพคุณ แก้ไข้พิษไข้กาฬ ไข้สันนิบาต ไข้รากสาดท่ีถ่ายเป็นโลหิต ไข้จับสั่น แก้ร้อนภายใน ภายนอก ถอนพษิ เบื่อเมาต่าง ๆ รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) 244 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

วิธีปรุงยา บดปั้นแท่งด้วยน้�ำดอกไม้แทรกชะมด พิมเสน กระแจะตะนาว ดีงูเหลือม ดีจระเข ้ ดีหมปู า่ ดีหมี ละลายน�ำ้ กระสายยาตามควรแกโ่ รค ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครง้ั ละ 0.6-1.2 มิลลกิ รัม กนิ วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ขอ้ มลู เพิม่ เติม ตัวยาล�ำโพงกาสลักตอ้ งควั่ หรือสุมกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.32) เอกสารอ้างองิ 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพนั กิตติขจร). คัมภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. ยานารายณ์พงั คา่ ย ทม่ี าของตำ� รับยา 1. ศลิ าจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวหิ าร [1, 2] “ยาชอื่ นารายณพ์ งั คา่ ยเอาหิงคุ์ ๑ ล�ำพนั ๒ เจตมลู ๓ ผักชีลอ้ ม ๔ สะค้าน ๕ โกฐสอ ๖ พริกไทย ๗ มะตูมอ่อน ๘ ลูกช้าพลู ๙ ขิงแห้ง ๑๐ สมอเทศ ๑๑ เทียนด�ำ ๑๒ แก่นบุนนาค ๑๓ เปล้าน้อย ๑๔ ทนดี ๑๕ ทำ� เป็นจุณละลายน้�ำรอ้ นกินหนัก ๑ สลึง แก้ดานทักขณิ คณุ แลดานตะคณุ ประวาตะคุณ ๚” 2. ตำ� รายาเกร็ด [3, 4] “ยาชอื่ นารายณพ์ งั คา่ ย มหาหิงคุ์ ๑ (1) อ�ำพัน ๑ (๒) เจตมลู ๑ (๓) ชลี ้อม ๑ (๔) สะค้าน ๑ (๕) โกฐสอ ๑ (๖) พริกหอม ๑ (๗) ลกู มะตูมออ่ น ๑ (๘) ลูกช้าพลู ๑ (๙) ขงิ ๑ (๑๐) สมอเทศ ๑ (๑๑) เทยี นด�ำ ๑ (๑๒) เกสรบนุ นาค ๑ (๑๓) เปลา้ ท้ัง ๒ ๑ (๑๔) รากทนดี ๑ (๑๕) พรกิ ไทย ๑ (๑๖) ยา ๑๖ สง่ิ น้ที วีตามวัยเลข ตากแห้ง ท�ำผงไว้เมื่อกินหนัก ๑ สลึง ละลายน้�ำร้อนกิน ผายลง ๒ หน ๓ หน ต้องคุณก็ดีและลมขึ้นเบ้ืองบนถึงกระหม่อม แลลมใหเ้ ย็นตนี มอื ให้บวมเท้า ใหต้ นี มือตายไป ตำ� หระ (ซีก) ตัวขา้ งหน่งึ รบั อาหารมไิ ดใ้ ห้คบั ทรวง ท่วั สารพางค์ตัว ไข้สันนิบาตลมมีพิษ ให้ฟกบวมทุกแห่งลมให้เย็นตัว ให้หาแรงมิได้ ไฟธาตุหย่อนเผาอาหารมิแหลก ให้เจ็บสีข้าง ให้ไอ เป็นหืด เป็นปาน เป็นพยาธิ ในท้อง ให้ส่ันทั้งตีนมือ ลมให้ไอให้กระตุกทุกแห่ง และกินยาอันใด ๆ มิฟัง ใหก้ ินยาน้ี ถึงจะกนิ ยาอืน่ ยาน้ี อยา่ ทิ้งเสีย ๑๕ วันกินทหี น่ึง ชือ่ นารายณพ์ งั ค่าย ตีราคาไว้ชั่งทองหนง่ึ แล ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 16 ชนิด รวมปริมาณ 16 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา โกฐสอ 1 ส่วน ขงิ แหง้ 1 ส่วน เจตมูลเพลิงแดง 1 สว่ น ชะพลู (ผล) 1 สว่ น ทนดี 1 สว่ น เทียนดำ� 1 ส่วน บุนนาค (แกน่ ) 1 ส่วน เปลา้ น้อย 1 สว่ น กระทรวงสาธารณสุข 245

ตัวยา ปริมาณตัวยา 1 สว่ น เปล้าใหญ ่ 1 สว่ น พริกไทย 1 ส่วน มหาหิงคุ ์ 1 ส่วน มะตมู 1 สว่ น ลำ� พัน 1 สว่ น ลูกชลี อ้ ม 1 สว่ น สมอเทศ 1 สว่ น สะค้าน สรรพคณุ แกอ้ มั พฤกษ์ แก้ลมขน้ึ เบือ้ งบน มอื เท้าตาย รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 3.75 กรมั ละลายน้�ำรอ้ นกนิ วันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ หญิงใหน้ มบตุ ร ผู้ท่ีมีไข้ และเด็กอายุต�ำ่ กว่า 12 ปี ข้อมลู เพ่ิมเตมิ ตัวยามหาหิงคต์ุ อ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอา้ งอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๙๓ ง. หน้า ๑-๑๕. 3. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๔๗. หมวดเวชศาสตร์. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หน้า ๑-3. 246 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาน้ำ� มนั แก้แผลเป่ือย ที่มาของตำ� รับยา ศลิ าจารึกต�ำรายาวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ [๑, ๒] “เปลือกฝิ่นต้น ดีงูต้น รากถั่วพู น้�ำมันงา ต�ำเอาน้�ำส่ิงละจอก หุงให้คงแต่น�้ำมัน เบญกานี สีเสียด ปรุงลงทาเปื่อยหาย” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 6 ชนดิ ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ๑๕ กรมั เบญกาน ี ๑๕ กรมั สีเสียด 50 มิลลิลติ ร ดงี ูต้น 50 มลิ ลิลิตร ถ่วั พู 50 มิลลิลิตร นำ้� มนั งา 50 มลิ ลลิ ติ ร ฝนิ่ ตน้ สรรพคณุ แก้แผลสดและแผลเปือ่ ย รปู แบบยา ยาน�้ำมัน (ดภู าคผนวก 3.6) วธิ ีปรงุ น�ำน�้ำเปลือกฝิ่นต้น น�้ำดีงูต้น น�้ำรากถั่วพู มาหุงกับน�้ำมันงา ให้เหลือแต่น�้ำมันงา แลว้ นำ� นำ�้ มนั งาทีไ่ ด้ไปผสมกับผงเบญกานีและผงสีเสียด ขนาดและวิธีการใช้ ทาบริเวณท่ีมีอาการ วันละ 2 คร้ัง เช้าและเย็น ก่อนทาให้ท�ำความสะอาดแผล และบริเวณใกล้เคียงด้วยน�้ำเกลือล้างแผล ห้ามทาบริเวณขอบตาและเน้ือเย่ืออ่อน เป็นยาใชภ้ ายนอก หา้ มกิน ข้อมลู เพิ่มเติม การเตรยี มน�ำ้ เปลือกฝ่นิ ตน้ น�้ำใบดีงูตน้ และน�ำ้ รากถ่ัวพู ทำ� โดยการน�ำสว่ นของพืชสด ท่ีต้องการ ผสมนำ้� เลก็ น้อยโขลกใหล้ ะเอียด คั้นเอาน�้ำใหไ้ ดอ้ ยา่ งละ ๑๐๐ มลิ ลิลติ ร เอกสารอา้ งอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) เล่ม ๒. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. กระทรวงสาธารณสุข 247

ยาน้ำ� มนั ช�ำระแผล ท่ีมาของต�ำรบั ยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ์)ิ [1] “๏ จะกลา่ วซง่ึ สรรพยาขผี้ งึ้ นำ้� มนั อนั จะรกั ษาวณั โรคคอื สรรพแผล ทง้ั ปวงนนั้ สบื ตอ่ ไปใหบ้ คุ คลทง้ั หลาย พึงรู้ดงั นี้ ฯ ยานำ้� มนั ช�ำระแผล เอาใบขอบชะนางทง้ั สอง ใบหญา้ น้�ำดบั ไฟ ใบล�ำโพงกาสลกั นำ� เอาน้�ำส่งิ ละทะนาน นำ�้ มนั งาทะนาน ๑ นำ� ใบเถาคันแดง ๒ ทะนาน หงุ ตามวิธีใหค้ งแตน่ ้ำ� มัน แลว้ จงึ เอาผลจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู จุลสี สารสม้ สิ่งละ ๒ สลงึ เปน็ จุณปรุงลงในน�้ำมัน ชุบสำ� ลีใสแ่ ผลเปน็ ยาชำ� ระวเิ ศษนกั ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 11 ชนิด รวมปรมิ าณ 37.5 กรัม* ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา กานพลู 7.5 กรัม จนุ สี 7.5 กรัม ดอกจันทน์ 7.5 กรมั ลกู จันทน ์ 7.5 กรมั สารส้ม 7.5 กรมั เถาคันแดง ขอบชะนางขาว 2 ลติ ร ขอบชะนางแดง 1 ลติ ร นำ้� มันงา 1 ลิตร ลำ� โพงกาสลกั (ใบ) 1 ลติ ร หญ้าน�้ำดับไฟ 1 ลติ ร 1 ลิตร *ไม่รวมปริมาณขอบชะนางขาว ขอบชะนางแดง หญ้าน้�ำดับไฟ ล�ำโพงกาสลัก (ใบ) น้�ำมันงา เถาคันแดง สรรพคณุ ชำ� ระแผล รูปแบบยา ยาน้ำ� มนั (ดูภาคผนวก 3.6) วิธีปรงุ ยา ตัวยาขอบชะนางขาว ขอบชะนางแดง หญ้าน้�ำดับไฟ ล�ำโพงกาสลัก (ใบ) น�้ำมันงา เถาคนั แดง หุงตามวิธใี หเ้ หลอื แตน่ ำ้� มัน แลว้ จึงเอาตัวยาลกู จันทน์ ดอกจนั ทน์ กานพล ู จุนสี สารส้ม บดเป็นผงละเอยี ดผสมลงในนำ้� มนั ขนาดและวธิ ีการใช้ ใช้ส�ำลีชุบน้�ำมันทาแผลหรือปิดแผลวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น เป็นยาใช้ภายนอก หา้ มกนิ 248 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขอ้ มลู เพ่ิมเติม - การช�ำระแผล ในศาสตร์การแพทย์แผนไทยหมายถึง ท�ำความสะอาดแผลโดยการ ใช้ยาทาหรือพอกไว้ ใช้ได้ท้งั แผลสดและแผลเป่อื ย - ตัวยาจุนสีตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.11) - ตัวยาสารสม้ ต้องสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งอิง 1. ตำ� รายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร. พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ให้จารกึ ไว้เม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์; ๒๕๐๕. ยาน้ำ� มันประสาน ทมี่ าของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “น�้ำมันประสาน เอา น้�ำมันดิบ 1 ข่า ๑ ว่านมหาเมฆ ว่านนางค�ำ ส่ิงละทะนาน ยางสน 3 บาท เคีย่ วคงแต่น้�ำมันเอาเถดิ ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนดิ ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา สน (ยาง) 45 กรัม ขา่ 1 ทะนาน น้ำ� มนั ยางนา* 1 ทะนาน วา่ นนางค�ำ 1 ทะนาน วา่ นมหาเมฆ 1 ทะนาน *ตำ� รับน้ใี ช้นำ้� มนั ยางนาแทนน้�ำมนั ดบิ สรรพคุณ รกั ษาโรคผิวหนงั แผลเร้ือรัง และแผลกดทบั รปู แบบยา ยานำ้� มัน (ดูภาคผนวก 3.6) วิธีปรงุ ยา นำ� ตวั ยาขา่ ว่านมหาเมฆ และวา่ นนางค�ำ ตำ� ใหล้ ะเอียด ค้ันเอาแต่น�้ำ จากนั้นนำ� ตัวยา ทั้งหมดใส่ในกระทะ เค่ยี วจนน�้ำระเหยออกหมดเหลือแต่น�ำ้ มนั กรองเอากากออก ขนาดและวิธีการใช้ ทาบรเิ วณที่เปน็ วันละ 2-3 ครัง้ เอกสารอา้ งองิ 1. ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ)์ิ . พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าใหจ้ ารกึ ไว้เม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์. พระนคร : [ม.ป.พ.]; ๒๕๐๕. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง. หนา้ ๑. กระทรวงสาธารณสขุ 249

ยาน�ำ้ มันมหาจกั ร ทีม่ าของต�ำรบั ยา คัมภรี ์ธาตพุ ระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน [1, 2] “น้�ำมันมหาจักร เอาน�้ำมันงาทะนานหน่ึง ด้วยทะนาน ๖๐๐ มะกรูดสด ๓๐ ลูก แล้วจึงเอาน�้ำมัน ตั้งเพลิงข้ึน รุมเพลิงให้ร้อน เอาผิวมะกรูดใส่ลงให้เหลืองเกรียมดีแล้ว ยกลงกรองกากให้หมดเอาไว้ให้เย็น จึงเอา เทยี นทงั้ ๕ ส่งิ ละ ๒ สลึง ดปี ลีบาท ๑ การบูร ๒ บาท บดจงละเอียดปรุงลงในน�ำ้ มนั นั้น ยอนหู แกล้ ม แก้รดิ สีดวง แก้เปื่อยคันก็ได้ ทาเม่ือยขบก็ได้ ใส่บาดแผลเจ็บปวดเสี้ยนหนามหอกดาบก็ได้หายแล แต่อย่าให้ถูกน�้ำ ๓ วัน มเิ ปนบุบโพเลย ฯ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 9 ชนิด รวมปรมิ าณ 82.5 กรมั * ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา การบูร 30 กรัม ดีปลี 15 กรมั เทียนขาว 7.5 กรัม เทยี นข้าวเปลือก 7.5 กรัม เทียนดำ� 7.5 กรัม เทยี นแดง 7.5 กรมั เทยี นตาตั๊กแตน 7.5 กรัม น�ำ้ มนั งา 1 ลิตร มะกรูด 30 ลกู *ไม่รวมปรมิ าณน�้ำมนั งาและมะกรูด รปู แบบยา ยาน�ำ้ มัน (ดูภาคผนวก 3.6) สรรพคณุ ทาแก้ปวดเม่ือยตามรา่ งกาย วธิ ปี รุงยา 1. ทอดผิวมะกรูดในน้�ำมันงา จนผิวมะกรูดเปล่ียนเป็นสีเหลืองเกรียม ยกลงจากไฟ กรองกากออกใหห้ มด พกั ใหเ้ ยน็ 2. ตัวยาเทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนด�ำ ดีปลี บดให้พอหยาบ แล้วจึงใส่ลงในน�้ำมันตามข้อ 1 คนให้เข้ากัน กรองเอากากออก ใหห้ มด ตงั้ ทิ้งไวใ้ หเ้ ยน็ แลว้ จึงเติมการบูรลงในนำ้� มันคนให้เข้ากัน ขนาดและวิธีการใช้ ทาบรเิ วณท่มี ีอาการปวดเม่อื ยวนั ละ 2-3 ครง้ั เช้า (กลางวัน) เย็น เป็นยาใชภ้ ายนอก เ อกสารอา้ งอ ิง ห้ามกิน 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ คมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน (ตำ� ราพระโอสถพระนารายณ)์ . พิมพค์ ร้งั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ 2555. หนา้ 119. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. 250 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาน�้ำมันสน่นั ไตรภพ ที่มาของตำ� รบั ยา 1. ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ [1, 2] 2. ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามวรวิหาร [3, 4] “๏ จะกล่าวลักษณะกระษัยโรคอันบังเกิดข้ึนเป็นอุปปาติก คือกระษัยเหล็กน้ันเป็นค�ำรบ ๓ มีประเภท กระทำ� ให้หน้าเหน่าและท้องน้อยนนั้ แขง็ ดจุ ดงั แผ่นศลิ า และจะไหวตัวไปมาก็มิได้ ครัน้ แกเ่ ขา้ แขง็ ลามขน้ึ ไปถึงยอดอก และใหบ้ ริโภคอาหารมิได้ ให้ปวดขบดังจะขาดใจตายดังน้ี ฯ อนึ่ง เอาใบกะเพรา ใบแมงลกั ใบเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ เกลอื ลูกคัดเค้า ยาทั้งนี้เอาน้�ำสิ่งละทะนาน 1 น�้ำมันงาทะนาน 1 หุงให้คงแต่น�้ำมันแล้ว จึงเอา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร ส่งิ ละ ๑ สลึง ทำ� เปน็ จณุ ปรุงลงในน้ำ� มันนั้น แลว้ จงึ เอามาทาท้องรดี เสียใหไ้ ด้ ๓ วันก่อน แล้วจึงกินน้�ำมันนี้อีก ๓ วันหายวิเศษนัก ยาน�้ำมันขนานน้ีชื่อ สนั่นไตรภพ แก้กล่อนกระษัยท้ังปวง หายดีนกั ฯ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 18 ชนิด ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระชาย 1 กโิ ลกรมั (นำ้� หนักตวั ยาสด) กญั ชา 1 กิโลกรมั (นำ้� หนักตวั ยาสด) กะเพรา 1 กโิ ลกรัม (นำ้� หนักตัวยาสด) เกลือ คดั เคา้ 1 กโิ ลกรมั ผักเสยี้ นผี (ใบ) 1 กโิ ลกรัม (น�ำ้ หนักตวั ยาสด) พรกิ ไทย 1 กิโลกรัม (น�้ำหนกั ตวั ยาสด) แมงลัก 1 กโิ ลกรมั (น้ำ� หนักตัวยาสด) หญ้าไทร 1 กโิ ลกรมั (น้�ำหนักตวั ยาสด) หอมแดง 1 กิโลกรัม (น้�ำหนกั ตัวยาสด) กระวาน 1 กิโลกรมั (น้�ำหนกั ตัวยาสด) กานพลู การบรู 3.75 กรัม ดอกจันทน ์ 3.75 กรมั เทยี นขาว 3.75 กรมั เทยี นดำ� 3.75 กรมั ลกู จันทน ์ 3.75 กรัม น้ำ� มนั งา 3.75 กรัม 3.75 กรมั ๑ ลติ ร กระทรวงสาธารณสุข 251

สรรพคณุ แก้กษัยเหลก็ รปู แบบยา ยานำ้� มนั (ดภู าคผนวก 3.6) ขนาดและวธิ ีใช้ ใช้น้�ำมันทารีดท้อง นวดคลึงบริเวณรอบสะดือถึงชายโครง ทิศตามเข็มนาฬิกา ๓ วันก่อน แล้วจึงให้กินน้�ำมันครั้งละ 3-5 มิลลิลิตร กินวันละ 1 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กนิ ตดิ ต่อกัน 3 วนั ข้อห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญิงตัง้ ครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และผูท้ ีม่ อี ายตุ �่ำกว่า 18 ปี คำ� เตือน - ควรระวงั การใชใ้ นผ้ปู ่วยโรคความดนั โลหติ สูง โรคหวั ใจ ผู้ปว่ ยโรคแผลเป่ือยเพปตกิ ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลยอ้ น เนื่องจากเป็นตำ� รบั ยารสร้อน - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลือด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนือ่ งจากต�ำรบั นีม้ พี รกิ ไทยในปริมาณสูง - ควรระวังในการทาบริเวณผิวท่ีบอบบางหรือผิวหนังที่แตก เนื่องจากอาจท�ำให ้ เกิดการระคายเคืองได้ ข้อควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมการใช ้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทยตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ - ตัวยากะเพรา แมงลัก ผักเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไทร คัดเค้า ใชต้ วั ยาสดสง่ิ ละ 1 กโิ ลกรมั ค้ันเอาแตน่ �้ำมาใชใ้ นการปรุงยา - ตวั ยากญั ชาต้องคว่ั ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๔) - ตวั ยาเกลอื ต้องสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๕) เอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เลม่ 2. พิมพ์ครัง้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. 3. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์คร้ังท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ ๒๕๕๗. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๙๓ ง. หนา้ ๑-๑๕. 252 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยานำ�้ มนั สมานแผล สตู ร 1 ท่ีมาของต�ำรับยา ศลิ าจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธิ์) [1] “๏ จะกลา่ วซงึ่ สรรพยาขผี้ งึ้ นำ�้ มนั อนั จะรกั ษาวณั โรคคอื สรรพแผล ทง้ั ปวงนน้ั สบื ตอ่ ไปใหบ้ คุ คลทง้ั หลาย พึงรู้ดังนี้ ฯ ยาน้�ำมันสมานแผล เอาใบมะเด่ืออุทมพร ใบขอบชะนางท้ังสอง ใบหญ้านาง ใบเถาวัลย์แดง ใบไผ่ป่า ใบพุงดอ ใบมะเฟอื ง ใบทองหลางใบมน ใบขเี้ หลก็ ใบมะระ ใบน�้ำเต้า ต�ำเอานำ�้ ส่ิงละทะนาน นำ�้ มนั งาทะนาน ๑ หุง ตามวธิ ใี หค้ งแต่น้ำ� มนั แล้วจงึ เอาเทยี นดำ� เทยี นแดง เทียนขาว เทียนเยาวภาณี สิ่งละ ๑ สลงึ สเี สยี ดเทศ ชันตะเคียน ก�ำยาน สิ่งละ ๒ สลึง เปลือกข้ีอ้ายนา ๒ บาท ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน้�ำมันดีแล้ว ชุบส�ำลีปิดแผล ซ่ึงกระท�ำพิษ ใหแ้ สบ ใหร้ ้อน แลเป็นยาสมานแผล ทัง้ ปวงนน้ั หายดนี กั ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 21 ชนิด รวมปริมาณ 67.5 กรัม* ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ขี้อ้ายนา 30 กรมั กำ� ยาน 7.5 กรมั ตะเคยี น 7.5 กรัม สีเสียดเทศ 7.5 กรมั เทยี นขาว 3.75 กรมั เทยี นด�ำ 3.75 กรมั เทียนแดง 3.75 กรมั เทยี นเยาวพาณี 3.75 กรมั ขอบชะนางขาว ขอบชะนางแดง 1 ลติ ร ข้ีเหลก็ (ใบ) 1 ลิตร เถาวัลย์แดง 1 ลิตร ทองหลางใบมน (ใบ) 1 ลิตร น้ำ� เต้า 1 ลติ ร นำ้� มนั งา 1 ลติ ร ไผป่ า่ 1 ลติ ร พุงดอ 1 ลิตร มะเดือ่ อทุ ุมพร (ใบ) 1 ลิตร มะเฟือง 1 ลติ ร มะระ 1 ลิตร ยา่ นาง (ใบ) 1 ลติ ร 1 ลติ ร *ไม่รวมปริมาณขอบชะนางขาว ขอบชะนางแดง ข้ีเหล็ก (ใบ) เถาวัลย์แดง ทองหลางใบมน (ใบ) น้�ำเต้า น้ำ� มนั งา ไผ่ปา่ พงุ ดอ มะเด่อื อทุ มุ พร (ใบ) มะเฟือง มะระ ย่านาง (ใบ) กระทรวงสาธารณสขุ 253

สรรพคุณ สมานแผล ใชใ้ นกรณแี ผลสดหรอื แผลเนา่ เปอ่ื ย แกอ้ าการปวดแสบปวดรอ้ นอนั เกดิ จาก แผลเปื่อย รปู แบบยา ยาน�้ำมัน (ดภู าคผนวก 3.6) วิธีปรุงยา ตัวยามะเด่ืออุทุมพร ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว ย่านาง เถาวัลย์แดง ไผ่ป่า พุงดอ มะเฟอื ง ทองหลางใบมน ข้ีเหล็ก มะระ นำ้� เตา้ น้ำ� มนั งา หุงตามวธิ ีให้เหลอื แต ่ น�้ำมัน แล้วจึงน�ำตัวยาเทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนเยาวพาณี สีเสียดเทศ ตะเคยี น ก�ำยาน ขี้อ้ายนา บดเป็นผงละเอยี ดผสมลงในน้ำ� มัน ขนาดและวิธกี ารใช้ ใช้ส�ำลีชุบน้�ำมันทาแผลหรือปิดแผลวันละ 2 คร้ัง เช้าและเย็น เป็นยาใช้ภายนอก หา้ มกิน ข้อมูลเพ่มิ เตมิ - สมานแผล ในศาสตร์การแพทย์แผนไทยหมายถึง การทำ� ใหแ้ ผลติดกนั ในแผลเป่อื ย หรอื การเรียกเนอื้ ในแผลสด - ตัวยาสีเสยี ดเทศตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.41) เอกสารอา้ งอิง 1. ตำ� รายาศลิ าจารึกในวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ)์ิ . พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าใหจ้ ารกึ ไวเ้ มอ่ื พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบบั สมบูรณ์. พระนคร : [ม.ป.พ.]; ๒๕๐๕. ยานำ�้ มันสมานแผล สตู ร 2 ท่ีมาของตำ� รับยา จารกึ ต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร [1, 2] “อน่ึง เอาใบมะเกลือ ลูกสะบา้ ใบมะระ ใบปีบ ขมิ้นอ้อย ตำ� เอาน�ำ้ สง่ิ ละถว้ ย นำ�้ มันงา น�้ำมนั มะพร้าว ส่ิงละถ้วย หุงให้คงแต่น�้ำมันใส่แผลมะเร็งเพลิงแลฝีเปื่อยเน่า สรรพบาดแผลท้ังปวง แลกลากเกล้ือนก็หายดี วเิ ศษประเสริฐนัก ๚ะ๛” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 7 ชนดิ ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 ถว้ ย ขมิน้ อ้อย 1 ถ้วย น�้ำมนั งา 1 ถว้ ย น้ำ� มนั มะพรา้ ว 1 ถว้ ย ปีบ (ใบ) 1 ถ้วย มะเกลือ 1 ถ้วย มะระ 1 ถ้วย สะบา้ สรรพคุณ แก้กลากเกลื้อน แกแ้ ผลเปื่อย แผลสด รูปแบบยา ยานำ�้ มัน (ดูภาคผนวก 3.6) ขนาดและวธิ ีการใช้ ทาบรเิ วณทมี่ ีอาการ 254 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๙๓ ง. หนา้ ๑-๑๕. ยาน้�ำมนั สิทธิโยคี ทม่ี าของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ [1, 2] “๏ จะกลา่ วลักษณะก�ำเนดิ แห่งลมอนั ชอื่ วา่ สติ มัควาโย เป็นค�ำรบ ๑๐ นั้นเกดิ แตก่ ามวาตแลกองลมวิหค กระทำ� ใหม้ ือเยน็ เทา้ เยน็ กอ่ น แล้วจงึ ทำ� ให้มอื ตายเทา้ ตาย ยกมอื ขน้ึ มิได้ ลมกองนคี้ รนั้ แก่เขา้ แกม้ ถิ อย จงึ ตกไปใน ระหว่างอมั พาต กระท�ำใหล้ ิน้ กระด้าง เจรจามิชัด มักใหเ้ ตโชเป็นติกะธาตุ แพทย์ท้งั หลายพงึ รู้ ถา้ บงั เกิดข้ึนแกบ่ คุ คล ผู้ใดแล้ว อายุมยิ นื เลย ฯ ยาน้�ำมันช่ือสิทธิโยคี เอาขิงแห้ง ข่าแก่ กระเทียม เจตมูลท้ังสอง เปลือกทองหลางใบมน ทองเครือ บอระเพ็ดท้ังสอง ใบกะเพรา ใบแมงลัก หญ้าไซ ผักเส้ียนผี หญ้าหนวดแมว เอาส่ิงละทะนานน�้ำมันงาทะนาน ๑ หุงใหค้ งแตน่ ้ำ� มนั แล้วจึงเอาลกู จนั ทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู มดยอบ เทยี นด�ำ เทยี นขาว ส่ิงละ ๑ สลึง ทำ� เป็น จุณปรุงลงในน�ำ้ มนั ทั้งกนิ ทง้ั ทา แก้ลมสิตมัควาโยน้นั หายวิเศษนกั ” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 22 ชนิด รวมปรมิ าณ 26.25 กรัม* ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา กระวาน 3.75 กรมั กานพลู 3.75 กรัม ดอกจันทน ์ 3.75 กรมั เทยี นขาว 3.75 กรัม เทียนดำ� 3.75 กรมั มดยอบ 3.75 กรัม ลกู จันทน์ 3.75 กรัม กระเทยี ม กวาวเครอื แดง 1 ลิตร กะเพรา 1 ลติ ร ขา่ 1 ลติ ร ขงิ แห้ง 1 ลิตร เจตมลู เพลงิ ขาว 1 ลติ ร 1 ลติ ร กระทรวงสาธารณสุข 255

ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา เจตมูลเพลงิ แดง 1 ลิตร ชิงช้าชาลี 1 ลิตร ทองหลางใบมน 1 ลิตร น้�ำมันงา 1 ลติ ร บอระเพ็ด 1 ลติ ร ผักเส้ยี นผ ี 1 ลติ ร แมงลกั 1 ลิตร หญา้ ไทร 1 ลิตร หญ้าหนวดแมว 1 ลติ ร *ไม่รวมปริมาณกระเทียม กวาวเครือแดง กะเพรา ข่า ขิงแห้ง เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง ชงิ ช้าชาลี ทองหลางใบมน น�้ำมันงา บอระเพด็ ผักเสีย้ นผี แมงลกั หญา้ ไทร หญา้ หนวดแมว สรรพคณุ แกล้ มสิตมคั วาโย ซ่ึงท�ำให้เปน็ อมั พฤกษ์ อมั พาต รปู แบบยา ยาน้ำ� มนั (ดภู าคผนวก 3.6) วิธีปรุงยา 1. กระเทียม กะเพรา ข่า ขิงแห้ง เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง ชิงช้าชาล ี กวาวเครือ ทองหลางใบมน บอระเพด็ ผกั เส้ยี นผี แมงลกั หญา้ ไทร หญ้าหนวดแมว ค้ันเอาน�้ำอยา่ งละ 1 ลิตร ผสมกบั น้�ำมนั งา 1 ลติ ร หุงใหเ้ หลือแตน่ ้�ำมนั 2. น�ำตัวยากระวาน กานพลู ดอกจันทน์ เทียนขาว เทียนด�ำ มดยอบ ลูกจันทน ์ บดเป็นผงละเอียด ผสมลงในน้ำ� มนั ตามขอ้ 1 และกวนใหเ้ ขา้ กนั ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 1 ช้อนชา กินวันละ 1 คร้ัง ก่อนอาหารเช้า ร่วมกับใช้ทาบริเวณที่มีอาการ หรอื ท้ังตัว วนั ละ 2 คร้ัง เช้าและเยน็ ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนอื้ เยอื่ ออ่ น ผวิ หนัง ที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละผทู้ ม่ี ีไข้ ค�ำเตอื น ผ้ทู ่เี ปน็ แผลในกระเพาะอาหาร ควรใชย้ านีห้ ลงั อาหาร ข้อมลู เพมิ่ เตมิ - ตวั ยาขงิ ขา่ กระเทยี ม เจตมลู เพลงิ แดง เจตมลู เพลงิ ขาว ทองหลางใบมน กวาวเครอื แดง ชิงช้าชาลี บอระเพ็ด กะเพรา แมงลัก หญ้าไทร ผักเสี้ยนผี หญ้าหนวดแมว ถา้ ใชเ้ ป็นตวั ยาสดให้ใชว้ ิธีการค้ันเอาน�้ำ ถา้ เป็นตวั ยาแห้งให้ใชว้ ธิ ีการตม้ เอาน้ำ� - ตัวยามดยอบตอ้ งค่วั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.22) เอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เล่ม ๓. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. 256 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาน�ำ้ มันหยอดหู ทม่ี าของต�ำรบั ยา 1. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เลม่ ๑ [1, 2] “ยานำ�้ มนั หขู นานนที้ า่ นใหเ้ อา นำ้� สมอฝา้ ยเทศออ่ นจอก ๑ นำ�้ ใบฝา้ ยเทศออ่ นจอก ๑ นำ้� ใบมลู กาแดง อ่อนจอก ๑ น้�ำใบชิงชาลีจอก ๑ น้�ำใบบรเพชจอก ๑ น้�ำมันงาชาตรีจอก ๑ รวมยา ๖ ส่ิงน้ีหุงคงแต่น้�ำมัน เมอื่ จะหงุ นน้ั ใหเ้ ฃยี นยนั ตร์นใ้ี สก่ ้นกะทะ แล้วจ่งึ เสกด้วยมนตร์นี้ ๑๑ คาบ แล้วให้ท�ำวนั เสาร์ วันองั คาร เอาไว้ใสห่ เู นา่ หเู ปอ่ื ยหาย ๚” 2. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม ๑ [3, 4] “นำ้� มนั ทาหู ขนานนท้ี า่ นใหเ้ อานำ�้ สมอฝา้ ยเทศออ่ น ๑ จอก นำ�้ ใบฝา้ ยเทศออ่ น ๑ จอก นำ�้ ใบมลู กาแดง อ่อน ๑ จอก น�้ำใบชิงช้าชาลี ๑ จอก น�้ำใบบรเพ็ด ๑ จอก น้�ำมันงา ๑ จอก รวมยา ๖ ส่ิงนี้หุงให้คงแต่น�้ำมัน ใสห่ เู น่า หูเปอ่ื ย” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 6 ชนิด ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ข้กี าแดง (น�้ำจากใบอ่อน) 50 มลิ ลลิ ติ ร ชงิ ชา้ ชาลี (น�้ำจากใบ) 5๐ มิลลลิ ิตร น้�ำมนั งา 5๐ มิลลิลิตร บอระเพ็ด (น�ำ้ จากใบ) 5๐ มลิ ลิลติ ร ฝา้ ยเทศ (น�้ำจากใบออ่ น) 5๐ มิลลลิ ติ ร สมอฝา้ ยเทศ (น้ำ� จากผลอ่อน) 5๐ มลิ ลิลิตร สรรพคณุ แก้หูน�้ำหนวก รปู แบบยา ยาน�ำ้ มนั (ดภู าคผนวก 3.6) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ หยด หยอดหวู นั ละ ๒ ครง้ั เชา้ และเย็น เป็นยาใชเ้ ฉพาะภายนอก เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรินทรพ์ รนิ้ ติง้ แอนดพ์ บั ลชิ ชิง่ จำ� กดั (มหาชน); 2542. หน้า 104-105. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. 3. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. กระทรวงสาธารณสุข 257

ยาบรมไตร ชือ่ อนื่ ยาพระฤาษีบรมไตร ท่มี าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาพระฤๅษบี รมไตร ใหเ้ อา เปลอื กโมกมนั ๑ รากเจตมลู เพลงิ ๑ บอระเพ็ด ๑ แห้วหมู ๑ พรกิ ไทย ๑ กรงุ เขมา ๑ ใบมะตูม ๑ ยา ๗ ส่งิ น้ี สิ่งละ ๒ สลงึ ใบสลอด ๑ บาท ใบพลิ ังกาสา ๑ บาท ตำ� เปน็ ผงละลายน้าํ ผึง้ รวง กินบำ� บัดโรคพยาธิ ๙ จ�ำพวก ริดสดี วง ๖ จ�ำพวก กนิ ๑๐ วนั เสยี งดงั นกการเวก กินถึง ๑๕ วนั มีปัญญาเรยี น คาถาได้ ๑,๐๐๐ กนิ เดือน ๑ บำ� บัดโรค ๑๐ จำ� พวก อายยุ ืนได้ ๑๐๐ ปี ยานี้ชอ่ื บรมไตร ถ้าผใู้ ดเสพยาน้มี ีกําลังนักแล แม้นมสิ จั ใหก้ ผู ้ชู ือ่ ฤๅษีบรมไตรตกไปในโลกนั ต นรกเถดิ ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 9 ชนดิ รวมปรมิ าณ 82.5 กรัม ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา พลิ ังกาสา (ใบ) 15 กรมั สลอด (ใบ) 15 กรมั กรงุ เขมา 7.5 กรมั เจตมลู เพลงิ แดง 7.5 กรมั บอระเพ็ด 7.5 กรัม พรกิ ไทย 7.5 กรัม มะตมู (ใบ) 7.5 กรมั โมกมนั 7.5 กรมั แหว้ หม ู 7.5 กรมั สรรพคุณ บำ� รุงรา่ งกาย รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครงั้ ละ 1-1.5 กรัม กนิ วันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ยาต�ำรับนี้โบราณระบุให้ “ท�ำเป็นผงละลายน้�ำผ้ึงรวง” เพ่ือให้สะดวกในการกิน และเกบ็ ไวไ้ ด้นาน อาจท�ำเป็นรปู แบบยาลูกกลอนได้ เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 281. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 10) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓4 ตอนพิเศษ ๑41 ง. หนา้ 1-4. 258 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาบ�ำรุงธาตเุ จรญิ อาหาร ทีม่ าของตำ� รับยา อายรุ เวทศกึ ษา [1, 2] “เอาดีปลี รากช้าพลู เจตมูลเพลิง สะค้าน ขิง แก่นจันทน์ท้ังสอง แห้วหมู ลูกกระดอม บอระเพ็ด มะตมู อ่อน แฝกหอม แกน่ สน ชะลูด อบเชย สมุลแวง้ เอาสงิ่ ละ ๑ บาท เกสรทั้งหา้ ส่ิงละ ๒ สลงึ ตม้ กนิ ถ้าจะให้ ระบายเตมิ สมอทัง้ สาม ลูกมะขามป้อม” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 21 ชนิด รวมปริมาณ 277.5 ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 15 กรมั กระดอม 15 กรัม ขงิ 15 กรัม จันทน์ขาว 15 กรัม จันทนแ์ ดง 15 กรมั เจตมลู เพลงิ แดง 15 กรมั ชะลูด 15 กรัม ชะพล ู 15 กรมั ดีปลี 15 กรมั บอระเพ็ด 15 กรมั แฝกหอม 15 กรัม มะตมู 15 กรัม สน 15 กรมั สมุลแว้ง 15 กรัม สะค้าน 15 กรัม แหว้ หมู 15 กรัม อบเชย 7.5 กรมั บัวหลวง 7.5 กรมั บนุ นาค 7.5 กรัม พิกลุ 7.5 กรัม มะลิ 7.5 กรัม สารภ ี สรรพคุณ บำ� รุงธาตุ ชว่ ยใหเ้ จริญอาหาร รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธีการใช้ ครงั้ ละ 150-300 มลิ ลลิ ติ ร ดม่ื วนั ละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ ใหด้ ม่ื ตามอาการ ของโรคและก�ำลงั ของผู้ป่วย ดื่มขณะยายงั อ่นุ ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให ้ อนุ่ น�้ำสมนุ ไพรทกุ ครงั้ กอ่ นใชย้ า ข้อห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ ผูท้ ีม่ ีไข้ และเด็ก กระทรวงสาธารณสขุ 259

ข้อมลู เพิม่ เติม หากต้องการฤทธิ์ระบายด้วย ให้เพ่ิมตัวยาอีก 4 ชนิด ได้แก่ สมอไทย สมอเทศ สมอพิเภก และมะขามป้อม อยา่ งละ 15 กรมั ต้มกินตามวธิ ี เอกสารอ้างอิง 1. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ ุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หน้า ๑-2. ยาบำ� รุงธาตหุ ลงั ฟนื้ ไข้ ชอื่ อ่ืน ยาบำ� รงุ ธาตุเมอื่ ไขห้ ายแล้ว ท ี่มาของตำ� รับยา คมั ภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาบ�ำรงุ ธาตเุ มอ่ื ไข้หายแลว้ เอารากเจ็ตมลู เพลิง ขิง ดีปลี หัวแหว้ หมู สะค้าน รากช้าพลู ลกู มะตูมออ่ น เกษรบวั หลวง ขมิ้นออ้ ย บอระเพ็ด ลกู กระดอม ดอกพิกุล ตม้ กิน” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 12 ชนิด รวมปรมิ าณ 12 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา กระดอม 1 สว่ น ขมนิ้ ออ้ ย 1 ส่วน ขิง 1 ส่วน เจตมูลเพลงิ แดง 1 สว่ น ชะพลู 1 สว่ น ดีปลี 1 ส่วน บอระเพ็ด 1 ส่วน บวั หลวง 1 สว่ น พกิ ลุ 1 สว่ น มะตมู 1 สว่ น สะค้าน 1 ส่วน แหว้ หม ู 1 ส่วน สรรพคุณ บำ� รงุ ธาตุหลงั จากฟ้นื ไข้ รปู แบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธีการใช้ ครง้ั ละ 150 มิลลิลิตร ดื่มวันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ดืม่ ขณะยายังอุ่น ยา 1 หม้อ ใช้ติดต่อกัน 5-7 วัน โดยใหอ้ นุ่ น้�ำสมุนไพรทกุ ครัง้ กอ่ นใช้ยา เอกสารอ้างอิง 1. โสภติ บรรณลกั ษณ์, ขุน (อำ� พนั กติ ติขจร). คมั ภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ อตุ สาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔ 260 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาบำ� รุงเลอื ด สตู ร ๑ ชื่ออน่ื ยาบ�ำรุงโลหติ ทม่ี าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [๑, ๒] “ยาบ�ำรงุ เลือด ใบคนู ๑ เจตมลู เพลิง ๑ สะคา้ น ๑ ขิง ๑ ดปี ลี ๑แหว้ หมู ๑ สมอท้ัง ๓ บอระเพ็ด ๑ รากช้าพลู ๑ พรกิ ๑ กระเทยี ม ๑ ลูกกระดอม ๑ ตม้ กนิ บ�ำรงุ เลอื ด ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๔ ชนดิ รวมปริมาณ 14 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระดอม ๑ สว่ น กระเทยี ม ๑ ส่วน ขงิ ๑ ส่วน คูน (ใบ) ๑ ส่วน เจตมูลเพลิงแดง ๑ สว่ น ชะพลู ๑ สว่ น ดปี ล ี ๑ สว่ น บอระเพด็ ๑ ส่วน พรกิ ไทย ๑ ส่วน สมอเทศ ๑ สว่ น สมอไทย ๑ ส่วน สมอพิเภก ๑ สว่ น สะคา้ น ๑ ส่วน แหว้ หม ู ๑ สว่ น สรรพคุณ บำ� รงุ โลหิต รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ ๑๐๐-๒๐๐ มิลลิลิตร ด่ืมวันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ด่ืม ตามอาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดื่มขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน้ำ� สมุนไพรทกุ คร้ังกอ่ นใช้ ข้อห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภ์ ผทู้ ม่ี ไี ข้ ผทู้ กี่ นิ ยาละลายลมิ่ เลอื ด และผทู้ มี่ แี ผลในกระเพาะอาหาร เอกสารอา้ งอิง ๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๕๑. หมวดต�ำราเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง. หน้า ๑. กระทรวงสาธารณสขุ 261

ยาบ�ำรุงเลอื ด สูตร 2 ชื่ออื่น ยาบำ� รงุ โลหิต ทีม่ าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [๑, ๒] “ยาต้มบ�ำรุงเลือด ท่านให้เอา ดอกค�ำ ฝาง แก่นขนุน แก่นประดู่ ดอกบัว ดอกบุนนาค ดอกมะลิ ดอกพิกลุ เทียนต้นทง้ั ๕ เอาเสมอภาคต้มกนิ บำ� รุงเลือดงามดีนักแล ๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๙ ชนดิ รวมปรมิ าณ 9 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ขนนุ ๑ ส่วน คำ� ไทย ๑ สว่ น เทยี นต้น (ท้งั ๕) ๑ สว่ น บวั ๑ ส่วน บนุ นาค ๑ ส่วน ประดู่ ๑ ส่วน ฝาง ๑ ส่วน พกิ ุล ๑ สว่ น มะล ิ ๑ สว่ น สรรพคุณ บำ� รุงโลหิต รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก ๓.๑.๑) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ ๑๐๐-๒๐๐ มิลลิลิตร ด่ืมวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ดื่มตาม อาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดม่ื ขณะยายงั อุน่ ยา ๑ หมอ้ ใช้ติดต่อกนั ๕-๗ วนั โดยให้อุน่ น้�ำสมุนไพรทุกครัง้ ก่อนใชย้ า เอกสารอา้ งอิง ๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๕๔. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง. หนา้ ๑. 262 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาบ�ำรุงเลือด สูตร 3 ชือ่ อนื่ ยาบ�ำรุงโลหติ [1] ที่มาของตำ� รับยา สตู รต�ำรบั ทใ่ี กล้เคียงต�ำรบั นี้ พบในคมั ภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๒ [1] “ยาบ�ำรุงโลหิต เอาเบญจกูลส่ิงละ ๑ บาท ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู เทียนท้ัง ๕ โกฐทัง้ ๕ ลกู สมอทง้ั ๓ ชะลูด อบเชย จันทน์ท้ัง ๒ แกน่ แสมท้ัง ๒ กฤษณา เอาสง่ิ ละ ๒ สลงึ ขม้ินเครอื มวกแดง ก�ำลังวัวเถลิง ดอกสาระภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค เกษรบัวหลวง เอาสิ่งละ ๑ บาท ครั่ง ๔ บาท ฝาง ๕ บาท ดอกคำ� ไทย ๕ บาท ตม้ กนิ หรือจะบดเป็นผงละลายน�้ำร้อนกินกไ็ ด”้ สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๓๘ ชนิด รวมปริมาณ ๗๕ กรัม ดังนี้ [2] ตัวยา ปริมาณตวั ยา คำ� ไทย ๑๐ กรมั ฝาง ๑๐ กรมั ครั่ง ๘ กรัม ก�ำลงั วัวเถลงิ ๒ กรมั ขมนิ้ เครือ ๒ กรมั ขงิ แหง้ ๒ กรมั เจตมูลเพลิงแดง ๒ กรมั ชะพลู ๒ กรมั ดปี ลี ๒ กรัม บัวหลวง ๒ กรมั บนุ นาค ๒ กรัม พกิ ุล ๒ กรัม มวกแดง ๒ กรัม สะค้าน ๒ กรัม สารภ ี ๒ กรัม กระวาน ๑ กรัม กฤษณา ๑ กรัม กานพลู ๑ กรัม โกฐเขมา ๑ กรมั โกฐจุฬาลัมพา ๑ กรัม โกฐเชียง ๑ กรมั โกฐสอ ๑ กรัม โกฐหัวบัว ๑ กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 263

ตัวยา ปริมาณตัวยา จนั ทน์แดง ๑ กรัม ชะลูด ๑ กรมั ดอกจันทน ์ ๑ กรัม เทยี นขาว ๑ กรมั เทียนขา้ วเปลือก ๑ กรัม เทียนด�ำ ๑ กรัม เทียนแดง ๑ กรมั เทยี นตาตั๊กแตน ๑ กรัม ลูกจันทน ์ ๑ กรัม สมอดีงู (เน้อื ผล) ๑ กรัม สมอไทย (เน้อื ผล) ๑ กรมั สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑ กรมั แสมทะเล ๑ กรมั แสมสาร ๑ กรัม อบเชยเทศ ๑ กรมั สรรพคณุ บ�ำรุงโลหติ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก ๓.๒), ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก ๓.๓), ยาเม็ด (ดูภาคผนวก ๓.๔.๒) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาผง คร้ังละ ๑ กรัม ละลายน้�ำต้มดอกค�ำไทย ดอกค�ำฝอย หรือน�้ำสุก กินวันละ ๒ คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ยาแคปซูล และยาเมด็ ครงั้ ละ ๑ กรัม กนิ วนั ละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น [2] ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชก้ บั หญิงต้ังครรภ์และผทู้ ี่มีไข้ [2] ค�ำเตือน - ควรระวงั การใช้ยากบั ผูป้ ว่ ยที่แพล้ ะอองเกสรดอกไม้ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลอื ด เอกสารอ้างอิง ๑. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ ุตสาหกรรมการพิมพ;์ ๒๕๐๔. หน้า ๒๑๖. ๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เร่ือง บญั ชยี าหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ 309). 264 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาบ�ำรุงสตรี ที่มาของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแก้กล่อน เอาพญามือเหล็ก ๑ แก่นขี้เหล็ก ๑ แก่นขนุน ๑ กําลังวัวเถลิง ๑ พริกไทย ๑ แก่นแสมทะเล ๑ แก่นแสมสาร ๑ จะต้มก็ได้ดองเหล้าก็ได้ ถ้าดองเอาเงิน(ผูก)คอหม้อยา ๑ บาท กินหายแล ถ้าหญงิ ขดั ระดอู ยู่ ใหแ้ ทรก ฝาง ๑ ดอกคำ� ฝอย ๑ พญาลำ� แพน กนิ ดมี รี ะดูแล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 7 ชนิด รวมปริมาณ 7 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 สว่ น กําลงั วัวเถลิง 1 สว่ น ขนุน 1 ส่วน ขเ้ี หล็ก 1 ส่วน พญามือเหลก็ 1 สว่ น พรกิ ไทย 1 สว่ น แสมทะเล 1 ส่วน แสมสาร สรรพคณุ แกก้ ล่อน รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1), ยาดอง (ดภู าคผนวก 3.11) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาต้ม ครั้งละ 100 มิลลิลิตร ด่ืมวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้ง กอ่ นใช้ยา ยาดอง ครัง้ ละ 1 ช้อนโต๊ะ (15 มลิ ลลิ ติ ร) ด่มื วันละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ข้อหา้ มใช ้ กรณีรูปแบบยาดองสุรา ห้ามใช้ในหญิงต้ังครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุต่�ำกว่า 12 ปี ค�ำเตือน กรณีรปู แบบยาดองสุรา ระมดั ระวงั การใชใ้ นผู้ป่วยโรคตับ และโรคพษิ สรุ าเรื้อรัง ขอ้ มูลเพม่ิ เติม - กรณีผู้ป่วยหญิงที่มีอาการระดูขัดร่วมด้วยให้แทรกแก่นฝาง 1 ส่วน ดอกค�ำฝอย 1 ส่วน และตน้ ลำ� แพน 1 สว่ น ช่วยให้มรี ะดู - ตัวยาแกน่ ขนนุ ทใี่ ชท้ ำ� ยา คอื แกน่ ขนนุ ละมุด เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 278. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑-4. กระทรวงสาธารณสขุ 265

ยาบำ� รุงส�ำหรับบุรษุ สูตร 1 ทม่ี าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาเกิดก�ำลังแก้กลอ่ น ทา่ นให้เอา ลกู ชะพลู ๑ ผักเส้ียนผี ๑ มะเขือข่ืน ๑ ดีปลี ๑ พรกิ ไทย ๑ ขงิ ๑ รากไม้เท้ายายม่อม ๑ ยาทั้งนี้เอาเท่ากัน เอาหัวบัวขมเท่ายาท้ังหลาย ท�ำผงละลายน�้ำผึ้งกิน เป็นยาแก้กล่อน อย่าใหผ้ หู้ ญงิ กนิ จะเกิดตณั หานัก ห้าม(เด็ด)ขาดแลฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 8 ชนิด รวมปรมิ าณ 14 ส่วน ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา 7 ส่วน บวั ขม (หัว) 1 ส่วน ขิง 1 ส่วน ชะพลู (ผล) 1 สว่ น ดีปล ี 1 ส่วน ผักเส้ยี นผี 1 สว่ น พริกไทย 1 ส่วน มะเขอื ขน่ื 1 สว่ น ไมเ้ ท้ายายมอ่ ม สรรพคุณ บำ� รุงก�ำลัง แก้กล่อน รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 1-2 กรมั กินวันละ ๒ ครัง้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 218. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หนา้ ๑-3. 266 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาบ�ำรงุ ส�ำหรบั บุรุษ สูตร 2 ที่มาของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “๏ แกก้ ลอ่ น ๕ ประการ องคชาติตายกด็ ี เอา ลูกมะเขือขนื่ ๑ ลูกมะแว้งเครือท้ัง ๒ ดอกผกั คราด ๑ หวั บวั ขมนา ๑ เอาเท่ากันตาํ ละลายนา้ํ ผงึ้ เทา่ ลูกพุทรากิน๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 5 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา บวั ขม (หัว) 1 ส่วน ผักคราด (ดอก) 1 สว่ น มะเขือข่ืน (ผล) 1 ส่วน มะแว้งเครือ 1 ส่วน มะแวง้ ตน้ 1 ส่วน สรรพคุณ แกก้ ลอ่ น 5 ประการ แกอ้ งคชาตติ าย รูปแบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ครัง้ ละ 500 มิลลกิ รมั กินวันละ 2 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 339. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑-4. กระทรวงสาธารณสขุ 267

ยาบพุ ประสทิ ธิ ท่ีมาของตำ� รบั ยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ์)ิ [1, 2] “๏ จะกลา่ วดว้ ยตำ� รายาคอื วเิ ศษสรรพคณุ สำ� เรจ็ อนั อาจารยเ์ จา้ ในกอ่ นประมวลไวใ้ หแ้ กส้ รรพโรคทงั้ ปวง ตา่ ง ๆ สืบกนั มา ฯ ในทีน่ ี้จะว่าแตว่ เิ ศษสรรพคุณ คอื คณะสรรพยาซ่ึงจะแก้โรคสมมตวิ า่ หฤศโรคคอื สรรพริดสีดวงน้นั โดยนัยดงั นี้ ฯ ยาชื่อบุพประสิทธิ เอาผลสลอดสุทธิ กรุงเขมา ดีปลี เจตมูลเพลิง ส่ิงละส่วน บุกรอ กลอย บอระเพ็ด มะตูมอ่อน ขิงแห้ง ผลพิลังกาสา แห้วหมู สะค้าน ส่ิงละ ๒ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดด้วยน้�ำผึ้งให้กินหนัก ๑ สลึง แก้ริดสีดวงเมล็ด ริดสีดวงยอดในล�ำไส้เปื่อยหายวิเศษนักฯ สรรพยา ๔ ขนานนี้ ของข้าพระพุทธเจ้า ขุนศรีโอสถ ทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวาย ขอเดชะ ได้ใชแ้ ล้ว ฯ” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑2 ชนิด รวมปริมาณ 20 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา กลอย 2 ส่วน ขงิ แหง้ 2 สว่ น บอระเพด็ 2 สว่ น บกุ รอ 2 ส่วน พลิ ังกาสา 2 สว่ น มะตมู 2 ส่วน สะค้าน 2 สว่ น แหว้ หม ู 2 สว่ น กรงุ เขมา ๑ สว่ น เจตมูลเพลงิ แดง ๑ ส่วน ดปี ล ี ๑ ส่วน สลอด ๑ สว่ น สรรพคุณ แกร้ ดิ สดี วงลำ� ไส ้ รูปแบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 1-1.๕ กรัม กนิ วนั ละ ๒ ครงั้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ตามธาตหุ นักเบา ขอ้ ห้ามใช้ ห้ามใช้ในผ้ปู ่วยท่ีมอี าการท้องเสยี หรือถ่ายเป็นเลอื ด ข้อมลู เพิ่มเติม - ตัวยาสลอดต้องฆ่าฤทธิ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.36) - ตวั ยาบกุ รอต้องควั่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.18) - ตวั ยากลอยต้องคว่ั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) 268 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษต์ ำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) เลม่ ๒. พมิ พค์ ร้ังท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. ยาเบญจกูล ทมี่ าของต�ำรับยา สตู รตำ� รบั ทใ่ี กลเ้ คยี งตำ� รบั น้ี พบในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลท่ี ๕ เลม่ ๒ [๑, ๒] “...เจตมลู เพลิง สะคา้ น ชา้ พลู ขงิ แห้ง ดปี ลี ทง้ั ๕ สิง่ นี้ เรียกว่าเบญจกลู ๚ะ…” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนดิ รวมปริมาณ ๑๐๐ กรัม ดงั น้ี [3] ตวั ยา ปริมาณตัวยา ขงิ แห้ง ๒๐ กรัม เจตมูลเพลงิ แดง ๒๐ กรัม ชะพล ู ๒๐ กรมั ดีปลี ๒๐ กรัม สะคา้ น ๒๐ กรมั สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอดื ท้องเฟอ้ บำ� รุงธาตุ แกธ้ าตุให้ปรกติ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาชง (ดูภาคผนวก 3.9), ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก 3.3), ยาเมด็ (ดูภาคผนวก 3.4), ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาชง ครัง้ ละ ๑.๕-๒ กรมั กนิ วันละ ๓ ครัง้ หลงั อาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ยาผง คร้ังละ ๘๐๐ มิลลิกรัม-๑ กรัม กินวันละ ๓ ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ยาแคปซลู ยาเม็ดและยาลกู กลอน คร้งั ละ ๘๐๐ มิลลิกรมั -๑ กรัม กินวนั ละ ๓ คร้ัง หลังอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญิงตัง้ ครรภ์ ผ้ทู ม่ี ีไข้ และเด็กเล็ก ขอ้ ควรระวงั - ไมค่ วรกนิ ติดต่อกนั นานเกิน ๗ วนั - ควรระมดั ระวงั การใชใ้ นฤดูรอ้ น เนื่องจากอาจท�ำให้ไฟธาตกุ �ำเรบิ กระทรวงสาธารณสุข 269

เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม ๒ กรุงเทพฯ : บรษิ ัทอมรนิ ทร์พร้ินต้ิงแอนดพ์ ับลชิ ชิง่ จ�ำกดั (มหาชน); ๒๕๔๒. หนา้ ๓๖๕ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. 3. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เรอื่ ง บญั ชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า 282, 315). ยาเบญจขนั ธ์ ทม่ี าของตำ� รับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เลม่ 3 [1, 2] “…ขนานหน่ึงยาช่ือว่า เบญจขันธ์ เอาเบญจมูลเหลก ๑ เบญจกูล ๑ เบญจเทียน ๑ เบญจโกฎ ๑ เบญจสมอ ๑ เบญจเกลอื ๑ ยาทัง้ นีต้ ้ม ๓ เอา ๑ กนิ ผายลมท้ังปวง อันบงั เกิดในเส้น ในเอน หายแล ๚ะ๛…” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 26 ชนิด รวมปรมิ าณ ๓๐ ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ขเ้ี หลก็ (ทงั้ 5) 5 สว่ น เกลอื ฝอ่ 1 สว่ น เกลอื พิก  1 สว่ น เกลอื วิก  1 สว่ น เกลอื สมุทร  1 ส่วน เกลือสนิ เธาว ์ 1 สว่ น โกฐเขมา  1 สว่ น โกฐจุฬาลมั พา  1 สว่ น โกฐเชียง  1 ส่วน โกฐสอ 1 สว่ น โกฐหวั บวั   1 สว่ น ขิงแห้ง 1 ส่วน เจตมูลเพลิงแดง 1 ส่วน ชะพล ู 1 ส่วน ดีปล ี 1 ส่วน เทียนขาว 1 ส่วน เทยี นขา้ วเปลอื ก 1 สว่ น เทยี นดำ� 1 ส่วน 270 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา เทียนแดง 1 ส่วน เทยี นตาตั๊กแตน 1 สว่ น สมอดงี ู 1 ส่วน สมอทะเล 1 ส่วน สมอเทศ 1 สว่ น สมอไทย 1 ส่วน สมอพิเภก 1 สว่ น สะค้าน 1 ส่วน สรรพคุณ เป็นยาถ่าย ยาระบาย และขับลมในเสน้ ในเอ็น รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครัง้ ละ 150 มิลลลิ ติ ร ดื่มวันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ด่ืมขณะยายงั อุน่ ยา 1 หมอ้ ใชต้ ิดตอ่ กนั 5-7 วัน โดยให้อ่นุ น้ำ� สมนุ ไพรทกุ คร้งั กอ่ นใชย้ า ขอ้ หา้ มใช้ หา้ มใชใ้ นผปู้ ว่ ยท่ีเปน็ โรคไต โรคหัวใจ และผูป้ ่วยโรคความดันโลหิตสงู เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพ์ ริน้ ต้ิงแอนดพ์ บั ลชิ ชิง่ จำ� กัด (มหาชน); 2555. หนา้ 29. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. กระทรวงสาธารณสขุ 271

ยาเบญจธาตุ ที่มาของต�ำรบั ยา อายุรเวทศึกษา [1, 2] “เอาสะคา้ น ชา้ พลู เจตมลู เพลิง พริกไทย ดปี ลี ขิง บอระเพ็ด ขา่ ตะไคร้ ขมน้ิ อ้อย ขมิ้นชนั หัวแหว้ หมู เอาส่วนเท่ากันท�ำเป็นจุณ ละลายน�้ำผ้ึงน�้ำร้อน น�้ำขิงน้�ำข่า น�้ำกระเทียมน�้ำไพลแก้ธาตุท้ัง ๔ แก้ลม แก้โลหิต แก้เส้นและเจริญอาหาร” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 12 ชนดิ รวมปรมิ าณ 12 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ขมน้ิ ชนั 1 ส่วน ขม้นิ อ้อย 1 สว่ น ข่า 1 ส่วน ขงิ 1 สว่ น เจตมูลเพลงิ แดง 1 สว่ น ชะพลู 1 สว่ น ดปี ลี 1 ส่วน ตะไคร้ 1 สว่ น บอระเพด็ 1 สว่ น พรกิ ไทย 1 สว่ น สะคา้ น 1 ส่วน แหว้ หม ู 1 ส่วน สรรพคุณ บ�ำรุงธาตุ ชว่ ยเจริญอาหาร รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 1-2 กรมั กินวันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ข้อหา้ มใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตัง้ ครรภ์ ผู้ท่มี ีไข้ และเด็ก เอกสารอา้ งอิง 1. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ ุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หนา้ ๑-2 272 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาเบญจอำ� มฤต ช่อื อ่นื ยาเบ็ญจะอำ� มฤตย์ ทม่ี าของต�ำรบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 [1, 2] “เอามหาหิงคุ์ ๑ ยาด�ำบริสุทธ์ิ ๑ เอาส่ิงละ ๑ สลึง รงทอง ๒ สลึง มะกรูด ๓ ผล เอามหาหิงคุ์ ยาด�ำ รงทองใสใ่ นมะกรูดสิ่งละผลแล้วเอามลู โคพอกสุมไฟแกลบให้สกุ ขงิ แหง้ ๑ ดีปลี ๑ พริกไทย ๑ เอาสิ่งละ ๑ สลงึ รากทนดี ๑ บาท ดีเกลือ ๔ บาท ยา ๕ ส่ิงนี้ประสมกับมะกรูดดีสุมไว้ท�ำเปนจุณละลายน�้ำส้มมะขามเปียก ใหร้ ับประทานหนกั ๑ สลึง ฟอกอุจจาระอนั ลามกใหส้ ้ินโทษ ชำ� ระล�ำไสซ้ งึ่ เปนเมือกมนั แลปะระเมหะทง้ั ปวง” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 9 ชนดิ รวมปริมาณ 101.25 กรมั * ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ดเี กลือ 60 กรมั ทนดี 15 กรัม รงทอง 7.5 กรมั ขิงแห้ง 3.75 กรมั ดปี ล ี 3.75 กรัม พรกิ ไทย 3.75 กรัม มหาหิงคุ ์ 3.75 กรมั ยาดำ� 3.75 กรัม มะกรดู (ผล) ๓ ผล *ไมร่ วมปรมิ าณมะกรูด (ผล) สรรพคณุ ถ่ายอจุ จาระธาตุพกิ ารและช�ำระเมือกมนั ในลำ� ไส้ รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 0.3-1.2 กรัม กนิ วันละ 1 ครัง้ กอ่ นอาหารเช้า ค�ำเตอื น ควรระวังการใช้ยานใี้ นเด็ก เนือ่ งจากยานมี้ ฤี ทธ์เิ ป็นยาถา่ ยทคี่ ่อนข้างแรง ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ - ตัวยามหาหิงคตุ์ อ้ งสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตัวยายาดำ� ต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตวั ยารงทองตอ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.29) เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 2๗1 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 273

ทมี่ าของตำ� รบั ยา ยาประคบ สตู รตำ� รบั ยา สูตรต�ำรับนี้เป็นสูตรต�ำรับในรายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เผยแพร่โดย สถาบัน การแพทย์แผนไทย ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๓๘ [1] ประกอบดว้ ยตวั ยา ๘ ชนิด รวมปริมาณ 175 กรมั ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ๕๐ กรมั ไพล ๓๐ กรัม มะขาม ๓๐ กรัม การบรู ๒๐ กรัม มะกรดู 15 กรมั เกลือเมด็ ๑๐ กรมั ขม้ินชนั ๑๐ กรัม ตะไคร้ ๑๐ กรมั สม้ ป่อย สรรพคณุ ประคบเพ่ือลดอาการปวด ชว่ ยคลายกลา้ มเนื้อ เอ็น และข้อ รปู แบบยา ยาประคบ (ดูภาคผนวก 3.8) ขนาดและวธิ กี ารใช้ น�ำยาประคบไปน่ึง แล้วใช้ประคบขณะยังอุ่นวันละ ๑-๒ ครั้ง ยาประคบ ๑ ลูก ใช้ได้ ๓-๔ ครั้ง โดยหลังจากใช้แลว้ ผึง่ ให้แหง้ ก่อนน�ำไปแช่ตเู้ ย็น ขอ้ หา้ มใช ้ - หา้ มประคบบรเิ วณท่ีมบี าดแผล - ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน ในช่วง ๒๔ ช่ัวโมงแรก เน่ืองจากจะท�ำให้มีอาการอักเสบบวม มากขน้ึ และอาจมเี ลอื ดออกมากตามมาได้ โดยควรประคบหลงั เกดิ อาการ ๒๔ ชว่ั โมง - หา้ มใช้กบั ผ้ทู ่ีแพส้ ว่ นประกอบของยาประคบ ค�ำเตอื น - ควรระวังการใชเ้ ปน็ พิเศษในผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน อมั พาต เดก็ และผสู้ ูงอายุ เพราะ มกั มคี วามรู้สกึ ในการรับร้แู ละตอบสนองช้า อาจทำ� ใหผ้ วิ หนงั ไหม้พองไดง้ า่ ย - ไม่ควรใช้ยาประคบท่ีร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อน หรือบริเวณท่มี ีกระดกู ยืน่ ขอ้ ควรระวัง หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน�้ำทันที เพราะเป็นการล้างตัวยา จากผิวหนัง และร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน (จากร้อนเป็นเย็นทันทีทันใด) อาจทำ� ใหเ้ ป็นไขไ้ ด้ ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ - ยาประคบสมุนไพรสด ผลิตจากสมุนไพรสด (เก็บได้ประมาณ ๓ วัน) น้�ำหนัก ไม่น้อยกว่าลูกละ ๔๐๐ กรัม และยาประคบสมุนไพรแห้ง ผลิตจากสมุนไพรแห้ง (เก็บได้ประมาณ ๒ ป)ี น�้ำหนกั ไมน่ ้อยกว่าลกู ละ ๒๐๐ กรมั - นอกจากน้ี ยาประคบยังมีสูตรต�ำรับท่ีมีความหลากหลาย โดยการปรับสัดส่วนหรือ เตมิ สมุนไพรชนดิ อน่ื ๆ ตามภูมปิ ัญญาในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน 274 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

เอกสารอา้ งอิง ๑. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เร่อื ง บัญชยี าหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า 314). ยาประคบคลายเสน้ ชือ่ อ่ืน ยาพระองั คบพระเส้นตงึ ให้หยอ่ น ที่มาของตำ� รับยา คัมภีรธ์ าตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน [1, 2] “...พระองั คบพระเส้นตึงใหห้ ยอ่ น เอาเทยี นด�ำ เกลอื ส่วน ๑ อบเชย ๒ สว่ น ไพล ๔ ส่วน ใบพลบั พลงึ ๘ สว่ น ใบมะขาม ๑๖ สว่ น ตำ� คลุ ิการหอ่ ผา้ น่ึงขึน้ ให้รอ้ น องั คบพระเสน้ อันพริ ุธให้หยอ่ นแล ฯ…” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 6 ชนิด รวมปริมาณ 32 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ๑๖ ส่วน มะขาม ๘ สว่ น พลับพลงึ ๔ สว่ น ไพล ๒ ส่วน อบเชย 1 ส่วน เกลือสมุทร ๑ ส่วน เทียนด�ำ สรรพคณุ คลายกล้ามเนือ้ และเส้น รปู แบบยา ยาประคบ (ดภู าคผนวก 3.8) ขนาดและวธิ ีการใช้ น่งึ ให้รอ้ น แล้วใชป้ ระคบบริเวณที่มอี าการ วันละ 1-2 คร้งั เชา้ และเย็น ขอ้ หา้ มใช้ - หา้ มประคบบรเิ วณที่มบี าดแผล - ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ บวม แดง รอ้ น ในชว่ ง 24 ช่ัวโมงแรก เนอ่ื งจากจะทำ� ใหม้ อี าการอักเสบบวมมากขึ้น และอาจมเี ลอื ดออกมากตามมาได้โดยควรประคบหลงั เกดิ อาการ 24 ช่ัวโมง ค�ำเตอื น - ควรระวังการใช้เปน็ พเิ ศษในผปู้ ่วยโรคเบาหวาน อัมพาต เดก็ และผ้สู ูงอายุ เพราะ มกั มีความรู้สึกในการรับรแู้ ละตอบสนองชา้ อาจท�ำใหผ้ วิ หนงั ไหม้ พองไดง้ ่าย - ไม่ควรใช้ลูกประคบท่ีร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังท่ีเคยเป็นแผลมาก่อน หรอื บริเวณที่มกี ระดกู ยืน่ ข้อควรระวัง - หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน้�ำทันที เพราะเป็นการล้างตัวยา จากผวิ หนงั และรา่ งกายไมส่ ามารถปรบั ตวั ไดท้ นั (จากรอ้ นเปน็ เยน็ ทนั ใด) อาจทำ� ให้ เป็นไขไ้ ด้ - ควรระวังการใชใ้ นผ้ทู ่แี พ้สว่ นประกอบในลูกประคบ กระทรวงสาธารณสุข 275

เอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ คมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน (ตำ� ราพระโอสถพระนารายณ)์ . พิมพค์ รัง้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2555. หน้า 116. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ยาประสะกะเพรา ท่ีมาของต�ำรบั ยา สตู รตำ� รับที่ใกลเ้ คียงต�ำรบั น้ี พบในอายรุ เวทศึกษา เล่ม ๒ [1, 2] “ยาประสะกะเพรา ของหมอมา ตันสุภาพ เอาพริกไทย น้�ำประสานทองสะตุ ขิงแห้ง ดีปลี กระเทียม ส่งิ ละ ๑ สลึง ชะเอม มหาหงิ คุ์ ส่งิ ละ ๑ บาท ผิวมะกรดู ๒ บาท เกลอื สินเธาว์ ๑ เฟือ้ ง ใบกระเพราเท่ายาทงั้ หลาย บดด้วยน�้ำสุรา ปั้นแท่งเท่าเม็ดพริกไทย ละลายน�้ำ น้�ำสุรา กินแก้ท้องข้ึน ท้องเฟื้อ แก้ปวดมวนแทรกไพลหมกไฟ ปนกับน้�ำสุรา” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๙ ชนิด รวมปริมาณ ๙๐ กรมั ดังนี้ [3] ตัวยา ปริมาณตัวยา ๔๕ กรัม กะเพราแดง ๒๐ กรมั มะกรดู ๘ กรมั ชะเอมเทศ ๘ กรัม มหาหงิ ค์ุ ๒ กรัม กระเทยี ม ๒ กรัม ขิงแห้ง ๒ กรมั ดีปล ี ๒ กรัม พริกไทยลอ่ น ๑ กรัม เกลือสินเธาว ์ สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ จกุ เสยี ด รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.๓), ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาผง เด็ก อายุ ๑-๓ เดอื น คร้งั ละ ๑๐๐-๒๐๐ มิลลกิ รัม อายุ ๔-๖ เดอื น คร้ังละ ๒๐๐-๓๐๐ มลิ ลิกรัม อายุ ๗-๑๒ เดือน ครง้ั ละ ๔๐๐-๖๐๐ มิลลิกรัม ละลายนำ�้ กระสายยา (ทิง้ ไวใ้ ห้ตกตะกอน แลว้ ใชห้ ลอดหยดดูดส่วนน�้ำใส) กนิ วนั ละ ๒ ครงั้ ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ เม่อื มอี าการ 276 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

กระสายยาทใ่ี ช้ - บรรเทาอาการทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ ใช้นำ้� สุกหรอื น้ำ� ใบกะเพราตม้ - บรรเทาอาการจุกเสยี ด ใชไ้ พลเผาไฟใหพ้ อสุก ฝนกับน้ำ� สกุ ยาแคปซลู และยาเม็ด เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี ครั้งละ ๑ กรัม กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เมอื่ มอี าการ ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์และผู้ท่ีมไี ข้ ข้อมูลเพ่มิ เตมิ - ตัวยามหาหงิ คุต์ อ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - สตู รต�ำรับยาประสะกะเพราตามประกาศยาสามัญประจ�ำบา้ น พ.ศ. ๒๕๓๗ มตี วั ยา “น�้ำประสานทองสะตุ” เป็นส่วนประกอบ [4] แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับแล้ว ตามประกาศยาสามญั ประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ [5] เอกสารอ้างองิ ๑. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. หนา้ ๒๖๓. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ นุ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หนา้ ๑-2. 3. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บญั ชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า ๒82) 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับท่ี ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๑๑ ตอนพิเศษ ๔๒ ง. หนา้ ๗๙. 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๖๗ ง. หน้า ๓๘. กระทรวงสาธารณสุข 277

ยาประสะกะเพราน้อย ช่อื อ่นื ยาประสะกะเพรา [1-4] ทีม่ าของตำ� รับยา ๑. ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ)์ิ [1, 2] “ยาประสะกะเพรา เอายาดำ� หิงคุย์ างโพ กระเทยี ม พริกไทย ดีปลี วา่ นน�้ำ สิ่งละส่วน ใบกะเพรา ๖ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ละลาย น�้ำมะกรูดก็ได้น้�ำสุราก็ได้ ให้กินตามก�ำลัง แก้ท้องขึ้นจุกเสียดอันบังเกิด เพ่อื ตานโจร อันช่ือรตั ตะธาตุ ซึง่ กระทำ� ใหป้ ิดอุจจาระน้นั ” ๒. ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [3, 4] “ยาชื่อว่าประสะกะเพราขนานน้ี ท่านให้เอายาด�ำ หิงยางโพ กะเทียม พริกไทย ดีปลี ว่านน�้ำ รวมยา ๖ สิ่งนี้เอาเสมอภาค ใบกะเพราเท่ายาทั้งหลายท�ำเปนจุณบดปั้นแท่งไว้ละลายน�้ำมะกรูดก็ได้สุราก็ได้ กินเปนยาภายในแก้ทอ้ งข้ึนเปนยาประจ�ำทอ้ งกมุ ารท้งั ปวงดนี กั ” ๓. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ [5, 6] “ยาชอื่ ประสระกระเพรา (นอ้ ย) ขนานนที้ า่ นใหเ้ อา ยาดำ� ๑ หงิ คย์ุ างโพ ๑ กระเทยี ม ๑ พรกิ ไทย ๑ ดีปลี ๑ หว้านน�้ำ ๑ รวมยา ๖ สิ่งน้ีเอาเสมอภาค เอาใบกระเพราเท่ายาทั้งหลายท�ำเปนจุณ บดท�ำแท่งไว้ ละลายน้�ำมะกรดู กไ็ ด้ น�้ำสรุ าก็ได้ กินแกท้ ้องขึน้ เปนยาประจำ� ท้องกุมารทั้งปวง” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๗ ชนิด รวมปรมิ าณ ๑๒ ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ๖ สว่ น กะเพรา ๑ สว่ น กระเทยี ม ๑ ส่วน ดีปลี ๑ ส่วน พรกิ ไทย ๑ สว่ น ยาดำ� ๑ ส่วน วา่ นน้ำ� ๑ ส่วน หิงคยุ์ างโพ สรรพคณุ บรรเทาอาการท้องอดื ท้องเฟ้อ จุกเสยี ด ทอ้ งผูก รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ เดก็ อายุ 1-3 เดอื น ครง้ั ละ 100-200 มลิ ลิกรัม อายุ 3-6 เดอื น ครง้ั ละ 200-300 มลิ ลิกรมั อายุ 6-12 เดอื น ครั้งละ 400-600 มิลลิกรัม อายุ 1-6 ปี ครัง้ ละ 0.5-1 กรมั อายุ 6-12 ปี ครั้งละ 1-1.5 กรมั ละลายนำ�้ มะกรูดหรือน�้ำสรุ า เพมิ่ ลดได้ตามสว่ น กนิ วันละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เช้าและเย็น 278 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition