ยาแก้ลมมหาสดมภแ์ ละลมอัมพาต ท่มี าของต�ำรบั ยา ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เล่ม 3 [1, 2] “ขนานหน่ึงแก้ลมมหาสดม ลมอ�ำมะพาศ คู่กัน เม่ือจับน้ันให้ลิ้นหดเข้า ให้แก้ด้วยยานี้เอาผักคราด ๑ แมงลกั ๑ ฃา่ ๑ สารส้ม ๑ เกลือสนิ เทาว ๑ พรมมิ ๑ บดปั้นแทง่ ไว้ทาล้นิ หด ๚ะ ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 6 ชนิด รวมปรมิ าณ ๖ สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 1 สว่ น เกลือสนิ เธาว์ 1 สว่ น ขา่ 1 สว่ น ผักคราด 1 สว่ น พรมมิ 1 ส่วน แมงลกั (ทัง้ ต้น) 1 ส่วน สารสม้ สรรพคณุ แก้ล้ินหด ทเ่ี กิดจากลมมหาสดมภแ์ ละลมอมั พาต รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครง้ั ละ 1 เมด็ ละลายน�ำ้ ทาล้ินวนั ละ 3-4 ครง้ั ข้อมลู เพม่ิ เตมิ ตัวยาสารสม้ ตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรินทร์พรนิ้ ต้ิงแอนด์พับลชิ ชง่ิ จ�ำกดั (มหาชน); 2555. หนา้ 31. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. กระทรวงสาธารณสุข 129
ยาแกล้ มวาระยกั ขะวาโย ทมี่ าของต�ำรับยา ศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) [๑, ๒] “๏ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า วาระยักขวาโย เป็นค�ำรบ ๓ น้ัน เกิดแต่กอง อชิณวาต มักกระท�ำให้อยากคาวหวานแลเนื้อ ปลา ปู หอย คร้ันบริโภคเข้าไปท�ำให้เสียดชายโครงท้ังสองข้างแล ให้จุกอก แล้วแล่นลงมาจับเอาองคชาตกระท�ำให้ตีนมือตายแลหิวโหยหาแรงมิได้ ลมจ�ำพวกน้ีถ้าบังเกิดข้ึนแก่บุคคลผู้ใด ถงึ ปีหน่งึ จะใหม้ ือทัง้ สองนนั้ เสีย ดงั กลา่ วมาน้ี ฯ ขนานหน่ึงเอาโกฐท้ังห้า เทียนท้ังห้า ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู ผักแพวแดง สิ่งละส่วน ดองดึง นำ�้ ประสานทอง กัญชา การบูร รากจิงจ้อ มหาหงิ ค์ุ สงิ่ ละ ๒ ส่วน พรกิ ไทย ขงิ แห้ง ดปี ลี รากส้มกงุ้ ทง้ั สอง สิง่ ละ ๑๐ สว่ น กระเทียม ผวิ มะกรูด เทพทาโร เปลา้ น้อย สิ่งละ ๑๒ ส่วน สมอพิเภก ๑๖ ส่วน มะขามป้อม ๓๒ สว่ น สมอไทย ๔๘ สว่ น ทำ� เป็นจณุ บดละลายน้ำ� กระสายอนั ควรแก่โรคกนิ หนกั ๑ สลงึ แกล้ มวาระยักขวาโย อันบงั เกิด แตก่ องอชิรณะนัน้ หายวิเศษนัก ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 32 ชนดิ รวมปริมาณ 220 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 48 ส่วน สมอไทย 32 สว่ น มะขามป้อม ๑๖ ส่วน สมอพิเภก ๑๒ ส่วน กระเทียม ๑๒ ส่วน เทพทาโร ๑๒ ส่วน เปล้านอ้ ย ๑๒ สว่ น มะกรูด 10 ส่วน ขิงแห้ง 10 ส่วน ดปี ล ี 10 ส่วน พริกไทย 10 สว่ น ส้มกงุ้ นอ้ ย 10 สว่ น ส้มก้งุ ใหญ่ 2 สว่ น กัญชา 2 สว่ น การบรู 2 ส่วน จิงจอ้ 2 ส่วน ดองดึง 2 ส่วน น้ำ� ประสานทอง 2 ส่วน มหาหิงคุ์ 1 สว่ น กานพลู 1 ส่วน โกฐเขมา 130 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา โกฐจฬุ าลัมพา 1 สว่ น โกฐเชียง 1 ส่วน โกฐสอ 1 ส่วน โกฐหวั บัว 1 ส่วน ดอกจันทน์ 1 สว่ น เทยี นขาว 1 สว่ น เทยี นขา้ วเปลือก 1 สว่ น เทียนด�ำ 1 สว่ น เทยี นแดง 1 ส่วน เทียนตาตก๊ั แตน 1 สว่ น ผกั แพวแดง 1 ส่วน ลกู จนั ทน ์ 1 ส่วน สรรพคุณ แก้ลมอันท�ำให้เกิดอาการจุกเสียดชายโครงและจุกอก เน่ืองจากกินอาหารแสลงโรค หรือแสลงธาตลุ ม รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 1 ชอ้ นชา ละลายน�้ำร้อน กินวนั ละ 3 ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น หรอื เมอ่ื มีอาการ ข้อมูลเพิ่มเตมิ - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับนี้ต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทยแ์ ผนไทย ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ - ตวั ยากัญชาตอ้ งคัว่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตัวยาดองดงึ ต้องน่งึ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตัวยานำ�้ ประสานทองต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.16) - ตัวยามหาหิงคตุ์ ้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม ๓. พิมพ์ครง้ั ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. กระทรวงสาธารณสุข 131
ยาแก้ลมสรรพวาระจกั รโมละ ทม่ี าของตำ� รับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ [1, 2] “๏ จะกลา่ วลกั ษณะกำ� เนดิ แหง่ ลมอนั ชอ่ื วา่ สรรพวาระจกั รโมละ เปน็ คำ� รบ ๗ น้นั เกิดแต่กองอัมพฤกษ์ แลปัตคาดระคนกนั กระท�ำใหจ้ บั เปน็ คราว ๓ วัน ๔ วัน จบั ทีหนงึ่ เมอ่ื จะจับขนึ้ มาน้นั ท�ำใหเ้ จบ็ หลังกอ่ นแล้วแล่นขน้ึ ไปจบั เกลียวขา้ ง ให้เจ็บตน้ คอยงิ่ นัก ฯ ขนานหนง่ึ เอาผิวฝักมะรมุ ผวิ ลกู มะตมู ผิวลกู มะกรดู ผวิ มะนาว ผิวลกู สม้ ซา่ รากมะกรดู รากมะนาว ข่า กระชาย ไพล สิ่งละส่วน หอมแดง พริกไทย ดีปลี การบูร สิ่งละ ๒ ส่วน ใบพิมเสน ๑๘ ส่วน ท�ำเป็นจุณ บดทำ� แท่งไวล้ ะลายน�้ำร้อนแทรกชะมด แทรกพมิ เสน กินแก้ลมสรรพวาระจักรโมละหาย ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 15 ชนิด รวมปรมิ าณ 36 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา พมิ เสนตน้ ๑๘ สว่ น การบูร 2 สว่ น ดปี ล ี 2 สว่ น พริกไทย 2 ส่วน หอมแดง 2 ส่วน กระชาย 1 ส่วน ข่า 1 ส่วน ไพล 1 ส่วน มะกรดู 1 ส่วน มะกรูด (ราก) 1 ส่วน มะตูม (ผิวเปลอื กผล) 1 สว่ น มะนาว 1 สว่ น มะนาว (ผวิ เปลอื กผล) 1 สว่ น มะรมุ (ฝกั ) 1 สว่ น ส้มซ่า 1 ส่วน สรรพคณุ แก้ลมสรรพวาระจักรโมละ ซ่ึงเป็นลมท่ีท�ำให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดบ้ันเอว แลว้ ปวดร้าวขึ้นต้นคอ รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 0.9-1.5 กรัม ละลายน้�ำร้อนแทรกชะมดหรือแทรกพิมเสนกินวันละ ๓ ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เน่ืองจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ 132 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอ้างอิง 1. ส�ำนกั คมุ้ ครองภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) เลม่ ๓. พมิ พค์ รั้งท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. ยาแก้ลมสันดาน สูตร 1 ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาแกล้ มสนั ดาน ๚ ๏๑๒๚ ยาแกล้ มสันดานให้เยน็ ไปทง้ั ตัว ท่านให้เอา โกฐสอ ๑ เปลือกอบเชยไทย ๑ ลกู กระวาน ๑ ใบกระวาน ๑ กานพลู ๑ ขิงแหง้ ๑ การบรู ๑ ว่านน�ำ้ 1 พรกิ ไทย ๑ หัวดองดงึ ๑ รากเจตมลู ๑ สะค้าน ๑ รากช้าพลู ๑ เอาสิ่งละบาท เอา ดีปลี ๔ ต�ำลึง ต�ำเป็นผงไว้กินเพลาเช้าน�้ำร้อน เพลาเย็นน้�ำขิง แก้ลมอนั ใหต้ ัวเย็น และลมเป็นกอ้ นเป็นเถาในท้องนนั้ หายแล๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 14 ชนดิ รวมปรมิ าณ 435 กรัม ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 240 กรมั ดปี ลี 15 กรัม กระวาน 15 กรัม กานพล ู 15 กรัม การบูร 15 กรมั โกฐสอ 15 กรมั ขงิ แห้ง 15 กรมั เจตมลู เพลงิ แดง 15 กรมั ชะพล ู 15 กรัม ดองดงึ 15 กรัม ใบกระวาน 15 กรัม พรกิ ไทย 15 กรมั ว่านน�ำ้ 15 กรมั สะคา้ น 15 กรัม อบเชยไทย สรรพคุณ แก้ลมอันให้ตัวเย็น และลมเป็นกอ้ นเปน็ เถาในท้อง รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 1 ช้อนชา ละลายน�้ำอนุ่ หรือน้�ำขิงกินวนั ละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น กระทรวงสาธารณสุข 133
ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ หญิงให้นมบตุ ร ผทู้ ม่ี ีไข้ และเด็กอายุตำ่� กวา่ ๑๒ ปี ค�ำเตอื น ควรระวงั การใชใ้ นผูป้ ่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ และความดนั โลหิตสงู ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ ข้อมลู เพม่ิ เตมิ ตวั ยาดองดึงต้องนง่ึ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๒๒. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ยาแกล้ มสันดาน สูตร ๒ ทม่ี าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาแก้ลมสันดาน ๚ ๏๓๑ ๚ ถ้าจะแก้ลมสันดานมันให้ท้องแข็งดุจแผ่นกระดานและมันให้จุกเสียด เป็นก�ำลงั ถา้ จะแก้ เอา ลูกช้าพลู ๑ บาท ขงิ แห้ง ๑ ต�ำลงึ วา่ นนำ�้ ๑ บาท รากช้าพลู ๑ บาท ตะไคร้หอม ๑ ต�ำลึง หวั หอม ๑ บาท กระเทยี ม ๓ บาท เปล้านอ้ ย ๑ ต�ำลึง ๒ บาท พริกไทย ๓ ตำ� ลงึ ตำ� เปน็ ผงไว้ ถา้ จะแกล้ มท้ังปวง ละลายน�้ำร้อน ถ้าเจ็บท่ัวสารพางค์ตัวลายน�้ำมะนาวกินหาย ถ้าตกเลือดลายน้�ำจุกหอมจุกกระเทียมกินหาย ยาน้ี วิเศษนัก ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 9 ชนิด รวมปริมาณ 495 กรัม ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 180 กรมั พริกไทย 90 กรมั เปล้านอ้ ย 60 กรมั ขิงแหง้ 60 กรัม ตะไครห้ อม 45 กรัม กระเทียม 15 กรมั ชะพล ู 15 กรัม ชะพลู (ผล) 15 กรมั ว่านนำ�้ 15 กรัม หอม 134 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แกล้ มสันดานให้ท้องแขง็ ดุจแผ่นกระดาน แก้จกุ เสียด รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 1 ช้อนชา ละลายน�้ำกระสายตามอาการ กินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ กระสายยาทีใ่ ช้ - กรณีแกล้ มท้งั ปวง ละลายนำ้� อนุ่ - กรณแี กอ้ าการจกุ เสยี ด เจบ็ ทว่ั สรรพางค์กาย ละลายน�้ำมะนาว - กรณแี ก้ตกเลอื ด ละลายน�้ำจกุ หอม หรือจุกกระเทยี ม ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร ผ้ทู ม่ี ีไข้ และเด็กอายตุ �่ำกว่า 12 ปี ค�ำเตอื น - ระมดั ระวังการใช้ในผู้สูงอายุ - ระวงั ในผ้ปู ่วยโรคกระเพาะอาหารอกั เสบและความดันโลหติ สูง - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่ืองจากต�ำรบั น้มี พี รกิ ไทยในปริมาณสงู เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๒๒. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. ยาแกล้ มสนุ ทรวาต ท่ีมาของต�ำรับยา ๑. ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รชั กาลที่ ๕ เลม่ ๑ [1, 2] “ยาแกล้ มสุนทรวาตขนานนี้ท่านให้เอาขงิ แหง้ ดปี ลี กเทียม วา่ นน้ำ� ผวิ มกรดู ไพล มหาหงิ ยาดำ� นกา้ำ� รมบกูรรูดรกวนิมยถาา้ จ๙ะสแ่งิกน้ทีเ้ อ้องาขเสึ้นมลอะภลาาคยนเอ้�ำาใปมบกนู กรใเสดู พ1ราเกท็ไ่าดย้ าแทซงั้กหราลกาเยจตกภระงั ทคีลำ� ใงหทเ้าปทน้อจงณุแกบ้ ดทเปจ้อน้ับงทแขอ้ทึ้นง่งไว1ล้ ะหลาายยดนี กั ๚” อจุ ามอิ อก ๒. แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ภาคหนึ่งยาแก้ลมสุนทรวาต แลลมทรางท้ัง ๗ วันนั้น ท่านให้เอาขิง ดีปลี กระเทียม หว้านน้�ำ ผวิ มะกรูด ไพล มหาหงิ คุ์ ยาด�ำ การะบูร เอาส่งิ ละ ๑ บาท ใบกระเพราเทา่ ยาทัง้ หลาย ยา ๑๐ สง่ิ นีต้ �ำใหล้ ะเอยี ด บดทำ� แทง่ เอาไวล้ ะลายนำ�้ มะกรดู กนิ ถา้ จะแกท้ อ้ งขนึ้ ละลาย นำ้� ปนู ใสกไ็ ด้ แลว้ จงึ แซก รากเจด็ ตพงั คี ทาทอ้ งหายดนี กั ” กระทรวงสาธารณสขุ 135
สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๐ ชนดิ รวมปรมิ าณ 270 กรมั ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา 135 กรัม กะเพรา 15 กรัม กระเทยี ม 15 กรัม การบูร 15 กรัม ขงิ แห้ง 15 กรัม ดปี ล ี 15 กรมั ไพล 15 กรมั มหาหิงค์ุ 15 กรมั มะกรดู 15 กรัม ยาดำ� 15 กรัม ว่านนำ้� สรรพคุณ แกล้ มซาง แก้ท้องอืดเฟอ้ แก้ปวดทอ้ ง แก้ท้องผูก รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยากนิ เด็ก อายุ 1-3 เดอื น ครัง้ ละ 100-200 มลิ ลิกรมั อายุ 4-6 เดือน คร้ังละ 200-300 มิลลิกรมั อายุ 7-12 เดอื น ครั้งละ 300-400 มลิ ลิกรมั อายุ 1-5 ปี ครั้งละ 0.5-1 กรมั อายุ 6-12 ปี คร้ังละ 1-1.5 กรัม ละลายน้�ำมะกรดู หรอื น�ำ้ ปูนใสกนิ วันละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ยาทา ละลายน�ำ้ กระสายยาตามอาการ ทาบริเวณทอ้ งเมื่อมีอาการ วนั ละ 1 ครั้ง ห้ามทาบรเิ วณขอบตาและเนอ้ื เยอื่ อ่อน บรเิ วณผวิ หนังทม่ี บี าดแผลหรอื แผลเปิด กระสายยาทใ่ี ช้ - แก้อาการท้องขน้ึ ใช้น�้ำมะกรูดหรือน้�ำปูนใส - แกเ้ จ็บท้อง ท้องข้นึ ทอ้ งผูก ใชร้ งทองหรือเจตพังคี ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใช้ในผทู้ มี่ ีไข้ ขอ้ ควรระวงั - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนือ่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกิดพษิ ได้ - ไมค่ วรกินติดต่อกนั เปน็ เวลานานเกนิ 7 วนั - หากกนิ ยาน้ีแลว้ อาการไมด่ ีข้ึน ควรปรกึ ษาแพทย์ ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ - ตวั ยามหาหิงคตุ์ ้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยายาดำ� ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) 136 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั อมรนิ ทร์พร้นิ ต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชงิ่ จ�ำกัด (มหาชน). 2542. หนา้ 317. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาแกล้ มหทัยวาตะกำ� เรบิ สตู ร 1 ทม่ี าของต�ำรบั ยา ศลิ าจารกึ วดั ราชโอรสรามราชวรวิหาร [๑, ๒] “อันว่าลมหทัยวาตก�ำเริบน้ัน คือ พัดดวงหทัยให้ระส�่ำระสายคุ้มดีคุ้มร้าย แลมักขึ้งโกรธ ให้หิวโหย หาแรงมิได้ ลูกคนทีสอ หัสคุณ ลูกสะบ้าปิ้ง จันทน์ท้ังสอง ดีปลี เทียนข้าวเปลือก เทียนตั๊กแตน เทพทาโร เอาเสมอภาค ทำ� เป็นจณุ บดทำ� แท่งไว้ละลายน้�ำดอกไมแ้ ทรกพิมเสนให้กนิ แก้ลมหทยั วาตก�ำเรบิ หาย” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 9 ชนดิ รวมปริมาณ 9 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา คนทีสอ (ผล) 1 สว่ น จนั ทน์ขาว 1 สว่ น จนั ทน์แดง 1 สว่ น ดปี ล ี 1 สว่ น เทพทาโร 1 ส่วน เทียนขา้ วเปลือก 1 ส่วน เทียนตาตกั๊ แตน 1 สว่ น หัสคณุ ไทย 1 สว่ น สะบา้ 1 สว่ น สรรพคณุ แกล้ มหทยั วาตะกำ� เรบิ รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 300-500 มิลลิกรัม ละลายน�้ำดอกไม้แทรกพิมเสนกินวันละ 3-4 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน กระทรวงสาธารณสขุ 137
ข้อมูลเพม่ิ เติม - หมอพ้ืนบ้านจะใช้ลูกตะลิงปลิงแทนลูกสะบ้า และเรียกชื่อต�ำรับยาว่า “ยาลม มูลจติ ร” - ตัวยาหสั คุณไทยต้องค่วั ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.47) เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์คร้ังที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๙๓ ง. หน้า ๑-๑๕. ยาแก้ลมหทัยวาตะก�ำเรบิ สูตร 2 ท่มี าของตำ� รับยา ศิลาจารกึ วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร [๑, ๒] “ลูกมะแว้งเครือ ๑ ชะเอมเทศ ๒ ใบกระวาน ๓ ดอกบุนนาค ๔ พริกไทย ๕ ขิงแห้ง ๖ ดีปลี ๗ อบเชยเทศ ๘ รากน้�ำใจใคร่ ๙ เกสรบัวหลวง ๑๐ จันทร์เทศ ๑๑ น�้ำตาลทราย ๑๒ ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ ละลายนำ�้ ร้อนกินก็ได้ นำ�้ ดอกไม้ก็ได้ แทรกพิมเสน กนิ แก้ลมกระทบหทยั ให้คล่ังแก้ทรุ นทรุ าย” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 12 ชนิด รวมปริมาณ ๗๘ สว่ น ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา น้�ำตาลทรายแดง ๑๒ ส่วน จันทนเ์ ทศ ๑๑ สว่ น บัวหลวง ๑๐ ส่วน น้ำ� ใจใคร่ ๙ สว่ น อบเชยเทศ ๘ ส่วน ดีปลี ๗ ส่วน ขงิ แหง้ ๖ ส่วน พรกิ ไทย ๕ ส่วน บนุ นาค ๔ ส่วน ใบกระวาน ๓ ส่วน ชะเอมเทศ ๒ สว่ น มะแว้งเครอื 1 ส่วน สรรพคุณ แกล้ มหทยั วาตะก�ำเริบ รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) 138 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขนาดและวิธีการใช้ ครงั้ ละ 300-500 มลิ ลกิ รมั ละลายนำ้� ดอกไมแ้ ทรกพมิ เสนกนิ วนั ละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์คร้ังท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๙๓ ง. หนา้ ๑-๑๕. ยาแก้ลมออกตามหูและตา ที่มาของตำ� รบั ยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รชั กาลท่ี ๕ เลม่ 3 [1, 2] “ขนานหนึ่งแก้ลมออกตามหู ตา เอาทะลายหมากที่เปนเขาควาย 2 สลึง บระเพช 2 สลึง พดั แพวแดง 2 สลึง ดีปลี 2 สลึง แหว้ หมู 2 บาท พลิ งั กาสา 2 บาท ใบสลอด 2 บาท ใบมะตูม 2 บาท กรงุ เขมา 2 สลึง ยาทงั้ นี้ตำ� ผงละลายน�ำ้ ผึง้ กนิ จำ� เภาะแก้ลมออกหู ตา หายแล ๚ะ๛” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 9 ชนิด รวมปริมาณ 157.5 กรมั ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา พลิ ังกาสา 30 กรมั มะตูม (ใบ) 30 กรมั สลอด (ใบ) 30 กรมั แหว้ หมู 30 กรัม กรุงเขมา 7.5 กรมั ดีปล ี 7.5 กรมั บอระเพด็ 7.5 กรมั ผกั แพวแดง 7.5 กรมั หมาก (ขว้ั กา้ นชอ่ ผล) 7.5 กรมั สรรพคณุ แก้ลมออกหูซึ่งท�ำให้มีอาการหูอ้ือ มีเสียงในหู และลมออกตาท่ีท�ำให้มีอาการตาลาย มักพบในผู้สงู อายุ รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 1-2 ช้อนชา ละลายน�้ำผ้ึงกินวันละ 2-3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรอื เม่อื มีอาการ กระทรวงสาธารณสุข 139
เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์พริ้นตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง จ�ำกดั (มหาชน); 2555. หนา้ 36. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ยาแก้ลมอคั วารันตวาโย ทม่ี าของตำ� รับยา ศิลาจารกึ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) [๑, ๒] “๏ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า อัควารันตวาโย เป็นค�ำรบ ๕ นั้น เกิดแต่กองอัมพฤกษ์ แลสุมนาระคนกันมักกระท�ำให้เจ็บท่ัวสารพางค์กาย มักให้นอนมาก มักฝันเห็นแลให้พรึงขึ้นท้ังตัว ให้คันเป็นก�ำลัง ให้ผิวเน้ือชาสาก ฯ ขนานหนึ่ง เอาโกฐสอ โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐหัวบัว โกฐน้�ำเต้า เทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนตาตกั๊ แตน เทียนเยาวพาณี ลูกจนั ทน์ กระวาน กานพลู สิง่ ละสว่ น ตรกี ฏกุ แกน่ สน สงิ่ ละ ๒ สว่ น พริกลอ่ น ๒๐ ส่วน ท�ำเปน็ จณุ บดละลายนำ�้ ผึ้งใหก้ นิ หนัก ๑ สลงึ แกล้ มอัควารนั ตวาโยนนั้ หายวเิ ศษนกั ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 1๙ ชนิด รวมปริมาณ 4๒ ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 20 ส่วน พริกลอ่ น 2 ส่วน ขงิ แหง้ 2 ส่วน ดปี ลี 2 ส่วน พริกไทย 2 ส่วน สน 1 สว่ น กระวาน 1 ส่วน กานพลู 1 ส่วน โกฐกา้ นพร้าว 1 ส่วน โกฐเขมา 1 ส่วน โกฐนำ้� เตา้ 1 สว่ น โกฐพุงปลา 1 สว่ น โกฐสอ 1 ส่วน โกฐหัวบวั 1 ส่วน เทียนขาว 140 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา เทียนด�ำ 1 ส่วน เทยี นแดง 1 ส่วน เทียนตาตกั๊ แตน 1 สว่ น เทยี นเยาวพาณี 1 ส่วน ลูกจนั ทน ์ 1 สว่ น สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์ กระจายลมไปท่ัวรา่ งกาย รูปแบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ 0.9-1.5 กรมั กนิ วนั ละ 2 ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์ ผู้ทีม่ ีไข้ และเดก็ ค�ำเตอื น - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนื่องจากตำ� รับน้มี พี ริกไทยในปริมาณสูง เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เลม่ ๓. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. กระทรวงสาธารณสุข 141
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ที่มาของตำ� รับยา สูตรต�ำรับนี้มีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับที่มีความใกล้เคียงกับยาแก้ลม อ�ำมะพฤกษ์ ลมอ�ำมะพาธ ในคัมภรี ์แพทย์แผนโบราณ เลม่ ๒ [1] “ยาแก้ลมอ�ำมะพฤกษ์ ลมอ�ำมะพาธ ท�ำให้มือแลเท้าตาย เอาน้�ำมะกรูด น้�ำมะงั่ว น�้ำมะนาว เปลอื กทองหลางใบมน ไพร ขา่ ขมน้ิ ออ้ ย เปลอื กกมุ่ ทงั้ ๒ กระเทยี ม รากเจต็ มลู เพลงิ พรกิ ไทย ผกั เสย้ี นผี เกลอื การบรู ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ เอาสิ่งละเท่ากนั บดเปน็ ผงเคลา้ กับน�ำ้ สม้ ปั้นเปน็ แทง่ ละลายน�้ำกระสายตามควรแก่โรคกนิ ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๔ ชนิด รวมปริมาณ ๗๐ กรัม ดังนี้ [2] ตัวยา ปริมาณตัวยา กระเทียม ๕ กรมั การบรู ๕ กรัม กุ่มน้ำ� ๕ กรัม กุ่มบก ๕ กรัม เกลือสนิ เธาว์ ๕ กรัม ขม้นิ อ้อย ๕ กรัม ขา่ ๕ กรัม เจตมูลเพลิงแดง ๕ กรัม ดอกจนั ทน ์ ๕ กรัม ทองหลางใบมน ๕ กรมั ผักเส้ยี นผ ี ๕ กรมั พรกิ ไทยลอ่ น ๕ กรมั ไพล ๕ กรัม ลกู จนั ทน์ ๕ กรมั สรรพคณุ บรรเทาอาการปวดตามเส้นเอน็ กลา้ มเน้ือ มอื เทา้ ตึงหรอื ชา รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครัง้ ละ ๑ กรัม ชงน�้ำร้อน ๑๒๐–๒๐๐ มิลลลิ ิตร ดืม่ วนั ละ ๓ คร้งั กอ่ นอาหาร ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชก้ ับหญิงตงั้ ครรภ์ ผู้ท่ีมไี ข้ และเด็กอายุต�่ำกวา่ 12 ปี คำ� เตอื น ยาน้อี าจท�ำให้มอี าการแสบร้อนยอดอก ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ รวมท้ังผู้ป่วย ความดนั โลหติ สงู เนอื่ งจากมีเกลอื เปน็ สว่ นประกอบ 142 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ต�ำรับนี้มีสูตรใกล้เคียงกับคัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒ ซ่ึงต�ำรับยาน้ีไม่มีตัวยา มะกรูด นำ้� มะงว่ั และน�้ำมะนาว เอกสารอา้ งอิง ๑. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ ุตสาหกรรมการพิมพ;์ ๒๕๐๔. หนา้ ๒๕๙. ๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เรือ่ ง บัญชยี าหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 310). ยาแก้ลมอมั พฤกษ์อัมพาต สูตร 1 ทีม่ าของตำ� รับยา ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รชั กาลท่ี ๕ เล่ม 3 [1, 2] “ยาแก้ลมอำ� มพฤก อ�ำมพาด ให้มอื ตาย เท้าตาย เอาน้ำ� มะนาว น้�ำมะงวั่ น�้ำมะกรดู เปลอื กทองหลาง ใบมน ๑ ไพล ๑ ฃา่ ๑ ขม้นิ อ้อย ๑ กมุ่ ท้งั ๒ กะเทียม ๑ รากเจตมลู ๑ พริกไทย ๑ ผักเสยี้ นผี ๑ เกลือ ๑ การะบรู ๑ ผลจันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ เอาเทา่ ๆ กนั ตำ� ผงน�ำ้ กระสายตามควร ๚ะ๛” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 17 ชนดิ รวมปรมิ าณ 17 ส่วน ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา กระเทยี ม (ราก) 1 สว่ น การบูร 1 สว่ น กมุ่ นำ�้ 1 ส่วน กุ่มบก 1 สว่ น เกลือ 1 ส่วน ขม้ินออ้ ย 1 สว่ น ขา่ 1 ส่วน เจตมลู เพลิงแดง 1 ส่วน ดอกจันทน ์ 1 ส่วน ทองหลางใบมน 1 ส่วน ผกั เส้ยี นผ ี 1 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน ไพล 1 ส่วน มะกรูด 1 ส่วน มะง่ัว 1 ส่วน มะนาว 1 ส่วน ลกู จนั ทน ์ 1 สว่ น กระทรวงสาธารณสขุ 143
สรรพคุณ แกล้ มอัมพฤกษอ์ มั พาต รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ 1-2 กรัม ใช้น�้ำกระสายยาตามสมควร กินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอื่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ ข้อมลู เพิ่มเติม - ตวั ยามะกรูด มะงัว่ และมะนาว ในยาต�ำรบั น้ใี หใ้ ชน้ ้�ำคนั้ จากสว่ นของผล - ตวั ยาเกลือต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๕) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พร้นิ ตงิ้ แอนด์พบั ลิชชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2555. หน้า 35-36. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. 144 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สตู ร 2 ที่มาของตำ� รบั ยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 [๑, ๒] “ให้เอามหาหิงค์ุ ๑ บาท วา่ นน�ำ้ ๑ สลงึ เจตมูลเพลงิ ๒ สลึง เกลอื สนิ เธาว์ ๒ สลึง พรกิ ไทย ๖ สลึง การะบรู ๒ สลงึ กานพลู ๑ สลงึ แหว้ หมู ๒ สลงึ โกฐพงุ ปลา ๑ เฟือ้ ง โกฐสอ ๑ เฟ้ือง ยาดำ� ๑ บาท รากตองแตก ๑ บาท ดปี ลี ๖ สลึง รากช้าพลู ๑ สลึง ผลกระดอม ๖ สลงึ บอระเพด็ ๒ สลึง ลกู กระวาน ๒ สลึง กะเทียม ๒ สลงึ ขมิ้นอ้อย ๒ สลึง หัศด�ำเทศ ๑ บาท ใบสะเดา ๑ ต�ำลึง ต�ำเปนผงละลายน�้ำร้อนหรือน้�ำส้มก็ได้ หรือส้มซ่าก็ได้ น�้ำผ้ึงก็ได้หรือน้�ำร้อนก็ได้ แก้ลมอันเกิดแต่เท้าให้เท้าตายมือตาย และแก้ลมริศดวงก็หายสิ้นแล ให้รับประทาน เทา่ ผลสมอแกล้ ม ๓๐๐ จ�ำพวกกห็ ายแล ถา้ รับประทานได้ ๗ วันเสยี งดังจกั กระจั่นเรไร ถ้ารบั ประทาน ๑๕ วนั เสียงนกการะเวก ถ้ารับประทานได้นาน ๆ เสยี งดงั หงษท์ องอยู่ในถ�้ำคูหาสวรรค์ ถ้ารบั ประทานถงึ เดอื น ๑ เรยี นพระไตรปกิ ฏ ๘๔๐๐จบคาถาปัญญาสวา่ ง ปราศจากพยาธิ ๕๐๐ จ�ำพวกกห็ ายสิน้ แล รับประทานถึง ๖ เดือนจกั ษสุ วา่ งทัง้ ๒ ข้าง รับประทานถึง ๗ เดอื น รู้กำ� เนิดเทวดาในชั้นฟา้ รบั ประทานถึง ๘ เดอื น พระเวสุวรรณลงมาสู่เราแล รับประทานถึง ๙ เดือนอายุยีนได้ถึง ๒๐๐ ปี ให้ท�ำยาน้ีกินเถิด ถ้าผู้ใดได้ต�ำราน้ีแล้ว ไมท่ ำ� กนิ เหมอื นเหยยี บแผน่ ดนิ ผดิ ทเี ดยี วแล ตำ� รานที้ า่ นคดิ ปฤษณาไดอ้ ยา่ สนเทห่ เ์ ลย ถา้ ไดพ้ บใหท้ ำ� กนิ จำ� เรญิ อาหาร ด้วยแล” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 21 ชนิด รวมปรมิ าณ 262.5 กรมั ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 60 กรมั สะเดา กระดอม 22.5 กรัม ดีปลี 22.5 กรมั พริกไทย 22.5 กรัม ตองแตก มหาหิงค ์ุ 15 กรัม ยาด�ำ 15 กรัม หสั ดำ� เทศ 15 กรมั กระเทียม 15 กรัม กระวาน 7.5 กรมั การบูร 7.5 กรัม เกลือสนิ เธาว ์ 7.5 กรมั ขม้นิ ออ้ ย 7.5 กรัม เจตมลู เพลงิ แดง 7.5 กรมั บอระเพ็ด 7.5 กรัม แห้วหมู 7.5 กรมั กานพล ู 7.5 กรัม 3.75 กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 145
ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ชะพลู 3.75 กรัม ว่านนำ้� 3.75 กรัม โกฐพงุ ปลา 1.875 กรมั โกฐสอ 1.875 กรมั สรรพคุณ แก้ลมอมั พฤกษ์ อัมพาต แกป้ วดเขา่ ปวดข้อ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ 0.9-1.5 กรัม กนิ วันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภ์ ผทู้ ี่มไี ข้ และเด็กอายตุ ำ่� กว่า 12 ปี ค�ำเตอื น - ควรระมดั ระวงั การใช้ในผ้สู ูงอายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ - ตวั ยาตองแตกต้องค่ัวกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.15) - ตัวยามหาหิงคตุ์ ้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒6. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. 146 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกล้ มอุทธังคมาวาตา ท่มี าของต�ำรับยา ต�ำราโอสถครง้ั รัชกาลที่ ๒ [๑, ๒] “ยาแกล้ มอทุ ธังคมาวาตาเอาโกฏเขมา มหาหิงค์ุ สิ่งละ ๔ สว่ น การบรู กานพลู ดอกจนั ทน์ ผลพิลงั กาสา กนั ชา ส่ิงละ ๖ ส่วน โกฏบัว สมอเทศ กลำ� พกั จันชมด พริกหอม ดีปลี ส่งิ ละ ๘ ส่วน พรกิ ไทย ๔๐ ส่วน ทำ� เปนจุณ บดละลายน�้ำผ้ึงให้กินหนักสลึง ๑ แก้อุทธังคมาวาตกล้ากระท�ำให้คลุ้มคล่ัง แลแก้ลมอันให้มือตายเท้าตาย แลเปน เหนบ็ ชา แลแก้สรรพลมใหญท่ ้ังปวง อนั บังเกิดในกองธาตนุ ้ันหายวเิ ศษนกั ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 14 ชนดิ รวม 126 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา 40 ส่วน พริกไทย 8 สว่ น กระล�ำพัก 8 ส่วน โกฐหัวบัว 8 สว่ น จันทนช์ ะมด 8 สว่ น ดีปล ี 8 สว่ น พรกิ หอม 8 สว่ น สมอเทศ 6 สว่ น กัญชา 6 ส่วน กานพล ู 6 สว่ น การบูร 6 สว่ น ดอกจนั ทน ์ 6 ส่วน พิลังกาสา 4 สว่ น โกฐเขมา 4 สว่ น มหาหงิ คุ ์ สรรพคณุ แก้ลมอุทธังคมาวาตา แก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาตเป็นเหน็บชา แก้ลมใหญ่ทั้งหลาย ที่เกดิ ในกองธาตุ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ 1.5-2 กรัม กินวนั ละ 2 ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญงิ ตั้งครรภ์ ผูท้ ่มี ไี ข้ และเด็ก ค�ำเตือน - ควรระมดั ระวงั การใช้ในผสู้ งู อายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่ืองจากตำ� รับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง กระทรวงสาธารณสุข 147
ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - ตัวยากัญชาต้องคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตวั ยามหาหงิ คต์ุ อ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ต�ำรับยานี้มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม การใชย้ าเสพตดิ ใหโ้ ทษตำ� รบั นตี้ อ้ งอยภู่ ายใตก้ ารปรงุ และสง่ั จา่ ยโดยผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทย์แผนไทยตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เอกสารอา้ งอิง ๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระมหาสมณะ. ต�ำราพระโอสถ คร้ังรชั กาลที่ ๒. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพพิ รรฒธนากร; ๒๔๕๙. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ยาแก้ละอองพระบาท ทมี่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [๑, ๒] “ยาแกล้ ะอองพระบาทชอ่ื ว่าเปลวไฟฟ้าและละออง อันนี้เกิดเพื่อซางโจร คอื กมุ ารเกิดวัน ๗ เม่อื ละออง พระบาทจำ� พวกน้จี ะบงั เกิดน้นั ขึ้นดังนำ้� ชาด ถา้ ทำ� พิษคางแข็งตาแขง็ ชกั มือตนี กำ� ตวั ร้อนเป็นกำ� ลงั ถา้ แก้มิทนั แตเ่ ช้า จนเทีย่ งตายแล ถ้าจะแก้ห้ามยาร้อนยาเคล้าเหล้าเคล้าน�้ำมันให้แก้แต่อันเย็นอันหอมอันขม จึงจะร้อนแล ละอองพระบาททั้ง ๗ วนั ทำ� ดจุ กนั แล ถ้าจะแกเ้ อา รากทองหลางนำ�้ ๑ รากพุงดอ ๑ รากมะกล�่ำเครอื ๑ กฤษณา ๑ ลูกเบญกานี ๑ สเี สียดเทศ ๑ จันทนท์ ัง้ สอง ๑ บดท�ำแท่งละลายน�้ำหมากดิบกวาดปากหายแล ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 8 ชนิด รวมปริมาณ 8 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา กฤษณา ๑ ส่วน จนั ทน์ขาว ๑ ส่วน จันทน์แดง ๑ ส่วน ทองหลางน�้ำ (ราก) ๑ ส่วน เบญกานี ๑ ส่วน พงุ ดอ ๑ สว่ น มะกล่ำ� เครอื ๑ ส่วน สีเสยี ดเทศ ๑ สว่ น 148 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แก้ละออง ซาง และบรรเทาอาการท้องเสียในเด็ก รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เด็ก อายุ ๑-๕ เดอื น ครัง้ ละ 100 มิลลกิ รมั อายุ ๕ เดอื น-๑ ปี ครงั้ ละ 200 มลิ ลกิ รมั อายุ ๑-๕ ปี คร้งั ละ 200-300 มิลลกิ รัม อายุ ๕ ปี ข้นึ ไป ครั้งละ 300 มิลลิกรัม ละลายน้ำ� หมากดบิ เป็นยากวาดหรือยาปา้ ยปาก ค�ำเตือน ไม่ควรใชใ้ นเด็กทม่ี ไี ข้และเดก็ ทม่ี ีอาการท้องเสียรนุ แรง ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ตวั ยาสีเสียดเทศต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.41) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 273. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑41 ง. หน้า 1. ยาแกว้ าโยกำ� เรบิ ที่มาของต�ำรับยา ๑. ต�ำราโอสถครั้งรัชกาลท่ี ๒ [๑, ๒] “ยาแก้วาโยกำ� เริบเอา การบูร ๔ ส่วน กะเทียม ขิงแห้ง ดปี ลี ขมิน้ อ้อย ไพล หวา้ นน�ำ้ ส่งิ ละ ๘ สว่ น เง่าหญ้าชัณกาด แห้วหมู สิ่งละ ๑๖ ส่วน บรเพ็ด สิ่งละ ๒๔ ส่วน ใบมะตูม ใบคนทีสอ ใบสเดา พริกไทย สิ่งละ ๑๖ สว่ น ท�ำเปนจณุ บดละลายนำ้� ผ้ึงใหก้ ินหนกั สลงึ ๑ แกว้ าโยอนั ก�ำเรบิ กลา้ ขน้ึ เบือ้ งบนน้ันหายดีนัก” ๒. ศลิ าจารึกวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) [3, 4] “อนง่ึ เอาการบูร ๔ สว่ น กระเทยี ม ขงิ แห้ง ดีปลี ขมิน้ อ้อย ไพล ว่านน�้ำ สง่ิ ละ ๘ ส่วน เหง้าหญ้า ชันกาด แห้วหมู สิ่งละ ๑๖ ส่วน บอระเพ็ด ๒๔ ส่วน ใบมะตูม ใบคนทีสอ ใบสะเดา พริกไทย ส่ิงละ ๑๖ ส่วน ท�ำเป็นจณุ บดละลายน้ำ� ผึ้งใหก้ นิ หนกั ๑ สลงึ แกว้ าโยอันก�ำเรบิ กล้าข้ึนเบ้อื งบนน้นั หายดนี ัก ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 14 ชนดิ รวมปริมาณ 172 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 24 ส่วน บอระเพด็ 16 ส่วน คนทีสอ 16 สว่ น พริกไทย 16 ส่วน มะตูม (ใบ) 16 สว่ น สะเดา 16 สว่ น หญา้ ชนั กาด 16 สว่ น แห้วหมู กระทรวงสาธารณสขุ 149
ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ๘ ส่วน กระเทียม ๘ ส่วน ขมิน้ อ้อย ๘ สว่ น ขงิ แห้ง ๘ สว่ น ดปี ลี ๘ สว่ น ไพล ๘ สว่ น วา่ นน้ำ� ๔ ส่วน การบรู สรรพคณุ แก้ลมตขี ึ้นเบื้องสูง รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครัง้ ละ 1 กรัม กนิ วนั ละ 2 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ข้อหา้ มใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ ผู้ท่มี ไี ข้ และเดก็ ค�ำเตอื น ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลอื ด ขอ้ ควรระวัง ควรระวงั การใชย้ าอยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในผปู้ ่วยท่มี คี วามผิดปรกติของตบั เอกสารอ้างอิง ๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระมหาสมณะ. ต�ำราพระโอสถ ครงั้ รัชกาลท่ี ๒. พระนคร : โรงพมิ พ์โสภณพพิ รรฒธนากร; ๒๔๕๙. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ๓. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์ เล่ม ๓. พมิ พ์คร้งั ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๔. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า 1-80. 150 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกส้ ันทฆาต ท่ีมาของตำ� รับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ 1 [1, 2] “ อนั วา่ สนั ทะฆาฏนเี้ กดิ แกส่ ตั รภี าพทงั้ หลาย คอื เปนเพราะโลหติ แหง้ ตดิ กระดกู สนั หลงั จงึ กระทำ� ใหพ้ กิ าร ตา่ ง ๆ ดงั กล่าวมานน้ั ทา่ นใหแ้ ต่งยาแก้ เอากระวาน ๑ กานพลู ๑ ขงิ แหง้ ๑ ดปี ลี ๑ เทียนด�ำ ๑ เทยี นขาว ๑ ผล จนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ สมุลแว้ง ๑ ยาทัง้ นเี้ อาสงิ่ ละ ๑ บาท พรกิ ไทย ๕ บาท ต�ำเปนผงแลว้ จึงเอาสารส้ม ๔ ตำ� ลึง ๒ บาท ใสก่ ระทะเอานำ�้ ใส่ลงให้ท่วมเค่ยี วใหล้ ะลายแล้วเอายาผงใส่ลงกวนให้แหง้ จึงบดดว้ ยน�้ำผง้ึ รวงกนิ หนัก ๑ สลึง แก้โลหิตพิการหมกอยู่ในท้องสันหลังทวารหนักเบาแก้โลหิตเปนก้อนจุกอยู่ในรูองคชาตก็ดี แลหญิงเปนช�้ำรั่ว แลคลอดบตุ รนอนเพลิงมิได้กด็ ี เปนลมโฮกให้จุกเสยี ดแลรศิ ดวงในทวารทั้ง ๙ ก็ดี ใหก้ นิ ยานี้แลว้ หายแล” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 11 ชนิด รวมปริมาณ 480 กรมั ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 270 กรมั สารส้ม 75 กรัม พริกไทย 15 กรัม กระวาน 15 กรัม กานพลู 15 กรัม ขงิ แหง้ 15 กรัม ดอกจันทน ์ 15 กรัม ดปี ล ี 15 กรัม เทยี นขาว 15 กรัม เทยี นด�ำ 15 กรัม ลูกจนั ทน์ 15 กรัม สมุลแวง้ สรรพคุณ ฟอกโลหติ แกข้ ดั เบา ชำ�้ รวั่ รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครัง้ ละ 1.2-1.8 กรมั กนิ วันละ ๒ ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ มลู เพมิ่ เติม - ยาต�ำรับน้ีโบราณระบุให้ “บดด้วยน้�ำผึ้งรวง” ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่า สามารถ ทำ� เป็นรปู แบบยาลกู กลอนได้ เพื่อใหส้ ะดวกในการกินและเก็บไว้ไดน้ าน - ยาตำ� รบั นโ้ี บราณระบใุ ห้ “กนิ หนกั 1 สลงึ ” ผทู้ รงคณุ วฒุ มิ คี วามเหน็ ใหก้ ำ� หนดขนาด และวิธีการใช้เป็น “คร้ังละ 1.2-1.8 กรัม กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น” เพื่อให้เทา่ กบั ขนาดยาตามท่ีโบราณก�ำหนด เอกสารอา้ งอ งิ - ตัวยาสารสม้ ต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓4 ตอนพเิ ศษ 2๗1 ง. หน้า ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 151
ยาแก้สารพัดลม ทม่ี าของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “...ขนานน้ีแก้สารพัดลม จำ� เรญิ อาหารดว้ ย เอา สะค้าน ๒ สลงึ ๑ เฟ้อื ง สมอเทศ ๑ บาท ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง ลูกช้าพลู ๑ บาท ๒ สลึง สหัสคุณเทศ ๑ บาท ๑ สลึง ต�ำผงลายน�้ำร้อนกิน ๑ สลึง แก้โรคดุจกัน ท่านตีค่าไว้ ๑ ชงั่ หน่ึงแล ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 4 ชนิด รวมปริมาณ 71.25 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 22.50 กรมั ชะพลู (ผล) 20.625 กรมั สมอเทศ 18.75 กรมั หัสคณุ เทศ 9.375 กรมั สะคา้ น สรรพคุณ แกส้ ารพัดลม ชว่ ยให้เจริญอาหาร รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 1 ชอ้ นชา ละลายน้�ำอนุ่ กินวันละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตั้งครรภ์ หญิงให้นมบตุ ร ผทู้ ี่มไี ข้ และเด็กอายตุ ่�ำกว่า ๑๒ ปี ขอ้ มูลเพิม่ เติม ตวั ยาหัสคุณเทศต้องคั่วก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๒๒. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. 152 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกเ้ สน้ ปตั ฆาต ชื่ออื่น ยาแกเ้ สน้ ปัตคาด ทีม่ าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาแกเ้ สน้ ปัตคาด เอา ผักเสย้ี นทั้ง ๒ ใบประค�ำไก่ ๑ ใบคนทสี อ ๑ พริกไทย ๑ ผวิ ไมส้ สี ุก ๑ ไพล ๑ ขม้ินอ้อย 1 ว่านนางค�ำ ๑ ขิง ๑ ข่า ๑ กะทือ ๑ ใบว่านน้�ำ ๑ หอม ๑ กระเทียม ๑ ผิวมะกรูด ๑ ยาด�ำ ๑ มหาหงิ ค์ุ ๑ กระชาย ๑ ต�ำผงละลายสรุ าก็ได้ น�้ำส้มสายชกู ไ็ ด้ ทงั้ กินทงั้ ทา แกล้ มปัตคาดเมื่อยขบเหน็บชา ลมขน้ึ แตฝ่ า่ เทา้ จนศีรษะ ปวดศีรษะทาหาย น�ำ้ กระสายได้ ๒ อย่างแล ๚” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 19 ชนิด รวมปรมิ าณ 19 ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระชาย 1 สว่ น กระเทียม 1 สว่ น กะทอื 1 สว่ น ขม้นิ ออ้ ย 1 สว่ น ข่า 1 ส่วน ขงิ 1 ส่วน คนทีสอ 1 สว่ น ประคำ� ไก่ 1 ส่วน ผักเสีย้ นไทย 1 สว่ น ผกั เส้ยี นผี 1 สว่ น ไผส่ สี กุ 1 สว่ น พรกิ ไทย 1 สว่ น ไพล 1 สว่ น มหาหงิ คุ ์ 1 สว่ น มะกรูด 1 สว่ น ยาดำ� 1 สว่ น ว่านนางคำ� 1 สว่ น ว่านนำ�้ (ใบ) 1 สว่ น หอม 1 ส่วน สรรพคุณ แกล้ มปัตคาด แกเ้ มอื่ ยขบ เหน็บชา แก้ลมข้นึ แตฝ่ ่าเทา้ จนศรี ษะ ปวดศีรษะ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ยากนิ ครง้ั ละ 1-1.5 กรมั ละลายน�้ำสุรา น้�ำส้มสายชู หรือน�ำ้ ต้มสกุ กนิ วันละ 3 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ หรือตามกำ� ลงั ธาตหุ นกั เบา ยาทา ผงยาละลายน�ำ้ สรุ า น้ำ� ส้มสายชู หรือน้�ำตม้ สกุ ทาบรเิ วณท่ีมีอาการ ข้อห้ามใช ้ - หา้ มใช้บรเิ วณผิวหนงั ทมี่ บี าดแผลหรอื แผลเปิด - หา้ มใชใ้ นหญิงตั้งครรภ์ หญงิ ให้นมบุตร ผู้ท่มี ีไข้ และเดก็ อายุต่�ำกวา่ 12 ปี กระทรวงสาธารณสุข 153
ขอ้ มลู เพิม่ เติม - ตวั ยามหาหงิ คต์ุ อ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตัวยายาดำ� ตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. ยาแก้เสยี งแห้ง ช่อื อื่น ยาแก้ลม ทมี่ าของตำ� รับยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาแก้ลม ๚ ๏๓๚ ยาแกล้ มมันให้เสยี งแหง้ คอแห้ง เอา สม้ มะขามเปียก ๒ ตำ� ลึง นำ�้ ตาลโตนด ๑ สลึง น�้ำมะนาว ๗ ลกู ชะเอมเทศ ๑ เฟอ้ื ง เกลอื ๑ บาท นำ�้ ใบมะกลำ่� เครอื จอก ๑ น้ำ� ใบมะกลำ�่ ตน้ จอก ๑ น�ำ้ ขงิ จอก ๑ ดปี ลี ๒ สลึง เคย่ี วขน้ึ แตพ่ อปน้ั ได้ กิน แกเ้ สียงแห้ง คอแห้งด้วยลมและริดสีดวงนั้นหายแล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 9 ชนดิ รวมปริมาณ ๑๔๘.๑๒๕ กรมั * ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา มะขามเปยี ก 120 กรมั เกลอื 15 กรัม ดีปลี 7.5 กรัม ตาลโตนด 3.75 กรมั ชะเอมเทศ 1.875 กรัม มะนาว 60 มลิ ลลิ ติ ร ขงิ 50 มิลลิลติ ร มะกล�ำ่ เครอื 50 มลิ ลิลติ ร มะกล�่ำต้น 50 มลิ ลลิ ิตร *ไม่รวมปรมิ าณมะนาว ขงิ มะกล�่ำเครอื และมะกลำ�่ ต้น สรรพคุณ แก้เสียงแหง้ ท่เี กดิ จากลม คอแห้ง รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) วธิ ีปรงุ ยา ตัวยามะนาว ขิง มะกล�่ำเครือ และมะกล่�ำต้น ค้ันเอาน้�ำตามท่ีก�ำหนด ผสมกับตัวยา เกลอื ดีปลี ตาลโตนด และชะเอมเทศ กวนใหเ้ ขา้ กัน เตมิ มะขามเปียก กวนให้เข้ากนั อกี ครงั้ หนึง่ แลว้ จงึ ปน้ั เปน็ ยาลูกกลอน ขนาดและวธิ ีการใช้ ครงั้ ละ 300-600 มลิ ลกิ รมั อมเม่อื มอี าการ 154 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ข้อมูลเพ่มิ เตมิ ตวั ยาเกลอื ตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๕) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๓. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หน้า ๑-3. ยาแก้หืด ท ่ีมาของต�ำรบั ยา คัมภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3 [1] “ยาแก้หืด เอาขิง ๒๐ บาท สะค้าน ๒๐ บาท หัวแห้วหมู ๒๐ บาท เจ็ตมูลเพลิง ๒๐ บาท พริกไทยล่อน ๑ ทนาน บดเป็นผงละลายน�้ำรอ้ นกนิ ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๕ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๒,๒๐๐ กรัม ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา พริกไทยลอ่ น ๑,๐๐๐ กรัม ขิง ๓๐๐ กรัม เจตมลู เพลิงแดง ๓๐๐ กรัม สะคา้ น ๓๐๐ กรมั แหว้ หม ู ๓๐๐ กรัม สรรพคุณ แก้หอบ หดื ภมู แิ พ้อากาศ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง คร้ังละ ๑ ช้อนชา ละลายน้�ำร้อนกินวันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น หรือเมื่อมีอาการ ยาแคปซูล ครั้งละ 0.5-1 กรัม กินวันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น หรือ เมอ่ื มีอาการ ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตงั้ ครรภ์ ผทู้ ม่ี ไี ข้ เดก็ อายตุ ำ่� กวา่ 12 ปี และผทู้ เ่ี ปน็ แผลในกระเพาะอาหาร ค�ำเตือน - ควรระมดั ระวังการใชใ้ นผู้สงู อายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลือด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนือ่ งจากตำ� รบั นมี้ ีพริกไทยในปริมาณสงู เอกสารอา้ งองิ 1. โสภติ บรรณลักษณ,์ ขนุ (อำ� พนั กติ ติขจร). คัมภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสุข 155
ยาแกอ้ ยไู่ ฟไม่ได้ ท่ีมาของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้อยูไ่ ฟไมไ่ ด้ ทา่ นให้เอา เมด็ พันผกั กาด ๑ วา่ นนาํ้ ๑ พรกิ ไทย ๑ กระเทียม ๑ หอมแดง ๑ ไพล ๑ เกลอื ๑ เสมอภาค ทำ� แท่งไว้กินไปกว่าจะออกไฟดนี กั แล” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๗ ชนิด รวมปรมิ าณ 7 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา กระเทยี ม 1 ส่วน เกลือ 1 ส่วน พริกไทย 1 ส่วน ไพล 1 สว่ น เมลด็ พรรณผกั กาด 1 สว่ น ว่านน้ำ� 1 สว่ น หอมแดง 1 ส่วน สรรพคุณ ขับน�ำ้ คาวปลา ช่วยใหม้ ดลกู เขา้ อู่ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 1 ช้อนชา ละลายน้ำ� ต้มสุกกนิ วันละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ข้อหา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นหญิงตกเลือดหลงั คลอด หญิงต้ังครรภ์ และผ้ทู ม่ี ีไข้ ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ตวั ยาเกลือต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๕) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 2๗๓. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑. 156 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกอ้ ทุ รวาตอติสาร ที่มาของต�ำรบั ยา ศิลาจารึกต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์ [1, 2] “อติสารวรรคอันเป็นปัจจุบันกรรม ๖ ประการน้ัน คือ อุทรวาตอติสาร สุนทรวาตอติสาร ปัสวาต อติสาร กุจฉิยาวาตอติสาร โกฎฐาสยาวาตอติสาร อุตราวาตอติสาร เป็น ๖ ประการด้วยกันดังน้ี ท่ีน้ีจะกล่าว อุทรวาตอติสาร อันเป็นปัจจุบันกรรมน้ันเป็นปฐมมีอาการและประเภทบังเกิดขึ้นเพื่อขว้ันสะดือน้ันพอง โดยอ�ำนาจ ผิงสะดือมิได้แต่ยังเยาว์อยู่นั้น และลมกองนี้ติดตัวมาจนใหญ่กระท�ำให้ท้องข้ึนมิรู้วายมักกลายเป็นลมกระษัย บางที ให้ลงให้ปวดมวน คร้ันกินยาหายไป ครัน้ ถกู เยน็ เขา้ กลบั เปน็ มา ใหข้ บปวดทอ้ งยงิ่ นัก ฯ ถ้าจะแก้เอา สะค้าน รากช้าพลู รากเจตมูลเพลิง ตรีกฏุก ผิวมะกรูด ใบคนทีสอ มหาหิงคุ์ เสมอภาค ทำ� เป็นจณุ บดท�ำแท่งไว้ละลายน้�ำรอ้ นกนิ แก้อุทรวาตอติสารหายดีนัก ฯ” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 9 ชนิด รวมปริมาณ 9 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา ขิงแห้ง 1 สว่ น คนทีสอ 1 สว่ น เจตมลู เพลงิ แดง 1 ส่วน ชะพลู 1 สว่ น ดปี ล ี 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 สว่ น มหาหงิ ค์ุ 1 สว่ น มะกรูด 1 สว่ น สะค้าน 1 ส่วน สรรพคุณ ยาแก้ทอ้ งข้ึน ท้องอืดเฟอ้ ทอ้ งเสีย ปวดมวนในท้อง ทเ่ี กิดจากลมอุทรวาต รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครงั้ ละ 0.6-1 กรมั ละลายน้ำ� รอ้ นกนิ วันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญิงตงั้ ครรภ์และผ้ทู มี่ ไี ข้ ข้อมูลเพ่ิมเติม ตัวยามหาหงิ คต์ุ ้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เลม่ ๒. พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. กระทรวงสาธารณสขุ 157
ยาแกไ้ อ สูตร 1 ที่มาของต�ำรับยา ศลิ าจารึกวดั ราชโอรสรามราชวรวิหาร [1, 2] “จะกล่าวสรเภทโรค คือ ไอเสียงแหบแห้ง บังเกิดเพ่ือลมน้ัน ให้เสมหะออกมา มีสีด�ำให้ระคายล�ำคอ ขนานหน่ึงเอาตรีกฏุก รากพรมมิ รากแมงลัก ว่านน้�ำ ชะเอม เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณ บดละลายน้�ำผึ้งก็ได้ น้ำ� ตาลกรวดก็ได้ ให้กินแก้ไอแห้งเสยี งดังกะสาบ เกดิ เพอ่ื ลมนั้นหาย ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๗ ชนดิ รวมปริมาณ ๗ ส่วน ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ๑ ส่วน ขงิ แหง้ ๑ ส่วน ชะเอมไทย ๑ สว่ น ดปี ลี ๑ สว่ น พรมมิ (ราก) ๑ สว่ น พรกิ ไทย ๑ สว่ น แมงลัก (ราก) ๑ ส่วน ว่านนำ้� สรรพคุณ แก้ไอแหง้ เสมหะนอ้ ย ระคายคอ และเสยี งแหบแหง้ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ ๑ ช้อนชา ละลายน้�ำผ้ึงหรือน้�ำตาลกรวดกินวันละ ๓-๔ ครั้ง ก่อนอาหาร หรือเมือ่ มอี าการ ข้อหา้ มใช ้ หา้ มใช้ในผู้ที่มไี ข้ รอ้ นใน เจบ็ คอ เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ์; ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๙๓ ง. หน้า ๑-๑๕. 158 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ไอ สตู ร 2 ทีม่ าของต�ำรบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 [1, 2] “ถา้ ชายหญิงผใู้ ดใหไ้ อแห้งไมม่ เี สมหะ ทา่ นให้เอาตรกี ะฏุก 1 รากส้มกงุ้ ทั้ง 2 รากเจตมลู เพลิง 3 ส่วน บอรเพ็ด 4 สว่ น ท�ำผงแล้วจงึ ปรุงผลจนั ทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 เทยี นทั้ง 5 เอาสง่ิ ละ 5 สลงึ บดละลายน้�ำผึ้งรวงกนิ 7 วนั ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑6 ชนดิ รวมปริมาณ 378.75 กรมั ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา บอระเพด็ 60 กรมั เจตมูลเพลงิ แดง 45 กรัม สม้ กงุ้ น้อย 30 กรมั ส้มกุ้งใหญ่ 30 กรมั กระวาน 18.75 กรัม กานพลู 18.75 กรัม ดอกจนั ทน์ 18.75 กรมั เทียนขาว 18.75 กรมั เทยี นข้าวเปลือก 18.75 กรมั เทียนดำ� 18.75 กรมั เทยี นแดง 18.75 กรัม เทียนตาตก๊ั แตน 18.75 กรมั ลกู จันทน์ 18.75 กรัม ขงิ แหง้ 15 กรมั ดปี ล ี 15 กรมั พริกไทย 15 กรัม สรรพคุณ บรรเทาอาการไอที่ไม่มเี สมหะ รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาผง ครัง้ ละ 0.5-1 กรัม ละลายน�้ำผึ้งกนิ วนั ละ 3 ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น หรอื เม่อื มีอาการ ยาลูกกลอน ครั้งละ 0.5-1 กรัม ละลายน�้ำผ้ึงกินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวนั และเย็น หรอื เม่ือมีอาการ ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นผู้ท่ีมีไข้ ข้อมลู เพิ่มเตมิ จากประสบการณ์ของผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า ยาขนานน้ีใช้รักษาโรคหอบหืดหรือผู้ป่วย ที่มอี าการหวัดเนอื่ งจากแพอ้ ากาศ เอกสารอา้ งอิง 1. พิษณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. 126. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 13) พ.ศ. ๒๕60. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓4 ตอนพิเศษ 231 ง. หน้า 1. กระทรวงสาธารณสุข 159
ยาแกไ้ อ ขับเสมหะ สูตร 1 ท่มี าของตำ� รับยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) [1, 2] “จะกล่าวลักษณะสมุฏฐาน ๔ ประการนั้น คือ เสมหะสมุฏฐาน ปิตตะสมุฏฐาน วาตะสมุฏฐาน สันนิปาตะสมุฏฐาน นั้นก่อนเป็นอาทิ ให้แพทย์ทั้งหลายพึงรู้โดยสังเขปอันน้ีอยู่ในคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัยโน้น เสร็จแล้ว ฯ ในล�ำดับนี้ จะแสดงลักษณะเสมหะสมุฏฐานเป็นปฐม คือย�่ำรุ่งแล้วไปจน ๔ โมงเช้า เป็นอ�ำเภอแห่ง เสมหะสมฏุ ฐาน มีอาการกระท�ำใหต้ วั รอ้ นตวั เย็นใหข้ นลุกขนพอง บางทใี หเ้ สโทตก ให้กลดั อก บางทีให้หลับเชอ่ื มมัว แลว้ ให้เปน็ หวัดแลไอ ใหเ้ บ่อื อาหาร ให้สวิงสวายโทษอันนี้เกิดแต่กองเสมหะสมุฏฐาน ฯ อน่งึ เอา สมอไทย สมอพิเภก มะขามปอ้ ม รากมะแวง้ ต้น รากมะแวง้ เครอื รากมะเขอื ขืน่ รากมะกล�่ำต้น ว่านน�้ำ ชะเอมเทศ ดีปลีช้าง เสมอภาคท�ำเปน็ จณุ บดท�ำแท่งไวล้ ะลายน�ำ้ ร้อนกนิ แกเ้ สมหะสมุฏฐานโรคน้ันหาย ฯ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 1๐ ชนิด รวมปริมาณ ๑๐ ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา ชะเอมเทศ ๑ สว่ น ดปี ลี ๑ สว่ น มะกลำ่� ต้น ๑ สว่ น มะขามปอ้ ม (เนอ้ื ผล) ๑ ส่วน มะเขือข่นื ๑ สว่ น มะแวง้ เครือ (ราก) ๑ ส่วน มะแว้งต้น (ราก) ๑ สว่ น วา่ นนำ้� ๑ สว่ น สมอไทย (เนอื้ ผล) ๑ ส่วน สมอพิเภก (เนอื้ ผล) ๑ สว่ น สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ รปู แบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 0.6-1.2 กรัม ละลายน�้ำร้อนกินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ขอ้ มูลเพิ่มเติม ในสูตรต�ำรับดีปลีช้างหาได้ยาก จึงเปล่ียนมาใช้ดีปลี ซึ่งหาได้ง่ายและมีสรรพคุณ เอกสารอา้ งอ ิง เหมือนกัน ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เลม่ ๒. พิมพค์ ร้ังที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ 1-80. 160 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกไ้ อ ขับเสมหะ สตู ร 2 ช่ืออืน่ ยาแก้ไอเพื่อเสมหะ ทีม่ าของตำ� รับยา คัมภรี แ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 3 [1] “…ยาแก้ไอเพื่อเสมหะ เอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู พริกไทย ดีปลี หัวหอม หัวกระเทียม ชะเอมเทศ รากส้มกุ้งน้อย รากมะแว้งเครือ รากมะเขือขื่น รากมะกล�่ำเครือ เปลือกมะกล่�ำต้น เอาเสมอภาค ฝกั ส้มปอ่ ยเทา่ ยาท้งั หลาย บดละลายน�้ำมะขามเปยี กแทรกเกลอื กวาด…” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๕ ชนดิ รวมปริมาณ ๒๘ ส่วน ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ส้มป่อย (ฝัก) ๑๔ ส่วน กระเทยี ม ๑ ส่วน กระวาน ๑ สว่ น กานพลู ๑ สว่ น ชะเอมเทศ ๑ ส่วน ดอกจนั ทน ์ ๑ สว่ น ดปี ลี ๑ สว่ น พริกไทย ๑ ส่วน มะกล่�ำเครือ ๑ ส่วน มะกลำ่� ตน้ ๑ ส่วน มะเขือข่นื ๑ ส่วน มะแว้งเครือ (ราก) ๑ สว่ น ลูกจันทน์ ๑ ส่วน ส้มก้งุ นอ้ ย ๑ ส่วน หอม ๑ ส่วน สรรพคณุ แก้ไอ ขับเสมหะ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครัง้ ละ ๓-๕ กรัม ละลายน�้ำมะขามเปยี กแทรกเกลอื กนิ หรือกวาดคอวันละ ๑-๓ ครั้ง ตามอาการหนักเบา ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใชใ้ นเด็ก ข้อมูลเพิ่มเติม ตวั ยาส้มปอ่ ยต้องปิ้งไฟกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.34) เอกสารอ้างองิ 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ ุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสขุ 161
ยาแกไ้ อคอแหบแห้ง ท่มี าของต�ำรบั ยา ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เล่ม ๒ [1, 2] “๏ ยาแก้ฅอแหบแห้งไม่มนี ำ้� เขฬะ เอาชะเอม ๑ ศศี ะกะเทียม ๑ ขงิ แหง้ ๑ ศศี ะหอม ๑ เกลอื ร�ำหดั กนิ มนี ้�ำเขฬะแล ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๔ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๔ สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๑ ส่วน กระเทยี ม ๑ สว่ น ขงิ แห้ง ๑ ส่วน ชะเอมไทย ๑ ส่วน หอม สรรพคุณ แกไ้ อท่ไี มม่ เี สมหะ คอแหง้ เสยี งแหง้ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ ๑ ช้อนชา แทรกเกลือเล็กน้อยกินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรอื เมือ่ มีอาการ เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทอมรินทรพ์ ร้นิ ติง้ แอนด์พับลิชช่งิ จ�ำกัด (มหาชน); 2542. หนา้ 198. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. 162 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ที่มาของต�ำรบั ยา ยาแก้ไอผสมกานพลู สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี สูตรตำ� รบั ยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับท่ีต้ังขึ้นตามองค์ความรู้การแพทย์ แผนไทย [1] ประกอบด้วยตวั ยา ๑๕ ชนิด รวมปริมาณ 102 กรัม ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ชะเอมเทศ ๔๘ กรัม บ๊วย ๑๖ กรัม มะนาว (ผลดอง) ๑๐ กรัม น้ำ� ตาลกรวด ๔ กรัม เกล็ดสะระแหน ่ ๓ กรัม พิมเสน ๓ กรมั กานพล ู ๒ กรมั เก๊กฮวย ๒ กรัม มะขามป้อม (เน้อื ผล) ๒ กรัม มะแว้งเครอื ๒ กรมั วา่ นน�้ำ ๒ กรมั ส้มจนี ๒ กรัม สมอพเิ ภก (เน้อื ผล) ๒ กรัม หล่อฮัง่ กว๊ ย ๒ กรมั อบเชยไทย ๒ กรัม สรรพคณุ บรรเทาอาการไอ ขบั เสมหะ ท�ำให้ชุม่ คอ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก ๓.๕) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ 300 มลิ ลิกรมั อมเมื่อมอี าการทกุ ๔ ช่ัวโมง เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรอื่ ง บญั ชียาหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 303). กระทรวงสาธารณสุข 163
ยาแก้ไอผสมตรีผลา ช่ืออื่น ยาแก้คอ แกไ้ อ แก้ราก แก้สะอกึ [1, 2] ที่มาของตำ� รับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ [1, 2] “อันว่าลักษณะทรางโจรทรางเพลิงน้ันย่อมมีเภทดุจกัน ให้แพทย์พึงรู้ดังน้ี ทรางโจรทรางเพลิงน้ัน ย่อมบงั เกิดแกก่ มุ าร คือ ถา้ เกดิ วนั อาทิตย์วันเสาร์นั้น บางทกี มุ ารเกิดวนั อาทิตย์ทรางเพลิงเปนเจ้าเรือนทรางโจรแซก บางทีกุมารเกิดวันเสาร์ทรางโจรเปนเจ้าเรือน ทรางเพลิงแซก เข้าเปนสองชื่ออยู่ดังน้ีจึงเรียกว่าทรางโจร ทรางเพลิง มีลักษณะดงั นต้ี ่างกนั ออกทับทรางเพลงิ คือ แม่ทรางโจรนั้นต้ังขน้ึ กลางลนิ้ ไก่ เขา้ ไปหาแมด่ ังเมลด็ เข้าเม่า จงึ กระทำ� ให้ฅอแหง้ กินเข้ากินนมมไิ ด้ ให้ตาฟางกอ่ น สตี าเหลอื งเหมอื นดงั ควนั เทยี น แลว้ ใหเ้ ช่อื มมึนให้ตวั รอ้ น ครน้ั วางยาชอบ ถอยลงไปใหแ้ ต่ ๔ เดือน ๕ เดอื น แลว้ ค่อยกลับขึน้ มาใหม่ ให้อยากพริกแลของคาวซ่งึ ชอบกบั โรค เม่ือจะก�ำเริบขน้ึ นั้น กระท�ำให้ลงท้องจะนับเวลามิได้ เปนโลหิตเสมหะเน่าออกมา แล้วให้แปรเปนไปต่าง ๆ แลให้ซูบผอมสันแข้ง เปนหนามดังหนังกระเบน ตาก็ตั้งเปนเกล็ดกระดี่ขึ้นก่อนแล้วจึงแดงลามออกไปก็กลาย เปนต้อก้นหอยอยู่ประมาณ ๔ วัน ๕ วนั กแ็ ตกออก กมุ ารผู้น้นั ก็ถงึ แก่ความตาย ยาแก้คอ แก้ไอ แก้ราก แก้สอึก ขนานนี้เอา ตรีผลา ๑ กระพังโหม ๑ ผักหวาน ๑ ใบกระเพรา ๑ ใบมะกลำ่� เครอื ๑ รวมยา ๗ สิ่งน้ี เอาเสมอภาค บดละลายน้ำ� ผ้งึ ทาลิ้น” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 7 ชนดิ รวมปรมิ าณ 7 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระพังโหม 1 สว่ น กะเพรา 1 ส่วน ผักหวาน 1 สว่ น มะกล�ำ่ เครอื (ใบ) 1 ส่วน มะขามปอ้ ม 1 สว่ น สมอไทย 1 ส่วน สมอพิเภก 1 ส่วน สรรพคณุ แก้ระคายคอ แกไ้ อ แกอ้ าเจยี น แก้สะอึก รูปแบบยา ยาเมด็ (ดภู าคผนวก 3.4.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครัง้ ละ 100 มลิ ลิกรัม ละลายนำ�้ ผึ้ง อมหรือทาล้นิ วันละ 2 ครั้ง เช้าและเยน็ เอกสารอา้ งองิ 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. 164 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ท่ีมาของตำ� รับยา ยาแกไ้ อผสมมะขามปอ้ ม สูตรต�ำรับนี้มีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี สตู รต�ำรบั ยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับท่ีตั้งข้ึนตามองค์ความรู้การแพทย์ แผนไทย [๑] ในยานำ้� ๑๐๐ มิลลลิ ิตร ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนดิ ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา มะขามป้อม (สารสกัด ความเขม้ ขน้ ๒๕%) ๓๐ มลิ ลลิ ิตร ชะเอมเทศ (liquid extract) ๕ มิลลิลิตร นำ้� ตาลทรายแดง ๔๐ มิลลิกรัม มะนาว (ผลดอง) ๘ มิลลิกรัม ส้มจนี ๓.๓ มลิ ลิกรัม บ๊วย ๓ มลิ ลกิ รมั สมอพิเภก ๓ มลิ ลิกรัม หล่อฮงั ก๊วย ๒ มิลลิกรมั สมอไทย ๑ มลิ ลิกรมั เกล็ดสะระแหน ่ ๐.๐๘ มิลลิกรมั สรรพคณุ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก ๓.๑.๔) ขนาดและวธิ ีการใช้ จิบเมือ่ มีอาการไอทุก ๔ ชั่วโมง ค�ำเตือน - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเบาหวานท่ีไม่สามารถควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดได ้ เนอ่ื งจากในสตู รต�ำรบั มนี ้ำ� ตาลเป็นสารแต่งรส - ควรระวงั การใชใ้ นผปู้ ว่ ยทีท่ อ้ งเสยี งา่ ย เน่ืองจากมะขามปอ้ มมีฤทธิเ์ ปน็ ยาระบาย ขอ้ มูลเพ่มิ เติม หากผลิตยาในระดับอุตสาหกรรม ควรใส่สารกันเสียตามประกาศของกระทรวง สาธารณสุข เอกสารอา้ งองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เรอ่ื ง บญั ชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ 304). กระทรวงสาธารณสขุ 165
ทีม่ าของตำ� รบั ยา ยาแกไ้ อผสมมะนาวดอง สูตรต�ำรับนี้มีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น สูตรต�ำรับยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เดิมช่ือยาแก้ไอพลทิพย์ เป็นต�ำรับท่ีตั้งข้ึน ตามองค์ความรกู้ ารแพทยแ์ ผนไทย [1] ประกอบดว้ ยตัวยา ๙ ชนิด รวมปริมาณ ๙๙ กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา บว๊ ย ๓๕ กรมั มะนาว (ผลดอง) ๓๕ กรมั ชะเอมเทศ ๑๗ กรัม ชะเอมไทย ๓ กรัม อบเชยญวน ๓ กรมั เกลด็ สะระแหน ่ ๒ กรมั มะแวง้ เครือ ๒ กรัม กานพล ู ๑ กรัม มะขามป้อม ๑ กรัม สรรพคณุ บรรเทาอาการไอ ขบั เสมหะ ท�ำใหช้ ุม่ คอ รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก ๓.๕) ขนาดและวิธีการใช้ ครงั้ ละ 300 มิลลิกรัม เมอื่ มีอาการไอทกุ ๔ ชั่วโมง เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เรื่อง บญั ชยี าหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 304). 166 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ทม่ี าของต�ำรบั ยา ยาแกไ้ อพ้ืนบา้ นอสี าน สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ สตู รตำ� รับยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เดิมช่ือยาแก้ไอมองคร่อ เป็นต�ำรับท่ีตั้งข้ึน ตามองคค์ วามรกู้ ารแพทยแ์ ผนไทย มบี นั ทกึ การใชใ้ นโรงพยาบาลตง้ั แต่ พ.ศ. 25๔๘ [1] ในยาน�ำ้ ๑๐๐ มิลลลิ ติ ร ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๗ ชนดิ ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา น�้ำตาลทรายแดง ๕,๐๐๐ มลิ ลกิ รัม มะขามปอ้ ม ๒,๐๐๐ มลิ ลิกรัม ชะเอมไทย (ราก) ๑,๘๐๐ มิลลิกรมั สมอไทย ๑,๖๐๐ มิลลิกรัม กะเพราแดง ขม้นิ ออ้ ย ๖๐๐ มิลลิกรมั ชะเอมเทศ ๖๐๐ มลิ ลิกรมั เกลือสินเธาว์ ๖๐๐ มลิ ลิกรมั ขงิ ๔๐๐ มิลลกิ รมั ดปี ลี ๒๐๐ มิลลกิ รมั สารส้ม ๒๐๐ มลิ ลิกรมั โกฐจุฬาลัมพา ๑๔๐ มลิ ลกิ รมั ชะพลู ๑๐๐ มิลลกิ รมั พรกิ ไทยล่อน ๑๐๐ มิลลิกรมั กานพล ู ๑๐๐ มลิ ลกิ รมั เกล็ดสะระแหน ่ ๖๐ มิลลกิ รมั น�ำ้ ผ้งึ ๓๐ มิลลิกรมั ๕ มิลลิกรัม สรรพคณุ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก ๓.๑.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ จิบเม่อื มอี าการไอทกุ ๔ ชวั่ โมง จบิ ขณะยายงั อ่นุ ยา 1 หม้อ ใช้ตดิ ตอ่ กนั 5-7 วนั โดยให้อุน่ น�้ำสมุนไพรทกุ ครงั้ ก่อนใชย้ า ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ตวั ยาสารสม้ ตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เร่ือง บัญชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ 305). กระทรวงสาธารณสขุ 167
ยาแกไ้ อเพอื่ ลม ทมี่ าของต�ำรับยา ศิลาจารึกวดั ราชโอรสรามราชวรวิหาร [1, 2] “จะกล่าวสรเภทโรค คือ ไอเสียงแหบแห้ง บังเกิดเพ่อื ลมน้นั ให้เสมหะออกมา มสี ใี ห้ระคายล�ำคอ ...ถ้าจะแก้เอาสะค้าน เจตมูลเพลิง กานพลู กระวาน ตรีกฏุก เย่ือมะขามเปียก กะเพราแดง สมอไทย เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณแทรกน�้ำมะนาวให้กิน แก้ไอเสียงแหบแห้งเพ่ือลม แก้กินอาหารมิได้ไม่มีรส แก้เสมหะ แก้รดิ สดี วง ก็หาย ๚...” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมปรมิ าณ ๑๐ สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระวาน ๑ สว่ น กะเพราแดง ๑ ส่วน กานพล ู ๑ ส่วน ขงิ แหง้ ๑ สว่ น เจตมูลเพลงิ แดง ๑ สว่ น ดปี ล ี ๑ สว่ น พริกไทย ๑ ส่วน มะขามเปียก ๑ สว่ น สมอไทย (เน้ือผล) ๑ ส่วน สะค้าน ๑ ส่วน สรรพคณุ แก้ไอเสียงแหบแหง้ อันเกิดจากลม และทำ� ใหม้ เี สมหะสีดำ� รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครัง้ ละ ๑ ชอ้ นชา ละลายน�ำ้ มะนาวกินวนั ละ ๓ ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ข้อหา้ มใช ้ หา้ มใชผ้ ูป้ ว่ ยทีม่ ีอาการไขห้ รือเจ็บคอ เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๙๓ ง. หน้า ๑-๑๕. 168 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาข้ีผงึ้ กัดแผล แลฝมี ปี ลวก ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ข้ผี ้งึ กดั แผลแลฝมี ปี ลวก ให้เอาลูกสะบา้ มอญ 1 เม็ดละมดุ สดี า 1 เมด็ สลอด 1 จนุ สี 1 สุพรรณถนั 1 หวั กระดาดทง้ั 2 หวั บกุ 1 หวั กลอย 1 หวั อุตพดิ 1 เบี้ยจัน่ เผาไฟ 1 ยาท้งั นบ้ี ดละเอียดละลายนำ�้ มนั ดิบ เม่อื หงุ เอา ขผ้ี งึ้ ใส่น้อยหนึ่งหงุ เปน็ ขี้ผง้ึ กดั ปลวกดนี ักแล ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 13 ชนดิ รวมปริมาณ 30.25 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา น้ำ� มันยางนา* 20 ส่วน กระดาดขาว 1 สว่ น กระดาดแดง 1 สว่ น กลอย 1 สว่ น บกุ 1 ส่วน เบ้ียจั่น (เผาไฟ) 1 ส่วน ละมุดสดี า 1 ส่วน สลอด 1 ส่วน สะบ้ามอญ 1 สว่ น สุพรรณถัน 1 ส่วน อตุ พิด 1 สว่ น จนุ ส ี 0.25 สว่ น *ตำ� รบั น้ีใชน้ ำ้� มนั ยางนาแทนน้ำ� มันดิบ สรรพคณุ กัดแผลท่ีมหี นองและแก้ฝีปลวก รปู แบบยา ยาขีผ้ ึง้ (ดูภาคผนวก 3.12) วธิ ปี รุงยา ตัวยากระดาดขาว กระดาดแดง กลอย บุก เบี้ยจ่ัน สุพรรณถัน อุตพิด และจุนส ี มาบดละเอียด และน�ำตัวยาละมุดสีดา สลอด และสะบ้ามอญ น�ำเยื่อหุ้มเมล็ดออก ทุบให้แตก จากนั้นน�ำยาทั้งหมดมาหุงกับน�้ำมันยางนา เติมขี้ผึ้ง ๑ ส่วนต่อน�้ำมัน ทเี่ ค่ยี วได้ 3 ส่วน ท�ำเปน็ ยาข้ีผ้งึ ขนาดและวธิ ีการใช้ ทาบรเิ วณท่เี ปน็ วนั ละ 2-3 ครัง้ ข้อมูลเพิม่ เตมิ - เดิมยาต�ำรับนี้มีตัวยาจุนสี 1 บาท ซ่ึงจุนสีมีฤทธิ์กัดหนองแรงมาก ควรลด ปริมาณจนุ สลี งมาเหลอื เพยี ง 1 ใน 4 ของตวั ยาท้ังหมด หากแผลผู้ป่วยไมม่ หี นอง ไม่ตอ้ งใส่จนุ สกี ไ็ ด้ กระทรวงสาธารณสขุ 169
- ตัวยาลูกสะบ้ามอญ เมล็ดละมุดสีดา และเมล็ดสลอดนั้น ไม่สามารถบดได้ และ ต้องใช้เปน็ ตัวยาสด โดยต้องเอาเปลือกหุ้มเมล็ดออกและนำ� มาทุบ จากน้นั จึงน�ำมา หุงกับน้ำ� มนั ยางนา - ควรเพิ่มเติมในส่วนของปริมาณขี้ผ้ึง เป็น 1 ใน 3 ของน�้ำมันท่ีเคี่ยวได้ และต้อง เป็นขผ้ี ึ้งแท้ เนอื่ งจากมีสรรพคณุ ในการชว่ ยเรียกเนอื้ - ควรใช้ยาต�ำรับอ่ืนพอกเพื่อดูดหนองออกให้หมดกอ่ นใชย้ าต�ำรบั น้ี - ตัวยากระดาดขาวต้องป้ิงไฟหรอื นงึ่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.1) - ตวั ยากระดาดแดงตอ้ งปิ้งไฟหรอื น่ึงกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.2) - ตัวยากลอยต้องคัว่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) - ตัวยาบุกต้องค่ัวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.17) - ตวั ยาสลอดต้องฆา่ ฤทธิก์ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.36) - ตัวยาอตุ พดิ ตอ้ งคว่ั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) - ตัวยาจนุ สตี ้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.11) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒39. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. ยาขีผ้ ้ึงแกโ้ รคผวิ หนัง ทม่ี าของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ข้ีผึ้งมะเรง็ เอา ปูน 1 เสน ๑ ลกู ในสะบา้ ๑ ลูกกระเบา 1 นำ้� มันปลา 1 กวนกนั แตกแต่พอปดิ ได้ เอาเถิด ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนิด รวมปรมิ าณ 5 สว่ น ดงั น ้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 สว่ น กระเบา 1 สว่ น น้ำ� มันปลา 1 สว่ น ปูนแดง 1 ส่วน พิมเสน 1 สว่ น สะบา้ 170 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคณุ แกโ้ รคผิวหนัง รูปแบบยา ยาขีผ้ งึ้ (ดูภาคผนวก 3.12) วธิ ปี รงุ ยา น�ำตัวยากระเบาและลูกสะบ้า ต�ำให้ละเอียด จากน้ันน�ำตัวยาอื่น ๆ มาผสมกันและ กวนจนเปน็ เนอื้ เดียวกัน ขนาดและวิธีการใช้ ทาบริเวณที่เปน็ วนั ละ 2-3 ครัง้ ข้อมลู เพมิ่ เตมิ ตวั ยาน้ำ� มันปลา เป็นน�้ำมนั ท่ีไดจ้ ากการเจียวนำ้� มนั จากไขมันในทอ้ งของปลาสวาย เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-2. ยาขี้ผ้ึงแดงใส่ฝี ท่มี าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ข้ีผึ้งแดง เอา น�้ำมันดิบ 1 ข้ีผ้ึง 1 ชันตะเคียน 1 สีเสียดเทศ 1 ว่านกีบแรด ว่านร่อนทอง เปลือกเมด็ มะขามคั่ว 1 ดนิ คาวี 1 ถลงุ ใหค้ งแต่นำ�้ มนั ใสฝ่ แี ลบาดแผล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 8 ชนดิ รวมปริมาณ 7 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ชนั ตะเคียน 1 ส่วน ดินคาวี 1 ส่วน น้ำ� มนั ยางนา* 1 ส่วน มะขาม (เปลอื กเมลด็ คัว่ ) 1 ส่วน วา่ นกบี แรด 1 ส่วน ว่านร่อนทอง 1 สว่ น สีเสยี ดเทศ 1 ส่วน *ต�ำรับน้ใี ช้น�้ำมนั ยางนาแทนน้�ำมันดิบ สรรพคณุ รกั ษาฝแี ละบาดแผล รูปแบบยา ยาขผี้ ้งึ (ดูภาคผนวก 3.12) วธิ ีปรุงยา น�ำตัวยามะขาม วา่ นกบี แรด ว่านรอ่ นทอง และสีเสยี ดเทศ มาบดให้ละเอยี ด ผสมกับ ตัวยาชันตะเคียน ดินคาวี และน้�ำมันยางนา จากนั้นน�ำไปเคี่ยว กรองเอาแต่น�้ำมัน เตมิ ข้ผี ง้ึ ๑ ส่วน ตอ่ นำ้� มันท่เี คี่ยวได้ 3 สว่ น ท�ำเปน็ ยาข้ีผง้ึ ขนาดและวิธีการใช้ ทาบรเิ วณท่ีเปน็ วันละ 2-3 ครั้ง กระทรวงสาธารณสุข 171
ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - ตัวยาดินคาวี คือ ดินที่มีสีเหลืองส้มคล้ายมันปู มีรสเค็มเปรี้ยว พบบริเวณ ปา่ ชายเลน หรอื หนองน�้ำที่เป็นน�ำ้ กร่อย - ตัวยาสเี สยี ดเทศตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.41) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 257. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. ยาขผี้ ง้ึ ใบมะระ ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ข้ผี ้งึ ใบมะระ เอา นำ้� มันทะนาน 1 ใบมะระ ๑ ชั่ง ขมนิ้ อ้อย ๑ วา่ นนางค�ำ 1 ตำ� ดว้ ยกันค้ันเอานำ้� ใส่ กระทะ เค่ียวไปใหค้ งแตน่ ำ�้ มัน แลว้ จึงเอาข้ผี ้ึงใสล่ งแต่พอสมควรเถดิ ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนดิ ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา ขม้นิ อ้อย 1,200 กรมั มะระขี้นก (ใบ) 1,200 กรัม ว่านนางค�ำ 1,200 กรมั น�ำ้ มันมะพร้าว 1 ลิตร *ไม่รวมปริมาณน�้ำมนั มะพรา้ ว สรรพคุณ รักษาแผลฝบี วมอักเสบ ดบั พษิ ฝี รูปแบบยา ยาข้ีผง้ึ (ดูภาคผนวก 3.12) ขนาดและวธิ ีการใช้ ทาบริเวณทเ่ี ป็นวนั ละ 2-3 ครั้ง เช้า กลางวนั และเย็น เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. 172 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาเขยี วนอ้ ย ท่มี าของต�ำรบั ยา ๑. ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๑ [1, 2] “๏ ยาชือ่ เขียวน้อยขนานน้ที ่านให้เอา ใบรงบั พิศม์ ใบน�ำ้ เตา้ ใบหนาด ใบกเมง ใบเสนียด ใบอังกาบ ตรีกฏุก ขมนิ ออ้ ย รวมยา ๑๐ สิง่ นเี้ อาเสมอภาค บดทำ� แท่งไว้ ลลายสุรากินตามกำ� ลังกุมารกินเข้าไดแ้ ล หา้ มตาลโจร อนั ท�ำให้เจบท้องแลลงทอ้ งนัน้ หาย ๚” ๒. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาชื่อเขียวน้อย ขนานน้ีท่านให้เอา ใบระงับพิษ ๑ ใบน�้ำเต้า ๑ ใบหนาด ๑ ใบกระเม็ง ๑ ใบเสนยี ด ๑ ใบอังกาบ ๑ ตรกี ระฏุก ๑ ขมน้ิ อ้อย ๑ รวมยา ๑๐ สิง่ นเ้ี อาส่วนเทา่ กัน บดทำ� แท่งไวล้ ะลายน้ำ� เหล้า กนิ ตามกำ� ลังกมุ าร กินเข้าไดแ้ ลหา้ มตานโจรอันท�ำให้เจ็บท้องแลลงทอ้ งนนั้ หายแล” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๐ ชนดิ รวมปรมิ าณ 10 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๑ ส่วน กะเมง็ ๑ ส่วน ขม้ินอ้อย ๑ ส่วน ขงิ แห้ง ๑ ส่วน ดีปลี ๑ สว่ น น้�ำเตา้ ๑ ส่วน พริกไทย ๑ ส่วน ระงับพิษ ๑ สว่ น เสนียด ๑ สว่ น หนาด ๑ ส่วน อังกาบ สรรพคุณ แก้ตานโจร ซง่ึ ท�ำให้มีอาการปวดท้อง ท้องเสีย ชว่ ยเจรญิ อาหาร รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เดก็ อายุ 1-3 เดอื น ครั้งละ 100-200 มิลลกิ รมั อายุ 4-6 เดือน คร้งั ละ 200-300 มิลลิกรัม อายุ 7-12 เดอื น ครั้งละ 300-400 มลิ ลกิ รัม อายุ 1-5 ปี คร้ังละ 0.5-1 กรัม อายุ 6-12 ปี คร้งั ละ 1-1.5 กรัม ละลายนำ�้ สุรา 1-2 หยด กินวนั ละ 2 ครัง้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใชใ้ นผทู้ ีม่ อี าการทอ้ งผูก กระทรวงสาธารณสุข 173
เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรนิ ทร์พริ้นต้ิงแอนด์พบั ลิชชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาเขียวเบญจขนั ธ์ ที่มาของต�ำรบั ยา คัมภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาเขียวเบ็ญจขันธ์ เอาใบผักกระโฉม ใบสันพร้าหอม ใบฝ้ายแดง ใบสันพร้ามอญ พรมมิ ใบพิมเสน เอาเสมอภาค บดเป็นผงปั้นแท่ง แก้พิษไข้ร้อนกระหายน้�ำ ละลายน�้ำดอกไม้ น�้ำเมล็ดมะกอกเผาไฟ หรือ น�ำ้ รากบวั หลวงกิน” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 6 ชนดิ รวมปริมาณ 6 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 สว่ น ผกั กระโฉม 1 สว่ น ฝ้ายแดง 1 สว่ น พรมม ิ 1 สว่ น พมิ เสนตน้ 1 สว่ น สนั พร้ามอญ 1 สว่ น สันพร้าหอม สรรพคณุ แกไ้ ข้ ร้อนในกระหายนำ�้ รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 600-800 มิลลิกรัม ละลายน้�ำดอกไม้เทศ น้�ำเมล็ดมะกอกเผา หรือน�้ำ รากบัวหลวง กนิ วนั ละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ เอกสารอา้ งอิง 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขนุ (อ�ำพนั กิตติขจร). คัมภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์; ๒๕๐๔. 174 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาเขยี วพกิ ลุ ทอง ท่มี าของตำ� รบั ยา คมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๑ [1] “ยาเขียวพิกุลทอง แก้ไข้ร้อนกระสับกระส่าย แก้ไข้พิษต่าง ๆ เอาใบเล็บครุฑ ใบทองพันช่ัง ใบพิมเสน ใบมะยม ใบมะเฟือง ใบสันพร้าหอม ใบผักกระโฉม ใบหญ้านาง ใบเตยหอม ใบบอระเพ็ด ใบชิงช้าชาลี ใบต�ำลึง ใบผักเข้า หวา้ นเปราะ เอาส่งิ ละเท่ากนั เอาดอกพกิ ลุ เทา่ ยาทงั้ บดป้ันแทง่ แกร้ ้อนละลายน้ำ� ดอกไมห้ รือนำ�้ ซาวขา้ ว กินชะโลม” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 15 ชนดิ รวมปริมาณ 28 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา พิกุล 14 สว่ น ชงิ ชา้ ชาลี (ใบ) 1 ส่วน ต�ำลึง 1 ส่วน เตยหอม 1 สว่ น ทองพนั ชง่ั (ใบ) 1 ส่วน บอระเพด็ (ใบ) 1 สว่ น เปราะหอม 1 สว่ น ผกั กระโฉม 1 ส่วน พิมเสนต้น 1 ส่วน ฟกั ขา้ ว (ใบ) 1 สว่ น มะเฟือง 1 ส่วน มะยม 1 ส่วน ย่านาง (ใบ) 1 ส่วน เล็บครฑุ 1 ส่วน สันพรา้ หอม 1 ส่วน สรรพคุณ แกไ้ ขต้ ัวรอ้ น แก้ไข้พษิ รปู แบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 0.6-1.2 กรัม ละลายน�้ำดอกไม้หรือน�้ำซาวข้าว กินและชโลมวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ เอกสารอา้ งอิง 1. โสภิตบรรณลกั ษณ,์ ขนุ (อ�ำพัน กิตตขิ จร). คัมภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อตุ สาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสขุ 175
ยาเขียวหอม ทีม่ าของต�ำรบั ยา สตู รต�ำรับทีใ่ กล้เคยี งต�ำรับนี้ พบในต�ำรับยาสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ [1, 2] “ยาเขียวหอม เอาใบมะภู่ ใบมะเมีย ใบพิมเสน ใบสันพร้าหอม ใบผกโฉม ว่ารกิบแรด ว่ารร่อนทอง จันแดง มหาสด�ำ เนรภูสี รากไครเครือ พิศนารถ เปราะหอม ดอกพิกุณ ดอกบุนนาก ดอกสารภี เกสรบัวหลวง ต�ำผงไว”้ สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๘ ชนิด รวมปริมาณ ๙๐ กรมั ดงั นี้ [3] ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๕ กรมั จันทน์ขาว ๕ กรัม จนั ทนแ์ ดง ๕ กรัม เนระพูส ี ๕ กรัม บัวหลวง ๕ กรมั บุนนาค ๕ กรมั เปราะหอม ๕ กรัม ผกั กระโฉม ๕ กรัม แฝกหอม ๕ กรัม พกิ ุล ๕ กรัม พมิ เสนต้น ๕ กรมั พษิ นาศน์ ๕ กรัม มหาสดำ� ๕ กรมั วา่ นกีบแรด ๕ กรัม วา่ นร่อนทอง ๕ กรมั สันพร้าหอม ๕ กรัม สารภี ๕ กรัม หมากผ ู้ ๕ กรัม หมากเมยี สรรพคุณ บรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้�ำ แก้พิษหดั พษิ อสี ุกอีใส รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาเมด็ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผง ผู้ใหญ ่ คร้ังละ ๑ กรมั ละลายนำ้� กระสายยากินทุก ๔-๖ ช่วั โมง เม่อื มีอาการ เด็ก อายุ ๖-๑๒ ปี ครงั้ ละ ๕๐๐ มลิ ลกิ รัม ละลายนำ้� กระสายยากนิ ทกุ ๔-๖ ชัว่ โมง เมอ่ื มอี าการ 176 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
กระสายยาทใ่ี ช้ - บรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้�ำ ใช้นำ้� สุกหรอื นำ้� ดอกมะลิ - แก้พษิ หดั พิษอีสกุ อใี ส ละลายน้ำ� รากผกั ชตี ม้ ท้งั กินและชโลม* *การชโลม ใช้ยาผงละลายน้�ำ ๑ ต่อ ๓ แล้วชโลม (ประพรม) ทั่วตามตัวบริเวณ ทตี่ ุม่ ใสยงั ไมแ่ ตก ยาเมด็ ผูใ้ หญ ่ กนิ ครัง้ ละ ๑ กรมั ทกุ ๔-๖ ชั่วโมง เมอื่ มีอาการ เด็ก อายุ ๖-๑๒ ปี กินครงั้ ละ ๕๐๐ มิลลิกรัม ทกุ ๔-๖ ชว่ั โมง เมอื่ มีอาการ คำ� เตือน - ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ ไขเ้ ลอื ดออก - ควรระวังการใช้ยาในผูป้ ว่ ยท่แี พ้ละอองเกสรดอกไม้ ข้อควรระวงั - หากใช้ยาเปน็ เวลานานเกนิ ๓ วนั แล้วอาการไม่ดีขน้ึ ควรปรกึ ษาแพทย์ ขอ้ มูลเพิ่มเติม - ทางการแพทย์แผนไทยมีข้อแนะน�ำส�ำหรับผู้ป่วยหัด อีสุกอีใส โดยห้ามกิน อาหารทะเล ไข่ และน�้ำเยน็ เน่อื งจากผดิ สำ� แดง - ในสูตรต�ำรับนี้เดิมมีตัวยา “ไคร้เครือ” แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับ เนื่องจาก มีข้อมูลงานวิจัยบ่งช้ีว่า ไคร้เครือท่ีใช้และจ�ำหน่ายกันในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซ่ึงพืชในสกุลน้ีมีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เปน็ สารกอ่ มะเรง็ ในมนษุ ย์ [3] เอกสารอ้างองิ ๑. สภากาชาดไทย. ตำ� รายาสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒. พมิ พ์ครั้งท่ี ๓. กรุงเทพฯ : บริษัท รุง่ ศิลป ์ การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด; ๒๕๕๗. หนา้ ๙. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑1) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า 2-5. 3. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่อื ง บัญชียาหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า ๒97). กระทรวงสาธารณสุข 177
ยาครรภ์รักษา ทมี่ าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด [๑, ๒] “ยาครรภ์รักษา โกฐทั้ง ๕ เทียนท้ัง ๕ จันทน์ทั้ง ๒ บัวทั้ง ๕ ชะลูด ๑ สมุลแว้ง ๑ แฝกหอม ๑ ขอนดอก ๑ สน ๑ กะทอื ๑” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๒๓ ชนิด รวมปริมาณ 23 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา กะทือ 1 สว่ น โกฐเขมา 1 สว่ น โกฐจฬุ าลมั พา 1 ส่วน โกฐเชยี ง 1 ส่วน โกฐสอ 1 สว่ น โกฐหัวบัว 1 สว่ น ขอนดอก 1 ส่วน จันทน์ขาว 1 ส่วน จนั ทน์แดง 1 ส่วน ชะลดู 1 ส่วน เทยี นขาว 1 ส่วน เทยี นขา้ วเปลือก 1 สว่ น เทยี นดำ� 1 สว่ น เทยี นแดง 1 สว่ น เทียนตาต๊กั แตน 1 สว่ น บวั จงกลน ี 1 สว่ น บวั นิลบุ ล 1 สว่ น บวั ลนิ จง 1 สว่ น บวั สัตตบรรณ 1 ส่วน บัวสตั ตบุษย ์ 1 สว่ น แฝกหอม 1 สว่ น สน 1 สว่ น สมุลแวง้ 1 สว่ น สรรพคุณ บ�ำรุงครรภ์ รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 100 มิลลลิ ติ ร ด่มื วนั ละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น ดื่มขณะยายงั อนุ่ ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ต่อกนั ๕-๗ วัน โดยใหอ้ นุ่ นำ้� สมนุ ไพรทุกคร้ังก่อนใช้ยา 178 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 532
Pages: