ยาแกไ้ ข้ สตู ร 2 ทม่ี าของตำ� รับยา คัมภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๑ [1] “ยาแกไ้ ข้ เอารากเทา้ ยายมอ่ ม รากคนทา รากมะเด่ือชุมพร รากชิงชี่ รากหญ้านาง หวั ครา้ จนั ทนแ์ ดง จันทน์ขาว แกแล แก่นแสมสาร แก่นแสมทะเล รากก้างปลาท้ัง ๒ รากมะแว้งท้ัง ๒ รากหมาก รากตาล ฝาง รากครอบตลบั หวั แหว้ หมู แกน่ ขนนุ ดีปลี ลูกกระดอม เอาส่ิงละ ๔ บาท ก้านสะเดา ๓๓ กา้ น ตม้ กินเวลาเช้าเยน็ แกไ้ ข้จบั ไข้พษิ แลไขท้ ัง้ ปวง” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 24 ชนดิ รวมปริมาณ 1,380 กรมั * ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา กระดอม 60 กรัม กา้ งปลาขาว 60 กรมั กา้ งปลาแดง 60 กรัม แกแล 60 กรัม ขนุน 60 กรัม คนทา 60 กรัม ครอบตลบั 60 กรมั คล้า 60 กรัม จนั ทน์ขาว 60 กรัม จันทน์แดง 60 กรัม ชิงชี่ 60 กรัม ดีปลี 60 กรมั ตาล 60 กรมั ฝาง 60 กรมั มะเดื่ออทุ มุ พร 60 กรัม มะแว้งเครือ (ราก) 60 กรมั มะแวง้ ตน้ (ราก) 60 กรัม ไมเ้ ท้ายายมอ่ ม 60 กรัม ย่านาง 60 กรัม แสมทะเล 60 กรมั แสมสาร 60 กรัม หมาก 60 กรมั แห้วหมู 60 กรัม สะเดา (กา้ นใบ) 33 กา้ น *ไม่รวมปริมาณสะเดา (กา้ นใบ) กระทรวงสาธารณสขุ 29
สรรพคณุ แก้ไขต้ วั รอ้ นและแก้ไข้พิษ รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ 150 มิลลิลิตร ด่มื วันละ 2 ครงั้ กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ดมื่ ขณะยายังอุน่ ยา 1 หม้อ ใชต้ ิดต่อกนั 5-7 วัน โดยใหอ้ นุ่ น้�ำสมนุ ไพรทกุ ครั้งก่อนใชย้ า เอกสารอา้ งองิ 1. โสภติ บรรณลกั ษณ,์ ขนุ (อ�ำพัน กติ ตขิ จร). คมั ภรี แ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. ยาแก้ไข้ตวั ร้อน ท่ีมาของต�ำรบั ยา คมั ภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาแก้ไข้ต่าง ๆ เอาผักกระโฉม ใบอังกาบ ใบทองพันชั่ง ใบพิมเสน ใบเงิน ใบทอง ใบหมากทั้ง ๒ จันทนท์ งั้ ๒ ใบสันพรา้ หอม โกฎหวั บวั บดปัน้ แทง่ ละลายน้�ำซาวข้าวกินแลชะโลม” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 12 ชนดิ รวมปริมาณ 12 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา โกฐหวั บวั 1 ส่วน จันทน์ขาว 1 ส่วน จันทนแ์ ดง 1 ส่วน ทองพนั ช่งั (ใบ) 1 สว่ น ใบเงิน 1 สว่ น ใบทอง 1 ส่วน ผกั กระโฉม 1 สว่ น พมิ เสนตน้ 1 ส่วน สนั พร้าหอม 1 ส่วน หมากผ ู้ 1 สว่ น หมากเมีย 1 ส่วน อังกาบ 1 สว่ น สรรพคุณ แก้ไข้ตัวร้อน รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 0.6-1.2 กรมั ละลายน�ำ้ ซาวข้าว ท้งั กินและชโลมวันละ 3 ครง้ั ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เอกสารอ้างองิ 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์อตุ สาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔. 30 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกไ้ ข้ทบั ระดหู รอื ระดทู ับไข้ สตู ร 1 ที่มาของต�ำรบั ยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) [1] “ล�ำดบั น้จี ะกลา่ วด้วยนัยหน่งึ ใหม่ วา่ ด้วยลักษณะปรกตโิ ลหิตโทษ อนั บงั เกิดแตป่ ติ ตสมฏุ ฐาน กล่าวคอื ดีนั้นเป็นค�ำรบ ๒ เม่ือจะบังเกิดนั้นกระท�ำให้คล่ัง มักข้ึงโกรธ ให้สวิงสวายหาแรงมิได้กระท�ำให้ตัวร้อนเป็นเปลว หาสมประดีมิได้ ต่อมรี ะดมู าแลว้ จงึ คลาย ฯI… ถ้าจะแกเ้ อา เทียนด�ำ เทยี นเยาวภาณี จันทน์ท้ัง ๒ อบเชยท้ัง ๒ สิ่งละ ๒ ส่วน โกฐทง้ั ๙ บวั น�้ำทง้ั ๕ สง่ิ ละ ๔ ส่วน รากกระพังโหม เปลือกสันพร้านางแอ ผลมะตมู ออ่ น สิง่ ละ ๑๖ สว่ น เอาน�้ำมะพรา้ วอ่อน ๒ ส่วน น�้ำท่า ส่วน ๑ เป็นกระสาย ต้มตามวิธีให้กิน แก้โลหิตปรกติโทษ อันบังเกิดแต่ขั้วดีกระท�ำให้สวิงสวายนั้น หายวเิ ศษนัก ฯ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๒๓ ชนดิ รวมปรมิ าณ 116 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา กระพังโหม (ราก) ๑๖ ส่วน มะตูม ๑๖ ส่วน สนั พรา้ นางแอ ๑๖ สว่ น โกฐกระดูก ๔ สว่ น โกฐกา้ นพรา้ ว ๔ ส่วน โกฐเขมา ๔ สว่ น โกฐจฬุ าลัมพา ๔ สว่ น โกฐชฎามังส ี ๔ สว่ น โกฐเชยี ง ๔ ส่วน โกฐพงุ ปลา ๔ ส่วน โกฐสอ ๔ ส่วน โกฐหวั บัว ๔ สว่ น บวั จงกลน ี ๔ สว่ น บวั นิลุบล ๔ ส่วน บวั ลินจง ๔ ส่วน บัวสตั ตบรรณ ๔ สว่ น บัวสัตตบุษย ์ ๔ ส่วน จันทน์ขาว ๒ สว่ น จันทนแ์ ดง ๒ สว่ น เทยี นด�ำ ๒ สว่ น เทยี นเยาวพาณ ี ๒ ส่วน อบเชยเทศ ๒ สว่ น อบเชยไทย ๒ สว่ น กระทรวงสาธารณสุข 31
สรรพคุณ แก้ไข้ทบั ระดู ระดทู ับไข้ รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 100-๑๕๐ มิลลิลิตร ด่ืมวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ใหด้ ่มื ตามอาการของโรคและก�ำลงั ของผู้ปว่ ย ดมื่ ขณะยายังอนุ่ ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ตอ่ กัน ๕-๗ วนั โดยใหอ้ ุ่นน�ำ้ สมนุ ไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา ขอ้ มลู เพ่มิ เติม งดของแสลง หา้ มกินของเย็น ของเผ็ดร้อน ของเปรย้ี ว เพราะจะทำ� ใหไ้ ขก้ �ำเรบิ เอกสารอ้างอิง 1. ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์). พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ให้จารกึ ไวเ้ มอ่ื พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ.์ พระนคร : [ม.ป.พ.]; ๒๕๐๕. ยาแก้ไข้ทับระดูหรือระดูทบั ไข้ สูตร 2 ทม่ี าของต�ำรบั ยา ศลิ าจารึกต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธิ)์ [1] “ล�ำดบั นจี้ ะกล่าวด้วยนัยหน่ึงใหม่ วา่ ด้วยลกั ษณะปรกติโลหติ โทษ อนั บงั เกิดแต่ปติ ตสมุฏฐาน กลา่ วคอื ดีน้ันเป็นค�ำรบ ๒ เม่ือจะบังเกิดนั้นกระท�ำให้คล่ัง มักขึ้งโกรธ ให้สวิงสวายหาแรงมิได้กระท�ำให้ตัวร้อนเป็นเปลว หาสมประดมี ไิ ด้ ต่อมีระดมู าแล้วจึงคลาย ฯI ขนาน ๑ เอา โกฐทง้ั ๙ เทยี นท้ัง ๗ จนั ทนท์ ง้ั ๓ แฝกหอม ผลกระดอม บอระเพ็ด แห้วหมู มะตมู อ่อน ตรผี ลา จกุ โรหินี ผลสรรพพิษ ลูกจันทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู อบเชยทั้ง ๒ ผลมะแว้งทงั้ ๒ สิง่ ละ ๒ สว่ น ดอกสะเดา ๔ ส่วน ท�ำเป็นจุณ บดท�ำแท่งไว้ละลายน้�ำดอกไม้แทรกพิมเสนให้กิน แก้พิษโลหิตปรกติโทษอันบังเกิด แต่ขัว้ ดีน้นั หายวิเศษนัก ฯ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๓๘ ชนดิ รวมปรมิ าณ 78 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๔ สว่ น สะเดา (ดอก) ๒ ส่วน กระดอม ๒ สว่ น กระวาน ๒ ส่วน กานพลู ๒ ส่วน โกฐกระดูก ๒ ส่วน โกฐก้านพรา้ ว ๒ สว่ น โกฐเขมา ๒ ส่วน โกฐจุฬาลัมพา ๒ ส่วน โกฐชฎามังสี ๒ สว่ น โกฐเชยี ง ๒ สว่ น โกฐพงุ ปลา ๒ สว่ น โกฐสอ 32 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปริมาณตัวยา โกฐหัวบวั ๒ สว่ น จนั ทนข์ าว ๒ สว่ น จนั ทนแ์ ดง ๒ สว่ น จนั ทนเ์ ทศ ๒ สว่ น จุกโรหนิ ี ๒ ส่วน ดอกจันทน ์ ๒ สว่ น เทยี นขาว ๒ สว่ น เทียนขา้ วเปลือก ๒ สว่ น เทียนดำ� ๒ สว่ น เทียนแดง ๒ สว่ น เทยี นตาตั๊กแตน ๒ ส่วน เทยี นเยาวพาณ ี ๒ สว่ น เทยี นสตั ตบุษย ์ ๒ สว่ น บอระเพ็ด ๒ สว่ น แฝกหอม ๒ ส่วน มะขามป้อม ๒ ส่วน มะตมู ๒ ส่วน มะแว้งเครือ ๒ สว่ น มะแว้งต้น ๒ ส่วน ลกู จนั ทน์ ๒ สว่ น สมอไทย ๒ สว่ น สมอพเิ ภก ๒ ส่วน สรรพพษิ ๒ ส่วน แห้วหมู ๒ สว่ น อบเชยเทศ ๒ ส่วน อบเชยไทย ๒ ส่วน สรรพคณุ แก้ไขท้ บั ระดู ระดทู ับไข้ รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 0.9-1.5 กรัม กนิ วนั ละ ๓ ครงั้ กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ มูลเพม่ิ เติม งดของแสลง ห้ามกินของเย็น ของเผด็ รอ้ น ของเปรย้ี ว เพราะท�ำให้ไขก้ �ำเริบ เอกสารอ้างอิง 1. ต�ำรายาศลิ าจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ . พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจา้ อย่หู ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าให้จารกึ ไวเ้ ม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบบั สมบรู ณ์. พระนคร : [ม.ป.พ.]; ๒๕๐๕. กระทรวงสาธารณสุข 33
ยาแก้ไขท้ บั ระดูหรือระดทู ับไข้ สูตร 3 ช่ืออนื่ ยาแกไ้ ขท้ บั ระดแู ลระดทู ับไข้ ท ่ีมาของตำ� รบั ยา คมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาแก้ไขท้ ับระดูแลระดทู ับไข้ เอาหญา้ เขยี วพระอนิ ทร์ ยาเขา้ เย็น ชะเอม ตม้ กนิ หญ้าเขียวพระอินทร์นั้น คือหญ้าใตใ้ บชนิดเขียว เอามัด ๓ เปราะตัดหัวตัดท้าย กินครงั้ หนง่ึ แกต้ อก ๑ เปราะทกุ ครัง้ ไป” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 4 ชนดิ รวมปริมาณ 240 กรัม ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ข้าวเยน็ ใต้ 60 กรมั ขา้ วเยน็ เหนอื 60 กรัม ชะเอมไทย (ราก) 60 กรัม หญา้ ใต้ใบ (ชนดิ เขียว) 60 กรมั สรรพคณุ แก้ไข้ทับระดแู ละระดูทับไข้ รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 150 มิลลิลิตร ด่ืมวันละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ ดมื่ ขณะ ยายังอนุ่ ยา 1 หม้อ ใช้ตดิ ต่อกัน 5-7 วนั โดยให้อนุ่ นำ้� สมุนไพรทกุ ครง้ั ก่อนใชย้ า เอกสารอ้างอิง 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์อุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. 34 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ไข้เพ่อื เสมหะ สตู ร 1 ทีม่ าของต�ำรับยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) [1, 2] “จะกล่าวลักษณะสมุฏฐาน ๔ ประการนั้น คือ เสมหะสมุฏฐาน ปิตตะสมุฏฐาน วาตะสมุฏฐาน สันนิปาตะสมุฏฐาน นั้นก่อนเป็นอาทิ ให้แพทย์ทั้งหลายพึงรู้โดยสังเขปอันนี้อยู่ในคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัยโน้น เสรจ็ แลว้ ฯ ในล�ำดบั นี้ จะแสดงลกั ษณะเสมหะสมุฏฐานเป็นปฐม คือย่ำ� ร่งุ แล้วไปจน ๔ โมงเชา้ เป็นอำ� เภอแหง่ เสมหะ สมุฏฐาน มีอาการกระท�ำให้ตัวร้อนตัวเย็นให้ขนลุกขนพอง บางทีให้เสโทตก ให้กลัดอก บางทีให้หลับเชื่อมมัว แล้วใหเ้ ปน็ หวดั แลไอ ให้เบือ่ อาหาร ให้สวิงสวายโทษอนั นเ้ี กิดแตก่ องเสมหะสมุฏฐาน ฯ ถ้าจะแก้เอา รากสะเดาต้น รากมะตูม บอระเพ็ด รากจวง เปราะหอม รากสะเดาดิน จุกโรหินี ดีปลี ว่านน้�ำ รากมะแว้ง เสมอภาคต้มก็ได้ ท�ำเป็นจุณก็ได้ บดท�ำแท่งไว้ละลายน�้ำขิงต้มก็ได้ น�้ำมะขามป้อมต้มก็ได้ กินแก้เสมหะสมฏุ ฐานโรคน้ันหาย ฯ ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๐ ชนิด รวมปริมาณ ๑๐ สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา จวง ๑ ส่วน จุกโรหนิ ี ๑ สว่ น ดปี ล ี ๑ สว่ น บอระเพ็ด ๑ สว่ น เปราะหอม ๑ สว่ น มะตูม (ราก) ๑ ส่วน มะแวง้ ต้น (ราก) ๑ สว่ น ว่านนำ้� ๑ สว่ น สะเดา (ราก) ๑ ส่วน สะเดาดนิ ๑ สว่ น สรรพคณุ แก้ไขเ้ พอื่ เสมหะ รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1), ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ ยาตม้ ครั้งละ ๑๐๐-150 มลิ ลิลิตร ด่ืมวันละ ๓ ครงั้ กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น ใหด้ ม่ื ตามอาการของโรคและก�ำลังของผปู้ ่วย ด่ืมขณะยายังอ่นุ ยา 1 หม้อ ใชต้ ิดต่อกนั 5-7 วนั โดยใหอ้ นุ่ นำ้� สมุนไพรทกุ ครัง้ ก่อนใช้ยา ยาเม็ดพมิ พ์ คร้ังละ 0.6-1.2 กรมั ละลายน้�ำขิงหรอื น�ำ้ มะขามปอ้ มกนิ วนั ละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ กระทรวงสาธารณสุข 35
เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ เล่ม ๒. พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. ยาแก้ไขเ้ พือ่ เสมหะ สตู ร 2 ทม่ี าของตำ� รับยา ศลิ าจารึกตำ� รายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) [1, 2] “จะกล่าวลักษณะสมุฏฐาน ๔ ประการนั้น คือ เสมหะสมุฏฐาน ปิตตะสมุฏฐาน วาตะสมุฏฐาน สันนิปาตะสมุฏฐาน นั้นก่อนเป็นอาทิ ให้แพทย์ท้ังหลายพึงรู้โดยสังเขปอันนี้อยู่ในคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัยโน้น เสร็จแล้ว ฯ ในล�ำดับนี้ จะแสดงลักษณะเสมหะสมุฏฐานเป็นปฐม คือย่�ำรุ่งแล้วไปจน ๔ โมงเช้า เป็นอ�ำเภอแห่ง เสมหะสมฏุ ฐาน มีอาการกระทำ� ให้ตัวรอ้ นตวั เยน็ ให้ขนลุกขนพอง บางทใี หเ้ สโทตก ให้กลดั อก บางทีใหห้ ลบั เชอื่ มมวั แลว้ ใหเ้ ปน็ หวัดแลไอ ให้เบ่อื อาหาร ใหส้ วงิ สวายโทษอนั นเี้ กดิ แต่กองเสมหะสมุฏฐาน ฯ …อน่ึง เอารากมะแว้งท้ังสอง ตรีผลา ตรีสาร ว่านน�้ำ โกฐสอ อบเชย ดีปลี ขิง เอาเสมอภาคต้มกิน แกเ้ สมหะสมุฏฐานโรคหายวเิ ศษนกั ฯ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๓ ชนดิ รวมปริมาณ ๑๓ ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา โกฐสอ ๑ สว่ น ขิง ๑ สว่ น เจตมลู เพลงิ แดง ๑ ส่วน ชะพล ู ๑ สว่ น ดีปลี ๑ สว่ น มะขามปอ้ ม (เนอ้ื ผล) ๑ สว่ น มะแวง้ เครือ (ราก) ๑ ส่วน มะแว้งต้น (ราก) ๑ สว่ น ว่านนำ�้ ๑ สว่ น สมอไทย (เน้อื ผล) ๑ สว่ น สมอพเิ ภก (เนือ้ ผล) ๑ ส่วน สะค้าน ๑ ส่วน อบเชย ๑ ส่วน 36 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
สรรพคุณ แกไ้ ข้หวัดและไอ รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครงั้ ละ ๑๕๐ มิลลลิ ิตร ดื่มวันละ ๓ ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ดมื่ ขณะ ยายงั อนุ่ ยา ๑ หม้อ ใช้ติดตอ่ กัน ๕-๗ วัน โดยใหอ้ ุ่นนำ้� สมนุ ไพรทุกคร้งั กอ่ นใช้ยา ข้อมูลเพิม่ เตมิ ยาต�ำรบั น้คี วรใช้อบเชยเทศ เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม ๒. พิมพ์คร้งั ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ์; ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแกไ้ ขส้ ันนบิ าต ทมี่ าของต�ำรบั ยา คัมภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาแกไ้ ขส้ นั นิบาต เอาลกู สมอทงั้ ๓ ลูกจนั ทน์ ดอกจันทน์ แกน่ สน แก่นจันทนท์ ง้ั ๒ กำ� ยาน แกน่ ไม้สกั แก่นขี้เหล็ก แก่นมหาด กระเทียม พริกไทย ขิง ข่า ข้ีกาแดง บอระเพ็ด ลูกกระดอม หัวแห้วหมู กระพังโหม รากชุมเห็ด รากหญา้ นาง รากขดั มอญ รากหญ้าคา ไครห้ างนาค โกฎท้ัง ๕ เทียนทง้ั ๕ ตม้ กิน หรือจะบดป้ันแท่ง ละลายน�้ำกระสายแทรกขันทศกรกนิ กไ็ ด”้ สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 36 ชนดิ รวมปริมาณ 36 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระดอม 1 ส่วน กระเทยี ม 1 ส่วน กระพังโหม 1 ส่วน ก�ำยาน 1 สว่ น โกฐเขมา 1 สว่ น โกฐจุฬาลัมพา 1 สว่ น โกฐเชียง 1 สว่ น โกฐสอ 1 ส่วน โกฐหวั บัว 1 สว่ น ขดั มอน 1 ส่วน กระทรวงสาธารณสุข 37
ตัวยา ปริมาณตัวยา ขา่ 1 สว่ น ขงิ 1 สว่ น ขี้กาแดง 1 สว่ น ขีเ้ หลก็ 1 ส่วน ไคร้หางนาค 1 ส่วน จนั ทนข์ าว 1 ส่วน จนั ทน์แดง 1 ส่วน ชุมเห็ดไทย (ราก) 1 สว่ น ดอกจนั ทน ์ 1 ส่วน เทยี นขาว 1 ส่วน เทียนขา้ วเปลือก 1 สว่ น เทียนดำ� 1 ส่วน เทยี นแดง 1 สว่ น เทยี นตาตั๊กแตน 1 ส่วน บอระเพด็ 1 สว่ น พริกไทย 1 ส่วน มะหาด 1 ส่วน ย่านาง 1 ส่วน ลกู จนั ทน ์ 1 ส่วน สน 1 ส่วน สมอเทศ (เนื้อผล) 1 สว่ น สมอไทย (เนื้อผล) 1 สว่ น สมอพิเภก (เนื้อผล) 1 ส่วน สัก 1 ส่วน หญา้ คา 1 สว่ น แหว้ หม ู 1 สว่ น สรรพคุณ แก้ไขส้ นั นิบาต รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 0.6-1.2 กรัม ละลายน้�ำกระสายยาแทรกขันฑสกร กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เอกสารอ้างอิง 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. 38 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้คอแหง้ กระหายน�ำ้ ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลที่ ๕ เลม่ ๒ [1, 2] “๏ ยาแก้ฅอแหบให้หยากน�้ำ เอาน�้ำตาลทราย ๑ ส้มมะขามเปียก ๑ ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ เนระภูศีเทศ ๑ บดละลายน�้ำมะนาวกินแล ๚ะ” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๕ ชนิด รวมปรมิ าณ ๕ ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา ดอกจันทน ์ ๑ ส่วน น้ำ� ตาลทราย ๑ สว่ น เนระพสู ี ๑ ส่วน มะขาม (เน้อื ในฝกั ) ๑ ส่วน ลูกจนั ทน์ ๑ สว่ น สรรพคณุ แกค้ อแหบแห้ง กระหายนำ้� รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน้�ำมะนาวกินวนั ละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ หรอื เมอื่ มอี าการ เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรินทร์พรนิ้ ต้งิ แอนด์พบั ลชิ ชิง่ จำ� กัด (มหาชน); 2542. หน้า 198. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. กระทรวงสาธารณสขุ 39
ยาแกค้ อแหบ ท่ีมาของตำ� รับยา ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รชั กาลท่ี ๕ เลม่ ๒ [1, 2] “…ยาแก้ฅอแหบ เอาฃงิ ๑ บรเพช ๑ รากแมงลัก ๑ ศศี ะแห้วหมู ๑ นำ�้ ผ้งึ ๑ กินทง้ั แก้ไอดว้ ยแล ๚…” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๕ ชนดิ รวมปริมาณ ๕ สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ขงิ ๑ สว่ น นำ�้ ผึง้ ๑ ส่วน บอระเพด็ ๑ สว่ น แมงลกั (ราก) ๑ ส่วน แห้วหมู ๑ สว่ น สรรพคณุ แกไ้ อ แก้คอแหง้ เสยี งแหบ รปู แบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 0.6-1 กรัม กินหรืออมวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรอื เม่ือมีอาการ เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทร์พรน้ิ ต้งิ แอนด์พบั ลิชชง่ิ จ�ำกัด (มหาชน); 2542. หนา้ 198. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. 40 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกค้ ุดทะราด ท่มี าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาแกค้ ดุ ทะราด ยาข้าวเย็น 5 ต�ำลึง ขันทองพยาบาท 5 ต�ำลึง รากมะดูก 5 ตำ� ลงึ รากมะขามปอ้ ม 5 ตำ� ลึง ตะไครห้ างนาค 5 ต�ำลึง กัญชา 10 บาท มะพรา้ วไฟลูก 1 ท้ังนำ้� ทงั้ เยือ่ เนื้อสมันชิน้ เท่าสองน้ิว ใสล่ งในหม้อ มาดบาท 1 ตม้ กิน แก้มะเรง็ ก็ได้ คุดทะราดก็ได้ ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 8 ชนิด รวมปรมิ าณ 1,665 กรมั * ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา ขันทองพยาบาท 300 กรมั ข้าวเยน็ เหนอื 300 กรมั ตะไครห้ างนาค 300 กรัม มะขามป้อม 300 กรัม มะดูก (ราก) 300 กรัม กญั ชา 150 กรัม ก�ำมะถันเหลือง 15 กรัม มะพร้าวไฟ (น�ำ้ และเนือ้ ผล) 1 ลูก *ไม่รวมปรมิ าณมะพร้าวไฟ (น้ำ� และเนือ้ ผล) สรรพคุณ แกค้ ุดทะราด รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ ๑๐๐ มิลลลิ ิตร ดม่ื วนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น ดมื่ ขณะ ยายังอนุ่ ยา ๑ หมอ้ ใช้ตดิ ตอ่ กนั ๕-๗ วนั โดยใหอ้ ่นุ น้ำ� สมนุ ไพรทกุ ครง้ั กอ่ นใชย้ า ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและส่ังจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทยแ์ ผนไทยตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ - ตัวยากญั ชาตอ้ งคว่ั ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 235. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หน้า ๑-3. กระทรวงสาธารณสขุ 41
ยาแก้งสู วัด สูตร 1 ทมี่ าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “แกง้ สู วดั เอา มยุ แดง 1 หวั คลา้ 1 ยาขา้ วเยน็ 1 รากมะพรา้ ว 1 รากบัว 1 รากชงิ ชี่ 1 รากคันทรง 1 รากระงบั 1 ยาทง้ั น้ตี ้มให้กนิ ดีนกั แล ๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 8 ชนิด รวมปรมิ าณ 8 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา 1 ส่วน ข้าวเย็น 1 สว่ น คนั ทรง 1 สว่ น คล้า 1 ส่วน ชิงช ี่ 1 ส่วน บัว (ราก) 1 ส่วน มะพรา้ ว (ราก) 1 สว่ น มุยแดง 1 ส่วน ระงบั (ราก) สรรพคณุ แก้งสู วัด รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ เดก็ อายุ ๖-12 ปี ครง้ั ละ ๓๐ มิลลิลติ ร ดม่ื วันละ ๓ ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ด่มื ขณะยายงั อุ่น ตดิ ตอ่ กนั ๗-๑๐ วัน โดยใหอ้ นุ่ น้ำ� สมนุ ไพรทกุ ครั้งก่อนใชย้ า ผใู้ หญ่ ครัง้ ละ ๑๐๐ มลิ ลลิ ิตร ดืม่ วนั ละ ๓ ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น ดมื่ ขณะยายงั อนุ่ ตดิ ตอ่ กัน ๗-๑๐ วัน โดยให้อุน่ นำ�้ สมนุ ไพรทกุ ครง้ั กอ่ นใชย้ า ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ - ตัวยาข้าวเย็นในต�ำรับนี้ ใช้ข้าวเยน็ เหนือ หรือ ขา้ วเยน็ ใต้ กไ็ ด้ - ยาตำ� รบั นเี้ ปน็ ต�ำรบั ยาท่มี ฤี ทธิเ์ ยน็ ช่วยลดไข้ ลดอาการปวดแสบปวดร้อน ช่วยเรอ่ื ง น�ำ้ เหลอื ง และทำ� ใหต้ มุ่ ยบุ และแหง้ เร็ว เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 263. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-2. 42 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้งสู วัด สตู ร 2 ที่มาของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “อันน้ีชื่องูสวัด ครั้นได้ 4 วัน 5 วัน เอา ใบระงับ 1 ใบมะยมผี 1 ผักหวานบ้าน 1 หญ้าตีนนก 1 บดจงละเอยี ดชบุ น�้ำมันดิบทาหัวฝนี ัน้ แล ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 5 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา น้ำ� มันยางนา* 1 ส่วน ผักหวานบา้ น 1 สว่ น มะยมผี (ผกั หวานป่า) 1 สว่ น ระงบั พษิ 1 ส่วน หญา้ ตีนนก 1 ส่วน *ต�ำรบั นีใ้ ชน้ ้ำ� มันยางนาแทนน�ำ้ มันดบิ สรรพคณุ แก้งสู วัด รูปแบบยา ยาทา (ดภู าคผนวก 3.14) วธิ ีปรุงยา น�ำตวั ยาผักหวานบา้ น มะยมผี ระงับพิษ และหญ้าตนี นก มาต�ำให้ละเอียด แล้วผสม กบั น�้ำมนั ยางนา ขนาดและวิธกี ารใช้ ทาบริเวณท่เี ป็นวนั ละ 2-3 ครัง้ ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใชใ้ นเดก็ อายตุ �ำ่ กวา่ 6 ปี ขอ้ มลู เพ่มิ เติม - ตัวยามะยมผี หมายถงึ ผักหวานปา่ - ก่อนใชย้ าตำ� รบั นีต้ ้องประเมินอาการ โดยใช้มืออังเหนือบรเิ วณที่เปน็ ว่ามคี วามรอ้ น มากน้อยเพยี งใด และหลังจากให้ยาตำ� รบั นี้ ตอ้ งประเมนิ อาการอกี ครัง้ ว่าความรอ้ น ลดลงหรือไม่ เนื่องจากผู้ป่วยอาจมีอาการแพ้ยา อันเน่ืองมาจากน�้ำมันยางนา ในต�ำรบั หรือไม่ถูกกบั ยาตำ� รับนี้ - หากเปน็ ผู้ป่วยเดก็ หรือผู้สงู อายุ ใหใ้ ช้นำ้� ซาวข้าวหรอื น้�ำปนู ใสแทนนำ�้ มันยางนา เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 258. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 43
ยาแก้ชำ�้ รว่ั สูตร 1 ที่มาของตำ� รับยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 1 [1, 2] “จะวา่ ดว้ ยโรคอนั เกดิ สำ� หรบั สตั ว์ ทเ่ี รยี กวา่ ชำ�้ รวั่ มอี ยู่ ๔ ประการ คอื เกดิ เพราะคลอดบตุ ร มดลกู เหนา้ ๑ คือเกิดเพราะส้องเสพ กับด้วยบุรุษเกินประมาณ ๑ คือเปนฝีในมดลูกแลเปนบุพโพจาง ๆ เปนน้�ำเหลือง ดังน้�ำคาวปลา ๑ คือเปนเพราะ น�้ำเหลืองน้ันร้ายจึงทวารเบาน้ันเปื่อยไป แล้วให้ปัสสาวะนั้นหยด ๆ ย้อย ๆ ให้ปวดแสบนักให้ขัดหัวเหน่า ๑ รวมเปน ๔ ประการ ถ้าจะแก้ให้เอาฟางเข้าเหนียว ๑ ฝางเสน ๑ ตาไม้ไผ่ป่า ๑ รากไทรยอ้ ย ๑ หัวอดุ ตะพดิ ๑ เทยี นทัง้ ๕ สารส้ม ๑ ดินประดวิ ๑ โคกกระสนุ ๑ โคกกระออม ๑ ผักเบยี้ ใหญ่ ๑ เบญจบวั หลวง รากมะกล่ำ� ต้น มะกล่ำ� เครอื เอาเสมอภาคต้ม ๓ เอา ๑ กินช�ำระโทษชำ้� รัว่ ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 18 ชนดิ รวมปริมาณ 18 ส่วน ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา โคกกระสนุ 1 สว่ น โคกกระออม 1 ส่วน ดินประสวิ 1 ส่วน เทยี นขาว 1 สว่ น เทยี นข้าวเปลือก 1 ส่วน เทยี นดำ� 1 ส่วน เทียนแดง 1 สว่ น เทียนตาต๊กั แตน 1 สว่ น ไทรยอ้ ย 1 สว่ น บวั หลวง (ท้ัง 5) 1 สว่ น ผักเบี้ยใหญ่ 1 ส่วน ไผ่ป่า (ตาไม้) 1 สว่ น ฝางเสน 1 ส่วน ฟางข้าวเหนยี ว 1 ส่วน มะกลำ่� เครอื (ราก) 1 สว่ น มะกล่ำ� ตน้ (ราก) 1 ส่วน สารส้ม 1 สว่ น อุตพติ 1 สว่ น สรรพคุณ แกช้ ำ้� รวั่ รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ ช้อนโตะ๊ (๓๐-๖๐ มิลลิลิตร) ดมื่ วันละ ๒ ครงั้ ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ให้ดม่ื ตามอาการของโรคและกำ� ลังของผปู้ ่วย ดมื่ ขณะยายังอุน่ ยา ๑ หม้อ ใชต้ ิดต่อกนั ๕-๗ วัน โดยใหอ้ ุ่นน�ำ้ สมุนไพรทกุ คร้งั กอ่ นใชย้ า 44 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ - ตัวยาบัวหลวง ใช้ท้ังดอกของบัวหลวงท�ำยา ได้แก่ ฐานรองดอก กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี และคัพพะ - ตวั ยาอตุ พดิ ตอ้ งคัว่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) - ตวั ยาสารสม้ ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) - ตวั ยาดนิ ประสวิ ต้องสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๑4) เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 2๗1 ง. หน้า ๑-2. ยาแกช้ �้ำรวั่ สตู ร 2 ทมี่ าของตำ� รับยา แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 1 [1, 2] “อนึ่งโรคเกิดด้วยโลหิตพิการนั้น คือคลอดบุตรอยู่ไฟมิได้มดลูกเหน้าเปนปรวดอยู่ก็ดี ครั้นนานมา หลายปีหลายเดือน กลับเปนบุพโพโลหิตตกไป ๒ เดือน ๓ เดือน โลหิตจางไหลออกมาจึงเรียกว่าช�้ำร่ัว บางที น้�ำเหลืองอันร้ายนั้นไหลออกมาถึ่งไหน ก็พรึ่งข้ึนรอบทวารเปนหัวขาวๆ แลแตกเปื่อยไปท้ังน้ัน แล้วให้แสบร้อนคัน เปนก�ำลัง ถ้าจะแก้ให้กินยาผายตามต�ำราน้ันเสียก่อนแล้วจึงต้มยาช�ำระล�ำไส้ เอายาเข้าเย็น ข่า หัวหอม ใบมะกา ใบมะขาม ใบส้มป่อย ใบมะนาว ยาทั้งนี้ส่งิ ละ ๒๐ บาท สารสม้ ดนิ ประสวิ ส่ิงละ ๒ บาท ตม้ กนิ ช�ำระ ให้ปัสสาวะคลอ่ ง แก้ปวดแกป้ ัสสาวะพกิ ารตา่ ง ๆ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 9 ชนิด รวมปริมาณ ๕๔๐ กรัม ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ข่า ๗๕ กรัม ข้าวเย็นเหนือ ๗๕ กรัม มะกา ๗๕ กรัม มะขาม ๗๕ กรัม มะนาว (ใบ) ๗๕ กรมั สม้ ปอ่ ย ๗๕ กรมั หอม ๗๕ กรมั ดินประสวิ ๗.๕ กรัม สารส้ม ๗.๕ กรมั กระทรวงสาธารณสุข 45
สรรพคณุ แก้ชำ้� ร่ัว ขบั ปัสสาวะ รปู แบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครง้ั ละ ๒-๔ ชอ้ นโต๊ะ (๓๐-๖๐ มิลลลิ ิตร) ดื่มวนั ละ ๒ คร้งั ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ใหด้ ม่ื ตามอาการของโรคและกำ� ลงั ของผูป้ ่วย ดื่มขณะยายังอ่นุ ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ตอ่ กนั ๕-๗ วัน โดยใหอ้ นุ่ นำ�้ สมุนไพรทุกครัง้ กอ่ นใชย้ า ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ - ยาต�ำรับน้ีโบราณก�ำหนดน�้ำหนักของตัวยาไว้ค่อนข้างมาก เมื่อท�ำเป็นยาต้มแล้ว จะต้องใช้หม้อท่ีมีขนาดใหญ่ จึงได้ลดทอนสัดส่วนของตัวยาเหลือ 1 ใน 4 ส่วน จากของเดิม - ตวั ยาขา้ วเย็นทใี่ ช้ในตำ� รับนค้ี วรใชข้ า้ วเยน็ เหนอื - ตัวยาสารส้มต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) - ตัวยาดินประสวิ ต้องสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.14) เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓4 ตอนพิเศษ 2๗1 ง. หนา้ ๑-2. ยาแกซ้ างขุม ท มี่ าของตำ� รับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้ซางขุมซางดอกหมาก เอาลูกเบญกานี ๑ จันทน์แดง ๑ สีเสียดเทศ ๑ รากมะกล�่ำเครือ ๑ บดท�ำแทง่ ไวส้ มานลิน้ แก้ซางขุมหายแล ๚” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 4 ชนิด รวมปริมาณ 4 สว่ น ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 1 สว่ น จันทน์แดง 1 ส่วน เบญกาน ี 1 สว่ น มะกล่ำ� เครอื 1 สว่ น สีเสยี ดเทศ สรรพคณุ แกซ้ างขมุ ซางดอกหมาก รปู แบบยา ยาเม็ดพมิ พ ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เดก็ อายุ ๑ เดอื น-6 เดือน ครง้ั ละ 100-200 มลิ ลิกรัม อายุ 6 เดอื น-๑ ปี ครัง้ ละ 300-400 มิลลิกรมั 46 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
อายุ ๑ ปี-๓ ปี ครงั้ ละ 500-600 มลิ ลกิ รัม อายุ ๓ ป-ี ๕ ปี ครัง้ ละ 700 มิลลิกรัม ละลายน�้ำต้มสกุ ท่ีเย็นแล้ว ทาบริเวณลิน้ หรือปา้ ยล้นิ วนั ละ 1 คร้ัง ตอนเยน็ คำ� เตือน ยานีอ้ าจท�ำใหม้ ีอาการท้องผูก ข้อมลู เพ่ิมเติม - ซางขมุ ถา้ วา่ กลางนน้ั ซดี ขาว (ลนิ้ เปน็ ฝา้ ซดี ขาว เดก็ จะมอี าการกนิ ขา้ วไมไ่ ด้ สำ� รอก) 2 วันตานก็จะหาย ลักษณะซางขุมดวงดังน ี้ การดูแลรักษาของแพทย์แผนไทย และแพทย์พ้นื บา้ น การกวาดยามกั ทำ� ในชว่ งเย็น เน่ืองจากในชว่ งบา่ ยถงึ เย็น (ตงั้ แต ่ 14.00-18.00 น.) เป็นช่วงเวลาวาตะสมุฏฐาน มักจะท�ำให้เด็กมีอาการท้องข้ึน ท้องพอง ไมส่ บายตัว จึงควรวางยาในเวลาดังกล่าว - ตวั ยาสเี สยี ดเทศตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.41) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. ยาแก้ซางเพลงิ ช่อื อน่ื ยาแก้ทรางเพลิง [1, 2] ทีม่ าของตำ� รบั ยา 1. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาแก้ทรางเพลิง ขนานนท้ี ่านใหเ้ อา หว้านกบี แรด ๑ หวา้ นรอ่ นทอง ๑ เนระภสู ี ๑ เทียนดำ� ๑ เทียนแดง ๑ ชะเอมทงั้ ๒ ใบมะกล�่ำเครอื ๑ รวมยา ๗ ส่งิ น้เี อาเสมอภาคต้ม ๓ เอา ๑ กนิ แก้ตัวรอ้ นแก้ตานทราง ทง้ั ปวง ถ้าจะบดท�ำแท่งไวก้ ็ได้ ละลายสุรากินแก้ตกมูกเลอื ดหายดนี ัก” 2. ศลิ าจารึกต�ำรายาวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) [3, 4] “จกล่าวลกั ษณก�ำเหนิดทราง ๗ วนั อนั บังเกดิ แก่กมุ ารกุมารที ังหลายไว้ใหบ้ ุทคลทังปวงพึงร้ดู ังนี้ ฯ อันว่ากุมารกุมารี ผู้ใดคลอดจากครรภมานดาวันอาทิตย์ ก�ำเหนิดทรางเพลิงเปนเจ้าเรือน ทรางกรายเปนทรางจร หละช่ืออุไทยกาล ลอองชื่อเปลวไฟฟ้า ลมช่ือประวาตคุณจรประจ�ำทรางเพลิงวันอาทิตย ในอาการทรางเพลิงนั้น กระท�ำให้ปากกุมารเปนส่าเขม่าข้ึนด้วยโทษเสมหะ โลหิตระคนกันให้บังเกิด จึงให้กินเข้า กินนำ�้ กินนมมิได้ เพราะ เสมหะโลหิตกล้าเปนก�ำลัง มักให้เสมหะเน่า ตกเปนมูกเปนเลือดออกมา แลเปนพยาธิต่างต่าง ฯ ถ้าจะแก้เอา ว่านกบี แรด วา่ นร่อนทอง เนียระภษู ี เทียรดำ� เทียรแดง ชเอมทงั สอง ใบมกลำ�่ เครอื ยาทังนเ้ี อาเสมอภาคย์ ต้ม ๓ เอา ๑ กินแก้พิศให้ตัวร้อน แลทรางเพลิงก็ดี ท�ำเมดก็ได้ลลายสุรากิน แก้ตกมูกตกเลือด แก้ทรางเพลิงแลทราง ทงั ปวงหาย ยานดี้ ีนักแล ฯ” กระทรวงสาธารณสขุ 47
สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 8 ชนดิ รวมปรมิ าณ 8 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ชะเอมเทศ 1 ส่วน ชะเอมไทย 1 สว่ น เทยี นด�ำ 1 ส่วน เทียนแดง 1 สว่ น เนระพสู ี 1 สว่ น มะกล�ำ่ เครือ (ใบ) 1 ส่วน ว่านกบี แรด 1 สว่ น วา่ นร่อนทอง 1 ส่วน สรรพคุณ แกต้ ัวร้อน (เนื่องจากซางเพลงิ ) แก้ตานซาง แก้ถ่ายเป็นมกู เลอื ด รปู แบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.3), ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาต้ม เด็ก แรกเกิด-1 เดอื น ครั้งละ 1 มิลลลิ ิตร อายุ 1 เดือน-6 เดือน ครัง้ ละ 2 มลิ ลลิ ติ ร อายุ 6 เดอื น-1 ปี คร้งั ละ 3 มิลลลิ ติ ร อายุ 1-3 ปี ครั้งละ 5 มลิ ลลิ ติ ร อายุ 3-6 ปี ครั้งละ 15 มลิ ลิลิตร ดม่ื วนั ละ 4 ครงั้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เยน็ และกอ่ นนอน ด่ืมขณะยายังอ่นุ ยา ๑ หม้อ ใช้ติดตอ่ กนั ๕-๗ วัน โดยให้อนุ่ น้ำ� สมนุ ไพรทกุ คร้ังก่อนใชย้ า ยาเมด็ พมิ พ์ เด็ก แรกเกดิ -6 เดือน ครัง้ ละ 100 มิลลกิ รัม อายุ 6 เดอื น-1 ปี ครง้ั ละ 200 มลิ ลกิ รมั อายุ 1-๓ ปี ครั้งละ 300 มิลลกิ รมั อายุ ๓-๖ ป ี ครัง้ ละ 400 มลิ ลกิ รัม ละลายน้�ำต้มสกุ กนิ วันละ 2 ครัง้ กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ คำ� เตือน ไมค่ วรใชใ้ นเดก็ ที่สงสัยว่าเป็นไขเ้ ลอื ดออก เนือ่ งจากอาจบดบงั อาการของไข้เลอื ดออก ขอ้ ควรระวัง หากใช้ยาเป็นเวลาเกิน ๓ วัน แลว้ อาการไม่ดีขนึ้ ควรปรึกษาแพทย์ เอกสารอ้างองิ 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. 48 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
3. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ)์ เลม่ 2. พมิ พ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ 2557. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแก้ดากออกในเด็ก ที่มาของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาแกด้ ากเดก็ ทา่ นใหเ้ อา ผักเสีย้ นผี ๑ แก่นแสม ๑ รากสม้ กงุ้ ๑ ใบกะเพรา ๑ รากชมุ เหด็ ๑ บอระเพด็ หนาม ๑ กระวาน ๑ ดีปลี ๑ ดงี ูตน้ ๑ ยาขา้ วเยน็ ๑ ตม้ ๓ เอา ๑ กนิ ตามกำ� ลงั ดากหดแล ๚” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 10 ชนิด รวมปริมาณ 10 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา 1 ส่วน กระวาน 1 ส่วน กะเพรา 1 ส่วน ข้าวเย็นเหนือ 1 ส่วน ชมุ เห็ดเทศ 1 ส่วน ดีงตู น้ 1 สว่ น ดปี ล ี 1 สว่ น บอระเพด็ 1 ส่วน ผักเส้ียนผ ี 1 ส่วน สม้ ก้งุ 1 ส่วน แสมสาร สรรพคุณ แกด้ ากออก รปู แบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เด็ก อายุ 6 เดือน-๑ ปี ครั้งละ 1 ชอ้ นชา (5 มลิ ลิลติ ร) อายุ ๑ ป-ี ๕ ปี ครง้ั ละ 2 ช้อนชา (๑0 มลิ ลิลิตร) ๕ ปี ขึน้ ไป ครง้ั ละ 1 ช้อนโต๊ะ (15 มิลลลิ ิตร) ดื่มวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น อาจปรับปริมาณยา ตามก�ำลังธาตุของผู้ป่วยและดุลยพินิจของแพทย์แผนไทย ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่ ยา 1 หมอ้ ใช้ติดตอ่ กัน 5-7 วัน โดยใหอ้ นุ่ น้ำ� สมนุ ไพรทุกครั้งก่อนใชย้ า ขอ้ ควรระวงั หากอาการไม่ดีข้ึนภายใน 3 วนั ควรปรึกษาแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 49
ขอ้ มูลเพ่ิมเติม - ต�ำรับยานี้ช่วยแก้อาการปวดมวนในท้อง ท้องผูก หรือออกแรงเบ่งอุจจาระ มากเกินไป - ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็กท่ีมีอาการดังกล่าว อาจให้เด็กกิน กล้วยน�้ำว้างอมวันละ 1 ลูก หรือมะละกอสุก ส�ำหรับกรณีท่ีเลี้ยงลูกด้วยนมผง อาจตอ้ งพิจารณาใหเ้ ปลย่ี นสตู รนมผง เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๘๑. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. ยาแกต้ ับทรุด ทมี่ าของตำ� รบั ยา ศลิ าจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) [๑, ๒] “หวั เตา่ 3 หัว หัวเตา่ เกยี ด ลน้ิ เสือทงั้ ต้นท้ังราก ตาไม้ไผ่ปา่ เกสรสารภี เกสรบนุ นาค ปนู ขาว 3 หยิบ ต้มให้กิน แกต้ ับย้อยลงมาให้จบั แลชักตับใหข้ ึ้น” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 7 ชนิด รวมปริมาณตัวยา ๑6๕ กรัม* ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา เต่าเกียด ๓๐ กรมั บุนนาค ๓๐ กรมั ไผ่ปา่ (ตาไม)้ ๓๐ กรัม ล้ินเสอื ๓๐ กรมั สารภี ๓๐ กรมั ปูนขาว ๑๕ กรัม เต่านา 3 หวั * ไมร่ วมปริมาณหัวเตา่ นา 3 หวั สรรพคณุ แกต้ บั ทรุด ตับยอ้ ย ตับโต รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ เด็ก อายุ 3-5 เดอื น ดื่มครัง้ ละ 1 ชอ้ นชา (5 มิลลลิ ิตร) อายุ 6-12 เดอื น ด่มื ครัง้ ละ 1-2 ชอ้ นชา (5-10 มิลลิลิตร) อายุ 1-5 ปี ดม่ื ครั้งละ 1-2 ชอ้ นโตะ๊ (15-30 มิลลิลติ ร) อายุ 6-12 ปี ดม่ื คร้ังละ 3-4 ช้อนโต๊ะ (45-60 มิลลลิ ิตร) วันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ดื่มขณะยายงั อนุ่ ยา ๑ หม้อ ใชต้ ิดตอ่ กัน ๕-๗ วนั โดยใหอ้ ่นุ น้�ำสมุนไพรทกุ ครง้ั กอ่ นใช้ยา 50 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
เอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เลม่ ๒. พิมพค์ รัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาแกต้ าน ช่ืออน่ื ยาต้มแกต้ านทรางแลตานขโมยผอมเหลืองแลผอมแหง้ [1-๔] ทมี่ าของตำ� รับยา 1. ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาตม้ แกต้ านทรางแลตานขโมยผอมเหลอื งแลผอมแหง้ ขนานนที้ า่ นใหเ้ อาตานทงั้ หา้ ๑ สมอทง้ั สาม ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ ไพล ๑ แห้วหมู ๑ เปลือกส�ำโรง ๑ ผักเส้ียนผี ๑ หอมแดง ๑ ยาท้ังน้ีเอาสิ่งละ ๑ ต�ำลึง มะกรูด ๓ ลกู มาผ่า ๗ ซกี ผลข้กี าขาว ๓ ใบ ผลข้ีกาแดง ๓ ใบ สานส้ม ๒ สลึง ยาดำ� ๑ บาท ฝกั ราชพฤกษเปนกระสาย ตม้ ๓ เอา ๑ กนิ ถ้าจะใหล้ งแทรดดเี กลอื กินตามธาตหุ นักเบา ดนี กั ได้เชอื่ แลว้ ๚” 2. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [3, ๔] “ยาตม้ แกต้ านทรางแลตานขะโมย ผอมเหลืองแลผอมแหง้ ขนานนที้ า่ นให้เอาตาลทัง้ ๕ สมอทงั้ ๓ ขมิน้ ออ้ ย ๑ ไพล ๑ แห้วหมู ๑ เปลอื กส�ำโรง ๑ ผกั เส้ยี นผี ๑ หอมแดง ๑ ยาทงั้ นี้เอาสิ่งละ ๔ บาท มะกรูด ๓ ผล มาผ่า ๗ ซีก ผลข้ีกาขาว ๓ ใบ ผลขี้กาแดง ๓ ใบ สานส้ม ๒ สลึง ยาด�ำ ๑ บาท ฝักราชพฤกษ์เป็นกระสาย ต้ม ๓ เอา ๑ ถ้าจะใหล้ งแทรกดีเกลอื กนิ ตามธาตหุ นกั เบาดีนักได้เชื่อแลว้ ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 18 ชนดิ รวมปริมาณ ๘62.๕ กรมั * ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ขมิ้นอ้อย 60 กรัม ตานขโมย 60 กรมั ตานดำ� 60 กรัม ตาลโตนด 60 กรมั ตานเส้ียน 60 กรมั ตานหมอ่ น (ราก) 60 กรัม ผักเสยี้ นผี 60 กรมั ไพล 60 กรมั สมอเทศ 60 กรัม สมอไทย 60 กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 51
ตัวยา ปริมาณตัวยา 60 กรัม สมอพเิ ภก 60 กรัม สำ� โรง 60 กรมั หอมแดง 60 กรมั แหว้ หมู 15 กรมั ยาดำ� 7.5 กรมั สารสม้ 3 ผล ข้กี าขาว 3 ผล ขก้ี าแดง 3 ผล มะกรดู (ผล) *ไมร่ วมปรมิ าณข้กี าขาว ขกี้ าแดง และมะกรูด (ผล) สรรพคณุ แก้ตานซาง ตานขโมย รปู แบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 1 ช้อนโต๊ะ (๑๕ มิลลิลิตร) น้�ำฝักราชพฤกษ์เป็นกระสาย ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น เน่ืองจากยาน้ีเป็นยาระบาย ถ้ายังไม่ถ่าย ให้ผสมดีเกลือ กินตามธาตุหนกั เบา และดมื่ ขณะยายงั อนุ่ ยา ๑ หมอ้ ใช้ติดต่อกนั ๕-๗ วัน โดยใหอ้ ุน่ น้ำ� สมุนไพรทกุ ครั้งกอ่ นใช้ยา คำ� เตอื น ห้ามใชใ้ นเด็กอายตุ ่ำ� กว่า ๖ ปี ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ - ตวั ยายาด�ำต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยาสารสม้ ต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทร์พร้นิ ติง้ แอนดพ์ บั ลชิ ชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. 52 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ตานขโมย ชือ่ อื่น ยาตม้ แกต้ านขโมย [1-4] ท่ีมาของตำ� รบั ยา 1. ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รชั กาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาต้มแก้ตานขโมย ท่านให้เอา รากตาลตโนด ๕ ต�ำลึง รากตาลมอน ๕ ต�ำลงึ เปลือกสนนุ่ ๕ ต�ำลงึ ขม้นิ ออ้ ย ๕ ต�ำลงึ สะใคร้ ๕ ตำ� ลงึ ต้ม ๓ เอา ๑ กนิ แกท้ รางแกไ้ ฟธาตแุ กล้ ม แลชูกำ� ลังร�ำหดั พมิ เสนกิน แลบำ� รุงธาตุ ให้เสมอกันเปนปรกติดนี กั ๚” 2. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาตม้ แกต้ านขโมย ท่านใหเ้ อารากตาลโตนด ๕ ตำ� ลงึ รากตานหม่อน ๕ ต�ำลงึ เปลือกสนนุ่ ๕ ตำ� ลึง ขมิ้นอ้อย ๑ ตะไคร้ ๕ ต�ำลึง ต้ม ๓ เอา ๑ กินแก้ทรางแก้ไฟธาตุแก้ลมแลชูก�ำลังร�ำหัดพิมเสนกิน แลบ�ำรุงธาตุ ใหเ้ สมอกนั เปนปรกติดีนัก” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 1,500 กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ขม้ินออ้ ย 300 กรัม ตะไคร ้ 300 กรัม ตาลโตนด 300 กรัม ตานหมอ่ น (ราก) 300 กรัม สนุ่น 300 กรัม สรรพคุณ แกต้ านขโมย บำ� รุงธาตุ เจรญิ อาหาร รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ เดก็ อายุ 1-6 ปี คร้ังละ 1-2 ช้อนโตะ๊ (๑๕-30 มิลลิลิตร) อายุ 6-12 ปี คร้งั ละ 3-4 ชอ้ นโตะ๊ (45-60 มลิ ลลิ ิตร) แทรกพิมเสนเล็กน้อย ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ด่ืมขณะ ยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้ง กอ่ นใชย้ า เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทรพ์ ร้นิ ตง้ิ แอนด์พับลชิ ชง่ิ จ�ำกัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. กระทรวงสาธารณสุข 53
ยาแกต้ านซาง ชอ่ื อน่ื ยาแกต้ านทราง [1, 2], ยาแกท้ รางฝ้าย [3, 4] ทม่ี าของต�ำรบั ยา 1. ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รัชกาลท่ี 5 เลม่ ๑ [1, 2] “ยาแก้ตานทราง ขนานน้ที ่านใหเ้ อาใบนำ้� เตา้ ๑ ขอบชะนางทัง้ สอง ๑ ใบตานหม่อน ๑ ใบชุมเหด ๑ ใบระงับ ๑ ใบมูลกาแดง ๑ กทอื ๑ ไพล ๑ หอมแดง ๑ กเทียม ๑ พริก ๑ ขงิ ๑ ขมนิ้ ออ้ ย ๑ รวมยา ๑๔ สิง่ นี้ เอาเสมอภาคท�ำเปนจณุ บดท�ำแท่งไว้กนิ แกต้ านทราง ตกมูกเลือด ถ้าแลเหมนเหน้าแทรกยาด�ำลงกนิ ดนี ัก ฯ” 2. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาแก้ทรางฝ้าย ขนานนี้ท่านให้เอา ใบน�้ำเต้า ๑ ขอบชะนางทั้งสอง ๑ ใบตานหม่อน ๑ ใบชุมเห็ด ๑ ใบระงับ ๑ ใบขี้กาแดง ๑ กระทือ ๑ ไพล ๑ หอมแดง ๑ พริกไทย ๑ กระเทียม ๑ ขิงแห้ง ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ รวมยา ๑๔ สิ่งนี้ เอาเสมอภาค ท�ำเปนจุณบดปั้นแท่งไว้ กินแก้ทรางฝ้ายแลตาน ทรางท้ังปวง แลแก้ ตกมูก ตกเลือด ถา้ ใหเ้ หม็นโขงเนา่ โขง แซกยาดำ� ลงกินหายดนี กั ” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 14 ชนดิ รวมปริมาณ 14 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา 1 สว่ น กระเทยี ม 1 ส่วน กะทอื 1 สว่ น ขมนิ้ อ้อย 1 ส่วน ขอบชะนางขาว 1 ส่วน ขอบชะนางแดง 1 สว่ น ขิงแหง้ 1 สว่ น ขี้กาแดง (ใบ) 1 ส่วน ชุมเห็ดไทย 1 สว่ น ตานหม่อน 1 สว่ น น�้ำเตา้ 1 สว่ น พรกิ ไทย 1 สว่ น ไพล 1 ส่วน ระงับ 1 ส่วน หอมแดง สรรพคุณ แก้ซางฝา้ ย ตานซาง แกถ้ า่ ยเป็นมกู เลือด รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เด็ก แรกเกิด-6 เดือน ครั้งละ 100 มลิ ลิกรมั อายุ 6 เดอื น-1 ปี ครัง้ ละ 200 มิลลิกรมั อายุ 1-๓ ปี ครง้ั ละ 300 มิลลกิ รมั อายุ ๓-๖ ปี คร้ังละ 400 มลิ ลกิ รมั กินวนั ละ 2 ครงั้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น กระสายยาทใี่ ช้ แกถ้ ่ายเป็นมกู เลือด มกี ล่นิ เหม็นเนา่ แทรกยาด�ำ 54 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ค�ำเตอื น ไม่ควรใช้ในเดก็ ทีส่ งสยั ว่าเป็นไขเ้ ลือดออก เนือ่ งจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลือดออก ข้อควรระวัง หากใชย้ าเปน็ เวลาเกิน ๓ วัน แล้วอาการไมด่ ีขึน้ ควรปรกึ ษาแพทย์ เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรินทร์พร้นิ ติ้งแอนดพ์ บั ลิชชงิ่ จำ� กดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. 3. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ยาแก้เถาดาน ทีม่ าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาแกเ้ ถาดานแกล้ มกระษยั แกร้ ดิ สดี วงพลวก เอา พรกิ ไทย ๑ ดปี ลี ๑ เปลา้ นอ้ ย ๑ เปลา้ ใหญ่ ๑ รากจิงจ้อ ๑ รากเจตมูล ๑ หัวดองดึง ๑ มหาหิงคุ์ ๑ การบูร ๑ สมอเทศส่ิงละ ๑ บาท รากสลอดกินลง ๒ บาท สลดั ไดแหง้ ๑ ต�ำลึง หสั คณุ ๒ บาท ตาํ เป็นผงกินนํา้ ผงึ้ เท่าลกู พทุ รา แก้เส้นกินนา้ํ สม้ สายชู แก้บวม ห้าประการ แก้จุกผามม้ามย้อย แก้โลหิตแห้ง แก้ฝีในท้องก็ได้ แก้ป้างก็ได้ ถ้ากินยานี้ท่านห้ามหวาน อย่ากิน ถา้ กินหวานตาย ถา้ จะกินหวานเว้นยาเสียกอ่ นกนิ เถิด ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 13 ชนิด รวมปริมาณ 270 กรัม ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา สลดั ได (ตน้ ) ๖๐ กรมั สลอด (ราก) ๓๐ กรมั หสั คณุ ๓๐ กรมั การบูร 1๕ กรัม จงิ จอ้ 1๕ กรมั เจตมูลเพลิงแดง 1๕ กรัม ดองดงึ 1๕ กรมั ดีปล ี 1๕ กรัม เปลา้ นอ้ ย 1๕ กรัม เปล้าใหญ ่ 1๕ กรัม พริกไทย 1๕ กรมั มหาหงิ ค ์ุ 1๕ กรมั สมอเทศ (เนื้อผล) 15 กรัม กระทรวงสาธารณสุข 55
สรรพคณุ แก้ลมกษัย แก้เถาดาน แก้ริดสีดวงพลวก แก้เส้น แก้บวมห้าประการ แก้จุกผาม ม้ามย้อย แก้โลหิตแห้ง แกฝ้ ีในท้อง แก้ปา้ ง รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ แก้ลมกษยั แกเ้ ถาดาน แกร้ ิดสดี วงพลวก ครั้งละ 1.5 กรัม ละลายน้�ำผึ้ง กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ แกเ้ สน้ แกบ้ วมหา้ ประการ แก้จุกผามม้ามย้อย แก้โลหิตแห้ง แก้ฝีในท้อง แกป้ า้ ง คร้งั ละ 1.5 กรัม ละลายนำ�้ สม้ สายชู กินวนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ ข้อควรระวงั ระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกดิ พิษได้ ข้อมลู เพิม่ เตมิ - ขณะกนิ ยานี้ ห้ามกนิ ของหวาน - ตัวยาดองดงึ ตอ้ งนงึ่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตวั ยามหาหงิ คุ์ตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตัวยาสลอดตอ้ งฆา่ ฤทธ์ิก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.36) - ตัวยาสลัดไดตอ้ งประสะกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.37) - ตวั ยาหัสคุณเทศตอ้ งคัว่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 314. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. 56 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกท้ ้องขน้ึ ชอื่ อน่ื ยาประสะการบรู [๑, ๒] ทมี่ าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [๑, ๒] “๏ ประสะการบูร เอา มหาหิงคุ์ กระเทียม ผิวมะกรูด รากเจตพังคี ตรีกฏุก ว่านน�้ำ ไพล ขมิ้นอ้อย เอาเสมอภาค สุราเป็นกระสาย บดท�ำแท่งละลายสุรา ละลายน้�ำร้อนก็ได้ น�้ำส้มซ่าก็ได้ แก้ตกมูกตกเลือดตานซาง ตาลโจร ลมจุกลมเสยี ด ท้องขนึ้ ทอ้ งพองหายแล ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 10 ชนดิ รวมปริมาณ 10 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 1 สว่ น กระเทียม 1 ส่วน ขมิ้นออ้ ย 1 ส่วน ขิงแห้ง 1 ส่วน เจตพังคี 1 ส่วน ดปี ลี 1 สว่ น พริกไทย 1 สว่ น ไพล 1 สว่ น มหาหิงค์ุ 1 สว่ น มะกรูด 1 สว่ น ว่านน้�ำ สรรพคณุ แกต้ กมูกตกเลอื ด ตานซาง ตานโจร ลมจุกลมเสยี ด ท้องขนึ้ ท้องพอง รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยากนิ เด็ก อายุ ๑-6 เดือน คร้งั ละ 100-200 มิลลิกรัม อายุ 6 เดือน-๑ ปี ครงั้ ละ 300-400 มลิ ลิกรมั อายุ ๑-๓ ปี คร้ังละ 500-600 มิลลิกรัม อายุ ๓-6 ปี ครั้งละ 0.7-1 กรมั อายุ 6-12 ปี ครัง้ ละ 1-1.5 กรัม ละลายนำ�้ ร้อนหรอื น้ำ� ส้มซา่ กินวนั ละ ๓ ครงั้ กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ดมื่ ขณะยายังอนุ่ ยาทา ละลายสรุ าแล้ว ทาบาง ๆ รอบสะดอื เด็ก ห้ามทาบรเิ วณสะดอื และบรเิ วณผิวหนงั ทมี่ บี าดแผลหรอื แผลเปดิ ข้อห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นเดก็ ที่มีไข้สงู และทอ้ งเสยี อย่างรนุ แรง ข้อควรระวัง หากใชย้ าเป็นเวลา 3-5 วัน แลว้ อาการไม่ดีขน้ึ ควรปรึกษาแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 57
ข้อมลู เพม่ิ เติม ตวั ยามหาหิงคตุ์ อ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ ี 238. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หนา้ 2. ยาแกท้ ้องข้ึนในเดก็ ท ่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ขนานหนงึ่ ถา้ เด็กทอ้ งขน้ึ เอามหาหิงค์ุ ๑ หอม ๑ ใบมะเฟอื ง ๑ ใบพลูแก ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ เอาเสมอภาค ทาทอ้ งน้อยหวั หนา่ วหายแล ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนดิ รวมปริมาณ 5 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 1 สว่ น ขม้นิ อ้อย 1 ส่วน พลแู ก 1 สว่ น มหาหิงค ุ์ 1 สว่ น มะเฟอื ง 1 ส่วน หอม สรรพคณุ บรรเทาอาการท้องขึน้ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ผสมกบั น�้ำสกุ ทเี่ ยน็ แล้วหรอื น�ำ้ สุราทาบริเวณท้องนอ้ ยเมือ่ มีอาการ ห้ามทาบริเวณผิวหนงั ทม่ี ีบาดแผลหรอื แผลเปดิ เป็นยาใชภ้ ายนอก ห้ามกิน ข้อมูลเพม่ิ เติม ตัวยามหาหงิ ค์ุตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๕๑๒. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. 58 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกท้ ้องเสยี ในเด็กออ่ น ชื่ออื่น ยาแก้กมุ ารออ่ นลงทอ้ งหนัก, ยาแก้กมุ ารออ่ นลงทอ้ งนัก ท่ีมาของต�ำรับยา ๑. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี ๕ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาแก้กุมารอ่อนลงท้องหนักขนานน้ี ท่านให้เอาผลมตูมอ่อน ผลทับทิม ดีปลี รากหนาด ขิงสด รวมยา ๕ สง่ิ นี้เอาเสมอภาคบดละลายนำ�้ ผึง้ กนิ หายดีนกั ๚” ๒. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เล่ม ๑ [3, 4] “ยาแก้กุมารออ่ นลงทอ้ งนักขนานนี้ ท่านให้เอาลูกมะตูมอ่อน ๑ ลกู ทบั ทมิ ๑ ดปี ลี ๑ รากหนาด ๑ ขิงสด ๑ รวมยา ๕ สิ่งน้เี อาส่วนเทา่ กนั บดละลายนำ�้ ผึ้งกินหายดนี กั ” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนดิ รวมปริมาณ 5 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา ๑ ส่วน ขิง ๑ สว่ น ดีปลี ๑ สว่ น ทบั ทิม (ผล) ๑ สว่ น มะตูม ๑ ส่วน หนาด (ราก) สรรพคณุ แก้ทอ้ งเสีย ส�ำหรบั เดก็ อ่อน รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เดก็ อายุ 1-3 เดอื น ครง้ั ละ 100-200 มิลลกิ รมั อายุ 3-6 เดือน คร้ังละ 200-300 มลิ ลกิ รมั อายุ 6-12 เดอื น คร้ังละ 300-400 มิลลกิ รัม ละลายนำ�้ ผ้ึง กินวันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใช้ในผู้ท่ีมไี ข้ เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรินทร์พรนิ้ ติ้งแอนด์พบั ลิชชิง่ จ�ำกัด (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. กระทรวงสาธารณสุข 59
ยาแก้ทกั ขิณมาน ทีม่ าของต�ำรบั ยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ [1, 2] “ลำ� ดบั นจ้ี ะกลา่ วดว้ ยนยั อนั หนง่ึ ใหม่ วา่ ดว้ ยลกั ษณะอทุ รโรค คอื มานอนั บงั เกดิ แตก่ องดานนนั้ มี ๒ ประการ ประการ ๑ ช่อื ทกั ขณิ มาน ประการ ๑ ชอื่ อตุ รมาน แลทกั ขณิ มานน้ันเกิดแตก่ องดานทกั ขณิ คณุ ก�ำเนิดต้งั อย่ฝู า่ ยขวา เป็นกำ� หนด แลอตุ รมานน้นั เกดิ แตก่ องอตุ ราคุณ ก�ำเนิดตั้งอยฝู่ ่ายซ้ายเปน็ กำ� หนด ดจุ อาจารยก์ ล่าวไว้ ฯ ในท่ีนีจ้ ะว่า แต่อุทรโรค อันชื่อว่าทักขิณมานนั้นก่อนเป็นปฐม เมื่อจะบังเกิดนั้นกระท�ำให้กายแลมือเท้านั้นเย็นดุจลูกเห็บ ให้แสยงขนแลขนชูชัน แล้วให้นาภีนั้นบวมอยู่เป็นนิจจะไปอุจจาระปัสสาวะมิได้สะดวกดุจเป็นบิด แล้วให้ปวดถ่วง เปน็ กำ� ลงั บางทใี หจ้ บั มแี ตห่ นาวภายในใหแ้ นน่ หนา้ อก จบั บวมแตเ่ ทา้ ลน่ื ๆ ขน้ึ กอ่ นจงึ บวมนาภี ใหห้ ายใจพกั ใหเ้ หนอื่ ย แลใหน้ อนมิหลับ มไิ ด้นกึ อยากอาหาร ใหแ้ น่นหนา้ อกเปน็ กำ� ลัง ตอ่ เม่ือไดอ้ าเจยี นแลถา่ ยอจุ จาระออก จงึ ค่อยระงบั ลงบ้าง แลว้ ใหน้ าภฝี า่ ยขวาน้นั บวมแขง็ เปน็ ดานข้ึนมาลกั ษณะดงั กล่าวมาน้ี ฯ… อน่ึง เอาโกฐทง้ั หา้ เทียนทง้ั หา้ สงิ่ ละสว่ น ไพล กระชาย ข่าแก่ กระดาดทัง้ ๒ บุกรอ กลอย เปลอื กกมุ่ ท้งั สอง แกน่ แสมทัง้ สอง ผกั แพวแดง การบูร มหาหงิ คุ์ ยาด�ำ ส่ิงละ ๒ ส่วน เบญจกูล ว่านน�้ำ กระเทยี ม พรกิ ไทย เปลือกกันเกรา อุตพิด ส่ิงละ ๔ ส่วน ดองดึง มะตูมอ่อน แห้วหมู รากจิงจ้อ ส่ิงละ ๖ ส่วน ใบมะตูม ใบหนาด เปลือกมะรุม สมอไทย ส่ิงละ ๘ ส่วน แก่นข้ีเหล็ก แก่นแสมทะเล ส่ิงละ ๑๐ ส่วนท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำเกลือ ต้มใหก้ นิ ตามก�ำลงั แก้ทักขิณมานเกิดแต่ดานทักขิณคุณหายดนี ัก ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 45 ชนดิ รวมปรมิ าณ 156 ส่วน ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ข้เี หล็ก 10 สว่ น แสมทะเล 10 สว่ น มะตมู (ใบ) ๘ ส่วน มะรมุ ๘ ส่วน สมอไทย (เนื้อผล) ๘ ส่วน หนาด ๘ สว่ น จงิ จอ้ 6 สว่ น ดองดึง 6 สว่ น มะตูม 6 สว่ น แห้วหม ู 6 สว่ น กระเทียม 4 สว่ น กนั เกรา 4 ส่วน ขงิ แหง้ 4 สว่ น เจตมลู เพลงิ แดง 4 สว่ น ชะพล ู 4 ส่วน ดีปล ี 4 สว่ น 60 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา พรกิ ไทย 4 สว่ น วา่ นนำ้� 4 สว่ น สะคา้ น 4 สว่ น อุตพิด 4 สว่ น กระชาย 2 สว่ น กระดาดขาว 2 ส่วน กระดาดแดง 2 ส่วน กลอย 2 ส่วน การบูร 2 ส่วน ก่มุ นำ้� 2 ส่วน กุ่มบก 2 ส่วน ข่าแก่ 2 ส่วน บกุ รอ 2 ส่วน ผกั แพวแดง 2 ส่วน ไพล 2 สว่ น มหาหิงค ์ุ 2 สว่ น ยาดำ� 2 สว่ น แสมทะเล 2 สว่ น แสมสาร 2 สว่ น โกฐเขมา 1 สว่ น โกฐจฬุ าลมั พา 1 สว่ น โกฐเชยี ง 1 ส่วน โกฐสอ 1 ส่วน โกฐหวั บวั 1 ส่วน เทียนขาว 1 ส่วน เทยี นขา้ วเปลอื ก 1 ส่วน เทยี นดำ� 1 สว่ น เทียนแดง 1 สว่ น เทยี นตาตัก๊ แตน 1 สว่ น สรรพคุณ เปน็ ยาถา่ ย ขบั ลม ในผปู้ ว่ ยทอ้ งมาน รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครงั้ ละ 400-800 มลิ ลกิ รมั ละลายนำ�้ เกลอื กนิ วนั ละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น กระทรวงสาธารณสขุ 61
ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ ผู้ทม่ี ไี ข้ และเดก็ ขอ้ ควรระวงั ควรระวงั การใช้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสงู โรคหัวใจ และโรคไต ข้อมูลเพิ่มเตมิ - ตัวยากระดาดขาวต้องปงิ้ ไฟหรือนง่ึ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.1) - ตวั ยากระดาดแดงทีต่ ้องปิง้ ไฟหรือน่ึงกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.2) - ตวั ยากลอยตอ้ งคัว่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๓) - ตวั ยาดองดงึ ต้องนงึ่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตวั ยาบกุ รอต้องค่วั ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.18) - ตวั ยามหาหิงคตุ์ อ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตัวยายาดำ� ตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตวั ยาอตุ พิดตอ้ งคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอ้างอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ เลม่ ๒. พมิ พ์ครงั้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. 62 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกโ้ ทสันฑฆาต ที่มาของตำ� รบั ยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 1 [1, 2] “อนง่ึ จะวา่ ดว้ ยโทษ โทสนั ทะฆาฏ คอื บรุ ษแลสตั รยี อ่ มมเี หมอื นกนั จะยกกลา่ วแตบ่ รุ ษุ นน้ั กอ่ น ถา้ ผใู้ ดเปน โรคโทสนั ทะฆาฎ เปนเพ่ือกลอ่ นแห้งแลปัตะฆาฏจึงให้เจบ็ ให้เสยี ด แลเปนพรรดกึ และเปนลม แลโลหติ ให้ เปนกอ้ น อยู่ในท้อง ให้เจ็บท่ัวสาระพางค์กาย ให้เจ็บเอวให้มือเท้าตาย ให้เมื่อยขบขัดหัวเหน่าแลสองต้นขาหน้าตะโพก ใหท้ อ้ งตงิ่ ไปทง้ั สองราวข้างแลทวารเบาเหน้าเปนบุพโพโลหติ ใหเ้ จบ็ สีสะวงิ เวยี นหน้าตา ให้ปากเปรีย้ วเสยี งแหบจกั ษุ มืด ให้ขดั ราวขา้ งทรวงอกให้ทอ้ งข้นึ ทอ้ งพองกนิ อาหารมริ ูจ้ ักรส โทษทงั้ น้ีเปนเพราะเสมหะโลหิตแหง้ อย่ใู นไสน้ อกไส้ บางทใี หเ้ ปนพรรดกึ เมอื่ จะเปนนนั้ ใหม้ นิ่ เนอื้ ตวั ใหถ้ อยอาหาร บางทใี หจ้ บั สบดั รอ้ นหนาวใหป้ ากเปรย้ี วหวานดงั นช้ี อบ ที่กับโรคกล่าวมานี้ ท้ังน้ีก็เปนเพราะโลหิตเสมหะแห้งติดกระดูกสันหลัง แลโลหิตทั้งน้ีบุรุษ ก็เหมือนกัน ให้แต่งยา แกเ้ อาสะค้าน ๑ ผักแพวแดง ๑ ดองดึง ๑ วา่ นน�้ำ ๑ มหาหงิ คุ์ ๑ ยาด�ำ ๑ โกฐจุลาล�ำพา ๑ โกฐสอ ๑ โกฐพุงปลา ๑ หัวอุตพิด ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดีปลี ๑ แก่นแสมทะเล ๑ สิริยาทั้งนี้ เสมอภาค แล้วจึงเอาพริกไทยเท่ายาท้ังหลาย ท�ำผงละลายนำ้� ผงึ้ กนิ หนัก ๑ สลงึ แกโ้ รคท้ังปวงดังกลา่ วมานี้ หายวิเศษนกั แล” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 14 ชนดิ รวมปริมาณ 26 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา 13 ส่วน พรกิ ไทย 1 ส่วน โกฐจุฬาลัมพา 1 สว่ น โกฐพงุ ปลา 1 สว่ น โกฐสอ 1 สว่ น ชะเอมเทศ 1 สว่ น ดองดึง 1 สว่ น ดีปลี 1 ส่วน ผักแพวแดง 1 สว่ น มหาหงิ ค ุ์ 1 ส่วน ยาด�ำ 1 ส่วน วา่ นน้ำ� 1 ส่วน สะคา้ น 1 ส่วน แสมทะเล 1 สว่ น อุตพติ สรรพคุณ แก้โทสนั ฑฆาต แกก้ ล่อน แก้กษยั เส้น รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 1.2-1.8 กรัม กนิ วันละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ ข้อห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญิงตัง้ ครรภ์ ผ้ทู ่ีมไี ข้ และเดก็ กระทรวงสาธารณสุข 63
คำ� เตือน - ควรระมดั ระวังการใชใ้ นผู้สูงอายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลือด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่อื งจากต�ำรบั น้มี ีพรกิ ไทยในปริมาณสูง ข้อมูลเพิม่ เตมิ - ยาต�ำรับน้ีใช้บ�ำบัดอาการเหง่ือออกมือเท้า ปัสสาวะขุ่นข้น ปัสสาวะสีเข้ม และโรคกษยั ได้ โดยเฉพาะกษัยกล่อนและกษยั เส้น - ยาตำ� รบั น้ีโบราณระบุให้ “ทำ� ผงละลายน้ำ� ผ้งึ ” สามารถท�ำเปน็ รปู แบบยาลูกกลอน ได้ เพอ่ื ใหส้ ะดวกในการกนิ และเก็บไวไ้ ด้นาน - ยาต�ำรับนี้โบราณระบุให้ “กินหนัก 1 สลึง” แต่ขนาดและวิธีการใช้ที่แนะน�ำ “ครง้ั ละ 1.2-1.8 กรมั กนิ วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ” เพ่อื ให้เทา่ กับ ขนาดยาท่กี ินตอ่ วันตรงตามท่โี บราณกำ� หนด - ตัวยาดองดงึ ต้องน่ึงกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) - ตัวยามหาหิงค์ุตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยายาด�ำตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยาอตุ พดิ ตอ้ งคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.50) เอกสารอ้างอิง ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓4 ตอนพเิ ศษ 2๗1 ง. หน้า ๑-2. 64 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกธ้ าตรุ ะส่�ำระสาย ท่ีมาของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ธาตุส�ำเร็จ เปราะหอม ๑ แฝกหอม ๑ แห้วหมู ๑ ว่านน้ํา ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ พริกไทย ๑ ยาทัง้ นี้เทา่ กนั กระเทียมเท่ายาบดแท่งน้ําร้อน แก้ธาตรุ ะสํ่าระสาย ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 8 ชนดิ รวมปริมาณ 14 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา 7 สว่ น กระเทียม 1 ส่วน ขงิ 1 ส่วน ดปี ลี 1 สว่ น เปราะหอม 1 ส่วน แฝกหอม 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 สว่ น ว่านน้าํ 1 ส่วน แห้วหมู สรรพคุณ แก้ธาตรุ ะส่าํ ระสาย รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ 1 ช้อนชา (5 กรัม) ละลายน�้ำร้อนกินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ ข้อมูลเพ่ิมเตมิ ยาต�ำรบั ยานี้เปน็ ยาทใ่ี ช้ในกล่มุ สตรีหลังหมดประจ�ำเดือน เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยขาว. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 281. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2560. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑41 ง. หน้า 1. กระทรวงสาธารณสขุ 65
ยาแกน้ อนไมห่ ลับ/ยาแก้ไขผ้ อมเหลอื ง ที่มาของตำ� รับยา 1. แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ [1, 2] “กัญชา แก้ไข้ผอมเหลืองหาก�ำลังมิได้ ให้ตัวส่ันเสียงส่ันเปนด้วยวาโยธาตุก�ำเริบ แก้นอนมิหลับ เอาตรีกะฏุก 1 จันทน์ทั้ง ๒ ใบสะเดา 1 ใบคนทีเขมา 1 พริกล่อนเสมอภาค ใบกันชาเท่ายาท้ังหลายท�ำผง เอาน้�ำมะพรา้ ว น�้ำผง้ึ นำ�้ ส้มสา้ น�้ำตาลทราย กระทือสด น้�ำเบญ็ จทบั ทมิ ต้มละลายยากินหายแล” 2. อายรุ เวทศกึ ษา [3, 4] “แก้ไข้ผอมเหลืองหาก�ำลังมิได้ ให้ตัวสั่นเสียงส่ัน เป็นด้วยวาโยธาตุก�ำเริบ แก้นอนมิหลับ เอาตรีกฏุก จันทน์ท้ังสอง ใบสะเดา ใบคนทีเขมา พริกร่อน เสมอภาค ใบกัญชาเท่ายาทั้งหลายท�ำผง เอาน้�ำมะพร้าว น�้ำผึ้ง น�ำ้ ส้มซ่า นำ�้ ตาลทราย กะทอื สด น้�ำเบญจทบั ทมิ ต้มละลายกนิ ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 9 ชนดิ รวมปริมาณ 16 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 8 สว่ น กัญชา (ใบ) 1 ส่วน ขงิ แห้ง 1 สว่ น คนทเี ขมา 1 ส่วน จนั ทน์ขาว 1 ส่วน จนั ทนแ์ ดง 1 ส่วน ดีปล ี 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 สว่ น พรกิ ล่อน 1 ส่วน สะเดา สรรพคุณ - แกน้ อนไม่หลบั - แกไ้ ขผ้ อมเหลือง มอี าการตวั สนั่ เสียงสน่ั ไม่มกี �ำลัง ออ่ นเพลยี รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผง ครั้งละ 1-2 กรัม ละลายน�ำ้ มะพรา้ ว น้�ำผงึ้ นำ้� สม้ ซา่ น้�ำตาลทราย กะทอื สด น�ำ้ เบญจทบั ทิมตม้ กินวันละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ยาแคปซูล ครงั้ ละ 1-2 กรมั กินกับน�ำ้ ต้มสุกวนั ละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช้ - หา้ มใชใ้ นหญิงตงั้ ครรภ์ ผ้ทู ม่ี ไี ข้ และผทู้ มี่ อี ายตุ �่ำกว่า 18 ปี - ห้ามใช้ร่วมกับยาท่ีมีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ ยาต้าน การชัก รวมท้ังแอลกอฮอล์หรือสิ่งทีม่ แี อลกอฮอล์ผสมอยู่ ค�ำเตอื น - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนอ่ื งจากตำ� รับน้มี ีพรกิ ไทยในปรมิ าณสูง 66 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ขอ้ ควรระวงั - ยานี้อาจท�ำให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับข่ียานพาหนะ หรือท�ำงานเกี่ยวกับ เครือ่ งจักรกล - ควรระวังในผู้ที่ประกอบอาชีพทางน้�ำ หรือผู้ที่ร่างกายต้องสัมผัสความเย็น เปน็ เวลานาน เพราะจะทำ� ให้เปน็ ตะคริวบรเิ วณทอ้ งได้ ข้อมลู เพม่ิ เตมิ - ไข้ผอมเหลอื ง เกดิ จากธาตุลมกำ� เริบส่งผลใหน้ อนไมค่ ่อยหลับ เบือ่ อาหาร เมือ่ เป็น เร้ือรัง ร่างกายผ่ายผอม ซีด เหลือง อ่อนเพลีย และไม่มีก�ำลัง ซึ่งอาจเกิดจาก หลายสาเหตุ เชน่ โรคริดสดี วง - ตวั ยากญั ชาตอ้ งคว่ั ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๔) เอกสารอ้างองิ 1. พศิ ณปุ ระสาทเวช, พระยา. แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๘. หนา้ ๔๗๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓4 ตอนพเิ ศษ 2๗1 ง. หนา้ ๑-2. 3. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ.์ ; 2516. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มิถุนายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หน้า ๑-2. ยาแกน้ �ำ้ เหลืองเสยี ท่ีมาของตำ� รับยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ [1, 2] “ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะคชราด ๒ จ�ำพวก สืบต่อไปเป็นค�ำรบ ๒ คือคชราดบอน จ�ำพวก ๑ คือคชราดหูด จ�ำพวก ๑ อันจะบังเกิดแก่บุคคลท้ังหลาย ตามอาจารย์กล่าวไว้มีอาการ ต่างๆ กันดังน้ี ฯ อันว่าคชราดบอนน้ัน เม่ือแรกจะบังเกิดขึ้น ผุดขึ้นมาคล้ายดอกดาวเรือง กระท�ำให้คันเป็นก�ำลัง ครั้นเกาเข้าก็เปื่อยออกเป็นน�้ำเหลืองหยดย้อยไป มิสู้ร้ายนัก เกิดแต่กองอาโปธาตุ อันว่าคชราดหูดนั้น เม่ือแรก จะบังเกดิ ผดุ ข้นึ มามศี รี ษะน้ันแขง็ สัณฐานดุจหิดมพี ษิ น้อยกระทำ� ให้คนั เป็นกำ� ลงั เป็นประมาณแตย่ อดจะได้แตกออก นน้ั หามไิ ด้ มกั บงั เกดิ กบั ดว้ ยลม อนั มพี ษิ นน้ั เนอื งๆ เกดิ แตก่ องปถั วธี าตุ วาโยธาตุ ระคนกนั ใหโ้ ทษ แลคชราด ๒ จำ� พวก ซง่ึ กลา่ วมาน้ี สรรพยาแก้ได้ดุจตามอาจารย์กลา่ วไว้สบื กนั มา… ขนานหนง่ึ เอายาข้าวเยน็ ทัง้ ๒ ขันทองพยาบาท ซงั ข้าวโพด กำ� มะถนั เหลอื ง สิ่งละ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท ต้มตามวิธีให้กิน แก้คชราดท้ัง ๒ จ�ำพวก คือคชราดบอนแลคชราดหูดน้ันหายแลแก้สรรพคชราดท้ังปวงก็ได้ แก้ท้ังกลาก เกลื้อน มะเร็งแลหิดด้านหิดเปื่อยก็ได้ และแก้ทั้งมะสุริกาโรค ๘ ประการก็ได้หายสิ้นวิเศษนัก ตามอาจารย์กลา่ วไวด้ งั น้ี ฯ” กระทรวงสาธารณสุข 67
สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 5 ชนดิ รวมปรมิ าณ 750 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา กำ� มะถนั เหลอื ง 150 กรัม ขนั ทองพยาบาท 150 กรมั ขา้ วโพด 150 กรมั ขา้ วเยน็ ใต ้ 150 กรัม ขา้ วเยน็ เหนอื 150 กรมั สรรพคณุ แก้น้�ำเหลืองเสยี รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 100-150 มิลลิลิตร ด่ืมวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ดื่มตามกำ� ลงั ธาตขุ องผปู้ ว่ ย ด่มื ขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ตดิ ต่อกนั ๕-๗ วนั โดยให้ อนุ่ น�ำ้ สมุนไพรทุกครั้งกอ่ นใช้ยา ขอ้ มลู เพิม่ เติม ตัวยากำ� มะถนั ท่ใี ช้ในตำ� รบั น้ี ต้องเป็นก�ำมะถนั ก้อน เน่ืองจากเปน็ รูปแบบยาต้ม เอกสารอา้ งอิง ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) เล่ม ๒. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. 68 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกแ้ น่นในยอดอก ท่ีมาของตำ� รับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาลมอันใหเ้ ยน็ ไปทัง้ ตัว ใหแ้ นน่ ในยอดอก ให้เอา เปลือกปบี สวน 1 เปลอื กหอยขมเผา 2 สว่ น พรกิ ไทย 3 ส่วน บดลายน�้ำรอ้ นกนิ แก้ก็ได้ ลายน้ำ� ผึง้ กไ็ ด้ ไดท้ ำ� ใชแ้ ลว้ ดจี รงิ ๆ ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 3 ชนดิ รวมปรมิ าณ 6 ส่วน ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา พริกไทย 3 สว่ น หอยขม 2 ส่วน ปบี (เปลอื กตน้ ) 1 ส่วน สรรพคณุ แก้ลมอนั ให้เย็นไปท้งั ตัว ใหแ้ น่นในยอดอก รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 1 ชอ้ นชา ละลายน�้ำอุ่นหรือน้�ำผงึ้ กนิ วันละ 3 ครงั้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ หญงิ ใหน้ มบตุ ร ผ้ทู ม่ี ีไข้ และเด็กอายตุ ่�ำกว่า 12 ปี ค�ำเตือน - ควรระมดั ระวังการใช้ในผสู้ ูงอายุ - ควรระวงั การใชใ้ นผปู้ ว่ ยโรคกระเพาะอาหารอกั เสบ และความดันโลหติ สูง - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนือ่ งจากต�ำรับน้มี ีพริกไทยในปริมาณสูง ขอ้ มลู เพม่ิ เติม ตวั ยาหอยขมต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.43) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. กระทรวงสาธารณสุข 69
ยาแก้ประจำ� เดอื นมาไมป่ รกติ ชอื่ อ่นื ยาแกห้ ญิงไมม่ ีระดผู อมแหง้ ทม่ี าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [๑, ๒] “ยาแก้หญิงไม่มีระดูผอมแห้ง ถ้าหญิงไม่มีระดูให้ผอมแห้ง เอา หญ้าไทร ก�ำมือ ๑ ผิวมะกรูด ๑ บาท ๒ สลึง ไพล ๒ สลงึ ลกู พรกิ ไทย ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ เทยี นดำ� ๑ บาท บดปนั้ แท่งไว้กิน กินส้มมะขามเปียกเสียกอ่ น เมื่อจะกินยา นุ่งขาวหม่ ขาวกินใหไ้ ดว้ นั ละ ๓ เพลาระดงู ามดงั เก่าแล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 7 ชนดิ รวมปริมาณ 105 กรัม ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 22.5 กรมั มะกรดู ขิง 15 กรมั ดปี ล ี 15 กรมั เทยี นดำ� 15 กรัม พรกิ ไทย 15 กรัม หญ้าไทร 15 กรมั ไพล 7.5 กรมั สรรพคณุ ช่วยใหป้ ระจ�ำเดือนมาเปน็ ปรกติ ปรบั ธาตุในสตรี ฟอกโลหติ รูปแบบยา ยาเม็ด (ดูภาคผนวก 3.4.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 1 กรัม กินวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เม่ือระดูมา ใหห้ ยดุ กิน แตไ่ มเ่ กนิ 1 เดอื น และให้กนิ มะขามเปยี กก่อนกนิ ยานี้ทกุ คร้ัง ข้อหา้ มใช ้ หา้ มใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญงิ ตง้ั ครรภ์ และผมู้ ีไข้ เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๓๓๒. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หนา้ ๑. 70 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ประดง ท่มี าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาประดงท้งั ปวง ท่านให้เอา รากมะตูมทัง้ 2 ใบหมากทั้ง 2 ขมิ้นออ้ ย ยาขา้ วเยน็ 1 เอาเสมอภาค ตม้ กิน แก้ประดงแก้ลมผิวหนังหายแล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 6 ชนิด รวมปริมาณ 6 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ขมน้ิ ออ้ ย 1 ส่วน ข้าวเยน็ 1 สว่ น มะตูมน่มิ (ราก) 1 ส่วน มะตมู บ้าน (ราก) 1 สว่ น หมากผู้ 1 ส่วน หมากเมยี 1 ส่วน สรรพคุณ แก้ประดง แก้ลมผวิ หนงั รปู แบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ 100 มลิ ลลิ ิตร ดม่ื วนั ละ 3 ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ดืม่ ขณะ ยายังอุ่น ยา ๑ หมอ้ ใชต้ ิดตอ่ กัน ๕-๗ วนั โดยให้อุน่ น�้ำสมนุ ไพรทุกครง้ั ก่อนใชย้ า ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ตวั ยายาขา้ วเยน็ ในตำ� รบั น้ี ควรใชค้ กู่ นั ทง้ั ขา้ วเยน็ เหนอื และขา้ วเยน็ ใต้ หรอื เลอื กใชเ้ พยี ง อย่างใดอย่างหน่งึ เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒55. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสขุ 71
ยาแกป้ วดท้องผสมคนทสี อ ช่อื อน่ื ยาแก้ปวดทอ้ ง แลใหอ้ ุจจาระเสยี เร้ือรังมา แลปัสสาวะหยดยอ้ ย [1, 2] ทมี่ าของตำ� รับยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาแก้ปวดท้อง แลให้อุจจาระเสียเร้ือรังมา แลปัสสาวะหยดย้อย ท่านให้เอา ใบคนทีสอ ๔ บาท ใบกระเพรา ๑ บาท ใบตานหม่อน ๑ บาท ขม้นิ ออ้ ย ๑ สลงึ ใบสะเดา ๑ เฟ้อื ง กระเทียม ๒ สลึง กระชาย ๒ สลงึ พริกไทย ๒ สลึง หอมแดง ๒ สลึง ผลจันทน์ ๑ เฟื้อง ดีปลี ๑ เฟื้อง ยาท้ังน้ีท�ำเปนจุณ บดด้วยหยัดสุรากิน ตามกำ� ลังดีนกั ” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๑ ชนิด รวมปรมิ าณ 129.375 กรัม ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 60 กรมั คนทีสอ (ใบ) 15 กรัม กะเพรา 15 กรัม ตานหม่อน 7.5 กรัม กระชาย 7.5 กรัม กระเทยี ม 7.5 กรัม พรกิ ไทย 7.5 กรัม หอมแดง ขม้ินออ้ ย 3.75 กรัม ดปี ลี 1.875 กรมั ลูกจันทน ์ 1.875 กรมั สะเดา 1.875 กรมั สรรพคุณ แกป้ วดท้อง แกท้ อ้ งเสียเรอ้ื รัง รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เด็ก อายุ 1-3 เดอื น ครั้งละ 100-200 มิลลิกรัม อายุ 3-6 เดือน ครง้ั ละ 200-300 มิลลกิ รมั อายุ 6-12 เดือน คร้งั ละ 300-400 มิลลิกรมั อายุ 1-6 ปี ครง้ั ละ 0.5-1 กรมั อายุ 6-12 ป ี ครงั้ ละ 1-1.5 กรัม หยดน�้ำสรุ า 1-2 หยด เพิ่มลดไดต้ ามส่วน กนิ วนั ละ 1 คร้ัง ก่อนอาหารเย็น ขอ้ หา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นผู้ทม่ี ีไข้ ตัวร้อน ทอ้ งผูก เอกสารอ้างอิง 1. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. 72 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกป้ วดหลัง ท่มี าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาแกเ้ จบ็ หลงั เอา ข้เี หลก็ ทัง้ ๕ หนัก ๕ ต�ำลึง โคกกระออม ๑ ตำ� ลึง รากส้มกุ้ง ๒ บาท ทรงบาดาล ๑ ตำ� ลึง พญามือเหลก็ ๔ ต�ำลงึ เจตมูลเพลิง ๑ ตำ� ลึง ขิง ๑ ตำ� ลึง ๓ บาท กระเทียม ๑ บาท สะค้าน ๑ ต�ำลึง ยาขา้ วเย็น ๑ ตำ� ลึง เปน็ ยาแกก้ ลอ่ น ๕ ประการ ตม้ กินเถดิ ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 10 ชนิด รวมปริมาณ 990 กรัม ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ขี้เหลก็ (ท้งั 5) 300 กรมั พญามอื เหลก็ 240 กรมั ขงิ 105 กรมั ขา้ วเยน็ ใต้ 60 กรมั โคกกระออม 60 กรมั เจตมูลเพลงิ แดง 60 กรมั ทรงบาดาล 60 กรัม สะคา้ น 60 กรมั ส้มกงุ้ น้อย 30 กรมั กระเทยี ม 15 กรมั สรรพคุณ แกก้ ลอ่ น 5 ประการ แก้ปวดหลงั รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้งั ละ 100 มลิ ลลิ ิตร ดมื่ วันละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ด่มื ขณะ ยายังอุ่น ยา ๑ หมอ้ ใช้ติดตอ่ กัน ๕-๗ วนั โดยให้อนุ่ น�ำ้ สมนุ ไพรทกุ คร้งั ก่อนใช้ยา ขอ้ มลู เพ่ิมเติม ตวั ยาทรงบาดาล เปน็ สมนุ ไพรหายากสามารถใชไ้ ดท้ ้งั ตน้ เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 339. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑-4. กระทรวงสาธารณสขุ 73
ยาแก้ปัตฆาต ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาผักเป็ดแดงแก้ลมปัตคาด แก้ลมพิษให้ผูกพรรดึกจุกเสียด เอา มหาหิงคุ์ ๑ การบูร ๑ ว่านน้ํา ๑ ขงิ ๑ ดปี ลี ๑ พรกิ ลอ่ น ๑ สมอทั้ง ๓ ยาท้ังน้ีเอาสิ่งละ ๑ บาท เอา ผกั เป็ดแดงเทา่ ยาทัง้ หลาย ต�ำเป็นผงละลาย นํา้ ส้มซ่าน้ําสม้ สายชกู ไ็ ด้หายแล ๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 10 ชนดิ รวมปรมิ าณ 2๗๐ กรมั ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ผกั เป็ดแดง 135 กรัม การบูร 15 กรมั ขงิ 15 กรัม ดปี ลี 15 กรัม พรกิ ไทยลอ่ น 15 กรัม มหาหงิ คุ ์ 15 กรัม ว่านน้�ำ 15 กรัม สมอเทศ (เนือ้ ผล) 15 กรมั สมอไทย (เน้ือผล) 15 กรัม สมอพิเภก (เน้ือผล) 15 กรมั สรรพคุณ แก้ลมปัตคาด แก้ลมพิษให้ผกู พรรดึกจกุ เสียด รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 1 กรัม ละลายน�้ำส้มซ่าหรือน�้ำส้มสายชูกินวันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อหา้ มใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ หญิงใหน้ มบุตร ผู้ท่ีมไี ข้ และเด็กอายตุ �่ำกวา่ 12 ปี ขอ้ ควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต เนอื่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกดิ พษิ ได้ ข้อมูลเพมิ่ เตมิ ตัวยามหาหงิ ค์ุต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๗. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. 74 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแกแ้ ผลในปากและล้นิ ทมี่ าของตำ� รับยา ศิลาจารึกตำ� รายาวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ [1, 2] “ล�ำดบั น้จี ะกล่าวด้วยนัยหนึง่ ใหม่ วา่ ด้วยลกั ษณะหฤศโรคอนั ชอื่ วา่ พรณิ ะ กล่าวคือโรครดิ สดี วงอันบังเกิด ในปากแลลน้ิ เป็นค�ำรบ ๔ มอี าการกระท�ำใหล้ ้ินนัน้ เป่อื ยเปน็ ขมุ ๆ ให้นำ�้ เขฬะไหลอยเู่ ปน็ นจิ จะบรโิ ภคอาหารอนั ใด อนั หนึง่ มรี สอนั เผด็ รอ้ นแลเปร้ยี วเค็มก็มิได้ มักให้แสบร้อนเหลือกำ� ลังทนย่งิ นกั ฯ ขนานหน่ึง เอาเปลือกราชพฤกษ์ เปลือกสะเดา ขมิ้นอ้อย ฝักส้มป่อย ผลกระดอม บอระเพ็ด เอาเสมอภาค ต้มตามวธิ ใี ห้อม แกร้ ดิ สีดวงอันบังเกิดในปากแลล้นิ น้ันหายดีนัก ฯ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 6 ชนิด รวมปรมิ าณ 6 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา กระดอม ๑ สว่ น ขม้ินออ้ ย ๑ ส่วน บอระเพ็ด ๑ ส่วน ราชพฤกษ์ (เปลอื กต้น) ๑ สว่ น ส้มป่อย (ฝกั ) ๑ สว่ น สะเดา (เปลอื กต้น) ๑ ส่วน สรรพคุณ แก้แผลเป่ือยในปาก ในลิ้น (กินอาหารรสจดั ก็จะท�ำใหแ้ สบร้อนในปากและล้ิน) รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก ๓.๑.๑) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 20 มิลลลิ ิตร อมกลว้ั คอวันละ 2-3 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ใช้ขณะยายงั อุ่น ยา ๑ หม้อ ใชต้ ดิ ต่อกนั ๕-๗ วัน โดยให้อนุ่ น�้ำสมนุ ไพรทกุ คร้งั ก่อน ใชย้ า ขอ้ มลู เพ่มิ เติม ตัวยาส้มปอ่ ยตอ้ งปง้ิ ไฟกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.34) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ)์ เลม่ ๒. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสุข 75
ยาแก้ฝี ท่ีมาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาน�้ำดับไฟ 2 บาท ขม้ินอ้อย 1 บาท สารส้ม 2 สลึง ท�ำแท่งฝนด้วยเหล้าแลน�้ำปูนใส ทาฝีท่ีนม ท่ีรักแร้แล ท่ีลับ...(เลอื น)...พัดก็ไดแ้ ล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 3 ชนิด รวมปริมาณ 52.5 กรมั ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา หญา้ น�ำ้ ดบั ไฟ (ทั้งต้นสด) 30 กรัม ขมิ้นออ้ ย (ทง้ั ตน้ สด) 15 กรัม สารสม้ 7.5 กรมั สรรพคณุ แกฝ้ บี ริเวณเต้านม รกั แร้ และทลี่ บั รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ละลายสุราผสมกับนำ้� ปูนใส ทาบริเวณท่ีเป็นวนั ละ 3 คร้งั เช้า กลางวัน และเย็น ขอ้ มลู เพม่ิ เติม ตวั ยาสารสม้ ตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 257. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง, หนา้ ๑-2. หนา้ ๑-๘๐. 76 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
ยาแก้ฝีในกระพุ้งแก้มและในปาก สตู ร ๑ ทม่ี าของตำ� รับยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธิ)์ [1, 2] “ล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะวัณโรคภายใน อันช่ือว่า ทันตะมูลา บังเกิด ในแก้มซ้ายแก้มขวานัน้ เป็นคำ� รบ ๓ เมือ่ แรกขนึ้ นัน้ ดอู าการแลประเภทดุจปนู กดั ปาก แลว้ ดสู ณั ฐานดงั ชลกุ ะเข้าเกาะ จับอยู่ตามกระพุ้งแก้มนั้นมีพรรณะแดงดังสีเสนอ่อนๆ และกระท�ำอาการให้แสบร้อนในกระพุ้งแก้ม แล้วให้แก้มนั้น เหน็บชา บางทีให้ฟกบวมออกมาภายนอกแลภายในขุมไป ถ้าทะลุออกมาภายนอก มียอดนั้นบานดังดอกล�ำโพง เป็นบุพโพส่วน ๑ น้�ำเหลือง ๒ ส่วน ถ้าผู้ใดเป็นดังกล่าวมาน้ีเป็นกรรมของผู้นั้น ดังอาจารย์ท่านกล่าวไว้ว่าเป็น อสาทยะโรค จะได้ส่วน ๑ เสีย ๒ ส่วน ถ้าจะแก้ให้แก้แต่ยังมิทะลุออกมาภายนอกแต่ยังอ่อนอยู่นั้น ตามอาจารย์ กล่าวไว้ดังนี้ ฯ ท่านให้เอาพันธผ์ุ กั กาด ขิงแหง้ สมอเทศผลใหญ่ โกฐกระดูก หญ้ารงั กา ว่านนำ้� ใบสะเดา เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจณุ บดท�ำแท่งไวล้ ะลายนำ้� ท่า เกลอ่ื นฝีอันบังเกิดในกระพงุ้ แกม้ ทงั้ ๒ นั้นหายดีนัก ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 7 ชนิด รวมปรมิ าณ 7 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา โกฐกระดูก 1 ส่วน ขงิ แหง้ 1 ส่วน เมล็ดพรรณผกั กาด 1 สว่ น ว่านนำ้� 1 ส่วน สมอเทศ 1 ส่วน สะเดา (ใบ) 1 ส่วน หญ้ารงั กา 1 สว่ น สรรพคุณ แกฝ้ ีในกระพงุ้ แกม้ และในปาก รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ 3-5 กรัม ผสมน�้ำให้พอเปียก เกลื่อนบริเวณท่ีเป็นฝีวันละ 3-4 คร้ัง หรือ เมอ่ื มีอาการ เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสขุ 77
ยาแก้ฝีในกระพงุ้ แกม้ และในปาก สูตร 2 ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารกึ ต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ)์ิ [1, 2] “ลำ� ดบั นจี้ ะกลา่ วดว้ ยนยั อนั หนง่ึ ใหม่ วา่ ดว้ ยลกั ษณะวณั โรคภายใน อนั ชอื่ วา่ ทนั ตะมลู า บงั เกดิ ในแกม้ ซา้ ย แก้มขวาน้ันเป็นค�ำรบ ๓ เมื่อแรกข้ึนน้ันดูอาการแลประเภทดุจปูนกัดปาก แล้วดูสัณฐานดังชลุกะเข้าเกาะจับอยู่ ตามกระพงุ้ แกม้ นน้ั มพี รรณะแดงดงั สเี สนออ่ น ๆ และกระทำ� อาการใหแ้ สบรอ้ นในกระพงุ้ แกม้ แลว้ ใหแ้ กม้ นน้ั เหนบ็ ชา บางทีให้ฟกบวมออกมาภายนอกแลภายในขุมไป ถ้าทะลุออกมาภายนอก มียอดน้ันบานดังดอกล�ำโพง เป็นบุพโพ ส่วน ๑ น้�ำเหลือง ๒ ส่วน ถ้าผู้ใดเป็นดังกล่าวมานี้เป็นกรรมของผู้นั้น ดังอาจารย์ท่านกล่าวไว้ว่าเป็นอสาทยะโรค จะได้สว่ น ๑ เสยี ๒ สว่ น ถ้าจะแกใ้ ห้แกแ้ ตย่ งั มิทะลอุ อกมาภายนอก แตย่ ังอ่อนอยู่นัน้ ตามอาจารยก์ ลา่ วไว้ดงั นี้ ฯ ขนานหนึ่ง เอาการบูร โหราเดอื ยไก่ ดปี ลี ขมิ้นอ้อย เกลอื สินเธาว์ เทยี นดำ� ผลพลิ ังกาสา โกฐกระดกู กานพลู สมุลแว้ง พมิ เสน เอาเสมอภาค ทำ� เป็นจณุ บดท�ำแทง่ ไวล้ ะลายน้�ำผึ้งทาเกล่อื นฝอี ันบงั เกดิ ในกระพ้งุ แกม้ นัน้ หายดีนกั ได้เช่ือแลว้ ฯ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 11 ชนดิ รวมปริมาณ 11 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กานพลู 1 สว่ น การบูร 1 ส่วน เกลือสินเธาว ์ 1 สว่ น โกฐกระดูก 1 ส่วน ขมนิ้ อ้อย 1 ส่วน ดปี ล ี 1 ส่วน เทียนดำ� 1 สว่ น พมิ เสน 1 ส่วน พลิ ังกาสา 1 สว่ น สมุลแว้ง 1 ส่วน โหราเดือยไก่ 1 สว่ น สรรพคณุ แกฝ้ ีในกระพุง้ แก้มและในปาก รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 3-5 กรัม ผสมน้�ำให้พอเปียก เกล่ือนบริเวณท่ีเป็นฝีวันละ 3-4 ครั้ง หรือ เมอ่ื มอี าการ 78 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 532
Pages: