Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Description: รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Search

Read the Text Version

พชื วัตถุ ลำ� ดับ ชื่อตัวยา สว่ นที่ใช้ ช่ือละติน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ 293 ประคำ� ไก่/มะค�ำไก ่ เปลอื กตน้ Putranjivae Roxburghii Cortex Putranjiva roxburghii Wall. 294 ประดู่ แก่น Pterocarpi Macrocarpi Lignum Pterocarpus macrocarpus Kurz 295 ปลาไหลเผอื ก ราก* Eurycomae Longifoliae Radix Eurycoma longifolia Jack 296 ปลาไหลเผอื ก เปลือกตน้ Eurycomae Longifoliae Cortex Eurycoma longifolia Jack 297 ปบี เปลือกต้น Millingtoniae Hortensis Cortex Millingtonia hortensis L.f. 298 ปีบ ใบ* Millingtoniae Hortensis Folium Millingtonia hortensis L.f. 299 เปราะหอม เหงา้ * Kaempferiae Galangae Rhizoma Kaempferia galanga L. 300 เปราะหอม ใบ Kaempferiae Galangae Folium Kaempferia galanga L. 301 เปล้าน้อย ราก* Crotonis Stellatopilosi Radix Croton stellatopilosus H. Ohba 302 เปล้านอ้ ย ใบ Crotonis Stellatopilosi Folium Croton stellatopilosus H. Ohba 303 เปลา้ ใหญ่ ราก Crotonis Persimilidis Radix Croton persimilis Müll. Arg. 304 ผักกระโฉม ใบ Limnophilae Rugosae Folium Limnophila rugosa (Roth) Merr. 305 ผกั ขวง ใบ Glini Oppositifolii Folium Glinus oppositifolius (L.) Aug.DC. 306 ผกั โขมหิน ทง้ั ตน้ * Boerhaviae Diffusae Herba Boerhavia diffusa L. 307 ผกั คราด ท้งั ตน้ * Spilanthis Acmellae Herba Spilanthes acmella (L.) L. 308 ผกั คราด ดอก Spilanthis Acmellae Flos Spilanthes acmella (L.) L. 309 ผกั คราด ใบ Spilanthis Acmellae Folium Spilanthes acmella (L.) L. 310 ผกั บงุ้ รว้ ม ใบ Ipomoeae Cairicae Folium Ipomoea cairica var. indica Hallier f. 311 ผักเบยี้ ใหญ่ ทง้ั ต้น Portulacae Oleraceae Herba Portulaca oleracea L. 312 ผกั เปด็ แดง ท้ังต้น Alternantherae Bettzickianae Alternanthera bettzickiana (Regel) G. Herba Nicholson 313 ผักแพวแดง ทง้ั ต้น Arnebiae Euchromae Herba Arnebia euchroma (Royle ex Benth.) I.M.Johnst. 314 ผักเสย้ี นไทย ท้งั ตน้ * Cleomes Gynandrae Herba Cleome gynandra L. 315 ผกั เสีย้ นไทย ใบ Cleomes Gynandrae Folium Cleome gynandra L. 316 ผกั เสย้ี นผ ี ทัง้ ตน้ * Cleomes Viscosae Herba Cleome viscosa L. 317 ผักเสย้ี นผ ี ใบ Cleomes Viscosae Folium Cleome viscosa L. 318 ผกั หวาน/ ใบ* Breyniae Vitis-idaeae Folium Breynia vitis-idaea (Burm.f.) C.E.C.Fisch. ผักหวานบา้ น 319 ผักหวาน/ ท้ังตน้ Breyniae Vitis-idaeae Herba Breynia vitis-idaea (Burm.f.) C.E.C.Fisch. ผักหวานบา้ น 320 ไผ่ปา่ ใบ* Bambusae Bambotis Bambusa bambos (L.) Voss Folium 321 ไผป่ า่ ตาไม้ (กงิ่ ) Bambusae Bambotis Bambusa bambos (L.) Voss Gnarl กระทรวงสาธารณสขุ 429

พชื วัตถุ ลำ� ดับ ชอื่ ตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวทิ ยาศาสตร์ 322 ไผ่รวก ราก Thyrsostachyos Siamensis Thyrsostachys siamensis Gamble Radix 323 ไผส่ สี ุก ผิวเปลือกตน้ Bambusae Blumeanae Cortex Bambusa blumeana Schult. f. 324 ฝาง แกน่ Sappan Lignum Caesalpinia sappan L. 325 ฝางเสน แกน่ Sappan Lignum Caesalpinia sappan L. 326 ฝ้ายแดง ใบ Gossypii Arborei Folium Gossypium arboreum L. 327 ฝา้ ยเทศ ใบ Gossypii Herbacei Folium Gossypium herbaceum L. 328 ฝ้ายผ ี ใบ Abelmoschi Moschati Folium Abelmoschus moschatus Medik. 329 ฝน่ิ ตน้ เปลอื กตน้ Jatrophae Multifidae Cortex Jatropha multifida L. 330 แฝกหอม ราก Chrysopogonis Zizanioidis Radix Chrysopogon zizanioides (L.) Roberty 331 พญามอื เหลก็ เนอื้ ไม*้ Strychnotis Lucidae Lignum, Strychnos lucida R. Br., Strychnotis Ignatii Lignum S. ignatii P.J. Bergius 332 พญามือเหลก็ ท้ัง 5 Strychnotis Lucidae Herba, Strychnos lucida R. Br., Strychnotis Ignatii Herba S. ignatii P.J. Bergius 333 พญารากขาว ราก Albiziae Lucidioris Radix Albizia lucidior (Steud.) I.C. Nielson ex H.Hara 334 พรมมิ ท้ังตน้ * Bacopae Herba Bacopa monnieri (L.) Wettst. 335 พรมม ิ ราก Bacopae Radix Bacopa monnieri (L.) Wettst. 336 พริกเทศ ผล Galangae Fructus Alpinia galanga (L.) Willd. 337 พริกไทย ผล* Piperis Nigri Fructus Piper nigrum L. 338 พรกิ ไทย เถา Piperis Nigri Caulis Piper nigrum L. 339 พรกิ ไทยลอ่ น/ เมล็ด Piperis Nigri Semen Piper nigrum L. พรกิ ลอ่ น 340 พริกหอม เมล็ด Zanthoxyli Piperiti Fructus Zanthoxylum piperitum (L.) DC. 341 พรกิ หาง ผล Piperis Cubebae Fructus Piper cubeba L.f. 342 พลับพลึง ใบ Crini Asiatici Folium Crinum asiaticum L. 343 พลูแก ใบ Piperis Wallichii Folium Piper wallichii (Miq.) Hand.-Mazz. 344 พิกลุ ดอก Mimusopsis Elengi Flos Mimusops elengi L. 345 พมิ เสนต้น ใบ Pogostemonis Folium Pogostemon cablin (Blanco) Benth. 346 พิลงั กาสา ผล* Ardisiae Ellipticae Fructus Ardisia elliptica Thunb. 347 พิลงั กาสา ใบ Ardisiae Ellipticae Folium Ardisia elliptica Thunb. 348 พษิ นาศน์ ราก Sophorae Exiguae Rhizoma Sophora exigua Craib 349 พงุ ดอ ใบ Azimae Samentosae Folium Azima sarmentosa (Blume) Benth. & Hook.f. 350 พุงดอ ราก* Azimae Samentosae Radix Azima sarmentosa (Blume) Benth. & Hook.f. 430 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

พืชวตั ถุ ล�ำดับ ชอื่ ตัวยา ส่วนท่ใี ช้ ชอ่ื ละติน ชอื่ วิทยาศาสตร์ 351 พุทรา 352 พทุ รา ใบ* Ziziphi Mauritianae Folium Ziziphus mauritiana Lam. 353 พมุ เรียงบ้าน ราก Ziziphi Mauritianae Radix Ziziphus mauritiana Lam. 354 พุมเรยี งป่า ราก Lepisanthis Fruticosae Radix Lepisanthes fruticosa (Roxb.) Leenh. 355 เพกา ราก Lepisanthis Amoenae Radix Lepisanthes amoena (Hassk.) Leenh. 356 เพกา เปลือกต้น* Oroxyli Indici Cortex Oroxylum indicum (L.) Kurz 357 เพชรสังฆาต เปลอื กฝกั Oroxyli Indici Pericarpium Oroxylum indicum (L.) Kurz 358 โพกพาย เถา Cissi Quadrangularis Caulis Cissus quadrangularis L. 359 โพคาน เถา Pachygones Dasycarpae Caulis Pachygone dasycarpa Kurz 360 ไพล เถา Malloti Repandi Caulis Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. เหง้า Zingiberis Montani Rhizoma Zingiber montanum (J.Koenig) Link ex 361 ฟกั ข้าว A.Dietr. ราก* Momordicae Cochinchinensis Momordica cochinchinensis (Lour.) 362 ฟกั ขา้ ว Radix Spreng. ใบ Momordicae Cochinchinensis Momordica cochinchinensis (Lour.) 363 มดยอบ Folium Spreng. 364 มวกขาว ยางไม ้ Commiphorae Myrrhae Resina Commiphora myrrha (Nees) Engl. เถา Urceolae Laevigatae Caulis Urceola laevigata (Juss.) D.J.Middleton 365 มวกแดง & Livsh. เถา Urceolae Roseae Caulis Urceola rosea (Hook. & Arn.) D.J. 366 มหาสด�ำ Middleton เหงา้ Cyatheae podophyllae Cyathea podophylla (Hook.) Copel. 367 มหาหงิ ค์ุ/ Rhizoma หงิ คุ์ยางโพ ยางจากราก Assafoetidae Gumi Ferula assa-foetida L., 368 มะกรูด F. foetida (Bunge) Regel ผิวเปลือกผล* Citri Hystricis Exocarpium Citrus hystrix DC. 369 มะกรดู et Mesocarpium 370 มะกรดู ผล Citri Hystricis Fructus Citrus hystrix DC. 371 มะกลำ�่ เครือ ราก Citri Hystricis Radix Citrus hystrix DC. 372 มะกลำ่� เครอื ราก* Abri Precatorii Radix Abrus precatorius L. 373 มะกล�่ำตน้ ใบ Abri Precatorii Folium Abrus precatorius L. ราก* Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L. 374 มะกล�ำ่ ต้น Radix ใบ Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L. 375 มะกลำ่� ตน้ Folium เปลือกต้น Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L. Cortex กระทรวงสาธารณสุข 431

พชื วัตถุ ลำ� ดบั ชือ่ ตัวยา ส่วนท่ใี ช ้ ชอ่ื ละตนิ ช่อื วิทยาศาสตร์ 376 มะกล่ำ� ใหญ่ เมล็ด Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L. Fructus 377 มะกอก เมล็ด Spondiatis Pinnatae Semen Spondias pinnata (L.f.) Kurz 378 มะกอกปา่ เมล็ด Spondiatis Pinnatae Semen Spondias pinnata (L.f.) Kurz 379 มะกา ใบ Brideliae Ovatae Folium Bridelia ovata Decne. 380 มะเกลอื ใบ* Diospyrotis Mollidis Folium Diospyros mollis Griff. 381 มะเกลือ ราก Diospyrotis Mollidis Radix Diospyros mollis Griff. 382 มะขาม ใบ* Tamarindi Folium Tamarindus indica L. 383 มะขาม เน้ือในฝัก Tamarindi Pulpa Tamarindus indica L. 384 มะขาม เปลอื กเมล็ด Tamarindi Endocarpium Tamarindus indica L. 385 มะขามปอ้ ม ผล* Phyllanthi Emblicae Fructus Phyllanthus emblica L. 386 มะขามปอ้ ม เน้อื ผล Phyllanthi Emblicae Phyllanthus emblica L. Pericarpium 387 มะขามปอ้ ม สารสกดั Phyllanthi Emblicae Extractum Phyllanthus emblica L. ความเข้มขน้ 25% 388 มะขามเปยี ก เน้ือในฝัก Tamarindi Pulpa Tamarindus indica L. 389 มะเขอื ข่นื ราก* Solani Aculeatissimi Radix Solanum aculeatissimum Jacq. 390 มะเขือขน่ื เมลด็ Solani Aculeatissimi Semen Solanum aculeatissimum Jacq. 391 มะคำ� ไก/่ ประค�ำไก่ ใบ* Putranjivae Roxburghii Folium Putranjiva roxburghii Wall. 392 มะค�ำไก่/ประคำ� ไก ่ เปลอื กต้น Putranjivae Roxburghii Cortex Putranjiva roxburghii Wall. 393 มะค�ำดคี วาย/ ผล* Sapindi Trifoliati Fructus Sapindus trifoliatus L. ประคำ� ดคี วาย 394 มะคำ� ดีควาย/ เปลอื กผล Sapindi Trifoliati Exocarpium Sapindus trifoliatus L. ประค�ำดีควาย 395 มะงวั่ ผวิ เปลอื กผล Citri Medicae Exocarpium Citrus medica L. et Mesocarpium 396 มะดัน ใบ Garciniae Schomburgkianae Garcinia schomburgkiana Pierre Folium 397 มะดกู /ดกู หนิ แก่น Siphonodonis Celastrinei Siphonodon celastrineus Griff. Lignum 398 มะดกู /ดกู หิน ราก* Siphonodonis Celastrinei Radix Siphonodon celastrineus Griff. 399 มะเดือ่ อุทุมพร ราก* Fici Racemosae Radix Ficus racemosa L. 400 มะเด่อื อุทุมพร ใบ Fici Racemosae Folium Ficus racemosa L. 401 มะตูม ผลอ่อน* Aegles Marmelotis Fructus Aegle marmelos (L.) Corrêa 432 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

พชื วัตถุ ลำ� ดบั ชื่อตัวยา สว่ นท่ีใช้ ชอ่ื ละตนิ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ 402 มะตูม 403 มะตูม ใบ Aegles Marmelotis Folium Aegle marmelos (L.) Corrêa 404 มะตมู ผิวเปลือกผล Aegles Marmelotis Pericarpium Aegle marmelos (L.) Corrêa 405 มะตูม ราก Aegles Marmelotis Radix Aegle marmelos (L.) Corrêa 406 มะตูมน่ิม เปลือกต้น Aegles Marmelotis Cortex Aegle marmelos (L.) Corrêa 407 มะตูมนมิ่ ผล* Aegles Marmelotis Fructus Aegle marmelos (L.) Corrêa 408 มะตมู บา้ น ราก Aegles Marmelotis Radix Aegle marmelos (L.) Corrêa 409 มะนาว ราก Aegles Marmelotis Radix Aegle marmelos (L.) Corrêa ผวิ เปลือกผล Citri x Aurantiifoliae Exocarpium Citrus x aurantiifolia (Christm.) Swingle 410 มะนาว et Mesocarpium 411 มะนาว ใบ Citri x Aurantiifoliae Folium Citrus x aurantiifolia (Christm.) Swingle 412 มะนาว ผลดอง Citri x Aurantiifoliae Fructus Citrus x aurantiifolia (Christm.) Swingle 413 มะปรางหวาน ราก* Citri x Aurantiifoliae Radix Citrus x aurantiifolia (Christm.) Swingle 414 มะพรา้ ว ราก Boueae Macrophyllae Radix Bouea macrophylla Griff. กาก (เนอ้ื ในผล Cocotis Nuciferae Cocos nucifera L. 415 มะพรา้ ว หลังคนั้ กะทิ) Endospermum 416 มะพร้าวไฟ ราก* Cocotis Nuciferae Radix Cocos nucifera L. เนอื้ มะพรา้ ว* Cocotis Nuciferae Cocos nucifera L. 417 มะพรา้ วไฟ Endospermum 418 มะพร้าวไฟ นำ�้ และเน้อื ผล Cocotis Nuciferae Semen Cocos nucifera L. 419 มะเฟือง กะลา Cocotis Nuciferae Lolica Cocos nucifera L. 420 มะไฟเดอื นห้า ใบ Averrhoae Carambolae Folium Averrhoa carambola L. 421 มะยม ราก Asclepiadis Curassavicae Radix Asclepias curassavica L. 422 มะยมผี ใบ Phyllanthi Acidi Folium Phyllanthus acidus (L.) Skeels (ผักหวานปา่ ) ใบ Melienthae Suavidis Folium Melientha suavis Pierre 423 มะระ 424 มะระข้ีนก ใบ Momordicae Charantiae Folium Momordica charantia L. 425 มะรมุ ใบ Momordicae Charantiae Folium Momordica charantia L. 426 มะรมุ เปลือกต้น* Moringae Oleiferae Cortex Moringa oleifera Lam. 427 มะรุม ฝกั Moringae Oleiferae Fructus Moringa oleifera Lam. 428 มะลิ ราก Moringae Oleiferae Radix Moringa oleifera Lam. 429 มะแวง้ เครือ ดอก Jasmini Sambaci Flos Jasminum sambac (L.) Aiton 430 มะแว้งเครอื ผล* Solani Trilobati Fructus Solanum trilobatum L. 431 มะแวง้ ต้น ราก Solani Trilobati Radix Solanum trilobatum L. 432 มะแวง้ ตน้ ผล* Solani Violacei Fructus Solanum violaceum Ortega ราก Solani Violacei Radix Solanum violaceum Ortega กระทรวงสาธารณสุข 433

พืชวัตถุ ล�ำดับ ชื่อตัวยา ส่วนท่ีใช้ ชอื่ ละตนิ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ 433 มะหาด แกน่ Artocarpi Lacuchae Lignum Artocarpus lacucha Buch.-Ham. 434 มะอกึ ราก Solani Stramoniifolii Radix Solanum stramoniifolium Jacq. 435 ม้ากระทบื โรง เถา Fici Foveolatae Caulis Ficus foveolata (Wall. ex Miq.) Miq. 436 มยุ แดง เปลอื กตน้ Dioecrescidis Erythrocladae Dioecrescis erythroclada (Kurz) Tirveng. Cortex 437 เมลด็ พรรณผักกาด เมล็ด Brassicae Nigrae Semen Brassica nigra (L.) W.D.J. Koch 438 แมงลัก ใบ* Ocimi x Citriodori Folium Ocimum × citriodorum Vis. 439 แมงลกั ทั้งตน้ Ocimi x Citriodori Herba Ocimum × citriodorum Vis. 440 แมงลัก ราก Ocimi x Citriodori Radix Ocimum × citriodorum Vis. 441 แมงลักคา ใบ Hyptidis Suaveolens Folium Hyptis suaveolens (L.) Poit. 442 โมกมนั เปลือกต้น Wrightiae Arboreae Cortex Wrightia arborea (Dennst.) Mabb. 443 โมกหลวง เปลือกต้น Holarrhenae Pubescentis Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don Cortex 444 ไม้เท้ายายมอ่ ม ราก* Clerodendri Indici Radix Clerodendrum indicum (L.) Kuntze 445 ไมเ้ ทา้ ยายม่อม ใบ Clerodendri Indici Folium Clerodendrum indicum (L.) Kuntze 446 ยั้ง หวั Smilacis Ovalifoliae Rhizoma Smilax ovalifolia Roxb. ex D.Don 447 ยาด�ำ ยางจากใบ Aloin Preparata Aloe vera (L.) Burm. f., A. ferox Mill. 448 ย่านาง ราก* Tiliacorae Triandrae Radix Tiliacora triandra (Colebr.) Diels 449 ยา่ นาง ใบ Tiliacorae Triandrae Folium Tiliacora triandra (Colebr.) Diels 450 ยาสบู ใบ Nicotianae Tabaci Folium Nicotiana tabacum L. 451 ยิงสม ราก Panacis Ginseng Radix Panax ginseng C.A. Mey. 452 ย่สี ุ่น ดอก Rosae x Damascenae Flos Rosa × damascena Herrm. 453 รงทอง ยางจากต้น Gambogia Resina Garcinia hanburyi Hook.f. 454 ระงบั /ระงับพษิ ใบ* Breyniae Glaucae Folium Breynia glauca Craib 455 ระงับ/ระงับพษิ ราก Breyniae Glaucae Radix Breynia glauca Craib 456 ระย่อม ราก Rauvolfiae Serpentinae Radix Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz 457 รัก ใบ Glutae Usitatae Folium Gluta usitata (Wall.) Ding Hou 458 รักขาว ใบ Cerberae Manghas Folium Cerbera manghas L. 459 รางแดง เถา Ventilaginis Denticulatae Caulis Ventilago denticulata Willd. 460 ราชดัด ผล Bruceae Fructus Brucea javanica (L.) Merr. 461 ราชพฤกษ์ เนอ้ื ในฝัก* Cassiae Javanicae Fructus Cassia javanica L. 462 ราชพฤกษ์ เปลือกตน้ Cassiae Javanicae Cortex Cassia javanica L. 463 เรว่ เมลด็ Wurfbainiae Uliginosae Semen Wurfbainia uliginosa (J.Koenig) Giseke 464 เร่วหอม เมลด็ Etlingerae Puniceae Semen Etlingera punicea (Roxb.) R.M.Sm. 465 โรกขาว เปลอื กต้น Tamilnadiae Uliginosae Cortex Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre 434 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

พชื วัตถุ ล�ำดบั ชอื่ ตัวยา สว่ นที่ใช ้ ชือ่ ละติน ช่อื วทิ ยาศาสตร์ 466 โรกแดง เปลือกต้น Dioecrescidis Erythrocladae Dioecrescis erythroclada (Kurz) Tirveng. Cortex 467 ละมดุ สดี า เมล็ด Madhucae Esculentae Semen Madhuca esculenta Fletcher 468 ลำ� พนั /ล�ำพนั แดง/ เหง้า Enhali Acoroidis Rhizoma Enhalus acoroides (L.f.) Royle ลำ� พันหางหมู 469 ลำ� โพง ราก* Daturae Metelis Radix Datura metel L. 470 ล�ำโพง ใบ Daturae Metelis Folium Datura metel L. 471 ล�ำโพง ผล Daturae Metelis Fructus Datura metel L. 472 ลำ� โพงกาสลกั ราก* Daturae Metelis Radix Datura metel L. var. fastuosa Danert. 473 ล�ำโพงกาสลัก ใบ Daturae Metelis Folium Datura metel L. var. fastuosa Danert. 474 ลำ� โพงกาสลัก ผล Daturae Metelis Fructus Datura metel L. var. fastuosa Danert. 475 ล�ำโพงแดง ผล Daturae Metelis Fructus Datura metel L. var. fastuosa Danert. 476 ลน้ิ เสือ ท้ังตน้ Fici Pumilae Herba Ficus pumila L. 477 ลูกจนั ทน ์ เมล็ด Myristicae Fragrantis Semen Myristica fragrans Houtt. 478 ลูกชีลอ้ ม ผล Oenanthes Javanicae Fructus Oenanthe javanica (Blume) DC. 479 ลกู ชลี า/ลกู ผกั ชี ผล Coriandri Sativi Fructus Coriandrum sativum L. 480 ลูกซัด เมลด็ Trigonellae Semen Trigonella foenum-graecum L. 481 ลกู เอน็ ผล Cardamomi Fructus Elettaria cardamomum (L.) Maton 482 เลบ็ ครฑุ ใบ Polysciatis Fruticosae Folium Polyscias fruticosa (L.) Harms 483 เลบ็ มอื นาง ราก Combreti Indici Radix Combretum indicum (L.) DeFilipps 484 เล่ียน ใบ* Meliae Azedarach Folium Melia azedarach L. 485 เลี่ยน เปลือกและใบ Meliae Azedarach Cortex Melia azedarach L. et Folium 486 โลดทะนง ราก Trigonostemonis Reidioidis Trigonostemon reidioides (Kurz) Craib Radix 487 โลด เปลือกตน้ Aporosae Villasae Cortex Aporosa villosa (Lindl.) Baill. 488 ว่านกบี แรด เหงา้ และ Angiopteridis Evectae Rhizoma Angiopteris evecta (G.Forst.) Hoffm. โคนก้านใบ 489 ว่านชกั มดลูก เหง้า Curcumae Comosae Rhizoma Curcuma comosa Roxb. 490 วา่ นนำ้� เหงา้ * Acori Calami Rhizoma Acorus calamus L. 491 วา่ นน�้ำ ใบ Acori Calami Folium Acorus calamus L. 492 ว่านนางค�ำ เหงา้ Curcumae Aromaticae Rhizoma Curcuma aromatica Salisb. 493 วา่ นเปราะ เหง้า Kaempferiae Galangae Rhizoma Kaempferia galanga L. 494 วา่ นมหาเมฆ เหงา้ Curcumae Aeruginosae Rhizoma Curcuma aeruginosa Roxb. กระทรวงสาธารณสขุ 435

พืชวัตถุ ลำ� ดบั ชอื่ ตัวยา สว่ นทใี่ ช ้ ชื่อละตนิ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ 495 วา่ นรอ่ นทอง เหง้า Ludisiae Discoloris Rhizoma Ludisia discolor (Ker Gawl.) Blume 496 วา่ นหางชา้ ง ใบ Iridis Domesticae Folium Iris domestica (L.) Goldblatt & Mabb. 497 ว่านหางช้าง ราก* Iridis Domesticae Radix Iris domestica (L.) Goldblatt & Mabb. 498 สน แกน่ Pini Merkusii Lignum, P. merkusii Jungh. & de Vriese, Pini Kesiyae Lignum P. kesiya Royle ex Gordon 499 สน ยางไม้ Pini Resina Pinus merkusii Jungh. & de Vriese, P. kesiya Royle ex Gordon 500 สนเทศ แก่น Platycladi Orientalidis Lignum Platycladus orientalis (L.) Franco 501 สนนุ่ /สนุ่นนำ�้ เปลอื กต้น Salicis Tetraspermae Cortex Salix tetrasperma Roxb. 502 ส้มกุ้ง/สม้ กุ้งใหญ ่ ราก Ampelocissi Martinii Radix Ampelocissus martini Planch. 503 ส้มกงุ้ นอ้ ย ราก Grewiae Sinuatae Radix Grewia sinuata Wall. ex Mast. 504 ส้มกุ้งใหญ่/ ราก Ampelocissi Martinii Radix Ampelocissus martini Planch. สม้ กุ้ง 505 ส้มเขียวหวาน ผิวเปลือกผล Citri Reticulatae Exocarpium Citrus reticulata Blanco et Mesocarpium 506 ส้มจนี ผวิ เปลอื กผล Citri x Aurantii Exocarpium Citrus x aurantium L. et Mesocarpium 507 ส้มซา่ ผิวเปลือกผล Citri x Aurantii Exocarpium Citrus x aurantium L. et Mesocarpium 508 ส้มตรงั กานู ผวิ เปลอื กผล Citri x Aurantii Exocarpium Citrus x aurantium L. et Mesocarpium 509 สม้ จุก ผวิ เปลอื กผล Citri Reticalatae Exocarpium Citrus reticulata Blanco et Mesocarpium 510 สม้ ป่อย ใบ* Senegaliae Rugatae Folium Senegalia rugata (Lam.) Britton & Rose 511 ส้มปอ่ ย ฝกั Senegaliae Rugatae Fructus Senegalia rugata (Lam.) Britton & Rose 512 ส้มโอ ผวิ เปลอื กผล Citri Maximae Exocarpium Citrus maxima (Burm.) Merr. et Mesocarpium 513 สมอดีงู ผล* Terminaliae Citrinae Fructus Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb. 514 สมอดีงู เนื้อผล Terminaliae Citrinae Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb. Pericarpium 515 สมอทะเล ผล* Shirakiopsis Indicae Fructus Shirakiopsis indica (Willd.) Esser 516 สมอทะเล เนื้อผล Shirakiopsis Indicae Shirakiopsis indica (Willd.) Esser Pericarpium 517 สมอทะเล ใบ Shirakiopsis Indicae Folium Shirakiopsis indica (Willd.) Esser 436 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

พืชวัตถุ ลำ� ดับ ช่ือตัวยา ส่วนทใ่ี ช้ ช่อื ละตนิ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ 518 สมอเทศ ผล* Terminaliae Chebulae Fructus Terminalia chebula Retz. Importa 519 สมอเทศ เนอื้ ผล Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz. Pericarpium Importa 520 สมอไทย ผล* Terminaliae Chebulae Fructus Terminalia chebula Retz. 521 สมอไทย เนอ้ื ผล Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz. Pericarpium 522 สมอไทย เปลอื กตน้ Terminaliae Chebulae Cortex Terminalia chebula Retz. 523 สมอนำ้� เนอ้ื ผล Terminaliae Citrinae Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb. Pericarpium 524 สมอฝา้ ยเทศ ผลออ่ น Gossypii Herbacei Fructus Gossypium herbaceum L. 525 สมอพเิ ภก ผล* Terminaliae Belliricae Fructus Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. 526 สมอพิเภก เน้ือผล Terminaliae Belliricae Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. Pericarpium 527 สมอร่องแรง่ เนื้อผล Terminaliae Pericarpium Terminalia sp. 528 สม ี ใบ Sesbaniae Folium Sesbania sesban (L.) Merr. 529 สมุลแวง้ เปลอื กตน้ Cinnamomi Bejolghotae Cortex Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet 530 สรรพพิษ/ ผล Sophorae Tomentosae Fructus Sophora tomentosa L. สารพัดพิษ 531 สลอด เมลด็ * Crotonis Tiglii Semen Croton tiglium L. 532 สลอด ใบ Crotonis Tiglii Folium Croton tiglium L. 533 สลอด ราก Crotonis Tiglii Radix Croton tiglium L. 534 สลัดได ยางจากตน้ Euphorbiae Antiquori Latex Euphorbia antiquorum L. 535 สลัดได ต้น Euphorbiae Antiquori Lignum Euphorbia antiquorum L. 536 สวาด ใบ Caesalpiniae Bonducis Folium Caesalpinia bonduc (L.) Roxb. 537 สะแกแสง ใบ Canangae Brandisianae Folium Cananga brandisiana (Pierre) Saff. 538 สะคา้ น เถา* Piperis Wallichii Caulis Piper wallichii (Miq.) Hand.-Mazz. 539 สะคา้ น ใบ Piperis Wallichii Folium Piper wallichii (Miq.) Hand.-Mazz. 540 สะเดา ใบ* Azadirachtae Indicae Folium Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton 541 สะเดา กา้ นใบ Azadirachtae Indicae Petiolus Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton 542 สะเดา เปลอื กตน้ Azadirachtae Indicae Cortex Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton กระทรวงสาธารณสุข 437

พืชวตั ถุ ลำ� ดับ ชอ่ื ตวั ยา สว่ นทใี่ ช ้ ช่อื ละติน ชอ่ื วิทยาศาสตร์ 543 สะเดา ดอก Azadirachtae Indicae Flos Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton 544 สะเดา ราก Azadirachtae Indicae Radix Azadirachta indica A. Juss. var. siamensis Valeton 545 สะเดาดิน ราก Glini Oppositifolii Radix Glinus oppositifolius (L.) Aug.DC. 546 สะบา้ เน้ือในเมล็ด Entadae Rheedeii Semen Entada rheedeii Spreng. 547 สะบ้ามอญ เนือ้ ในเมล็ด Entadae Rhaseoloidis Semen Entada phaseoloides (L.) Merr. 548 สะระแหน่ ทั้งต้น Menthae Herba Mentha × villosa Huds. 549 สกั แก่น Tectonae Grandis Lignum Tectona grandis L.f. 550 สักข ี แกน่ Maclurae Cochinchinensis Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner Lignum 551 สงั กรณ ี ราก Barleriae Strigosae Radix Barleria strigosa Willd. 552 สัตบงกช ดอก Nelumbinis Flos Nelumbo nucifera Gaertn. 553 สนั พร้านางแอ เปลือกต้น Caralliae Brachiatae Cortex Carallia brachiata (Lour.) Merr. 554 สันพร้ามอญ ใบ Justiciae Gendarussae Folium Justicia gendarussa Burm.f. 555 สนั พร้าหอม ใบ Eupatorii Fortunei Folium Eupatorium fortunei Turcz. 556 สาบเสือ ตน้ และราก Chromolaenae Odoratae Chromolaena odorata (L.) R.M.King Herba et Radix & H.Rob. 557 สามสบิ ราก Asparagi Racemosi Radix Asparagus racemosus Willd. 558 สารพดั พิษ/ ผล Sophorae Tomentosae Fructus Sophora tomentosa L. สรรพพิษ 559 สารภี ดอก Mammeae Siamensis Flos Mammea siamensis (Miq.) T. Anderson 560 ส�ำโรง เปลอื กตน้ Sterculiae Foetidae Cortex Sterculia foetida L. 561 สีเสยี ด/สีเสียดไทย สงิ่ สกดั Catechi Extractum Senegalia catechu (L.f.) P.J.H.Hurter จากแกน่ & Mabb. 562 สีเสียดเทศ สงิ่ สกัดจาก Gambir Extractum Uncaria gambir (W.Hunter) Roxb. ใบและกงิ่ 563 สเี สียดไทย/สเี สียด สง่ิ สกัด Catechi Extractum Senegalia catechu (L.f.) P.J.H.Hurter จากแก่น & Mabb. 564 สรุ ามฤต แก่น Cocculi Laurifoli Cortex Cocculus laurifolius DC. 565 เสนียด ใบ* Justiciae Adhatodae Folium Justicia adhatoda L. 566 เสนียด ราก Justiciae Adhatodae Radix Justicia adhatoda L. 567 แสมทะเล แกน่ Avicenniae Marinae Lignum Avicennia marina (Forssk.) Vierh. 568 แสมสาร แกน่ Sennae Garrettianae Lignum Senna garrettiana (Craib) H.S. Irwin & Barneby 569 หญ้าเกล็ดหอย ท้งั ตน้ Gronae Triflorae Herba Grona triflora (L.) H. Ohashi & K.Ohashi 438 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

พชื วตั ถุ ล�ำดับ ช่อื ตัวยา สว่ นทใ่ี ช ้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์ 570 หญ้าคา ราก Imperatae Cylindricae Rhizoma Imperata cylindrica (L.) P.Beauv. 571 หญ้าชนั กาด หวั Panici Rapensi Rhizoma Panicum repens L. 572 หญา้ ไซ ทง้ั ตน้ Leersiae Hexandrae Herba Leersia hexandra Sw. 573 หญ้าตีนนก ท้งั ต้น Digitoriae Ciliaridis Herba Digitaria ciliaris (Retz.) Koeler 574 หญ้าใตใ้ บ ทั้งตน้ Phyllanthi Urinariae Herba Phyllanthus urinaria L. (ชนดิ เขยี ว) 575 หญา้ น้�ำดบั ไฟ ท้งั ตน้ * Lindenbergiae Philippensis Lindenbergia philippensis (Cham. & Herba Schltdl.) Benth. 576 หญา้ น้ำ� ดับไฟ ใบ Lindenbergiae Philippensis Lindenbergia philippensis (Cham. & Folium Schltdl.) Benth. 577 หญ้าปากควาย ทง้ั ตน้ Dactyloctenii Aegyptii Herba Dactyloctenium aegyptium (L.) Willd. 578 หญ้าฝรนั่ เกสรเพศเมีย Croci Stigma Crocus sativus L. 579 หญา้ พันงแู ดง ราก Cyathulae Prostratae Radix Cyathula prostrata (L.) Blume 580 หญ้าแพรก ทั้งตน้ Cynodonis Dactylonis Herba Cynodon dactylon (L.) Pers. 581 หญ้ารงั กา ทง้ั ตน้ Cyperi Iriae Herba Cyperus iria L. 582 หญา้ หนวดแมว ท้ังตน้ Orthosiphonis Herba Orthosiphon aristatus (Blume) Miq. 583 หนอนตายหยาก หัว Clitoriae Macrophyllae Radix Clitoria macrophylla Wall. ex Benth. 584 หนาด ใบ* Blumeae Balsamiferae Folium Blumea balsamifera (L.) DC. 585 หนาด ราก Blumeae Balsamiferae Radix Blumea balsamifera (L.) DC. 586 หนามเกยี่ วไก่ ใบ Capparidis Sepiariae Folium Capparis sepiaria L. 587 หมาก ขว้ั ก้านชอ่ ผล Arecae Catechi Pedunculatum Areca catechu L. 588 หมาก ราก* Arecae Catechi Radix Areca catechu L. 589 หมากผ้ ู ใบ Cordylines Fruticosae Folium Cordyline fruticosa (L.) A.Chev. 590 หมากเมยี ใบ Cordylines Fruticosae Folium Cordyline fruticosa (L.) A.Chev. 591 หมากสง เปลือกผล Arecae Catechi Pericarpium Areca catechu L. 592 หล่อฮังกว๊ ย ผล Siraitiae Fructus Siraitia grosvenorii (Swingle) C. Jeffrey ex A.M.Lu & Zhi Y.Zhang 593 หว้า เปลือกต้น Syzygii Cuminii Cortex Syzygium cumini (L.) Skeels 594 หวายขม ราก Calami Viminalidis Radix Calamus viminalis Willd. 595 หวายตะคา้ เถา Calami Caesii Caulis Calamus caesius Blume 596 หวายลิง ราก Flagellariae Indicae Radix Flagellaria indica L. 597 หอม หัว Allii Ascalonici Bulbus Allium ascalonicum L. 598 หอมแดง หัว Eleutherinae Bulbosae Bulbus Eleutherine bulbosa (Mill.) Urb. 599 หวั ลงิ ทัง้ 5 Sarcolobi Globosi Herba Sarcolobus globosus Wall. 600 หัสคุณ/หสั คุณไทย ราก Holarrhenae Curtisii Radix Holarrhena curtisii King & Gamble กระทรวงสาธารณสขุ 439

พืชวัตถุ ล�ำดับ ช่ือตวั ยา ส่วนที่ใช้ ชอ่ื ละติน ชอ่ื วิทยาศาสตร์ 601 หสั คุณเทศ ราก Kleinhoviae Hospitae Radix Kleinhovia hospita L. 602 หสั คุณไทย/หัสคณุ ราก Holarrhenae Curtisii Radix Holarrhena curtisii King & Gamble 603 หสั ด�ำเทศ แกน่ Alsophilae Giganteae Lignum Alsophila gigantea Wall. ex Hook. 604 หางไหลแดง เถา Derridis Ellipticae Caulis Derris elliptica (Wall.) Benth. 605 หงิ คยุ์ างโพ/ ยางจากราก Assafoetidae Gumi Ferula assa-foetida L., มหาหงิ ค ์ุ F. foetida (Bunge) Regel 606 เหงือกปลาหมอ ทัง้ ตน้ Acanthi Ebracteati Herba, Acanthus ebracteatus Vahl, Acanthi Illicifolii Herba Acanthus ilicifolius L. 607 เหด็ มูลโค ทงั้ ตน้ Copelandiae Cyanescensidis Copelandia cyanescens (Berk. & Boletus Broome) Singer 608 เห็ดร่างแห ทัง้ ต้น Phalli Indusiati Boletus Phallus indusiatus Vent. 609 เหมอื ดคน ราก Scleropyri Pentandri Radix Scleropyrum pentandrum (Dennst.) Mabb. 610 แห้วไทย หัว Cyperi Esculenti Cormus Cyperus esculentus L. 611 แห้วหมู เหง้า Cyperi Rhizoma Cyperus rotundus L. 612 โหระพา ใบ* Ocimi Basilici Folium Ocimum basilicum L. 613 โหระพา ผล Ocimi Basilici Fructus Ocimum basilicum L. 614 โหราเดอื ยไก่ ราก Aconiti Laterlis Radix Preparata Aconitum carmichaeli Debeaux 615 โหราท้าวสุนขั ท้งั ตน้ Balanophorae Abbreviatae Balanophora abbreviata Blume Herba 616 อบเชย/อบเชยไทย เปลือกตน้ Cinnamomi Cortex Cinnamomum iners (Reinw. ex Nees & T. Nees) Blume 617 อบเชยญวน เปลอื กตน้ Cinnamomi Loureirii Cortex Cinnamomum loureiroi Nees 618 อบเชยเทศ เปลือกตน้ Cinnamomi Veri Cortex Cinnamomum verum J. Presl 619 อบเชยไทย/อบเชย เปลือกต้น Cinnamomi Cortex Cinnamomum iners (Reinw. ex Nees & T. Nees) Blume 620 องั กาบ ใบ Barleriae Cristatae Folium Barleria cristata L. 621 อ้ายเหนียว ราก Pleurolobi Gangetici Radix Pleurolobus gangeticus (L.) J. St.-Hil. ex H. Ohashi & K. Ohashi 622 อุตพิด หวั Typhonii Trilobati Cormus Typhonium trilobatum (L.) Schott 623 เอ้ืองเพด็ ม้า ทง้ั ตน้ Persicariae Chinensis Herba Persicaria chinensis (L.) H. Gross 440 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สัตว์วตั ถุ ล�ำดบั ช่อื ตวั ยา สว่ นทใ่ี ช ้ ช่อื สามัญ / ช่อื ละตนิ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ 1 ขผ้ี ง้ึ /ขี้ผึ้งแข็ง - beeswax Apis dorsata Fabricius, A. mellifera Linnaeus Laccifera chinensis Mahdihassan 2 คร่งั สารคดั หลัง่ Lacca Resina Viverricula malaccensis (Gmelin) จากครัง่ ตัวผู้ Moschus moschiferus Linnaeus, M. berezovskii Flerov, 3 ชะมด/ชะมดเชด็ สารคดั หลงั่ Civetta M. chrysogaster (Hodgson), M. fuscus Li จากต่อมกลิน่ Python reticulatus (Schneider) Bos taurus Linnaeus 4 ชะมดเชยี ง สารคัดหลั่ง Moschus Malayemys macrocephala (Gray) จากตอ่ มกลิ่น Apis dorsata Fabricius, A. mellifera Linnaeus fish oil from Pangasianodon hypophthalmus Cypraea moneta Linnaeus Cypraea obvelata Lammarck 5 ดีงูเหลอื ม ถงุ นำ้� ดี Pythonis Reticulati Fellis Filopaludina cambodjensis (Mabille & Le Mesle), 6 ดีวัว ถุงน้�ำดี Botis Tauri Vesicae Fellis F. munensis (Brandt), F. martensi (Frauenfeld) 7 เต่านา หัว Malayemidis Macrocephalae Anadara granosa Linnaeus Physeter catodon Linnaeus Caput 8 นำ้� ผงึ้ - honey/mel 9 น�้ำมันปลา นำ้� มัน fish oil/Piscis Oleum 10 เบ้ยี จ่ัน เปลือกหอย money cowrie 11 เบยี้ ผ้ ู เปลอื กหอย walled cowrie 12 หอยขม เปลือกหอย viviparid snail 13 หอยแครง เปลือกหอย cockle 14 อำ� พนั ทอง น�้ำกาม ambergris ของวาฬ กระทรวงสาธารณสุข 441

ล�ำดับ ชอื่ ตวั ยา ธาตวุ ตั ถุ ชอ่ื ทางเคมี / ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ 1 กระแจะตะนาว ชอื่ สามญั - 2 การบูร d-camphor, dl-camphor 3 กำ� มะถัน/กำ� มะถันเหลอื ง/ Krachae powder sulphur สพุ รรณถัน camphor 4 เกลด็ สะระแหน ่ sulphur l-menthol, dl-menthol 5 เกลือ sodium chloride 6 เกลอื กะตงั menthol urea 7 เกลือฝอ่ sea salt prepared sodium chloride 8 เกลือพิก urea prepared sodium chloride 9 เกลือเมด็ Fo salt crude sodium chloride 10 เกลือวกิ Pik salt prepared sodium chloride 11 เกลือสมทุ ร rock salt sodium chloride 12 เกลอื สมทุ ร ี Wik salt prepared sodium chloride 13 เกลอื สนิ เธาว ์ sea salt prepared sodium chloride 14 เกลอื สินเธาว ์ Samuttri salt sodium chloride 15 ขันฑสกร Sintao salt - 16 ข้าวหมาก rock salt - 17 จุณข้ีเหลก็ precipitated nectar ferric oxide 18 จนุ สี fermented glutinous rice copper sulfate 19 ดนิ คาวี iron powder impured silicon dioxide 20 ดินประสิว chalcanthie crude potassium nitrate 21 ดนิ ประสวิ ขาว Kawi earth pure potassium nitrate 22 ดนิ หมารา่ crude saltpetre impured silicon dioxide 23 ดีเกลือ saltpetre sodium sulfate decahydrate 24 ดเี กลอื ฝรั่ง Mara earth magnesium sulfate heptahydrate 25 น�้ำตาลกรวด Glauver’s salt sucrose 26 น�้ำตาลโตนด epsom salt sucrose 27 น�้ำตาลทราย crystalline sugar sucrose 28 น�้ำตาลทรายแดง palmyra palm sugar sucrose 29 น�ำ้ ประสานทอง table sugar sodium borate 30 น�้ำปูนใส brown sugar saturated calcium hydroxide solution 31 นำ้� ส้มสายชู borax acetic acid 32 ปนู ขาว limewater calcium oxide vinegar lime 442 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ลำ� ดับ ช่อื ตัวยา ธาตวุ ัตถุ ชอื่ ทางเคมี / ชอ่ื วิทยาศาสตร์ 33 ปูนแดง ชอื่ สามญั calcium oxide 34 แปง้ ขา้ วหมาก - 35 พิมเสน redlime d-borneol, dl-borneol 36 สารสม้ fermented rice flour hydrated aluminium ammonium Borneol camphor sulfate 37 สพุ รรณถนั /กำ� มะถัน/ ammonium alum sulphur กำ� มะถนั เหลอื ง 38 สุรา sulphur ethyl alcohol 39 หมึกหอม - liquor prepared Chinese ink กระทรวงสาธารณสขุ 443

444 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ภาคผนวก ๒ การเตรยี มตวั ยากอ่ นใชป้ รุงยา กระทรวงสาธารณสุข 445

ภาคผนวก 2 การเตรียมตวั ยากอ่ นใช้ปรุงยา ยาไทย หรอื ยาแผนไทย มักใชเ้ ปน็ ยาตำ� รบั ซง่ึ แตล่ ะตำ� รบั ประกอบดว้ ยตวั ยาต่าง ๆ ในการเตรียมตัวยา เพ่ือใช้ปรุงยาตามต�ำรับยาน้ันมีความส�ำคัญมาก เนื่องจากตัวยาสมุนไพรหลายชนิดต้องผ่านกระบวนการบางอย่าง ก่อนที่แพทย์ปรุงยาจะน�ำมาใช้ปรุงยาได้ ทั้งนี้ เน่ืองจากตัวยามีฤทธ์ิแรงเกินไป ไม่สะอาด อาจมีการปนเปื้อนของ เชื้อโรค มีปริมาณความช้ืนมากเกินไป หรือมีพิษมาก จึงต้องผ่านกระบวนการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์เสียก่อน เพอ่ื ความปลอดภัยในการนำ� มาใช้ ประสะ เมือ่ อยใู่ นชือ่ ยา ค�ำ ประสะ มคี วามหมาย ๒ อย่าง คอื ท�ำให้สะอาด บรสิ ทุ ธิ์ หรือมีมากขน้ึ เช่น ยาประสะน้�ำนม หมายถึง ยาที่ท�ำให้น้�ำนมสะอาดขึ้น อีกความหมายหนึ่งคือ มีส่วนผสมเท่ายาอ่ืนทั้งหมด เช่น ยาประสะกะเพรา หมายความว่า ยาน้ันมีกะเพราเท่าตัวยาอ่ืนท้ังหมดรวมกัน แต่ในความหมายที่เกี่ยวกับ การเตรยี มตัวยากอ่ นน�ำไปใช้ปรงุ ยานน้ั ค�ำ ประสะ หมายถึง การท�ำใหพ้ ิษของตัวยานั้นลดลง เช่น ประสะยางสลัดได ยางตาตมุ่ ยางหัวเข้าค่า สะตุ ในศาสตร์ด้านเภสัชกรรมแผนไทย ค�ำ สะตุ อาจหมายถึง ท�ำให้ตัวยาแห้งและมีฤทธ์ิแรงข้ึน (เช่น การสะตุสารสม้ ), ทำ� ใหพ้ ษิ ของตัวยาลดลง (เช่น การสะตหุ วั งเู ห่า), ทำ� ให้ตวั ยาแหง้ และปราศจากเช้อื (เช่น การสะตุ ดินสอพอง) หรอื ท�ำให้ตัวยาน้นั สลายตวั ลง (เชน่ การสะตเุ หลก็ ) ฆ่าฤทธ์ิ หมายถึง ท�ำให้ความเป็นพิษของเคร่ืองยาบางอย่างลดลงหรือหมดไป จนน�ำไปใช้ปรุงยา ได้โดยไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ยา มักใช้กับตัวยาที่มีพิษมาก เช่น ลูกสลอด สารหนู ปรอท ชาด หรือใช้กับตัวอย่าง ทไ่ี ม่มพี ษิ เชน่ ชะมดเชด็ ซ่งึ เป็นการฆา่ กลนิ่ ฉนุ หรือดับกล่ินคาว ท�ำให้มชี ะมดเช็ดมีกล่นิ หอม สมนุ ไพรทต่ี อ้ งผ่านกระบวนการก่อนนำ� ไปปรุงยา มีดังนี้ 2.1 กระดาดขาว น�ำมาปงิ้ ไฟหรอื นง่ึ ก่อน จงึ นำ� ไปใช้ปรงุ ยาได้ 2.2 กระดาดแดง นำ� มาปิ้งไฟหรอื นง่ึ ก่อน จึงนำ� ไปใชป้ รุงยาได้ 2.3 กลอย ถา้ เปน็ ตัวยาสด ให้หน่ั เปน็ แวน่ บาง ๆ น�ำมาล้างน�้ำสะอาด 7 ครั้ง แล้วน�ำมาตากหรืออบใหแ้ หง้ คว่ั ดว้ ย ไฟอ่อน ๆ พอสกุ จึงน�ำมาปรุงยาได้ 446 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

2.4 กญั ชา ค่วั ดว้ ยไฟอ่อน ๆ พอมกี ลิ่นหอม จงึ นำ� มาปรุงยาได้ 2.5 เกลือ นำ� เกลือลา้ งใหส้ ะอาด ใสใ่ นหมอ้ ดิน เทน�้ำใส่ให้เกลือละลาย แล้วนำ� มาตง้ั ไฟจนแหง้ และฟู หรอื ควั่ เกลือ ที่อุณหภูมสิ ูง โดยนำ� เกลือใส่ในหมอ้ ดิน ตง้ั ไฟให้ความชน้ื และนำ้� ระเหยออกหมด จนเกลือกรอบจงึ น�ำมาใช้ปรงุ ยา 2.6 โกฐน�ำ้ เต้า นำ� โกฐนำ้� เตา้ มาหั่นให้ขนาดเทา่ ๆ กนั ใสใ่ นลงั ถงึ ซึ่งมีผา้ ขาวห่อทฝี่ าลงั ถงึ เพือ่ ใหซ้ ับไอนำ�้ ทรี่ ะเหยขน้ึ มา น่ึงประมาณ ๓๐ นาที น�ำมาผ่งึ ให้แหง้ จงึ น�ำไปใช้ท�ำยาได้ 2.7 ข้ีเหลก็ (ใบ) น�ำไปต้มในน�้ำเดือด ๑๐๐ มิลลิลิตร ๒ ครั้ง ครั้งละ ๓ นาที หรือน�ำใบเพสลาดมาลนไฟพอตายน่ึง เพื่อลดพษิ จึงนำ� มาปรงุ ยา 2.8 เขา้ ค่า วิธีที่ 1 น�ำหวั เข้าคา่ ใสใ่ นถว้ ย ต้มน้ำ� ร้อนให้เดอื ด ชงกับหัวเขา้ ค่า ทง้ิ ไว้ให้เย็น คอ่ ย ๆ รินนำ้� ท้ิง แล้วใช้ น�้ำเดือดชงอกี ครง้ั จนหวั เข้าคา่ สุก จึงนำ� ไปใชป้ รงุ ยา วิธีที่ 2 นำ� หวั เขา้ คา่ ใสถ่ ว้ ย เตมิ นำ�้ เยน็ ลงไปเลก็ นอ้ ย ใชก้ ระทะตง้ั ไฟใสน่ ำ�้ ลงไป แลว้ นำ� ถว้ ยหวั เขา้ คา่ นนั้ ขึ้นต้งั ในกระทะ ปิดฝาต๋นุ อยา่ ให้น�ำ้ ในกระทะเขา้ ไปในถว้ ย เมือ่ หัวเขา้ ค่าสุกจึงน�ำไปใชป้ รุงยาได้ 2.9 ไคร้เครอื ค่วั ด้วยไฟอ่อน ๆ ให้สกุ จนเกอื บไหม้ จงึ น�ำมาปรุงยา 2.10 จณุ ขเ้ี หลก็ นำ� ผงเหลก็ ใสใ่ นหมอ้ ดนิ บบี นำ้� มะนาวลงไปใหท้ ว่ ม ยกขนึ้ ตง้ั ไฟออ่ น ๆ ไมต่ อ้ งปดิ ฝาหมอ้ จนนำ้� มะนาวแหง้ ท�ำแบบนี้ 7 ครง้ั จนผงเหลก็ กรอบ จงึ นำ� มาปรุงยาได้ 2.11 จุนสี ละลายจนุ สีในหม้อดนิ โดยต้งั ไฟอ่อน ๆ จนแห้งเปน็ ผงสีฟา้ อ่อน จึงน�ำมาปรงุ ยาได้ 2.1๒ ชะมดเชด็ ห่ันหัวหอมหรือผิวมะกรูดให้เป็นฝอยละเอียด ผสมกับชะมดเช็ด ใส่ลงบนใบพลูหรือช้อนเงิน น�ำไป ลนไฟเทียนจนชะมดละลายและหอม แลว้ กรองเอาน�ำ้ ชะมดเช็ดจงึ นำ� มาปรุงยาได้ กระทรวงสาธารณสขุ 447

2.1๓ ดองดงึ วธิ ที ี่ 1 นำ� ไปตม้ หรอื นงึ่ ใหส้ กุ ทกุ ครงั้ แล้วผงึ่ แดดหรืออบให้แหง้ จงึ นำ� มาปรุงยาได้ วิธีที่ 2 นำ� ไปปง้ิ ไฟให้พอสุก ไมไ่ หม้เกรียมจนเกินไป จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้ วธิ ีที่ 3 น�ำหัวดองดึงมาลา้ งให้สะอาด เทนำ้� ผ้งึ ใหท้ ว่ ม เคยี่ วในหม้อดินท่แี ตกแลว้ จนน้�ำผงึ้ งวดและแหง้ จึงนำ� มาปรงุ ยาได้ วิธที ่ี 4 นำ� ไปพรมเหล้า แล้วน�ำไปนง่ึ จากน้นั อบใหแ้ หง้ จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้ วิธที ่ี 5 น�ำไปแช่น�้ำขา้ ว จงึ นำ� มาปรุงยาได้ วิธีท่ี 6 นำ� ไปคั่วไฟในกระทะทองเหลอื ง ทค่ี วามรอ้ น 120 องศาเซลเซยี ส จึงนำ� มาปรงุ ยาได้ 2 .1๔ ดนิ ประสิว ต�ำดินประสิวให้ละเอียดพอควรใส่ในหม้อดินประมาณ 1 ใน 3 ของหม้อท่ีใช้สะตุ ไม่ใส่น้�ำ ตั้งเตาถ่าน ใช้ไฟอ่อน ๆ ไม่ต้องปดิ ฝาหมอ้ ดนิ รอจนดนิ ประสิวละลายแหง้ เปน็ แผ่น สขี าวขุ่น ทิง้ ใหเ้ ยน็ จึงนำ� มาปรงุ ยา 2.1๕ ตองแตก/ทนดี วธิ ีท่ี 1 น�ำตวั ยาไปค่วั ด้วยไฟออ่ น ๆ พอสกุ ไมใ่ หไ้ หม้ จงึ นำ� ไปปรงุ ยาได้ วิธที ี่ 2 ห่นั เปน็ ชิน้ เลก็ ๆ คลุกเคลา้ ดว้ ยสุราใหช้ ุ่มแล้วต้งั ไฟควั่ ใหแ้ หง้ จึงน�ำมาปรุงยาได้ 2.1๖ น้ำ� ประสานทอง น�ำน้�ำประสานทองใส่หม้อดินหรือกระทะ ตั้งไฟจนละลายและฟูขาวดีทั่วกัน ยกลงจากไฟ จึงน�ำมา ปรุงยาได้ 2.1๗ บกุ ถา้ เปน็ ตวั ยาสด ให้หน่ั เป็นแว่นบาง ๆ นำ� มาลา้ งน�ำ้ สะอาด 7 คร้งั แลว้ น�ำมาตากหรอื อบให้แหง้ ค่ัวด้วย ไฟอ่อน ๆ พอสุก จงึ นำ� มาปรุงยาได้ 2.1๘ บกุ รอ ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ น�ำมาล้างน้�ำสะอาด 7 ครั้ง แล้วน�ำมาตากหรืออบให้แห้ง ควั่ ด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุก จึงนำ� มาปรุงยาได้ 2.๑๙ บกุ คางคก ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ น�ำมาล้างน้�ำสะอาด 7 ครั้ง แล้วน�ำมาตากหรืออบให้แห้ง คัว่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ พอสกุ จึงนำ� มาปรงุ ยาได้ 2.2๐ เบ้ยี จน่ั วธิ ที ่ี 1 นำ� ตัวยาไปต�ำพอแหลก คัว่ ให้กรอบ เกือบไหม้ น�ำมาตำ� ให้เปน็ ผงละเอยี ด จึงน�ำมาปรุงยาได้ วิธีที่ 2 น�ำตัวยาใส่ในเตาถ่าน เผาจนตัวยาสุก กรอบ เป็นสีขาว น�ำมาต�ำให้ละเอียด หลังจากน้ัน นำ� ไปแรง่ ด้วยแร่งเบอร์ 60 จึงนำ� มาปรงุ ยาได้ 448 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

2.2๑ เบี้ยผู้ วิธที ่ี 1 น�ำตัวยาไปต�ำพอแหลก คั่วให้กรอบเกือบไหม้ จากน้ันน�ำมาต�ำให้เป็นผงละเอียด จึงน�ำมา ปรงุ ยาได้ วธิ ที ่ี 2 น�ำตัวยาใส่ในเตาถ่าน เผาจนตัวยาสุก กรอบ เป็นสีขาว น�ำมาต�ำให้ละเอียด หลังจากน้ัน น�ำไปแรง่ ด้วยแร่งเบอร์ 60 จึงน�ำมาปรุงยาได ้ 2.2๒ มดยอบ น�ำตวั ยาไปคัว่ ดว้ ยไฟอ่อน ๆ พอสุกกรอบ อย่าให้ไหม้ จึงน�ำมาปรุงยาได้ 2.2๓ มหาหิงค์ุ นำ� มหาหงิ คใ์ุ สห่ มอ้ ดนิ เอาใบกะเพราแดงใสน่ ำ้� ตม้ จนเดอื ด เทนำ�้ ใบกะเพราแดงขณะรอ้ น ๆ ลงในหมอ้ ดนิ เพอ่ื ละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองใหส้ ะอาด จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้ 2.2๔ มะกอก นำ� ตัวยาไปสมุ จึงน�ำไปใชป้ รุงยาได้ 2.2๕ มะกอกปา่ นำ� ตวั ยาไปสุม จึงนำ� ไปใช้ปรงุ ยาได้ 2.2๖ มะค�ำดีควาย น�ำตวั ยาไปสุม จึงน�ำไปใชป้ รุงยาได้ 2.2๗ ยาด�ำ วธิ ที ี่ 1 น�ำยาด�ำใสก่ ระทะทสี่ ะอาด คั่วไฟจนละลาย ทงิ้ ไวใ้ ห้เยน็ ยาดำ� จะกรอบ จงึ นำ� มาปรุงยา วิธีท่ี 2 นำ� ยาดำ� ใสก่ ระทะ บบี นำ�้ มะกรดู พอทว่ มตวั ยา ตงั้ บนเตาไฟออ่ น ๆ กวนใหแ้ หง้ แอป อยา่ ใหไ้ หม้ ท้ิงใหเ้ ยน็ จงึ น�ำมาปรงุ ยา วิธีท่ี 3 น�ำยาด�ำใสห่ มอ้ ดนิ เตมิ นำ้� เล็กน้อย ยกขน้ึ ตัง้ ไฟอ่อน ๆ จนตัวยาละลาย เหนยี วข้น ท้ิงให้เยน็ ยาด�ำจะกรอบ จึงน�ำมาปรงุ ยา 2.2๘ ยาสูบ (ใบ) ควั่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ พอมีกลนิ่ หอม จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้ ถ้าเปน็ ยาต้มไม่ตอ้ งคั่ว 2.๒๙ รงทอง วธิ ีที่ 1 น�ำรงทองมาบดเป็นผง บีบน�้ำมะกรูดใส่ลงจนปั้นได้ ห่อใบบัวหลวง ๗ ชั้น ปิ้งไฟอ่อน ๆ จนรงทองละลาย ใบบวั สุกเกรียม วิธที ี่ 2 น�ำรงทองต�ำเป็นผง ห่อใบบัวหลาย ๆ ใบ มัดให้แน่น ไม่ให้รงทองรั่วออกมาได้ น�ำมาปิ้งไฟ อ่อน ๆ จนรงทองละลาย ท้งิ ให้เย็น รงทองจะสกุ กรอบ จงึ น�ำมาท�ำยาได้ หรอื กระทรวงสาธารณสขุ 449

วธิ ที ี่ 3 น�ำรงทองต�ำเป็นผง ห่อใบข่าหลาย ๆ ใบ มัดให้แน่นไม่ให้รงทองรั่วออกมาได้ น�ำมาปิ้งไฟ ออ่ น ๆ จนรงทองละลาย ท้งิ ให้เย็น รงทองจะสกุ กรอบ จงึ นำ� มาท�ำยาได้ 2.3๐ ระยอ่ ม แช่นำ้� ซาวข้าว 3-๔ ชั่วโมง หรือพรมเหลา้ แล้วนำ� ใส่กระทะคัว่ ดว้ ยไฟออ่ น ๆ ใหส้ ุกเหลอื ง ไม่ให้ไหม้ 2.3๑ รกั ขา ว (ใบ) ตากหรืออบใหแ้ หง้ ค่ัวให้สุกด้วยไฟออ่ น ๆ ก่อนนำ� มาทำ� ยา จึงนำ� มาปรุงยา 2.3๒ ลำ� โพง/ ล�ำโพงกาสลกั ควั่ ไฟให้เหลอื งเกอื บจะไหม้ หรอื สมุ ในหมอ้ ดินจนเป็นถ่าน แล้วน�ำมาใสใ่ นตำ� รบั ยา 2.3๓ ลูกซดั เอาตัวยาไปคั่ว จึงนำ� ไปใชป้ รงุ ยา 2.3๔ สม้ ป่อย (ฝกั ) นำ� มาปิ้งไฟ จึงน�ำไปใชป้ รงุ ยาได้ 2.3๕ สมอทะเล (ใบ) น�ำใบสมอทะเลไปนึ่ง ตาก หรืออบให้แห้ง จึงจะน�ำมาใช้ปรุงยาได้ ส่วนกรณียาต้ม ใช้ใบสดได ้ โดยไมต่ อ้ งน่ึง 2.3๖ สลอด วิธกี ารฆา่ ฤทธสิ์ ลอดนัน้ ตำ� ราการแพทย์แผนไทยให้ไวห้ ลายแบบ หลายวธิ ี เช่น วธิ ีที่ ๑ ปอกเปลือกผลสลอด เอาเมล็ดออก ล้างน�้ำให้สะอาด หอ่ ผ้าขาวบาง ใสใ่ นหมอ้ ต้มกบั ขา้ วสาร หรอื ขา้ วเปลือก กวนจนแหง้ ท�ำซ้�ำอีก ๒ ครง้ั แลว้ ควั่ กบั น้�ำปลาจนเกรยี ม จากนัน้ เอามาห่อผา้ แลว้ ทบั ด้วยของหนกั จนน�้ำมนั ออก จงึ นำ� มาปรงุ ยา วธิ ที ี่ ๒ ใช้ผลสลอดปอกเปลือกแล้ว วันแรกต้มกับใบพลูแก วันท่ี ๒ ต้มกับใบชะพลู วันที่ ๓ ต้มกับ ใบพรกิ เทศ วนั ที่ ๔ ต้มกบั ใบมะขาม วันท่ี ๕ ต้มน�้ำเกลือ วนั ที่ ๖ ต้มกับข้าวสาร วนั ท่ี ๗ ตม้ กับมตู รโคด�ำ วธิ ีท่ี ๓ ใช้เมล็ดสลอด หอ่ ด้วยข้าวสกุ ป้นั เปน็ กอ้ น แล้วนำ� ไปเผาไฟอ่อน ๆ จนข้าวสกุ เกรียมจงึ นำ� มา ทำ� ยาได้ วธิ ีที่ 4 น�ำผลสลอดแช่น�้ำปลาร้าปากไหไว้ ๑ คืน แล้วยัดเข้าในผลมะกรูด จากนั้นเอาผลมะกรูด สมุ ในไฟแกลบใหร้ ะอุ แลว้ บดรวมกนั หรอื บางตำ� ราใชส้ ลอดยดั เขา้ ในมะกรดู หรอื มะนาว แลว้ เผาใหเ้ มลด็ สลอดเกรยี ม วธิ ีที่ 5 ปอกเปลือกสลอดให้หมด แช่น�้ำเกลือไว้ ๒ คืน แล้วจึงเอายัดในผลมะกรูด น�ำผลมะกรูด ใสใ่ นหม้อดิน ปดิ ฝาไมใ่ ส่น�ำ้ สมุ ในไฟแกลบจนสกุ แลว้ น�ำไปปรงุ ยาพรอ้ มกับผลมะกรูด วิธีท่ี 6 ตม้ สลอดกับใบมะขามและสม้ ป่อย (๑ กำ� มือ) และเกลือ (๑ กำ� มือ) ใหส้ ุก แลว้ ตากแดดใหแ้ ห้ง 450 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

วธิ ีที่ 7 ปอกเปลือกผลสลอด น�ำเมล็ดมาแช่น้�ำปลาร้าไว้คืน ๑ แล้วค่ัวให้เหลือง ใช้ผ้าห่อ ๕ ช้ัน ทบั เอานำ้� มันออก (ใช้ครกทบั ) วิธีท่ี 8 ใช้เน้ือเมล็ดสลอด ใส่ในลูกมะพร้าวนาฬิเก สุมไฟแกลบไว้ ๑ คืน จากน้ันทับน้�ำออกให้แห้ง แล้วคัว่ ใหเ้ กรยี ม วธิ ีท่ี 9 แกะเมลด็ สลอดเอาเปลือกออก ตม้ กับน�ำ้ มูตร ๑ วนั ตม้ กบั น�้ำมะพร้าว ๑ วัน ต้มกับข้าวสาร ๑ วนั ตม้ กบั น�ำ้ ออ้ ยแดง ๑ วนั ทบั น้�ำให้แห้ง แลว้ ตากแดดใหแ้ หง้ วิธีที่ ๑0 ปอกเปลือกผลสลอด แกะเอาเนื้อเมล็ดสลอด ห่อด้วยข้าวสุกให้มิด น�ำมาห่อด้วยผ้าขาว ต้มให้น�้ำแห้ง ๓ หน ตากแดดให้แห้ง แล้วเอาต้มด้วยใบมะขามให้น้�ำแห้ง ๑ ครั้ง ต้มด้วยใบส้มป่อยให้น้�ำแห้ง ๑ คร้ัง ต้มดว้ ยเกลือใหน้ �ำ้ แหง้ ๑ ครัง้ จากนน้ั ตากแดดให้แหง้ วธิ ที ่ี 11 การฆ่าฤทธิ์สลอดโดยน�ำผลสลอด ๑๐๘ เมล็ด ผ่าเอาเมล็ดละซีก บดให้ละเอียด แล้วทอด ในนำ้� มนั มะพร้าวไฟใหเ้ กรียม บางตำ� ราใชว้ ิธกี ารค่ัวใหเ้ มลด็ สลอดเกรียมแทน 2.3๗ สลดั ได วิธีที่ 1 น�ำยางสลัดไดใส่ในถ้วยทนความร้อน ต้มน้�ำร้อนให้เดือด ชงลงในถ้วยยาง กวนให้ทั่ว ทิ้งไว้ ให้เย็น ค่อย ๆ รินนำ้� ทงิ้ ท�ำแบบนี้ 7 ครงั้ จนนำ�้ ยางสุก เอานำ�้ ยางมาผึ่งให้แห้ง จงึ น�ำมาปรงุ ยาได้ วิธีที่ ๒ น�ำยางสลัดไดใส่ถ้วยทนความร้อน นึ่งในกระทะท่ีมีน้�ำ ใช้ไฟปานกลาง ปิดฝากระทะไม่ต้อง ปดิ ฝาถ้วยนำ�้ ยาง นึง่ แบบไข่ตุ๋น ระวงั อยา่ ให้น�้ำในกระทะกระเดน็ ลงในถ้วยยาง นง่ึ จนยางสุก นำ� ยางไปผึง่ แดดใหแ้ หง้ แล้วนำ� มายา่ งด้วยไฟอ่อน ๆ จึงน�ำมาปรงุ ยาได้ วิธที ี่ 3 น�ำตน้ สลัดได หน่ั เปน็ ช้ิน แลว้ ตากใหแ้ หง้ จึงนำ� มาปรงุ ยาได้ 2.3๘ สะบา้ มอญ นำ� ตวั ยาไปสุมกบั ไฟ จึงน�ำไปใชป้ รุงยาได้ 2.๓๙ สัก น�ำตวั ยาไปสุมกบั ไฟ จงึ น�ำไปใชป้ รงุ ยาได้ ถา้ ใสย่ าตม้ ไม่ตอ้ งสุมไฟ 2.4๐ สารส้ม สารสม้ ท่ใี ช้ทางยานน้ั มกั จะนำ� มาสะตุกอ่ นใช้ เรยี ก สารส้มสะตุ หรอื สารส้มสทุ ธิ โดยน�ำสารส้มมาบด ให้ละเอียด ใสใ่ นหมอ้ ดนิ หรอื กระทะเหลก็ ต้ังไฟจนสารสม้ ฟแู ละมสี ขี าว แลว้ จึงยกลงจากไฟ ทิ้งให้แห้ง 2.4๑ สเี สียดเทศ ถ้าใส่ยาผง ให้ทุบเป็นก้อนเล็ก ๆ ค่ัวด้วยไฟอ่อน ๆ ไม่ให้ไหม้ จึงน�ำมาปรุงยา ถ้าเข้ายาภายนอก ไมต่ ้องสะตุ 2.4๒ หวายตะค้า น�ำตัวยาไปสุมกบั ไฟ จึงน�ำไปใชป้ รงุ ยาได้ ถ้าใส่ยาต้ม ไม่ตอ้ งเอาไปสมุ ไฟ กระทรวงสาธารณสขุ 451

2.4๓ หอยขม 1) นำ� ตวั ยาใส่ในหม้อดินประมาณครึ่งหม้อ ปดิ ฝาต้งั ไฟถา่ น ใสถ่ ่านให้เต็มเตา ใช้ไฟแรง รอจนถ่านมอด ท้งิ ใหเ้ ย็น เปดิ ดูเปลอื กหอย จะขาวกรอบ ใชม้ อื หักได้ 2) ถา้ ยงั ไมส่ กุ ขาวกรอบให้สุมอีกรอบ ใส่ถ่านให้เต็มเตา ใชไ้ ฟแรง เปลอื กหอยจะสุก ขาวกรอบ น�ำมา ตำ� ใหล้ ะเอียด แรง่ ดว้ ยแรง่ เบอร์ 60 จึงนำ� มาปรุงยาได้ 2.4๔ หอยแครง 1) นำ� ตัวยาใส่ในหมอ้ ดนิ ประมาณครึ่งหมอ้ ปดิ ฝาต้งั ไฟถ่าน ใสถ่ า่ นให้เต็มเตา ใช้ไฟแรง รอจนถ่านมอด ท้งิ ให้เยน็ เปิดดูเปลือกหอย จะขาวกรอบ ใชม้ ือหักได้ 2) ถ้ายงั ไมส่ ุกขาวกรอบใหส้ ุมอีกรอบ ใสถ่ า่ นให้เตม็ เตา ใช้ไฟแรง เปลอื กหอยจะสุก ขาวกรอบ น�ำมาตำ� ใหล้ ะเอยี ด แรง่ ดว้ ยแร่งเบอร์ 60 จึงน�ำมาปรงุ ยาได้ 2.4๕ หัวย้ัง ใสก่ ระทะค่วั พอสุก กอ่ นนำ� มาปรงุ ยาผงหรอื ยาต้ม 2.4๖ หสั คณุ เทศ น�ำตัวยาไปคว่ั จงึ น�ำไปใชป้ รงุ ยาได้ 2.4๗ หัสคณุ ไทย น�ำตวั ยาไปคั่ว จงึ นำ� ไปใชป้ รงุ ยาได้ 2.4๘ โหราเดือยไก่ น�ำมาน่งึ กอ่ น จงึ นำ� ไปใชป้ รงุ ยาได้ 2.๔๙ โหราท้าวสนุ ัข นำ� มาน่ึงกอ่ น จึงน�ำไปใชป้ รุงยาได้ 2.5๐ อุตพิด ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ ล้างน้�ำสะอาด 7 คร้ัง แล้วน�ำมาตากหรืออบให้แห้ง คั่วด้วยไฟ อ่อน ๆ พอสุก จึงนำ� มาปรุงยาได้ ถ้าเปน็ ตวั ยาแห้ง ให้ห่นั เป็นช้ินเลก็ ๆ จากนน้ั น�ำมาคัว่ ในกระทะให้เหลือง จงึ นำ� มาใชป้ รุงยาได้ 452 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ภาคผนวก ๓ วิธีการปรงุ ยา กระทรวงสาธารณสุข 453

ภาคผนวก ๓ วธิ ีการปรงุ ยา 3.1 ยาต้ม (decoction) ยาต้มเป็นรูปแบบการปรุงยาแผนโบราณที่แพทย์แผนไทยนิยมใช้กันมากรูปแบบหน่ึง การปรุงยา รปู แบบนีม้ ีการจดั เตรยี มตวั ยาไดท้ ง้ั สดและแหง้ นำ� ตัวยาหลากหลายชนดิ มาประสมกนั ต้มเดือด หรือเคีย่ ว รินกนิ น้ำ� โดยทั่วไปโบราณจะใช้หมอ้ ดนิ เผาใหม่ ๆ ตม้ ยา ไม่ใชห้ มอ้ ท่ที �ำดว้ ยโลหะต่าง ๆ เชน่ หมอ้ ทองแดง หม้ออะลมู เิ นียม เพราะท�ำให้ฤทธิ์ของยาเปลี่ยนไป หรือมีโลหะปนเปื้อนยา ปัจจุบันนิยมใช้หม้อสเตนเลส หรือหม้อเคลือบตั้งต้ม บนเตาแก๊ส ไม่ใชห้ ม้อดนิ เพราะแตกงา่ ยเนื่องจากไม่มียางฟนื ผสานกน้ หมอ้ เคร่ืองยาทน่ี �ำไปใช้ตามต�ำรบั น้ันต้องท�ำความสะอาดโดยการปดั ฝุ่น ล้างน�้ำ น�ำไปผึ่งลมใหแ้ ห้ง แลว้ ย่อย ขนาดให้เหมาะสมส�ำหรับต้มให้น�้ำซึมซาบไปในเนื้อตัวยาและดึงตัวยาส�ำคัญออกมาได้ แล้วน�ำตัวยาไปใส่ในหม้อต้ม ขนาดพอเหมาะ เติมน้�ำพอท่วมยา น�ำต้ังเตาต้มให้เดือดด้วยไฟกลางประมาณ 15 นาที ดับไฟ ยกหม้อลงจากเตา รนิ เอาน้ำ� ดืม่ รูปแบบยาต้มแบ่งออกเป็น 4 วิธี ได้แก่ 3.1.1 ยาต้ม วธิ ีท่ี 1 การต้มให้เดือดด้วยไฟแรงก่อนแลว้ ลดอุณหภูมลิ งโดยใชไ้ ฟอ่อน ๆ ตม้ ต่อไปอกี 10-15 นาที กรองเอาส่วนท่ีเปน็ นำ้� มาด่มื 3.1.2 ยาต้ม วิธีที่ 2 การต้มเคี่ยวด้วยไฟอ่อน คือ การต้มโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ใช้เวลา 20-30 นาที กรองเอาแตส่ ่วนทเ่ี ปน็ นำ�้ มาดืม่ 3.1.3 ยาต้ม วิธีท่ี 3 ยาต้มเคยี่ วไฟกลาง ต้มสามเอาหนึง่ คอื เติมน้ำ� ใสต่ ัวยา 3 สว่ น ต้มใหเ้ หลือน้ำ� เพียง 1 ส่วน รินเอาแต่น้�ำเก็บไว้ วิธีการต้มแบบน้ีนิยมใช้กับต�ำรับยาเล็ก ๆ ส่วนต�ำรับยาที่มีตัวยาประสมมาก ๆ นิยมนำ� ยามาต้มซำ้� แบบเดิม 3 ครง้ั นำ� น�้ำยาทงั้ หมดมารวมกันแบง่ เอาแตน่ ำ้� ดมื่ 3.1.4 ยาต้ม วิธีท่ี 4 การต้มยาในระดับอุตสาหกรรม ต้มให้เดือดด้วยไฟแรงก่อนแล้วลดอุณหภูมิลง โดยใชไ้ ฟออ่ น ๆ ตม้ ต่อไปอีก 10-15 นาที กรองเอาส่วนทเ่ี ปน็ นำ�้ แล้วใหเ้ ติมนำ�้ ตม้ สุกปรับเพิ่มปริมาตรยาเทา่ กับ ปรมิ าตรน�้ำเร่มิ ต้น กระบวนการผลติ ยาตม้ 1. น�ำเครื่องยาท่ีใช้ตามต�ำรับยามาท�ำความสะอาด ด้วยการคัดแยกส่ิงแปลกปลอมออกจากตัวยา ที่ไม่สามารถล้างด้วยน้�ำได้ และคัดแยกสิ่งท่ีปนเปื้อนมากับตัวยา เช่น น�ำไปล้างน้�ำท�ำความสะอาดเอาดิน ฝุ่นผง และสิ่งสกปรกอื่น ๆ ออกจากตัวยา น�ำตัวยาที่คัดแยกเอาส่ิงแปลกปลอมและปนเปื้อนออกเรียบร้อยแล้วไปผึ่งลม ใหแ้ หง้ 2. ย่อยขนาดของสมุนไพรให้มีขนาดพอเหมาะส�ำหรับต้ม เพ่ือให้น้�ำสามารถซึมซาบเข้าไปในตัวยา และดงึ เอาสารสำ� คญั ออกมาได้ 454 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

3. น�ำเครื่องยาปริมาณตามต�ำรบั ยามาตม้ น�้ำตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไว้ในแตล่ ะตำ� รับ 3.1 กรณียาต้ม วิธีท่ี 1 ให้เติมน้�ำพอท่วม (โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้น�้ำและ ให้น้ำ� ทว่ มหลงั มือ) น�ำไปต้งั บนเตา ตม้ จนเดือดดว้ ยไฟกลาง แลว้ ลดอณุ หภมู ิลงโดยใชไ้ ฟออ่ น ๆ ตม้ ต่อไปอกี 10-15 นาที จงึ ยกหม้อลงจากเตา รนิ เอานำ้� แตน่ ้�ำดม่ื 3.2 กรณยี าตม้ วธิ ีท่ี 2 เตมิ น้�ำใหท้ ว่ มยา ตั้งไฟตม้ เคี่ยวจนเหลือนำ้� คร่งึ หนง่ึ 3.3 กรณียาต้ม วิธีท่ี 3 ให้ประมาณจากน้�ำท่ีใส่ลงไป เช่น หากใส่น้�ำลงไป 3 ถ้วย ให้ต้มเค่ียว จนไดน้ ้ำ� ยาประมาณ 1 ถ้วย 3.4 กรณียาต้ม วธิ ีท่ี 4 ใหเ้ ติมนำ�้ ตามปริมาตรทีก่ �ำหนดในสตู รต�ำรบั น�ำไปตั้งบนเตา ตม้ จนเดอื ด ด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก 10-15 นาที จึงยกหม้อ ลงจากเตา หลังกรองแยกกากและบีบกากแล้ว ให้เติมน�้ำต้มสุกปรับเพ่ิมปริมาตรยาเท่ากับ ปรมิ าตรน้ำ� เร่ิมต้น 4. กรองแยกกากออกด้วยผ้าขาวบางจะได้ส่วนยาน�ำ้ ที่ผ่านการกรอง 5. สารปรุงแตง่ ในต�ำรบั (ถา้ ม)ี 5.1 สารปรงุ แตง่ ที่เป็นของแข็ง เชน่ การบรู พิมเสน ดีเกลอื ให้แทรกละลายนำ�้ ยาท่ไี ด้จากขอ้ 4 5.2 สารปรุงแต่งทเี่ ปน็ ของเหลว เช่น นำ�้ ผงึ้ ให้แทรกผสมกันกับยาน้ำ� ทไ่ี ดจ้ ากขอ้ 4 6. บรรจุยาลงในภาชนะท่ีเหมาะสม 3.2 ยาผง (powder) ยาผงเป็นยาเตรียมแผนโบราณรูปแบบหน่ึง ยาเตรียมแบบนี้อาจใช้กินโดยตรง แล้วดื่มน้�ำตามมาก ๆ หรืออาจแทรกด้วยกระสายบางอย่างเพ่ือช่วยให้กินยาได้ง่ายขึ้น การเตรียมยาผงอาจท�ำได้โดยการน�ำตัวยาต่าง ๆ ตามชนิดและปริมาณ/ปริมาตรท่ีระบุหรือก�ำหนดไว้ในต�ำรับยามาผสมกัน จากน้ันน�ำยาที่ได้ไปบดให้ละเอียดโดยใช้ เครื่องมือส�ำหรับบดยาชนิดต่าง ๆ ตามความเหมาะสม หรือน�ำไปบดด้วยเครื่องบดยาสมุนไพรที่ใช้กระแสไฟฟ้า จากนั้นนำ� ผงยาท่ีได้ไปแรง่ ผา่ นตะแกรงหรอื แร่งทีเ่ หมาะสม โดยทัว่ ไปมกั ใชแ้ ร่งเบอร์ 100, เบอร์ 80 หรือเบอร์ 60 จนไดย้ าผงทม่ี ขี นาดตามตอ้ งการ กระบวนการผลติ ยาผง 1. การทำ� ให้แหง้ กอ่ นนำ� ไปยอ่ ยขนาด มหี ลกั การปฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 ต้องท�ำความสะอาดวัตถุดิบสมุนไพรอย่างเหมาะสม จากนั้นให้น�ำเข้าสู่กระบวนการท�ำให้แห้ง โดยเร็วที่สดุ เพอ่ื ปอ้ งกันการเน่า และเพ่ือลดการปนเป้อื นของจลุ นิ ทรยี ์ 1.2 ควรย่อยขนาดให้เหมาะสมเทา่ ๆ กนั ก่อนน�ำไปทำ� ให้แหง้ 1.3 ไมว่ างสมนุ ไพรซ้อนกันจนหนาเกนิ ไป และควรเกล่ยี ชิน้ สว่ นของสมนุ ไพรใหส้ มำ�่ เสมอ 1.4 ใช้อุณหภูมิที่เหมาะสมกับชนิดและส่วนของสมุนไพร เพื่อคงกลิ่น รส และสารส�ำคัญของ สมุนไพรไว้ 1.5 บริเวณที่ปฏิบัติงานควรสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีการถ่ายเทอากาศที่ดี เพื่อลดการปนเปื้อน ของจลุ ินทรยี ์ กระทรวงสาธารณสขุ 455

2. การยอ่ ยขนาดหรอื การบดผง เครอ่ื งมอื ทใี่ ชม้ อี ยหู่ ลายประเภท เชน่ เครอื่ งบดแบบคอ้ น (hammer mill) เครื่องบดแบบตัด (cutting mill) ซึ่งใช้ในการย่อยขนาดของสมุนไพรแห้งและสมุนไพรสดตามล�ำดับ นอกจาก เคร่ืองมือที่ใช้การย่อยขนาดแล้ว ยังตอ้ งคำ� นึงถึงส่งิ ตอ่ ไปน้ี 2.1 สมนุ ไพรทนี่ ำ� ไปย่อยตอ้ งถูกชนดิ ถูกสว่ น สะอาด ไมม่ หี นิ ดนิ และทรายปนเปอื้ น 2.2 ต้องลดความชื้นของสมุนไพรเพื่อให้ย่อยขนาดได้ง่าย ไม่เหนียว เช่น มีความช้ืนน้อยกว่า ร้อยละ 5 ของสมุนไพรแห้ง จะทำ� ใหบ้ ดสมุนไพรไดง้ า่ ยข้ึน 2.3 ในกรณที ตี่ อ้ งการผงยาสมนุ ไพรละเอยี ดมาก ไมค่ วรบดสมนุ ไพรใหล้ ะเอยี ดทงั้ หมดในครงั้ เดยี ว แต่ควรมีการแร่งเป็นระยะ ๆ กล่าวคือ เริ่มจากแร่งเบอร์เล็กก่อน จากน้ันน�ำไปบดซ้�ำและ เปลย่ี นเป็นแร่งเบอรใ์ หญข่ ้นึ เร่อื ย ๆ จนได้ขนาดที่ตอ้ งการ 2.4 สมุนไพรท่ีมีเส้นใยสงู เชน่ เถาวัลยเ์ ปรยี ง ควรตดั หรอื สับใหม้ ีขนาดเลก็ ลงกอ่ น แล้วจงึ นำ� ไป บดดว้ ยเครอื่ งบด 2.5 ในกรณีท่ตี อ้ งบดสมนุ ไพรหลายชนิดรวมกนั เช่น ในสูตรตำ� รบั ยาหอม ให้ใส่สมนุ ไพรท่ีบดยาก ลงไปบดก่อน 2.6 อตั ราการป้อนสมุนไพรเข้าเครือ่ งบดตอ้ งสัมพันธ์กบั ความสามารถในทำ� งานของเครอื่ ง 2.7 การบดสมุนไพรที่ละเอียดมากอาจเกิดความร้อนขึ้นได้ง่าย จึงควรหยุดพักการท�ำงานของ เครือ่ งเป็นชว่ ง ๆ หรอื หาวิธกี ารลดความรอ้ นท่ีเหมาะสม 2.8 ถ้าในสูตรต�ำรับมีตัวยาสมุนไพรหลายชนิด ต้องท�ำให้ตัวยาสมุนไพรแต่ละชนิดกระจาย อย่างสม่�ำเสมอก่อนน�ำไปบรรจุ หากใช้วิธีบดพร้อมกัน ต้องบดให้ละเอียด มีขนาดเท่ากัน ทั้งหมด ไม่มีส่วนใดเหลือ ในกรณีท่ีแยกบด ต้องบดผ่านแร่งที่มีขนาดเดียวกัน แล้วน�ำไป ผสมในเครอ่ื งผสมในเวลาที่เหมาะสมจนผงยาเปน็ เนื้อเดียวกนั ทง้ั น้ี ใหศ้ ึกษาการกระจายตัว ของผงยาสมุนไพรในวธิ กี ารท่ผี ลิตด้วย 2.9 บริเวณทบ่ี ดสมุนไพร ตอ้ งควบคมุ ให้ถูกสุขลักษณะเพ่ือลดการปนเป้ือนของจุลินทรีย์ 2.10 บุคลากรที่ปฏิบัติงานจะต้องผ่านการฝึกอบรมทั้งด้านการปฏิบัติการเภสัชกรรมที่ดี และ ความปลอดภัยในโรงงาน เน่ืองจากตอ้ งท�ำงานกับเคร่อื งจักรกล 3. การบรรจุ 3.1 ห้องท่ีท�ำการบรรจุตอ้ งสะอาด มกี ารควบคมุ ความชื้น และการฆา่ เชอ้ื ทเ่ี หมาะสม ถ้าเปน็ ไปได้ ควรบรรจุในหอ้ งทค่ี วบคมุ ความดนั อากาศเปน็ บวก 3.2 เครอื่ งบรรจมุ คี วามเหมาะสมในการบรรจผุ งยาสมนุ ไพรสซู่ องหรอื ภาชนะบรรจไุ ดต้ ามปรมิ าณ ที่ก�ำหนดไว้ 3.3 ยาแคปซลู (capsule) ยาแคปซูลเป็นรูปแบบยาเตรียมสมัยใหม่ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ใช้กับ ยาแผนโบราณไทยได้ แคปซลู ทใี่ ชอ้ าจแบง่ เป็น 2 ประเภท ตามลกั ษณะภายนอกทป่ี รากฏ คอื ๑. แคปซลู ชนิดแขง็ (hard gelatin capsule) เปน็ แคปซูลทม่ี ีปลอก 2 ส่วน คอื สว่ นตัว (body) และส่วนฝา (cap) 456 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

๒. แคปซลู ชนดิ น่มิ (soft gelatin capsule) เปน็ แคปซลู ทต่ี อ้ งใช้เครื่องผลิตเฉพาะ สว่ นใหญใ่ ชบ้ รรจุ ยาท่มี ีลักษณะเป็นนำ�้ มัน ของเหลว ของกงึ่ แข็ง เป็นต้น ในการเตรียมยาแผนไทยหรือยาสมุนไพรนั้น ส่วนใหญ่จะบรรจุผงยาสมุนไพรในแคปซูลชนิดแข็ง โดยมีวิธีการเตรียมตัวยาสมุนไพรท่ีใช้บรรจุแคปซูลคล้ายกับการเตรียมตัวยาเพ่ือตอกยาเม็ด แต่อาจใช้ผงยา ที่บดละเอียดและผ่านแร่งแล้วผสมกับสารช่วยอ่ืน ๆ จากน้ันน�ำเข้าสู่กระบวนการบรรจุแคปซูลโดยไม่ต้องเตรียม เป็นแกรนูล (granule) กอ่ น การเตรียมยาแคปซูลส�ำหรับยาสมุนไพรหรือยาแผนไทยน้ัน มักใช้แคปซูลขนาดเบอร์ 1, เบอร์ 0, เบอร์ 00 และเบอร์ 000 (โดยมีขนาดแคปซูลจากเลก็ ไปใหญ่) ดังแสดงในตาราง ต่อไปน้ี ขนาด (เบอร์) ปริมาตร ความหนาแนน่ ของผงยา (กรมั /มลิ ลลิ ิตร) แคปซูล (มลิ ลิลติ ร) 0.6 0.8 1.0 1.2 000 1.37 นำ้� หนักของผงยาท่ีบรรจไุ ด้ (มลิ ลิกรมั ) 00 0.91 0 0.68 822 1,096 1,370 1,644 1 0.50 546 728 910 1,092 408 544 680 816 300 400 500 600 กระบวนการผลติ ยาแคปซูล 1. เตรยี มอปุ กรณ์การผลติ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน มกี ารทำ� ความสะอาดทเ่ี หมาะสม 2. เตรียมผงยาสมุนไพร (ผงยาผ่านแร่งอย่างน้อยเบอร์ 80) และองค์ประกอบอื่นอย่างเหมาะสม เชน่ การยอ่ ยขนาด การผสมของผงยาสมนุ ไพรหรอื สารชว่ ยในแตล่ ะสตู รตำ� รบั ใหก้ ระจายตวั สมำ�่ เสมอ 3. วัดปริมาณความช้ืนของผงยาสมุนไพรผสม หากความชื้นเกินกว่าร้อยละ 5 ให้อบผงยาสมุนไพร ผสมอีกครง้ั โดยใช้อณุ หภูมิ 40-60 องศาเซลเซียส นาน 4-6 ช่ัวโมง 4. บรรจผุ งยาสมนุ ไพรลงในแคปซลู ดว้ ยเครื่องบรรจุแคปซูล 5. สุ่มตรวจค่าความผันแปรของน�้ำหนักยาสมุนไพร หากไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด ให้หยุดการผลิต และด�ำเนินการแก้ไขโดยเรง่ ดว่ น ถ้าเป็นไปตามขอ้ ก�ำหนดให้ด�ำเนนิ การในขอ้ ถดั ไป 6. น�ำยาแคปซูลที่บรรจุได้ไปท�ำความสะอาดเพ่ือก�ำจัดผงยาสมุนไพรท่ีเกาะติดอยู่ที่เปลือกด้านนอก ของยาแคปซูลสมุนไพร ถา้ ผลิตยาแคปซูลสมุนไพรจ�ำนวนนอ้ ย อาจใช้ผ้าสะอาดเชด็ เบา ๆ ทีเ่ ปลอื ก ด้านนอกของยาแคปซูลสมุนไพร ส่วนในระดับอุตสาหกรรมให้ใช้เครื่องขัดแคปซูล ซึ่งประกอบด้วย ขนแปรงท่ีหมุนตลอดเวลาและต่อเข้ากับเครื่องดูดฝุ่น เพ่ือปัดฝุ่นและดูดฝุ่นออกจากยาแคปซูล ทไ่ี หลผา่ นเคร่ืองตัง้ แตเ่ ขา้ จนออก กระทรวงสาธารณสขุ 457

3.4 ยาเม็ด (tablet) ยาเม็ดเป็นยาเตรียมรูปแบบหนึ่ง ต�ำราเภสัชกรรมแผนโบราณของไทยให้วิธีการปรุงยาเตรียมรูปแบบ น้ีไวร้ วมกับยาผงวา่ เตรียมจาก “ยาตากแห้งประสมแล้ว บดเปน็ ผงละเอยี ด ป้นั เม็ดหรือใช้ในรูปยาผง” การทำ� ยาเม็ด แบ่งได้ 2 วิธี ไดแ้ ก่ การใชแ้ บบพมิ พด์ ้วยมอื และการใชเ้ คร่อื งตอกยาเม็ด 3.4.๑ การใชแ้ บบพมิ พด์ ้วยมอื การทำ� ยาเมด็ ด้วยวิธนี ้ี จะต้องเตรยี มเครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ กอ่ น โดยน�ำแบบพิมพย์ าเมด็ และกระจกแผ่นใสวางลงในกะละมังขนาดใหญ่ เทราดด้วยน�้ำเดือดจนท่ัว เช็ดให้แห้งสนิทด้วยผ้าสะอาด ใช้ส�ำล ี ชุบแอลกอฮอลเ์ ช็ดซำ�้ อีกคร้งั หน่ึง ทง้ิ ใหแ้ อลกอฮอล์ระเหยก่อนนำ� ไปใช้พิมพ์ยาเม็ด จากนัน้ วางกระจกแผน่ ใสบนโตะ๊ แลว้ วางแบบพมิ พย์ าเม็ดลงบนแผ่นกระจกใส อุปกรณ์ 1. แบบพมิ พ์ยาเม็ด (แบบทองเหลือง) 2. แผน่ กระจกใส 1 แผน่ 3. กาตม้ น้ำ� 4. ผา้ ผนื เล็ก 5. ถาดใส่ยาเม็ด 6. แป้งมนั 7. กะละมัง 8. แอลกอฮอล์ 9. สำ� ลี กระบวนการผลติ ยาเม็ดแบบพมิ พด์ ้วยมือ ๑. กวนแปง้ มนั กบั นำ้� เดอื ดใหเ้ ปน็ แปง้ เปยี กใส นำ� ผงยามาคลกุ เคลา้ กบั แปง้ เปยี กใสในสดั สว่ นทพ่ี อเหมาะ จนเข้ากันดี 2. นำ� ผงยาทผ่ี สมกนั แลว้ มาแผ่บนแผ่นกระจก แลว้ นำ� แบบพมิ พ์ยาเม็ดกดลงบนยา 3. กดยาท่พี มิ พ์แลว้ ออกจากแบบพิมพ์ยาเม็ด ใสถ่ าดท่ีเตรียมไว้ 4. นำ� ไปตากแดดจัด หรือเข้าตู้อบไฟฟา้ ซงึ่ ตั้งอณุ หภูมไิ ว้ที่ 50-55 องศาเซลเซยี ส นานราว 5-6 ชั่วโมง 5. น�ำยาเมด็ ทไ่ี ด้เกบ็ ใส่ขวดโหลแก้วที่สะอาด ปิดฝาให้มดิ ชดิ 3.4.2 การใชเ้ ครอื่ งตอกยาเม็ด ยาเม็ดตอกอัด (compressed tablet) เป็นรูปแบบยาเตรยี มท่สี ำ� นักงานคณะกรรมการอาหาร และยา กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตใหน้ �ำมาใช้กบั ยาแผนไทยได้ เพอ่ื พฒั นายาแผนไทยใหม้ ีมาตรฐาน งา่ ยต่อการ ตรวจสอบ และปลอดภัยต่อผู้บริโภค ในการผลิตยาเม็ดตอกอัดน้ัน จ�ำเป็นต้องมีส่วนผสมอื่นนอกจากองค์ประกอบ อนั เปน็ ตวั ยาสำ� คัญ ได้แก่ สารทำ� เจอื จาง (diluent), สารยึดเกาะ (binder), สารชว่ ยไหล (glidant), สารหลอ่ ล่ืน (lubricant), สารต้านการยึดตดิ (antiadherent), สารช่วยแตกตัว (disintegrant), สารลดแรงตงึ ผิว (surfactant) และสารดดู ซับ (adsorbent) 458 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

กระบวนการผลติ ยาเมด็ ตอกอดั ดว้ ยเครอื่ งตอกยาเมด็ มี 2 วิธี คอื 1. การตอกโดยตรง (direct compression) มขี ้นั ตอนดงั นี้ 1.1 น�ำผงยาและสารช่วยต่าง ๆ ในต�ำรับยา ผ่านแร่งความละเอียดอย่างน้อยเบอร์ 80 ชั่ง ตามสตู รต�ำรบั 1.2 ผสมผงยาและสารชว่ ยทั้งหมดเข้าดว้ ยกนั 1.3 น�ำไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเมด็ ได้เปน็ ยาเม็ดออกมา 1.4 น�ำไปบรรจภุ าชนะ 2. ตอกยาเม็ดด้วยการท�ำแกรนลู (granulation) มขี ั้นตอนดงั น้ี 2.1 นำ� ผงยาและสารชว่ ย เชน่ สารทำ� เจือจาง สารช่วยแตกตัว ผสมแห้งดว้ ยเคร่อื งผสมให้เขา้ เป็น เน้อื เดียวกัน 2.2 เตรียมสารละลายสารยึดเกาะตามสูตรต�ำรับ ผสมเปียกในสารผสมข้อ 2.1 จนได้เป็นสาร ท่จี บั ตัวกันเปน็ กอ้ น 2.3 น�ำมาแร่งเปยี กดว้ ยเครอื่ งแรง่ เปยี ก ไดเ้ ป็นแกรนูลเปยี ก 2.4 นำ� แกรนูลเปียกมาอบแหง้ ดว้ ยตู้อบไฟฟ้าจนไดเ้ ป็นแกรนลู แห้ง 2.5 นำ� แกรนูลแหง้ มาแรง่ แห้ง และผสมสารช่วย เช่น สารช่วยไหล สารต้านการยึดตดิ สารหลอ่ ลน่ื ให้เขา้ กัน 2.6 นำ� สารผสมท่ีไดใ้ นข้อ 2.5 ตอกด้วยเครอ่ื งตอกยาเมด็ ไดเ้ ป็นยาเมด็ ออกมา 2.7 น�ำไปบรรจภุ าชนะ 3.5 ยาลูกกลอน (pill) ยาลูกกลอนเป็นยาเตรียมท่ีมีรูปร่างกลม อาจท�ำจากผงยาชนิดเดียวหรือผงตัวยาหลายชนิดท่ีผสมปรุง ตามต�ำรับยา โดยมีนำ้� กระสายยาทำ� ให้ผงยาเกาะตดิ กัน เชน่ นำ้� ตม้ สกุ น้ำ� ผง้ึ น้ำ� แปง้ น้�ำขา้ วเช็ด น�้ำมะกรูด น้ำ� เปลือก มะรุม โดยท่ัวไปนิยมใช้น�้ำผ้ึง ต�ำรายาแผนโบราณไทยใหว้ ธิ กี ารปรุงยาเตรียมรูปแบบนี้ไวว้ ่า “ยาตากแหง้ ประสมแลว้ บดเป็นผงละเอียด ปั้นเปน็ ลูกกลอน” องค์ประกอบในการผลิตยาลกู กลอน การผลิตยาลกู กลอนให้ไดค้ ุณภาพตอ้ งคำ� นงึ ถงึ องค์ประกอบ 3 ประการ ดังน้ี 1. ผงยาสมุนไพร คุณลักษณะของผงยาสมุนไพรแต่ละชนิดมีความส�ำคัญต่อการผลิตยาลูกกลอน แตกต่างกัน ปจั จยั ทเี่ กี่ยวขอ้ งมีดังต่อไปนี้ 1.1 ลักษณะผงยาสมุนไพรท่ีจะท�ำให้ผลิตยาลูกกลอนได้ดี จะต้องเป็นผงยาสมุนไพรท่ีละเอียด ผ่านแร่งขนาดเบอร์ 60-100 1.2 คุณลักษณะเฉพาะตัวของสมุนไพรที่ใช้มีผลต่อการผลิตยาลูกกลอน เช่น ถ้าส่วนของสมุนไพร นั้นมีแปง้ อยู่เป็นจำ� นวนมาก เช่น เหง้าของขม้นิ ไพล เปราะหอม รากระยอ่ มน้อย ผลกล้วย เมลด็ เทยี นต่าง ๆ จะทำ� ใหก้ ารผลิตยาลกู กลอนทำ� ไดง้ ่าย เน่อื งจากสมนุ ไพรมีการเกาะตัวกัน ได้ดี ท�ำให้ปั้นเป็นลูกกลอนได้สะดวก ไม่ต้องใช้สารยึดเกาะจ�ำนวนมาก แต่ถ้ามีส่วนผสม ของเปลือก แก่น ใบ ซึง่ ส่วนใหญ่ไมม่ แี ปง้ จะมปี ญั หาการไมเ่ กาะตัวของสมุนไพร ท�ำให้ปน้ั เม็ด ได้ยาก ซึ่งอาจแก้โดยบดผงยาสมุนไพรให้ละเอียดขึ้น และใช้สารยึดเกาะช่วยในปริมาณ ที่เหมาะสม เพราะอาจทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาการไม่แตกตัวหรอื แตกตัวช้าของยาลกู กลอน กระทรวงสาธารณสขุ 459

2. สารยดึ เกาะ สารยึดเกาะทีใ่ ชใ้ นการผลิตยาลกู กลอนนยิ มใช้น้�ำผึ้งหรอื น�้ำผ้ึงเทยี ม น้�ำผึง้ เปน็ ของเหลว เหนยี ว ใส สเี หลืองหรือเหลอื งปนนำ้� ตาล หนกั กวา่ นำ้� คือมีนำ�้ หนกั 1.3-1.5 กิโลกรัมต่อปริมาตร 1 ลิตร น�้ำผึ้งเป็นผลิตผลจากน�้ำหวานของดอกไม้ ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของน�้ำผึ้ง ได้แก่ แหล่งผลิตและฤดูกาล แต่โดยท่ัวไป น�้ำผึ้งแท้ประกอบด้วยน�้ำตาลอินเวิร์ต (invert sugar) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 มีน�้ำตาลซูโครส (sucrose) น้อยมาก ไม่เกินร้อยละ 10 นอกจากน้ี ยังมีน�้ำตาลเดกซ์โทรส (dextrose) และ ฟรักโทส (fructose) ในปรมิ าณใกล้เคียงกนั นำ�้ ผงึ้ เทยี ม ส่วนผสมของนำ้� ผ้ึงเทยี มสว่ นใหญ่ คอื นำ�้ ตาลแบะแซ หรือ นำ้� เช่ือมกลโู คส (glucose syrup) ได้มาจากการย่อยแป้งมันส�ำปะหลังหรือแป้งข้าวโพดได้เป็นนำ�้ ตาลกลูโคสชนิดหน่ึง บางชนิดมีแป้งผสมอยู ่ ซ่งึ จะชว่ ยทำ� ใหก้ ารเกาะตวั ดขี นึ้ แตม่ ีข้อเสียคอื เกบ็ ได้ไม่นานเมือ่ เทียบกบั น้�ำผึ้ง เกิดการบูด มีกลิ่นเปรีย้ ว นอกจากนี้ ยาลกู กลอนท่ีใชน้ ำ้� ผง้ึ เทียมในการยึดเกาะ จะคงตัวไมไ่ ดน้ าน และข้ึนราได้ง่าย นอกจากน้ี อาจใช้น�ำ้ เชอื่ มและแป้งเปยี กเปน็ ส่วนชว่ ยสารยึดเกาะไดอ้ กี ดว้ ย 3. เครอ่ื งมอื การผลติ เครื่องมอื ท่ใี ชผ้ ลติ ยาลกู กลอนขึ้นอยู่กบั ขนาดของการผลิต ตั้งแตร่ ะดับครวั เรอื น จนถึงระดับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยทวั่ ไปประกอบดว้ ยเครื่องมอื อย่างนอ้ ย 4 เครื่อง ไดแ้ ก่ - เครือ่ งผสม - เครื่องรดี เสน้ - เครอ่ื งตัดเม็ด - เคร่ืองปั้นเม็ด ท่ีมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ เคร่ืองกลิ้งเม็ดให้กลม หม้อเคลือบ และเครื่อง อบแหง้ กระบวนการผลติ ยาลกู กลอน 1. เตรยี มเครือ่ งมือใหส้ ะอาดอยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ าน 2. เตรียมสว่ นผสมใหเ้ ปน็ ไปตามสูตรตำ� รบั 3. เตรียมผงยาสมุนไพรก่อนการผลิตให้เหมาะสม เช่น การท�ำความสะอาด การท�ำให้แห้ง การย่อย ขนาด การผสมให้เข้ากนั 4. ผลติ ตามรปู แบบของเครอ่ื งมอื การผลติ ของแตล่ ะสถานทผ่ี ลติ โดยยดึ แนวทางการทำ� ใหไ้ ดย้ าลกู กลอน ทด่ี ี ซงึ่ มีขอ้ ควรระวังในข้ันตอนต่าง ๆ ดงั น้ี 4.1 การผสมเปียก ต้องมีความระมัดระวังรอบคอบทุกข้ันตอน การผสมให้เป็นเนื้อเดียวกัน ขน้ึ อยูก่ ับเคร่อื งมือ สารยึดเกาะที่ใช้ และระยะเวลาใชผ้ สม 4.2 การรีดเส้น ต้องรีดเส้นให้มีความหนาแน่นของเน้ือยาสม่�ำเสมอ เพื่อให้ได้เม็ดยาที่มีขนาด ใกลเ้ คียงกันเมอื่ น�ำไปตดั เม็ด 4.3 การตดั เม็ด 4.4 การปนั้ เมด็ กลม 4.5 การกลิ้งเม็ดให้กลม นิยมใช้แป้งข้าวโพดหรือผงยาโปรยลงไปในบริเวณท่ีกลิ้งเม็ดยาเพื่อไม่ให ้ ยาลูกกลอนตดิ กนั 4.6 การอบแหง้ ตอ้ งอยใู่ นมาตรฐานทกี่ �ำหนด 460 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

4.7 การเคลือบ ซึ่งต้องมีความช�ำนาญอย่างมาก เพ่ือไม่ให้ความช้ืนในเม็ดยาออกมาข้างนอก และไม่ให้ความช้ืนจากข้างนอกเข้าไปในเม็ดยาลูกกลอน ทั้งยังท�ำให้เม็ดยาลูกกลอนเงางาม นา่ กิน ข้นั ตอนการผลติ ยาลกู กลอน การเตรียมสมุนไพร 1. ท�ำความสะอาด 2. ท�ำให้แหง้ 3. ย่อยขนาด การผสมเปยี ก ผสมสมนุ ไพรต่าง ๆ กับสารยดึ เกาะ ให้เป็นเน้อื เดียวกัน การปั้นลูกกลอน วธิ ีท่ี 1. การใชม้ ือป้ันและ วิธีที่ 2. การใช้เครื่องรีดเสน้ วธิ ที ่ี 3. การใชเ้ ครอ่ื งผลิต ใช้รางไมป้ ้นั ลูกกลอน และเครอ่ื งตัดเสน้ ลูกกลอนอตั โนมตั ิ 1. ป้นั เส้นยา 1. รีดเสน้ ยา 2. ตัดเสน้ ยาด้วยรางไม้ 2. ตดั เส้นยาเป็นเม็ด ปัน้ ลกู กลอน ลูกกลอน 3.6 ยาน้ำ� มัน ยาน�้ำมันเป็นยาเตรียมรปู แบบหนึ่ง วธิ ีการปรุงยาเตรยี มจากยาสดหรือแหง้ เมื่อผสมแลว้ บดเปน็ ผงหยาบ หุงด้วยน้�ำมัน ยาน�้ำมันใช้เป็นยาภายในและยาภายนอกได้ น�้ำมันที่ใช้ในการปรุงยามักเป็นน้�ำมันพืช (ท่ีใช้มากได้แก่ น้�ำมันงา และน้�ำมันมะพร้าว) น�้ำมันเนย นม หรือไขสัตว์ ผสมกับตัวยาตามต�ำรับ ตัวยาที่มีน้�ำมากให้บีบเอาแต่น�้ำ ส่วนตัวยาที่แห้งหรือมีน�้ำเป็นส่วนประกอบน้อยมากจะบดเป็นผงแล้วผสมน้�ำให้พอเปียก เมื่อผสมกับน�้ำมันพืช หรือไขสัตว์แล้วก็หุงเค่ียวให้เหลือแต่น�้ำมัน เม่ือได้น้�ำมันแล้วอาจรินเอาน้�ำมันเก็บไว้ใช้ หรือเก็บน้�ำมันแช่ตัวยาไว ้ เมื่อจะใช้กต็ กั เอาแต่น้�ำมันมาใช้ กระทรวงสาธารณสุข 461

กระบวนการผลิตยาน้ำ� มัน 1. น�ำสมุนไพรในสตู รต�ำรบั มาหน่ั บาง ๆ 2. เคี่ยวในนำ�้ มัน โดยใช้ไฟกลาง ระวงั ไมใ่ หช้ ิ้นส่วนสมุนไพรไหม้ 3. เติมส่วนประกอบอื่น ๆ ในสูตรต�ำรับที่ต้องใช้ความร้อนช่วยละลาย ลงไปในระหว่างการเค่ียว เช่น ก�ำยาน สีเสยี ด จุนสี 4. กรองโดยใชผ้ ้าขาวบาง เพือ่ เก็บน�้ำมนั ทีไ่ ดจ้ ากการเคยี่ ว 5. เติมส่วนประกอบในต�ำรับ (ทีไ่ ม่ตอ้ งใชค้ วามรอ้ นชว่ ยละลาย) ลงไปในน�ำ้ มัน ตามขอ้ 4 เช่น พมิ เสน การบรู 6. บรรจใุ นภาชนะทเ่ี หมาะสม 3.7 ยาพอก (poultice) ต�ำราเภสัชกรรมแผนโบราณของไทยใช้วิธีการปรุงยาพอกจากสมุนไพรสดหรือสมุนไพรแห้งไว้ว่า เตรียมจาก “ยาประสมแล้ว ต�ำให้แหลก ใช้พอกบริเวณที่ต้องการ” โดยการน�ำสมุนไพรมาประสม ต�ำให้แหลก นำ� มาสุมหรือพอกบรเิ วณทต่ี อ้ งการ มีต้งั แต่พอกฝี พอกเข่าแกป้ วด พอกหวั แมเ่ ท้าให้ตาสวา่ ง หรอื สมุ เชน่ กระหม่อม กระบวนการผลิตยาพอก หรือ ยาสมุ ๑. น�ำสมุนไพรตามสตู รต�ำรบั มาท�ำความสะอาด จากนัน้ น�ำมาห่นั สบั หรอื โขลกใหแ้ หลก เพื่อให้ตัวยา มีขนาดตามตอ้ งการ ๒. ผสมกระสาย (ถา้ มี) เช่น สรุ า นำ�้ ซาวข้าว ๓. น�ำตัวยาพอกหรือสุมบริเวณที่ต้องการ หรือน�ำตัวยาห่อผ้าและน�ำมาพันบริเวณที่ต้องการ เช่น พันตัวยารอบหัวเขา่ บรรเทาปวด 3 .8 ยาประคบ ยาประคบเป็นยาเตรียมแผนโบราณรูปแบบหนึ่ง ต�ำราโบราณให้วิธีการปรุงยาเตรียมรูปแบบนี้ไว้ว่า เตรียมจาก “ยาสดหรือแห้ง ประสมแล้ว ท�ำเป็นลูกประคบ” โดยการน�ำสมุนไพรหลายชนิดท่ีเป็นสมุนไพรสด หรือสมนุ ไพรแห้ง ผา่ นกระบวนการท�ำความสะอาด น�ำมาห่ันให้ได้ตามขนาดทต่ี อ้ งการ น�ำไปต�ำให้พอแหลกก่อนนำ� ไปบรรจุรวมกันในผ้าให้เป็นรูปทรงต่างๆ ตามวัตถุประสงค์และต�ำแหน่งท่ีต้องการใช้ลูกประคบ เช่น รูปทรงกลม ใชป้ ระคบส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ทรงหมอนใชน้ าบบริเวณที่ตอ้ งการ ยาประคบ ใช้ประคบส่วนต่าง ๆ ของร่างกายควบคู่กับการนวดแผนไทย เพ่ือรักษาและบรรเทาอาการ เก่ียวกับกล้ามเน้ือและเส้นเอ็น โดยสมุนไพรและความร้อนจากลูกประคบน้ัน ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ท�ำให้กล้ามเน้ือผ่อนคลาย ลดอาการหดเกร็งของกล้ามเน้ือ ลดอาการอักเสบ แก้ปวดเมื่อย และยังท�ำให้รู้สึกสดชื่น จากกล่ินหอมของนำ�้ มันหอมระเหยอีกดว้ ย อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการทำ� ลกู ประคบ 1. ผ้าส�ำหรับห่อสมุนไพรลูกประคบ ต้องเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบที่มีเน้ือแน่นพอดี สามารถป้องกันไม่ให ้ สมนุ ไพรรว่ งออกมาจากผา้ ได้ 2. เชือกส�ำหรบั มดั ผ้าห่อลูกประคบ 462 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

3. สมุนไพรท่ใี ชต้ ้องผา่ นการทำ� ความสะอาด ไมม่ เี ชอื้ รา และตอ้ งมีสมนุ ไพร 4 กลมุ่ หลกั ดังนี้ 3.1 กล่มุ สมุนไพรท่ีมนี ้�ำมนั หอมระเหย เชน่ ไพล ขมนิ้ ชนั ตะไคร้ มะกรูด 3.2 กลุ่มสมุนไพรที่มีรสเปร้ยี ว มีฤทธิ์เปน็ กรดอ่อน ๆ เช่น ใบมะขาม ใบสม้ ป่อย 3.3 กลุม่ สารแตง่ กลิ่นหอม เชน่ การบูร พิมเสน 3.4 เกลือ มีฤทธ์ิฆ่าเชื้อและแก้อาการอักเสบได้ มีสมบัติดูดความร้อนท�ำให้ตัวยาสมุนไพร ซึมไดเ้ ร็วขน้ึ กระบวนการผลิตลกู ประคบ 1. น�ำสมนุ ไพรมาลา้ งท�ำความสะอาด ห่นั เป็นชนิ้ ใหไ้ ดข้ นาดท่ตี ้องการ 2. น�ำสมนุ ไพรไปตำ� ใหพ้ อแหลก 3. เติมเกลอื และการบรู ลงไป ผสมใหเ้ ขา้ กนั ระวงั อย่าให้สมนุ ไพรที่ผสมแฉะเปน็ น้�ำ 4. นำ� สมนุ ไพรที่ผสมเรียบร้อยแลว้ ไปบรรจใุ นผา้ ฝ้ายหรอื ผ้าดิบ ห่อเปน็ ลูกประคบมัดดว้ ยเชือกใหแ้ น่น 3.9 ยาชง (infusion) ยาชงอาจอยู่ในรูปแบบของใบหรือผงยาสมุนไพร ปัจจุบันนิยมบรรจุอยู่ในซองขนาดต่าง ๆ เป็นรูปแบบ ยาสมุนไพรพร้อมชง เมื่อจะใช้ต้องน�ำมาแช่ในน�้ำเดือดหรือน้�ำกระสายยาเพื่อเป็นตัวท�ำละลาย ส่วนใหญ่ท�ำมาจาก ส มุนไพรแหง้ มีหลกั การผลติ ยาคล้ายกับการผลติ ยาผง กระบวนการผลติ ยาชง 1. การท�ำให้แหง้ กอ่ นนำ� ไปยอ่ ยขนาด มีหลกั การปฏิบัติดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ตอ้ งควบคมุ บริเวณที่ปฏบิ ตั งิ านให้สะอาด ถกู สขุ ลักษณะ มีอากาศถ่ายเทได้ดี ลดการปนเปือ้ น จลุ ินทรีย์ มอี ุณหภูมแิ ละความชนื้ ทเี่ หมาะสม 1.2 ท�ำความสะอาดวัตถุดิบสมุนไพร และน�ำไปฆ่าเชื้อโดยการน่ึงหรือผ่านน้�ำร้อนอย่างรวดเร็ว (heat shock) เพอ่ื ลดปรมิ าณจลุ นิ ทรีย์ที่ปนเปื้อน 1.3 น�ำไปยอ่ ยขนาดให้เหมาะสมและมคี วามสม�ำ่ เสมอกนั ก่อนนำ� ไปท�ำใหแ้ หง้ 1.4 น�ำไปท�ำให้แห้งโดยเร็วท่ีสุด เช่น น�ำไปอบ ตากแห้ง เพ่ือป้องกันการเน่าเสียของสมุนไพร โดยใช้อุณหภูมิให้เหมาะสมกับสมุนไพรแต่ละชนิด เพ่ือคงสรรพคุณ สี กลิ่น และรสยา ของสมนุ ไพรน้นั ไว้ 2. การย่อยขนาดหรือการบดผงเป็นการลดขนาดอนุภาคของวัตถุดิบให้เล็กลง เคร่ืองมือท่ีนิยมใช ้ ในการลดขนาดวัตถุดิบ ได้แก่ เครื่องบดแบบค้อน ใช้บดสมุนไพรแห้ง และเคร่ืองบดแบบตัด ใช้บดสมุนไพรสด นอกจากเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการบดแลว้ ยงั ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ส่ิงตอ่ ไปนี้ 2.1 ต้องควบคุมบริเวณท่ีท�ำการบดให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ ลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย ์ มีอณุ หภมู แิ ละความช้นื ทเี่ หมาะสม 2.2 สมุนไพรทนี่ ำ� ไปยอ่ ยตอ้ งถกู ชนิด ถกู ส่วน สะอาด และไมม่ ีสารปนเป้ือนของหิน ดิน และทราย 2.3 สมุนไพรต้องผ่านการลดความช้ืนก่อนน�ำมาลดขนาด โดยต้องมีความช้ืนน้อยกว่าร้อยละ 5 ของความช้นื สมุนไพรแห้ง จะทำ� ใหบ้ ดสมนุ ไพรไดง้ ่ายข้นึ กระทรวงสาธารณสขุ 463

2.4 กรณีที่ต้องการบดผงยาให้ละเอียดมาก ไม่ควรบดขนาดให้ละเอียดในคร้ังเดียว ควรใช้แร่ง ลดขนาดผงยาเป็นระยะ ๆ โดยเรมิ่ ใช้แรง่ เบอร์เลก็ ก่อนจากนน้ั ใชแ้ ร่งขนาดใหญข่ ึน้ ตามล�ำดบั จนได้ขนาดตามทตี่ อ้ งการ 2.5 สมุนไพรท่ีมีเส้นใยสูง เช่น เถาวัลย์เปรียง ควรตัดหรือสับให้มีขนาดเล็กลงก่อนที่จะน�ำไปบด ด้วยเคร่ืองบด 2.6 กรณที ต่ี อ้ งบดสมนุ ไพรหลายชนดิ รวมกนั เชน่ ในตำ� รบั ยาหอม ใหใ้ สส่ มนุ ไพรทบ่ี ดยากลงไปบด กอ่ นตามลำ� ดบั 2.7 อตั ราการปอ้ นสมุนไพรเข้าเครอ่ื งบดต้องสมั พนั ธ์กบั ความสามารถในการทำ� งานของเครอื่ งบด 2.8 การบดสมุนไพรให้ละเอียดมาก อาจเกิดความร้อนขณะบดขึ้นได้ จึงควรหยุดเครื่องบด เป็นช่วง ๆ เพ่ือลดความร้อนที่เกิดข้นึ 2.9 หากสตู รตำ� รบั มสี มนุ ไพรหลายชนดิ ตอ้ งทำ� ใหส้ มนุ ไพรแตล่ ะชนดิ กระจายตวั อยา่ งสมำ�่ เสมอกนั ก่อนน�ำไปบรรจุ หากใช้วิธีบดพร้อมกัน ต้องบดละเอียดให้มีขนาดอนุภาคท่ีเท่ากัน หากใช ้ วธิ ีแยกบด ต้องบดผ่านแรง่ ท่มี ีขนาดเดียวกันแล้วน�ำไปผสมในเครอื่ งผสมท่ีเหมาะสม 3. การบรรจุ 3.1 ห้องท่ที ำ� การบรรจุตอ้ งสะอาด มีการควบคมุ ความชนื้ มกี ารฆ่าเชื้อที่เหมาะสม และควรบรรจุ ในหอ้ งทีม่ คี วามดนั อากาศเปน็ บวก 3.2 เครื่องบรรจสุ ามารถบรรจผุ งยาสู่ภาชนะบรรจหุ รอื ซองชาชงไดต้ ามปริมาณทกี่ ำ� หนดไว้ 3.3 ภาชนะบรรจุตอ้ งสะอาด สามารถเกบ็ รักษาผงยาสมุนไพรได้คงสภาพกอ่ นน�ำมาใช้ 3.10 ยาสด รูปแบบยาต�ำรับท่ีมีส่วนประกอบของตัวยาสมุนไพรในต�ำรับเป็นชนิดสด ปรุงข้ึนเพื่อกินหรือใช้ในทันท ี ม วี ิธีการเตรียมท่ีงา่ ยและใชเ้ วลาไม่มาก กระบวนการผลิตยาสด 1. น�ำสมุนไพรตามสตู รตำ� รับมาท�ำความสะอาด จากนั้นห่ัน สับ หรอื โขลกให้แหลก เพ่อื ให้ยามขี นาด ตามทตี่ ้องการ 2. น�ำตัวยาสมุนไพรมาต�ำหรือโขลกให้ละเอียด ละลายน้�ำกระสายยาท่ีก�ำหนดก่อนใช้ยา และควรใช้ ทันทีเมอื่ ปรุงยาเสร็จ 3.11 ยาดอง (maceration) ยาดองเป็นยาเตรียมแผนโบราณไทยรูปแบบหนึ่ง ต�ำรายาโบราณให้วิธีการปรุงยาเตรียมรูปแบบน้ีไว้ รวมกับยาชงว่า เตรียมจาก “ยาตากแห้ง ประสมแล้ว บดเป็นผงหยาบ แช่น�้ำหรือดองเหล้า กินแต่น�้ำ” ยาดองน ี้ เตรียมจากตัวยาแห้ง โดยอาจต้มแล้วดองกบั น้ำ� หรือน้�ำตัวยาสมุนไพรบางอยา่ ง ดองเกลอื หรือดองเหล้า กระบวนการผลติ ยาดอง 1. หั่นหรอื สบั ตวั ยาให้มขี นาดเล็ก แล้วผสมปรงุ แตง่ ตามต�ำรับยา 2. นำ� มาบรรจใุ นภาชนะท่ีเหมาะสม เชน่ ขวดโหล ไห โถ จากน้นั ปิดฝาใหส้ นิท 464 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

3. เวลาที่ใชด้ องข้ึนอยู่กับตำ� รบั ยา หากต�ำราไม่ระบุไว้ให้ดองไว้ 3 วนั แล้วรนิ น้�ำยาดองน้ันด่มื จนยาจดื หากยังจ�ำเป็นต้องใชย้ าน้ันอกี ใหเ้ ตรียมยาข้ึนใหม่ โดยเทตวั ยาเกา่ ทิ้งไป ใช้ตัวยาใหม่แทน 3.12 ยาขผ้ี ึง้ (ointment) ยาขี้ผึ้งเป็นยาเตรียมแผนโบราณรูปแบบหน่ึง ต�ำรายาโบราณให้วิธีการปรุงยาเตรียมรูปแบบนี้ไว้ว่า เตรียมจาก “ยาประสมแล้ว ท�ำเป็นยากวนหรือยาขี้ผ้ึงปิดแผล” ยาขี้ผ้ึงเป็นรูปแบบยาใช้ภายนอก การเตรียมยา เป็นการต่อยอดมาจากการเตรียมยาน�้ำมัน เป็นภูมิปัญญาไทยท่ีเอาตัวยาไม่ละลายน�้ำเตรียมให้อยู่ในรูปน�้ำมัน แล้วเติมขี้ผง้ึ เพื่อให้เปน็ รูปแบบกงึ่ ของแข็ง ในการเตรียมยาขผ้ี ้งึ มอี งคป์ ระกอบหลกั 2 ส่วน คอื ข้ีผง้ึ และตวั ยาสำ� คัญ ขี้ผง้ึ มี 4 ประเภทหลัก ได้แก่ 1. ขผ้ี งึ้ ชนดิ ไฮโดรคารบ์ อน (oleaginous base) ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบเปน็ ไขลว้ น ๆ ไมม่ นี ำ�้ เปน็ องคป์ ระกอบ เม่อื ทาจะมลี กั ษณะเปน็ มนั ตดิ ผวิ หนัง ล้างออกยาก เช่น พาราฟนิ แข็ง (hard paraffin), พาราฟินนมิ่ (soft paraffin) 2. ขผ้ี ึ้งชนดิ ดดู น�้ำ (absorption base) ซึง่ มีองคป์ ระกอบเปน็ ไข เมอ่ื ทงิ้ ไว้จะดดู น�้ำได้ เชน่ ขผี้ ้งึ ไขแกะ 3. ขี้ผึ้งชนิดละลายน�้ำ (water-soluble base) ซ่ึงละลายน�้ำได้ ซึมเข้าผิวหนังได้ดี ไม่มีกล่ินหืน เช่น พอลิเอทลิ ีนไกลคอล 4. ขผ้ี ึง้ ชนิดอิมัลชัน (emulsifying base) ซ่ึงมีนำ้� เปน็ องค์ประกอบ เช่น ลาโนลิน กระบวนการผลิตยาขี้ผึ้ง วิธีที่ 1 ผสมตวั ยาลงไปในขผ้ี ้ึงพื้นที่หลอมเหลว 1. ละลายตัวยาสมนุ ไพรลงในขผ้ี ง้ึ ท่ีหลอมเหลว (หากตวั ยาเป็นของแข็ง ต้องบดใหล้ ะเอยี ด) 2. ทิ้งไวใ้ ห้เยน็ จนเกือบแขง็ ตวั 3. การผสมตัวยาลงไปตอนท่ีข้ีผึ้งเย็นจนเกือบแข็งตัวแล้วเท่าน้ัน ทั้งนี้ เพ่ือป้องกันการเสื่อมสลาย ของตัวยา วธิ ีท่ี 2 การบดผสมตัวยาในขี้ผึ้งพนื้ ทีแ่ ขง็ ตวั 1. ใชโ้ กรง่ บดตวั ยาใหล้ ะเอยี ด (กรณที ผี่ งยาไมล่ ะลายในขี้ผง้ึ หรือละลายไดน้ ้อย) 2. นำ� ขผ้ี ึง้ มาบดผสมลงไป หลอมให้เข้ากนั 3. เมื่ออุณหภูมิของสารผสมขี้ผ้ึงลดลงราว 40 องศาเซลเซียส หรืออุ่น ๆ ใกล้จะเริ่มแข็งตัว ให้เติม สารผสมลงในยาพนื้ โดยเทแลว้ กวนผสมให้เขา้ กนั 4. แบ่งบรรจุในบรรจุภณั ฑใ์ นขณะทย่ี าขผี้ ึง้ ยงั อุน่ อยู่ ท้งิ ไวใ้ ห้แข็งตวั กระทรวงสาธารณสขุ 465

3.13 ยาฝน ยาฝนเปน็ วิธีการเตรยี มยาสมุนไพรให้ยามีความละเอยี ด โดยการถูสมุนไพรบนหนิ หรอื ฝาละมี ร่วมกบั นำ�้ กระสายยา กระบวนการผลิตยาฝน 1. สมนุ ไพรเปน็ ช้นิ ขนาดปานกลาง 2. ฝนดว้ ยหินบดยา หินลบั มดี หรือฝาละมี 3. กรองเอานำ้� แลว้ ดืม่ นำ�้ ทไ่ี ดจ้ ากการฝน 3.14 ยาทา (liniment) ยาทาเป็นรูปแบบยาใช้ภายนอก ต�ำรายาโบราณให้วิธีการปรุงยาเตรียมรูปแบบนี้ไว้ว่า เตรียมจาก “ยาสดหรอื แหง้ ประสมแล้ว ใชเ้ ปน็ ยาทา” กระบวนการผลิตยาทา 1. ใช้ตัวยาสดหรือแห้ง ถ้าใช้ตัวยาสดให้ห่ันเป็นชิ้นก่อน แล้วต�ำหรือสับหยาบ ๆ ส่วนตัวยาแห้ง อาจบดหยาบ (ผ่านแร่งเบอร์ 60) ถงึ ละเอียดปานกลาง หยาบ (ผ่านแร่งเบอร์ 80) 2. น�ำมาผสมกันตามต�ำรับยา แลว้ ใสบ่ รรจภุ ณั ฑ์ 3. ทาบริเวณที่เป็น อาจใชร้ ่วมกับน�้ำกระสายยาตามที่ตำ� รบั ยาระบไุ ว้ 466 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ภาคผนวก ๔ อภธิ านศัพท์ กระทรวงสาธารณสขุ 467

กระษัย, กระไษย ์ ภาคผนวก 4 อภิธานศัพท์ กระสาย, กระสายยา ดู กษัย. น. เครือ่ งแทรกยา เช่น น�้ำ เหลา้ นำ�้ ผ้ึง นำ�้ ดอกไม้ ในทางเภสชั กรรมแผนไทย กระไสย ใชแ้ ทรกยาเพอ่ื ชว่ ยใหก้ นิ ยางา่ ยขนึ้ และ/หรอื เสรมิ ฤทธข์ิ องยาใหม้ สี รรพคณุ ดขี น้ึ , กลอ่ นลงฝกั หากเปน็ ของเหลวมกั เรียก นำ้� กระสาย หรือ น�ำ้ กระสายยา. (ส.กษาย).  กวาด, กวาดยา ดู กษัย. น. โรคเกิดเพราะเส้นเลอื่ นลงสถู่ ุงอัณฑะ ทำ� ให้ถุงอัณฑะโต ปัสสาวะขัด เปน็ ตน้ . กษัย ก. เอายาป้ายในปาก คอ ลิ้นของทารกและเด็ก โดยใช้น้ิวหมุนโดยรอบ มักใช ้ นิ้วชี.้   น. โรคกลุ่มหน่ึง เกิดจากความเส่ือมหรือความผิดปรกติของร่างกายจาก ความเจ็บป่วยที่ไม่ได้รับการรักษา หรือรักษาแล้วไม่หาย ท�ำให้ร่างกายซูบผอม กลา้ มเนอื้ และเสน้ เอน็ รดั ตงึ โลหติ จาง ผวิ หนงั ซดี เหลอื ง ไมม่ แี รง มอื เทา้ ชา เปน็ ตน้ ตำ� ราการแพทย์แผนไทยแบง่ ออกเปน็ ๒ กล่มุ ใหญ่ ๆ ตามสาเหตขุ องการเกิดโรค คือ กษยั ท่ีเกดิ จากธาตสุ มฏุ ฐาน (มี ๘ ชนิด ไดแ้ ก่ กษยั กล่อน ๕ ชนิด กับกษยั น้ำ� กษัยลม และกษัยเพลิง) กับกษัยท่ีเกิดจากอุปปาติกะโรค (มี ๑๘ ชนิด ได้แก่ กษัยล้น กษัยราก กษัยเหล็ก กษัยปู กษัยจุก กษัยปลาไหล กษัยปลาหมอ กษยั ปลาดุก กษัยปลวก กษัยลน้ิ กระบือ กษัยเต่า กษยั ดาน กษยั ทน้ กษยั เสยี ด กษัยกล่อน กษยั เพลงิ กษยั น้�ำ กษยั เชอื ก และกษัยลม), เขยี นวา่ กระษัย กระไษย์ กระไสย หรอื ไกษย ก็ม.ี น. โรคกษัยกลุ่มหน่ึง เกิดจากความผิดปรกติของธาตุท้ัง ๔ ต�ำราการแพทย ์ กษยั กลอ่ นนำ้� แผนไทยแบ่งออกเปน็ ๕ ชนดิ คือ กษัยกลอ่ นดิน กษยั กล่อนนำ้� กษยั กล่อนลม กษัยกล่อนไฟ และกษัยเถา. น. กษยั กล่อนชนิดหนึง่ เกดิ จากความผิดปรกตขิ องธาตุน�ำ้ ได้แก่ เลือด น�้ำเหลอื ง หรือเสมหะ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือท้ัง ๓ อย่าง เป็นได้ท้ังผู้ชายและผู้หญิง กษยั กล่อนไฟ รกั ษายาก ผปู้ ว่ ยมกั มอี าการเจบ็ ปวดมากบรเิ วณยอดอก อาจลามถงึ ตบั และหวั ใจได,้ กษยั เลือด หรือ กษยั โลหิต กเ็ รยี ก. น. กษัยกล่อนชนิดหนึ่ง เกิดจากความผิดปรกติของธาตุไฟ เป็นได้ท้ังผู้ชาย และผ้หู ญิง รกั ษายาก ผ้ปู ่วยมกั มอี าการจุกเสยี ด แน่นหน้าอกมาก ร้อนอยภู่ ายใน เหงอ่ื ออกมาก เบ่อื อาหาร เจบ็ บริเวณยอดอกอยตู่ ลอดเวลา แตไ่ ม่รุนแรง ตาแดง กษยั กล่อนลม มไี ขต้ อนบา่ ย อาจมอี าการบวมทใี่ บหนา้ ทอ้ ง หรอื เทา้ หากมอี าการบวมพรอ้ มกนั ท้ัง ๓ แห่ง จะรกั ษาไมไ่ ด.้ น. กษัยกล่อนชนิดหนึ่ง เกิดจากความผิดปรกติของธาตุลม เป็นได้ทั้งผู้ชายและ ผู้หญิง รักษายาก ผู้ป่วยมักมีอาการจุกเสียดแน่นในท้อง ปวดท้อง ร้อนภายใน ทรวงอก แตต่ ัวเยน็ เปน็ ตน้ . 468 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

กษยั ดาน น. กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหนึ่ง เกิดท่ียอดอก ท�ำให้กล้ามเนื้อต้ังแต ่ ยอดอกถึงหน้าท้องแข็งมาก ผู้ป่วยมีอาการปวด จุกเสียดแน่น กินข้าวไม่ได ้ ถ้าลามลงถึงท้องน้อย ท�ำให้ปวดอยู่ตลอดเวลา ถูกความเย็นไม่ได้ แต่ถ้าลาม ลงไปถึงหวั หน่าวจะรกั ษาไม่ได.้ กษัยเถา น. กษัยกล่อนชนิดหน่ึง เกิดจากความผิดปรกติของลมสันฑฆาตและลมปัตฆาต ซึ่งท�ำให้เส้นพองและแข็งอยู่บริเวณหัวหน่าวไปจนถึงหลัง ผู้ชายจะเกิดทาง ด้านขวา ส่วนผู้หญิงจะเกิดทางด้านซ้าย รักษายาก ผู้ป่วยมักมีอาการเจ็บปวด ในทรวงอกและปวดเสียวจนถงึ บริเวณตน้ คอ ปัสสาวะเป็นเลือด เป็นต้น. กษัยลม น. กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากลมในร่างกายผิดปรกติ ลมทั่วร่างกายมารวมกันท่ีเหนือสะดือ ผู้ป่วยมีอาการจุกเสียด แน่นหน้าอกมาก หายใจขัด กินอาหารไมไ่ ด้ เสียวแปลบท่ัวรา่ งกายคล้ายถกู เขม็ แทง. กษัยเลือด, กษัยโลหิต ดู กษัยกลอ่ นน้�ำ.  กษัยเส้น น. ความผิดปรกติท่ีเกิดในกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น ท�ำให้มีอาการปวดเมื่อย ตามรา่ งกาย ทอ้ งผูก ออ่ นเพลีย เป็นตน้ . กษยั เหล็ก น. กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหน่ึง เกิดจากลมอัดแน่นแข็งเป็นดาน อยู่ในท้องน้อย ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวด ท้องแข็งลามขึ้นไปถึงยอดอก กินอาหาร ไมไ่ ด้ เป็นตน้ . กจุ ฉิสวาตอตสิ าร น. ปจั จบุ นั กรรมอตสิ ารชนดิ หนงึ่ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยวา่ เกดิ จากลมกจุ ฉสิ ยา- วาตารวมกันเป็นก้อนในท้องอยู่นอกล�ำไส้ ผู้ป่วยจะไม่มีอาการปวดมวนในท้อง อุจจาระไหลออกมาเอง และมกี ลนิ่ เหม็นคาว. โกฏฐาสยาวาตา น. ลมพัดในล�ำไส้และกระเพาะอาหาร เป็นองค์ประกอบ ๑ ใน ๖ ชนิดของ ธาตลุ ม. ไกษย ดู กษยั . ขบั ก. บงั คบั ใหอ้ อก เชน่ ขบั น�้ำคาวปลา ขบั ลม ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ. ไข ้ ๑. น. ความเจ็บป่วยทางกายหรือทางจิต เช่น ไข้พิษ ไข้กาฬ ไข้เหนือ ไข้หวัด นอกจากน้ี ในทางการแพทย์แผนไทยยงั มีไข้ตวั เยน็ อันเกดิ จากธาตุไฟพกิ าร. ๒. ก. อาการคร่ันเน้ือครั่นตัว สะบัดร้อนสะท้านหนาว ปวดเมื่อย, โดยท่ัวไป หมายถึง อาการท่ีมีอุณหภูมิของร่างกายสูงข้ึนผิดจากระดับปรกติเน่ืองจาก ความเจบ็ ปว่ ย. ไขก้ าล, ไข้กาฬ ๑. น. โรคกลุ่มหน่ึง ผปู้ ว่ ยมกั มไี ข้ มีเม็ดข้ึนตามอวัยวะภายใน เช่น ปอด ตับ ม้าม แลว้ ผุดออกมาท่ีผวิ หนัง เป็นเมด็ สีด�ำ สีเขียว สคี ราม หรอื เป็นเม็ดทราย เปน็ แผน่ เป็นวงท่ัวตัว ท�ำให้เกิดอาการแตกต่างกันไป ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่ง ออกเป็น ๑๐ ชนิด ได้แก่ ไข้ประกายดาษ ไข้ประกายเพลิง หัด เหือด งูสวัด เริมน�ำ้ คา้ ง เรมิ น�ำ้ ข้าว ลำ� ลาบเพลงิ ไฟลามทงุ่ และก�ำแพงทะลาย. ๒. น. ชอ่ื โรค กลุ่มหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการไข้สูง และมีเม็ดผ่ืนขึ้นตามร่างกาย ได้แก่ ไข้ประดง ไขก้ ระโดง และไขร้ ากสาด. กระทรวงสาธารณสขุ 469

ไขจ้ บั ส่นั , ไข้ดอกบวบ, ไขด้ อกสัก ดู ไขป้ า่ . ไขต้ ามฤด ู ดู ไขเ้ ปลย่ี นฤดู. ไข้ทบั ระด ู น. อาการไขข้ ณะที่กำ� ลงั มีระดูหรอื ระดูเพง่ิ หยุด อาการอาจรนุ แรงถงึ ตายได.้ ไขป้ ระดง ดู ประดง. ไข้ประดงลม ดู ประดงลม. ไข้ป่า น. โรคชนิดหนง่ึ ผปู้ ว่ ยมีอาการไข้สูงมากเป็นเวลา ส่วนใหญม่ ักมีอาการหนาวสนั่ ร่วมดว้ ย นอกจากนี้ ยังอาจมอี าการปวดศรี ษะ มอื และเทา้ เยน็ มเี หงื่อออกมาก กระหายน้�ำ ปัสสาวะบ่อย หากเป็นติดต่อกันหลายวันไม่หาย ผู้ป่วยจะซีด เบอื่ อาหาร ตบั โต มา้ มโต เป็นต้น โบราณเรยี ก ไขป้ า่ เนอ่ื งจากผูป้ ว่ ยมักเป็นโรคน ี้ หลังกลับออกมาจากป่า, ไข้จับส่ัน (ผู้ป่วยมักมีอาการหนาวสั่น) ไข้ดอกสัก (ผปู้ ว่ ยมกั เปน็ โรคนใี้ นชว่ งฤดฝู นซงึ่ เปน็ ชว่ งทด่ี อกสกั บาน) หรอื ไขด้ อกบวบ กเ็ รยี ก. ไข้เปล่ียนฤด ู น. โรคชนิดหนงึ่ มกั เกดิ ข้ึนในชว่ งรอยตอ่ ของแต่ละฤดู ผ้ปู ว่ ยมักมไี ข้ สะบดั รอ้ น สะท้านหนาว กระหายน�้ำ เป็นต้น ในทางการแพทย์แผนไทยอาจแบ่งโรคน ี้ ตามฤดกู าล เป็น ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ไขใ้ นฤดูรอ้ น ไขใ้ นฤดูฝน และไขใ้ นฤดูหนาว, ไขต้ ามฤดู ไขส้ ามฤดู ไข้หัวลม หรือ อุตปุ รณิ ามชาอาพาธา กเ็ รียก. ไข้พษิ ไข้กาฬ น. โรคกลมุ่ หนงึ่ ท่มี ีอาการรนุ แรง ผู้ปว่ ยมอี าการปวดศรี ษะ ตวั รอ้ นจดั ปากแห้ง ฟันแห้ง น�้ำลายเหนียว ตาแดง ร้อนในกระหายน้�ำ มือเท้าเย็น มีเม็ดสีด�ำ แดง หรือเขียว ขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้างผุดขึ้นตามร่างกาย ต�ำราการแพทย์แผนไทย แบง่ ออกเปน็ 21 ชนิด โดยเรยี กชื่อแตกต่างกนั ตามลักษณะอาการ เช่น ไข้อแี ดง ไข้ปานดำ� ไข้ปานแดง ไข้รากสาด. ไขม้ ะเรง็ ดูใน มะเรง็ . ไข้รากสาด น. ไข้กาฬกลุ่มหน่ึง ผู้ป่วยอาจมีอาการตัวร้อนจัด มือเท้าเย็น ปวดศีรษะมาก ตาแดง เพ้อ มือก�ำเท้าก�ำ ตาเหลือกตาซ้อน หรืออาจมีอาการตัวเย็น เหงื่อ ออกมาก แต่ร้อนภายใน หอบ สะอึก ลิ้นกระด้างคางแข็ง เช่ือมมัว ไม่มีสติ นอกจากนี้ ยงั อาจมอี าการถา่ ยเปน็ เลือด ไอเป็นเลอื ด อาเจยี นเปน็ เลอื ด เป็นต้น ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่งไข้รากสาดออกเป็น ๙ ชนิด เรียกชื่อแตกต่างกัน ไปตามลักษณะอาการท่ีปรากฏให้เห็นทางผิวหนัง ได้แก่ ไข้รากสาดปานแดง ไข้รากสาดปานด�ำ ไข้รากสาดปานเขียว ไข้รากสาดปานเหลือง ไข้รากสาด ปานขาว ไข้รากสาดปานม่วง ไข้รากสาดนางแย้ม ไข้รากสาดพะนันเมือง และ ไข้รากสาดสามสหาย, ไข้ลากสาด กเ็ รียก. ไข้รำ� เพร�ำพัด, ไข้ลมเพลมพดั โรคชนิดหนง่ึ มกั ไม่ทราบสาเหตุ ผู้ปว่ ยมีอาการแตกตา่ งกันออกไป เช่น อาจมไี ข้ จกุ เสยี ดในท้อง อาเจียน ละเมอเพอ้ พก, ร�ำเพร�ำพดั หรอื ลมเพลมพัด ก็เรยี ก.  ไขล้ ากสาด ดู ไขร้ ากสาด. ไข้สนั นบิ าต ดู สนั นบิ าต. ไขส้ ามฤด ู ดู ไข้เปลย่ี นฤดู.  ไขห้ ัด ดู ไขอ้ อกหดั .  ไข้หดั หลบใน ดใู น ไขอ้ อกหัด. 470 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ไขห้ วั ลม ดู ไข้เปลี่ยนฤดู.  ไข้เหอื ด ดู ไขอ้ อกเหือด. ไขอ้ อกหดั น. ไข้กาฬชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีไข้ สะบัดร้อนสะท้านหนาว เชื่อมมัว ปวดศีรษะ หลังจากนั้นจะมีเม็ดคล้ายเม็ดทรายยอดแหลมผุดขึ้นท่ัวตัว หากไม่มีเม็ดยอด ผดุ ขน้ึ มาโบราณเรยี ก หดั หลบ หรือ ไขห้ ดั หลบใน ผปู้ ่วยมีอาการท้องเสีย เป็นตน้ , ไข้หดั กเ็ รยี ก. ไขอ้ อกเหอื ด น. ไข้กาฬชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการคล้ายไข้ออกหัด แต่เม็ดที่ผุดขึ้นท่ัวตัวยอด ไมแ่ หลม, ไข้เหือด ก็เรยี ก.  ฆานโรโค, ฆานะโรโค น. ริดสีดวงประเภทหน่ึง เกิดในจมูก ผู้ป่วยจะหายใจขัด มีเม็ดขึ้นในจมูก เมอ่ื เมด็ นน้ั แตกจะทำ� ใหป้ วดแสบปวดรอ้ นมาก นำ�้ มกู ไหลอยตู่ ลอดเวลา ลมหายใจ มกี ลน่ิ เหมน็ เปน็ ต้น, รดิ สีดวงจมูก กเ็ รยี ก.  จุก ก. อาการท่ีบงั เกดิ แน่นอยู่ในอกหรือในทอ้ ง เช่น กินมากจนจกุ . เจรญิ อาหาร ๑. ก. บริโภคอาหารได้มากข้ึน. ๒ ว. เกี่ยวกับการบริโภคอาหารได้มาก เกี่ยวกบั ความรู้สึกอยากอาหาร เชน่ ยาเจริญอาหาร.  ชโลม ก. ทำ� ใหเ้ ปยี กชมุ่ ในทางการแพทยแ์ ผนไทย ใชผ้ า้ ชบุ นำ้� ยาแลว้ เชด็ ตวั ใหเ้ ปยี ก เชน่ ชโลมยา ชโลมนำ้� . ช้ำ� ร่ัว น. โรคทางเดนิ ปสั สาวะและอวยั วะสบื พนั ธก์ุ ลมุ่ หนงึ่ เกดิ กบั ผหู้ ญงิ ผปู้ ว่ ยมอี าการ ปวดแสบปวดร้อนภายในช่องคลอดและช่องทวารเบา กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เจ็บและขัดถึงบริเวณหัวหน่าว ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า อาจเกิดจากสาเหตุ ๔ ประการ ได้แก่ ๑) เกิดจากการคลอดบุตรแล้วอยู่ไฟไม่ได้ ท�ำให้เสมหะ โลหิตเดินไม่สะดวก มดลูกเน่า ๒) เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์มากเกินไป ๓) เกดิ จากฝีในมดลกู ทำ� ให้มีหนองหรือน้�ำเหลอื งไหลออกมา และ ๔) น้ำ� เหลือง ทเ่ี กดิ จากทางเดินปสั สาวะอกั เสบไหลออกมา ทำ� ใหเ้ กิดแผลเปือ่ ยลามทท่ี วารเบา ปสั สาวะไหลกะปริบกะปรอย ปวดแสบ ขัดหวั หนา่ ว. เชื่อม 1. น. อาการอย่างหนง่ึ ของผู้ป่วยท่ีเปน็ โรคบางชนดิ มีลักษณะอาการหน้าหมอง ซึม มึนงง ตาปรือ คล้ายจะเป็นไข้ หรือเป็นอาการท่ีเกิดจากพิษไข้หรือพิษของ โรคบางชนิด. 2. ว. มีอาการเง่ืองหงอยมึนซึมคล้ายเป็นไข้ มักใช้ร่วมกับค�ำอ่ืน ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับอาการที่แสดงออกให้เห็นเด่นชัด ได้แก่ เช่ือมซึม เช่ือมมึน และเชอื่ มมวั . เชือ่ มมวั ดูใน เช่อื ม. เชื่อมมึน ดใู น เชือ่ ม. ซาง น. โรคเด็กประเภทหนึ่ง มักเกิดในเด็กเล็ก ท�ำให้มีอาการตัวร้อน เช่ือมซึม ปากแหง้ อาเจียน กินอาหารไมไ่ ดท้ ้องเดิน มเี ม็ดขน้ึ ในปาก คอ ลิน้ เป็นฝ้า เป็นต้น แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ซางเจา้ เรอื น และ ซางจร ทั้งซางเจา้ เรือนและซางจร จะท�ำใหม้ ีอาการแตกต่างกนั ตามวันเกิดของเด็ก, เขียนว่า ทราง ก็ม.ี ซางกำ� เนดิ ดู ซางเจ้าเรือน. กระทรวงสาธารณสุข 471

ซางจร น. ๑. ซางทีเ่ กิดแทรกข้ึนระหวา่ งซางเจ้าเรอื น ท�ำใหอ้ าการรนุ แรงขนึ้ , ซางแทรก ก็เรียก. ๒. ซางท่ีเกิดต่อเนื่องจากซางเจ้าเรือน ท�ำให้มีอาการรุนแรงขึ้น เช่น ซางกราย เป็นซางจรทอ่ี าจเกิดต่อเนอ่ื งจากซางเพลงิ . ซางเจา้ เรือน น. ซางทเี่ กดิ กบั ทารกต้งั แตอ่ ายคุ รรภไ์ ด้ ๓ เดือน จนอายไุ ด้ ๕ ขวบ ๖ เดอื น, ซางกำ� เนิด กเ็ รียก.  ซางแทรก ดู ซางจร. ซางฝา้ ย น. ซางจรชนิดหนึ่ง เกดิ แทรกซางนำ�้ อนั เป็นซางเจ้าเรอื น ประจำ� เด็กเกิดวนั จันทร์ ไม่มีแม่ซางเกิดข้ึนตามผิวหนังแต่ขึ้นที่เพดานปาก กระพุ้งแก้ม ไรฟัน และลิ้น เด็กท่ีเป็นโรคน้ีจะมีอาการล้นิ เป็นฝ้าขาว มีไข้สูง ปากรอ้ น ปากแหง้ ไมม่ นี ำ้� ลาย หุบปากไม่ลง กินอาหารไม่ได้ อาเจียน ท้องเดิน อุจจาระเหม็นเหมือนไข่เน่า เป็นต้น. ดู ซางจร ประกอบ.  ซางเพลงิ , ซางไฟ น. ซางเจ้าเรือนประจ�ำเด็กเกิดวันอาทิตย์ เด็กท่ีป่วยเป็นโรคนี้จะเริ่มมีเม็ดยอด ท่เี ป็นแม่ซาง 4 เมด็ เกดิ ท่ีบริเวณฝา่ เทา้ เมอ่ื อายไุ ด้ 7 วนั และมีเมด็ ยอดทีเ่ ป็น บริวารอกี 40 เมด็ ข้ึนทหี่ นา้ แขง้ ขา้ งละ 20 เม็ด ซ่ึงอาจจะรักษาใหห้ ายไดใ้ น 11 วัน แต่ถ้ารักษาไม่หายและมีอาการคงอยู่ แม่ซางและบริวารจะกระจาย ออกไป ท�ำให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น เมื่อแม่ซางและบริวารกระจายขึ้นไปจาก กลางหน้าแข้งถึงหัวเข่าจะเป็นเม็ดสีแดงลามออกไปเหมือนไฟไหม้ ท�ำให้ม ี อาการปวด เม่อื มีอาการรุนแรงขนึ้ อาจถึงตายได.้  ดู ซางเจา้ เรอื น ประกอบ.  ตานขโมย ดู ตานโจร. ตานโจร น. ตานท่ีเกิดกับเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 5-7 ขวบ แพทย์แผนไทยเชื่อว่ามักเกิดจาก การกินอาหารอันท�ำให้เกิดพยาธิในร่างกาย มีอาการหลายอย่าง เช่น ลงท้อง ธาตุวิปริต ชอบกินของสดของคาว กินอาหารได้น้อย อุจจาระเหม็นคาวจัด ถ่ายกะปริบกะปรอยหรือเป็นมูกเลือด บางทีเลือดออกสด ๆ ท�ำให้เด็กซูบซีด เม่ือเป็นนานประมาณ ๓ เดือน จะมีอาการลงท้อง ตกเลือดดั่งน้�ำล้างเน้ือ ปวดมวนเปน็ มกู เลือด ดากออก ตวั ผอมเหลอื ง, ตานขโมย กเ็ รียก. ตานซาง, ตานทราง, ตาลทราง น. ๑. โรคหรือความเจบ็ ป่วยที่เกิดในเดก็ มี ๒ กลุ่มใหญ่ คือ โรคตาน และ โรคซาง ใชค้ �ำนี้เมื่อไม่ตอ้ งการระบเุ ฉพาะเจาะจงวา่ เป็นโรคใด. ๒. โรคตานที่เกิดข้ึนต่อเน่ืองจากโรคซาง แต่รักษาไม่หาย เม่ือเด็กพ้นเขตซาง จึงพฒั นาเป็นโรคตาน. เถาดาน น. โรคชนิดหน่ึง มีลักษณะเป็นล�ำแข็งตั้งขึ้นที่ยอดอกแล้วลามลงไปถึงท้องน้อย ทำ� ให้เจ็บปวด จกุ เสยี ด แนน่ หนา้ อก. ทราง ดู ซาง. ทอ้ งมาน, ท้องมาร น. ชื่อโรคจ�ำพวกหน่ึง มีอาการใหท้ ้องโตอยา่ งหญิงมีครรภ.์ ทุนยักษวาโย โรคลมจรชนิดหนึ่ง ต�ำราว่าเกิดจากกองลมอัมพาต ผู้ป่วยมีอาการเสียดตั้งแต่ บรเิ วณสขี า้ งและชายโครงขนึ้ มา ทำ� ใหต้ วั งอ ทอ้ งแขง็ กนิ อาหารไมไ่ ด้ มกั อาเจยี น เปน็ ลมเปลา่ ตาฟาง ทอ้ งเสยี เปน็ ต้น. 472 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

โทสนั ฑฆาต, โทสนั ทฆาต, น. โรคชนิดหนึ่งท่ีเกิดจากการกระทบกระแทกอย่างแรงจนชอกช�้ำ เป็นอาการ โทสนั ทะฆาฎ ตอ่ เนอ่ื งจากเอกสนั ฑฆาต เกดิ อาการทอ้ งผกู จนเปน็ พรรดกึ เกดิ เปน็ กองลมเขา้ ไป อยู่ในท้อง ท�ำให้เจ็บปวดไปท้ังตัว มีอาการเม่ือยบ้ันเอว ขัดตะโพก เวียนศีรษะ สะบัดรอ้ น สะทา้ นหนาว เปน็ ตน้ . ดู สันฑฆาต, สนั ทฆาต, สนั ทะฆาฎ ประกอบ. ธาตกุ �ำเรบิ น. ภาวะที่ธาตใุ ดธาตุหนงึ่ ท�ำหนา้ ทีม่ ากผิดปรกติจนท�ำใหเ้ กดิ โทษขนึ้ เชน่ ธาตุไฟ ก�ำเริบ (สันตปั ปคั คีกำ� เริบ) จะท�ำให้เกิดอาการตวั ร้อน มไี ข.้   นำ้� กระสาย, น�้ำกระสายยา ดู กระสาย, กระสายยา. ในเรอื นไฟ ดู อยู่ไฟ. บาทจติ ร ดู ลมบาทจติ ต,์ ลมบาดทะจติ ร. บ�ำรุงเลอื ด, บำ� รุงโลหิต 1. ก. ทำ� ให้เลือดมากขึ้นหรอื ดขี ึ้น. 2. ว. ซง่ึ ท�ำใหเ้ ลอื ดมากขนึ้ หรือดขี ้นึ . ประดง น. 1. โรคกลุ่มหน่ึง ต�ำราการแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่ว่าเกิดจากไข้กาฬ แทรกไข้พิษ ผู้ป่วยมีเม็ดผื่นหรือตุ่มขึ้นตามผิวหนัง อาจมีอาการคัน ปวดแสบ ปวดรอ้ น ตวั รอ้ น มอื เท้าเย็น รอ้ นในกระหายน้ำ� หอบ สะอึก ปวดเมอ่ื ยในกระดกู ปวดศรี ษะ เปน็ ตน้ แบง่ ออกเปน็ 8 ประเภท ตามลกั ษณะของเมด็ ผนื่ หรอื ตมุ่ ไดแ้ ก ่ ประดงมด ประดงชา้ ง ประดงควาย ประดงวัว ประดงลงิ ประดงแมว ประดงแรด และประดงไฟ. 2. โรคประเภทหนึ่ง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เกิดจากลม รามะธานี ซ่ึงเกิดที่หัวใจ พัดขึ้นไปบนศีรษะ ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการคันหู หน้า และตา. 3. โรคผิวหนังชนดิ หนง่ึ ทำ� ใหค้ ัน เป็นตน้ ตามตำ� ราการแพทย์แผนไทย วา่ มหี ลายชนดิ เชน่ ประดงเลือด ประดงลม, ไขป้ ระดง กเ็ รยี ก. ประดงลม น. ประดงชนดิ หนง่ึ ผปู้ ว่ ยมผี นื่ คนั ขน้ึ ตามผวิ หนงั เปน็ กลมุ่ ๆ โบราณวา่ เกดิ จากลม เปน็ พิษ, ไขป้ ระดงลม หรอื ลมพษิ กเ็ รยี ก.  ปัฏฆาต, ปัตฆาฏ, ปัตะฆาฎ ดู ปัตคาด. ปตั คาด น. ๑. เส้นท่มี ีจดุ เริม่ ต้นบริเวณขอบเชงิ กรานด้านหน้า แลน่ ถงึ ตาต่มุ เสน้ ด้านบน จะแล่นไปทางด้านหลัง ขึ้นข้างกระดูกสันหลัง (ถัดออกมาจากเส้นรัตตฆาต) ถึงบริเวณต้นคอ ท้ายทอย ขึ้นศีรษะ แล้วลงมาที่แขน เส้นที่อยู่ด้านขวา เรียก เส้นปัตฆาตขวา เส้นท่ีอยดู่ า้ นซ้าย เรียก เส้นปตั ฆาตซ้าย สว่ นเส้นด้านลา่ งจะเรม่ิ จากบรเิ วณหน้าขา แลน่ ลงมาถงึ ตาตุ่มดา้ นใน เรียก เส้นปัตฆ­ าตใน ส่วนดา้ นนอก เร่ิมจากบริเวณสะโพก แล่นลงมาถึงตาตุ่มด้านนอก เรียก เส้นปัตฆาตนอก. ๒. โรคลมชนิดหน่งึ ผ้ปู ว่ ยมกั มอี าการปวดเม่อื ยตามแนวเสน้ ปตั ฆาต เคลื่อนไหว ไมส่ ะดวก, ลมปตั ฆาต กเ็ รยี ก, เขยี นว่า ปัฏฆาต ปัตฆาฏ หรอื ปตั ะฆาฎ ก็มี.  ฝีปลวก น. ฝีวัณโรคชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีต่อมกลัดหนองขึ้นท่ีปอด ต�ำราว่าเมื่อเริ่มเป็น จะมีอาการเจ็บบริเวณหน้าอกถึงสันหลัง ท�ำให้ผอมเหลือง อาเจียนเป็นเลือด ไอเร้ือรัง เหม็นคาวคอ กนิ ไมไ่ ดน้ อนไม่หลบั . ฝีมะเรง็ ดูใน มะเรง็ . ฝีมานทรวง น. ฝีวัณโรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีต่อมกลัดหนองเกิดขึ้นที่บริเวณทรวงอก ต�ำราว่า เมอื่ เรม่ิ เปน็ จะมอี าการยอก จุกเสียด แนน่ หน้าอก หายใจขดั ไอมเี สมหะ ซูบผอม เป็นตน้ . กระทรวงสาธารณสุข 473

ฝีเอน็ น. ฝีชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีเม็ดผุดข้ึนตามเส้นเอ็น มักพบบริเวณเส้นเอ็นที่ล�ำคอ ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เกิดจากความบอบช�้ำบริเวณล�ำคออันเน่ืองมาจาก การคลอด. พรรดึก 1. ก. อาการทอ้ งผูกมาก มอี ุจจาระเป็นก้อนแข็ง คลา้ ยขแี้ มวหรือขีแ้ พะ. 2. น. อจุ จาระเปน็ กอ้ นแข็ง กลม คลา้ ยขี้แมวหรือข้ีแพะ. พาหรุ วาโย น. โรคลมจรชนิดหน่งึ ตำ� ราว่าเกิดจากกองสขุ มุ ังควาต ผู้ปว่ ยมีอาการมอื เท้าบวม หนักศีรษะ วิงเวียน น้�ำมูกน้�ำตาไหล เสียวมือและเท้าเป็นเหน็บ หากเป็นนาน ถึง ๕ เดือน ผู้ป่วยจะลกุ ไม่ข้นึ . พษิ ไข ้ น. อาการผิดปรกติท่ีเกิดข้ึนจากไข้ เช่น มีผื่น ร้อนใน กระหายน�้ำ ท้องผูก ออ่ นเพลีย ครัน่ เนื้อครัน่ ตัว. ไฟธาตุกำ� เริบ น. ภาวะที่ธาตุไฟในร่างกายท�ำหน้าที่มากผิดปรกติจนท�ำให้เกิดโทษ เช่น สันตัปปัคคีก�ำเริบ จะท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการตัวร้อน เป็นไข้ เป็นต้น. ดู ธาตุก�ำเริบ ประกอบ.  มงครอ่ , มงคลอ่ ดู มองครอ่ . มดลูกเขา้ อ ู่ น. มดลกู หดตัวเข้าส่ภู าวะปรกติภายหลงั คลอด. มองคร่อ น. 1. โรคระบบทางเดินหายใจประเภทหน่ึง ผู้ป่วยมีเสมหะเหนียวข้นอยู่ใน ช่องหลอดลมท�ำให้มีอาการไอเรื้อรัง. 2. ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันหมายถึง โรคหลอดลมโปง่ พอง มีเสมหะในชอ่ งหลอดลม ทำ� ให้มอี าการไอเรอ้ื รงั โดยเฉพาะ เมอื่ นอนราบ, มงครอ่ หรือ มงคล่อ ก็เรยี ก. (อ. bronchiectasis). มะเรง็ น. โรคเร้อื รงั กลมุ่ หนง่ึ ผู้ปว่ ยมักมีแผล ผนื่ ตมุ่ กอ้ น เปน็ ตน้ ผุดขน้ึ ตามส่วนต่าง ๆ ภายในหรือภายนอกร่างกาย ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่งเป็นหลายประเภท เช่น มะเรง็ ไร มะเรง็ ตะมอย มะเรง็ ทรวง มะเรง็ ช้าง หากผู้ป่วยมีอาการไข้รว่ มด้วย มักเรียก ไข้มะเร็ง เช่น ไข้มะเร็งปากทูม ไข้มะเร็งปากหมู ไข้มะเร็งเปลวไฟฟ้า หากผู้ป่วยมีฝีร่วมด้วย เรียกว่า ฝีมะเร็ง เช่น ฝีมะเร็งทรวง ฝีมะเร็งฝักบัว ฝีมะเร็งตะมอย. ๒. ในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน หมายถึง เนื้องอกชนิดร้าย เกิดข้ึนเพราะเซลล์แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ควบคุมไม่ได้แล้วแทรกไปตามเนื้อเยื่อ ข้างเคียง และอาจหลุดจากแหล่งเร่ิมต้นไปแบ่งตัวเพิ่มจ�ำนวนที่บริเวณอื่น ๆ ได้ รักษาไมค่ ่อยหาย.  มะเร็งไร น. โรคมะเร็งชนิดหนึง่ ผู้ปว่ ยมตี ่มุ คลา้ ยหดิ ขึน้ ตามผวิ หนงั มีอาการคนั มาก มักเกา จนเลือดซึม อาการไม่รุนแรงถึงชีวิต แต่รักษาให้หายขาดยาก ต�ำราการแพทย์ แผนไทยว่า เกิดจากพยาธคิ ล้ายตวั ไร. มุตกดิ น. โรคชนิดหน่งึ เกิดกบั ผู้หญงิ ผู้ป่วยมกั มรี ะดขู าว ปัสสาวะขุน่ ขน้ บางครง้ั บริเวณ ขอบทวารเบา อาจเป็นเม็ดหรอื แผล คนั เป่อื ย แสบ เหม็นคาว มอี าการแสบอก กนิ อาหารไมร่ รู้ ส ปวดหลงั เสยี วมดลกู เปน็ ตน้ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยหลายเลม่ แบง่ มุตกดิ ออกเป็น ๔ จ�ำพวก คอื ๑) ปสั สาวะเปน็ ช้�ำเลือด มกี ลน่ิ เหมือนปลาเนา่ ๒) ปัสสาวะเปน็ เลอื ดจาง ๆ สเี หมอื นน้�ำชานหมาก ๓) ปัสสาวะเปน็ หนองจาง ๆ เหมือนน�ำ้ ซาวขา้ ว และ ๔) ปสั สาวะเปน็ เมอื ก หยดลงเหมอื นน�ำ้ มกู ไหล, เขยี นว่า มุตรกฤจฉ์ มุตรกฤต มุตรก์ ิจฉ์ หรือ มตุ ระกฤต กม็ ี. 474 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

มตุ ฆาต, มุตตฆาต น. โรคชนิดหน่ึงท่ีท�ำให้เกิดความผิดปรกติของน�้ำปัสสาวะ เกิดจากการกระทบ กระแทก เชน่ จากอบุ ตั เิ หตุ เพศสมั พนั ธ์ ผปู้ ว่ ยมอี าการปวดมากเวลาถา่ ยปสั สาวะ ปัสสาวะกะปริบกะปรอย ปวดขัดบริเวณสีข้าง จุกเสียดบริเวณหน้าอก อาเจียน เป็นลมเปล่า เบอื่ อาหาร เป็นตน้ , เขยี นว่า มุตรฆาฏ หรอื มุตระฆาฎ กม็ .ี มตุ รกฤจฉ์, มตุ รกฤต, มตุ ร์กิจฉ์, ดู มุตกดิ . มุตระกฤต, มุตรฆาฏ, มุตระฆาฎ ดู มุตฆาต, มตุ ตฆาต. ยา ๑. น. สิ่งท่ีใช้แก้ ป้องกันโรค หรือบ�ำรุงร่างกาย ในทางการแพทย์แผนไทย มกั หมายถงึ ผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดจ้ ากสมนุ ไพรตงั้ แต่ ๒ สงิ่ ขนึ้ ไป ผสม ปรงุ แตง่ ตามตำ� รบั เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เช่น ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาน้�ำ เรียกตามสีก็มี เช่น ยาเขียว ยาด�ำ เรียกตามรสหรือกลิ่นก็มี เช่น ยาขม ยาหอม เรยี กตามวธิ ที ำ� ก็มี เชน่ ยาต้ม ยาดอง ยาฝน ยาหลาม เรยี กตามกริ ยิ า ท่ีใช้ก็มี เช่น ยากวาด ยาดม ยาอม ยานัตถุ์ ยาเป่า ยาพ่น ยาพอก ยาเหน็บ ยาสวน. ๒. (กฎ) น. วตั ถทุ ร่ี บั รองไวใ้ นตำ� รายาทรี่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ ประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายส�ำหรับใช้ในการวินิจฉัย บ�ำบัด บรรเทา รักษา หรือ ป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุท่ีเป็นเภสัชเคมีภัณฑ ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งส�ำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายส�ำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสรา้ ง หรอื การกระทำ� หนา้ ทใี่ ด ๆ ของรา่ งกายของมนษุ ยห์ รอื สตั ว.์ ๓. ก. ทำ� ให้ หายโรค, รักษาใหห้ าย ในคำ� วา่ เยียวยา.  ยาประจ ุ น. ยาแผนโบราณประเภทหนึง่ ใช้ขบั พิษ ถา่ ยพิษ ล้างพิษ หรือฟอกพิษ. ยาประจโุ ลหิต น. ยาฟอกเลือด ยาขับโลหิตระดทู ีเ่ นา่ เสียออกจากร่างกาย. ยาผาย น. ยาแผนโบราณไทยรปู แบบหนึง่ ใช้ขับหรือระบายลม เลือด และธาตุ ให้เดนิ เป็นปรกติ เช่น ยาผายลมช่วยให้ลมระบายออกทางทวารหนัก ยาผายเลือด เป็นยาส�ำหรับฟอดเลือดหรือระดูให้เป็นปรกติ ยาผายธาตุช่วยให้ถ่ายอุจจาระ เปน็ ปรกติ. รอ้ นใน น. อาการรอ้ นภายในชอ่ งทอ้ งถึงภายในปาก ผ้ปู ว่ ยมกั มอี าการปากแหง้ คอแหง้ กระหายน้�ำ มีแผลที่เยอ่ื บภุ ายในชอ่ งปาก ทอ้ งผกู เปน็ ต้น มักใช้คู่กบั กระหายนำ้� เป็น ร้อนในกระหายน้ำ� . ร้อนในกระหายน�ำ้ ดูใน ร้อนใน. ราทยกั ษวาโย ดู ลมราชยกั ษ,์ ลมราทธยักษ,์ ลมราทยกั ษ, ลมราทยักษ.์ ระด ู น. เลือดประจ�ำเดือนทีข่ บั ถ่ายจากมดลูกออกมาทางช่องคลอด. ระดูทบั ไข ้ น. การมีระดูออกมาระหว่างเป็นไข้ อาการจะรุนแรงน้อยกว่าไข้ทับระดู แต่อาจ รุนแรงถึงตายได.้ ระบาย ก. ถา่ ยออก เช่น ระบายท้อง. ร�ำเพรำ� พัด ดู ไข้รำ� เพรำ� พัด, ไข้ลมเพลมพัด.  ร�ำมะนาด น. โรคชนิดหนึ่งเกิดตามรากฟัน ท�ำให้เหงือกบวม อักเสบเป็นหนอง, เขียนว่า ร�ำมะนาฏ ก็มี. กระทรวงสาธารณสขุ 475

รำ� มะนาฏ ดู ร�ำมะนาด. ร�ำหดั ก. แทรก เจือ ใส่ โรย ตัวยาปริมาณเล็กน้อย โดยใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือและ นิว้ ชี้จบี เข้าหากัน. รดิ สดี วง น. โรคกลุ่มหนึ่ง เกิดได้กับอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ตา จมูก ล�ำไส้ ทวารหนกั ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยวา่ มี 18 ชนดิ แตล่ ะชนดิ มอี าการและชอ่ื เรยี ก แตกต่างกันไป บางชนิดอาจมีติ่งหรือก้อนเนื้อเกิดข้ึนท่ีอวัยวะนั้น เช่น ริดสีดวง ตา ริดสีดวงทวารหนัก, หฤศโรค ก็เรียก, เขียนวา่ ฤศดวง หรอื ฤษดวง กม็ ี. รดิ สีดวงจมูก ดู ฆานโรโค, ฆานะโรโค. รดิ สดี วงมหากาฬ น. 1. ริดสีดวงประเภทหน่ึง เกิดในล�ำคอ อก ล�ำไส้ และทวารหนัก เม่อื เร่ิมเปน็ ผู้ป่วยมีเม็ดขนาดเท่าถั่วเขียวข้ึนเป็นกลุ่ม 9-10 เม็ด เมื่อสุกจะแตกออกเป็น หนองปนเลอื ดแลว้ เป่ือยลามเป็นปื้น มีหนองปนเลอื ดไหลซึมตลอดเวลา ปากคอ เป่อื ย กินอาหารเผ็ดร้อนไม่ได.้ 2. ยาแผนไทยขนานหนึ่ง ใช้แกร้ ดิ สดี วง. ฤศดวง, ฤษดวง ดู รดิ สดี วง. ลมกรรมมชั วาต น. ลมท่ีเกิดในหญิงก�ำลังจะคลอดบุตร มดลูกจะหดตัว ต�ำแหน่งของทารก อยู่ต่�ำมาก ท�ำให้ทารกในครรภ์เคลื่อนเอาศีรษะลง พร้อมที่จะคลอดออกมา, ลมเบ่ง ก็เรยี ก, เขยี นว่า ลมกมั มชั วาต หรือลมกมั มชั ชวาต ก็ม.ี ลมกษัย,ลมกระษัย น. ลมทีท่ �ำให้ผอมแห้งแรงนอ้ ย เป็นต้น. ลมกองละเอยี ด น. ลมท่ีท�ำให้มีอาการหน้ามืด ตาลาย วิงเวียน อ่อนเพลีย สวิงสวาย ใจสั่น เปน็ ตน้ , สขุ มุ วาตะ หรือ สขุ มุ วาตา กเ็ รียก. ลมกองหยาบ น. ลมที่ท�ำให้มีอาการจุกเสียดแน่น ท้องอืด ท้องเฟ้อ เป็นต้น, โอฬาริกวาตะ หรอื โอฬาริกวาตา กเ็ รียก. ลมกมั มชั วาต, ลมกมั มัชชวาต ดู ลมกรรมมัชวาต. ลมก�ำเดา น. โรคลมชนิดหนึ่ง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เป็นลมท่ีเกิดแทรกไข้ก�ำเดา ผปู้ ่วยมีอาการวิงเวยี น หนา้ มดื ตาลาย หนกั ศีรษะ เจ็บตา เปน็ ตน้ . ลมก�ำเนิด ดู ลมซาง. ลมกุมภัณฑยกั ษ ์ น. โรคลมมีพิษชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีอาการชัก มือก�ำเท้างอ หมดสติ โบราณว่า ถ้ารกั ษาไมไ่ ดภ้ ายใน 11 วัน อาจถึงแกค่ วามตาย. ลมขน้ึ , ลมข้ึนเบื้องสงู , ลมข้นึ สงู น. โรคชนิดหน่ึงหรือความผิดปรกติอันเกิดจากธาตุลม ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย สวิงสวาย หน้ามืด หูอ้ือ เปน็ ต้น. ลมซาง น. โรคลมชนิดหนึ่ง เกิดในเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึง 5 ขวบ ผู้ป่วย มีอาการแตกต่างกันไปตามวันเกดิ , ลมก�ำเนิด ก็เรยี ก, เขียนว่า ลมทราง กม็ .ี ลมตะกงั ดู ลมปะกงั . ลมตขี น้ึ เบอ้ื งสงู ดู ลมขน้ึ , ลมขึ้นเบื้องสงู , ลมขึ้นสูง. ลมทราง ดู ลมซาง. ลมบาทจิตต,์ ลมบาดทะจติ น. โรคลมมีพิษชนิดหน่ึง ผู้ป่วยมีไข้สูง เพ้อ ชัก เป็นต้น โบราณว่าถ้ารักษา ไมไ่ ดภ้ ายใน ๑๐ วัน อาจถงึ แก่ความตาย, เขยี นวา่ บาทจิตร ก็ม.ี   ลมเบ่ง ดู ลมกรรมมชั วาต. 476 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ลมปลายไข้ น. ความผิดปรกตเิ ลก็ ๆ นอ้ ย ๆ เช่น ไม่สบายตัว วงิ เวยี น คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ออ่ นเพลยี ทอ้ งอดื เฟอ้ มกั เกดิ ขนึ้ หลงั ฟน้ื ไข้ หรอื หายจากความเจบ็ ปว่ ยบางอยา่ ง. ลมปะกัง น. โรคชนิดหน่ึง ผปู้ ่วยมอี าการปวดศรี ษะมาก อาจจะปวดข้างเดียวหรือ ๒ ข้าง ก็ได้ บางต�ำราว่ามักเป็นเวลาเช้า ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่ืนร่วมด้วย เช่น ตาพร่า วงิ เวียน อาเจียน, ลมตะกงั หรอื สันนบิ าตลมปะกัง กเ็ รยี ก. ลมปัตฆาต ดู ปัตคาด. ลมพรรดกึ น. โรคลมชนิดหนึ่ง เกิดจากอาการท้องผูกมาก มีลมคั่งอยู่ในท้อง เป็นเถาดาน อจุ จาระเปน็ ก้อนแขง็ คล้ายขี้แมวหรอื ขแ้ี พะ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยว่า อาจเกดิ จากธาตุไฟก�ำเริบ หรือกินของแสลง ผู้ป่วยมักมีอาการจุกเสียด กินอาหารไม่ได้ ทรุ นทุราย ร้อนตามแขง้ ขา เป็นเหนบ็ ชา ปสั สาวะบ่อย ๆ เปน็ ตน้ .  ลมพานไส ้ น. โรคลมชนิดหน่ึง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า ผู้ป่วยมีอาการอาเจียน จุกอก หากเป็นอยู่นานถึง ๗ เดือน ผู้ป่วยจะปวดเสียดบริเวณซี่โครงด้านซ้าย ร่างกาย ผอม เหลือง อยากกินของสดของคาว เมื่อมีอาการเร้ือรังถึง ๓ ปี จะถึงแก ่ ความตาย. ลมพิษ ดู ประดงลม. ลมพทุ ธยักษ,์ ลมพุทยักษ ์ น. โรคลมชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมักมีอาการชัก กระสับกระส่าย ขบฟัน ตาเหลือก ตาเบิกกว้าง ปากเบี้ยว มือก�ำเท้างอ แยกแข้งแยกขา ไม่มสี ติ เปน็ ตน้ . ลมเพลมพัด ดู ไขร้ ำ� เพรำ� พดั , ไขล้ มเพลมพดั . ลมมหาสดม, ลมมหาสดมภ ์ น. โรคลมอนั มพี ิษชนดิ หนึ่ง ผ้ปู ว่ ยมีอาการหาวนอนมาก จติ ใจสับสน หมดสต.ิ ลมราชยักษ์, ลมราทธยกั ษ์, น. โรคลมชนดิ หนงึ่ ผปู้ ว่ ยมอี าการเปน็ ไขต้ วั รอ้ น ชกั มอื กำ� เทา้ งอ ลน้ิ กระดา้ งคางแขง็ ลมราทยกั ษ, ลมราทยักษ์ คอแข็ง ตาเหลอื ง เปน็ ตน้ , ราทยักษวาโย ก็เรียก.   ลมวิงเวยี น น. ลมกองละเอียดประเภทหน่ึงท�ำให้หน้ามืด ตาลาย วิงเวียน อ่อนเพลีย สวงิ สวาย ใจสัน่ . ลมสะอึก ดู สะอกึ . ลมสุนทรวาต น. ลมซางชนิดหนึ่ง เกิดในเด็กที่เกิดวันพุธ เด็กเร่ิมมีอาการปวดท้อง ท้องข้ึน ตามด้วยอาการทอ้ งเสีย ชกั มือกำ� เทา้ งอ ท้องและหน้าเขียว เปน็ ตน้ . ลมหัศคินน,ี ลมหศั คินี, ลมหัสด ี น. ลมซางชนิดหน่งึ เกิดในเดก็ ทีเ่ กดิ วนั พฤหสั บดี เดก็ มอี าการชัก มอื ก�ำ เท้างอ หลังแขง็ เหงื่อออก ทอ้ งอดื เปน็ ตน้ เดก็ ทเ่ี ป็นโรคน้ีห้ามอาบน�้ำเย็น และไม่ใช้ยา ที่ผสมกบั เหล้า. ลมอริต, ลมอริศ น. ลมซางชนดิ หน่งึ เกดิ ในเด็กท่เี กิดวันศุกร์ เดก็ มอี าการคอเขียว ชัก มอื ก�ำเท้างอ นัยน์ตากลอกไปมา น�้ำลายฟูมปาก ลิ้นกระด้างคางแข็ง บางทีชักข้างซ้ายแต่ เกรง็ ขา้ งขวา เปน็ ตน้ . ละออง น. โรคเด็กชนิดหน่ึง เกิดกับทารกแรกเกิดถึงเด็กอายุไม่เกิน ๕ ขวบ ๖ เดือน ผปู้ ว่ ยมฝี า้ บาง ๆ เกิดขึ้นในปาก ล�ำคอ กระพงุ้ แก้ม หรือบนล้นิ ฝา้ บาง ๆ น้อี าจมี สตี า่ ง ๆ กัน ท�ำใหม้ ีช่อื เรียกแตกต่างกันไป นอกจากนี้ ยงั มเี จา้ เรอื นและชอื่ เรยี ก แตกต่างกันไปตามวันเกิดของผู้ป่วยด้วย เช่น ละอองแก้ววิเชียร เป็นละออง ท่ีเกิดกับเด็กท่ีเกิดวันจันทร์ มีซางน�้ำเป็นเจ้าเรือน ละอองที่อาจท�ำให้มีอาการ รนุ แรงขน้ึ ถงึ ตายได้ เรยี ก ละอองพระบาท เชน่ ละอองมหาเมฆ ละอองเปลวไฟฟา้ ละอองแกว้ วเิ ชียร. กระทรวงสาธารณสขุ 477

ละอองทบั ทิม, ละอองเปลวไฟฟ้า น. ละอองท่ีเป็นกับทารกหรือเด็กที่เกิดวันเสาร์ มีซางโจรเป็นซางเจ้าเรือน และ ทารกหรือเด็กท่ีเกิดวันอาทิตย์ มีซางเพลิงเป็นซางเจ้าเรือน ผู้ป่วยมักมีเม็ดหรือ ยอดสีแดงคล้ายสีชาดหรือสียอดทับทิม ผุดข้ึนมาตามฝ้าบาง ๆ ที่เกิดข้ึนในปาก ล�ำคอ กระพุ้งแก้ม หรือบนลิ้น เม่ือรุนแรงขึ้นมักมีอาการลิ้นกระด้าง คางแข็ง ตาค้าง ชกั เท้ากำ� มอื ก�ำ ตัวร้อนจดั . ดู ละออง ประกอบ.  ละอองพระบาท ดใู น ละออง.  ละอองมหาเมฆ น. ละอองท่ีเป็นกับทารกหรือเด็กท่ีเกิดวันพฤหัสบดี มีซางโคเป็นซางเจ้าเรือน ผู้ป่วยมักมีเม็ดยอดสีม่วงคล้�ำขึ้นในปาก เม่ือรุนแรงขึ้นจะมีอาการหน้าเขียว ชักเทา้ ก�ำมือก�ำ ตาช้อนสงู อุจจาระปัสสาวะไม่ออก. โลหิตเน่า น. โลหิตทุจริตโทษประเภทหนึ่ง เกิดจากโลหิตระดูร้าง โลหิตคลอดบุตร โลหิต ต้องพิฆาต และโลหิตตกหมกช�้ำ ที่ปล่อยท้ิงให้เรื้อรังจนเน่า ท�ำให้เกิดอาการ ต่าง ๆ แทรกซ้อนขน้ึ เช่น เกดิ จ้�ำเลือดตามผวิ หนงั เปน็ สีดำ� แดง เขียว หรอื ขาว หรอื เปน็ ตุ่มขนาดเล็ก ท�ำใหม้ อี าการคันมาก. โลหติ ระดพู กิ าร น. เลอื ดประจ�ำเดอื นทีม่ าไม่เปน็ ปรกต.ิ โลหิตัง น. เลือด โลหติ เป็นองคป์ ระกอบ ๑ ใน ๑๒ สง่ิ ของธาตนุ ำ้� .  วารยกั ษวาโย น. โรคลมจรชนิดหนึ่ง ต�ำราว่าเกิดจากกองอชิณวาต ผู้ป่วยจะอยากกินอาหาร คาวหวาน เน้ือ ปลา ปู และหอย ซึ่งเมื่อกินแล้วท�ำให้มีอาการเสียดชายโครง ท้ังสองขา้ ง จุกแน่นบรเิ วณหน้าอก แลว้ ลามไปจนถงึ บรเิ วณองคชาต มอื เท้าตาย ไม่มีเรี่ยวแรง เป็นตน้ . สมุฏฐาน น. ทเ่ี กิด ทีต่ ้งั เหต.ุ สมุฏฐานวาตะ น. ท่ีตั้งหรือท่ีแรกเกิดของโรคอันเกิดจากลม แบ่งออกเป็น ๓ อย่าง ได้แก ่ หทัยวาตะ (ลมในหัวใจ อนั ท�ำใหห้ ัวใจทำ� งานเปน็ ปรกติ) สตั ถกวาตะ (ลมท่ที �ำให ้ เกิดอาการเสียดแทงตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย) และ สุมนาวาตะ (ลมในเส้น อนั ท�ำใหเ้ กดิ อาการปวดเมื่อย). สมุฏฐานเสมหะ น. ท่ีตงั้ ทีแ่ รกเกิดของโรคอนั เกดิ จากเสลด แบง่ ออกเป็น 3 อยา่ ง ได้แก่ ศอเสมหะ (เสมหะในลำ� คอ) อรุ ะเสมหะ (เสมหะในอก) และคถู เสมหะ (เสมหะในทวารหนกั ). สรรพวาระจักรโมละวาโย น. โรคลมจรชนิดหนึ่ง ต�ำราว่าเกิดจากกองอัมพฤกษ์และลมปัตคาดร่วมกัน ผู้ป่วยมีอาการเจ็บบริเวณหลังส่วนล่างก่อน แล้ววิ่งขึ้นไปตามสีข้าง มีอาการ เจบ็ มากบรเิ วณตน้ คอ เป็นต้น มักเกดิ เป็นคร้งั คราว ๓-๔ วัน/ครง้ั . สวิงสวาย ก. อาการทรี่ ู้สกึ ใจหวิว วงิ เวียน คล่นื ไส้ ตาพรา่ จะเปน็ ลม. สะอึก ก. อาการท่หี ายใจชะงักเป็นระยะ เน่ืองจากกะบงั ลมหดตัวและชอ่ งสายเสยี งปดิ ตามทนั ทที นั ใดในเวลาเดียวกนั , ลมสะอกึ กเ็ รยี ก. สตั ถกวาต น. ๑. ดูใน สมุฏฐานวาตะ. ๒. โรคลมชนิดหน่ึง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เกดิ จากสนั ฑฆาต ผ้ปู ว่ ยจะเรมิ่ มอี าการเจบ็ บรเิ วณหนา้ อก เมอ่ื เปน็ นานเขา้ จะเกดิ เป็นเวลา โดยเม่ือมีอาการจะรู้สึกเจ็บแปลบปลาบไปทั่วท้ังตัวเหมือนถูกมีดเชือด และเหล็กแหลมแทง ใจส่ัน เม่ืออาการบรรเทาลงจะรู้สึกหิว ไม่มีแรง ปวดหัว ตามัว กินอาหารไม่ได้ นอนไม่หลับ หากจะรักษาต้องรักษาเมื่อเริ่มมีอาการ เจบ็ หนา้ อก ถา้ รกั ษามหิ ายกจ็ ะกลายเปน็ โทสนั ฑฆาตและตรสี นั ฑฆาต รกั ษาไมไ่ ด.้ 478 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition