Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Description: รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Search

Read the Text Version

ยามหาจักรใหญ่ ทมี่ าของต�ำรับยา สูตรตำ� รับที่ใกลเ้ คียงตำ� รบั นี้ พบในแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [1, 2] “ยาชื่อมหาจักร (ใหญ่) ขนานนี้ท่านให้เอา โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑ โกฐพุงปลา ๑ โกฐก้านพร้าว ๑ โกฐกระดกู ๑ เทียนดำ� ๑ เทียนแดง ๑ เทยี นขาว ๑ เทยี นเข้าเปลือก ๑ เทยี นเยาวภานี ๑ ตรีผลา ๑ หญา้ ฝรัน่ ๑ ผลจนั ทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ กระวาน ๑ การพลู ๑ ชะเอม ๑ เมล็ดโหระพา ๑ ผลผักชี ๑ สานส้ม ๑ ดินประสิวขาว ๑ ขม้ินอ้อย ๑ กระเทียม ๑ น�้ำประสานทอง ๑ ยาทั้งนี้เอาสิ่งละ ๒ สลึง ยาด�ำ ๒ บาท ใบกระพังโหม ๑๕ บาท รวมยา ๒๘ สิ่งน้ีท�ำเปนจุณ บดปั้นแท่งไว้ละลายน้�ำสุราก็ได้กินแก้ลมทรางทั้ง ๗ วันหายดีนัก ได้เช่ือแล้ว อย่าสนเท่หเ์ ลย” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๕ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๑๑๔ กรัม ดงั นี้ [3] ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระพงั โหม (ใบ) ๖๐ กรมั ยาด�ำ ๘ กรมั กระเทียม ๒ กรมั กระวาน ๒ กรัม กานพล ู ๒ กรัม โกฐกระดกู ๒ กรัม โกฐกา้ นพร้าว ๒ กรมั โกฐเขมา ๒ กรมั โกฐพงุ ปลา ๒ กรัม โกฐสอ ๒ กรัม ขม้นิ ออ้ ย ๒ กรมั ชะเอมเทศ ๒ กรมั ดอกจันทน์ ๒ กรมั เทยี นขาว ๒ กรมั เทยี นขา้ วเปลอื ก ๒ กรัม เทียนด�ำ ๒ กรัม เทียนแดง ๒ กรัม เทยี นเยาวพาณ ี ๒ กรมั มะขามป้อม (เนื้อผล) ๒ กรมั ลูกจนั ทน ์ ๒ กรัม ลกู ผักชี ๒ กรมั สมอไทย (เนอ้ื ผล) ๒ กรมั สมอพิเภก (เน้ือผล) ๒ กรมั สารสม้ ๒ กรัม โหระพา (ผล) ๒ กรัม กระทรวงสาธารณสุข 329

สรรพคณุ แกล้ มซาง บรรเทาอาการท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ แกล้ มซาง ยาผงและยาเมด็ เดก็ อายุ ๑-๕ ปี ครง้ั ละ 500 มลิ ลกิ รมั -๑.๕ กรัม ละลายน้�ำสกุ กนิ วนั ละ ๒ ครงั้ กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น บรรเทาอาการท้องอดื ทอ้ งเฟ้อ ยาผงและยาเมด็ เดก็ อายุ ๑-๕ ปี ครั้งละ 500 มลิ ลิกรัม-๑.๕ กรัม ละลายน�้ำสุกกนิ วันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ยาเมด็ และยาแคปซูล เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี คร้ังละ ๑.๕ กรัม กินวันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า และเยน็ ค�ำเตอื น - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลือด - หากกนิ แลว้ มอี าการทอ้ งเสีย ใหห้ ยุดกนิ ยา ข้อมูลเพ่ิมเติม - ตัวยาสารส้มตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) - ตัวยายาดำ� ต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - สูตรต�ำรับยามหาจักรใหญ่ตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีตัวยา “ดินประสิว” เป็นส่วนประกอบ [4] แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับแล้วตามประกาศ ยาสามญั ประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ [๕] เอกสารอ้างอิง ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พไ์ ทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๘. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. ๓. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บญั ชียาหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า 286). 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับท่ี ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง. หนา้ ๙๑. 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๖๗ ง. หนา้ ๔๑. 330 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยามหาไชยวาตะ ทีม่ าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “๏ มหาไชยวาต เอา ลูกโหระพา กระวาน เกลือกะตัง โกฐสอ การบูร เกลือสินเธาว์ รากจิงจ้อใหญ่ เปลือกมะรุม สิ่งละส่วน กฤษณา กระล�ำพัก พริกล่อน ว่านน้�ำ ใบหนาด ขิงแห้ง ส่ิงละ ๒ ส่วน ยาด�ำ เทียนด�ำ กานพลู สหัสคณุ เทศ ดองดึง รากเจตมลู เพลิง ดปี ลี สมอเทศ สงิ่ ละ ๔ ส่วน มหาหงิ ค์ุ ๘ ส่วน น้ำ� ขิงตม้ เป็นกระสาย บดเป็นแท่งละลายน้�ำส้มซ่า น�้ำหมากแก่ น้�ำขิง น้�ำกระเทียมก็ได้กิน อาจสามารถจะชนะลมทั้ง ๗ จ�ำพวก แลลมผ้ใู หญค่ ือลมอมั พาตราทยักษ์ ทักขณิ คณุ ปะวาตะคณุ ลมสนั ดานจุกเสยี ดหายแล ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 23 ชนดิ รวมปรมิ าณ 6๘ สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา มหาหิงค ์ุ 8 ส่วน กานพล ู 4 สว่ น เจตมูลเพลงิ แดง 4 สว่ น ดองดงึ 4 สว่ น ดปี ล ี 4 สว่ น เทียนด�ำ 4 สว่ น ยาดำ� 4 สว่ น สมอเทศ 4 สว่ น หสั คุณเทศ 4 สว่ น กระล�ำพัก (ตาต่มุ ) 2 ส่วน กระวาน ๒ ส่วน กฤษณา 2 ส่วน การบูร ๒ ส่วน เกลือกะตัง ๒ สว่ น เกลอื สนิ เธาว ์ ๒ ส่วน โกฐสอ ๒ ส่วน ขิงแหง้ 2 สว่ น จงิ จ้อใหญ ่ ๒ ส่วน พรกิ ลอ่ น 2 สว่ น มะรุม ๒ สว่ น ว่านน�้ำ 2 ส่วน หนาด 2 ส่วน โหระพา (ผล) ๒ สว่ น กระทรวงสาธารณสุข 331

สรรพคุณ แก้ลม 7 จ�ำพวก ลมอัมพาต ลมราทยักษ์ ทักขิณคุณ ปะวาตะคุณ ลมสันดาน แก้จุกเสยี ด รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครงั้ ละ 500 มลิ ลกิ รมั ละลายน้�ำส้มซ่า นำ�้ หมากแก่ นำ�้ ขงิ หรอื น�้ำกระเทยี ม กินวนั ละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเย็น ข้อห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภ์ หญิงใหน้ มบตุ ร ผ้ทู ม่ี ไี ข้ และเด็กอายตุ �่ำกว่า 12 ปี ข้อควรระวงั ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกดิ พษิ ได้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ - ตวั ยามหาหิงคุ์ตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยาดองดงึ ต้องน่ึงก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตวั ยายาดำ� ต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยาหัสคณุ เทศตอ้ งคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๗. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หน้า ๑-3. 332 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยามหานลิ แท่งทอง ท่ีมาของตำ� รบั ยา สตู รต�ำรับที่ใกลเ้ คียงต�ำรับน้ี พบในอายุรเวทศกึ ษา เลม่ ๒ [1, 2] “ยามหานิลแท่งทองใหญ่ ของหมอมา ตันสุภาพ เอาเม็ดในสบ้าใหญ่เผา กระดูกแร้งเผา หัวกาเผา กระดูกงูเหลือมเผา หวายตะค้าเผ้า เม็ดมะกอกเผา ถ่านไม้ซาก ลูกประค�ำดีควายเผา จันทน์แดง จันทน์เทศ ใบพมิ เสน ใบเถาหญา้ นาง หมึกหอม สิ่งละ ๑ บาท เบี้ยจั่นเผา ๓ เบ้ยี บดด้วยนำ้� ดอกไม้สดปนั้ เมด็ ปดิ ทองค�ำเปลว ละลายน�้ำดอกมะลิ แก้ไข้พิษกาฬจับหัวใจ แก้ไข้เหนือ ด�ำแดง ถ้าล้ินกระด้างคางแข็ง ใช้กินและละลายน�้ำคร�ำ ทาคางคอ ละลายน้�ำปูนใส จุดกาฬ จุดหัวล�ำลอกแก้ว ถ้าชโลมใช้น้�ำต�ำลึงตัวผู้ แก้เสมหะจุกคอ คอเจ็บใช้น�้ำหญ้า เกล็ดหอยแทรกเกลือท้ังกินทั้งอม แก้อาเจียนใช้เปลือกลูกมะตูมต้มหรือยอปิ้งแล้วต้ม แก้กระหายน้�ำใช้เง่าบัวหลวง รากหญ้าคา ชะเอม ต้มละลายยาแทรกดีงูเหลือม ถ้าหอบเอากฤษณา รากถ่ัวพูต้ม ละลายยาแทรกพิมเสนกินได้ ท้งั เด็กผใู้ หญ่” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๑ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๑๐๓ กรัม ดงั นี้ [3] ตวั ยา ปริมาณตัวยา ๑๐ กรัม จนั ทนแ์ ดง ๑๐ กรัม จนั ทน์เทศ ๑๐ กรัม พิมเสนต้น ๑๐ กรัม มะกอก ๑๐ กรมั มะคำ� ดคี วาย ๑๐ กรมั ย่านาง ๑๐ กรมั สะบ้ามอญ ๑๐ กรมั สกั ๑๐ กรัม หมึกหอม ๑๐ กรมั หวายตะคา้ ๓ กรมั เบ้ยี จน่ั สรรพคณุ บรรเทาอาการไขจ้ ากไขก้ าฬ หดั และอีสกุ อีใส แกร้ ้อนในกระหายน�ำ้ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซูล (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเมด็ (ดภู าคผนวก 3.4.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง ผ้ใู หญ ่ ครั้งละ ๑.๕-๒ กรัม ละลายนำ�้ สุกกนิ วันละ ๒ ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี ครง้ั ละ 0.5-๑ กรมั ละลายน้ำ� สกุ กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น แก้หดั และอีสุกอีใส ใหล้ ะลายน้ำ� รากผกั ชตี ้มเป็นกระสาย ชนดิ แคปซูลและชนดิ เม็ด ผใู้ หญ่ คร้งั ละ ๑.๕-๒ กรมั กนิ วันละ ๒ ครัง้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี ครง้ั ละ 0.5-๑ กรมั กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น กระทรวงสาธารณสขุ 333

คำ� เตือน ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก ขอ้ ควรระวงั หากใชย้ าเป็นเวลานานเกิน ๓ วัน แลว้ อาการไมด่ ขี ึน้ ควรปรกึ ษาแพทย์ ขอ้ มลู เพิ่มเติม - ตัวยาเบี้ยจัน่ ตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.20) - ตวั ยามะกอกต้องสุมก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.24) - ตวั ยามะคำ� ดคี วายตอ้ งสมุ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.26) - ตวั ยาสะบา้ มอญตอ้ งสุมก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.38) - ตัวยาสักตอ้ งสมุ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.39) - ตวั ยาหวายตะค้าตอ้ งสมุ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.42) - สูตรตำ� รับยามหานลิ แท่งทองตามประกาศยาสามญั ประจำ� บ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มตี วั ยา “กระดูกงเู หลอื ม และ กระดกู กา” เป็นส่วนประกอบ [4] แตไ่ ดต้ ดั ออกจาก สูตรต�ำรับตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องจาก มีประกาศให้งูเหลือมและนกกาเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวน และค้มุ ครองสตั วป์ ่า พ.ศ. ๒๕๓๕ [5] เอกสารอ้างอิง ๑. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. หนา้ ๒๖๓. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพิเศษ 152 ง. หนา้ ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เร่อื ง บัญชียาหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 302). 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับท่ี ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง. หนา้ ๗๘. 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๑๖ ตอนพเิ ศษ ๖๗ ง. หน้า ๔๗. 334 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยามหาวาตาธิคุณ ที่มาของต�ำรบั ยา ศิลาจารึกวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์ิ) [๑, ๒] “๏ จะกล่าวด้วยลักษณะก�ำเนิดลม อันชื่อว่าลมสัตถกวาตนั้นเป็นค�ำรบ ๒ ถ้าบังเกิดแต่บุคคลผู้ใด มักกระท�ำให้เจ็บอกเป็นต้น แลลมกองนี้เกิดเพ่ือสันทคาด ครั้นแก่เข้ากระท�ำให้จับเป็นเพลา และอาการท่ีจับน้ัน มกั ใหเ้ จ็บไปทกุ ชิน้ เนอื้ ดจุ ด่งั บุคคลเอามดี มาเชอื ดและเอาเหล็กอนั แหลมมาแทง ใหแ้ ปลบปลาบไปทง้ั กาย ให้ใจนั้น สนั่ อยู่รกิ ๆ ใหเ้ จ็บอกเป็นกำ� ลัง ครัน้ สร่างแล้วใหห้ วิ หาแรงมไิ ด้ให้เจ็บศรี ษะใหจ้ กั ษุมัวมิไดเ้ หน็ ส่ิงอันใดบริโภคอาหาร มิได้ นอนมหิ ลบั ถา้ จะแก้ใหแ้ กแ้ ตย่ งั เจบ็ อกอยูน่ น้ั ให้หาย ถ้ามิหายแกเ่ ข้ากจ็ ะกลายเปน็ โทสันทคาดและตรสี นั ทคาดต เป็นอตสิ ัยโรคตามอาจารย์กล่าวไว้วา่ เป็นโรคตดั แพทย์ทั้งหลายพึงรดู้ งั น้ี ฯ ยาชื่อมหาวาตาธิคุณ เอาโกฐท้ังห้า เทียนทั้งห้า จันทน์ท้ัง ๒ ผลจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู อบเชย สมลุ แวง้ ขิงแห้ง ดีปลี ผลเอน็ ล�ำพันแดง สิง่ ละส่วน ดอกกระดังงา ใบกระวาน การบูร สิง่ ละ ๒ สว่ น รากยา่ นาง ๓ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ ละลายน�้ำดอกไม้แทรกชะมด แทรกพิมเสนให้กิน แก้ลมสัตถกะวาตซึ่งกระท�ำให้ เจบ็ ตลอดไปทกุ ชิ้นเน้ือน้ันหายดนี กั ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 25 ชนิด รวมปริมาณ 30 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ย่านาง 3 ส่วน กระดงั งา 2 ส่วน กระวาน 2 ส่วน การบรู 2 สว่ น กานพล ู 1 ส่วน โกฐเขมา 1 ส่วน โกฐจุฬาลมั พา 1 ส่วน โกฐเชียง 1 สว่ น โกฐสอ 1 สว่ น โกฐหวั บวั 1 สว่ น ขิงแห้ง 1 ส่วน จันทน์ขาว 1 สว่ น จันทน์แดง 1 สว่ น ดอกจนั ทน์ 1 สว่ น ดปี ล ี 1 สว่ น เทียนขาว 1 สว่ น เทยี นขา้ วเปลือก 1 ส่วน เทยี นดำ� 1 สว่ น เทยี นแดง 1 ส่วน กระทรวงสาธารณสขุ 335

ตัวยา ปรมิ าณตัวยา เทยี นตาต๊ักแตน 1 ส่วน ลำ� พันแดง 1 ส่วน ลกู จนั ทน์ 1 ส่วน ลูกเอน็ 1 ส่วน สมุลแว้ง 1 ส่วน อบเชย 1 ส่วน สรรพคุณ กระจายลมที่ท�ำใหเ้ กดิ อาการแนน่ หนา้ อก ใจสั่น รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 1-1.5 กรมั กนิ วนั ละ ๒-๓ คร้ัง หลังอาหาร เชา้ เยน็ หรือก่อนนอน เมอ่ื มอี าการ ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เน่อื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ได้ เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ)ิ์ เลม่ ๓. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. 336 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยามหาวาโย ทีม่ าของต�ำรับยา ต�ำราโอสถครั้งรัชกาลท่ี ๒ [๑, ๒] “ยาขนุ มหาวาโยทูลเกล้าทลู กระหม่อมถวาย พระต�ำราชอื่ มหาวาโย ท่านใหเ้ อา ดีปลี ๖ สลึง ใบสะเดา ๖ สลึง มหาหิงคุ์บาท ๑ พริกไทยบาท ๑ การบูร บาท ๑ ยาด�ำบาท ๑ รากทนดีบาท ๑ ขม้ินอ้อยบาท ๑ สหสั คุณเทศ บาท ๑ ว่านน้�ำ ๒ สลงึ เจตมลู ๒ สลงึ แหว้ หมู ๒ สลงึ กะทอื ๒ สลงึ กระวาน ๒ สลึง น้�ำประสานทอง ๒ สลึง เกลอื สนิ เธาว์ ๒ สลึง ขงิ แหง้ ๒ สลงึ รากชะพลู ๒ สลึง ลูกกระดอมสลึง ๑ กานพลูสลงึ ๑ โกฐพุงปลาเฟื้อง ๑ โกฐสอเฟื้อง ๑ สรรพยา ๒๓ สิ่งน้ี ต�ำเป็นผง ละลายน้�ำผ้ึง, น้�ำร้อน, น้�ำส้มส้า, ก็ได้ แก้ลมอัมพาต ลมราทยักษ์ ลมปัตฆาต แก้ลมบ้าหมู แก้โลหิตแห้ง โลหิตตีขึ้น แก้หืดไอ แก้ริดสีดวงมองคร่อ แก้กล่อนแห้งลงฝัก แก้ไส้เล่ือน ไสล้ าม แกม้ ุตกิด มจุ ฆาต แกฝ้ ีในทอ้ ง ในอก แก้จกุ เสียดหายแล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 22 ชนดิ รวมปริมาณ 228.75 กรมั ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ดีปล ี 22.5 กรัม สะเดา 22.5 กรมั การบูร ขม้นิ อ้อย 15 กรมั ทนดี 15 กรมั พรกิ ไทย 15 กรมั มหาหิงค์ุ 15 กรมั ยาดำ� 15 กรมั หสั คณุ เทศ 15 กรมั กระวาน 15 กรมั กะทอื 7.5 กรมั เกลือสินเธาว ์ 7.5 กรมั ขิงแห้ง 7.5 กรัม เจตมลู เพลิงแดง 7.5 กรมั ชะพลู 7.5 กรมั น�้ำประสานทอง 7.5 กรมั ว่านนำ้� 7.5 กรัม แห้วหมู 7.5 กรัม กระดอม 7.5 กรัม กานพลู 3.75 กรมั โกฐพุงปลา 3.75 กรมั โกฐสอ 1.875 กรัม 1.875 กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 337

สรรพคุณ แก้ลมอัมพาต ลมราทยกั ษ์ และลมปัตฆาต รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 0.6-1.2 กรมั กินวนั ละ 3 คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ข้อห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ ผทู้ ่ีมไี ข้ และเด็ก ขอ้ มลู เพิ่มเติม - ตวั ยามหาหงิ คุ์ตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตัวยายาด�ำต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตัวยาหสั คุณเทศต้องค่วั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) - ตัวยาน้�ำประสานทองต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.16) เอกสารอา้ งองิ ๑. สมเด็จพระเจ้าบรมวงษ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเด็จพระมหาสมณะ. ต�ำราพระโอสถ คร้งั รัชกาลที่ ๒. โรงพิมพ์ โสภณพิพรรฒธนากร; ๒๔๕๙. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ยามหาสดมภ์ ช่อื อื่น ยามะหาสะดม [๑, ๒] ที่มาของตำ� รบั ยา ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รชั กาลท่ี ๕ เลม่ ๑ [๑, ๒] “ยามะหาสะดม ชะมดเชียงส่วน ๑ ภิมเสน ๑ การะบูร ๑ เทียนด�ำ ๑ ดองดึง ๑ เจตมูลเพลิง ๑ เอาสิง่ ละ ๒ ส่วน กฤษณา ๑ กะลำ� ภกั ๑ จนั ทน์เทศ ๑ เอาส่ิงละ ๓ ส่วน กำ� ยาน ๔ สว่ น ขิง ๑ ดปี ลี ๑ สง่ิ ละ ๘ ส่วน สนเทศ ๔ ส่วน บดด้วยน้�ำมะนาวเปนกระสาย ปั้นแท่งผึ่งในร่มให้แห้งแล้วใส่ขวดบิดไว้อย่าให้ลมเข้าได้ ถา้ ลมจับแน่ไปฝนดว้ ยนำ้� มะนาว ๗ เมด คดั ปากกรอกเข้าไปฟืน้ แล ถ้าให้ระส�่ำระสายหวิ โหยหาแรงมไิ ด้ ฝนด้วยนำ้� ดอกไม้เทศ น�้ำดอกไม้ไทย ก็ได้ แทรกน้�ำตาลกรวดกินหาย แก้ลมจับหัวใจ แก้โลหิตก�ำเริบแลลมก�ำเริบจับหัวใจ ให้นอนนงิ่ แนไ่ ปกด็ ี แลล้นิ กระด้าง คางแขงเรียกไม่ได้ยินอา้ ปากมิออก” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 13 ชนดิ รวมปรมิ าณ 45 สว่ น ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 8 สว่ น ขงิ 8 สว่ น ดีปล ี 4 สว่ น ก�ำยาน 4 ส่วน สนเทศ 3 สว่ น กระล�ำพกั 3 สว่ น กฤษณา 3 ส่วน จันทน์เทศ 338 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 2 สว่ น การบรู 2 ส่วน เจตมูลเพลิงแดง 2 ส่วน ชะมดเชียง 2 สว่ น ดองดงึ 2 สว่ น เทยี นด�ำ 2 สว่ น พิมเสน สรรพคณุ แก้ลมมหาสดมภ์ รูปแบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ - ครั้งละ 2 กรัม ละลายน�้ำมะนาว น้�ำดอกไม้เทศ หรือน�้ำดอกไม้ไทย แทรก น้�ำตาลกรวด กินเมอ่ื มีอาการ - ครั้งละ 600 มิลลิกรัม ละลายน�้ำมะนาว น้�ำดอกไม้เทศ หรือน�้ำดอกไม้ไทย แทรกน�้ำตาลกรวด กนิ วันละ ๒ ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ข้อมลู เพมิ่ เตมิ - ให้แยกชะมดเชียงเอาไว้ก่อน เม่ือจะใช้ยาจึงน�ำชะมดเชียงมาผสมตามต้องการ แลว้ จึงกิน - ตัวยาดองดึงต้องนึ่งกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) เอกสารอา้ งอิง ๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรินทร์พริ้นตง้ิ แอนด์พับลิชช่ิง จ�ำกดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. กระทรวงสาธารณสุข 339

ยามหาอำ� มฤต ชือ่ อน่ื ยามหาอ�ำมฤก [1, 2] ยามหาอ�ำฤต [3, 4] ทมี่ าของต�ำรบั ยา ๑. ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลที่ ๕ เลม่ ๑ [1, 2] “๏ ยาชื่อมหาอ�ำมฤกขนานน้ีท่านให้เอาเทียนทั้ง ๕ ตรีกฏุก สมอไทย ยาด�ำท่ีดี ผิวมกรูด รากตองแตก เอาสิ่งละสว่ น มหาหงิ ผลมตูมออ่ น วา่ นน้�ำ เอาสง่ิ ละส่ีส่วน โกฎน้ำ� เตา้ ๑๐ ส่วนครงึ่ รวมยา ๑๗ สิ่งน้ี ท�ำเปนจุณเอาน้�ำมฃามเปียกเปนกระสาย บดปั้นแท่งไว้ลลายน้�ำร้อนกินแก้ทรางเพื่อลม ถ้าจะช�ำระมูกเลือดให้ ลลายนำ�้ ใบเทียน ใบทับทิมตม้ กนิ หายดีนักฯ” ๒. แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑ [3, 4] “ยาช่ือมหาอ�ำฤต ขนานน้ีท่านให้เอา เทียนทั้ง ๕ ตรีกระฏุก ๑ สมอไทย ๑ ยาด�ำท่ีดี ๑ ผิวมะกรูด ๑ รากตองแตก ๑ เอาสิ่งละสว่ น มหาหิงคุ์ ๑ ผลมะตมู อ่อน ๑ หวา้ นน�้ำ ๑ เอาส่ิงละ ๔ สว่ น โกฐน้�ำเต้า ๑๐ ส่วนคร่ึง รวมยา ๑๗ สิ่งน้ีท�ำเปนจุณเอาน้�ำมะขามเปียกเปนกระสาย บดปั้นแท่งไว้ละลายน้�ำร้อนกิน แก้ทราง เพอื่ ลม ถ้าจะชำ� ระมกู เลอื ดใหล้ ะลายนำ้� ใบเทียนใบทับทิมต้มกนิ หายดนี ัก” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๖ ชนดิ รวมปริมาณ 34.5 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา โกฐนำ้� เตา้ ๑๐.5 สว่ น มหาหิงค์ุ มะตมู ๔ สว่ น ว่านนำ้� ๔ ส่วน ขงิ แหง้ ๔ ส่วน ดปี ลี ๑ สว่ น ตองแตก ๑ สว่ น เทียนขาว ๑ ส่วน เทยี นขา้ วเปลอื ก ๑ ส่วน เทียนด�ำ ๑ ส่วน เทยี นแดง ๑ สว่ น เทียนตาต๊ักแตน ๑ สว่ น พรกิ ไทย ๑ สว่ น มะกรูด ๑ สว่ น ยาดำ� ๑ สว่ น สมอไทย (เนือ้ ผล) ๑ สว่ น ๑ สว่ น 340 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคณุ แกท้ อ้ งผูก แก้ท้องอืดเฟอ้ รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เดก็ อายุ 1-3 เดอื น ครัง้ ละ 100-200 มลิ ลกิ รมั อายุ 4-6 เดือน คร้ังละ 200-300 มิลลิกรมั อายุ 7-12 เดือน คร้ังละ 300-400 มิลลิกรัม อายุ 1-6 ปี ครั้งละ 0.5-1 กรัม อายุ 6-12 ปี ครง้ั ละ 1-1.5 กรัม ละลายนำ้� กระสายยากินวันละ 2 ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ กระสายยาทใี่ ช้ - กรณแี กซ้ างเพื่อลม ใช้น�ำ้ ร้อน - กรณีช�ำระมกู เลอื ด ใช้น�ำ้ ใบเทยี นกง่ิ ต้ม หรือน�้ำใบทบั ทมิ ตม้ ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - ตัวยาโกฐนำ้� เตา้ ต้องน่ึงกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๖) - ตัวยามหาหิงค์ุต้องสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตัวยายาด�ำตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทอมรนิ ทรพ์ รนิ้ ต้งิ แอนด์พบั ลชิ ชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. กระทรวงสาธารณสขุ 341

ยามันทธาตุ ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรบั ทใ่ี กลเ้ คยี งตำ� รบั นี้ พบในเวชศึกษา แพทยศ์ าสตรส์ ังเขป เลม่ ๑ [1] “ยามันทธาตุ เอาโกฐทั้ง ๕ เทยี นทง้ั ๕ รากไคร้เครือ ๑ ลูกผักชีทัง้ ๒ การบนู ๑ กะเทยี ม ๑ สมลุ แว้ง ๑ เปลือกโมกมัน ๑ จนั ทนแ์ ดง ๑ จนั ทน์เทศน์ ๑ กานพลู ๑ เบญ็ จกูล ๑ พริกไทย ๑ ลกู จัน ๑ ยาท้งั น้เี อาสง่ิ ละส่วน ขิง แหง้ ๑ สว่ น ลกู เบ็ญกานี ๓ สว่ น ท�ำผงนำ้� กระสายตามแตจ่ ะใช้ กินแกธ้ าตุทงั้ ๔ หยอ่ นฯ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๒๗ ชนดิ รวมปริมาณ ๙๓ กรัม ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา ขิงแหง้ ๙ กรมั เบญกานี ๙ กรมั กระเทียม ๓ กรัม กานพลู ๓ กรมั การบรู ๓ กรัม โกฐเขมา ๓ กรัม โกฐจฬุ าลมั พา ๓ กรัม โกฐเชยี ง ๓ กรัม โกฐสอ ๓ กรัม โกฐหัวบัว ๓ กรัม จันทน์แดง ๓ กรัม จันทนเ์ ทศ ๓ กรัม เจตมูลเพลิงแดง ๓ กรมั ชะพลู ๓ กรมั ดปี ล ี ๓ กรมั เทยี นขาว ๓ กรมั เทียนขา้ วเปลือก ๓ กรมั เทยี นด�ำ ๓ กรมั เทียนแดง ๓ กรมั เทียนตาตัก๊ แตน ๓ กรมั พริกไทยลอ่ น ๓ กรมั โมกมัน ๓ กรัม ลูกจนั ทน ์ ๓ กรัม ลกู ชีล้อม ๓ กรัม ลูกชลี า ๓ กรัม สมุลแวง้ ๓ กรัม สะคา้ น ๓ กรัม 342 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคณุ บรรเทาอาการทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ แกธ้ าตไุ ม่ปรกติ รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเม็ด (ดภู าคผนวก 3.4.2) ขนาดและวิธีการใช้ ยาผง ผใู้ หญ ่ ครัง้ ละ ๑ กรมั ละลายนำ้� สกุ กนิ วันละ ๓ ครั้ง กอ่ นอาหารเชา้ กลางวนั และเยน็ เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี คร้ังละ ๕๐๐ มลิ ลกิ รัม กนิ ละลายน้ำ� สุกวนั ละ ๓ ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ยาเม็ดและยาแคปซลู ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ กรัม วนั ละ ๓ ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เดก็ อายุ ๖-1๒ ปี ครั้งละ ๕๐๐ มิลลิกรัม กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั และเย็น ข้อห้ามใช ้ - ห้ามใชใ้ นเด็กอายุต�่ำกวา่ ๑ ปี เนอ่ื งจากเปน็ ยารสร้อน ทำ� ใหล้ ้ิน ปาก แสบรอ้ นได้ - หา้ มใช้ในหญิงตง้ั ครรภแ์ ละผู้ท่ีมีไข้ คำ� เตอื น ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เน่อื งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ได้ ข้อมลู เพ่ิมเติม ในสูตรต�ำรับนี้เดิมมีตัวยา “ไคร้เครือ” แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับเน่ืองจากมีข้อมูล งานวจิ ยั บง่ ชว้ี า่ ไครเ้ ครอื ทใ่ี ชแ้ ละจำ� หนา่ ยกนั ในทอ้ งตลาด เปน็ พชื ในสกลุ Aristolochia ซ่ึงพืชในสกุลน้ีมีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลก ไดป้ ระกาศใหพ้ ชื สกลุ Aristolochia เปน็ สารกอ่ มะเร็งในมนษุ ย์ [3] เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หน้า ๘๔. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓6 ตอนพเิ ศษ 20 ง. หนา้ ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เรื่อง บญั ชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ 285). ๔. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.๒๕๕๖. (๒๕๕๖, ๑๔ กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๒๑ ง. หน้า ๓๙. กระทรวงสาธารณสขุ 343

ยารดิ สีดวงทางเดินปสั สาวะ ทม่ี าของต�ำรบั ยา ศิลาจารึกตำ� รายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ)์ [1, 2] “๏ ล�ำดบั น้จี ะกลา่ วดว้ ยนยั อันหนึ่งใหม่ วา่ ด้วยลกั ษณะหฤศโรค อนั ชื่อวา่ อคั นโี ชต กล่าวคอื โรครดิ สดี วง อนั บงั เกดิ ในทางปสั สาวะนน้ั เปน็ คำ� รบ ๑๑ มอี าการกระทำ� ใหป้ สั สาวะนน้ั เปน็ โลหติ สด ๆ ไหลออกมาตามชอ่ งปสั สาวะ บางทีให้น้�ำปัสสาวะเหลอื งดุจนำ้� ขมิ้น บางทีใหน้ ้ำ� ปสั สาวะออกมาเปน็ บพุ โพเจือ ใหแ้ สบรอ้ นเป็นก�ำลงั ฯ ขนานหนง่ึ เอาแกน่ ขเี้ หลก็ รากโคกกระสนุ แกน่ สน เถาวลั ยเ์ ปรยี ง ขงิ แหง้ ขา่ ไพล ดปี ลี พรกิ ไทย เปลอื ก กันเกรา เทียนขาว โกฐน�้ำเต้า โกฐพุงปลา โกฐกระดูก เบี้ยผู้เผา เอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณบดละลายน้�ำร้อน แทรกการบูรกินหนกั ๑ สลงึ แก้รดิ สดี วง อันบังเกดิ ในทางปัสสาวะน้ันหายดนี กั ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑5 ชนดิ รวมปรมิ าณ 15 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา กันเกรา ๑ สว่ น โกฐกระดกู ๑ สว่ น โกฐนำ�้ เตา้ ๑ ส่วน โกฐพุงปลา ๑ ส่วน ขา่ ๑ สว่ น ขงิ แหง้ ๑ ส่วน ขเ้ี หลก็ ๑ ส่วน โคกกระสุน (ราก) ๑ ส่วน ดปี ลี ๑ สว่ น เถาวัลย์เปรียง ๑ สว่ น เทียนขาว ๑ สว่ น เบ้ียผ้ ู ๑ สว่ น พรกิ ไทย ๑ ส่วน ไพล ๑ สว่ น สน ๑ ส่วน สรรพคณุ แก้ริดสีดวงทางเดินปัสสาวะ ซ่ึงท�ำให้มีอาการปัสสาวะขัด ปัสสาวะเป็นเลือดหรือ เปน็ หนอง รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ ช้อนชา ละลายน้�ำร้อนแทรกการบูรกินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ 344 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ - ตวั ยาโกฐน�ำ้ เตา้ ตอ้ งน่งึ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๖) - ตัวยาเบีย้ ผู้ต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.21) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เล่ม ๒. พิมพค์ รงั้ ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ์; 2557 ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๑๘. ยาริดสดี วงมหากาฬ ช่อื อ่ืน ยารดิ สดี วงมหาพาล [1] ทีม่ าของตำ� รับยา สตู รต�ำรับทใ่ี กลเ้ คียงตำ� รบั นี้ พบในเวชศึกษา แพทยศ์ าสตร์สังเขป เล่ม ๑ [1] “ยาริดสีดวงมหาพาล เอาเทียนทั้ง ๕ โกฐสอ ๑ โกฐกัดกรา ๑ โกฐจุลาล�ำพา ๑ โกฐก้านพร้าว ๑ โกฐพงุ ปลา ๑ ลูกจัน ๑ ดอกจัน ๑ ตรกี ฎุก ๑ สคา้ น ๑ มดยอบ ๑ สนเทศ ๑ สมุลแวง้ ๑ อบเชย ๑ ขอบชะนาง ท้ัง ๒ เอาสิ่งละ ๑ บาท ชาตก้อน ๑ เฟื้อง แต่ชาตนั้นใส่กระเบื้องตั้งไฟให้ร้อน เอาน้�ำมะกรูดบีบใส่ลงข้ัวให้แห้ง ๓ หน จนชาตกรอบแล้ว จึงประสมกับยาท้ังปวงต�ำเปนผงบดแทรกเกลือพิมเสน ปั้นเม็ดเท่าพริกไทยกิน ๓ เม็ด น้�ำสุราเป็นยากระสาย แก้สาระพัดโรคริดสีดวงเร้ือรังฝีเปื่อยพังท้ังตัว คุธราดอุปทม ไส้ด้วนไส้ลาม แก้มุตกิจฉ์ แลริดสดี วงในทวารหนักเบากินหาย ใชม้ ามากแล้วดนี กั แล” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๒๒ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๑๑๐ กรมั ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา โกฐกกั กรา ๕ กรัม โกฐก้านพร้าว ๕ กรัม โกฐจุฬาลัมพา ๕ กรัม โกฐพงุ ปลา ๕ กรัม โกฐสอ ๕ กรัม ขอบชะนางขาว (รากและตน้ ) ๕ กรัม ขอบชะนางแดง (รากและต้น) ๕ กรัม ขงิ ๕ กรัม ดอกจนั ทน์ ๕ กรัม ดีปลี ๕ กรัม เทยี นขาว ๕ กรมั เทียนขา้ วเปลอื ก ๕ กรมั กระทรวงสาธารณสุข 345

ตัวยา ปริมาณตวั ยา เทียนดำ� ๕ กรัม เทยี นแดง ๕ กรมั เทียนตาตั๊กแตน ๕ กรัม พริกไทยล่อน ๕ กรัม มดยอบ ๕ กรัม ลูกจันทน์ ๕ กรัม สนเทศ ๕ กรมั สมลุ แวง้ ๕ กรมั สะค้าน ๕ กรมั อบเชยเทศ ๕ กรัม สรรพคุณ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก [2] รปู แบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3), ยาเม็ด (ดูภาคผนวก 3.4.2), ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 0.8-๑ กรัม กินวนั ละ ๓ คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ [2] คำ� เตอื น - ควรระวงั การใชย้ าในหญิงตง้ั ครรภแ์ ละหญิงใหน้ มบุตร [2] - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลือด ข้อมูลเพ่ิมเตมิ - สูตรตำ� รบั ในบญั ชยี าหลกั แห่งชาตไิ ด้ตดั ตวั ยา “ชาด” ออก เนื่องจากเปน็ โลหะหนกั เดิมในสูตรต�ำรับมีชาดประมาณ ๑.๘๗๕ กรัม ในยาทั้งหมด ๑๑๑.๘๗๕ กรัม (โดยประมาณ) ขนาดของชาดก้อนที่ได้รับในม้ือหน่ึงประมาณ ๔.๕ มิลลิกรัม (เมื่อเทียบจากยา ๓ เม็ด ขนาดเท่าเม็ดพริกไทย) ซ่ึงไม่เกินปริมาณท่ีส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ใช้ คือ ส�ำหรับกินในม้ือหนึ่งรวมกันไม่เกิน ๓๐ มิลลิกรัม โดยในทางการแพทย์แผนไทย ชาดถือเป็นตัวยาส�ำคัญที่ใช้แก้โลหิต และน้ำ� เหลอื งเสยี และในสถานพยาบาลบางแหง่ ยงั คงใชส้ ตู รต�ำรบั ทมี่ ีชาดอยู่ - ตวั ยามดยอบต้องคว่ั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.22) เอกสารอ้างอิง ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หน้า ๘๒. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง. หนา้ ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เรอื่ ง บัญชียาหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า ๒93). 346 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาลลุ ม ทีม่ าของตำ� รับยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “๏ ยาลุลม ให้เอา ขิงองคุลี ๑ ดีปลี ๗ บดละเอียดลายน้�ำส้มซ่ากินเท่าลูกพุทราผายลมดีนัก อยา่ สนเทเ่ ลย๚ ” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 2 ชนดิ ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ขงิ 1 องคุลี ดีปลี 7 ผล สรรพคณุ ขบั ผายลม แกอ้ าการทอ้ งอืดท้องเฟอ้ รปู แบบยา ยาสด (ดภู าคผนวก 3.10) ขนาดและวิธีการใช้ ละลายน�้ำสม้ ซ่ากินใหห้ มดในครง้ั เดียวเมือ่ มีอาการ ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญงิ ตัง้ ครรภ์ หญิงใหน้ มบุตร ผทู้ ่มี ไี ข้ และเด็กอายตุ �่ำกว่า ๑๒ ปี คำ� เตือน ระวงั การใช้ในผปู้ ่วยโรคกระเพาะอาหารอกั เสบและความดันโลหติ สงู ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ตัวยาในต�ำรับนี้ต้องใช้ตัวยาสด เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๒๕. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หน้า ๑-3. กระทรวงสาธารณสุข 347

ท่ีมาของตำ� รับยา ยาเลอื ดงาม สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร สูตรต�ำรบั ยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับที่ต้ังขึ้นตามองค์ความรู้การแพทย์ แผนไทย [1] ประกอบดว้ ยตัวยา ๒๒ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๑๐๒ กรัม ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา กระชาย ๕ กรัม กระเทยี ม ๕ กรัม กะทอื ๕ กรัม กะเพรา ๕ กรัม กานพล ู ๕ กรมั โกฐจุฬาลมั พา ๕ กรมั ขงิ แหง้ ๕ กรมั เจตมลู เพลิงแดง ๕ กรมั ชะพลู (ทัง้ ตน้ ) ๕ กรัม ชะเอมเทศ ๕ กรัม ดปี ลี ๕ กรัม ตะไคร ้ ๕ กรัม พรกิ ไทยล่อน ๕ กรัม เพกา ๕ กรมั ไพล ๕ กรมั มะกรดู ๕ กรมั มะนาว (ใบ) ๕ กรมั เรว่ หอม ๕ กรัม ลูกจนั ทน์ ๕ กรมั สะระแหน ่ ๕ กรัม การบรู ๑ กรัม พมิ เสน ๑ กรัม สรรพคณุ บรรเทาอาการปวดประจ�ำเดือน ช่วยให้ประจำ� เดือนมาเปน็ ปรกติ แกม้ ุตกิด รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซูล (ดภู าคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผง ครัง้ ละ ๑–๒ กรัม ละลายน�ำ้ สกุ กินวันละ ๓ ครง้ั ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ 348 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาแคปซลู ครงั้ ละ ๑-๒ กรัม กนิ วันละ ๓ ครง้ั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญงิ ตกเลือดหลงั คลอด หญิงตง้ั ครรภ์ และผทู้ ม่ี ไี ข้ ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนอ่ื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ได้ เอกสารอ้างอิง 1. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เร่อื ง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า ๒96). ยาวาตาธจิ ร ท่มี าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “๏ ยาชื่อวาตาธิจร แก้สาธารณะลมต่างๆ พริกไทย ๒ บาท ขิง ๒ บาท ดีปลี ๒ บาท สะค้าน ๒ บาท กระเทยี มสด ๒ บาท วา่ นน�้ำ ๒ บาท เปราะหอม ๒ บาท ใบหนาด ๒ บาท ผวิ มะกรูด ๒ บาท การบรู ๒ บาท ผวิ มะตมู อ่อนเทา่ ยาทัง้ หลาย ๕ ต�ำลึง ทำ� เป็นจณุ น้ำ� กระสายอนั ควรแกโ่ รค ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 11 ชนิด รวมปริมาณ 600 กรมั ดังนี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา มะตูม (ผวิ เปลอื กผล) 300 กรัม กระเทียม 30 กรมั การบูร 30 กรมั ขิง 30 กรัม ดีปลี 30 กรัม เปราะหอม 30 กรัม พริกไทย 30 กรัม มะกรดู 30 กรัม วา่ นนำ้� 30 กรัม สะคา้ น 30 กรัม หนาด 30 กรัม สรรพคุณ แกล้ ม รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 1 กรมั ละลายน้ำ� ตม้ สกุ กินวันละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ หา้ มใช ้ หา้ มใช้ในหญงิ ตัง้ ครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร ผ้ทู ม่ี ไี ข้ และเดก็ อายุต่�ำกว่า 12 ปี ขอ้ ควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต เนอื่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ ข้อมลู เพ่มิ เติม สมนุ ไพรในตำ� รบั น้ี มะตมู ใช้ผวิ เปลือกผลสด และกระเทียม ใชห้ วั สด กระทรวงสาธารณสุข 349

เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๓. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ยาวาตาประสทิ ธิ ที่มาของต�ำรบั ยา ต�ำรายาพระองค์เจ้าสายสนทิ วงศ์ [๑, ๒] “ยาที่ ๕ ชื่อวาตาประสิทธิ ชื่อโทสันฆาฏก็ช่ือ ให้เอาสะค้านบาท ๑ ดีปลีบาท ๑ ขิงแห้งบาท ๑ โกฐสอบาท ๑ ชะเอมเทศบาท ๑ หญ้าตนี นกบาท ๑ กญั ชาบาท ๑ หัวอตุ พศิ บาท ๑ หัวดองดึงบาท ๑ ยาดำ� ๓ บาท มหาหิงค์ุ ๓ บาท แก่นแสมทะเล ๓ บาท โกฐนำ�้ เต้า ๓ บาท โกฐพุงปลา ๓ บาท ผกั แพวแดง ๓ บาท ว่านน้ำ� ๓ บาท เดมิ เอาสิ่งละเสมอภาค พริกไทย หนกั เท่ายา ๑๖ สิง่ ใหม่น้ีใหเ้ อาพริกไทยหนักเท่ายา ๑๖ สิ่ง” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 17 ชนิด รวมปริมาณ 900 กรัม ดังน้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา พรกิ ไทย 450 กรัม โกฐนำ้� เตา้ 45 กรัม โกฐพุงปลา 45 กรัม 45 กรมั ผักแพวแดง 45 กรัม มหาหงิ ค ุ์ 45 กรัม ยาดำ� 45 กรมั วา่ นนำ้� 45 กรมั แสมทะเล ๑๕ กรมั กญั ชา ๑๕ กรัม โกฐสอ ๑๕ กรัม ขงิ แหง้ ๑๕ กรัม ชะเอมเทศ ๑๕ กรัม ดองดงึ ๑๕ กรมั ดปี ล ี ๑๕ กรมั สะคา้ น ๑๕ กรัม หญา้ ตีนนก ๑๕ กรัม อุตพิด 350 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคุณ แกล้ ม แกโ้ ทสันทฆาต รูปแบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครง้ั ละ 0.6-1.2 กรัม กนิ วันละ ๒ คร้งั กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ตามกำ� ลงั ธาตุหนักเบา ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ ผู้ทม่ี ีไข้ และเด็ก คำ� เตอื น - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัวของ เกล็ดเลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนือ่ งจากต�ำรบั นี้มพี รกิ ไทยในปริมาณสงู ขอ้ มลู เพม่ิ เติม - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและส่ังจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทย์แผนไทยตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตวั ยาโกฐนำ�้ เตา้ ต้องนึ่งกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๖) - ตัวยามหาหิงคต์ุ ้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตัวยายาดำ� ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตัวยากัญชาตอ้ งคั่วก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตัวยาดองดงึ ตอ้ งนึง่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตวั ยาอตุ พิดตอ้ งคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.50) เอกสารอ้างองิ ๑. หลวงแผน่ ะทีเพิ่ม, รองอำ� มาตย์เอก. ต�ำรายาพระองค์เจา้ สายสนทิ วงศ.์ พระนคร : โรงพมิ พศ์ รีหงส์; ๒๔๗๑. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. กระทรวงสาธารณสุข 351

ยาวาโยสมุฏฐาน ท่ีมาของตำ� รับยา อายรุ เวทศึกษา [1, 2] “เอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู สิ่งละ 1 ส่วน เทียนทั้งเจ็ด บอระเพ็ด ลูกกระดอม ลูกมะตมู ออ่ น พริกลอ่ น เบญจกลู สง่ิ ละ 2 ส่วน เทพทาโร ขา่ ตน้ สงิ่ ละ 4 ส่วน การบูร 5 สว่ น ตรผี ลา ตามพกิ ดั ท�ำเป็นจุณ ระคนด้วยเกลือสินเธาว์ บดละลายนำ�้ ขิงน�้ำร้อนน�้ำส้มซ่าก็ได้ กินแก้สมุฏฐานวาโยต่าง ๆ ให้ท้องข้ึน ท้องพอง ให้จกุ เสยี ดแน่นในอก ใหเ้ มอ่ื ยให้ขบ ใหอ้ าเจียน บรโิ ภคอาหารมิได้ นอนมหิ ลบั ” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 27 ชนดิ รวมปริมาณ 56 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา การบรู 5 ส่วน ข่าตน้ 4 สว่ น เทพทาโร 4 ส่วน กระดอม 2 ส่วน ขงิ แห้ง 2 สว่ น เจตมูลเพลิงแดง 2 สว่ น ชะพล ู 2 สว่ น ดปี ลี 2 สว่ น เทยี นขาว 2 สว่ น เทียนขา้ วเปลือก 2 สว่ น เทยี นด�ำ 2 สว่ น เทียนแดง 2 ส่วน เทียนตาตกั๊ แตน 2 สว่ น เทยี นเยาวพาณ ี 2 สว่ น เทียนสัตตบษุ ย ์ 2 ส่วน บอระเพ็ด 2 ส่วน พริกลอ่ น 2 ส่วน มะขามป้อม 2 ส่วน มะตูม 2 ส่วน สมอไทย 2 สว่ น สมอพิเภก 2 สว่ น สะคา้ น 2 ส่วน กระวาน 1 ส่วน กานพล ู 1 ส่วน เกลือสินเธาว ์ 1 ส่วน ดอกจันทน ์ 1 ส่วน ลูกจันทน ์ 1 ส่วน 352 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคุณ แกล้ มจุกเสียด คลนื่ ไส้อาเจยี น รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครง้ั ละ 1-2 กรมั ละลายน�้ำขิง นำ้� ส้มซ่า หรอื น้�ำต้มสุก กนิ วนั ละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ เอกสารอ้างอิง 1. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ นุ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพิเศษ 152 ง. หน้า ๑-2. ยาวิรุณนาภี ท่ีมาของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “พระตำ� ราหลวง ยาวิรณุ นาภี เอา เปลอื กต้นกมุ่ น้ำ� ๑ กุ่มบก ๑ เปลือกต้นมะรุม ๑ เปลือกตน้ ทองหลาง ใบมน ๑ ว่านนำ�้ ๑ กะทอื [1] ไพล ๑ ข่า ๑ กระชาย ๑ ขมน้ิ ออ้ ย ๑ หัวเตา่ เกียด ๑ แก่นขี้เหลก็ ๑ พรกิ ไทย ๑ ขิง ๑ ดีปลี 1 กระเทยี ม ๑ พริกเทศ ๑ ผิวมะกรดู ๑ กระวาน ๑ มหาหงิ ค์ุ ๑ ยาด�ำ ๑ ยาท้งั น้ีสงิ่ ละ ๓ ตำ� ลงึ หอยแครงเผา ๑ ตำ� ลึง ๒ บาท ปูนขาว ๒ สลงึ ทำ� ผงไวบ้ ดดว้ ยน้ำ� ผง้ึ กิน แกป้ ตั คาดเถาดาน แก้ลมกล่อน แกเ้ ลอื ด ตีขน้ึ แก้เลอื ดเนา่ เลือดรา้ ย บดดว้ ยสรุ ากินวิเศษนัก ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 23 ชนิด รวมปรมิ าณ 3,877.5 กรัม ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา กระชาย 180 กรมั กระเทยี ม 180 กรมั กระวาน 180 กรมั กะทอื 180 กรัม กมุ่ น�้ำ 180 กรัม กุ่มบก 180 กรัม ขม้ินอ้อย 180 กรัม ขา่ 180 กรมั ขงิ 180 กรมั ขเ้ี หล็ก 180 กรัม ดปี ลี 180 กรัม เตา่ เกยี ด 180 กรัม ทองหลางใบมน 180 กรมั กระทรวงสาธารณสุข 353

ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 180 กรัม พรกิ เทศ 180 กรมั พรกิ ไทย 180 กรมั ไพล 180 กรมั มหาหิงค์ุ 180 กรมั มะกรดู 180 กรมั มะรุม 180 กรัม ยาดำ� 180 กรัม ว่านนำ้� 90 กรมั หอยแครง 7.5 กรัม ปูนขาว สรรพคุณ แกป้ ัตคาดเถาดาน แก้ลมกลอ่ น แกเ้ ลือดตขี ้ึน แกเ้ ลอื ดเนา่ เลอื ดร้าย รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ครง้ั ละ 1 กรัม ละลายน�้ำสรุ า กนิ วนั ละ 3 ครั้ง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละหญงิ ให้นมบุตร ค�ำเตอื น ควรระวงั การใชใ้ นผูป้ ่วยโรคกระเพาะอาหารอกั เสบและความดนั โลหิตสูง ข้อมูลเพ่ิมเติม - โบราณใชเ้ ปลอื กหอยแครงเผาน�ำมาท�ำเปน็ ปนู ขาว - ตวั ยามหาหิงคุต์ อ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตัวยายาด�ำตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตวั ยาหอยแครงตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.44) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๑. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. 354 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาวิสมั พยาใหญ่ ช่อื อนื่ ยาวิสำ� พยาไหญ่ [1, 2] ที่มาของต�ำรบั ยา สูตรตำ� รับที่ใกล้เคียงต�ำรับน้ี พบในเวชศกึ ษา แพทยศ์ าสตรส์ งั เขป เลม่ ๑ [1, 2] “ยาวิส�ำพยาใหญ่ ลกู ผักชลี า ๑ บาท ลกู จนั ๑ บาท ดอกจัน ๑ บาท กระวาน ๑ กานพลู ๑ โกฐท้ัง ๕ อบเชย ๑ สมุลแว้ง ๑ น้ำ� ประสารทอง ๑ สมอเทศ ๑ สมอไทย ๑ รากไครเ้ ครอื ๑ ว่านนำ้� ๑ บรเพด็ ๑ ขิงแห้ง ๑ พยารากขาว ๑ ยาเหลา่ น้เี อาหนกั ส่งิ ละ ๑ สลงึ ดปี ลีเท่ายาทงั้ หลาย แก้จกุ เสยี ดนำ้� ผึ้งนำ้� รอ้ นเปนกระสาย” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๑๙ ชนิด รวมปริมาณ ๑๐๘ กรมั ดังน้ี [3] ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ดีปลี ๕๔ กรัม ดอกจนั ทน์ ๘ กรมั ลกู จนั ทน์ ๘ กรมั ลกู ชีลา ๘ กรมั กระวาน ๒ กรมั กานพล ู ๒ กรัม โกฐเขมา ๒ กรัม โกฐจฬุ าลมั พา ๒ กรัม โกฐเชียง ๒ กรัม โกฐสอ ๒ กรัม โกฐหวั บวั ๒ กรัม ขงิ แห้ง ๒ กรัม บอระเพด็ ๒ กรัม พญารากขาว ๒ กรัม ว่านน�้ำ ๒ กรมั สมอเทศ (เนอื้ ผล) ๒ กรมั สมอไทย (เนอ้ื ผล) ๒ กรมั สมลุ แว้ง ๒ กรมั อบเชย ๒ กรมั สรรพคณุ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จกุ เสยี ด รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ละลายน้ำ� สกุ หรือผสมนำ้� ผึ้งกนิ ครั้งละ ๑ กรมั ทกุ ๔ ชัว่ โมง ข้อห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และผทู้ ีม่ ีไข้ กระทรวงสาธารณสุข 355

ค�ำเตือน - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลือด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนือ่ งจากต�ำรับนม้ี ีดปี ลใี นปริมาณสูง ข้อมลู เพิ่มเติม สูตรต�ำรับยาวิสัมพยาใหญ่ตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีตัวยา “น้ำ� ประสานทองสะตุ และ ไครเ้ ครือ” เป็นส่วนประกอบ [4] แต่ไดต้ ัดน�้ำประสานทอง สะตอุ อกจากสูตรตำ� รับตามประกาศยาสามญั ประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ [5] ส่วน “ไคร้เครือ” ตัดออกจากสูตรต�ำรับเน่ืองจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่า ไคร้เครือ ท่ีใช้และจ�ำหน่ายกันในท้องตลาดเป็นพืชในสกุล Aristolochia ซ่ึงพืชในสกุลน ้ี มีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต และเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้ พืชสกุล Aristolochia เปน็ สารก่อมะเรง็ ในมนุษย์ [3] เอกสารอา้ งอิง ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หนา้ ๗๘. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓6 ตอนพเิ ศษ 20 ง. หน้า ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บญั ชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า ๒8๗). 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับท่ี ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๑๑ ตอนพิเศษ ๔๒ ง. หน้า ๘๕. 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๖๗ ง. หนา้ ๓๘. 356 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาศุขไสยาศน์ ท่มี าของต�ำรบั ยา คัมภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบับใบลาน [1, 2] “ยาศุขไสยาศน์ให้เอา การบูรส่วน ๑ ใบสเดา ๒ ส่วน สหัสคุณเทศ ๓ ส่วน สมุลแว้ง ๔ ส่วน เทยี นดำ� ๕ ส่วน โกฏกระดกู ๖ สว่ น ลกู จนั ทน์ ๗ สว่ น ดอกบุนนาค ๘ ส่วน พรกิ ไทย ๙ ส่วน ขงิ แห้ง ๑๐ สว่ น ดีปลี ๑๑ ส่วน ใบกันชา ๑๒ ส่วน ท�ำเปนจุณละลายน้�ำผ้ึง เม่ือจะกินเศกด้วยสัพพีติโย ๓ จบแล้วกินพอควร แก้สรรพโรคท้งั ปวงหายสิน้ มีก�ำลงั กินเข้าได้นอนเปนศุขนักแล ฯ” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 12 ชนิด รวมปรมิ าณ 78 ส่วน ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 12 สว่ น กัญชา (ใบ) 11 ส่วน ดีปลี 10 ส่วน ขิงแห้ง 9 ส่วน พรกิ ไทย 8 สว่ น บนุ นาค 7 ส่วน ลูกจนั ทน ์ 6 ส่วน โกฐกระดูก 5 ส่วน เทียนดำ� 4 ส่วน สมลุ แวง้ 3 สว่ น หัสคณุ เทศ 2 สว่ น สะเดา 1 สว่ น การบรู สรรพคุณ ช่วยใหน้ อนหลับ ชว่ ยเจริญอาหาร รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง ครั้งละ 1-2 กรมั ละลายน�้ำผงึ้ หรือนำ้� ต้มสกุ กนิ วนั ละ 1 คร้ัง กอ่ นนอน ยาแคปซูล ครง้ั ละ 1-2 กรมั ดม่ื กับน�ำ้ ต้มสกุ วนั ละ 1 คร้งั กอ่ นนอน ข้อหา้ มใช้ - หา้ มใช้ในหญิงตง้ั ครรภ์ ผูท้ ม่ี ไี ข้ และเดก็ - ห้ามใช้ร่วมกบั ยาทมี่ ีฤทธ์ิกดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ และยาต้าน การชัก รวมทงั้ แอลกอฮอล์หรอื ส่ิงทม่ี ีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ คำ� เตอื น - ควรระวงั การใช้ในผู้ปว่ ยโรคความดันโลหิตสงู โรคหวั ใจ ผูป้ ว่ ยโรคแผลเปอ่ื ยเพปตกิ ผ้ปู ่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เน่ืองจากเปน็ ตำ� รบั ยารสรอ้ น - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกล็ดเลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่อื งจากต�ำรบั นีม้ พี รกิ ไทยในปรมิ าณสูง กระทรวงสาธารณสขุ 357

ขอ้ ควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกิดพิษได้ - ยาน้ีอาจท�ำให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับข่ียานพาหนะหรือท�ำงานเกี่ยวกับ เครอื่ งจักรกล ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ - ตวั ยากัญชาตอ้ งค่ัวกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตวั ยาหสั คุณเทศต้องคว่ั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ คมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน (ตำ� ราพระโอสถพระนารายณ)์ . พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2555. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. ยาศุภมิตร ทมี่ าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [๑, ๒] “๏ ยาศุภมิตรกินให้มีลมเบ่ง ให้เอา ลูกผักชี ๒ สลึง ลูกจันทน์ ๒ สลึง ดอกจันทน์ ๒ สลึง กระวาน ๒ สลึง กานพลู ๒ สลึง เทียนด�ำ ๒ สลึง เทียนขาว ๒ สลึง เทียนแดง ๒ สลึง สารส้ม ๑ บาท สะตุ ต�ำผงกินกบั น้�ำส้มซ่า นำ�้ ร้อน นำ�้ ตาลทราย หยดนอ้ ยหนง่ึ กิน กดลมลงล่างรักษาลกู ในครรภด์ ว้ ย ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 9 ชนดิ รวมปริมาณ ๗๕ กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 15 กรมั สารสม้ 7.5 กรมั กระวาน 7.5 กรมั กานพลู 7.5 กรัม ดอกจันทน์ 7.5 กรมั เทยี นขาว 7.5 กรัม เทียนด�ำ 7.5 กรัม เทยี นแดง 7.5 กรมั ลูกจนั ทน์ 7.5 กรมั ลูกผักชี สรรพคณุ กินให้มีลมเบ่ง รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ ครงั้ ละ 1-2 หยดในนำ้� ร้อน 1 แกว้ (200 มิลลิลิตร) กนิ วนั ละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้าและเย็น ๑ สัปดาหก์ ่อนกำ� หนดคลอด กรณคี ลอดปรกติ 358 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ตวั ยาสารส้มตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 2๓๑. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. 25๕๙. (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๓๙ ง. หน้า ๑. ยาสตรีหลงั คลอด สูตร 1 ทมี่ าของต�ำรบั ยา สูตรต�ำรับนี้มีท่ีมาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับที่ตั้งขึ้นตามองค์ความรู้การแพทย์ แผนไทย [1] “แก่นแกแล แก่นขนุน ว่านชักมดลูก แก่นฝางเสน เถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิงแดง ดอกดีปลี โกฐเชียง เถาก�ำแพงเจ็ดช้ัน หนักส่ิงละ ๑๐ กรัม พริกไทยล่อน รากช้าพลู ดอกค�ำฝอย ดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบวั หลวง หนกั สิ่งละ ๕ กรัม” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๗ ชนิด รวมปริมาณ ๑๓๐ กรมั ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตัวยา ก�ำแพงเจด็ ช้นั ๑๐ กรมั แกแล ๑๐ กรัม โกฐเชียง ๑๐ กรมั ขนนุ ๑๐ กรมั เจตมลู เพลิงแดง ๑๐ กรมั ดปี ลี ๑๐ กรัม ฝางเสน ๑๐ กรัม วา่ นชกั มดลกู ๑๐ กรมั สะคา้ น ๑๐ กรมั ค�ำฝอย ๕ กรัม ชะพล ู ๕ กรมั บวั หลวง ๕ กรมั บนุ นาค ๕ กรมั พรกิ ไทยลอ่ น ๕ กรมั พกิ ลุ ๕ กรมั มะลิ ๕ กรมั สารภี ๕ กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 359

สรรพคณุ ขบั น้�ำคาวปลา บำ� รุงเลอื ด ชว่ ยใหม้ ดลูกเข้าอเู่ ร็วในหญงิ หลังคลอด รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ ๒๕๐ มลิ ลิลติ ร กินวนั ละ ๓ ครงั้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรือด่ืม แทนน�้ำติดต่อกัน ๑ สัปดาห์ หรือจนกว่าน้�ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่ควรเกิน ๑๕ วัน ดืม่ ขณะยายังอุ่น ยา 1 หม้อ ใชต้ ิดตอ่ กนั 5-7 วัน โดยใหอ้ นุ่ นำ้� สมนุ ไพรทุกครงั้ ก่อน ใช้ยา ข้อห้ามใช ้ หา้ มใช้ในหญิงตกเลอื ดหลังคลอด หญงิ ต้งั ครรภ์ และผู้ทม่ี ไี ข้ คำ� เตอื น - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลือด - ควรระวังการใช้ในผปู้ ว่ ยทีแ่ พล้ ะอองเกสรดอกไม้ ข้อมลู เพิ่มเตมิ แพทยแ์ ผนไทยด้งั เดมิ ใช้เป็นยาแทนการอยู่ไฟของหญิงหลังคลอด เอกสารอา้ งองิ 1. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เรือ่ ง บญั ชียาหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ ๒97). ยาสตรีหลังคลอด สูตร 2 ท่ีมาของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, ๒] “ยากนิ เมอื่ คลอดลกู ๏ ยากนิ คลอดลกู กนิ ไปกวา่ จะออกไฟ ทา่ นใหเ้ อา ใบทองหลางใบมน ๑ ใบโคนดนิ สอ ๑ ใบจำ� ปา ๑ ใบไผ่ปา่ เอาสิง่ ละ ๑ สลึง พริกไทย ๑ บาท ขงิ ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท ต�ำผงละลายนา้ํ ผึ้ง นา้ํ รอ้ นสุกกไ็ ด”้ สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 7 ชนิด รวมปริมาณ ๖๐ กรมั ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ขิง ๑๕ กรมั ดปี ลี ๑๕ กรมั พริกไทย ๑๕ กรัม คนทีสอ จำ� ปา (ใบ) ๓.75 กรัม ทองหลางใบมน (ใบ) ๓.75 กรัม ไผป่ า่ 3.75 กรมั 3.75 กรัม สรรพคุณ ขบั น้ำ� คาวปลา ช่วยใหม้ ดลกู เขา้ อู่ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 1 ช้อนชา ละลายน�้ำผึ้งหรือน้�ำต้มสุกกินวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ กนิ ตดิ ต่อกนั ไมเ่ กิน ๑ เดือน หลงั คลอด 360 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญงิ ต้งั ครรภ์ และผทู้ ่ีมไี ข้ เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 2๗๓. หมวดเวชศาสตร์. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า ๑-4. ยาสมมทิ กุมารนอ้ ย ชอ่ื อื่น ยาสมมิดทะกมุ าร ทีม่ าของตำ� รบั ยา 1. ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ 5 เลม่ 1 [1, 2] “ยาช่ือสมมิดทะกุมารขนานน้ี ท่านให้เอาแก่นสน ผลจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน การพลู อบเชย สมลุ แว้ง จันทน์ชะมด กฤษนา กระลำ� ภัก ชะลูด ขอนดอก ชมดเชียง หญ้าฝรน่ั ผลผกั ชลี า สงั กรนี เอาสง่ิ ละ ๑ สลงึ โกดทั้งเก้า ภุมเสน อ�ำพันทอง เอาส่ิงละ ๒ สลึง เทียนท้ังห้า เอาสิ่งละ ๑ บาท ก�ำยาน ๑ บาท ๑ สลึง รวมยา ๓๓ ส่ิงน้ีกระท�ำให้เปนจุณ เอาน้�ำดอกไม้เปนกระสายบดปั้นแท่งไว้ แก้พิศม์ทรางจับหัวใจ แลทรางขึ้นตับ ข้ึนปอด แลข้ึนทรวงอก ให้ตกมูกตกเลือด ให้เชื่อมมึนมีก�ำลังนั้นน้อยให้อิดโรยไปนัก ถ้าจะแก้ระส่�ำระสายละลายน้�ำดอกไม้ น้�ำจันทน์กิน ถ้าจะแก้รากละลายน้�ำผลยอต้มกิน ถ้าจะแก้หอบระหวยก�ำลังนั้นน้อยนัก ละลายน�้ำรากถั่วภูต้มกิน ถา้ จะแก้คล่ัง ลลายน�้ำแก่นสนต้มกนิ ถ้าจะแก้กินเขา้ มไิ ด้ลลายน�้ำขันทศกรกนิ ถ้าจะแก้เชอ่ื มแกม้ นึ ละลายน�ำ้ ชเอม ตม้ กิน ถ้าจะแกล้ งละลายนำ้� เปลือกมรมุ ตม้ กิน ยาขนานนี้ใช้ไดท้ ุกประการดีนัก ฯ” ๒. แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาชื่อสมมิทกุมารน้อย ขนานน้ีท่านให้เอาแก่นสน ๑ ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ อบเชย ๑ สมลุ แว้ง ๑ จันทนช์ ะมด ๑ กฤษณา ๑ กระล�ำภัก ๑ ชะลดู ๑ ขอนดอก ๑ ชะมดเชยี ง ๑ หญ้าฝรั่น ๑ ผลผักชีลา ๑ สังกรณี ๑ เอาส่ิงละ ๑ สลึง โกฐท้ัง ๙ พิมเสน ๑ อ�ำพันทอง ๑ เอาสิ่งละ ๑ สลึง เทียนทั้ง ๕ เอาสิ่งละ ๑ บาท ก�ำยาน ๕ สลึง รวมยา ๓๓ ส่งิ นกี้ ระทำ� ให้เปนจุณ เอานำ้� ดอกไม้เปนกระสาย บดปน้ั แทง่ ไว้แก้พิษทรางจับหัวใจ แลทรางขึ้นตับข้ึนปอด แลข้ึนทรวงอกให้ตกมูกตกโลหิตให้เช่ือมมึนก�ำลังน้อยให้อิดโรย ใช้น้ำ� กระสายดงั น้ี ถา้ จะแกร้ ะส่�ำระสายละลายน�้ำดอกไมน้ ้ำ� จนั ทน์กิน ถา้ จะแก้รากละลายผลยอต้มกนิ ถ้าจะแก้หอบ ระหวยก�ำลังน้อยนัก ละลายน�้ำรากถั่วภูต้มกิน ถ้าจะแก้คลั่งละลายน้�ำแก่นสนต้มกิน ถ้าจะแก้กินเข้ามิได้ละลาย น้�ำขันทศกรกินถ้าจะแก้เช่ือมแก้มึนละลายน้�ำชะเอมต้มกิน ถ้าจะแก้ลงละลายน�้ำเปลือกมะรุมต้มกิน ยาขนานน้ี ใช้ได้ ทกุ ประการดนี ัก” กระทรวงสาธารณสุข 361

สตู รตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 33 ชนดิ รวมปริมาณ 236.25 กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ก�ำยาน 18.75 กรัม เทียนขาว เทยี นข้าวเปลือก 15 กรมั เทยี นดำ� 15 กรมั เทียนแดง 15 กรมั เทียนตาตั๊กแตน 15 กรัม โกฐกระดกู 15 กรมั โกฐก้านพรา้ ว 7.5 กรัม โกฐเขมา 7.5 กรัม โกฐจุฬาลัมพา 7.5 กรมั โกฐชฎามังสี 7.5 กรมั โกฐเชียง 7.5 กรมั โกฐพุงปลา 7.5 กรมั โกฐสอ 7.5 กรมั โกฐหัวบวั 7.5 กรัม พิมเสน 7.5 กรัม อ�ำพันทอง 7.5 กรัม กระลำ� พัก 7.5 กรมั กระวาน 3.75 กรมั กฤษณา 3.75 กรัม กานพลู 3.75 กรัม ขอนดอก 3.75 กรมั จนั ทนช์ ะมด 3.75 กรมั ชะมดเชียง 3.75 กรัม ชะลูด 3.75 กรัม ดอกจันทน์ 3.75 กรมั ลูกจนั ทน ์ 3.75 กรัม ลกู ชีลา 3.75 กรัม สน 3.75 กรัม สมุลแวง้ 3.75 กรมั สงั กรณ ี 3.75 กรมั หญ้าฝร่นั 3.75 กรมั อบเชย 3.75 กรัม 3.75 กรัม 362 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคุณ แกซ้ าง แกพ้ ิษซาง รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ ีการใช้ เด็ก แรกเกิด-6 เดอื น ครงั้ ละ 100 มลิ ลิกรมั อายุ 6 เดอื น-1 ปี ครงั้ ละ 200 มิลลิกรัม อายุ 1-๓ ปี ครั้งละ 300 มลิ ลกิ รมั อายุ ๓-๖ ปี ครัง้ ละ 400 มลิ ลิกรัม ละลายน้ำ� กระสายยาตามอาการกินวนั ละ 2 ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ กระสายยาทใี่ ช้ - แกร้ ะส�ำ่ ระสาย ละลายน�ำ้ ดอกไมเ้ ทศหรอื นำ้� จนั ทนแ์ ดง (ฝน) - แก้อาเจยี น ละลายน้�ำลกู ยอต้ม - แกห้ อบ ไม่มแี รง ละลายนำ�้ รากถวั่ พตู ้ม - แก้คล่ัง ละลายนำ้� แกน่ สนตม้ - แก้กินขา้ วไมไ่ ด้ ละลายนำ้� ขนั ฑสกร - แก้เช่ือมมนึ ละลายน้ำ� ชะเอมตม้ - แกท้ ้องเสยี ละลายนำ�้ เปลือกมะรุมต้ม คำ� เตือน ไม่ควรใชใ้ นเดก็ ทีส่ งสัยว่าเปน็ ไขเ้ ลือดออก เนือ่ งจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลือดออก ขอ้ ควรระวัง หากใช้ยาเปน็ เวลาเกนิ ๓ วนั แลว้ อาการไมด่ ีขึน้ ควรพบแพทย์ เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทอมรนิ ทร์พรนิ้ ต้งิ แอนดพ์ บั ลิชช่ิง จำ� กดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. กระทรวงสาธารณสขุ 363

ยาสหศั ธารา ที่มาของตำ� รบั ยา สูตรตำ� รบั ทใี่ กล้เคยี งต�ำรบั น้ี พบในคัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๒ [1] “ยาช่อื สหศั ธารา แก้ลม ๘๐ จ�ำพวก แก้เสมหะ ๒๐ จ�ำพวก แก้ลมเข้าในเส้น ช่อื วาตะพรรค ๓๐ จำ� พวก แก้ลมแล่นในเน้ือ ๘ จ�ำพวก แก้ลมแล่นตามสันหลัง ช่ือปราณยักษ์ ๒๐ จ�ำพวก แก้โลหิตก�ำเดา ท�ำให้เป็นฝีในอก ๕ จ�ำพวก ช่ืออุระวาต ให้สลักอกจุกเสียด เอามหาหิงคุ์ ๕ สลึง โกฐก้านพร้าว ๒ สลึง โกฐพุงปลาสลึงเฟื้อง โกฐเขมา ๒ สลงึ เฟ้อื ง โกฐกักกรา ๓ สลงึ เทยี นดำ� ๓ สลึงเฟอื้ ง เทยี นขาว ๑ บาท เทียนสตั ยบษุ ย์ ๑ บาทเฟือ้ ง เทยี น ตาต๊ักแตน ๕ สลงึ เทียนแดง ๕ สลงึ เฟื้อง ลกู จนั ทน์ ๖ สลึง ดอกจนั ทน์ ๖ สลงึ เฟือ้ ง การะบูน ๗ สลึง หศั คนุ เทศ ๖ บาท รากทนดี ๑๐ บาท รากจิงจ้อ ๑ บาท หว้านน้�ำ ๑๑ บาท ดีปลี ๑๒ บาท ลูกสมอไทย ๑๓ บาท รากเจ็ตมูลเพลิง ๒๘ บาท พริกไทย ๓๐ บาท บดเป็นผง แก้จุกเสียด ละลายน้�ำลูกสมอไทยต้มกิน แก้ตัวเย็น ละลายข่าตม้ กนิ แก้น้�ำลายเหนยี ว ละลายน้ำ� มะงว่ั กิน แก้นอนไมห่ ลบั ละลายน�ำ้ อ้อยแดงกิน แกส้ บดั ร้อนสบดั หนาว ละลายนำ้� เปลอื กมะรมุ ตม้ กนิ แกร้ ากเปน็ เลอื ดหรอื แกบ้ ดิ ละลายนำ�้ ตาลหมอ้ กนิ แกท้ อ้ งรงุ้ พงุ มาร ละลายนำ้� รากจงิ จอ้ ต้มกิน แก้บวม ๕ ประการ ละลายน้�ำร้อนกิน แก้ลมจุกขึ้นไปถึงต้นล้ิน ละลายน้�ำผ้ึงหรือน�้ำส้มส้ากินแก้ลมตายไป ภาคหนึ่ง ละลายน้�ำนมโคกิน แก้ลมเป็นอ่างล้ินขัดพูดไม่ชัด ละลายน้�ำมันเนยกิน แก้ไข้ป่าเว้น ๒ วันจับ ๓ วันจับ ละลายน�ำ้ มะนาวกนิ เมือ่ หญงิ คลอดลูกจะใหข้ ับเลอื ด ละลายนำ�้ มะงัว่ กนิ สะเดาะลกู ตายในท้อง ละลายน�้ำมันงากนิ แก้ฝีภายใน ละลายนำ�้ ผักเปด็ ต้มกิน” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๒๑ ชนิด รวมปริมาณ ๑,๐๐๐ กรัม ดงั นี้ [2] ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา พริกไทยลอ่ น ๒๔๐ กรมั เจตมลู เพลงิ แดง ๒๒๔ กรมั สมอไทย (เนือ้ ผล) ๑๐๔ กรมั ดีปล ี ๙๖ กรัม ว่านนำ�้ ๘๘ กรัม ทนดี ๘๐ กรัม หสั คุณเทศ ๔๘ กรัม การบรู ๑๔ กรัม ดอกจันทน์ ๑๓ กรัม ลกู จันทน์ ๑๒ กรมั เทยี นแดง ๑๑ กรมั เทียนตาตกั๊ แตน ๑๐ กรัม มหาหิงคุ์ ๑๐ กรัม เทียนสตั ตบษุ ย์ จงิ จอ้ ๙ กรมั เทยี นขาว ๘ กรมั เทียนดำ� ๘ กรัม ๗ กรมั 364 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตัวยา ปริมาณตัวยา โกฐกกั กรา ๖ กรัม โกฐเขมา ๕ กรมั โกฐก้านพร้าว ๔ กรมั โกฐพงุ ปลา ๓ กรมั สรรพคณุ ขบั ลมในเสน้ แกโ้ รคลมกองหยาบ รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดภู าคผนวก ๓.๓), ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาเมด็ (ดภู าคผนวก 3.4.2) ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั ละ ๑-๑.๕ กรัม กินวันละ ๓ ครงั้ หลงั อาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ ห้ามใช ้ หา้ มใช้กบั หญงิ ตั้งครรภแ์ ละผู้ท่มี ไี ข้ ค�ำเตอื น - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก และโรคกรดไหลยอ้ น เน่ืองจากเป็นตำ� รบั ยารสรอ้ น - ยาน้อี าจทำ� ใหเ้ กดิ อาการรอ้ นท้อง แสบทอ้ ง คล่ืนไส้ คอแห้ง เป็นผืน่ คนั - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนอื่ งจากตำ� รับนม้ี ีพรกิ ไทยในปริมาณสูง ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ ข้อมลู เพ่มิ เตมิ - จากการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized double-blind controlled trial เพอื่ ประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของยาแคปซลู สหสั ธารากบั ยาเมด็ ไดโคลฟแี นคในการรกั ษา อาการปวดกลา้ มเนอ้ื พบวา่ การกนิ ยาแคปซลู สหสั ธาราขนาดวนั ละ ๑,๒๐๐ มลิ ลกิ รมั นาน ๗ วัน สามารถลดอาการปวดกล้ามเนื้อบ่าหรือต้นคอได้ไม่แตกต่างจาก การใช้ยาเมด็ ไดโคลฟีแนคขนาดวันละ ๗๕ มิลลิกรัม [3] - จากการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized double-blind controlled trial เพ่ือประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาสหัศธารา (๓,๐๐๐ มิลลิกรัม ต่อวัน) เปรียบเทียบกับกับยาไดโคลฟีแนค (๗๕ มิลลิกรัมต่อวัน) ในผู้ป่วยข้อเข่า อักเสบ (Knee osteoarthritis) พบว่าประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาสหัศธารา และยาไดโคลฟีแนคไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ท้ังในวันท่ี ๑๔ และ ๒๘ ของ การรักษา รวมทงั้ การเกิดอาการข้างเคียงทไี่ มแ่ ตกตา่ งกนั ด้วย [4] - จากการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized single-blind controlled trial เพื่อ ประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาสหัศธารา [๔,๐๕๐ มิลลิกรัมต่อวัน (๑,๓๕๐ มิลลกิ รัม วนั ละ ๓ ครัง้ )] เปรยี บเทยี บกบั ยาไอบูโพรเฟน [๑,๒๐๐ มิลลกิ รมั ตอ่ วัน (๔๐๐ มิลลกิ รมั วนั ละ ๓ ครัง้ )] ในผปู้ ว่ ยปวดหลงั เฉียบพลนั (acute low back pain) พบว่าประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาสหัศธาราและยาไอบูโพรเฟน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ท้ังวันที่ ๗ ของการรักษา รวมทั้งการเกิดอาการ ข้างเคียงทีไ่ ม่แตกตา่ งกนั ดว้ ย [5] - ตวั ยาหสั คณุ เทศต้องคั่วกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) - ตวั ยามหาหงิ ค์ตุ ้องสะตุกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) กระทรวงสาธารณสุข 365

เอกสารอา้ งองิ ๑. โสภติ บรรณลกั ษณ,์ ขุน (อำ� พัน กิตติขจร). คมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ อตุ สาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. หนา้ ๒๗๙. ๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่ือง บัญชยี าหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 313). ๓. ปรีชา หนูทิม, วารณี บุญช่วยเหลือ, ณัฏฐิญา ค้าผล. การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาแคปซูล สหัสธารากับยาเม็ดไดโคลฟีแนค ในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก. ๒๕๕๖;๑๑(๑):๕๔-๖๕. ๔. Pinsornsak P, Kanokkangsadal P, Itharat A. The clinical efficacy and safety of the sahastara remedy versus diclofenac in the treatment of osteoarthritis of the knee: a double-blind, randomized, and controlled trial. Evid Based Complement Alternat Med. 2015;2015:103046. doi: 10.1155/2015/103046. ๕. Verayachankul T, Chatsiricharoenkul S, Harnphadungkit K, Jutasompakorn P, Tantiwongse J, Piwtong M, et al. Single-blind randomized controlled trial of poly-herbal formula Sahatsatara for acute low back pain: a pilot study. Siriraj Med J. 2016;68:30-6. ยาสำ� หรับเด็ก ทีม่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาเด็ก ท่านให้เอาใบสันพร้ามอญ ๑ ต�ำลึง ข่าตาแดง ๓ สลึง ขมิ้นอ้อย ๑ บาท การบูร ๑ สลึง พิมเสน ๑ เฟื้อง เมื่อจะบด บดด้วยน้�ำซาวข้าวปั้นแท่งไว้ ถ้าเด็กลงท้องฝนด้วยลูกเบญกานี ถ้าท้องข้ึนฝน กับสุราทาทอ้ ง ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 5 ชนดิ รวมปรมิ าณ 91.875 กรมั ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 60 กรัม สันพร้ามอญ ๑๕ กรัม ขม้นิ ออ้ ย ขา่ ตาแดง 11.25 กรัม การบูร 3.75 กรัม พิมเสน 1.875 กรมั สรรพคุณ แก้ท้องอดื ท้องเฟอ้ ท้องเสยี ในเด็ก รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) วิธปี รุงยา บดเป็นผงละเอยี ด ผสมกับน้�ำซาวขา้ ว บดยาจนเหนียว แล้วท�ำเป็นแทง่ และทำ� ใหแ้ หง้ 366 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขนาดและวธิ กี ารใช้ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ฝนยาละลายสุรา ทาบาง ๆ รอบสะดือเด็กเมื่อมีอาการ หา้ มทาบริเวณผิวหนังทีม่ บี าดแผลหรือแผลเปดิ แก้ทอ้ งเสยี เด็ก อายุ ๑ ปี-๕ ปี ครั้งละ 200-300 มลิ ลิกรัม อายุ ๕ ปี ขน้ึ ไป ครง้ั ละ 300 มิลลิกรัม ฝนลูกเบญกานลี ะลายยากนิ วันละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น ค�ำเตือน ควรระวังในเดก็ ทม่ี ีไขส้ งู และถา่ ยเหลวรนุ แรง ขอ้ ควรระวัง ไมค่ วรกนิ ติดตอ่ กันเกิน 3 วัน เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 239. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑39 ง. หน้า ๑-3. กระทรวงสาธารณสุข 367

ยาสทิ ธิจร ที่มาของตำ� รับยา ศลิ าจารึกตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) [1, 2] “๏ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ให้แก้สรรพโรค ท้ังปวงต่าง ๆ สืบกันมา ฯ ในที่นี้จะว่าแต่วิเศษสรรพคุณ คือคณะสรรพยาซ่ึงจะแก้โรคสมมุติว่าหฤศโรคคือ สรรพริดสีดวงนัน้ โดยนัยดังนี้ ฯ ยาชอื่ สิทธจิ ร เอาโกฐสอ โกฐเขมา โกฐหวั บวั เทยี นดำ� เทียนขาว ผลจันทน์ กระวาน กานพลู ขิงแห้ง ดีปลี สมอไทย สมอเทศ สมอพิเภก มะขามป้อม ผลพิลังกาสา แก่นแสมทั้งสอง รากส้มกุ้ง สะค้าน ส่ิงละส่วน กัญชา ๒ สว่ น หอยขมเผา เบยี้ จ่ันเผา สิ่งละ ๕ ส่วน พรกิ ไทย ๓๔ สว่ น ท�ำเป็นจณุ บดดว้ ยนำ�้ ผงึ้ ใหก้ นิ หนกั ๑ สลงึ แก้รดิ สดี วง หืด ไอ มองคร่อ หายดีนกั ฯ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 23 ชนิด รวมปรมิ าณ 65 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 34 สว่ น พริกไทย 5 สว่ น เบยี้ จั่น 5 ส่วน หอยขม 2 ส่วน กญั ชา ๑ ส่วน กระวาน ๑ สว่ น กานพลู ๑ สว่ น โกฐเขมา ๑ สว่ น โกฐสอ ๑ สว่ น โกฐหวั บวั ๑ สว่ น ขงิ แหง้ ๑ สว่ น ดปี ลี ๑ สว่ น เทียนขาว ๑ สว่ น เทียนด�ำ ๑ ส่วน พลิ งั กาสา ๑ สว่ น มะขามป้อม ๑ สว่ น ลูกจนั ทน ์ ๑ สว่ น สม้ ก้งุ ๑ ส่วน สมอเทศ ๑ ส่วน สมอไทย ๑ สว่ น สมอพเิ ภก ๑ สว่ น สะคา้ น ๑ สว่ น แสมทะเล ๑ สว่ น แสมสาร 368 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคณุ แกร้ ดิ สดี วงทางเดินหายใจ ซึ่งท�ำใหม้ อี าการหดื ไอ มองครอ่ รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ 1-1.๕ กรัม กนิ วันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ข้อมลู เพ่มิ เติม - ต�ำรับยาน้ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตาม พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบบั แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ การใชย้ าเสพตดิ ใหโ้ ทษตำ� รบั นต้ี อ้ งอยภู่ ายใตก้ ารปรงุ และสงั่ จา่ ยโดยผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทยแ์ ผนไทย ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตวั ยากัญชาต้องค่วั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) - ตัวยาเบยี้ จั่นตอ้ งสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.20) - ตัวยาหอยขมตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.43) เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ เลม่ ๒. พิมพ์ครั้งท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาสมุ กระหมอ่ มเด็ก สตู ร 1 ท่มี าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ยาสุมกระหม่อมถอนพิษซาง เอาใบสมี ๑ ใบพุทรา ๑ ดินหมาร่า ๑ ขม้ินอ้อย ๑ ดินประสิวขาว ๑ บดให้ละเอียดพอกกระหม่อมดูดพิษซางหายแล๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 5 ส่วน ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 ส่วน ขมิ้นออ้ ย 1 สว่ น ดินประสวิ ขาว 1 สว่ น ดินหมาร่า 1 สว่ น พทุ รา (ใบ) 1 สว่ น สม ี กระทรวงสาธารณสุข 369

สรรพคณุ ถอนพิษซาง บรรเทาอาการไข้ ตัวร้อน รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ละลายน้�ำต้มสุกท่ีเย็นแล้ว พอกบริเวณกระหม่อมจนกว่าไข้จะลดลง (ขนาดยาที่ใช้ ขึน้ อยู่กบั ขนาดกระหมอ่ มเดก็ ) ระวังอยา่ ให้ยาเขา้ ตา เป็นยาใช้ภายนอก หา้ มกิน ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใช้ในเดก็ ทม่ี พี ัฒนาการของกะโหลกศีรษะผิดปรกติ หรอื มีบาดแผลที่บรเิ วณศรี ษะ เชน่ เป็นชันนะตุ หัวดกั แด้ ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ตวั ยาดินประสวิ ต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.14) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 141 ง. หน้า ๑-4. ยาสุมกระหมอ่ มเดก็ สตู ร 2 ทม่ี าของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกร็ด [1, 2] “ยาสุมกระหม่อมถอนพิษซาง ถ้ามิฟังเอา เปลือกทองหลางน้�ำ 1 รากพุทรา 1 เปลือกสนุ่นน้�ำ 1 ต�ำลึงตวั ผู้ 1 ฟกั ขา้ ว 1 ลกู ประค�ำดคี วาย 3 ลกู ตม้ แล้วจงึ เอาประค�ำดีควายลูก ๑ ขย�ำลงทนี่ ํ้าตม้ ให้เปน็ ฟองแล้ว จงึ ชอ้ นฟองใส่กระหม่อมเด็ก ๓ วนั วันละลกู หายแล ๚” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 6 ชนิด รวมปรมิ าณ 5 ส่วน ดงั น ี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ต�ำลงึ ตัวผู้ 1 สว่ น ทองหลางน้ำ� 1 สว่ น พทุ รา (ราก) 1 ส่วน ฟกั ขา้ ว 1 สว่ น สน่นุ น�ำ้ 1 ส่วน มะค�ำดคี วาย 4 ผล *ไมร่ วมนำ�้ หนกั มะค�ำดคี วาย สรรพคณุ ถอนพิษซาง บรรเทาอาการไข้ ตัวรอ้ น รปู แบบยา ยาพอก (ดภู าคผนวก 3.7) วิธีปรุงยา ตวั ยาตำ� ลึงตวั ผู้ ทองหลางน�้ำ มะค�ำดีควาย 3 ผล พทุ รา ฟักขา้ ว สนุน่ น้ำ� นำ� มาต้ม ใหเ้ ดอื ดในนำ้� ๒๕๐ มลิ ลลิ ติ ร นาน ๑๕ นาที แลว้ พกั ใหเ้ ยน็ ลง แลว้ จงึ นำ� ลกู มะคำ� ดคี วาย 1 ผล ขย�ำลงไปเคลา้ ให้เข้ากัน แล้วชอ้ นฟองใสแ่ ผน่ ส�ำลใี หช้ ุ่ม 370 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขนาดและวิธกี ารใช้ พอกกระหม่อม นาน ๓๐ นาที หรือจนกว่าไข้ลดลง (ขนาดยาท่ีใช้ขึ้นอยู่กับขนาด กระหมอ่ มเดก็ ) ระวงั อย่าให้ยาเข้าตา เป็นยาใชภ้ ายนอก ห้ามกนิ ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใช้ในเดก็ ท่มี ีพฒั นาการของกะโหลกศรี ษะผิดปรกติ หรือมีบาดแผลที่บริเวณศรี ษะ เช่น เป็นชนั นะตุ หัวดกั แด้ ข้อควรระวงั ไม่ควรใช้ติดต่อกันเกนิ 3 วัน ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ตวั ยามะคำ� ดีควายตอ้ งสมุ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.26) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หน้า ๑-4. ยาสุวรรณเกษรา ทีม่ าของต�ำรบั ยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธ์)ิ เล่ม ๒ [๑, ๒] “ถ้าจะแก้เอาโกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐก้านพร้าว เทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทยี นเยาวพาณี เทียนสตั ตบุษย์ ดอกสัตตบษุ ย์ ดอกลนิ จง ดอกจงกลนี ดอกสัตตบรรณ ดอกนลิ บุ ล กฤษณา กระล�ำพัก ชะลดู ขอนดอก จันทน์ทั้งสอง แก่นสน สักขี เทพทาโร สมลุ แวง้ อบเชย รากสามสบิ เอาเสมอภาคตม้ ๓ เอา ๑ ใหก้ นิ แกส้ รรพไขใ้ นครรภรกั ษาหาย ยานช้ี ื่อสวุ รรณเกษรา ฯ” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๗ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๔๐๕ กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๑๕ กรัม กระล�ำพัก ๑๕ กรัม กฤษณา ๑๕ กรมั โกฐก้านพรา้ ว ๑๕ กรมั โกฐเขมา ๑๕ กรมั โกฐเชยี ง ๑๕ กรัม โกฐสอ ๑๕ กรมั โกฐหวั บวั ๑๕ กรัม ขอนดอก ๑๕ กรมั จันทนข์ าว ๑๕ กรัม จันทนแ์ ดง ๑๕ กรัม ชะลดู ๑๕ กรมั เทพทาโร กระทรวงสาธารณสขุ 371

ตัวยา ปริมาณตัวยา เทยี นขาว ๑๕ กรัม เทยี นด�ำ ๑๕ กรัม เทียนแดง ๑๕ กรัม เทยี นเยาวพาณี ๑๕ กรมั เทียนสัตตบษุ ย ์ ๑๕ กรัม บวั จงกลนี ๑๕ กรัม บวั นลิ บุ ล ๑๕ กรมั บวั ลินจง ๑๕ กรัม บัวสัตตบรรณ ๑๕ กรัม บวั สัตตบษุ ย ์ ๑๕ กรมั สน ๑๕ กรัม สมลุ แวง้ ๑๕ กรัม สกั ข ี ๑๕ กรมั สามสบิ ๑๕ กรมั อบเชย ๑๕ กรมั สรรพคุณ บ�ำรงุ ครรภ์ แก้ไข้ในครรภ์รักษา รปู แบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครั้งละ 100-200 มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะ ยายงั อุ่น ถา้ มอี าการไขใ้ นครรภ์รักษา คร้งั ละ 100-200 มิลลิลิตร ด่มื วันละ ๔ ครั้ง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน เยน็ และก่อนนอน ดืม่ ขณะยายังอ่นุ ยา ๑ หม้อ ใชต้ ดิ ตอ่ กัน ๕-๗ วนั โดยใหอ้ ุ่นนำ�้ สมนุ ไพรทกุ ครัง้ กอ่ นใชย้ า ขอ้ ควรระวงั หากใช้ยาน้ีติดต่อกนั 3 วนั แล้วอาการไมด่ ขี ึน้ ควรหยดุ ใชย้ าและพบแพทย์ เอกสารอ้างองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เลม่ ๒. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ;์ 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. 372 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาเสมหะพนิ าศ ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 3 [1] “ยาช่ือเสมหะพินาศ เอาใบหนาด ผิวมะกรูดปิ้งไฟ ลูกสมอ เมล็ดผักกาด เมล็ดผักชีลา พริกไทย เอาเสมอภาค บดป้นั แทง่ ด้วยน�ำ้ ร้อน ละลายน้�ำรอ้ นหรือน้ำ� ส้มสา้ กนิ แก้เสมหะท�ำใหเ้ ท้าเยน็ มอื เยน็ ตัวร้อน หัวรอ้ น หายแล” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๖ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๖ สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา พรกิ ไทย ๑ สว่ น มะกรดู ๑ ส่วน เมล็ดพรรณผกั กาด ๑ ส่วน ลกู ชลี า ๑ ส่วน สมอไทย (เนือ้ ผล) ๑ ส่วน หนาด ๑ ส่วน สรรพคณุ ขบั เสมหะ รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 300-600 กรัม บดละลายน�้ำรอ้ นหรือนำ้� สม้ ซา่ กนิ วนั ละ ๓ ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ หรอื เมือ่ มอี าการ เอกสารอ้างองิ 1. โสภติ บรรณลกั ษณ์, ขุน (อ�ำพัน กติ ติขจร). คัมภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม 3. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ อุตสาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสขุ 373

ยาแสงหมกึ ที่มาของต�ำรบั ยา สตู รตำ� รับทใ่ี กล้เคยี งต�ำรบั น้ี พบในคมั ภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๒ [1] “ยาแสงหมึก เอาหมึกหอม จันทน์ชะมด ลูกกระวาน จันทน์เทศ ใบพิมเสน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู ใบสนั พรา้ หอม หวั หอม ใบกะเพรา ดีงูเหลือม เอาสิ่งละ ๑ บาท ชะมด พมิ เสน ดจี รเข้ เอาสิ่งละ ๒ สลึง บดปั้นเป็นเม็ด แก้น�้ำลายเหนียว แทรกหัวหอม พิมเสน แก้ตัวร้อน เช่ือมซึม ละลายน�้ำดอกไม้เทศ หรือ น้�ำจันทน์เทศ ฝนกิน แก้ชักละลายน�้ำร้อน แทรกพิมเสนกิน แก้ท้องขึ้นปวดท้อง ละลายน�้ำใบกระเพรา ตม้ กิน แกไ้ อละลาย นำ�้ ลูกมะแวง้ เครือกวาด แกล้ งท้องและตกมูกเลือด ละลายน้ำ� เนอื้ ไมต้ ้มกิน แกล้ งทอ้ ง ละลายน้ำ� ใบเทยี น ใบทบั ทมิ ตม้ กนิ แกป้ ากเปอ่ื ย ละลายนำ�้ หมากดบิ ทาปากแกล้ ะออง ละลายนำ้� รอ้ นแทรกนำ้� ประสานทองสะตุ ทาปากและกิน” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๒ ชนดิ รวม ๔๕ กรมั ดงั น้ี [2] ตัวยา ปริมาณตัวยา ๔ กรัม กระวาน ๔ กรมั กะเพรา ๔ กรมั กานพลู ๔ กรัม จันทนช์ ะมด ๔ กรมั จันทน์เทศ ๔ กรัม ดอกจนั ทน์ ๔ กรัม พมิ เสนต้น ๔ กรมั ลูกจันทน์ ๔ กรัม สนั พร้าหอม ๔ กรมั หมกึ หอม ๔ กรมั หอม ๑ กรัม พมิ เสน สรรพคณุ แกต้ วั ร้อน แก้ทอ้ งขนึ้ ปวดทอ้ ง แก้ไอ ขับเสมหะ แกแ้ ผลในปาก แก้ละออง รูปแบบยา ยาเมด็ (ดภู าคผนวก 3.4.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ แก้ตวั ร้อน แก้ทอ้ งข้ึน ปวดท้อง แกไ้ อ ขบั เสมหะ เด็ก อายุ ๑-๖ เดือน ครั้งละ ๐.๔ กรัม อายุ ๗-๑๒ เดือน คร้ังละ ๐.๖ กรัม กวาดคอวันละ ๑ ครง้ั หลงั จากน้นั กนิ ทกุ ๓ ชัว่ โมง แกแ้ ผลในปาก แก้ละออง ใชท้ าในปาก วนั ละ ๑ คร้ัง 374 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

กระสายยาท่ีใช้ - แกต้ วั ร้อน ละลายน�้ำดอกไม้เทศ - แก้ท้องขนึ้ ปวดทอ้ ง ละลายน�้ำใบกะเพราตม้ - แก้ไอ ขบั เสมหะ ละลายนำ�้ ลกู มะแวง้ เครือหรือลูกมะแวง้ ต้นกวาดคอ - แก้แผลในปาก แก้ละออง ละลายน�้ำลกู เบญกานีฝนทาในปาก ข้อมูลเพมิ่ เตมิ - ในกรณีแก้ไอ ขับเสมหะ อาจใช้น้�ำมะนาวแทรกเกลือเป็นน้�ำกระสายแทน หากหาน้�ำกระสายที่ระบุข้างต้นไม่ได้ ให้ใช้น้�ำต้มสุกหรือน�้ำกระสายอ่ืนท่ีเหมาะสม ตามศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทย - สูตรต�ำรับยาแสงหมึกตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีตัวยา “ดีงูเหลือม และ ชะมด” เป็นส่วนประกอบ [3] แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับ ตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ เน่ืองจากงูเหลือม และชะมดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๓๕ และยังมีการประกาศให้ชะมดเป็นสัตว์ท่ีอยู่ใน “อนุสัญญาว่าด้วย การค้าระหวา่ งประเทศซึ่งชนิดพันธุส์ ัตว์ป่าทใ่ี กลส้ ญู พนั ธ์ุ” [4] เอกสารอา้ งองิ ๑. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์อตุ สาหกรรมการพิมพ;์ ๒๕๐๔. หนา้ ๑๕๑. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖. (๒๕๕๖, ๑๔ กุมภาพนั ธ์). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๒๑ ง. หน้า ๓๙. ๓. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับท่ี ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง. หนา้ ๘๗. ๔. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๖ ตอนพเิ ศษ ๖๗ ง. หน้า ๔๐. กระทรวงสาธารณสขุ 375

ยาใส่บาดแผลฝกี ระอกั ปากหมู ที่มาของตำ� รบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “นำ้� มนั ฝรั่ง ชนั ตะเคียน 1 สีเสียดเทศ 1 ชนั ย้อย 1 สารสม้ 1 ขผี้ งึ้ แขง็ 1 จนุ สี 1 หุงด้วยนำ้� มนั มะพร้าว แทรกเหล้าพอควร ใสบ่ าดแผลฝีกระอกั ปากหมู ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตวั ยา 8 ชนิด ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 สว่ น ชันยอ้ ย 1 ส่วน ตะเคียน 1 ส่วน น้ำ� มนั มะพรา้ ว 1 ส่วน น�ำ้ มันสน 1 สว่ น สารสม้ 1 สว่ น สีเสียดเทศ จุนส ี ๐.๒๕ สว่ น สรรพคณุ รกั ษาแผลฝกี ระอกั ปากหมู รูปแบบยา ยาขี้ผง้ึ (ดูภาคผนวก 3.12) วธิ ปี รุงยา น�ำตัวยาสารส้มและสีเสียดเทศมาบดให้ละเอียด ผสมกับตัวยาชันตะเคียน ชันอ้อย และนำ้� มันสน จากนน้ั น�ำไปหุงดว้ ยน�้ำมนั มะพรา้ ว เติมจุนสีลงไป และเติมขีผ้ ้งึ ๑ สว่ น ต่อนำ้� มนั ท่เี คีย่ วได้ 3 ส่วน ทำ� เป็นยาขีผ้ งึ้ ขนาดและวิธกี ารใช้ น�ำยาขีผ้ ง้ึ ท่ีได้มาแทรกดว้ ยสรุ า ทาบรเิ วณท่เี ปน็ วันละ 2 ครง้ั เช้าและเย็น ขอ้ มูลเพม่ิ เติม - ตวั ยาน้�ำมันฝรง่ั ในตำ� รับนี้ หมายถึง นำ้� มันสน - ตวั ยาสารส้มตอ้ งสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) - ตวั ยาสเี สียดเทศต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.41) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี 257. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง, หนา้ ๑-2. หน้า ๑-๘๐. 376 รายการต�ำรับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาหทัยวาตาธคิ ุณ ทม่ี าของต�ำรบั ยา ศิลาจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วดั โพธ์ิ) [1, 2] “๏ จะกลา่ วด้วยลักษณะกำ� เนิดลมอนั หนึง่ อนั บงั เกดิ ในกองพทั ธปิตโรคน้ันอกี ๔ จ�ำพวก ตามนัยอาจารย์ ส�ำแดงไว้ในก่อนสืบๆ กันมาดังน้ี ฯ จ�ำพวกหน่ึงชื่อหทัยวาต จ�ำพวกหนึ่งช่ือสัตถกะวาต จ�ำพวกหน่ึงช่ืออัศฎากาศ จ�ำพวกหนึ่งชื่อสุมะนา ลักษณะลมท้ัง ๔ จ�ำพวก ซึ่งกล่าวมาน้ี อาจยังให้กองสมุฏฐานโรคทั้งปวงวิบัติแปรปรวน ไปต่าง ๆ มีปิตสมุฏฐานเป็นต้น มีสันนิบาตสมุฏฐานเป็นท่ีสุดดังกล่าวมาน้ี ฯ ในที่นี้จะว่าแต่ลมอันชื่อว่า หทัยวาตน้ันก่อนเป็นปฐม อันบังเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ใด มักกระท�ำให้มันตึง มิใคร่จะเจรจา ให้หนักปาก ให้ใจน้ัน ลอยอยู่เป็นนิจ มักจะอยู่สงัดแต่ผู้เดียว ให้ใจน้อยมักโกรธ มิได้รู้สึกอยากอาหารให้อิ่มไป บางทีกระท�ำให้หัวเราะ ระริกซิกซ้ี บางทีกระท�ำให้ร้องไห้ ดุจดั่งคนก�ำพร้าหาคณาญาติมิได้ ถ้าจะแก้ให้แก้แต่ยังมึนตึงอยู่นั้น ครั้นแก่เข้า มักกลายเป็นดั่งโรคร้ายสมมติว่าลมบาดทะจิตเป็นอสาทยะโรค แพทย์จะรักษาเป็นอันยากย่ิงนัก ดุจอาจารย์ กล่าวไวด้ งั น้ี ฯ ยาช่ือหทัยวาตาธิคุณ เอาตรีกฏุก โกฐกระดูก โกฐหัวบัว โกฐเชียง ผลจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน บอระเพด็ สมอไทย ใบสะเดา สงิ่ ละสว่ น ชะมด พิมเสน หญ้าฝรั่น อ�ำพนั การบรู ส่งิ ละ ๒ ส่วนสมลุ แว้ง ๓ สว่ น ดอกกระดงั งา ๔ สว่ น ท�ำเปน็ จุณเอาน้�ำดอกไม้เทศเป็นกระสาย บดท�ำแท่งไว้ละลายนำ�้ ดอกมะลใิ หก้ นิ แกล้ มหทยั วาต อนั กระทำ� ให้มนึ ตึงหายดนี กั ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 19 ชนดิ รวมปรมิ าณ 29 สว่ น ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา ๔ ส่วน กระดังงา ๓ ส่วน สมลุ แว้ง ๒ สว่ น การบรู ๒ สว่ น ชะมดเชด็ ๒ สว่ น พมิ เสน ๒ ส่วน หญ้าฝรัน่ ๒ ส่วน อำ� พนั ทอง 1 ส่วน กระวาน 1 สว่ น โกฐกระดกู 1 สว่ น โกฐเชยี ง 1 สว่ น โกฐหัวบัว 1 สว่ น ขิงแห้ง 1 สว่ น ดอกจันทน์ 1 ส่วน ดปี ล ี 1 ส่วน บอระเพด็ 1 ส่วน พริกไทย 1 สว่ น ลูกจนั ทน์ 1 สว่ น สมอไทย 1 สว่ น สะเดา กระทรวงสาธารณสขุ 377

สรรพคณุ แก้ลมหทยั วาตะ ซึง่ ทำ� ใหม้ นึ ตึง รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) วิธปี รุงยา บดเป็นผงละเอียด ผสมกับน้ำ� ดอกไมเ้ ทศ แลว้ ท�ำเป็นเม็ด ขนาดและวิธีการใช้ ครงั้ ละ 1-1.5 กรัม ละลายน้ำ� ดอกมะลิกนิ วันละ 3-4 ครงั้ ก่อนอาหารเชา้ กลางวนั เย็น และก่อนนอน ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ ข้อมูลเพม่ิ เติม ตวั ยาชะมดเชด็ ตอ้ งฆา่ ฤทธก์ิ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.12) เอกสารอ้างองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์ิ) เล่ม ๓. พมิ พ์ครงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. ทมี่ าของตำ� รบั ยา ยาหอมแก้ลมวิงเวยี น สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลวังน�้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว สูตรต�ำรบั ยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับที่ตั้งข้ึนตามองค์ความรู้การแพทย์ แผนไทย [1] ประกอบด้วยตวั ยา ๒๓ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๒๒๕ กรัม ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ๓๒ กรัม ชะเอมเทศ ๒๔ กรมั จันทน์เทศ ๑๒ กรมั กานพลู ๑๒ กรมั โกฐเชียง ๑๒ กรมั โกฐหัวบวั ๑๒ กรัม บัวหลวง ๑๒ กรัม แฝกหอม ๑๐ กรมั สมุลแวง้ ๘ กรมั กระลำ� พัก ๘ กรมั กฤษณา 378 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition