Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Description: รายการตำรับยาแผนไทยแห่งชาติ_August2021

Search

Read the Text Version

ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใชใ้ นหญิงตั้งครรภแ์ ละผู้ทีม่ ไี ข้ ข้อมลู เพม่ิ เติม - ตัวยายาดำ� ตอ้ งสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) - ตวั ยามหาหงิ คุต์ อ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอา้ งองิ 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ์) เล่ม 2. พิมพค์ รัง้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. 3. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทร์พริ้นตง้ิ แอนดพ์ ับลิชชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2542. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. 5. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๘. 6. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. กระทรวงสาธารณสขุ 279

ยาประสะกานพลู ชื่ออืน่ ยาประสระกานพลู [1, 2] ท่ีมาของตำ� รบั ยา สตู รตำ� รับทีใ่ กล้เคียงต�ำรบั น้ี พบในเวชศึกษา แพทยศ์ าสตรส์ ังเขป เลม่ ๑ [1, 2] “ยาประสระกานพลู เอาเทียนด�ำ ๑ เทียนขาว ๑ โกฐสอ ๑ โกฐกระดูก ๑ มาศทั้ง ๒ การบูน ๑ ไคร้เครือ ๑ เปลือกเพกา ๑ เปลือกข้ีอ้าย ๑ ใบกระวาน ๑ ลูกกระวาน ๑ ลูกผักชี ๑ แฝกหอม ๑ ว่านน้�ำ ๑ กะชาย ๑ เปราะ ๑ รากแจง ๑ กรุงเขมา ๑ ยาเหล่าน้ีหนักส่ิงละ ๑ บาท รากเข้าสานหนัก ๒ บาท เน้ือไม้ ๑ ลกู จัน ๑ ขมิน้ ชนั ๑ ยาท้ังนห้ี นักสิ่งละ ๒ บาท นำ้� ประสารทอง ๑ ไพล ๑ เบญ็ จกลู ๑ ยาเหล่าน้หี นกั สิง่ ละ ๒ สลงึ ตรีกฏุกหนักส่ิงละสลึง เปลือกซิกหนัก ๒ บาท ๒ สลึง กานพลูเท่ายาทั้งหลาย แก้ปวดมวน ลูกจันทน์เทศ ไพล กะทือหมกไฟเปน็ กระสาย” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๓๐ ชนดิ รวมปริมาณ ๒๕3 กรัม ดังน้ี [3] ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ๑๒๕ กรัม กานพลู ๑๐ กรัม ซิก กฤษณา ๘ กรมั ขมิ้นชนั ๘ กรัม ข้าวสาร (ราก) ๘ กรัม ลกู จันทน ์ ๘ กรัม กระชาย ๔ กรมั กระวาน ๔ กรมั กรงุ เขมา ๔ กรมั การบรู ๔ กรมั ก�ำมะถนั เหลือง ๔ กรัม โกฐกระดูก ๔ กรมั โกฐสอ ๔ กรมั ขอ้ี า้ ย ๔ กรัม แจง ๔ กรัม เทียนขาว ๔ กรัม เทียนด�ำ ๔ กรมั ใบกระวาน ๔ กรมั เปราะหอม ๔ กรัม แฝกหอม ๔ กรมั เพกา ๔ กรมั ลูกผักชี ๔ กรมั ว่านนำ�้ ๔ กรมั ขงิ ๓ กรัม 280 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ดปี ลี ๓ กรมั เจตมลู เพลงิ แดง ๒ กรัม ชะพลู ๒ กรมั ไพล ๒ กรัม สะคา้ น ๒ กรัม พรกิ ไทยลอ่ น ๑ กรมั สรรพคณุ บรรเทาอาการปวดทอ้ ง จกุ เสยี ด แนน่ เฟ้อจากอาหารไม่ยอ่ ย เนอื่ งจากธาตไุ มป่ รกติ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเมด็ (ดูภาคผนวก 3.4.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาผง ครั้งละ ๑ กรมั ละลายนำ้� กระสายยากนิ วันละ ๓ ครั้ง หลังอาหาร เมือ่ มอี าการ กระสายยาท่ใี ช้ - ใช้ไพลเผาไฟใหพ้ อสกุ ฝนกบั น�ำ้ ปนู ใสเป็นนำ้� กระสาย - หากหาน้ำ� กระสายยาไม่ไดใ้ หใ้ ช้นำ้� สุกแทน ยาแคปซูลและยาเมด็ ครง้ั ละ ๑ กรมั กินวนั ละ ๓ ครง้ั หลงั อาหาร เช้า กลางวัน และเย็น เมอื่ มีอาการ ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์และผ้ทู มี่ ไี ข้ ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เน่อื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกิดพษิ ได้ ข้อมูลเพ่มิ เติม สูตรต�ำรับยาประสะกานพลูตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีตัวยา “นำ้� ประสานทองสะตุ และ ไครเ้ ครอื ” เป็นสว่ นประกอบ [4] แตไ่ ดต้ ดั นำ้� ประสานทอง สะตอุ อกจากสูตรต�ำรบั ตามประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๔๒ [5] ส่วน “ไคร้เครือ” ตัดออกจากสูตรต�ำรับเนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่า ไคร้เครือ ที่ใช้และจ�ำหน่ายกันในท้องตลาดเป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุลน ี้ มีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้ พชื สกุล Aristolochia เป็นสารกอ่ มะเร็งในมนษุ ย์ [3] เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หนา้ ๖๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓6 ตอนพเิ ศษ 20 ง. หนา้ ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่ือง บญั ชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า ๒83). 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้าน ฉบับที่ ๒ (๒๕๓๗, ๓ ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ง. หน้า ๘๖. 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ (๒๕๔๒, ๒๔ สิงหาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๖๗ ง. หนา้ ๓๙. กระทรวงสาธารณสขุ 281

ยาประสะจนั ทน์แดง ช่ืออน่ื ยาประสระจันทนแ์ ดง [1, 2] ท่มี าของตำ� รับยา สตู รตำ� รบั ทใี่ กลเ้ คยี งตำ� รบั น้ี พบในเวชศึกษา แพทยศ์ าสตรส์ งั เขป เลม่ ๑ [1, 2] “ยาประสระจันทน์แดง รากเหมือดคน ๑ ต�ำลึง รากมะปรางหวาน ๑ ตำ� ลึง รากมะนาว ๑ ต�ำลึง เปราะหอม ๑ ต�ำลึง โกฐหัวบัว ๑ ต�ำลึง จันทน์เทศ ๑ ต�ำลึง ฝางเสน ๑ ต�ำลึง เกสรบัวหลวง ๑ บาท เกสรสารภี ๑ บาท เกสรบุนนาค ๑ บาท ดอกมะลิซ้อน ๑ บาท จันทน์แดงเท่ายาทั้งหลาย แก้ไข้ร้อนเชื่อมมัว กระหายนำ�้ แกค้ ถู เสมหะเปน็ พษิ นำ้� ดอกไม้ เหมอื ดคน รากมะนาว รากมะปรางหวานฝน ฯ” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๒ ชนิด รวมปรมิ าณ ๖๔ กรัม ดังน้ี [3] ตัวยา ปริมาณตวั ยา จันทนแ์ ดง ๓๒ กรมั โกฐหวั บัว ๔ กรัม จันทนเ์ ทศ ๔ กรมั เปราะหอม ๔ กรัม ฝางเสน ๔ กรัม มะนาว ๔ กรมั มะปรางหวาน ๔ กรมั เหมือดคน ๔ กรมั บัวหลวง ๑ กรัม บุนนาค ๑ กรมั มะล ิ ๑ กรัม สารภ ี ๑ กรมั สรรพคณุ บรรเทาอาการไข้ตวั รอ้ น (ไขพ้ ษิ ) แก้รอ้ นในกระหายนำ้� รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเมด็ (ดภู าคผนวก 3.4.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผง ผู้ใหญ ่ ครัง้ ละ ๑ กรัม ละลายน้�ำสุกหรือนำ้� ดอกมะลิ กนิ ทุก ๓-๔ ช่วั โมง เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี คร้ังละ ๕๐๐ มิลลิกรัม ละลายน�้ำสุกหรือน�้ำดอกมะลิ กินทุก ๓-๔ ช่วั โมง ยาแคปซูลและยาเมด็ ผใู้ หญ่ คร้งั ละ ๑ กรัม กินทุก ๓-๔ ช่วั โมง เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี คร้งั ละ ๕๐๐ มลิ ลกิ รัม กินทกุ ๓-๔ ชว่ั โมง ค�ำเตอื น - ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ท่ีสงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เน่ืองจากอาจบดบังอาการของ ไขเ้ ลอื ดออก - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยทแ่ี พล้ ะอองเกสรดอกไม้ ขอ้ ควรระวงั - กรณีบรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้�ำ หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน ๓ วัน แลว้ อาการไม่ดีขึน้ ควรปรึกษาแพทย์ 282 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

เอกสารอา้ งอิง ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หน้า ๗๔. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓6 ตอนพเิ ศษ 20 ง. หน้า ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่อื ง บญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 300). ยาประสะเจตพงั คี ชือ่ อ่นื ยาประสระเจตพงั คี [1, 2] ท่มี าของต�ำรับยา สูตรต�ำรบั ท่ีใกลเ้ คยี งต�ำรบั นี้ พบในเวชศกึ ษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เลม่ ๑ [1, 2] “ยาประสระเจตพงั คี เอา ดอกจนั ๑ ลกู จัน ๑ ลกู กระวาน ๑ กานพลู ๑ ใบกระวาน ๑ กรงุ เขมา ๑ ไครเ้ ครอื ๑ การบนู ๑ ลกู สมอทะเล ๑ พระยารากขาว ๑ เปลือกหว้า ๑ เกลือสนิ เธาว์ ๑ ยาทั้งนเี้ อาสิ่งละ ๒ สลงึ พรกิ ไทย ๑ บาท บรเพด็ ๑ บาท ขา่ ๘ บาท ระย่อม ๔ ตำ� ลงึ เจตพงั คี ๘ ตำ� ลงึ น�ำ้ กระสายตา่ ง ๆ แกล้ มกไษย ท้าวมอื เย็น” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๖ ชนดิ รวมปริมาณ ๖๖ กรัม ดงั นี้ [3] ตัวยา ปรมิ าณตัวยา เจตพังค ี ๓๓ กรัม ข่า ๑๖ กรัม บอระเพ็ด ๒ กรัม พริกไทยล่อน ๒ กรัม ระย่อม ๒ กรัม กระวาน ๑ กรมั กรงุ เขมา ๑ กรัม กานพล ู ๑ กรัม การบูร ๑ กรัม เกลอื สนิ เธาว์ ๑ กรมั ดอกจันทน์ ๑ กรมั ใบกระวาน ๑ กรัม พญารากขาว ๑ กรัม ลกู จันทน ์ ๑ กรมั สมอทะเล (เนอ้ื ผล) ๑ กรัม หวา้ ๑ กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 283

สรรพคุณ แก้จกุ เสยี ด ขับผายลม รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซูล (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเมด็ (ดูภาคผนวก 3.4.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาผง ละลายน�้ำสกุ ครั้งละ ๑ กรัม กินวันละ ๒ คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น [๒, ๓] ยาแคปซลู และยาเมด็ ครง้ั ละ ๑ กรมั กินวันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ [๒, ๓] ข้อห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญงิ ตั้งครรภ์และผทู้ ่มี ไี ข้ ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอ่ื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พษิ ได้ ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ - ในสูตรต�ำรับน้ีเดิมมีตัวยา “ไคร้เครือ” แต่ได้ตัดออกจากสูตรต�ำรับ เนื่องจาก มีข้อมูลงานวิจัยบ่งชี้ว่า ไคร้เครือที่ใช้และจ�ำหน่ายกันในท้องตลาดเป็นพืชในสกุล Aristolochia ซ่ึงพืชในสกุลนี้มีรายงานว่าเป็นพิษต่อไต และเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งใน มนษุ ย์ [3] - ตวั ยาระย่อมต้องควั่ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.30) เอกสารอ้างอิง ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หนา้ ๘๐. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง. หน้า ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เร่ือง บัญชยี าหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ 284). 284 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาประสะน�ำ้ นม ชือ่ อ่ืน ยาตม้ ประสะนำ้� นม ทม่ี าของตำ� รบั ยา ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เลม่ ๑ [1, 2] “ยาต้มประสะน้�ำนมขนานน้ี ท่านให้เอาสมอไทย ขิงแห้ง แห้วหมู ศิริยา ๓ สิ่งนี้เอาเสมอภาค ต้ม ๓ เอา ๑ กินแปรน้�ำนมร้ายใหเ้ ปนดแี ล” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา ๓ ชนิด รวมปรมิ าณ 45 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ๑๕ กรัม ขงิ แห้ง ๑๕ กรมั สมอไทย ๑๕ กรัม แห้วหม ู สรรพคุณ แปรน้ำ� นมร้ายใหเ้ ป็นดี รูปแบบยา ยาต้ม (ดูภาคผนวก 3.1.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 100-๑๕๐ มิลลิลิตร ด่ืมวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ด่ืม ตามอาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดื่มขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน 5-๗ วัน โดยใหอ้ ่นุ น้�ำสมนุ ไพรทกุ ครัง้ กอ่ นใชย้ า ข้อควรระวงั ระหวา่ งการใช้ยานี้ ห้ามกินอาหารหรอื เครื่องดม่ื ที่มีรสเย็น เอกสารอ้างอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บริษทั อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์พับลิชชง่ิ จ�ำกดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. กระทรวงสาธารณสขุ 285

ยาประสะน�้ำมะนาว ที่มาของต�ำรบั ยา ศลิ าจารึกต�ำรายาวดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม (วดั โพธ)ิ์ [1, 2] “๏ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จอันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้สรรพโรค ท้ังปวงต่าง ๆ สืบกันมา ฯ ในที่นี้จะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาท่ีจะแก้ซ่ึงโรคอันเป็นชาติกล่าวคือ สรรพโรคหดื นนั้ โดยนยั ดังนี้ ฯ ยาช่อื ประสะนำ้� มะนาว เอาฝกั สม้ ปอ่ ย รากสม้ กุ้งท้ังสอง กระเทยี ม พริกไทย ดปี ลี ขงิ แหง้ ดนิ ประสิวขาว สารสม้ เอาเสมอภาค ทำ� เปน็ จณุ แลว้ จงึ เอานำ�้ มะนาวใสล่ งใหท้ ว่ มยาทง้ั นน้ั จงึ เอาขน้ึ ตงั้ ไฟกวนใหป้ น้ั ได้ กนิ หนกั ๑ สลงึ แก้สรรพโรคหืดทั้งปวงซ่ึงกระท�ำอาการให้หอบ ให้จับ แก้ไอ แลโรคอันบังเกิดแต่กองเสมหะสมุฏฐานน้ันหายสิ้น วิเศษนัก ฯ” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 10 ชนดิ รวมปรมิ าณ 18 สว่ น ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา 9 สว่ น มะนาว ๑ สว่ น กระเทียม ๑ สว่ น ขิงแหง้ ๑ สว่ น ดนิ ประสิว ๑ ส่วน ดปี ลี ๑ สว่ น พริกไทย ๑ สว่ น ส้มก้งุ น้อย ๑ สว่ น ส้มก้งุ ใหญ่ ๑ สว่ น สม้ ปอ่ ย (ฝกั ) ๑ ส่วน สารส้ม สรรพคณุ แก้หอบหดื แกไ้ อ รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) วธิ ปี รุงยา ตัวยาสม้ ป่อย (ฝัก) ส้มกุ้งนอ้ ย ส้มกงุ้ ใหญ่ กระเทยี ม พริกไทย ดีปลี ขงิ แห้ง ดนิ ประสวิ สารส้มน�ำไปบดเป็นผง เติมน้�ำมะนาวให้ท่วมยาข้ึนตั้งไฟกวนให้เข้ากัน แล้วปั้น เมด็ ลกู กลอน ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 300-600 มิลลิกรัม กินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรือเมอื่ มอี าการ ข้อมลู เพิ่มเตมิ - ตวั ยาดนิ ประสวิ ตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.14) - ตัวยาส้มป่อยต้องปงิ้ ไฟกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.34) 286 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

เอกสารอา้ งอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์)ิ เลม่ ๒. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์; ๒๕๕๗. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาประสะเปราะใหญ่ ทม่ี าของตำ� รบั ยา สตู รตำ� รับทใ่ี กลเ้ คยี งต�ำรบั น้ี พบในคมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๒ [1] “ยาประสะเปราะใหญ่ แก้พิษไข้ตานซางตานขะโมย แก้ลมซางทั้งปวง แก้ลมผู้ใหญ่ก็ได้ เอาโกฐทั้ง ๕ เทยี นท้ัง ๕ ลูกจนั ทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู จนั ทน์ทงั้ ๒ ดอกบนุ นาค ดอกสารภี ดอกพกิ ลุ เกสรบวั หลวง เอาสิ่งละ ๑ บาท เอาวา่ นเปราะเท่ายาทงั้ หลาย บดปนั้ แท่ง ละลายนำ�้ ดอกไม้หรอื น�ำ้ ซาวขา้ วกนิ และชะโลม” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา ๒๑ ชนิด รวมปรมิ าณ ๘๐ กรมั ดังน้ี [2] ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา เปราะหอม ๔๐ กรัม กระวาน ๒ กรมั กานพล ู ๒ กรมั โกฐเขมา ๒ กรมั โกฐจฬุ าลัมพา ๒ กรมั โกฐเชยี ง ๒ กรัม โกฐสอ ๒ กรัม โกฐหัวบัว ๒ กรมั จนั ทนแ์ ดง ๒ กรมั จันทน์เทศ ๒ กรัม ดอกจันทน ์ ๒ กรัม เทยี นขาว ๒ กรมั เทยี นขา้ วเปลอื ก ๒ กรัม เทียนด�ำ ๒ กรมั เทียนแดง ๒ กรมั เทยี นตาต๊กั แตน ๒ กรัม บัวหลวง ๒ กรัม บุนนาค ๒ กรมั พิกุล ๒ กรัม ลกู จันทน์ ๒ กรัม สารภ ี ๒ กรัม กระทรวงสาธารณสขุ 287

สรรพคุณ ถอนพษิ ไขต้ านซางส�ำหรับเดก็ รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก 3.3), ยาเมด็ พิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.๑) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผงและยาเมด็ เด็ก อายุ ๑-๕ ปี คร้ังละ 500 มิลลิกรัม-๑ กรัม ละลายน�้ำดอกไม้เทศหรือน�้ำสุก กนิ ทุก ๓-๔ ช่ัวโมง ยาแคปซูลและยาเม็ด เด็ก อายุ ๖-๑๒ ปี คร้งั ละ ๑ กรัม กินทุก ๓-๔ ชวั่ โมง ค�ำเตือน - ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ท่ีสงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการ ของไข้เลอื ดออก - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่มและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลอื ด - ควรระวงั การใชย้ าในผูป้ ว่ ยทแ่ี พ้ละอองเกสรดอกไม้ ขอ้ ควรระวัง หากใช้ยาเปน็ เวลานานเกิน ๓ วัน แล้วอาการไมด่ ขี ้ึน ควรปรกึ ษาแพทย์ ข้อมูลเพิม่ เตมิ - ในบัญชยี าสามญั ประจ�ำบ้านฯ ระบุว่าถอนพิษไข้ตานทรางสำ� หรับเดก็ อายุต่�ำกว่า ๕ ปี นอกจากการกนิ ยา สามารถใช้ยาผงผสมนำ�้ สรุ าสมุ กระหมอ่ มร่วมดว้ ยได้ [3] - จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ขนาดยาที่ใช้สุมกระหม่อมข้ึนอยู่กับขนาดกระหม่อม เดก็ และควรเลยี่ งการใชใ้ นเด็กที่มพี ัฒนาการของกะโหลกศีรษะผดิ ปรกติ เอกสารอา้ งองิ ๑. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ ตุ สาหกรรมการพมิ พ;์ ๒๕๐๔. หน้า ๑๗๖. ๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ 301). ๓. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖. (๒๕๕๖, ๑๔ กมุ ภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๒๑ ง. หน้า ๔๘. 288 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาประสะผลสมอไทย ทมี่ าของต�ำรบั ยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ 2 [1, 2] “เอาเกลอื สินเธาว์ ๑ หวั อุตพิด ๑ ผลผักชลี า ๑ ขงิ แห้ง ๑ รากเจตมูลเพลิง ๑ รากช้าพลู ๑ เถาสะคา้ น ๑ ดีปลี ๑ เอาสิ่งละ ๑ สลึง ผลจันทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ เอาสิ่งละ ๓ สลึง โกฐหัวบัว ๑ โกฐเขมา ๑ มหาหงิ ค์ุ ๑ เอาสง่ิ ละ ๑ บาท รากจิงจ้อเหลยี่ ม ๒ บาท เนอ้ื ผลสมอไทย ๖ บาทสลึง รวมยา ๑๖ สิ่งน้ที �ำเปนจุณ ละลาย นำ�้ ตรผี ลาต้มใหร้ บั ประทาน ประสะกล่ินอุจจาระธาตุให้ส้ินโทษ แลฟอกมลู ลามกให้คืนเปนปรกติ แกจ้ ุกเสยี ด ขบแทง แก้ลมพานใส้ในคลื่นเหยี น แก้อุจจาระกลดั เปนพรรดกึ แก้อำ� มพฤกษแ์ ลกล่อนกระไษย” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 16 ชนดิ รวมปริมาณ 232.5 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา สมอไทย (เนื้อผล) 93.75 กรมั จิงจ้อเหล่ียม โกฐเขมา 30 กรัม โกฐหัวบวั 15 กรัม มหาหงิ ค ์ุ 15 กรัม กระวาน 15 กรมั กานพลู 11.25 กรมั ลกู จนั ทน ์ 11.25 กรมั เกลือสินเธาว์ 11.25 กรมั ขงิ แห้ง 3.75 กรมั เจตมูลเพลิงแดง 3.75 กรัม ชะพลู 3.75 กรัม ดีปลี 3.75 กรมั ลูกชีลา 3.75 กรัม สะค้าน 3.75 กรัม อุตพดิ 3.75 กรัม 3.75 กรัม สรรพคณุ แกล้ มพานไส้ แก้ท้องผูกเปน็ พรรดกึ รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ 1-2 ช้อนชา ละลายน้�ำตรีผลากินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น หรือเม่ือมอี าการ ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ ผูท้ ี่มไี ข้ และเด็ก ขอ้ มูลเพิม่ เติม ตัวยาอุตพดิ ต้องค่ัวกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.50) กระทรวงสาธารณสขุ 289

เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓4 ตอนพเิ ศษ 2๗1 ง. หน้า ๑-2. ยาประสะผวิ มะกรดู ท่ีมาของต�ำรับยา คมั ภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒ [1] “ยาประสะผิวมะกรูด เอาใบคนทิสอ ใบหนาด ใบผักเส้ียนผี พริกไทย ขิง ดีปลี กะทือ ไพล หัวหอม หัวกระเทียม ข่า สารส้ม เอาส่ิงละเสมอภาค เอาผิวมะกรูดเท่ายาทั้งหลาย บดปั้นเป็นเม็ด ละลายน�้ำร้อนหรือ สรุ ากนิ ครงั้ ละ ๓ หรือ ๕ เม็ด ขบั เลอื ดรา้ ยในเรือนไฟ แก้ปวดทอ้ งเม่ือคลอดลูกเพราะเลอื ดไมต่ ก เป็นยาบ�ำรุงโลหิต ใหร้ ะดูงามดี” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๓ ชนดิ รวมปรมิ าณ 90 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา ๔๕ กรมั มะกรูด กระเทียม 3.75 กรมั กะทือ 3.75 กรมั ขา่ 3.75 กรัม ขิง 3.75 กรัม คนทสี อ 3.75 กรมั ดีปลี 3.75 กรมั ผักเสีย้ นผี (ใบ) 3.75 กรมั พรกิ ไทย 3.75 กรมั ไพล 3.75 กรัม สารสม้ 3.75 กรมั หนาด 3.75 กรมั หอม 3.75 กรมั สรรพคุณ ขับเลือดและขับน�้ำคาวปลาหลังคลอด แก้ปวดท้องจากการคลอดลูก ขับโลหิต ประจ�ำเดือนให้มาตามปรกติ รปู แบบยา ยาเม็ด (ดูภาคผนวก 3.4.2) 290 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 1-1.5 กรมั ละลายน้ำ� ร้อนหรอื เหล้ากนิ วันละ ๒ คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ข้อห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ ผปู้ ว่ ยที่มไี ข้ และผูป้ ่วยที่มีภาวะตกเลอื ดหลงั คลอด ข้อมูลเพม่ิ เติม - ระหวา่ งการใชย้ าน้ี หา้ มกนิ อาหารหรอื เครอื่ งดื่มที่มรี สเย็น เ อกสารอา้ งอ ิง - การเตรียมตัวยาสารสม้ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) ๑. โสภิตบรรณลักษณ,์ ขนุ (อ�ำพนั กติ ตขิ จร), คมั ภรี ์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์; ๒๕๐๔. ยาประสะพริกไทย ท่ีมาของต�ำรบั ยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาชื่อประสะพริกไทย ขนานน้ี ท่านให้เอา ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ ผักแผ้วแดง ๑ ขิงแห้ง ๑ ดีปลี ๑ หอยแครงเผา ๑ หอยขมเผา ๑ สิริยา ๙ สิ่งน้ีเอาเสมอภาคเอาพริกไทย เท่ายาทั้งหลาย ทาเป็นจุณด้วยน้�ำส้มซ่า น้�ำผ้ึงรวง ก็ได้กิน แก้ลม ๗๑๐ จ�ำพวก แก้ริดสะดวงกินเผ็ดร้อนมิได้ก็ดี ถา้ ไดก้ นิ ยาขนานนห้ี ายวิเศษดนี กั ๚” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 10 ชนิด รวมปรมิ าณ 18 สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา พริกไทยด�ำ 9 สว่ น กระวาน 1 สว่ น กานพล ู 1 ส่วน ขงิ แหง้ 1 ส่วน ดอกจนั ทน์ 1 ส่วน ดปี ล ี 1 ส่วน ผกั แพวแดง 1 ส่วน ลกู จันทน์ 1 ส่วน หอยขม 1 ส่วน หอยแครง 1 สว่ น สรรพคณุ แก้ลม แกร้ ดิ สีดวงลำ� ไส้ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน้�ำส้มซ่าหรือน้�ำผึ้งรวงกินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ หญงิ ให้นมบุตร ผ้ทู ่มี ีไข้ และเด็กอายตุ �่ำกวา่ 12 ป ี คำ� เตือน - ควรระมดั ระวงั การใช้ในผู้สูงอายุ - ระวงั ในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอกั เสบและความดันโลหติ สูง - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เนอ่ื งจากตำ� รบั นี้มพี ริกไทยในปรมิ าณสงู กระทรวงสาธารณสขุ 291

ขอ้ มูลเพม่ิ เติม - ตวั ยาหอยขมต้องสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.43) - ตัวยาหอยแครงต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.44) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๐. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ยาประสะไพล ชื่ออืน่ ยาประสระไพล [1] ที่มาของตำ� รับยา สตู รต�ำรับทีใ่ กลเ้ คียงตำ� รับน้ี พบใน ๑. เวชศกึ ษา แพทยศ์ าสตร์สงั เขป เล่ม ๑ [1, 2] “ยาประสระไพล เอาผิวมกรูด ๒ ต�ำลึง ว่านน้�ำ ๒ ต�ำลึง กะเทียม ๒ ต�ำลึง หอม ๒ ต�ำลึง พริกไทย ๒ ตำ� ลงึ ดีปลีหนัก ๒ ตำ� ลึง ขงิ หนัก ๒ ตำ� ลงึ ขมิ้นออ้ ย ๒ ต�ำลึง เทยี นด�ำหนกั ๒ ตำ� ลงึ เกลอื สนิ เธาว์ ๒ ต�ำลึง การบนู ๑ บาท ตำ� ผงแกจ้ ุกเสียดน้�ำรอ้ น” ๒. อายรุ เวทศึกษา เล่ม ๒ [3, 4] “ยาประสะไพล เอาผิวมะกรูด ว่านน้�ำ กระเทียม หอม พริกไทย ดีปลี ขิง ขม้ินอ้อย เทียนด�ำ เกลอื สินเธาว์ สิ่งละ ๒ ต�ำลึง การบูร ๑ บาท ไพลเทา่ ยาทงั้ หลายต�ำผง กนิ แก้จกุ เสียดน้�ำร้อน” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๒ ชนิด รวมปรมิ าณ ๑๖๒ กรัม ดงั นี้ [5] ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ๘๑ กรัม ไพล ๘ กรมั กระเทียม ๘ กรมั เกลือสนิ เธาว ์ ๘ กรัม ขมิน้ ออ้ ย ๘ กรัม ขิง ๘ กรัม ดปี ล ี ๘ กรัม เทียนดำ� ๘ กรมั พรกิ ไทยลอ่ น ๘ กรมั มะกรูด ๘ กรัม ว่านนำ�้ ๘ กรัม หอม ๑ กรัม การบูร 292 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคุณ แก้ระดูมาไม่สม่�ำเสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ บรรเทาอาการปวดประจ�ำเดือน ขบั น�้ำคาวปลาในหญงิ หลงั คลอดบุตร แก้ระดไู มป่ รกติ แก้จกุ เสียด รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาเมด็ (ดูภาคผนวก 3.4.2) ยาแคปซูล (ดภู าคผนวก 3.3), ยาลกู กลอน (ดภู าคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ แกร้ ะดูมาไม่สม่�ำเสมอหรือมานอ้ ยกว่าปรกติ ยาผง ครง้ั ละ ๑ กรัม ละลายน้ำ� สุกกนิ วันละ ๓ ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ เปน็ เวลา ๓-๕ วนั เมอื่ ระดูมาให้หยุดกนิ ยาแคปซลู ยาเมด็ และยาลกู กลอน ครง้ั ละ ๑ กรมั กินวันละ ๓ ครงั้ กอ่ นอาหาร เช้า กลางวนั และเยน็ เปน็ เวลา ๓-๕ วนั เมือ่ ระดูมาให้หยุดกิน บรรเทาอาการปวดประจำ� เดือน ยาผง ครง้ั ละ ๑ กรมั ละลายนำ�้ สกุ กินวนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น ยาแคปซูล ยาเมด็ และยาลกู กลอน ครัง้ ละ ๑ กรัม กินวันละ ๓ ครง้ั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น * ในกรณีท่ีมีอาการปวดประจ�ำเดือนเป็นประจ�ำ ให้กินยาก่อนมีประจ�ำเดือน ๒-๓ วันไปจนถงึ วันแรกและวันทสี่ องท่ีมีประจ�ำเดอื น ขับน�้ำคาวปลาในหญิงหลงั คลอดบุตร ยาผง คร้ังละ ๑ กรัม ละลายน้�ำสุกหรือน�้ำสุรากินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ใหก้ นิ จนกวา่ น�ำ้ คาวปลาจะหมด แตไ่ ม่เกิน ๑๕ วัน ยาแคปซลู ยาเมด็ และยาลูกกลอน ครั้งละ ๑ กรัม กนิ วันละ ๓ ครัง้ กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่า น�ำ้ คาวปลาจะหมด แตไ่ มเ่ กนิ ๑๕ วัน แก้ระดูมาไม่ปรกติ ยาผง คร้ังละ ๕00 มิลลิกรัม-๑ กรัม ละลายน้�ำสุกหรือน�้ำสุรากินวันละ ๓ คร้ัง กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ยาเม็ด และยาแคปซลู ครั้งละ 500 มิลลิกรัม-๑ กรัม กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น แก้จุกเสียด ยาผง คร้ังละ ๐.๕-๑ กรัม ละลายน�้ำสุกหรือน้�ำสุรากินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ยาเม็ด และยาแคปซูล ครง้ั ละ ๐.๕-๑ กรมั กินวนั ละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ข้อหา้ มใช ้ - ห้ามใชใ้ นหญิงตกเลอื ดหลงั คลอด หญงิ ตงั้ ครรภ์ และผู้ทมี่ ไี ข้ - ห้ามกนิ ในหญงิ ทม่ี ีระดมู ากกว่าปรกติ เพราะจะทำ� ใหม้ กี ารขบั ระดอู อกมามากขึ้น กระทรวงสาธารณสขุ 293

ข้อควรระวงั - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนอ่ื งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ได้ - กรณีระดมู าไม่สมำ่� เสมอหรือมาน้อยกว่าปรกติ ไม่ควรใชต้ ดิ ต่อกันนานเกนิ ๑ เดอื น - กรณขี บั นำ�้ คาวปลาในหญงิ หลงั คลอดบตุ ร ไม่ควรใชต้ ดิ ต่อกนั นานเกนิ ๑๕ วัน เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาตรเวช, พระยา. เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สะพานยศเส; ร.ศ. ๑๒๗. หน้า ๗๘. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 2๐) พ.ศ. 25๖1. (๒๕๖2, ๒2 มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓6 ตอนพเิ ศษ 20 ง. หน้า ๑-2. ๓. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. ๔. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ ุนายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพิเศษ 152 ง. หน้า ๑-2. ๕. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เร่อื ง บญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ ๒93). ยาประสะมะแว้ง ท่มี าของตำ� รบั ยา สตู รตำ� รบั ทใี่ กลเ้ คยี ง คอื ยาประสะมะแวง้ ในประกาศยาสามญั ประจำ� บา้ น พ.ศ. ๒๔๙๘ [1] ดงั ท่บี ันทึกไว้ใน ตำ� ราประมวลหลกั เภสัช [2] “ยาประสะมะแว้ง วัตถุส่วนประกอบ สารส้ม ๑ ส่วน ขมิ้นอ้อย ๓ ส่วน ใบสวาด ใบตาลหม่อน ใบกะเพรา เอาส่ิงละ ๔ ส่วน ลูกมะแว้งต้น ลูกมะแว้งเครือ เอาสิ่งละ ๘ ส่วน วิธีท�ำและขนาดรับประทาน บดเป็นผงผสมน้�ำสุก แทรกดีงูเหลือมพิมเสนพอควร ปั้นเม็ดหนักประมาณ ๑/๕ กรัม เด็กคร้ังละ ๑ เม็ด ผู้ใหญ่ คร้ังละ ๕-๗ เม็ด รับประทานบ่อย ๆ สรรพคุณแก้ไอ แก้เสมหะ ละลายน้�ำมะขามเปียกแทรกเกลือ หรือใช้ผสม น้ำ� มะนาว หัวหอมแทรกเกลือพอควรกวาดคอ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๗ ชนดิ รวมปริมาณ ๙๖ กรัม ดังน้ี [3] ตัวยา ปริมาณตวั ยา ๒๔ กรัม มะแวง้ เครอื ๒๔ กรมั มะแว้งต้น ๑๒ กรมั กะเพรา ๑๒ กรมั ตานหม่อน ๑๒ กรัม สวาด ๙ กรมั ขม้ินอ้อย ๓ กรมั สารสม้ 294 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคณุ บรรเทาอาการไอ มีเสมหะ ท�ำใหช้ ุ่มคอ ช่วยขบั เสมหะ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2), ยาเม็ดพิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.2), ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ยาผง ผู้ใหญ่ คร้ังละ ๑-๑.๔ กรัม ละลายนำ�้ มะนาวแทรกเกลือ กนิ เมอ่ื มอี าการ เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี ครั้งละ ๒๐๐-๔๐๐ มิลลิกรัม ละลายน้�ำมะนาวแทรกเกลือ กินเมอ่ื มอี าการ ยาเมด็ และยาลกู กลอน ผใู้ หญ ่ ครงั้ ละ ๑-๑.๔ กรมั กนิ หรอื อมเมอื่ มอี าการ เดก็ อายุ ๖-๑๒ ปี ครั้งละ ๒๐๐-๔๐๐ มิลลิกรัม ละลายน�้ำมะนาวแทรกเกลือ กนิ หรอื อมเมอื่ มีอาการ ขอ้ ควรระวัง - ไม่ควรใช้ตดิ ตอ่ กันนานเกนิ ๑๕ วนั หากอาการไม่ดีขึน้ ควรปรกึ ษาแพทย์ - ไมค่ วรใช้น้�ำมะนาวแทรกเกลือกับผ้ปู ่วยท่ตี ้องจ�ำกดั การใชเ้ กลอื ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ตัวยาสารส้มตอ้ งสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งอิง ๑. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศระบุยาสามัญประจ�ำบ้าน ตามความในพระราชบัญญัติ การขายยา พ.ศ. ๒๔๙๓ (๒๔๙๘, ๑ ธนั วาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๗๒ ตอนท่ี ๙๓ ฉบบั พเิ ศษ หนา้ ๑๐ ๒. โรงเรยี นแพทยแ์ ผนโบราณ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร. ตำ� ราประมวลหลกั เภสชั . กรุงเทพฯ; ๒๕๒๘. หน้า ๑๗๒. ๓. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เร่ือง บญั ชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า 306). กระทรวงสาธารณสุข 295

ยาประสะลม ทีม่ าของต�ำรับยา ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลที่ ๕ เลม่ ๑ [1, 2] “ยาชื่อประสะลมขนานนี้ท่านให้เอาใบภุมเสน การบูน ผิวมกรูดเอา ส่ิงละ 1 กเทียมกรอบ พริกไทย ขิงแห้ง ใบหนาด เมอการสูด่ิงละ1 1 รวมยา ๗ สิง่ น้ที ำ� เปนจุณเอานำ�้ มนาวเปนกระสาย บดป้นั แท่งไว้ ลลายน้�ำ ก็ไดก้ นิ แก้ลม มนาว แลลม จุกเสยี ด 1 อมรดิ ลมทรางทั้งปวงหาย ๚ ” ซม่ ซา่ ขบแทง สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 7 ชนดิ รวมปรมิ าณ 71.25 กรมั ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา 15 กรัม กระเทยี ม 15 กรมั ขิงแห้ง 15 กรัม พริกไทย 15 กรัม หนาด การบรู 3.75 กรัม พิมเสนตน้ 3.75 กรมั มะกรูด 3.75 กรมั สรรพคณุ แก้ลมซาง ลมจุกเสยี ด ทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ รปู แบบยา ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เดก็ แรกเกิด-6 เดือน ครัง้ ละ 100 มิลลกิ รัม อายุ 6 เดือน-1 ปี ครง้ั ละ 200 มิลลกิ รัม อายุ 1-3 ปี ครง้ั ละ 300 มลิ ลกิ รมั อายุ 3-6 ปี คร้ังละ 400 มลิ ลกิ รัม ละลายน้ำ� มะนาวกินวนั ละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ขอ้ ห้ามใช ้ ห้ามใชใ้ นผู้ท่มี ไี ข้ ข้อควรระวงั - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตบั ไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ - ไม่ควรกินติดตอ่ กันเป็นเวลานานเกนิ 7 วนั เอกสารอา้ งอ งิ - หากกนิ ยาน้แี ลว้ อาการไมด่ ขี ้นึ ควรพบแพทย์ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ จ�ำกดั (มหาชน); 2542. หนา้ 365. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. 296 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาประสะว่านนางค�ำ ท่ีมาของต�ำรบั ยา คมั ภีรแ์ พทย์แผนโบราณ เลม่ ๒ [1] “ยาประสะว่านนางค�ำ เอาพริกไทย ขิงแห้ง ดีปลี ดินประสิว สารส้ม การะบูน เอาสิ่งละ ๒ สลึง เปราะหอม วา่ นน้�ำ ผิวมะกรดู แกน่ แสมท้ัง ๒ เทยี นดำ� ไพล เอาสง่ิ ละ ๑ บาท ว่านนางค�ำ ๑๐ บาท บดเปน็ ผง ละลายนำ้� ร้อนหรอื สุรากนิ แก้โลหติ ทำ� พิษในเรอื นไฟ ขับโลหติ และน�ำ้ คาวปลา แก้ปัสสาวะไม่สะดวกดว้ ย” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 14 ชนดิ รวมปริมาณ ๓๐0 กรัม ดังนี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา ๑๕๐ กรัม วา่ นนางคำ� ๑๕ กรมั เทยี นด�ำ ๑๕ กรมั เปราะหอม ๑๕ กรัม ไพล ๑๕ กรัม มะกรดู ๑๕ กรัม วา่ นนำ้� ๑๕ กรัม แสมทะเล ๑๕ กรัม แสมสาร 7.5 กรมั การบรู 7.5 กรัม ขิงแห้ง 7.5 กรัม ดินประสิว 7.5 กรัม ดีปล ี 7.5 กรมั พริกไทย 7.5 กรมั สารสม้ สรรพคณุ ขบั โลหิตและน�้ำคาวปลาในสตรหี ลังคลอด และแกป้ ัสสาวะไมส่ ะดวก รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ ชอ้ นชา ละลายน้�ำร้อนหรอื สุรากนิ วันละ ๒ ครง้ั ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ข้อห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์และผู้ทม่ี ไี ข้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติม - ตวั ยาดนิ ประสวิ ต้องสะตกุ ่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.14) - ตวั ยาสารส้มต้องสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งองิ ๑. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อตุ สาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔. กระทรวงสาธารณสุข 297

ยาประสะสมอ ทม่ี าของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “๏ ยาชื่อประสะสมอ ขนานนี้ ท่านให้เอา โกฐบัว ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท มหาหิงคุ์ ๑ บาท ขิงแห้ง ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท รากช้าพลู ๓ บาท รากจิงจ้อ ๓ บาท รากเจตมูล ๓ บาท ลูกจันทน์ ๑ สลึง กระวาน ๑ สลงึ บกุ รอ ๑ สลงึ กลอย 1 สลึง อุตพิด ๑ สลงึ เกลือสนิ เธาว์ ๑ สลงึ ลูกผกั ชี ๑ สลงึ ลกู สมอไทย ปอกผิวเสียเอา แต่เนอื้ ๓ ต�ำลงึ ๓ บาท ๒ สลงึ ๑ เฟื้อง สริ ิยา ๑๖ สิ่งนี้ ท�ำเปน็ จณุ ลายน้ำ� ผงึ้ รวงกินเทา่ ผลพุทรา ท�ำขึ้นไปใหไ้ ด้ ๓ วันจึงปลกุ แกล้ มจกุ เสยี ดแลลมให้องคชาติตาย แลลมกลอ่ นแลลมเสยี ดแทงใหข้ ึ้นทงั้ ตัวแล ลมผ่าน ไสล้ มพรรดกึ แลลมอมั พฤกษ์ลมกระสาย... (ชำ� รุด)... แกท้ ั้งลม ๓๐ จ�ำพวกดีนัก ได้ใช้มามากแลว้ อยา่ สนเท่ห์เลย ๚” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 16 ชนิด รวมปริมาณ 470.625 กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา สมอไทย (เนื้อผล) 234.375 กรัม จงิ จ้อ เจตมลู เพลิงแดง 45 กรมั ชะพลู 45 กรัม โกฐเขมา 45 กรมั โกฐหวั บวั 15 กรมั ขิงแหง้ 15 กรมั ดปี ลี 15 กรมั มหาหงิ คุ ์ 15 กรัม กลอย 15 กรมั กระวาน 3.75 กรมั เกลอื สินเธาว ์ 3.75 กรมั บกุ รอ 3.75 กรัม ลกู ผกั ช ี 3.75 กรัม ลูกจนั ทน ์ 3.75 กรมั อุตพิด 3.75 กรมั 3.75 กรัม สรรพคุณ แกล้ มจกุ เสียดและลมใหอ้ งคชาตติ าย แก้ลมกลอ่ น ลมเสยี ดแทงใหข้ ึ้นทง้ั ตัว ลมผา่ นไส้ ลมพรรดึก ลมอัมพฤกษ์ แก้ลม ๓๐ จำ� พวก รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 1 กรัม กนิ วันละ 3 ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ หญงิ ให้นมบตุ ร ผู้ทีม่ ไี ข้ และเด็กอายตุ ่ำ� กวา่ 12 ปี 298 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ - ตวั ยามหาหงิ ค์ุตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยากลอยตอ้ งคั่วก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) - ตวั ยาบกุ รอต้องควั่ ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตัวยาอตุ พดิ ต้องคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.50) เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๓๐. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ทมี่ าของตำ� รับยา ยาปราบชมพทู วปี สูตรต�ำรบั นมี้ ที ีม่ าจากเภสชั ตำ� รับโรงพยาบาล โรงพยาบาลสูงเนนิ จงั หวัดนครราชสมี า สตู รตำ� รบั ยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับท่ีมีการศึกษาวิจัยในโครงการศึกษา ประสทิ ธภิ าพยาไทยในโรงพยาบาล [1] ประกอบด้วยตวั ยา ๒๓ ชนดิ รวมปริมาณ ๔๖๕ กรมั ดงั น้ี [2] ตวั ยา ปริมาณตัวยา กญั ชาเทศ ๑๒๐ กรัม พริกไทย ๑๒๐ กรมั เหงอื กปลาหมอ ๑๒๐ กรมั กานพลู ๑๐ กรัม หสั คณุ เทศ ๑๐ กรมั ขิง เจตมลู เพลิงแดง ๘ กรมั บกุ รอ ๘ กรัม สมอเทศ (เนือ้ ผล) ๘ กรัม สมอไทย (เนอ้ื ผล) ๘ กรมั เทียนแกลบ ๘ กรัม เทียนแดง ๖ กรัม เทียนตาตั๊กแตน ๖ กรัม โกฐเขมา ๖ กรมั โกฐสอ ๔ กรัม เทียนด�ำ ๔ กรัม ๔ กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 299

ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ๔ กรมั พิลงั กาสา ๔ กรัม ล�ำพันหางหมู ๒ กรัม การบรู ๒ กรมั ดีปลี ๑ กรมั กระวาน ๑ กรัม ดอกจันทน ์ ๑ กรมั ลกู จนั ทน์ สรรพคณุ บรรเทาอาการหวัดในระยะแรก และอาการที่เกิดจากการแพ้อากาศ รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3), ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ 7.5-๑.๕ กรมั กนิ วนั ละ ๔ ครัง้ หลังอาหาร เชา้ กลางวนั เยน็ และกอ่ นนอน ข้อห้ามใช ้ - หา้ มใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ ผ้ทู ่ีมไี ข้ และเด็ก - ห้ามใช้เมื่อพบภาวะแทรกซ้อนจากการแพ้อากาศ เช่น ไซนัสอักเสบ การติดเช้ือ แบคทเี รียทมี่ ีอาการเจบ็ บริเวณไซนัส ไขส้ งู น�้ำมูกและเสมหะเขียว คำ� เตือน - ควรระวังการบริโภคในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก และโรคกรดไหลยอ้ น เน่อื งจากเปน็ ตำ� รับยารสรอ้ น - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่ืองจากต�ำรบั นี้มพี ริกไทยในปริมาณสงู - ยาน้ีอาจท�ำใหเ้ กดิ อาการแสบรอ้ นยอดอก ขอ้ ควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนอื่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกิดพิษได้ ข้อมูลเพ่มิ เตมิ - ตัวยาหสั คณุ เทศต้องคัว่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.46) - ตัวยาบกุ รอต้องค่วั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.18) เอกสารอ้างอิง ๑. เอกชัย ปัญญาวัฒนานุกูล. รายงานผลการศึกษาประสิทธิภาพยาไทย โรงพยาบาลกาบเชิง จงั หวดั สุรินทร.์ กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ;์ ๒๕๓๘. หนา้ ๘๖-๑๐๖. ๒. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เรอื่ ง บญั ชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หน้า 308). 300 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาปลูกไฟธาตุ ทมี่ าของต�ำรบั ยา สตู รตำ� รับทีใ่ กลเ้ คียงตำ� รบั นี้ พบในแพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๒ [1, 2] “ยาปลกู ไฟธาตุ เปนอายุวฑั ฒนะดว้ ย ท่านใหเ้ อาดีปลี ๑ รากชา้ พลู ๑ ผักแพวแดง ๑ สคา้ น ๑ ขิงแห้ง ๑ ผลผักชลี อ้ ม ๑ ว่านน�ำ้ ๑ หัวแห้วหมู ๑ ผลพลิ ังกาสา ๑ ผวิ มะกรูด ๑ ทั้งนเี้ อาเสมอภาค พริกล่อน เท่ายาทงั้ หลาย ท�ำผงละลายน�้ำผึ้งก็ได้ น�้ำส้มซ่าก็ได้ น�้ำร้อนก็ได้ สุราก็ได้ ปลูกไฟธาตุให้โลหิตงาม ถ้าไม่มีฤดูให้ฤดูมีมา ถา้ แม่ลกู ออ่ นกนิ มนี ้ำ� นมมาก ทง้ั โทษมิไดเ้ ลยดนี กั แล” สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมปริมาณ ๑๐๐ กรัม ดังนี้ [3] ตัวยา ปริมาณตัวยา ๕๐ กรัม พรกิ ไทยล่อน ๕ กรัม ขงิ แห้ง ๕ กรมั ชะพลู ๕ กรมั ดปี ล ี ๕ กรมั ผกั แพวแดง ๕ กรมั พลิ ังกาสา ๕ กรัม มะกรดู ๕ กรัม ลกู ชีลอ้ ม ๕ กรัม ว่านนำ้� ๕ กรมั สะคา้ น ๕ กรัม แห้วหม ู สรรพคุณ กระตุน้ น้ำ� นม กระจายเลอื ดลมในหญิงหลังคลอดให้ไฟธาตบุ ริบรู ณ์ ปรับระบบการย่อย อาหารใหด้ ีขนึ้ รูปแบบยา ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก 3.3), ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก 3.5) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้งั ละ 0.5-๑.๕ กรมั กินวนั ละ ๓ คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ข้อห้ามใช ้ ห้ามใช้ในหญิงตกเลอื ดหลังคลอด หญิงตง้ั ครรภ์ และผูท้ ่ีมไี ข้ ค�ำเตือน - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่ืองจากต�ำรบั น้ีมพี รกิ ไทยในปริมาณสงู - ยาน้อี าจท�ำใหเ้ กดิ อาการแสบร้อนยอดอก ขอ้ มลู เพ่มิ เติม หากต้องการใหย้ าออกฤทธ์เิ ร็ว ให้กนิ ยาผงละลายนำ�้ ผึง้ น�้ำสม้ ซา่ นำ้� รอ้ น หรอื สุรา กระทรวงสาธารณสุข 301

เอกสารอา้ งองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2560. (๒๕60, 6 พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓4 ตอนพเิ ศษ 2๗1 ง. หน้า ๑-2. ๓. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เร่อื ง บัญชียาหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หน้า 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ ๒95, 315). ยาปะโตลาธิคุณ ทม่ี าของตำ� รบั ยา คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ ๑ [1] “ยาแก้ไข้ตั้งแต่ ๗ วันถึง ๑๔ วัน ชื่อปะโตลาทิคุณ เอาเน้ือฝักราชพฤกษ์ ๒ สลึง ขิงแห้ง ๒ สลึง ผลกระดอม ๑ สลึง จันทน์ขาว ๑ สลึง เปลือกประค�ำดีควาย ๑ สลึง สะค้าน ๑ สลึง รากเสนียด ๑ สลึง แฝกหอม ๑ สลึง เมล็ดผักชีล้อม ๑ สลึง บอระเพ็ด ๑ สลึง หัวแห้วหมู ๑ สลึง ผลมะตูมอ่อน ๑ สลึง เนื้อผลสมอพิเภก ๑ บาท เน้ือผลมะขามป้อม ๑ บาท ต้มกินหรือจะบดเป็นผงละลายน้�ำร้อนกินก็ได้ แก้ไข้ เพื่อกำ� เดาหรือไข้เวน้ วันจบั แก้เมอ่ื ยขบจุกเสียด โลหติ ตก หายแล” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตัวยา 14 ชนิด รวมปริมาณ 82.5 กรัม ดงั น ี้ ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา มะขามปอ้ ม (เน้อื ผล) 15 กรมั สมอพเิ ภก (เนือ้ ผล) 15 กรัม ขิงแห้ง 7.5 กรัม ราชพฤกษ ์ 7.5 กรัม กระดอม จนั ทนข์ าว 3.75 กรมั บอระเพด็ 3.75 กรัม แฝกหอม 3.75 กรมั มะค�ำดคี วาย (เปลือกผล) 3.75 กรัม มะตมู 3.75 กรัม ลกู ชลี ้อม 3.75 กรมั สะค้าน 3.75 กรัม เสนยี ด 3.75 กรัม แหว้ หม ู 3.75 กรัม 3.75 กรมั 302 รายการตำ� รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคณุ แกไ้ ขเ้ พอ่ื ก�ำเดาและเสมหะ แกไ้ ข้จับวันเวน้ วนั รูปแบบยา ยาตม้ (ดูภาคผนวก 3.1.1), ยาเมด็ พิมพ์ (ดูภาคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ยาต้ม คร้ังละ 150 มิลลิลิตร ดื่มวันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ดื่ม ตามอาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดื่มขณะยายังอุ่น ยา 1 หม้อ ใช้ติดต่อกัน 5-7 วนั โดยใหอ้ ุ่นน�ำ้ สมนุ ไพรทุกคร้งั ก่อนใชย้ า ยาเมด็ พมิ พ์ ครงั้ ละ 2-3 เมด็ ละลายนำ้� ตม้ สกุ กนิ วนั ละ 2 ครงั้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเยน็ เอกสารอ้างอิง 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์; ๒๕๐๔. ยาปตั ฆาตใหญ่ ชื่ออื่น ยาปตั คาดใหญ่ ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ [1, 2] “ยาปัตคาดใหญ่ ชเอมเทษ ๒ บาท โกฏบวั ๒ บาท โกฏสอ ๒ บาท โกฏกระดูก ๒ บาท สคา้ น ๒ บาท ฃิง ๑ บาท เจตมูล ๒ บาท สมูลแว่ง ๒ บาท เทยี นดำ� ๑ บาท เทียนฃาว ๑ บาท กานพลู ๑ บาท ดอกจัน ๑ สลึง ลูกจันเทด ๑ บาท สีสดองดึง ๒ บาท สีสอุตพิษ ๒ บาท โหราท้าวสุนัก ๒ บาท สีสกลอย สีสบุกรอ ๒ บาท สมอไท ๗ บาท มฃามป่อม ๑๐ บาท กนั ชา ๒ บาท ดีปลี ๑ บาท โกฏจลุ า ๒ บาท โกฏน้�ำเต้า ๓ บาท รงทอง ๙ บาท ยาดำ� ๙ บาท มหาหงิ ๔ บาท การบนู ๓ บาท ๒ สลึง พริกไทลอนเทา่ ยาทังหลาย กระท�ำเปนจุล น�้ำกระสายตา่ ง ๆ กินแกล้ มกระไสกร่อน ผูกกลัดเสียดแน่น” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 29 ชนดิ รวมปรมิ าณ 2,392.5 กรัม ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา พรกิ ไทยลอ่ น 1,196.25 กรมั มะขามป้อม (เนื้อผล) ยาด�ำ 150 กรมั รงทอง 135 กรมั สมอไทย (เน้อื ผล) 135 กรัม มหาหงิ คุ์ 105 กรัม การบูร 60 กรมั โกฐนำ้� เต้า 52.5 กรมั กลอย 45 กรัม กญั ชา 30 กรัม โกฐกระดูก 30 กรมั โกฐจฬุ าลมั พา 30 กรมั โกฐสอ 30 กรัม 30 กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 303

ตัวยา ปรมิ าณตัวยา 30 กรัม โกฐหวั บัว 30 กรัม เจตมลู เพลิง 30 กรัม ชะเอมเทศ 30 กรมั ดองดงึ 30 กรมั บกุ รอ 30 กรมั สมลุ แวง้ 30 กรมั สะคา้ น 30 กรมั โหราท้าวสุนขั 30 กรมั อตุ พิด 15 กรมั กานพลู 15 กรัม ขิง 15 กรมั ดปี ลี 15 กรัม เทียนขาว 15 กรัม เทียนด�ำ 15 กรัม ลกู จันทน์ ดอกจนั ทน์ 3.75 กรมั สรรพคุณ แก้ลมกษยั กล่อน แก้เถาดาน พรรดึก รปู แบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธกี ารใช้ ครง้ั ละ 1-2 กรัม ละลายน้ำ� รอ้ นกนิ วันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ คำ� เตอื น - ควรระมัดระวงั การใชใ้ นผู้สงู อายุ - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัว ของเกลด็ เลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่อื งจากต�ำรบั น้มี ีพริกไทยในปรมิ าณสงู ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนือ่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบรู และเกดิ พิษได้ ข้อหา้ มใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตัง้ ครรภ์ ผูท้ ม่ี ไี ข้ และเดก็ อายุตำ�่ กว่า 12 ปี ข้อมูลเพม่ิ เตมิ - ต�ำรับยานี้มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม การใช้ ยาเสพติดให้โทษต�ำรับน้ีต้องอยู่ภายใต้การปรุงและส่ังจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพ แพทยแ์ ผนไทยตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ - ตัวยายาด�ำต้องสะตุกอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.27) - ตัวยารงทองต้องสะตุก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.29) - ตวั ยามหาหิงค์ุต้องสะตกุ ่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) - ตวั ยาโกฐน�ำ้ เต้าต้องนง่ึ ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๖) - ตัวยากลอยต้องค่วั กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๓) 304 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

- ตัวยากญั ชาตอ้ งคัว่ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.๔) - ตวั ยาดองดงึ ตอ้ งน่ึงกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.13) - ตวั ยาบกุ รอต้องคั่วกอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตัวยาโหราทา้ วสนุ ัขตอ้ งนงึ่ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.49) - ตัวยาอตุ พดิ ตอ้ งค่วั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๕0) เอกสารอา้ งอิง 1. สภากาชาดไทย. ตำ� รับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 112. พิมพ์คร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท รงุ่ ศลิ ป์ การพิมพ์ (1977) จำ� กดั ; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑1) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง. หน้า 2-5. ยาแปรไข้ ช่อื อนื่ ยาแปลไข้ ทีม่ าของตำ� รับยา คัมภีรแ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เล่ม ๑ [1] “ยาแปลไข้ เอารากคนทา รากชิงชี่ รากหญ้านาง รากมะเดื่อชุมพร รากเท้ายายม่อม เกษรบัวหลวง ดอกสาระภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกมะลิ หญ้าแพรก หญ้าปากควาย ใบระงับ รากหวายขม รากหวายลิง เหมือดคน ลูกกระดอม บอระเพ็ด แก่นจันทน์ท้ัง ๒ รากหญ้าคา เอาสิ่งละ ๔ บาท ก้านสะเดา ๓๓ ก้าน ต้มกิน เวลาเชา้ เยน็ แก้ไขพ้ ิษ ไข้จับส่ัน แก้ได้ท้ัง ๓ ฤด”ู สูตรต�ำรบั ยา ประกอบด้วยตวั ยา 22 ชนดิ รวมปริมาณ 1,260 กรมั * ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา 60 กรัม กระดอม 60 กรัม คนทา 60 กรัม จนั ทนข์ าว 60 กรัม จนั ทนแ์ ดง 60 กรัม ชิงช่ี 60 กรมั บอระเพ็ด 60 กรมั บวั หลวง 60 กรัม บนุ นาค 60 กรัม พิกุล 60 กรมั มะเด่ืออทุ ุมพร 60 กรมั มะลิ 60 กรมั ไม้เทา้ ยายม่อม 60 กรัม ย่านาง 60 กรมั ระงับ กระทรวงสาธารณสขุ 305

ตัวยา ปริมาณตัวยา 60 กรมั สารภี 60 กรัม หญ้าคา 60 กรมั หญ้าปากควาย 60 กรมั หญา้ แพรก 60 กรัม หวายขม 60 กรมั หวายลิง 60 กรัม เหมือดคน 33 ก้าน สะเดา (กา้ น) *ไม่รวมปริมาณกา้ นสะเดา 33 ก้าน สรรพคณุ แก้ไข้ตวั ร้อน ไขจ้ บั สน่ั ไข้ 3 ฤดู รูปแบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครงั้ ละ 150 มลิ ลิลิตร ดื่มวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดืม่ ขณะยายังอุ่น ยา 1 หมอ้ ใช้ตดิ ต่อกนั 5-7 วนั โดยใหอ้ ุน่ น�้ำสมนุ ไพรทกุ ครง้ั ก่อนใช้ยา เอกสารอ้างองิ 1. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ ตุ สาหกรรมการพิมพ;์ ๒๕๐๔. ยาผสมโคคลาน ทมี่ าของตำ� รับยา สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เผยแพร่โดยโครงการสมนุ ไพรเพือ่ การพึ่งพาตนเอง [1] สูตรต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๔ ชนดิ รวมปริมาณ ๑๐๕ กรมั ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ๕๐ กรมั โพคาน ๒๕ กรมั ทองพนั ชง่ั ๑๕ กรัม โด่ไมร่ ้ลู ้ม ๑๕ กรมั มะตมู สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเม่ือยตามร่างกาย รปู แบบยา ยาต้ม (ดภู าคผนวก 3.1.๓) ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ ๑๒๐-๒๐๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ใหด้ ื่มตามอาการของโรคและก�ำลังของผ้ปู ว่ ย ด่ืมขณะยายังอนุ่ ยา 1 หม้อ ใช้ตดิ ตอ่ กนั 5-7 วนั โดยให้อนุ่ น้�ำสมนุ ไพรทกุ ครัง้ ก่อนใช้ยา 306 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ - ตัวยาโคคลานตามสูตรต�ำรับในประกาศบัญชียาหลักแห่งชาติ คือ โพคาน ท่ีมีชื่อ วทิ ยาศาสตรว์ า่ Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae [1] - นอกจากนี้ ยังมีสูตรต�ำรับที่ใช้ในรูปแบบยาชง และพบว่ามีสถานบริการใช้สูตร ต�ำรับที่มีสัดส่วนแตกต่างกันออกไป เช่น โรงพยาบาลบ้านนา จังหวัดนครนายก โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวดั นครราชสีมา เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เรอ่ื ง บญั ชียาหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพิเศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ 312). ทมี่ าของต�ำรบั ยา ยาผสมเถาวัลย์เปรยี ง สูตรต�ำรับน้ีมีที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร สตู รต�ำรบั ยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นต�ำรับตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน มีทีม่ าจากชมรมหมอยาพ้นื บา้ นอ�ำเภอกดุ ชมุ จังหวัดยโสธร ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๖ [1] ประกอบด้วยตวั ยา ๔ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๑๐๐ กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ๔๐ กรัม ไพล ๒๐ กรมั ดกู หิน ๒๐ กรัม ดกู ใส ๒๐ กรัม เถาวัลยเ์ ปรียง สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเม่ือยตามรา่ งกาย รปู แบบยา ยาลกู กลอน (ดูภาคผนวก ๓.๕) ขนาดและวธิ ีการใช้ ครง้ั ละ 0.9-๑.๕ กรัม กินวันละ ๓ ครัง้ หลงั อาหารทันที ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์ คำ� เตอื น - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร เนื่องจากเถาวัลย์เปรียง มีกลไกออกฤทธ์ิเช่นเดียวกับยาแก้ปวดในกลุ่มยาต้านการอักเสบท่ีไม่ใช่สเตียรอยด์ (Non-steroidal anti-Inflammatory drugs : NSAIDs) - ยานี้อาจท�ำให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินอาหาร ปวดท้อง ท้องผูก ปสั สาวะบ่อย คอแหง้ ใจสน่ั เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหง่ ชาติ เรอ่ื ง บัญชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตุลาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หน้า 312). กระทรวงสาธารณสุข 307

ทีม่ าของตำ� รบั ยา ยาผสมเพชรสังฆาต สูตรต�ำรับนี้มีท่ีมาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาล โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น สตู รตำ� รับยา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ เดิมชื่อ ยาริดสีดวง เป็นต�ำรับที่ต้ังขึ้นตาม องค์ความรกู้ ารแพทยแ์ ผนไทย [1] ประกอบดว้ ยตวั ยา ๔ ชนดิ รวมปรมิ าณ ๘๕ กรัม ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา เพชรสงั ฆาต ๕๐ กรมั กะเมง็ ๑๕ กรมั กระชาย ๑๐ กรัม โกฐน้ำ� เตา้ ๑๐ กรมั สรรพคุณ บรรเทาอาการรดิ สดี วงทวารหนกั รปู แบบยา ยาแคปซลู (ดภู าคผนวก ๓.๓) ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้งั 0.5-1 กรัม กินวนั ละ ๓ ครง้ั หลังอาหารทันที เชา้ กลางวนั และเย็น ขอ้ ควรระวัง ควรระวงั การใชย้ าในหญิงตงั้ ครรภแ์ ละหญิงให้นมบุตร ค�ำเตือน ยานอี้ าจทำ� ใหเ้ กดิ อาการทอ้ งเสยี มวนท้อง ข้อมูลเพิม่ เตมิ - ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญระบุว่าสูตรต�ำรับนี้เหมาะกับริดสีดวงทวารหนักที่มี การถ่ายเปน็ เลอื ดรว่ มดว้ ย เนอื่ งจากมกี ะเม็งและกระชายซง่ึ มฤี ทธส์ิ มานล�ำไส้ - ในการรกั ษา ผูป้ ว่ ยควรงดหรือหลีกเล่ียงอาหารแสลง เช่น เหลา้ เบยี ร์ ของหมกั ดอง อาหารทะเล - ตวั ยาโกฐนำ�้ เตา้ ต้องนง่ึ กอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๖) เอกสารอ้างองิ ๑. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแหง่ ชาติ เรือ่ ง บัญชยี าหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ ๒92). 308 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาผายโลหิต ท่ีมาของตำ� รบั ยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๒ [๑, ๒] “อนึ่งยาผายโลหิต เอารากข้ีกาแดง ๑ ขี้เหล็กท้ังห้า ๑ ใบมะกา ๑ ใบมะขาม ๑ ใบส้มป่อย ๑ หญ้าไซ ๑ ผลคัดเค้า ๑ ต้มให้งวดแล้วกรองเอาน�้ำขย�ำใส่ลงอีก เข้ียวให้ข้นปรุงยาด�ำสลึงเฟื้อง ดีเกลือ ๑ บาท กินประจุโลหติ ร้ายทง้ั ปวง แกไ้ ขส้ ันนิบาท แก้ไขฝ้ ีดาษแล” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๙ ชนิด รวมปรมิ าณ ๑๒๐ กรมั ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ๑๕ กรมั ข้กี าแดง (ราก) ๑๕ กรัม ขี้เหลก็ (ทัง้ 5) ๑๕ กรัม คัดเค้า ๑๕ กรมั มะกา ๑๕ กรมั มะขาม ๑๕ กรมั ส้มปอ่ ย ๑๕ กรัม หญา้ ไทร 7.5 กรมั ดเี กลือ 7.5 กรมั ยาด�ำ สรรพคณุ ประจุโลหติ ฟอกโลหิต แก้ประจ�ำเดือนมาไม่ปรกติ รูปแบบยา ยาตม้ (ดภู าคผนวก 3.1.3) วธิ ปี รุงยา ตัวยาข้ีกาแดง (ราก) ขีเ้ หลก็ (ทั้ง 5) มะกา มะขาม ส้มป่อย หญ้าไทร คดั เค้า ตม้ ให้งวด กรองเอาแตน่ ำ้� เคี่ยวใหข้ ้น แล้วจงึ เติมยาด�ำ ดเี กลอื ขนาดและวิธกี ารใช้ คร้ังละ 60-120 มิลลิลิตร ด่ืมวันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ด่ืม ตามอาการของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดื่มขณะยายังอุ่น ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วนั โดยใหอ้ นุ่ น้ำ� สมนุ ไพรทกุ ครั้งก่อนใช้ยา ขอ้ ห้ามใช ้ - หา้ มใช้ในสตรตี งั้ ครรภ์ - ห้ามใช้ในผ้ปู ว่ ยท่ีมีความผิดปรกติของหวั ใจและผู้ป่วยโรคความดันโลหติ ตำ่� - หา้ มใชใ้ นผปู้ ว่ ยทม่ี ภี าวะทางเดนิ อาหารอดุ ตนั - หา้ มใช้ในผู้ปว่ ยโรครดิ สีดวงทวารทม่ี อี าการถา่ ยเป็นเลือด ค�ำเตือน - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มคี วามผิดปรกติของไตหรอื ตับ ข้อควรระวัง ไมค่ วรกนิ ยานต้ี ิดตอ่ กันเกนิ 7 วัน ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ตัวยายาด�ำต้องสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.27) กระทรวงสาธารณสขุ 309

เอกสารอ้างองิ ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอษั ฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาแผว้ ฟา้ ทม่ี าของตำ� รับยา ศิลาจารึกตำ� รายาวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) [1, 2] “ยาแผ้วฟ้า เอาตรีกฏุก เกลือสินเธาว์ สิ่งละส่วน รากส้มกุ้งท้ังสอง รากมะแว้งต้น รากมะแว้งเครือ รากมะอึก เมล็ดในมะเขอื ขนื่ ส่งิ ละ ๒ สว่ น ผักแพวแดง สะค้าน ใบกระวาน สิ่งละ ๓ ส่วน ฝกั ส้มป่อยปงิ้ ๔ ส่วน ขิงแครง ๕ ส่วน วิธีท�ำ ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ละลายน�้ำข่าแทรกเกลือกวาด สรรพคุณ แก้ละอองลมอันบังเกิด ในโอษฐ์โรค กระท�ำให้ส้มปากเป็นต้น แลให้คอแห้งเป็นเม็ดยอดเกิดในคอให้ไอ ให้อ้วก ให้อาเจียนและให้บังเกิด ละออง ๔ ประการ คอื ละอองขาว เหลือง ด�ำ แดง” สตู รตำ� รบั ยา ประกอบดว้ ยตัวยา 15 ชนดิ รวมปริมาณ 34 สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปรมิ าณตัวยา ขิงแครง 5 ส่วน ส้มป่อย (ฝกั ) 4 ส่วน ใบกระวาน 3 ส่วน ผักแพวแดง 3 ส่วน สะค้าน 2 ส่วน มะเขือข่นื (เมลด็ ) 2 สว่ น มะแว้งเครอื (ราก) 2 สว่ น มะแว้งต้น (ราก) 2 สว่ น มะอึก 2 สว่ น สม้ กุง้ นอ้ ย 2 ส่วน สม้ กุ้งใหญ่ 2 สว่ น เกลอื สินเธาว์ 1 สว่ น ขงิ แหง้ 1 สว่ น ดปี ล ี 1 ส่วน พรกิ ไทย 1 สว่ น 310 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคุณ แก้ละอองในปาก และคอ รปู แบบยา ยาเม็ดพิมพ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ เด็ก แรกเกิด-6 เดือน คร้ังละ 100 มลิ ลกิ รมั อายุ 6 เดอื น-1 ปี ครงั้ ละ 200 มิลลิกรมั อายุ 1-๓ ปี ครง้ั ละ 300 มิลลกิ รัม อายุ ๓-๖ ปี ครั้งละ 400 มิลลิกรัม ละลายน้�ำข่าแทรกเกลือ กวาดในปากและคอวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น คำ� เตือน ไม่ควรใช้ในเดก็ ที่สงสัยว่าเป็นไขเ้ ลอื ดออก เนื่องจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลอื ดออก ขอ้ ควรระวัง หากใชย้ าเปน็ เวลาเกนิ ๓ วัน แล้วอาการไม่ดขี ึ้น ควรปรึกษาแพทย์ เอกสารอา้ งอิง 1. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทย ในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธิ)์ เล่ม ๓. พิมพค์ ร้งั ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง. หนา้ ๑-๘๐. ยาฝนแสนหา่ สงิ คาทจิ ร ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 2 [1, 2] “ยาขนานหนึ่งชื่อฝนแสนห่าสิงคาทิจร แก้สันนิบาต ๗ จ�ำพวก เปนเพ่ือเสมหะโลหิตแลเพื่อกิน ของคาว เปนเพ่ือทำ� การหนกั ช่อื สิงคาทิจร คอื น�ำ้ มูกตกเบอื้ งบนอากาศธาตุ จงึ ให้ไอเสียงแห้งใหห้ อบสอึก ให้แต่งยาน้ี แก้ เอาเม็ดพรรผักกาด ๑ ผลผกั ชี ๑ ขงิ ฝอย ๑ ข่า ๑ กะทือ ๑ ทำ� ผงบดกินหายแล” สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตวั ยา 5 ชนดิ รวมปริมาณ ๕ สว่ น ดงั น้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา กะทอื ๑ ส่วน ข่า ๑ ส่วน ขงิ (ราก) ๑ ส่วน เมลด็ พรรณผกั กาด ๑ ส่วน ลกู ผักช ี ๑ สว่ น สรรพคุณ ลดน้ำ� มกู ในผปู้ ว่ ยท่เี ปน็ หวดั ซงึ่ ไม่มอี าการไข้ รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวธิ ีการใช้ คร้ังละ ๑ ชอ้ นชา ละลายนำ�้ ร้อนกนิ วนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวัน และเย็น กระทรวงสาธารณสุข 311

ข้อห้ามใช ้ ห้ามใช้ในผ้ทู มี่ ีไข้ ร้อนใน เจบ็ คอ ข้อมลู เพ่ิมเติม ขิงฝอย คอื รากขงิ (ginger) เอกสารอา้ งอิง ๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค์; ร.ศ. ๑๒๖. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หน้า ๑. ยาพรหมพกั ตร์ ท่ีมาของต�ำรบั ยา ศลิ าจารกึ ตำ� รายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ)์ [๑, ๒] “ยาชือ่ พรหมพักตร์ เอาผลจันทน์ ดอกจนั ทน์ สง่ิ ละสว่ น มหาหงิ ค์ุ ยางสลดั ได การบูร สง่ิ ละ ๔ สว่ น พริกหอม ๕ ส่วนท�ำเป็นจุณ เอาน้�ำเปลือกมะรุมต้มเป็นกระสายบด แล้วจึงเอาใส่กระทะขึ้นตั้งไฟกวนพอปั้นได้ ท�ำแทง่ ไว้กินตามธาตหุ นกั เบา ขบั โลหติ เนา่ รา้ ย ซง่ึ กระทำ� ใหป้ วดท้องจกุ เสียดนั้นหายสิ้นดีนัก ฯ” สตู รต�ำรบั ยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๖ ชนดิ รวมปริมาณ ๒๘๕ กรมั ดงั น้ี ตัวยา ปรมิ าณตวั ยา ๗๕ กรัม พริกหอม ๖๐ กรมั การบูร ๖๐ กรัม มหาหงิ ค์ุ ๖๐ กรัม สลดั ได ๑๕ กรมั ดอกจันทน์ ๑๕ กรมั ลกู จนั ทน ์ สรรพคุณ ขับโลหติ เน่าร้ายที่มอี าการปวดท้อง รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2) วธิ ปี รุงยา บดเป็นผง ละลายน้�ำเปลือกมะรุมต้ม แล้วจึงเอาใส่กระทะข้ึนต้ังไฟกวนพอปั้นเป็น เมด็ ได้ ขนาดและวธิ กี ารใช้ ครั้งละ ๑๐๐-๒๐๐ มิลลิกรัม กินวันละ ๑ คร้ัง ก่อนอาหารเช้า กินยาสัปดาห์ละ 1-2 คร้ัง ตามกำ� ลังธาตุหนกั เบา และใหก้ นิ ก่อนประจำ� เดือนมา ๓-๗ วัน ขอ้ ห้ามใช ้ - หา้ มใช้ในสตรตี ้งั ครรภ์ - ห้ามใช้ในผู้ปว่ ยทมี่ ีความผิดปรกตขิ องโรคหวั ใจและผูป้ ่วยโรคความดนั โลหิตต�ำ่ - ห้ามใชใ้ นผปู้ ่วยท่ีมภี าวะทางเดนิ อาหารอดุ ตัน - ห้ามใช้ในผปู้ ว่ ยที่มคี วามผิดปรกตขิ องไตหรอื ตบั 312 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

คำ� เตอื น - ควรระวังการใช้ในผปู้ ว่ ยโรคความดันเลอื ดสงู โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปตกิ และกรดไหลย้อน เนือ่ งจากเป็นตำ� รบั ยารสร้อน - ยาน้ีเป็นยาถ่ายอยา่ งแรง ไมค่ วรใชย้ าในผ้ปู ่วยอ่อนเพลยี มากหรือมภี าวะขาดน�้ำ ขอ้ ควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ ของตบั ไต เนือ่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พิษได้ - ไมค่ วรกนิ ติดตอ่ กนั เกนิ 7 วนั - การใชย้ าน้คี วรอยคู่ วามควบคุมดแู ลของแพทยแ์ ผนไทย ข้อมูลเพม่ิ เตมิ - ตวั ยามหาหิงค์ตุ อ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) - ตวั ยาสลัดไดต้องประสะกอ่ นนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.37) เอกสารอา้ งองิ ๑. สำ� นกั คมุ้ ครองภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. ชดุ ตำ� ราภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ์ ตำ� ราการแพทยแ์ ผนไทยในศลิ าจารกึ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ์)ิ เลม่ 3. พิมพค์ รง้ั ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2557. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. 2558. (๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจกิ ายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๑๗ ง. หน้า ๑-๘๐. ยาพระเปน็ เจา้ มงกฎุ ลม ท่ีมาของต�ำรับยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาน้ีชอื่ พระเป็นเจา้ มงกุฎลม เอา โลดแดง โลดขาว รากมะรุม ๑ รากกุ่มท้ัง ๒ รากชิงชี่ ๑ ขา่ ทง้ั ๒ ว่านน�้ำ ๑ ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ ใบกะเพรา ๑ ผิวมะกรูด ๑ เทียนทั้ง ๕ มหาหิงคุ์ หนักเท่ายาทั้งหลาย บดท้งั กนิ ทง้ั พน่ แก้ลมชักทง้ั ปวง แก้ปวดทอ้ งแก้จกุ เสียด แก้ผกู ละลายน�ำ้ ขิงน้�ำร้อนกไ็ ด้ ศิริยา ๒๑ ส่งิ ๚” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 19 ชนดิ รวมปริมาณ 540 กรัม ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา มหาหิงค ์ุ 270 กรัม กะเพรา 15 กรมั กมุ่ น�ำ้ (ราก) 15 กรมั กุม่ บก (ราก) 15 กรมั ขา่ 15 กรัม ขา่ หลวง 15 กรมั ชิงช ่ี 15 กรัม ดอกจนั ทน์ 15 กรมั เทยี นขาว 15 กรัม เทียนขา้ วเปลือก 15 กรัม เทียนด�ำ 15 กรัม เทียนแดง 15 กรมั กระทรวงสาธารณสขุ 313

ตวั ยา ปริมาณตวั ยา เทยี นตาตัก๊ แตน 15 กรัม มะกรดู 15 กรมั มะรุม (ราก) 15 กรัม โรกขาว 15 กรมั โรกแดง 15 กรมั ลูกจนั ทน์ 15 กรัม วา่ นนำ้� 15 กรมั สรรพคุณ แกล้ มชักทั้งปวง แก้ปวดทอ้ งแกจ้ กุ เสยี ด แก้ท้องผกู รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ คร้งั ละ 1 กรมั ละลายนำ�้ ร้อนหรือน้ำ� ขงิ กนิ วันละ 3 ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ กลางวนั และเยน็ ขอ้ มลู เพ่มิ เติม ตัวยามหาหงิ คุ์ตอ้ งสะตกุ อ่ นนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.23) เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๗. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง. หนา้ ๑-3. ยาพระวิลาศ ทมี่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ยาสมุ ลมเจ็บสงู เอา ขิงสด ๑ กานพลแู ก่ ๑ ผกั เสี้ยนผี ๑ ก�ำยาน ๑ อบเชย ๑ บดสุมแก้ลมประกังกวาด ชอื่ พระวิลาศแล ๚ สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 5 ชนิด รวมปริมาณ 5 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตวั ยา 1 ส่วน กานพล ู 1 สว่ น กำ� ยาน 1 สว่ น ขิง 1 ส่วน ผักเสีย้ นผ ี 1 สว่ น อบเชยเทศ 314 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคุณ แก้ลมปะกัง รปู แบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) ขนาดและวิธีการใช้ พอกบริเวณศีรษะเม่ือมีอาการ ห้ามใช้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด ระวัง อยา่ ใหเ้ ข้าตา เป็นยาใชภ้ ายนอก หา้ มกิน ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ตัวยาในต�ำรับนี้ ได้แก่ ขิง และ ผักเส้ียนผี ควรใช้เป็นสมุนไพรสด ใช้สุมแก้การปวด ตามขอ้ ได้เปน็ อยา่ งดี เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท่ี ๒๗๓. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๑0) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, 25 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 141 ง. หนา้ ๑-4. ยาพระแสงจกั ร ทีม่ าของตำ� รบั ยา ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม 3 [1, 2] “ยาชอื่ พระแสงจักร ใหเ้ อาพริกล่อน ๑ สหศั คณุ ๑ เปลา้ นอ้ ย ๑ เบญจกูล ๑ ฃงิ ๑ เทยี นทัง้ ๕ ตรผี ลา ๑ ไพล ๑ ดองดึง ๑ สมุลแว้งเท่ายา เจตมูลกึ่งยา สารส้มเท่ายา บดพอกลมจับแต่แม่เท้าจนศีศะ แก้ลมกล้ิงในท้อง มือตายเท้าตาย จบั เท้าเยน อนั มพี ิศมใ์ นกาย หายแล ๚ะ๛ ” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 21 ชนดิ รวมปรมิ าณ 114 ส่วน ดงั นี้ ตัวยา ปรมิ าณตัวยา สารส้ม 57 ส่วน เจตมลู เพลิงแดง 20 ส่วน สมลุ แว้ง 19 ส่วน ขิง 1 สว่ น ขิงแห้ง 1 สว่ น ชะพล ู 1 สว่ น ดองดงึ 1 ส่วน ดีปล ี 1 ส่วน เทียนขาว 1 สว่ น เทียนข้าวเปลือก 1 ส่วน เทียนดำ� 1 ส่วน กระทรวงสาธารณสขุ 315

ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา เทียนแดง 1 ส่วน เทียนตาต๊กั แตน 1 ส่วน เปล้านอ้ ย (ใบ) 1 สว่ น พรกิ ล่อน 1 สว่ น ไพล 1 สว่ น มะขามป้อม (เนือ้ ผล) 1 ส่วน สมอไทย (เน้อื ผล) 1 ส่วน สมอพเิ ภก (เน้อื ผล) 1 ส่วน สะค้าน 1 ส่วน หสั คณุ ไทย 1 ส่วน สรรพคณุ แก้ลมจับตั้งแต่แม่เท้าจนถึงศีรษะ แก้ลมกลิ้งในท้อง มือตายเท้าตาย จับเท้าเย็น อนั มีพษิ ในกาย รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก 3.2) ขนาดและวิธีการใช้ น�ำยามาทารอบบรเิ วณทีม่ ีอาการ หา้ มพอกบรเิ วณผิวหนังที่มบี าดแผลหรือแผลเปิด ขอ้ มลู เพ่ิมเติม - ตวั ยาดองดึงตอ้ งนง่ึ กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.13) - ตัวยาสารสม้ ต้องสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.40) - ตัวยาหสั คุณไทยตอ้ งค่วั ก่อนน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.47) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรนิ ทรพ์ ริ้นติ้งแอนดพ์ ับลชิ ชิง่ จำ� กัด (มหาชน); 2555. หน้า 32. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หนา้ ๑-๓. 316 รายการตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาพอกแผลพอกฝี ท่มี าของต�ำรับยา ต�ำรายาเกรด็ [1, 2] “ยาแก้ปวดแผลแลฝีต่างๆ ทา่ นให้เอา ใบฝ้ายผี 1 ลูกมะกอก 3 ลกู เผาไฟ ข้าวใหม่ 3 กอ้ น งาหยบิ 1 ขมิ้นชนั 1 บดเขา้ ดว้ ยกนั เป็นยาพอกแผลแลฝีต่างๆ แกป้ วดเอาน้ำ� นมเปน็ กระสายดนี ักแล ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 5 ชนดิ รวมปรมิ าณ 5.5* สว่ น ดงั นี้ ตวั ยา ปริมาณตวั ยา ข้าวเจ้า (หงุ สุก) 2 ส่วน ขม้ินชนั (เหง้าสด) 1 ส่วน ฝ้ายผี (ใบสด) 1 สว่ น งาด�ำ มะกอกป่า 0.5 สว่ น 3 ผล *ไม่รวมนำ�้ หนักมะกอกป่า สรรพคุณ แก้ปวดแผล แก้ฝีทงั้ หลาย รปู แบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) ขนาดและวิธีการใช้ แก้ฝี พอกบรเิ วณที่เป็นวนั ละ 2-3 ครง้ั แก้ปวดแผล ละลายน�ำ้ นม พอกบรเิ วณท่เี ปน็ วนั ละ 2-3 ครัง้ ข้อมูลเพิ่มเตมิ - ผลมะกอกเผาใหเ้ ปน็ ถ่าน ไมใ่ หเ้ ปน็ ขีเ้ ถา้ ก่อนนำ� มาใช้ โดยสมุ ดว้ ยไฟแกลบ - ตัวยามะกอกป่าต้องสมุ ก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.25) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขท ี่ 239. หมวดเวชศาสตร.์ ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 8) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, ๒4 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑39 ง. หนา้ 2. กระทรวงสาธารณสุข 317

ยาพอกฝี สูตร ๑ ทีม่ าของต�ำรบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “๏ ผวิ า่ ฝขี น้ึ หลงั มอื หลงั เทา้ เรยี กวา่ กรงึ บาดาล ๚ ขนึ้ ทท่ี วารทง้ั เกา้ เรยี กวา่ ปดิ ประตชู ยั ๚ ขนึ้ ทไ่ี หลเ่ รยี ก ว่าไฟสามกอง ขึ้นที่ท้องเรียกว่ากองสีพี ขึ้นนาภีเรียกฤๅษีจุดชวาลา ๚ ข้ึนโคนขาเรียกว่าพระจันทร์ทรงกลดข้ึนแสก หน้าช่ือจักรพระอาทิตย์ ๚ ขึ้นกระหม่อมเรียกว่าจอมประสาทสยองเกล้า ๚ ข้ึนท่ีทัดหูลงมาเรียกว่านันทมาลา ๚ ข้ึนที่แก้มชื่อประถมคงคา ๚ ข้ึนท้ายผมชื่อจักรพระพรม ๚ ข้ึนท่ีท้ายสะบักชื่ออัคคเนสัน ๚ ข้ึนก้นกบชื่อตะมอย ปากแดง ๚ ขึ้นไพรปากชื่อเหล่ยี มสมุทร ๚ ขึน้ ที่ไรผมเรียกพระจนั ทรล์ ับเมฆ ๚ ยาพอกฝี ใบสม้ ปอ่ ย 1 ใบมะขาม ๑ ใบมะดนั ๑ ใบสะเดา ๑ ใบผกั ขวง ๑ ใบบอระเพ็ด ๑ ขม้นิ ออ้ ย ๑ เสมอภาคต�ำให้ละเอยี ด พอกฝแี ล ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 7 ชนิด รวมปริมาณ 7 สว่ น ดังน้ี ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ขมน้ิ ออ้ ย (เหงา้ ) 1 สว่ น บอระเพด็ (ใบ) 1 ส่วน ผกั ขวง (ใบ) 1 สว่ น มะขาม (ใบ) 1 ส่วน มะดนั (ใบ) 1 ส่วน สะเดา (ใบ) 1 สว่ น สม้ ปอ่ ย (ใบ) 1 ส่วน สรรพคุณ แก้ฝี รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) ขนาดและวธิ กี ารใช้ พอกบริเวณทเ่ี ป็นวนั ละ 2-3 ครงั้ เช้า กลางวัน และเยน็ ข้อมูลเพิ่มเติม - ยาต�ำรับน้ีเหมาะส�ำหรับพอกฝีระยะแรก ปวด บวม แดง ร้อน ฐานเป็นไตแข็ง ยังไมม่ ีหัว - ตัวยาทใ่ี ช้ในต�ำรบั น้คี วรใชเ้ ปน็ ตัวยาสด เอกสารอา้ งองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร.์ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง, หน้า ๑-2. หน้า ๑-๘๐. 318 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาพอกฝี สตู ร ๒ ท่ีมาของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกร็ด [1, 2] “ใบพิมเสน 1 ใบทองหลางใบมน ๑ ขา้ วเหนียว ๑ พอกฝีแกป้ วดหาย ๚” สูตรตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 3 ชนิด รวมปรมิ าณ 3 ส่วน ดังน้ี ตัวยา ปริมาณตัวยา ขา้ วเหนียวนึง่ 1 สว่ น ทองหลางใบมน (ใบ) 1 ส่วน พิมเสนตน้ 1 ส่วน สรรพคุณ แกป้ วดฝี รปู แบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) ขนาดและวิธกี ารใช้ พอกบริเวณทีเ่ ปน็ วันละ 2-3 คร้งั เช้า กลางวัน และเย็น ข้อมลู เพ่มิ เตมิ ยาต�ำรับนี้เหมาะสำ� หรบั พอกฝรี ะยะหวั สุก ปวด บวม แดง ร้อน มตี มุ่ กลดั หนอง เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ 139 ง, หนา้ ๑-2. หน้า ๑-๘๐. กระทรวงสาธารณสุข 319

ยาพอกฝี สูตร ๓ ทีม่ าของตำ� รบั ยา ตำ� รายาเกรด็ [1, 2] “ถ้าฝีแลเป่ือยออกไปกด็ ี เอา ถ่านไมซ้ าก 1 ใบกรดยอดด�ำ ๑ ใบเกยี วไก่ ๑ ใบระงับ 1 ใบผกั บงุ้ ร้วม 1 ใบตดู หมูกไ็ ด้ ใบตดู หมา ก็ได้ เสมอภาค ขมิน้ ออ้ ย 3 แวน่ ขา้ วบูดก็ได้ ข้าวหมักกไ็ ด้ บดใหล้ ะเอียด พอกฝที ั้งปวง ทั้งกดั ทงั้ เรยี กเนอ้ื ๚” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา 8 ชนดิ รวมปรมิ าณ 7 ส่วน* ดงั น้ี ตัวยา ปริมาณตวั ยา ตูดหมูตูดหมา (ใบสด) 1 สว่ น กรดยอดด�ำ (ใบสด) 1 สว่ น ขา้ วหมกั /ขา้ วหมาก 1 ส่วน ซาก 1 สว่ น ผักบุ้งร้วม (ใบสด) 1 ส่วน ระงับ (ใบสด) 1 สว่ น หนามเก่ียวไก่ (ใบสด) 1 สว่ น ขมน้ิ อ้อย (เหง้าสด) 3 แวน่ *ไมร่ วมปริมาณขมิ้นออ้ ย (เหงา้ สด) สรรพคุณ พอกฝี กดั ฝีหนอง และชว่ ยเรยี กเน้ือ รปู แบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก 3.7) ขนาดและวธิ ีการใช้ พอกบริเวณทีเ่ ป็นวนั ละ 2-3 ครั้ง เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. “ต�ำรายาเกร็ด”. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ 257. หมวดเวชศาสตร์. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ. 2559. (๒๕๖๐, 24 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ 139 ง, หนา้ ๑-2. หน้า ๑-๘๐. 320 รายการตำ� รบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ยาพดั ในล�ำไส้ ท่มี าของตำ� รับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รชั กาลที่ ๕ เล่ม 3 [1, 2] “ภาคหนึ่งคู่กัน พริกไทย 2 สลึง เกลือสินเทาว์ 2 สลึง ดีปลี 2 สลึง เบญจกูล ส่ิงละ 2 สลึง กะเทียม เทา่ ยาตำ� ผงละลายน�ำ้ ร้อน น้�ำผง้ึ แกล้ มกลิง้ ขนึ้ กลง้ิ ลง หายแล ๚ะ๛ ” สูตรตำ� รบั ยา ประกอบด้วยตัวยา 9 ชนิด รวมปรมิ าณ 120 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา กระเทยี ม 60 กรมั ดปี ลี 15 กรัม เกลอื สินเธาว์ 7.5 กรมั ขงิ แห้ง 7.5 กรมั เจตมูลเพลิงแดง 7.5 กรมั ชะพลู 7.5 กรมั พรกิ ไทย 7.5 กรัม สะค้าน 7.5 กรัม สรรพคณุ แก้ลมจ�ำพวกหน่ึงพัดในล�ำไส้ ให้เป็นลูกกลิ้งขึ้นกลิ้งลงอยู่ในท้อง ให้จุกอกเสียดแทง ตามชายโครง ท่ัวสารพางค์กายและเสยี ดหวั ใจ รปู แบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวิธีการใช้ คร้ังละ 1-1.5 กรัม ละลายน�้ำร้อนหรือน้�ำผึ้งกินวันละ 3-4 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวนั เย็น และกอ่ นนอน เอกสารอา้ งอิง 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทร์พริน้ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง จำ� กัด (มหาชน); 2555. หนา้ 33. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. กระทรวงสาธารณสุข 321

ยาไพสาลี ที่มาของต�ำรับยา อายุรเวทศึกษา [1, 2] “ยาไพสาลี ว่า พระพุทธเจ้า ทรงใหพ้ ระอานนทท์ �ำแจกเปน็ ทาน เอาลูกจนั ทน์ ดอกจันทน์ สง่ิ ละ ๑ สลงึ กระวาน ๑ สลึง ๑ เฟอื้ ง กานพลู ๒ สลงึ ดีปลี ๒ สลึง ๑ เฟื้อง ลกู พิลงั กาสา ๓ สลงึ วา่ นน�ำ้ ๓ สลึง ๑ เฟอ้ื ง เกลอื สินเธาว์ ๑ บาท เทยี นด�ำ ๑ เฟ้ือง เทียนเยาพาณี ๖ สลึง ๑ เฟือ้ ง การบรู ๗ สลึง สมอเทศ ๗ สลึง ๑ เฟอ้ื ง เทียนข้าวเปลอื ก ๖ สลงึ สมอไทย ๒ บาท สมอพเิ ภก ๒ บาท ๑ เฟื้อง โกฐสอ ๙ สลงึ โกฐเขมา ๙ สลงึ ๑ เฟอื้ ง บกุ รอ ๗ สลงึ ขงิ แห้ง ๑๐ สลึง ๑ เฟื้อง เจตมลู เพลงิ ๗ สลึง หสั คณุ เทศ ๕ บาท กญั ชา ๓๐ บาท พริกไทยร่อน ๖๐ บาท ยาทั้งน้ีท�ำเป็นผงละลายน้�ำผึ้งน�้ำอ้อยแดง น�้ำนมโคก็ได้ กิน หนัก ๑ สลึง กิน ๓ เวลา แก้สารพัดโรค ไส้เล่ือนกลอ่ น หดื ไอ กษุ ฐงั เสมหะ ตามืด ตาฟาง หหู นวก หูตงึ ลมสตมิ ักหลงลืม เจบ็ ตะโพก จุกเสียด ลมสลกั อก ข้ีเร้ือน คดุ ทะราด เปน็ ฝใี นเพดานและลำ� คอ ลมมกั ให้หาวเรอ ให้รากสะอึก ลมสะแกเวียน นอนไมห่ ลับ ใหง้ ่วงเหงา หาวนอน ลมปวดมวนในทอ้ ง เปน็ ป้างเป็นจุกผามมา้ มย้อย หงอย เพ้อ พดู มิชดั ” สูตรต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา 23 ชนดิ รวมปรมิ าณ 1,820.63 กรมั ดังน้ี ตวั ยา ปริมาณตัวยา พรกิ ไทยล่อน 900 กรัม กญั ชา (ส่วนเหนือดนิ ต้นเพศเมยี ) 450 กรัม หัสคุณเทศ 75 กรมั ขิงแหง้ 39.375 กรมั โกฐเขมา 35.625 กรมั โกฐสอ 33.75 กรมั สมอพเิ ภก (เน้อื ผล) 31.875 กรมั สมอไทย (เน้ือผล) 30 กรัม สมอเทศ (เน้อื ผล) 28.125 กรมั การบรู 26.25 กรัม เจตมูลเพลิงแดง 26.25 กรมั บกุ รอ 26.25 กรมั เทียนเยาวพาณี 24.375 กรมั เทียนข้าวเปลือก 22.5 กรัม เกลือสนิ เธาว์ 15 กรัม ว่านน้ำ� 13.125 กรัม พิลงั กาสา 11.25 กรมั ดปี ลี 9.375 กรมั 322 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ตวั ยา ปริมาณตวั ยา 7.5 กรัม กานพลู กระวาน 5.625 กรมั ดอกจันทน ์ 3.75 กรัม ลูกจนั ทน ์ 3.75 กรมั เทียนด�ำ 1.875 กรมั สรรพคณุ - แก้โรคลม เช่น ลมจกุ เสยี ด ลมสลักอก ลมมกั ใหห้ าวเรอ ลมให้รากสะอกึ ลมสะแก เวียน ลมปวดมวนในท้อง - แกห้ ดื ไอ มเี สมหะ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก 3.3) ขนาดและวิธกี ารใช้ ยาผง คร้ังละ 1-2 กรัม ละลายน�้ำผึ้ง น้�ำอ้อยแดง หรือน้�ำนมวัว กินวันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ ยาแคปซูล ครั้งละ 1-2 กรัม ละลายน้�ำต้มสุกกินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเยน็ ข้อห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญงิ ตั้งครรภ์ หญงิ ใหน้ มบุตร ผทู้ ีม่ ไี ข้ และผูท้ ่ีมอี ายุตำ�่ กว่า 18 ปี ค�ำเตือน - ควรระวังการใช้ยานี้ในผูป้ ่วยสูงอาย ุ - ควรระวังการใชใ้ นผู้ป่วยโรคความดนั โลหติ สงู โรคหัวใจ ผูป้ ว่ ยโรคแผลเปื่อยเพปตกิ ผูป้ ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลยอ้ น เนอื่ งจากเปน็ ต�ำรับยารสร้อน - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิมและยาต้านการจับตัวของ เกลด็ เลอื ด - ควรระวังการใช้ร่วมกับยาเฟนิโทอิน โพรพาโนลอล ทีโอฟิลลีน และไรแฟมพิซิน เน่อื งจากต�ำรับน้ีมพี ริกไทยในปรมิ าณสูง ข้อควรระวงั ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติของ ตบั ไต เนือ่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พษิ ได้ ข้อมูลเพิ่มเตมิ - ต�ำรับยานี้มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตาม พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบบั แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ การใชย้ าเสพตดิ ใหโ้ ทษตำ� รบั นตี้ อ้ งอยภู่ ายใตก้ ารปรงุ และสง่ั จา่ ยโดยผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทยแ์ ผนไทย ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข - ตวั ยาบกุ รอตอ้ งค่ัวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.18) - ตัวยาหัสคณุ เทศต้องค่วั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.46) - ตวั ยากญั ชาต้องค่วั กอ่ นน�ำไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.๔) เอกสารอา้ งอิง 1. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ ุนายน). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หนา้ ๑-2. กระทรวงสาธารณสุข 323

ยาไฟประลัยกลั ป์ ทม่ี าของตำ� รบั ยา สูตรต�ำรับทใี่ กลเ้ คยี งตำ� รับน้ี พบในอายุรเวทศึกษา เล่ม ๒ [1, 2] “ยาไฟประลยั กัลป์ เอาพรกิ ไทย ขงิ ดปี ลี กระเทยี ม ส่ิงละ ๔ บาท กะทือ ๕ บาท ขม้ินอ้อย ขา่ ไพล เปลือกมะรมุ สิ่งละ ๕ บาท เจตมลู เพลิง สารสม้ แกน่ แสมทะเล การบรู ผิวมะกรูด สงิ่ ละ ๖ บาท ตำ� เป็นผงกิน” สตู รต�ำรับยา ประกอบดว้ ยตวั ยา ๑๔ ชนิด รวมปรมิ าณ ๗๑ กรมั ดังนี้ [3] ตัวยา ปริมาณตวั ยา การบูร ๖ กรัม เจตมูลเพลงิ แดง ๖ กรัม มะกรูด ๖ กรัม สารส้ม ๖ กรัม แสมทะเล ๖ กรัม กะทือ ๕ กรัม ขมิน้ ออ้ ย ๕ กรมั ขา่ ๕ กรมั ไพล ๕ กรมั มะรุม ๕ กรัม กระเทียม ๔ กรมั ขงิ ๔ กรัม ดปี ล ี ๔ กรมั พริกไทยลอ่ น ๔ กรัม สรรพคุณ ขับน้�ำคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยใหม้ ดลกู เขา้ อู่ รปู แบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก 3.3), ยาเม็ด (ดภู าคผนวก 3.4.2) ขนาดและวิธีการใช้ ยาผง คร้ังละ ๑ กรัม ละลายน�้ำสุกกินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กนิ จนกว่าน�ำ้ คาวปลาจะหมด แตไ่ มค่ วรเกนิ ๑๕ วนั ยาแคปซูลและยาเม็ด ครั้งละ ๑ กรัม กินวันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ให้กินจนกว่า น�้ำคาวปลาจะหมด แตไ่ ม่ควรเกนิ ๑๕ วัน ขอ้ ห้ามใช ้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลงั คลอด หญงิ ตั้งครรภ์ และผทู้ ม่ี ไี ข้ - หา้ มใช้ในหญงิ ท่ีผา่ คลอด เนอ่ื งจากท�ำใหแ้ ผลหายชา้ 324 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปรกติ ของตับ ไต เนอื่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ ขอ้ มลู เพมิ่ เติม ตวั ยาสารส้มตอ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอา้ งองิ 1. นทิ เทสสขุ กจิ , ขนุ (ถมรตั น์ พมุ่ ชศู ร)ี . อายรุ เวทศกึ ษา เลม่ ๒. กรงุ เทพ ฯ : พรอ้ มจกั รการพมิ พ;์ ๒๕๑๖. หน้า ๒๑๘. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตาํ รบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี 18) พ.ศ. 2561. (๒๕61, 29 มถิ ุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓5 ตอนพเิ ศษ 152 ง. หนา้ ๑-2. 3. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรอ่ื ง บัญชยี าหลักแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบท้ายประกาศ หนา้ ๒95). ยาไฟหา้ กอง ทีม่ าของตำ� รับยา สูตรต�ำรับทใ่ี กลเ้ คยี งตำ� รับน้ี พบในคัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒ [1] “ยาช่อื ไฟหา้ กอง เอา เจตมลู เพลงิ ขิง พรกิ ไทย สารส้ม ฝกั สม้ ปอ่ ย เอาส่งิ ละ ๑ บาท บดเปน็ ผงละลาย สรุ า หรือนำ�้ สม้ สา้ น�้ำร้อนกิน ขบั เลือดเนา่ และแกเ้ ลอื ดตขี ้นึ ” สตู รตำ� รับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนดิ รวมปริมาณ ๑๐๐ กรมั ดงั น้ี [2] ตวั ยา ปริมาณตัวยา ขิง ๒๐ กรัม เจตมูลเพลิงแดง ๒๐ กรัม พริกไทยลอ่ น ๒๐ กรมั สม้ ปอ่ ย (ฝกั ) ๒๐ กรมั สารสม้ ๒๐ กรัม สรรพคุณ ขบั น้ำ� คาวปลาในเรือนไฟ ช่วยใหม้ ดลกู เข้าอู่ รูปแบบยา ยาผง (ดภู าคผนวก 3.2), ยาแคปซลู (ดูภาคผนวก 3.3), ยาเม็ด (ดูภาคผนวก 3.4) ขนาดและวธิ ีการใช้ ยาผง คร้ังละ ๑-๑.๕ กรมั ละลายนำ้� สุกกินวันละ ๓ คร้งั กอ่ นอาหาร เชา้ กลางวัน และเยน็ ใหก้ นิ จนกว่าน้ำ� คาวปลาจะหมด แตไ่ มค่ วรเกิน ๑๕ วนั ยาแคปซูลและยาเม็ด ครง้ั ละ ๑-๑.๕ กรมั กนิ วนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ ให้กนิ จนกวา่ น้�ำคาวปลาจะหมด แต่ควรไม่เกนิ ๑๕ วนั ข้อห้ามใช ้ - หา้ มใช้ในหญงิ ตกเลอื ดหลังคลอด หญงิ ตัง้ ครรภ์ และผทู้ มี่ ไี ข้ - หา้ มใชห้ ญงิ ทีผ่ ่าคลอด เนือ่ งจากท�ำใหแ้ ผลหายช้า กระทรวงสาธารณสุข 325

ข้อมูลเพ่ิมเติม - ตัวยาสม้ ปอ่ ยตอ้ งป้งิ ไฟก่อนนำ� ไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.34) - ตัวยาสารสม้ ตอ้ งสะตกุ อ่ นน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก 2.40) เอกสารอ้างอิง ๑. โสภิตบรรณลักษณ์, ขุน (อ�ำพัน กิตติขจร). คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อตุ สาหกรรมการพมิ พ์; ๒๕๐๔. หนา้ ๒๑๗. 2. ประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติ เรอื่ ง บญั ชยี าหลกั แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖3. (๒๕๖3, 29 ตลุ าคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓7 ตอนพเิ ศษ 254 ง. หนา้ 3. (เอกสารแนบทา้ ยประกาศ หนา้ ๒96). ยามหากะเพรา ช่อื อ่ืน ยามหากระเพรา ทมี่ าของตำ� รบั ยา ๑. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๑ [1, 2] “ยาช่ือว่ามหากะเพราขนานนี้ ท่านให้เอาเทียนทั้งห้า เอาสิ่งละส่วน ตรีกฏุก เอาส่ิงละ ๔ ส่วน มหาหงิ กะเทยี ม เอาสิ่งละ ๘ สว่ น เเมอลกู าือใดบ1กะปเพวดรามเวทน่าหยาายทด้ังีนหักลา๚ย”รวมยา ๑๖ สิ่งนีท้ �ำเปนจุณ เอาสุราเปนกระสาย บดปัน้ แทง่ ไว้ละลายสรุ ากิน แกต้ ก ๒. แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ ๑ [3, 4] “ยาช่ือมหากระเพรา ท่านให้เอา เทียนท้ัง ๕ เอาสิ่งละ ๑ ส่วน ตรีกะฏุกเอาสิ่งละ ๔ ส่วน มหาหิงคุ์ ๑ กระเทียม ๑ เอาส่ิงละ ๘ ส่วน ใบกระเพราเอาเท่ายาทั้งหลาย รวมยา ๑๑ สิ่งนี้ท�ำเปนจุณ เอาสุรา เปนกระสายบดท�ำแท่งละลายสรุ ากนิ แก้ตกมกู ตกเลอื ด ปวดมวน” สูตรตำ� รับยา ประกอบดว้ ยตัวยา ๑๑ ชนดิ รวมปรมิ าณ 66 สว่ น ดงั นี้ ตัวยา ปริมาณตัวยา กะเพรา ๓๓ สว่ น กระเทยี ม ๘ สว่ น มหาหงิ ค์ุ ๘ ส่วน ขิงแหง้ ๔ ส่วน ดีปล ี ๔ สว่ น พรกิ ไทย ๔ ส่วน เทยี นขาว ๑ ส่วน เทยี นข้าวเปลือก ๑ ส่วน เทยี นด�ำ ๑ สว่ น เทียนแดง ๑ ส่วน เทยี นตาตก๊ั แตน ๑ สว่ น 326 รายการต�ำรบั ยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition

สรรพคณุ แกท้ ้องเสยี มมี กู เลอื ด แกป้ วดท้อง รูปแบบยา ยาเมด็ พมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) ขนาดและวธิ กี ารใช้ เด็ก อายุ 3-5 เดือน ครัง้ ละ 200 มิลลิกรัม อายุ 6-12 เดอื น ครั้งละ 300-400 มิลลิกรัม อายุ 1-6 ปี ครั้งละ 500-700 มิลลกิ รมั อายุ 6-12 ปี ครั้งละ 0.8-1 กรัม ละลายน้�ำสรุ า 4-5 หยด กนิ ทุก 3-5 ชัว่ โมง เม่อื มอี าการ ผใู้ หญ่ ครง้ั ละ 10 เมด็ ละลายนำ�้ สรุ า 4-5 หยด กนิ ทกุ 3-5 ชัว่ โมง เมอื่ มีอาการ ข้อหา้ มใช ้ ห้ามใช้ในผูท้ ี่มไี ข้ ตวั ร้อน ขอ้ ควรระวงั หากกนิ ยานีเ้ กนิ 1 วันแล้วอาการไมด่ ีขน้ึ ควรพบแพทย์ ข้อมูลเพิม่ เตมิ ตวั ยามหาหิงคุต์ อ้ งสะตุก่อนนำ� ไปใช้ (ดภู าคผนวก 2.23) เอกสารอ้างองิ 1. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลท่ี 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพ์ รนิ้ ตง้ิ แอนด์พับลิชชง่ิ จำ� กดั (มหาชน); 2542. ๒. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง การประกาศกําหนดตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตํารับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. 25๕๘. (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง. หน้า ๑-๓. ๓. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ ถนนอัษฎางค;์ ร.ศ. ๑๒๘. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การประกาศกาํ หนดตําราการแพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตาํ รับ ยาแผนไทยของชาติ (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๒๗๑ ง. หนา้ ๑. กระทรวงสาธารณสุข 327

ยามหากำ� ลัง ทม่ี าของตำ� รับยา ตำ� รบั ยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ [1, 2] “ยาช่ือมหาก�ำลังแต่คร้ังนรายนภบุรีย์ท�ำเสวยเปนเสนห์ให้หยากอาหาร ถึงมิได้กินอาหารวันก็ดี กินยาขนานนีช้ กู ำ� ลังไปได้แก้ไขอ้ ิดโรย จะถงึ มระภาพย ทา่ นให้เอาเกษรบวั หลวง ๑ ดอกบนุ นาก ๑ ผลบวั เกราะ ๑ ศีศะบัวขม ๑ ศีศะบัวเผื่อน ๑ ศีศะถ่ัวภู ๑ กระจับ ๑ ชเอมเทษ ๑ น้�ำตาลกรวด ๑ เอาสิ่งลส่วน ดอกยี่ซุ่น ๑ ใบกระวาน ๑ เข้าสานขั้ว ๑ เอาสิ่งละสามส่วน ท�ำผงบดด้วยน�้ำดอกไม้แทรกหย้าฝร่ันปั้นแท่งไว้ ลลายน�้ำดอกมลิ กินแก้อดิ โรยหอบหวิ หาย” สตู รต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา 12 ชนดิ รวมปริมาณ 18 ส่วน ดังนี้ ตวั ยา ปรมิ าณตวั ยา ขา้ วสาร (เมลด็ ) 3 ส่วน ใบกระวาน 3 ส่วน ยส่ี นุ่ 3 ส่วน กระจบั 1 สว่ น ชะเอมเทศ 1 สว่ น ถัว่ พู 1 สว่ น นำ้� ตาลกรวด 1 สว่ น บวั เกราะ 1 สว่ น บวั ขม (หวั ) 1 สว่ น บวั เผือ่ น (หวั ) 1 สว่ น บัวหลวง 1 สว่ น บุนนาค 1 สว่ น สรรพคณุ แก้อ่อนเพลีย บำ� รุงก�ำลังผู้สงู อายหุ ลงั ฟ้นื ไข้ รูปแบบยา ยาเม็ดพมิ พ์ (ดภู าคผนวก 3.4.1) วิธปี รุงยา บดเปน็ ผงละเอยี ดผสมน�้ำดอกไม้ แทรกหญา้ ฝรน่ั แล้วปั้นเป็นเมด็ ขนาดและวธิ กี ารใช้ คร้ังละ 1-1.๕ กรัม ละลายน�้ำดอกมะลิกินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเยน็ เอกสารอ้างองิ 1. สภากาชาดไทย. ต�ำรับยาสภาอณุ าโลมแดง ร.ศ. 112. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั รงุ่ ศลิ ป์ การพิมพ์ (1977) จำ� กัด; 2557. 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การประกาศกาํ หนดตาํ ราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารบั ยาแผนไทยของชาติ (ฉบับท่ี ๑1) พ.ศ. 25๖๐. (๒๕๖๐, ๒5 พฤษภาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๔๑ ง. หน้า 2-5. 328 รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบบั พ.ศ. 2564 ● National Thai Traditional Medicine Formulary 2021 Edition