Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนรวม

แผนรวม

Published by watcharaphongkiw, 2022-02-06 10:45:21

Description: แผนรวม

Search

Read the Text Version

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่........................ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรูว้ ันที่.......................เดอื น................................................พ.ศ.................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับ ชอื่ – สกลุ ความต้ังใจ ความสนใจ การตอบ มสี ว่ นรว่ ม รวม ระดับ ท่ี ในการ และการ คำถาม (16) คุณภาพ เรียน (4) ซกั ถาม (4) ใน (4) กจิ กรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชือ่ .............................................ผู้ประเมิน (………………………………………………………………) ...................../..................../...................

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมนิ 14-16 ดมี าก นักเรียนทีไ่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ้ึนไป ถอื ว่า ผา่ น 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 0-7 ปรับปรุง เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ (Rubric) ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ต้องปรบั ปรุง (1) 1. ความต้งั ใจใน การเรียน สนใจในการเรยี นไม่คุย สนใจในการเรยี นคุย สนใจในการเรียนคุย ไมส่ นใจในการเรยี น 2. ความสนใจ หรือเล่นกนั ในขณะ กนั เล็กนอ้ ยในขณะ กนั และเลน่ กัน คุยและเล่นกนั และการซกั ถาม เรียน เรียน ในขณะเรียนเป็น ในขณะเรียน 3. การตอบ คำถาม บางคร้ัง 4. มสี ว่ นรว่ มใน มกี ารถามในหวั ขอ้ ทตี่ น มกี ารถามในหัวขอ้ ท่ี มีการถามในหวั ข้อที่ ไมถ่ ามในหวั ขอ้ ที่ กิจกรรม ไม่เขา้ ใจทุกเร่อื งและ ตนไมเ่ ขา้ ใจเป็น ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ตนไมเ่ ขา้ ใจและไม่ กล้าแสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่คอ่ ย กล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก รว่ มตอบคำถามในเร่อื ง ร่วมตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม ทค่ี รถู ามและตอบ เรอ่ื งทค่ี รถู ามและ เรือ่ งท่ีครูถามเปน็ คำถามถูกทุกขอ้ ตอบคำถามส่วนมาก บางครั้งและตอบ ถูก คำถามถกู เป็น บางครงั้ รว่ มมอื และช่วยเหลอื รว่ มมอื และช่วยเหลือ รว่ มมือและช่วยเหลือ ไมม่ ีความรว่ มมอื เพ่ือนในการทำ เพ่ือนเปน็ สว่ นใหญใ่ น เพื่อนในการทำ ในขณะทำกิจกรรม กิจกรรม การทำกิจกรรม กิจกรรมเปน็ บางครั้ง

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรยี นที.่ .................ปีการศึกษา................. ชือ่ -สกุลนักเรียน...........................................................................ห้อง..............................เลขที่....................... คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด / ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน คา่ เฉลย่ี อนั พึงประสงค์ 3210 1.1 มีความรัก และภมู ิใจในความเป็นชาติ 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.2 ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนา กษตั รยิ ์ 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภกั ดีต่อสถาบัน พระมหากษตั ริย์ 2. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ 1.3 ปฏบิ ตั ิตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงต่อความเป็นจริงตอ่ ตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัตติ รงตอ่ ความเป็นจริงตอ่ ผู้อืน่ 3. มีวนิ ัย 3.1 เข้าเรยี นตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรยี บรอ้ ยเหมาะสมกับกาลเทศะ 3.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบของหอ้ ง 4. ใฝ่หาความรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ 4.2 มกี ารจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรู้ไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล 5. อยู่อยา่ ง 5.1 ใชท้ รัพยส์ ินและสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรียนอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า พอเพยี ง 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. ม่งุ ม่ัน 6.1 มคี วามต้งั ใจ และพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ ับ ในการทำงาน มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งาน สำเร็จ 7. รกั ความเปน็ 7.1 มีจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ไทย ไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ 8.1 รจู้ ักการให้เพื่อส่วนรวม และเพอ่ื ผ้อู ่นื สาธารณะ 8.2 แสดงออกถึงการมนี ำ้ ใจหรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื 8.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพ่ือส่วนรวมเมื่อมี โอกาส รวมคะแนน ลงชอ่ื ................................................ผู้ประเมิน (……………………………………………………………) ...................../..................../...................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติบางครง้ั ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทไ่ี ม่ไดป้ ฏิบัติ ให้ 0 คะแนน ระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม - คะแนน 21 – 24 ระดับคุณภาพ ดี - คะแนน 20 – 22 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ - คะแนน 12 – 19 ระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ - คะแนน 0 – 11





แผนการจัดการเรียนรอู้ อนไลน์ท่ี 10 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง อะตอมและตารางธาตุ เร่อื ง สมบตั ิของธาตตุ ามหมแู่ ละตามคาบ รายวิชา เคมี 1 รหัส ว31223 เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน นาย วัชรพงษ์ โสนทอง 1. ผลการเรียนรู้ - วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโน้มสมบัตขิ องธาตุเรพรเี ซนเททีฟตามหมแู่ ละตามคาบ 2. สาระการเรียนรู้ - ธาตเุ รพรีเซนเททฟี ในหมเู่ ดยี วกันมีจำนวนเวเลนซอ์ เิ ล็กตรอนเท่ากัน และธาตุทีอ่ ยใู่ นคาบเดยี วกนั มี เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอนในระดับพลงั งานหลกั เดียวกนั ธาตเุ รพรเี ซนเททีฟมสี มบตั ิทางเคมีคลา้ ยคลงึ กนั ตามหมู่ และ มแี นวโนม้ สมบัตบิ างประการเปน็ ไปตามหมแู่ ละตามคาบ เช่น ขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไนเซ ชนั อเิ ล็กโทรเนกาติวิตี สมั พรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1. อธิบายขนาดของอะตอมของธาตุเรพรีเซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบได้ 2. อธิบายรัศมีไอออนของธาตุเรพรเี ซนเททฟี ตามหม่แู ละตามคาบได้ 3. อธบิ ายพลงั งานไอออไนเซชันของธาตเุ รพรีเซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบได้ ดา้ นทกั ษะ (Process) 4. วิเคราะห์และบอกแนวโนม้ ขนาดของอะตอมของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมูแ่ ละตามคาบได้ 5. วิเคราะห์และบอกแนวโนม้ รัศมีไอออนของธาตุเรพรเี ซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบได้ 6. วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโนม้ รศั มีไอออนของธาตุเรพรีเซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบได้ ด้านเจตคติ (Affective) 7. ตงั้ ใจเรียนร้แู ละแสวงหาความรู้ 8. รบั ผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 9. นักเรียนมคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติงาน 4. ความคิดรวบยอด ธาตุเรพรีเซนเททฟี ในหมู่เดียวกันจะมีจำนวนเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนเทา่ กัน และธาตทุ ่ีอยู่ในคาบเดียวกัน จะมเี วเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนอยู่ในระดับพลงั งานหลกั เดยี วกัน ทำให้ธาตุเรพรีเซนเททีฟมีสมบัตคิ ลา้ ยคลงึ กันตามหมู่ และตามคาบ 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการสอื่ สาร  ความสารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ความซอ่ื สัตยส์ ุจริต  มีวนิ ัย ความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมน่ั ในการทำงาน มจี ติ สาธารณะ  ใฝ่เรียนรู้ รกั ความเปน็ ไทย 7. แนวความคดิ เพอ่ื การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ทักษะดา้ นการเรยี นร้แู ละนวตั กรรม  สาระวิชาหลกั (Core Subjects) ทักษะดา้ นชีวติ และอาชีพ  ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี 8. การบรู ณาการเรยี นรู้ พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของ ร.10  ดา้ นที่ 1 มีทัศนคติที่ถกู ตอ้ งต่อบา้ นเมือง  ดา้ นที่ 2 มพี นื้ ฐานชีวิตท่มี ่ันคง มีคุณธรรม  ด้านท่ี 3 มีงานทำ มีอาชพี  ด้านที่ 4 เปน็ พลเมอื งดี หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สูตรเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ (หลักสตู รท้องถิ่น) หลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา  สะเตม็ ศึกษา 9. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ วธิ สี อน โดยใช้กระบวนการสบื เสาะความรู้ (Inquiry Cycle หรือ Inquiry Method : 5E) 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนในชั่วโมงนี้ โดยครูตั้งคำถาม กระตุน้ ความคดิ เชน่ 1) เพราะเหตใุ ดธาตใุ นหมเู่ ดยี วกันจึงมสี มบัติท่ีคลา้ ยคลึงกนั (แนวตอบ : เพราะมเี วเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเท่ากัน) 2) นักเรียนคิดว่า ธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด

(แนวตอบ : ธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีสมบัติคล้ายคลึงกัน เนื่องจากมี เวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลงั งานหลกั เดยี วกนั ) 2. ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) 1. นักเรียนศึกษาเรื่อง ขนาดอะตอมและรศั มีไอออน จากหนังสือเรยี นเคมี ม.4 เล่ม 1 หน้า 52-55 แล้วสรปุ ความร้ทู ไ่ี ด้ลงในสมุดบนั ทกึ ของนักเรยี น 2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 2 คน ออกมาสรุปความรู้ เรื่อง ขนาดอะตอมและรัศมีไอออน ให้ เพอ่ื นฟงั ใน Google Meet 3. ครูทบทวนเกี่ยวกับการเกิดสเปกตรัม ว่าเส้นสเปกตรัมเกิดจากพลังงานทีอ่ ิเล็กตรอนคาย ออกมาเม่ือจะเปล่ยี นระดับช้นั พลงั งานจากระดบั สงู ไประดับต่ำ แต่อเิ ล็กตรอนไม่ไดห้ ลุดไปจากอะตอมด้วย ซ่ึง การจะทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกไปจากอะตอมได้ ต้องใช้พลังงานที่สูงกว่าการทำให้อิเล็กตรอนเปลี่ยน ระดบั ช้ันพลังงาน เรียกว่า พลงั งานไอออไนเซชนั 4. นักเรียนศึกษาเรือ่ ง พลังงานไอออไนเซชัน จากหนังสอื เรียนเคมี ม.4 เล่ม 1 หน้า 55-57 แล้วสรุปความร้ทู ่ไี ด้ลงในสมุดบนั ทึกของนกั เรยี น 5. ครูสุม่ ตัวแทนนักเรยี นอีก 2 คู่ ออกมาสรปุ ความรู้ เรอ่ื ง พลังงานไอออไนเซชัน ใหเ้ พ่อื นฟัง ใน Google Meet 3. ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 1. ครตู ั้งคำถามใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเรื่อง ขนาดอะตอมและรศั มีไอออน เช่น 1) ธาตุเรพรเี ซนเททฟี มแี นวโนม้ ของขนาดอะตอมตามหมู่และตามคาบเป็นอยา่ งไร (แนวตอบ : ในหมู่เดียวกัน อะตอมจะมีขนาดใหญ่ขึ้น เมื่อเลขอะตอม เพม่ิ ขึ้นในคาบเดยี วกัน อะตอมจะมขี นาดเล็กลง เม่ือเลขอะตอมเพม่ิ ขึ้น) 2) แนวโน้มของรศั มไี อออนของธาตุเรพรเี ซนเททฟี เปน็ อยา่ งไร (แนวตอบ : เมือ่ มจี ำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน ไอออนบวกจะมีขนาดเล็กกว่า ไอออนลบ และไอออนบวกที่มีประจุมากจะมีขนาดเล็กกวา่ ไอออนบวกที่มีประจุน้อย แต่ไอออนลบที่มีประจุ มากจะมขี นาดใหญก่ ว่าไอออนลบทมี่ ปี ระจุนอ้ ย) 2. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกับขนาดอะตอมและรัศมีไอออน ซึง่ เมือ่ เรยี นจบ หวั ข้อน้ีแล้ว นักเรยี นควรสรปุ สาระสำคัญได้ ดังน้ี • อะตอมของธาตุในหมู่เดียวกันจะมีขนาดใหญข่ นึ้ เมอ่ื เลขอะตอมเพิ่มขึน้ เพราะ การเพิ่มของจำนวนระดับพลังงานมีผลตอ่ ขนาดอะตอมมากกว่าการเพ่ิมจำนวนโปรตอนในนวิ เคลียส • อะตอมของธาตุในหมู่เดยี วกันจะมีขนาดเล็กลง เม่ือเลขอะตอมเพม่ิ ขึ้น เพราะมี เวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่มีโปรตอนในนิวเคลียสมากขึ้น ธาตุที่มีจำนวนโปรตอน มากกว่าจะดงึ ดูดเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนให้เข้าใกล้นิวเคลียสได้มากกว่า ขนาดอะตอมจงึ เล็กกวา่ • ไอออนบวกจะมขี นาดเล็กกวา่ อะตอมเดมิ เนอ่ื งจากอะตอมเสียอิเล็กตรอนไป แรง ดึงดดู ระหวา่ งประจใุ นนวิ เคลียสกบั อิเล็กตรอนจงึ เพิ่มข้ึน • ไอออนลบจะมีขนาดใหญ่กวา่ อะตอมเดิม เน่อื งจากมจี ำนวนอิเลก็ ตรอนเพิ่มขึน้ ขอบเขตกลมุ่ หมอกอิเล็กตรอนจึงขยายออกไปจากเดิม • รศั มีไอออนของธาตุในหมู่เดียวกันจะมขี นาดใหญ่ขน้ึ เมื่อเลขอะตอมเพิม่ ขึน้ • เมอื่ มกี ารจดั เรยี งอิเล็กตรอนเหมอื นกัน ไอออนบวกทมี่ ปี ระจมุ ากจะมีขนาดเล็ก กว่าไอออนบวกท่มี ีประจนุ ้อย แตไ่ อออนลบท่ีมีประจมุ ากจะมีขนาดใหญ่กวา่ ไอออนลบทีม่ ปี ระจนุ อ้ ย 3. ครตู ง้ั คำถามใหน้ ักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเรอ่ื ง พลงั งานไอออไนเซชนั เช่น 1) พลังงานไอออไนเซชนั คอื อะไร (แนวตอบ : พลงั งานไอออไนเซชนั คือ ค่าพลังงานทน่ี อ้ ยท่สี ุดทใ่ี ช้ในการดึง อิเลก็ ตรอนใหห้ ลดุ ออกจากอะตอมในสภาวะแกส๊ )

2) ธาตุเรพรีเซนเททีฟมีแนวโน้มของพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ตามหมู่และ ตามคาบเป็นอยา่ งไร (แนวตอบ : ในหมู่เดียวกนั พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 (IE1) จะลดลง เมอื่ เลขอะตอมเพม่ิ ข้ึนในคาบเดียวกนั พลงั งานไอออไนเซชันลำดบั ท่ี 1 (IE1) จะเพมิ่ ขึ้น เมอื่ เลขอะตอมเพมิ่ ข้นึ ) 4. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเกยี่ วกบั พลงั งานไอออไนเซชนั ซ่งึ เมอ่ื เรียนจบหัวข้อน้ีแล้ว นกั เรยี นควรสรปุ สาระสำคัญได้ ดังน้ี • พลังงานไอออไนเซชนั เปน็ พลงั งานปริมาณนอ้ ยที่สุดทท่ี ำใหอ้ ิเลก็ ตรอนหลดุ ออกจาก อะตอมในสถานะแก๊ส ซึ่งพลังงานไอออไนเซชันจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนใน นวิ เคลียสกบั อเิ ล็กตรอน ถ้าอิเลก็ ตรอนไดร้ บั แรงดึงดดู จากนวิ เคลยี สมาก พลังงานไอออไนเซชนั กจ็ ะสงู • ธาตทุ ี่มหี ลายอเิ ลก็ ตรอนจะมพี ลงั งานไอออไนเซชนั ไดห้ ลายค่า โดยพลงั งานไอออ ไนเซชนั ลำดับที่ 1 จะมคี า่ นอ้ ยกว่าลำดบั สงู ขนึ้ ไป • อิเลก็ ตรอนที่อย่ใู นระดบั พลังงานเดยี วกันจะมคี า่ พลงั งานไอออไนเซชันใกล้เคยี งกนั แต่ถ้าอยู่ในระดับพลังงานตา่ งกนั ค่าพลังงานไอออไนเซชันก็จะตา่ งกนั มาก • พลังงานไอออไนเซชันลำดบั ท่ี 1 ของธาตใุ นหม่เู ดยี วกนั จะมคี ่าลดลง เมื่อเลขอะตอม เพม่ิ ข้ึน เนือ่ งจากอะตอมมขี นาดใหญข่ ึ้น เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนอยหู่ ่างจากโปรตอนมากขึน้ • พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุในคาบเดียวกันจะมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อเลข อะตอมเพิม่ ขน้ึ เนือ่ งจากแรงดงึ ดดู ระหว่างโปรตอนและอเิ ล็กตรอนมีค่ามากขึ้น 4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เรอ่ื ง ขนาดอะตอม จนนกั เรยี นเกดิ ความเข้าใจท่ตี รงกนั 2. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความรเู้ ร่ือง รศั มีไอออน จนนกั เรยี นเกิดความเข้าใจท่ีตรงกนั 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง พลังงานไอออนไนเซชัน จนนักเรียนเกิดความ เขา้ ใจทตี่ รงกนั 4. ครูให้นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.5 เร่ือง สมบัตขิ องธาตใุ นตารางธาตุ 5. ขั้นประเมนิ (Evaluation) 1. ครูประเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคำถาม และการรว่ มกนั ทำผลงาน 2. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงานท่ี 2.5 เรอ่ื ง สมบตั ขิ องธาตใุ นตารางธาตุ 3. ครวู ดั และประเมินผลจากช้ินงานท่นี ักเรียนได้สร้างข้นึ จากขัน้ ขยายความเข้าใจ 10. วสั ดุ อุปกรณ์ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี นวชิ า เคมี ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 อะตอมและตารางธาตุ 2) PowerPoint เรื่อง สมบตั ขิ องธาตุตามหมู่และตามคาบ 3) ใบงานที่ 2.5 เรื่อง สมบตั ิของธาตุในตารางธาตุ 4) วิธีการเข้าเรยี นออนไลน์ : http://www.ky.ac.th/datashow_65268 5) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

การวัดและการประเมนิ ผล วิธีการวัด เครื่องมอื ทใ่ี ช้วดั เกณฑก์ ารวัดและ การวดั ผล และการประเมินผล และการประเมินผล การประเมนิ ผล 1. Google Classroom ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ประเมนิ ผลดา้ น 1. สรุปความร้เู รอ่ื ง 60 ขึน้ ไป 1. ด้านความรู้ (K) ขนาดอะตอม รัศมี 1. ใบงานท่ี 2.5 เร่ือง ไอออน พลงั งานไอออ สมบตั ิของธาตุในตาราง ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 2. ดา้ นทักษะ (P) ไนดซชัน ธาตุ 60 ขึ้นไป แบบสงั เกตพฤติกรรมการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ 1. คำถามในใบงานท่ี มีส่วนรว่ มในการทำงาน ระดบั คณุ ภาพ ประสงค์ (A) 2.5 เรื่อง สมบัติของ เปน็ กลุ่ม ดี ขึ้นไป ธาตุในตารางธาตุ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมเปน็ รายบุคคล การสงั เกตพฤติกรรม การมสี ่วนร่วมในการ ทำงานเป็นกลุม่ การสงั เกตพฤตกิ รรม เป็นรายบุคคล

ใบงานท่ี 2.5 เร่อื ง สมบัติของธาตใุ นตารางธาตุ คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ธาตใุ นหมู่เดียวกนั จะมแี นวโน้มของขนาดอะตอมเปน็ อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..… 2. ธาตุ A B และ C เป็นธาตหุ มู่ 1A 2A และ 3A ตามลำดับ และอยู่ในคาบเดียวกัน จงเรยี งลำดบั สมบัติ ตอ่ ไปนจี้ ากมากไปนอ้ ย 2.1 จดุ หลอมเหลว…………………………………………………………..………………………..………………………………….. 2.2 พลงั งานไอออไนเซชนั ลำดับที่ 1………………………………………..………………………..…………………………… 2.3 รศั มีไอออน…………..……………………………………………..………………………..……………………………………….. 3. K M N O P และ Q เป็นธาตุที่อยู่ในหม่เู ดียวกนั จากบนลงล่าง จงทำนายสมบตั ิของธาตตุ อ่ ไปน้ี 3.1 ธาตใุ ดควรมขี นาดอะตอมเลก็ ที่สดุ ……..………………………………………..……..…………………………………..….. 3.2 ธาตใุ ดควรมคี ่าอเิ ลก็ โทรเนกาติวติ สี ูงท่ีสุด……..…………………………………….……..………………………………… 3.3 ธาตุ P ควรมีพลงั งานไอออไนเซชนั ลำดับท่ี 1 สูงหรอื ตำ่ กวา่ ธาตุ.…………………………………………………… 4. จงเรียงลำดับขนาดไอออนของไอออนต่อไปน้ี 12Mg2+ 16S2- และ 19K+ จากเลก็ ไปใหญ่ …………………..……………………………………………………………………………………………………..………………………..… 5. ธาตชุ นดิ หนงึ่ มีคา่ พลงั งานไอออไนเซชัน ดงั น้ี 0.79 1.57 2.23 14.13 17.23 20.08 23.56 26.67 27.95 29.91 32.52 80.25 90.29 MJ/mol 5.1 ธาตุนี้น่าจะเป็นธาตใุ ดในตารางธาตุ เพราะเหตุใด……………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………..……………………….. …………………………………………………………………………………………………………………..……………………….. ……………………………….…………………………………………………………………………………..………………………. 5.2 ธาตนุ ้ีมจี ำนวนอเิ ลก็ ตรอนทั้งหมดเทา่ ใด…………………………………………………….……..……………………….. 5.3 ธาตุน้มี เี ลขอะตอมเท่าใด ……………………….………………………………..………………………..……..……………… 6. ค่าอเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตีของธาตุอโลหะเป็นอยา่ งไร ธาตุอโลหะใดทมี่ ีค่าอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ีสงู ที่สดุ ในตาราง ธาตุ ………………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…

เฉลยใบงานที่ 2.5 เรื่อง สมบัติของธาตุในตารางธาตุ คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ธาตใุ นหมูเ่ ดยี วกันจะมีแนวโนม้ ของขนาดอะตอมเปน็ อย่างไร ธาตทุ ่ีอยูใ่ นหมูเ่ ดยี วกัน จะมขี นาดอะตอมใหญข่ นึ้ เมอ่ื เลขอะตอมเพมิ่ ขน้ึ 2. ธาตุ A B และ C เป็นธาตุหมู่ 1A 2A และ 3A ตามลำดับ และอยู่ในคาบเดยี วกนั จงเรยี งลำดบั สมบัติ ตอ่ ไปนี้จากมากไปนอ้ ย 2.1 จุดหลอมเหลว C > B > A 2.2 พลังงานไอออไนเซชนั ลำดับที่ 1 C > B > A 2.3 รศั มไี อออน A > B > C 3. K M N O P และ Q เป็นธาตทุ ่อี ยู่ในหมเู่ ดียวกนั จากบนลงลา่ ง จงทำนายสมบัติของธาตตุ อ่ ไปนี้ 3.1 ธาตุใดควรมขี นาดอะตอมเล็กที่สดุ K 3.2 ธาตใุ ดควรมคี ่าอเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ ีสงู ท่ีสุด K 3.3 ธาตุ P ควรมีพลงั งานไอออไนเซชนั ลำดับที่ 1 สูงหรอื ต่ำกว่าธาตุ F สงู กวา่ 4. จงเรียงลำดบั ขนาดไอออนของไอออนต่อไปน้ี 12Mg2+ 16S2- และ 19K+ จากเล็กไปใหญ่ 12Mg2+ < 19K+ < 16S2- 5. ธาตุชนิดหนึง่ มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน ดังน้ี 0.79 1.57 2.23 14.13 17.23 20.08 23.56 26.67 27.95 29.91 32.52 80.25 90.29 MJ/mol 5.1 ธาตนุ ีน้ ่าจะเป็นธาตใุ ดในตารางธาตุ เพราะเหตใุ ด ธาตอุ ะลูมเิ นยี ม ซ่ึงสามารถอธิบายได้จากผลต่างของ ค่าพลังงานไอออไนเซชันในแต่ละระดับชั้นพลังงานได้ ดังนี้ 0.79, 1.57, 2.23, / 14.13, 17.23, 20.08, 23.56, 26.67, 27.95, 29.91, 32.52, / 80.25, 90.29 MJ/mol ซง่ึ สามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนได้เป็น 2, 8, 3 ธาตุน้ีจึงอย่หู มู่ที่ 3 คาบที่ 3 5.2 ธาตุนมี้ ีจำนวนอเิ ลก็ ตรอนทง้ั หมดเท่าใด 13 5.3 ธาตุน้มี ีเลขอะตอมเท่าใด 13 6. ค่าอิเลก็ โทรเนกาตวิ ติ ขี องธาตอุ โลหะเป็นอย่างไร ธาตุอโลหะใดท่ีมีค่าอิเล็กโทรเนกาตวิ ิตีสงู ที่สดุ ในตาราง ธาตุ ธาตุอโลหะส่วนใหญ่จะมีค่าอเิ ลก็ โทรเนกาติวิตีสูง โดยฟลูออรีนเป็นธาตุที่มีคา่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงทสี่ ุด

แบบประเมินการทำโจทย์ปญั หา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี........................ วันท่.ี ......................เดอื น................................................พ.ศ.................................. ลำดับท่ี ช่อื – สกุล คะแนน 4 3 21 1 2 ลงชือ่ ................................................ผู้ประเมนิ 3 (……………………………………………………………) 4 ...................../..................../................... 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 การให้คะแนน/ระดบั คะแนน ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3) ดีมาก (4) วเิ คราะห์โจทย์ได้ วเิ คราะห์โจทย์ และ วิเคราะหโ์ จทย์ เลอื กใช้ วเิ คราะห์โจทย์ เลอื กใช้ ถกู ตอ้ ง วิธีการหาคำตอบ คำนวณ เลอื กใชว้ ิธกี ารหา วิธีการหาคำตอบ และ และสรุปคำตอบไดถ้ กู ต้อง คำตอบได้ถกู ตอ้ ง คำนวณไดถ้ ูกต้อง

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี........................ วนั ที.่ ......................เดือน................................................พ.ศ.................................. การ การ ความ การมี แสดง การ ทำงาน ลำดบั ช่ือ–สกุล ความ มี สว่ นร่วมใน รวม ท่ี คิดเห็น ยอมรับฟงั ตามท่ี นำ้ ใจ การปรับปรุง (15) (3) คนอ่ืน ไดร้ บั (3) ผลงานกลุ่ม (3) มอบหมาย (3) (3) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชอ่ื ...........................................ผู้ประเมิน (…………………………………………………) ...................../..................../...................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่........................ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรูว้ ันที่.......................เดอื น................................................พ.ศ.................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับ ชอื่ – สกลุ ความต้ังใจ ความสนใจ การตอบ มสี ว่ นรว่ ม รวม ระดับ ท่ี ในการ และการ คำถาม ใน (16) คุณภาพ เรียน (4) ซกั ถาม (4) (4) กจิ กรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชือ่ .............................................ผู้ประเมิน (………………………………………………………………) ...................../..................../...................

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมนิ 14-16 ดมี าก นักเรียนทีไ่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ้ึนไป ถอื ว่า ผา่ น 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 0-7 ปรับปรุง เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ (Rubric) ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ต้องปรบั ปรุง (1) 1. ความต้งั ใจใน การเรียน สนใจในการเรยี นไม่คุย สนใจในการเรยี นคุย สนใจในการเรียนคุย ไมส่ นใจในการเรยี น 2. ความสนใจ หรือเล่นกนั ในขณะ กนั เล็กนอ้ ยในขณะ กนั และเลน่ กัน คุยและเล่นกนั และการซกั ถาม เรียน เรียน ในขณะเรียนเป็น ในขณะเรียน 3. การตอบ คำถาม บางคร้ัง 4. มสี ว่ นรว่ มใน มกี ารถามในหวั ขอ้ ทตี่ น มกี ารถามในหัวขอ้ ท่ี มีการถามในหวั ข้อที่ ไมถ่ ามในหวั ขอ้ ที่ กิจกรรม ไม่เขา้ ใจทุกเร่อื งและ ตนไมเ่ ขา้ ใจเป็น ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ตนไมเ่ ขา้ ใจและไม่ กล้าแสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่คอ่ ย กล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก รว่ มตอบคำถามในเร่อื ง ร่วมตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม ทค่ี รถู ามและตอบ เรอ่ื งทค่ี รถู ามและ เรือ่ งท่ีครูถามเปน็ คำถามถูกทุกขอ้ ตอบคำถามส่วนมาก บางครั้งและตอบ ถูก คำถามถกู เป็น บางครงั้ รว่ มมอื และช่วยเหลอื รว่ มมอื และช่วยเหลือ รว่ มมือและช่วยเหลือ ไมม่ ีความรว่ มมอื เพ่ือนในการทำ เพ่ือนเปน็ สว่ นใหญใ่ น เพื่อนในการทำ ในขณะทำกิจกรรม กิจกรรม การทำกิจกรรม กิจกรรมเปน็ บางครั้ง

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรยี นที.่ .................ปีการศึกษา................. ชือ่ -สกุลนักเรียน...........................................................................ห้อง..............................เลขที่....................... คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด / ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน คา่ เฉลย่ี อนั พึงประสงค์ 3210 1.1 มีความรัก และภมู ิใจในความเป็นชาติ 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.2 ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนา กษตั รยิ ์ 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภกั ดีต่อสถาบัน พระมหากษตั ริย์ 2. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ 1.3 ปฏบิ ตั ิตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงต่อความเป็นจริงตอ่ ตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัตติ รงตอ่ ความเป็นจริงตอ่ ผู้อืน่ 3. มีวนิ ัย 3.1 เข้าเรยี นตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรยี บรอ้ ยเหมาะสมกับกาลเทศะ 3.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบของหอ้ ง 4. ใฝ่หาความรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ 4.2 มกี ารจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรู้ไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล 5. อยู่อยา่ ง 5.1 ใชท้ รัพยส์ ินและสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรียนอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า พอเพยี ง 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. ม่งุ ม่ัน 6.1 มคี วามต้งั ใจ และพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ ับ ในการทำงาน มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งาน สำเร็จ 7. รกั ความเปน็ 7.1 มีจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ไทย ไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ 8.1 รจู้ ักการให้เพื่อส่วนรวม และเพอ่ื ผ้อู ่นื สาธารณะ 8.2 แสดงออกถึงการมนี ำ้ ใจหรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลือ ผอู้ น่ื 8.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพ่ือส่วนรวมเมื่อมี โอกาส รวมคะแนน ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน (……………………………………………………………) ...................../..................../...................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติบางครง้ั ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทไ่ี ม่ไดป้ ฏิบัติ ให้ 0 คะแนน ระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม - คะแนน 21 – 24 ระดับคุณภาพ ดี - คะแนน 20 – 22 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ - คะแนน 12 – 19 ระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ - คะแนน 0 – 11





แผนการจัดการเรยี นร้อู อนไลนท์ ี่ 11 กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง อะตอมและตารางธาตุ เรอื่ ง สมบตั ขิ องธาตตุ ามหมู่และตามคาบ รายวชิ า เคมี 1 รหัส ว31223 เวลา 2 ช่ัวโมง ครผู สู้ อน นาย วัชรพงษ์ โสนทอง 1. ผลการเรียนรู้ - วเิ คราะห์และบอกแนวโนม้ สมบัติของธาตุเรพรเี ซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบ 2. สาระการเรยี นรู้ - ธาตเุ รพรีเซนเททีฟในหมูเ่ ดยี วกนั มจี ำนวนเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนเท่ากัน และธาตุท่อี ยู่ในคาบเดยี วกันมี เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลักเดยี วกัน ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี มีสมบตั ิทางเคมีคลา้ ยคลงึ กนั ตามหมู่ และ มีแนวโนม้ สมบตั ิบางประการเปน็ ไปตามหมู่และตามคาบ เช่น ขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไนเซ ชัน อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ติ ี สมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1. อธิบายอเิ ล็กโทรเนกาติวติ ีของธาตุเรพรีเซนเททฟี ตามหมูแ่ ละตามคาบได้ 2. อธบิ ายสมั พรรคภาพอิเล็กตรอนของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบได้ 3. อธบิ ายจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวของธาตเุ รพรีเซนเททฟี ตามหมูแ่ ละตามคาบได้ 4. อธบิ ายเลขออกซิเดชันของธาตเุ รพรีเซนเททฟี ตามหม่แู ละตามคาบได้ ดา้ นทักษะ (Process) 5. วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโนม้ อิเล็กโทรเนกาตวิ ิตีของธาตเุ รพรีเซนเททีฟตามหม่แู ละตามคาบได้ 6. วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโน้มสัมพรรคภาพของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมูแ่ ละตามคาบได้ 7. วิเคราะห์และบอกแนวโน้มจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตาม คาบได้ ด้านเจตคติ (Affective) 8. ตงั้ ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ 9. รับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 10. นกั เรียนมีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน 4. ความคิดรวบยอด ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี ในหมู่เดยี วกนั จะมีจำนวนเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนเท่ากัน และธาตทุ ่อี ยู่ในคาบเดียวกัน จะมเี วเลนซอ์ ิเล็กตรอนอยู่ในระดบั พลังงานหลักเดียวกัน ทำให้ธาตุเรพรีเซนเททฟี มสี มบัติคล้ายคลงึ กันตามหมู่ และตามคาบ

5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น  ความสามารถในการสอื่ สาร  ความสารถในการคิด  ความสามารถในการแกป้ ัญหา  ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์  ความซอื่ สัตยส์ ุจริต  มวี นิ ยั ความรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ อยู่อย่างพอเพียง  มงุ่ ม่นั ในการทำงาน มีจติ สาธารณะ  ใฝ่เรยี นรู้ รกั ความเปน็ ไทย 7. แนวความคิดเพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทักษะดา้ นการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรม  สาระวิชาหลกั (Core Subjects) ทกั ษะด้านชีวติ และอาชพี  ทักษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 8. การบูรณาการเรยี นรู้ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ ร.10  ดา้ นท่ี 1 มที ัศนคติท่ีถูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง  ดา้ นที่ 2 มพี ื้นฐานชีวิตท่ีม่นั คง มีคุณธรรม  ด้านท่ี 3 มีงานทำ มีอาชพี  ด้านท่ี 4 เปน็ พลเมอื งดี หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักสูตรเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ (หลกั สตู รท้องถิ่น) หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา  สะเต็มศกึ ษา

9. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ วิธีสอน โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะความรู้ (Inquiry Cycle หรือ Inquiry Method : 5E) 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูกลา่ วทักทายนกั เรียน จากน้นั เปดิ คลิปวดิ ีโอ เรอื่ งคา่ อิเล็กโทรเนกาติวิตี จาก Youtube : https://www.youtube.com/watch?v=RpSGb-R7p1k เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้เกดิ คความสนใจในเร่อื งนี้ มากย่ิงข้ึน 2. ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูทบทวนความรเู้ ก่ียวกับการรวมตัวของอะตอมของธาตุเกิดเปน็ โมเลกลุ ของสารประกอบ โดยการใช้อเิ ล็กตรอนรว่ มกัน 2. นักเรียนศึกษาเรื่อง อเิ ลก็ โทรเนกาติวติ ี จากหนังสอื เรียนเคมี ม.4 เล่ม 1 หนา้ 57-58 แล้ว สรปุ ความรูท้ ีไ่ ดล้ งในสมดุ บนั ทกึ ของนักเรยี น 3. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนอีก 2 คู่ ออกมาสรุปความรู้ เรื่อง อิเล็กโทรเนกาติวิตี ให้เพื่อนฟัง หนา้ ชั้นเรียน 4. นักเรียนจับคู่กบั เพื่อนที่นั่งข้างกนั แล้วศึกษาเรื่อง สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน จากหนังสอื เรียนเคมี ม.4 เล่ม 1 หนา้ 58-59 แล้วสรปุ ความรูท้ ี่ได้ลงในสมุดบนั ทกึ ของนกั เรียน 5. ครูสุ่มตวั แทนนกั เรยี นอีก 2 คู่ ออกมาสรุปความรู้ เร่ือง สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอน ให้เพื่อน ฟังหนา้ ชน้ั เรียน 6. ครูให้ความรู้ว่า โมเลกุลของสารจะมารวมตัวอยู่ร่วมกันกันจะต้องมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกัน และกัน ซงึ่ จะมคี ่ามากหรือน้อยก็ข้นึ อย่กู ับชนิดของสาร และแรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกุลของสารจะมีผลต่อ จุดเดอื ดและจุดหลอมเหลวของสาร 7. นกั เรียนจับคู่กบั เพอ่ื นทน่ี ัง่ ขา้ งกัน แลว้ ศกึ ษาเร่ือง จุดเดือดและจดุ หลอมเหลว จากหนงั สือ เรียนเคมี ม.4 เลม่ 1 หน้า 59-61 แล้วสรุปความร้ทู ี่ไดล้ งในสมุดบนั ทกึ ของนกั เรยี น 8. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนอีก 2 คู่ ออกมาสรุปความรู้ เรื่อง จุดเดือดและจุดหลอมเหลว ให้ เพื่อนฟงั หน้าช้ันเรยี น 9. ครูนำเข้าสู่การเรียนเรื่อง เลขออกซิเดชัน โดยทบทวนความรู้เกี่ยวกับการให้และรับ อิเล็กตรอนเกิดเปน็ ไอออน การใชอ้ ิเลก็ ตรอนร่วมกนั เกดิ เปน็ โมเลกลุ โคเวเลนต์ และคา่ อเิ ล็กโทรเนกาติวติ ี 10. นกั เรยี นจบั คู่กับเพ่ือนที่นัง่ ข้างกนั แลว้ ศึกษาเร่ือง เลขออกซิเดชนั จากหนังสือเรียนเคมี ม.4 เล่ม 1 หนา้ 61-62 3. ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ครูตง้ั คำถามใหน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ รายเรอื่ ง อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตี เช่น 1) อิเลก็ โทรเนกาตวิ ิตคี อื อะไร (แนวตอบ : อิเล็กโทรเนกาติวิตี คือ ค่าความสามารถของอะตอมในการ ดึงดูดอิเล็กตรอนของอะตอมคู่ที่เกิดพนั ธะ) 2) ธาตุเรพรเี ซนเททฟี มีแนวโน้มของค่าอเิ ล็กโทรเนกาติวิตีตามหมู่และตามคาบเป็น อยา่ งไร (แนวตอบ : ในหมู่เดียวกัน ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี (EN) จะลดลง เมื่อเลข อะตอมเพ่ิมข้ึนในคาบเดียวกนั ค่าอิเลก็ โทรเนกาตวิ ิตี (EN) จะเพ่ิมขน้ึ เมอ่ื เลขอะตอมเพ่มิ ขน้ึ ) 2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกบั ค่าอเิ ล็กโทรเนกาตวิ ติ ี ซึ่งเมือ่ เรียนจบหวั ข้อน้ีแลว้ นักเรียนควรสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้ • ค่าอเิ ล็กโทรเนกาตวิ ติ ีของธาตุจะขนึ้ อย่กู บั แรงดงึ ดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนคู่ ที่ใชร้ ว่ มกันของอะตอมคู่หนงึ่ ๆ • คา่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในหมเู่ ดยี วกันจะมีคา่ ลดลง เม่อื เลขอะตอมเพม่ิ ข้นึ

เน่ืองจากอะตอม มีขนาดใหญ่ข้ึน • คา่ อิเลก็ โทรเนกาตวิ ิตีของธาตุในคาบเดียวกนั จะมีค่าเพ่มิ ขึ้น เมอื่ เลขอะตอมเพ่มิ ข้ึน เนื่องจากอะตอมมขี นาดเล็กลง 3. ครตู ั้งคำถามใหน้ ักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเรอ่ื ง สัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอน เชน่ 1) สมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน คอื อะไร (แนวตอบ : สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน คือ ค่าพลังงานที่คายออกมาเม่ือ อะตอมในสถานะแก๊สไดร้ ับอเิ ล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน) 2) ธาตุเรพรีเซนเททีฟมีแนวโน้มของสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนตามหมู่และตามคาบ เป็นอยา่ งไร (แนวตอบ : ในหมูเ่ ดียวกนั คา่ สมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน (EA) จะลดลง เม่ือ เลขอะตอมเพิ่มขน้ึ ในคาบเดยี วกนั ค่าสัมพรรคภาพอิเลก็ ตรอน (EA) จะเพ่ิมขนึ้ เมอ่ื เลขอะตอมเพิม่ ข้นึ ) 4. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเกีย่ วกับสมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน ซ่ึงเมือ่ เรยี นจบหวั ขอ้ น้ีแลว้ นักเรยี นควรสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้ • คา่ สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอนเป็นคา่ ความสามารถในการรบั อิเลก็ ตรอนของธาตุ ซ่งึ คือ พลังงานคายออกมาเม่อื อะตอมในสถานะแก๊สได้รบั อเิ ล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน • อะตอมท่ีรับอิเล็กตรอนได้ดี จะคายพลังงานออกมามาก ทำให้มีค่าสัมพรรคภาพ อิเล็กตรอนเป็นลบมาก ส่วนอะตอมที่รับอิเล็กตรอนได้ยาก จะคายพลังงานออกมาน้อย ทำให้มีค่าสัมพรรค ภาพอิเล็กตรอนเป็นลบนอ้ ย หรือเป็นบวก • เม่อื พจิ ารณาตามหมู่ ธาตุหมู่ 1A และ 2A มีแนวโน้มรับอิเล็กตรอนได้ยากจากบน ลงล่าง ส่วนธาตุหมู่ 7A มแี นวโน้มรับอเิ ลก็ ตรอนไดง้ ่าย แตก่ ารรับอิเล็กตรอนจะยากข้นึ จากบนลงลา่ ง ส่วนธาตุ หม่อู ่นื ยงั มีแนวโนม้ ไมช่ ัดเจน • เมอ่ื พจิ ารณาตามคาบ ธาตุหมู่ 1A-3A มีแนวโน้มรบั อิเลก็ ตรอนได้ยาก โดยธาตหุ มู่ 2A จะรับอิเล็กตรอนได้ยากที่สุด ส่วนธาตุหมู่ 4A-7A มีแนวโน้มรับอิเล็กตรอนได้ง่าย โดยธาตุหมู่ 7A จะรับ อิเลก็ ตรอนได้งา่ ยท่สี ดุ 5. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง จุดเดือดและจุดหลอมเหลว และเลข ออกซิเดชนั เชน่ 1) เพราะเหตุใดจดุ เดือดและจดุ หลอมเหลวของธาตุหมู่ 4A จงึ มีแนวโนม้ ท่ไี มช่ ัดเจน (แนวตอบ : เนื่องจากธาตุหมู่ 4A มีโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมท่ีแตกต่างกนั จึงไมส่ ามารถสรุปแนวโนม้ ของจดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวได้) 2) ไฮโดรเจนมีเลขออกซเิ ดชันไดก้ ค่ี ่า อะไรบ้าง (แนวตอบ : 2 ค่า คือ เม่อื รวมกบั ธาตุอโลหะ หรอื กลมุ่ ของไอออนลบ จะมี เลขออกซิเดชนั +1 แตถ่ า้ รวมกบั ธาตุโลหะ จะมีเลขออกซเิ ดชัน -1) 6. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกับจุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลว และเลขออกซเิ ดชัน ซึง่ เม่ือเรยี นจบหัวขอ้ นี้แล้ว นกั เรยี นควรสรุปสาระสำคัญได้ ดงั นี้ • ในหมู่เดยี วกนั ธาตหุ มู่ 1A-3A จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวจะมีแนวโน้มลดลง เมอ่ื เลขอะตอมเพิ่มขึ้น ธาตุหมู่ 4A จุดเดือดและจุดหลอมเหลวมีแนวโน้มไม่ชัดเจน ส่วนธาตุหมู่ 5A-8A จุดเดือด และจุดหลอมเหลวจะมีแนวโน้มเพมิ่ ขน้ึ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ข้ึน • ในคาบเดยี วกนั ธาตุหมู่ 1A-4A จดุ เดือดและจุดหลอมเหลวจะมแี นวโนม้ เพ่มิ ขน้ึ เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น โดยธาตุหมู่ 4A จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงที่สุด ส่วนธาตุหมู่ 5A-8A จุดเดือด และจุดหลอมเหลวจะมแี นวโนม้ ลดลง เมอ่ื เลขอะตอมเพม่ิ ขึน้ • เลขออกซิเดชันเปน็ ตวั เลขท่แี สดงถงึ ค่าประจไุ ฟฟา้ ของอะตอมของธาตใุ นโมเลกุล ของสารประกอบ หรอื ไอออนของสารนัน้

4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง สมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบ จนนักเรียน เกดิ ความเข้าใจทตี่ รงกนั 2. นักเรยี นทำใบงานที่ 2.6 เรื่อง เลขออกซิเดชนั 3. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 3 คน สรุปความรู้เรื่อง สมบัตขิ องธาตุตามหมแู่ ละตามคาบ โดย นำเสนอในรูปแบบที่นา่ สนใจผ่าน Google Meet 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 1. ครูประเมนิ ผลโดยการสงั เกตการตอบคำถาม และการร่วมกนั ทำผลงาน 2. ครปู ระเมินผลจากงานที่ให้สรปุ ลงในสมุดบันทึก 3. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงานท่ี 2.6 เรอ่ื ง เลขออกซิเดชัน 4. ครูวัดและประเมินผลจากชิน้ งานทนี่ กั เรยี นได้สร้างขึ้นจากขั้นขยายความเข้าใจ 10. วัสดุ อุปกรณ์ สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิชา เคมี ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 อะตอมและตารางธาตุ 2) PowerPoint เรือ่ ง สมบตั ขิ องธาตุตามหมูแ่ ละตามคาบ 3) Youtube : https://www.youtube.com/watch?v=RpSGb-R7p1k เร่อื ง ค่าอิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี 4) วธิ ีการเขา้ เรยี นออนไลน์ : http://www.ky.ac.th/datashow_65268 4) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ การวดั และการประเมนิ ผล วิธีการวัด เคร่ืองมอื ที่ใช้วดั เกณฑก์ ารวัดและ การวัดผล และการประเมินผล และการประเมนิ ผล การประเมินผล 1. Google Classroom ได้คะแนนร้อยละ ประเมินผลด้าน 1. สรปุ ความรเู้ รอื่ ง 60 ขึน้ ไป 1. ด้านความรู้ (K) อเิ ลก็ โทรเนกาติวติ ี สมั 1. ใบงานท่ี 2.6 เรอื่ ง เลข พรรคภาพอิเล็กตรอน ออกซิเดชัน ไดค้ ะแนนร้อยละ 2. ด้านทกั ษะ (P) จดุ เดือดและจดุ 60 ข้นึ ไป หลอมเหลว เลข แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึง ออกซเิ ดชัน มสี ่วนร่วมในการทำงาน ระดบั คุณภาพ ประสงค์ (A) เป็นกลมุ่ ดี ข้ึนไป 1. คำถามในใบงานท่ี แบบสงั เกตพฤตกิ รรมเป็น 2.6 เรอื่ ง เลข รายบคุ คล ออกซิเดชนั การสงั เกตพฤติกรรม การมีส่วนร่วมในการ ทำงานเป็นกลุ่ม การสงั เกตพฤตกิ รรม เป็นรายบคุ คล

ใบงานที่ 2.6 เรอื่ ง เลขออกซเิ ดชัน คำชี้แจง : จงหาเลขออกซิเดชนั ของธาตุทุกตัวในสารประกอบหรือสมการเคมีทกี่ ำหนดให้ สารประกอบ/สมการเคมี เลขออกซเิ ดชนั Mn ใน MnO-4 P ใน (NH4)2HPO4 Pb ใน PbCrO4 Co ใน Na2[CoCl4] Na3[Fe(CN)6] [Cr(NH3)4Cl2] [Co(NH3)4SO4]NO3 HBrO2 K2SO4 + 2AgNO3 → 2KNO3 + Ag2SO4 3NH4Br + CrPO4 → CrBr3 + (NH4)3PO4 Zn3Sb2 + 6H2O → 3Zn(OH)2 + 2SbH3 Sb2S3 + 12HCl → 2H3SbCl6 + 3H2S

เฉลยใบงานที่ 2.6 เร่อื ง เลขออกซเิ ดชนั คำชี้แจง : จงหาเลขออกซเิ ดชันของธาตุทุกตวั ในสารประกอบหรอื สมการเคมีทีก่ ำหนดให้ สารประกอบ/สมการเคมี เลขออกซิเดชนั Mn ใน MnO-4 Mn = +7 P ใน (NH4)2HPO4 P = +5 Pb ใน PbCrO4 Pb = +2 Co ใน Na2[CoCl4] Co = +2 Na3[Fe(CN)6] Na = +1 Fe = +3 C = +2 N = -3 [Cr(NH3)4Cl2] Cr = +2 N = -3 H = +1 Cl = -1 [Co(NH3)4SO4]NO3 Co = +3 N ใน NH3 = -3 H = +1 S = +6 O = -2 N ใน NO3 = +5 HBrO2 H = +1 Br = +3 O = -2 K2SO4 + 2AgNO3 → 2KNO3 + Ag2SO4 K = +1 S = +6 O = -2 Ag = +1 N = +5 3NH4Br + CrPO4 → CrBr3 + (NH4)3PO4 N = +3 H = +1 Br = -1 Cr = +3 P = +5 O = -2 Zn3Sb2 + 6H2O → 3Zn(OH)2 + 2SbH3 Zn = +2 Sb = -3 H = +1 O = -2 Sb2S3 + 12HCl → 2H3SbCl6 + 3H2S Sb = +3 S = -2 H = +1 Cl = -1

แบบประเมินการทำโจทย์ปญั หา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี........................ วันท่.ี ......................เดอื น................................................พ.ศ.................................. ลำดับท่ี ช่อื – สกุล คะแนน 4 3 21 1 2 ลงชือ่ ................................................ผู้ประเมนิ 3 (……………………………………………………………) 4 ...................../..................../................... 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 การให้คะแนน/ระดบั คะแนน ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3) ดีมาก (4) วเิ คราะห์โจทย์ได้ วเิ คราะห์โจทย์ และ วิเคราะหโ์ จทย์ เลอื กใช้ วเิ คราะห์โจทย์ เลอื กใช้ ถกู ตอ้ ง วิธีการหาคำตอบ คำนวณ เลอื กใชว้ ิธกี ารหา วิธีการหาคำตอบ และ และสรุปคำตอบไดถ้ กู ต้อง คำตอบได้ถกู ตอ้ ง คำนวณไดถ้ ูกต้อง

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี........................ วนั ที.่ ......................เดือน................................................พ.ศ.................................. การ การ ความ การมี แสดง การ ทำงาน ลำดบั ช่ือ–สกุล ความ มี สว่ นร่วมใน รวม ท่ี คิดเห็น ยอมรับฟงั ตามท่ี นำ้ ใจ การปรับปรุง (15) (3) คนอ่ืน ไดร้ บั (3) ผลงานกลุ่ม (3) มอบหมาย (3) (3) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชอ่ื ...........................................ผู้ประเมิน (…………………………………………………) ...................../..................../...................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่........................ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรูว้ ันที่.......................เดอื น................................................พ.ศ.................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับ ชอื่ – สกลุ ความต้ังใจ ความสนใจ การตอบ มสี ว่ นรว่ ม รวม ระดับ ท่ี ในการ และการ คำถาม ใน (16) คุณภาพ เรียน (4) ซกั ถาม (4) (4) กจิ กรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชือ่ .............................................ผู้ประเมิน (………………………………………………………………) ...................../..................../...................

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมนิ 14-16 ดมี าก นักเรียนทีไ่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ้ึนไป ถอื ว่า ผา่ น 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 0-7 ปรับปรุง เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ (Rubric) ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ต้องปรบั ปรุง (1) 1. ความต้งั ใจใน การเรียน สนใจในการเรยี นไม่คุย สนใจในการเรยี นคุย สนใจในการเรียนคุย ไมส่ นใจในการเรยี น 2. ความสนใจ หรือเล่นกนั ในขณะ กนั เล็กนอ้ ยในขณะ กนั และเลน่ กัน คุยและเล่นกนั และการซกั ถาม เรียน เรียน ในขณะเรียนเป็น ในขณะเรียน 3. การตอบ คำถาม บางคร้ัง 4. มสี ว่ นรว่ มใน มกี ารถามในหวั ขอ้ ทตี่ น มกี ารถามในหัวขอ้ ท่ี มีการถามในหวั ข้อที่ ไมถ่ ามในหวั ขอ้ ที่ กิจกรรม ไม่เขา้ ใจทุกเร่อื งและ ตนไมเ่ ขา้ ใจเป็น ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ตนไมเ่ ขา้ ใจและไม่ กล้าแสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่คอ่ ย กล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก รว่ มตอบคำถามในเร่อื ง ร่วมตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม ทค่ี รถู ามและตอบ เรอ่ื งทค่ี รถู ามและ เรือ่ งท่ีครูถามเปน็ คำถามถูกทุกขอ้ ตอบคำถามส่วนมาก บางครั้งและตอบ ถูก คำถามถกู เป็น บางครงั้ รว่ มมอื และช่วยเหลอื รว่ มมอื และช่วยเหลือ รว่ มมือและช่วยเหลือ ไมม่ ีความรว่ มมอื เพ่ือนในการทำ เพ่ือนเปน็ สว่ นใหญใ่ น เพื่อนในการทำ ในขณะทำกิจกรรม กิจกรรม การทำกิจกรรม กิจกรรมเปน็ บางครั้ง

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรยี นที.่ .................ปีการศึกษา................. ชือ่ -สกุลนักเรียน...........................................................................ห้อง..............................เลขที่....................... คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด / ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน คา่ เฉลย่ี อนั พึงประสงค์ 3210 1.1 มีความรัก และภมู ิใจในความเป็นชาติ 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.2 ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนา กษตั รยิ ์ 1.3 แสดงออกถึงความจงรักภกั ดีต่อสถาบัน พระมหากษตั ริย์ 2. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ 1.3 ปฏบิ ตั ิตามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงต่อความเป็นจริงตอ่ ตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัตติ รงตอ่ ความเป็นจริงตอ่ ผู้อืน่ 3. มีวนิ ัย 3.1 เข้าเรยี นตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรยี บรอ้ ยเหมาะสมกับกาลเทศะ 3.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบของหอ้ ง 4. ใฝ่หาความรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ 4.2 มกี ารจดบันทกึ ความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรู้ไดอ้ ยา่ งมเี หตุผล 5. อยู่อยา่ ง 5.1 ใชท้ รัพยส์ ินและสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรียนอย่างประหยดั และรคู้ ณุ ค่า พอเพยี ง 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. ม่งุ ม่ัน 6.1 มคี วามต้งั ใจ และพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ ับ ในการทำงาน มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งาน สำเร็จ 7. รกั ความเปน็ 7.1 มีจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ไทย ไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ 8.1 รจู้ ักการให้เพื่อส่วนรวม และเพอ่ื ผ้อู ่นื สาธารณะ 8.2 แสดงออกถึงการมนี ำ้ ใจหรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื 8.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพ่ือส่วนรวมเมื่อมี โอกาส รวมคะแนน ลงชอ่ื ................................................ผู้ประเมิน (……………………………………………………………) ...................../..................../...................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน - พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทไ่ี ม่ไดป้ ฏิบัติ ให้ 0 คะแนน ระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดีเย่ยี ม - คะแนน 21 – 24 ระดับคุณภาพ ดี - คะแนน 20 – 22 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ - คะแนน 12 – 19 ระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ - คะแนน 0 – 11





แผนการจดั การเรยี นรอู้ อนไลน์ท่ี 12 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง อะตอมและตารางธาตุ เรอื่ ง ธาตแุ ทรนซิชนั รายวชิ า เคมี 1 รหัส ว31223 เวลา 2 ช่วั โมง ครผู ู้สอน นาย วชั รพงษ์ โสนทอง 1. ผลการเรยี นรู้ - บอกสมบัติของธาตโุ ลหะแทรนซิชัน และเปรียบเทยี บสมบัติกับธาตโุ ลหะในกลุม่ ธาตุเรพรเี ซนเททีฟ 2. สาระการเรยี นรู้ - ธาตุแทรนซิชันเป็นโลหะที่สว่ นใหญม่ เี วเลนซอ์ ิเล็กตรอนเทา่ กับ 2 มขี นาดอะตอมใกลเ้ คยี งกนั มจี ดุ เดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนน่ สงู เกดิ ปฏิกิริยากับนำ้ ไดช้ ้ากว่าธาตุโลหะในกลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี เมอื่ เกิดเป็นสารประกอบสว่ นใหญจ่ ะมสี ี 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge) 1. อธิบายสมบัตขิ องธาตแุ ทรนซชิ นั ได้ ด้านทักษะ (Process) 2. เปรียบเทียบสมบัติของธาตุแทรนซิชันกบั ธาตุโลหะในกลุ่มธาตเุ รพรีเซนเททฟี วิเคราะหแ์ ละบอก แนวโน้มสมั พรรคภาพของธาตุเรพรีเซนเททฟี ตามหมแู่ ละตามคาบได้ 3. ใช้เครอื่ งมือและอุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. ปฏบิ ัติตามขัน้ ตอนการทดลองไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ด้านเจตคติ (Affective) 5. ตง้ั ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ 6. รบั ผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4. ความคิดรวบยอด ธาตแุ ทรนซิชันเปน็ โลหะ มขี นาดอะตอมใกลเ้ คยี งกัน มีจดุ เดือด จดุ หลอมเหลว และความหนาแน่นสูง เมื่อเกดิ เป็นสารประกอบสว่ นใหญ่จะมสี ี 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน  ความสามารถในการส่อื สาร  ความสารถในการคดิ  ความสามารถในการแกป้ ญั หา  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ความซื่อสัตยส์ ุจริต  มีวินัย ความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมั่นในการทำงาน มีจติ สาธารณะ  ใฝ่เรียนรู้ รกั ความเป็นไทย 7. แนวความคดิ เพอ่ื การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ทกั ษะดา้ นการเรียนรู้และนวัตกรรม  สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ  ทักษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี 8. การบูรณาการเรยี นรู้ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ ร.10  ดา้ นที่ 1 มที ัศนคติท่ีถกู ตอ้ งตอ่ บ้านเมือง  ด้านท่ี 2 มพี ื้นฐานชีวิตท่ีมัน่ คง มีคณุ ธรรม  ดา้ นที่ 3 มงี านทำ มีอาชพี  ด้านที่ 4 เปน็ พลเมอื งดี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสตู รเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ (หลกั สูตรท้องถ่นิ ) หลกั สตู รต้านทุจริตศกึ ษา  สะเตม็ ศึกษา 9. กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะความรู้ (Inquiry Cycle หรือ Inquiry Method : 5E) 1. ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครทู บทวนความรู้เดิมเก่ยี วกบั ธาตใุ นตารางธาตุ ดังนี้ • ตารางธาตแุ บ่งออกเปน็ 18 หมู่ 7 คาบ • ตารางธาตุทีใ่ ช้อยู่ในปจั จุบนั แบ่งธาตุในแนวตั้งออกเป็น 18 แถว โดยเรียกแถวใน แนวตง้ั ว่า “หมู่” ธาตใุ นแนวต้งั ยงั แบง่ ออกเป็นธาตกุ ลมุ่ A และธาตกุ ลมุ่ B - กลุ่ม A มี 8 หมู่ คือ 1A ถงึ 8A เรียกว่า ธาตเุ รพรีเซนเททฟี - กล่มุ B มี 8 หมู่ คอื 1B ถึง 8B (โดยหมู่ 8B จะมี 3 แถว) เรียกว่า ธาตแุ ทรนซชิ นั

2. นักเรียนพิจารณาตารางธาตุจากหนังสือเรียนเคมี ม.4 เล่ม 1 หน้า 63 แล้วใช้คำถาม กระตุ้นความสนใจของนกั เรยี น ดังนี้ 1) นักเรียนคิดว่า ธาตุกลุ่ม B ที่ปรากฏในตารางธาตุ มีสมบัติแตกต่างจาก ธาตกุ ลุ่ม A หรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : แตกต่างกนั ซึง่ นกั เรียนจะไดศ้ ึกษาสมบตั ิของธาตุกลุ่ม B ในลำดับตอ่ ไป) 2) นักเรียนคิดว่า ธาตุกลุ่ม B ทุกธาตุจะมีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร (แนวตอบ : มที ั้งเหมอื นและแตกต่างกนั เชน่ ทกุ ธาตใุ นกล่มุ B จะ เป็นโลหะ ส่วนใหญ่จะมีมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ยกเว้นธาตุโครเมียม และทองแดง ที่มีเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเปน็ 1 เป็นต้น) 3. นกั เรียนแตล่ ะคนช่วยกันตอบคำถาม 2. ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับตารางธาตุในปัจจุบัน และให้สังเกตการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ จากนน้ั ถามคำถามกระตุน้ ความคิดของนกั เรยี น ดงั น้ี 1) ตารางธาตุที่นักเรียนเห็นมีลักษณะอย่างไร และมีการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ อย่างไร (แนวตอบ : ตารางธาตุแบ่งออกเป็น 18 หมู่ 7 คาบ ซึ่งแบ่งเป็น ธาตุหมู่ A หรือธาตุเรพรเี ซนเททฟี คือ ธาตุหมู่ 1A ถึงหมู่ 8A และธาตหุ มู่ B หรือธาตุแทรนซิชนั ซง่ึ ตารางธาตุจะจัดเรียง ตามเลขอะตอมของธาตจุ ากซ้ายไปขวา) 2. ครูอธิบายเสริมเกี่ยวกับธาตุแทรนซิชนั ว่า คาบที่ 6 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกมี 18 ธาตุ คอื Cs ถงึ Rn กลุม่ ทสี่ องมี 14 ธาตุ คือ Ce ถงึ Lu ซง่ึ มีชอื่ เรียกว่า กลมุ่ ธาตุแลนทาไนด์ และคาบท่ี 7 แบง่ เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเร่ิมจาก Fr เป็นต้นไป และมกี ารค้นพบเพม่ิ ขึ้นอยตู่ ลอดเวลา สว่ นกลุ่มท่สี องมี 14 ธาตุ คอื Th ถงึ Lr ซ่ึงมชี ื่อเรียกว่า กลุ่มธาตแุ อกทไิ นด์ 3. นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุแทรนซิชัน ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน เคมี ม.4 เลม่ 1 หนา้ 63-65 3. ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติของธาตุแทรนซิชัน โดยพิจารณาตารางท่ี 2.9 จากหนงั สอื เรียนเคมี ม.4 เลม่ 1 หน้า 64 ประกอบการอภิปราย เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรุป ดงั นี้ • ธาตุแทรนซิชันมีค่า IE1 และค่า EN ต่ำ คล้ายธาตุ K และ Ca แต่มีจุดหลอมเหลว จุดเดอื ด และความหนาแนน่ สงู กวา่ K และ Ca ซง่ึ เปน็ โลหะ ดังน้ัน ธาตแุ ทรนซิชนั จึงมีสมบตั เิ ปน็ โลหะ • ธาตุแทรนซชิ ันมีขนาดอะตอมใกลเ้ คยี งกนั 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุแทรน ซิชัน ดังนี้ • ถ้าจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานแล้วลงท้ายเป็น 11 ถึง 20 จะเป็น ธาตุแทรนซิชัน • ธาตุหมู่ B จะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ยกเว้น 24Cr และ 29Cu จะมี เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 • อเิ ล็กตรอนถดั จากวงนอกสดุ เข้ามา 1 ระดบั ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเปน็ 8 หรือ 18 เป็นเลข อะไรกไ็ ด้ 3. ครูยกตัวอย่างการจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานหลักของธาตุแทรนซิชนั เช่น 26Fe มกี ารจัดเรียงอเิ ล็กตรอนเปน็ 2 8 14 2 ซง่ึ จะเหน็ วา่ ระดบั พลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนเกิน 8 อยู่ 6 อเิ ลก็ ตรอน

4. ครูอธบิ ายสรปุ เกีย่ วกบั สมบัติของธาตุแทรนซิชัน และเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนได้สอบถามใน ส่วนท่ีมีข้อสงสยั 5. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบของธาตแุ ทรนซิชัน โดยแบ่งกลุม่ ใหน้ ักเรียน กลุ่มละ 5-6 คน 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มดูวดิ ีโอการทดลองเรื่อง การศึกษาสมบัติของโครเมียมและแมงกานสี และบันทึกผลการทดลอง ลงในใบกจิ กรรม เร่อื ง ศึกษาสมบัติของโครเมียมและแมงกานีส 4. ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูชี้ให้นกั เรียนเหน็ วา่ ธาตุแทรนซิชันมีเลขออกซิเดชันได้หลายคา่ ซึ่งสีของสารประกอบ กบั เลขออกซเิ ดชนั ของธาตแุ ทรนซิชันจะมีความสมั พันธ์กนั โดยการท่ีธาตุแทรนซิชันมีเลขออกซิเดชันได้หลาย ค่า เพราะการจัดเรียงอิเลก็ ตรอนมีลักษณะพิเศษ ซึง่ ต่างจากการจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนของธาตกุ ลุ่ม A โดยถ้าเป็น ธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 ความพิเศษจะอยู่ที่ 3d กับ 4s (คาบที่ 5 อยู่ที่ 4d กับ 5s และต่อ ๆ ไป) เช่น โครเมียม (Cr) เมือ่ อยู่ในภาวะปกติ และเม่ืออยูใ่ นสารประกอบตา่ ง ๆ จะมกี ารจดั เรียงอิเลก็ ตรอน ดังนี้ โครเมียม การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอน เลข ตัวอย่างสาร 24Cr ออกซิเดชนั Cr 24Cr+ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d5 4s1 24Cr2+ หรอื [Ar] 3d5 4s1 0 24Cr3+ 24Cr4+ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d5 4s0 +1 ไมพ่ บในธรรมชาติ 24Cr5+ หรอื [Ar] 3d5 4s0 24Cr6+ +2 CrO 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d4 4s0 หรือ [Ar] 3d4 4s0 +3 CrCl3 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d3 4s0 +4 CrI4 หรือ [Ar] 3d3 4s0 +5 CrF5 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d2 4s0 หรอื [Ar] 3d2 4s0 +6 CrO3 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d1 4s0 หรือ [Ar] 3d1 4s0 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d0 4s0 หรอื [Ar] 3d0 4s0 จากตาราง จะเห็นว่า โครเมียมมีเลขออกซิเดชันได้ตั้งแต่ 0 ถึง +6 อะตอมจะเสีย อิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานนอกสุด คือ 4s ก่อน จากนน้ั จึงเสียอเิ ลก็ ตรอนทีร่ ะดบั พลงั งาน 3d ทำใหโ้ ครเมียม มเี ลขออกซิเดชันหลายค่า ธาตแุ ทรนซิชนั อ่ืน ๆ กจ็ ะมสี มบัตทิ ำนองเดียวกนั น้ี จงึ มเี ลขออกซิเดชันได้หลายค่า และเกิดสารประกอบได้หลายชนิดเช่นกัน 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง สมบัติและสารประกอบของธาตุแทรนซิชัน จน นกั เรียนเกดิ ความเข้าใจท่ีตรงกัน 3. นักเรยี นทำใบงานท่ี 2.5 เรือ่ ง ธาตแุ ทรนซชิ ัน 5. ขัน้ ประเมนิ (Evaluation) 1. ครูประเมนิ ผลโดยการสงั เกตการตอบคำถาม และการร่วมกันทำผลงาน 2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบกิจกกรม เร่ือง การศกึ ษาสมบัติของโครเมยี มและแมงกานีส 3. ครตู รวจสอบผลจากการทำใบงานที่ 2.5 เรอื่ ง ธาตุแทรนซิชนั

10. วัสดุ อปุ กรณ์ ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิชา เคมี ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 อะตอมและตารางธาตุ 2) PowerPoint เรื่อง ธาตแุ ทรนซชิ ัน 3) Youtube : https://www.youtube.com/watch?v=zxpyZSPUOJQ เร่ือง การศกึ ษาสมบัตขิ อง โครเมียมและแมงกานีส 4) ใบกิจกรรม เรื่อง การศึกษาสมบัติของโครเมียมและแมงกานสี 5) ใบงานที่ 2.5 เร่ือง ธาตแุ ทรนซิชัน 6) วิธีการเข้าเรยี นออนไลน์ : http://www.ky.ac.th/datashow_65268 7) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ การวดั และการประเมินผล วธิ กี ารวดั เคร่ืองมอื ทใ่ี ชว้ ัด เกณฑก์ ารวัดและ การวัดผล และการประเมนิ ผล และการประเมินผล การประเมินผล 1. ใบงานท่ี 2.5 เรือ่ ง ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ประเมนิ ผลดา้ น 1. ตรวจใบงานที่ 2.5 ธาตุแทรนซิชนั 60 ขน้ึ ไป 1. ด้านความรู้ (K) เรื่อง ธาตแุ ทรนซชิ ัน 1. ใบกจิ กรรม เรื่อง ได้คะแนนร้อยละ การศกึ ษาสมบัตขิ อง 60 ขนึ้ ไป 2. ด้านทักษะ (P) 1. ตรวจใบกจิ กรรม โครเมียมและแมงกานสี เรื่อง การศึกษาสมบัติ ระดบั คณุ ภาพ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ของโครเมยี มและ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ดี ขนึ้ ไป ประสงค์ (A) แมงกานสี มสี ่วนร่วมในการทำงาน เปน็ กลุ่ม การสงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมเปน็ การมสี ว่ นรว่ มในการ รายบุคคล ทำงานเป็นกลมุ่ การสังเกตพฤตกิ รรม เปน็ รายบุคคล

ใบงานที่ 2.5 เรือ่ ง ธาตแุ ทรนซชิ ัน คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. จงอธบิ ายความหมายของธาตแุ ทรนซชิ ัน ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. 2. ธาตแุ ทรนซิชนั แบ่งออกเปน็ กี่หมู่ ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. 3. ธาตุแทรนซชิ ันมีความแตกต่างจากโลหะหมู่ 1A อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. 4. ธาตแุ ทรนซิชันหมู่ 8B มีทั้งหมดกีธ่ าตุ ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. 5. ธาตแุ ทรนซชิ นั มีคุณสมบตั ิอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. 6. แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของสมบัติต่าง ๆ ของธาตุแทรนซิชันในคาบเดียวกันจะเหมือนหรอื แตกต่างจาก ธาตุเรพรเี ซนเททีฟอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. 7. ธาตุอนกุ รมแทรนซิชันที่ 1 มีอะไรบ้าง และขนาดของอะตอมมแี นวโนม้ เป็นอยา่ งไรจากซา้ ยไปขวา ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………..………………………..…….

เฉลยใบงานที่ 2.5 เรอ่ื ง ธาตุแทรนซชิ นั คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. จงอธบิ ายความหมายของธาตุแทรนซชิ นั ธาตุแทรนซชิ ัน คอื กลมุ่ ธาตุทมี่ ีตำแหน่งอยู่ระหว่างธาตุหมู่ 2A และ 3A ในตารางธาตุ โดยเปน็ ธาตุในบลอ็ ก- ดี (d-block) โดยธาตุท้ังหมดน้จี ะมอี ยา่ งนอ้ ย 1 รปู แบบ ทมี่ ี 1 ไอออน ที่อยู่ในวงโคจร-ดี (d shell of electrons) 2. ธาตุแทรนซชิ ันแบ่งออกเป็นก่หี มู่ ธาตุแทรนซชิ นั แบง่ ออกเปน็ 8 หมู่ โดยเรมิ่ จาก 3B จนถงึ 2B ในตารางธาตุ 3. ธาตุแทรนซิชนั มคี วามแตกตา่ งจากโลหะหมู่ 1A อย่างไร สว่ นใหญเ่ น้อื โลหะจะแขง็ กวา่ ธาตุหมู่ 1A (ยกเวน้ ปรอท) และปฏิกริ ยิ าจะไม่รุนแรงเท่ากับหมู่ 1A 4. ธาตแุ ทรนซิชนั หมู่ 8B มีท้ังหมดก่ีธาตุ หมู่ 8B (ธาตหุ มู่ชุดสาม หรอื ไทรแอด) มีท้ังหมด 9 ธาตุ ซึง่ มสี มบัติใกลเ้ คียงกนั มาก จึงจัดไวใ้ นหมู่เดยี วกนั 5. ธาตุแทรนซิชนั มคี ุณสมบัติอย่างไร มสี ถานะเป็นของแขง็ ท่ีอณุ หภูมหิ อ้ ง ยกเว้นปรอทเปน็ ของเหลว มจี ุดหลอมเหลว จุดเดอื ด และความ หนาแนน่ สงู นำไฟฟ้าได้ดี ซึ่งในโลหะแทรนซิชัน ธาตุท่ีนำไฟฟ้าได้ดีท่ีสุด คือ เงิน และรองลงมา คอื ทอง นำ ความรอ้ นไดด้ ี สารประกอบของธาตุแทรนซชิ นั สว่ นใหญ่จะมีสี 6. แนวโน้มการเปลย่ี นแปลงของสมบตั ิตา่ ง ๆ ของธาตุแทรนซิชันในคาบเดียวกันจะเหมือนหรอื แตกตา่ งจาก ธาตุเรพรเี ซนเททีฟอยา่ งไร ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี ซึง่ อยใู่ น s-block หรอื p-block ในตารางธาตุ ธาตทุ างซา้ ยมือจะเปน็ โลหะ ส่วนธาตุ ทางขวามือจะเปน็ อโลหะ ส่วนธาตุแทรนซชิ ันจะไมพ่ บแนวโนม้ ดงั กล่าว เพราะธาตทุ กุ ตัวเป็นโลหะท้งั หมด 7. ธาตุอนุกรมแทรนซชิ ันที่ 1 มอี ะไรบา้ ง และขนาดของอะตอมมแี นวโน้มเปน็ อย่างไรจากซ้ายไปขวา ธาตุอนุกรมแทรนซชิ นั ที่ 1 เริ่มต้ังแตธ่ าตุทีม่ เี ลขอะตอม 21 ถงึ 30 ดงั น้ี Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu และ Zn รศั มอี ะตอมของธาตุเหลา่ นีโ้ ดยทั่วไปแล้วมขี นาดเล็กลง เมือ่ เลขอะตอมเพมิ่ ขน้ึ แต่รัศมีอะตอมของ ธาตตุ ่าง ๆ ตง้ั แตโ่ ครเมียม (Cr) ถงึ ทองแดง (Cu) จะมขี นาดใกล้เคียงกนั มาก ทงั้ นี้เนอ่ื งจากแม้วา่ ธาตุในแถว เดียวกันจะมีประจนุ ิวเคลยี สเพ่ิมขนึ้ ซง่ึ ทำให้หมอกอิเล็กตรอนเลก็ ลงกต็ าม แต่ 3d อเิ ลก็ ตรอนมีจำนวนมาก ขนึ้ และมีแรงต้านการหดขนาดของหมอกอเิ ล็กตรอน จึงทำให้ขนาดอะตอมของธาตุในอนุกรมแทรนซิชันนี้ ไมค่ อ่ ยเปลย่ี นแปลงมากนกั และจะลดลงอยา่ งช้า ๆ เทา่ นน้ั

แบบประเมินการทำโจทย์ปญั หา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี........................ วันท่.ี ......................เดอื น................................................พ.ศ.................................. ลำดับท่ี ช่อื – สกุล คะแนน 4 3 21 1 2 ลงชือ่ ................................................ผู้ประเมนิ 3 (……………………………………………………………) 4 ...................../..................../................... 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 การให้คะแนน/ระดบั คะแนน ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3) ดีมาก (4) วเิ คราะห์โจทย์ได้ วเิ คราะห์โจทย์ และ วิเคราะหโ์ จทย์ เลอื กใช้ วเิ คราะห์โจทย์ เลอื กใช้ ถกู ตอ้ ง วิธีการหาคำตอบ คำนวณ เลอื กใชว้ ิธกี ารหา วิธีการหาคำตอบ และ และสรุปคำตอบไดถ้ กู ต้อง คำตอบได้ถกู ตอ้ ง คำนวณไดถ้ ูกต้อง

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี........................ วนั ที.่ ......................เดือน................................................พ.ศ.................................. การ การ ความ การมี แสดง การ ทำงาน ลำดบั ช่ือ–สกุล ความ มี สว่ นร่วมใน รวม ท่ี คิดเห็น ยอมรับฟงั ตามท่ี นำ้ ใจ การปรับปรุง (15) (3) คนอ่ืน ไดร้ บั (3) ผลงานกลุ่ม (3) มอบหมาย (3) (3) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชอ่ื ...........................................ผู้ประเมิน (…………………………………………………) ...................../..................../...................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่........................ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรูว้ ันที่.......................เดอื น................................................พ.ศ.................. เกณฑ์การให้คะแนน ลำดับ ชอื่ – สกลุ ความต้ังใจ ความสนใจ การตอบ มสี ว่ นรว่ ม รวม ระดับ ท่ี ในการ และการ คำถาม ใน (16) คุณภาพ เรียน (4) ซกั ถาม (4) (4) กจิ กรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ลงชือ่ .............................................ผู้ประเมิน (………………………………………………………………) ...................../..................../...................

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารสรุปผลการประเมนิ 14-16 ดมี าก นักเรียนทีไ่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใชข้ ้ึนไป ถอื ว่า ผา่ น 11-13 ดี 8-10 พอใช้ 0-7 ปรับปรุง เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ (Rubric) ประเดน็ การ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ต้องปรบั ปรุง (1) 1. ความต้งั ใจใน การเรียน สนใจในการเรยี นไม่คุย สนใจในการเรยี นคุย สนใจในการเรียนคุย ไมส่ นใจในการเรยี น 2. ความสนใจ หรือเล่นกนั ในขณะ กนั เล็กนอ้ ยในขณะ กนั และเลน่ กัน คุยและเล่นกนั และการซกั ถาม เรียน เรียน ในขณะเรียนเป็น ในขณะเรียน 3. การตอบ คำถาม บางคร้ัง 4. มสี ว่ นรว่ มใน มกี ารถามในหวั ขอ้ ทตี่ น มกี ารถามในหัวขอ้ ท่ี มีการถามในหวั ข้อที่ ไมถ่ ามในหวั ขอ้ ที่ กิจกรรม ไม่เขา้ ใจทุกเร่อื งและ ตนไมเ่ ขา้ ใจเป็น ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ตนไมเ่ ขา้ ใจและไม่ กล้าแสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางคร้งั และไม่คอ่ ย กล้าแสดงออก แสดงออก กลา้ แสดงออก รว่ มตอบคำถามในเร่อื ง ร่วมตอบคำถามใน ร่วมตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม ทค่ี รถู ามและตอบ เรอ่ื งทค่ี รถู ามและ เรือ่ งท่ีครูถามเปน็ คำถามถูกทุกขอ้ ตอบคำถามส่วนมาก บางครั้งและตอบ ถูก คำถามถกู เป็น บางครงั้ รว่ มมอื และช่วยเหลอื รว่ มมอื และช่วยเหลือ รว่ มมือและช่วยเหลือ ไมม่ ีความรว่ มมอื เพ่ือนในการทำ เพ่ือนเปน็ สว่ นใหญใ่ น เพื่อนในการทำ ในขณะทำกิจกรรม กิจกรรม การทำกิจกรรม กิจกรรมเปน็ บางครั้ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook