80 วันน้ี แตเ่ ป็นทีน่ ่าเสยี ดายท่ี “หงายหมัด” ซ่ึงอาจารย์เขตร ท่านได้กล่าวไว้ว่า “ผิดแผกกับการตั้งท่า ของมวยภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ” ท่าหงายหมัดไม้มวยน้ีได้เลือนหายไปจากเวทีมวยไทยปัจจุบัน อาจารยส์ นุ ทร (กิมเสง็ ) ทวีสิทธิ์ ไดถ้ งึ แกก่ รรมด้วยโรคมะเร็งปอด เม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม 2504 สิริ อายรุ วม 72 ปี คาสอนของท่านปรมาจารยส์ ุนทร (กิมเส็ง) ทวสี ทิ ธ์ิ “คนตอ้ งใชช้ ้นั เชงิ ไหวพรบิ แลวิชาเขา้ ตอ่ สกู้ ัน อย่าใชแ้ ตก่ าลังเหมือนด่ังควายขวดิ คนั นา เพราะคันนาไมส่ ู้ควาย” 2. ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ภาพท่ี 18 ปรมาจารย์เขตร ศรยี าภัย ท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย สบื ตระกลู มาจากนักรบ โดยลาดับดังน้ี 1. พระยาชุมพร (ซุ่ย ซุ่ยยัง) ตาทวด (พ่อของย่า) เป็นแม่ทัพไทยตีเมืองมะริดและเมืองตะนาวศรี มาข้นึ ประเทศไทย ปลายรชั กาลท่ี 2 พ.ศ.2367 มลี ูกเขยชื่อ ปาน ซงึ่ ไดเ้ ป็นที่พระศรรี าชสงคราม 2. พระศรรี าชสงคราม (ปาน) ปลดั เมืองไชยา (เปน็ ปู่) มีลูกชายชื่อขา ถวายตัวเป็นมหาดเล็ก ในรัชกาลท่ี 4 รับใช้สอยในสานักสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ท่ีสมุหพระกลาโหมและได้รับ พระราชทานสัญญาบตั ร เป็น หลวงสารานุชติ ผู้ช่วยราชการเมอื งไชยา เมอ่ื อายุ 25 ปี
81 3. หลวงสารานุชิต (ขา ศรียาภัย) ได้พระราชทานสัญญาบัตรเป็นพระศรีราชสงคราม ปลัด เมอื งไชยา (แทนบดิ าซึ่งถึงแกก่ รรม) เมื่อ พ.ศ. 2412 4. พระศรีราชสงครา (ขา ศรียาภัย) ได้ช่วยปราบจีนจลาจลที่เมืองภูเก็ตในคราวเดียวกันกับ หลวงพ่อแช่ม เจ้าอาวาสวัดฉลอง ซึ่งพวกจีนติดสินบนหัวละ 1,000 เหรียญ จีนจลาจลแตกพ่ายหนี กระจัดกระเจิงลงเรือใบใหญ่ออกทะเล จึงไดร้ บั ปนู บาเหนจ็ ความดีความชอบเลื่อนยศเป็นพระยาวิชิต ภักดีศรีพิชัยสงคราม ผู้ว่าราชการเมืองไชยา พ.ศ. 2422 พวกจีนจลาจลท่ีภูเก็ตหนีลงเรือแต่ไม่กลับ เมอื งจนี ได้เทย่ี วปล้นตามหวั เมืองชายทะเล ตั้งแต่ปลายอาณาเขตไทยทางใต้จนถึงเมืองเกาะหลัก คือ ประจวบคีรีขันธ์ เรือรบหลง 2 ลา มีกาลังพล 200 ต้องประจารักษาเมืองภูเก็ตจึงเป็นหน้าท่ีของเจ้า เมอื งทาการปราบปราม เวลาน้ันพระยาวชิ ิตภกั ดีศรีพชิ ยั สงคราม เป็นเจ้าเมืองไชยา แต่มีหน้าท่ีรักษา เมืองชมุ พร และกาญจนดิษฐ์ด้วย ไดค้ ิดสร้างลูกระเบิดมอื ขน้ึ เปน็ คร้ังแรกในประเทศไทย รวบรวมพล อาสาออกปราบปรามโจรจีนสลัดในอ่าวไทยเป็นเวลา 3 ปี โจรจีนสลัดสงบราบคาบ จึงได้รับ พระราชทานเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ต่าง ๆ เป็นบาเหน็จโดยลาดับ จึงถึง พ.ศ.2442 พระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเจา้ หลวงฯ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตรเลื่อนยศเป็นเป็นพระยาไวย วุฒิวิเศษฤทธ์ิ เมื่อวันท่ี 23 ตุลาคม เพ่ือประกาศความดีความชอบท่ีได้สร้างลูกระเบิดมือเป็นอาวุธ แปลกไม่เคยเห็นกนั ในสมัยน้นั ต่อมาอกี 7 ปี คอื วนั ท่ี 27 กันยายน พ.ศ.2449 ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าพระราชทาน สัญญาบตั รใหเ้ ล่อื นเป็นพระยาวจสี ัตยารกั ษ์ มีตาแหน่งเป็นผกู้ ากับการถือน้าพิพฒั น์สตั ยา จนกระท่งั ถงึ แก่กรรม วนั ท่ี 29 มนี าคม พ.ศ.2457 เขตร ศรียาภยั เปน็ ลูกคนสุดทอ้ งของพระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรยี าภยั ) เกดิ เมอื่ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2445 ณ ตาบลหนองช้างตาย (ตาบลท่าตะเภาในปัจจุบัน) อาเภอท่าตะเภา จังหวัดชุมพร ในสมัยเด็กอายุประมาณ 10 ขวบ ได้เข้าโรงเรียนมัธยมวัดสุทธิวราราม อยู่ที่บ้าน ทวาย ชอบกีฬาประเภทออกแรงทุกชนิด เช่น พายเรือ ว่ายน้า ว่ิงแข่ง ตีจับ ฯลฯ ได้เป็นท่ี 1 ใน ชุดวิง่ เปรีย้ วชงิ ชนะเลศิ กบั ชดุ โรงเรียนวัดประทุมคงคา ไดถ้ ว้ ยและโรงเรียนมัธยมวดั สุทธวิ ราราม มีช่ือ ทางวง่ิ เปรย้ี วแต่นัน้ มา ได้ลาออกเพอื่ เข้าโรงเรียนอัสสมั ชัญ เมื่ออายไุ ด้ 13 ปี เพราะทนถูกรังแกจากนักเรียนท่ีใหญ่ กว่าไม่ไหว ณ โรงเรยี นฝรัง่ แหง่ ใหม่กลับร้ายกว่าโรงเรียนเดิม เพราะมีนักเรียนมากกว่า 3 เท่า เขตร ศรียาภัย ต้องทนมือทนตีนอยู่ 3 ปี อันเป็นปฐมเหตุแห่งความพยายามศึกษาวิชาต่อสู้ ซึ่งมีครูดี ๆ รวม 12 ท่าน คือ 1. พระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรียาภัย) เจา้ เมอื งไชยา เป็นบดิ าบังเกิดเกล้า 2. ครกู ลดั ศรยี าภยั ผบู้ งั คบั การเรือกลไฟรศั มี เป็นอา 3. หม่นื มวยมชี อ่ื (ปรง จานงทอง) 4. ครูกลบั อนิ ทรกลบั 5. ครสู อง ครูมวยบ้านนากะตาม อาเภอทา่ แซะ 6. ครอู ินทร์ สกั เดช ครูมวยบ้านท่าตะเภา 7. ครูตัด กาญจนากร ครมู วยบา้ นหนองทองคา 8. ครูสกุ เนตรประไพ ครมู วยบา้ นแสงแดด
82 9. ครวู ัน ผลพฤกษา ครมู วยตาบลศาลเจา้ ตาแป๊ะโป 10. อาจารย์ ม.จ.วิบูลยส์ วัสดวิ งศ์ สวสั ดิกุล 11. ครสู ุนทร (กมิ เส็ง) ทวสี ทิ ธิ์ ปรมาจารย์มวยมีช่ือในพระนคร อาจารย์สอนมวยกรมพลศึกษา 12. อาจารยห์ ลวงวิศาลดรุณกร เมอ่ื อายุได้ 19 ปี พ.ศ.2463 อาจารย์เขตร ศรียาภัย ได้ไปดูการฝึกมวยที่บ้านอาจารย์กิมเส็ง และเกิดความสนใจใน “หงายหมัด” ของค่ายทวิสิทธ์ิ อีกหน่ึงปีต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ.2464 อาจารยเ์ ขตร ศรยี าภัย จึงได้นาดอกไมธ้ ูปเทียน ผา้ เชด็ หนา้ ผ้าขาวม้า และขันน้า ไปกราบขอเป็น ศิษยก์ บั อาจารย์กิมเส็ง ในวันพฤหัสบดีอันเป็น “วันครู” ตามคติโบราณ ได้อยู่ร่าเรียน รับใช้ ไปมา หาสู่กับอาจารย์กิมเส็ง เป็นเวลา 40 ปี จนครูท่านสิ้น จึงนับได้ว่าวิชามวยไทยสายไชยาสายอาจารย์ เขตรนน้ั มสี ว่ นผสมวชิ ามวยของทา่ นอาจารย์กิมเสง็ อยู่อย่างแยบยลจนแยกกันไม่ออก นอกจากการเล่นกีฬาหมัดมวย ฟุตบอล และวิ่งแข่ง กระโดดสูง กระโดดยาว รวมทั้งมวย สากลกับมองซเิ ออร์ ฟโรว์ นกั มวยคซู่ อ้ มของยอรช์ กาปังตเิ อร์แล้ว เขตร ศรียาภยั ยงั สามารถแจว เรือพายและถือท้ายเรือยาว (เรือดัง้ เรือแซง) เรอื ยนต์ เรอื กลไฟ ขับรถยนต์ ขี่มอเตอร์ไซด์ รวมทั้งการ ข่มี ้า ขีแ่ ละ ฝึกชา้ งตามแบบท่ีเรียกว่า คชกรรม อีกดว้ ย ภาพที่ 19 ปรมาจารยเ์ ขตร ศรยี าภยั สอนศษิ ย์ท่ีจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ท่ีมา : ปริทศั น์มวยไทย. 2550 : 23 ช่วงปี พ.ศ.2491–2494 อาจารย์เขตร ได้มีส่วนร่วมก่อต้ังสนามมวยธรรมศาสตร์ข้ึนแทน สนามมวยราชดาเนินที่ไม่มีหลังคากันฝน ล่วงถึง 8 ธันวาคม พ.ศ.2496 จึงได้เข้าเป็นผู้จัดการสนาม มวยลุมพินี อยู่หลายปี จนช่วงอายุ 69-70 คุณอาจินต์ ปัญจพรรค์ บรรณาธิการและอาจารย์สงบ สอนสิริ จึงได้ชักชวนให้ท่านเขียน “ปริทัศน์มวยไทย” ในนิตยสาร “ฟ้าเมืองไทย” เล่าถึงเรื่องมวย คาดเชือกในยุคสนามสวนกหุ ลาบ สนามมวยหลักเมอื ง สนามมวยสวนสนุก เกร็ดความรู้เร่ืองมวยไทย และความรู้เร่ืองมวยของชนชาติอื่น ๆ จนได้รับการยอมรับและได้รับการเรียกขานท่านเป็น
83 “ปรมาจารย์” มวยไทย อาจารย์เขตร ศรียาภัย ถึงแก่กรรมด้วยโรคหัวใจล้มเหลว เม่ือวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2521 สิริอายรุ วม 75 ปี ท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย นับได้ว่าเป็นบุคคลตัวอย่างในด้านความรู้ ความเสียสละ และความซ่ือสัตย์ ผลงานอันนับได้ว่าเป็นเหมือนรางวัลชีวิตที่ท่านได้กระทาไว้มีนับไม่ถ้วน ทางคณะ ผจู้ ดั ทาจงึ ใคร่ขอกลา่ วถงึ บางสว่ นโดยยอ่ ดงั ต่อไปนี้ ประวัติการรบั ราชการ พ.ศ.2467 พนักงานรกั ษาสนามและต้นไม้กองถนน พ.ศ.2479 - 2484 รกั ษาการตาแหน่งหวั หน้าแผนกสารบรรณกองช่าง พ.ศ.2485 - 2490 หัวหน้าแผนกกองโยธา พ.ศ.2491 - 2495 หวั หนา้ กองรกั ษาความสะอาด (ปี พ.ศ.2495 ไดร้ บั ทนุ ไปดูงานการรักษา ความสะอาดในอเมริกา และออสเตรเลีย) พ.ศ.2500 ดารงตาแหน่งเลขานกุ ารกรม กรมโยธาเทศบาล พ.ศ.2504 - 2506 ดารงตาแหนง่ รองปลัดเทศบาล สานักปลัดเทศบาลนครกรงุ เทพฯ และพ้น จากหน้าท่ีเนื่องจากครบเกษียณอายุเม่ือ พ.ศ.2506 หลังจากครบเกษียณอายุแล้ว ท่านได้ดารง ตาแหนง่ ท่ปี รกึ ษาของเทศบาลนครกรุงเทพฯ อย่อู กี ระยะหน่งึ ราชการพิเศษ พ.ศ.2501 ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนคร แต่งต้ังให้เป็นเทศมนตรีชั่วคราว ดาเนินกิจการของ เทศบาลไปจนกวา่ จะไดแ้ ตง่ ต้ังคณะเทศมนตรีใหม่ พ.ศ.2503 กรรมการดาเนนิ การตรวจสอบและสะสางบัญชีการเงินของกรมโยธาเทศบาล พ.ศ.2500 ดารงตาแหนง่ เลขานุการกรม กรมโยธาเทศบาล ความดคี วามชอบ พ.ศ.2476 ชว่ ยเหลอื การปราบกบฏบวรเดช ไดร้ บั การชมเชยตามหนังสอื เลขาธกิ าร คณะรฐั มนตรี ท่ี 10420/77 ลงวนั ท่ี 26/11/2477 พ.ศ.2501 ในระหว่างปฏิบัติราชการเป็นเทศมนตรีชั่วคราว ได้ปฏิบัติงานบังเกิดผลดีแก่ ทอ้ งถิน่ เป็นอย่างย่ิง ไดต้ งั้ ใจชว่ ยเหลอื ท้องถนิ่ เพี่อประโยชน์ของประชาชนจานวนกว่าหน่ึงล้านคน จน เป็นผลดีอย่างมากถึงวันส่งมอบงานนบได้ว่าเป็นผลดีแก่ราชการของกระทรวงมหาดไทยในส่วนรวม ได้รับการชมเชยตามหนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ที่ 7303/2501 เคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ พ.ศ.2468 เหรยี ญบรมราชาภิเษก รชั กาลที่ 7 พ.ศ.2475 เหรยี ญสมโภชพระนคร 150 ปี พ.ศ.2484 จตั รุ ถาภรณ์มงกฏุ ไทย พ.ศ.2468 จัตรุ ถาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ.2492 ตรติ าภรณม์ งกุฏไทย พ.ศ.2493 เหรยี ญบรมราชาภิเษก เหรยี ญรัตนาภรณ์ พ.ศ.2499 ตรติ าภรณ์ชา้ งเผอื ก
84 พ.ศ.2503 ทวิติยาภรณม์ งกฎุ ไทย เหรียญเกียรติคณุ พ.ศ.2460 เหรียญ JUNIORS TOURNAMENT 1917 พ.ศ.2477 เหรียญ SEMPR FIDELIS “สตั ยซ์ อ่ื ตลอดกาล” โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้ถูกบังคับให้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอล ระหว่างนักเรียนอังกฤษ กับ นักเรยี นฝรัง่ เศส ทางโรงเรียนไดค้ ัดตวั ปรมาจารยเ์ ขตร ศรยี าภยั เป็นหนงึ่ ในทมี นักเรียนอังกฤษ และ ในการแข่งขันครั้งน้ัน นักเรียนอังกฤษเป็นฝ่ายชนะ เป็นจุดเร่ิมต้นท่ีทาให้ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย รักและสนใจในกีฬาฟุตบอล และร่วมการแข่งขันในนามโรงเรียนอัสสัมชัญตลอดมา และยังมีถ้วย รางวัลและเหรียญอื่น ๆ อีกมากท่ีท่านได้จากการแข่งขนในฐานะนักฟุตบอล ของสมาคมศิษย์ เก่าอัสสมั ชัญ เน่ืองในโอกาสฉลองโรงเรียนอัสสัมชัญ ครบ 50 ปี ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย จึงได้รับรางวัล เหรยี ญทองคา ซ่ึงจดั สรา้ งข้นึ เปน็ พิเศษ คาจารึกเปน็ ภาษาละตินว่า CA–SEMPRFIDELIS ซึ่งแปลเป็น ไทยวา่ “สัตยซ์ ่ือตลอดกาล” อนั ถอื ว่าเปน็ เหรยี ญเดียว ที่ทางโรงเรียนมอบให้นักเรียน นับต้ังแต่สร้าง โรงเรยี นมา ตลอดระยะเวลา 90 ปี นบั เป็นเกียรตอิ ยา่ งยง่ิ 3. ปรมาจารยเ์ จือ จกั ษรุ กั ษ์ ภาพที่ 20 ปรมาจารยเ์ จือ จักษุรกั ษ์ สาธติ มวยคาดเชือก ท่าครูหรือท่าย่างสามขมุ ท่ีมา : หนงั สือ muaythai the king of all martial arts dec.,1984 ปรมาจารย์เจือ จักษุรักษ์ เป็นกัลยาณมิตร รุ่นน้องของปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ผู้มีใจรัก มวยไทย ด้วยกัน ท่านเรียนมวยไทยสายไชยากับครูมวยโบราณชื่อครูสาราญ ศรียาภัย ครูสาราญ เป็นนักมวยเก่าสังกัดค่ายไชยา เคยชกกับนายโต๊ะ เลี้ยงประเสริฐ ขุนพลตีนหนักจากเมืองอุตรดิตถ์ ผลการแขง่ ขนั เสมอกนั
85 ปรมาจารย์เจือ อดีตท่านเรียนโรงเรียนนายเรือ แต่น่าเสียดายท่ีท่านต้องออกจากโรงเรียน นายเรือ ท้ัง ๆ ท่ีกาลังจะจบการศึกษาอยู่แล้ว แต่มีส่ิงหนึ่งท่ีทาให้ท่านต้องลาบากใจ คือ เมาเรือ ออกเรือทีไรเปน็ ไดเ้ รอื่ งทกุ ที คือ อาการคลน่ื ไส้อาเจยี น ปรมาจารยเ์ จอื จักษรุ ักษ์ ได้รับเกียรติเป็นกรรมการผ้ชู ีข้ าดตดั สินมวยชิงแชมปโ์ ลกระหวา่ ง ชาตชิ าย เชย่ี วนอ้ ย ชกกบั มวยไทยดว้ ยกนั คือ พันธท์ ิพย์ แกว้ สุรยิ ะ ผลการแข่งขัน ชาติชาย เชี่ยวน้อย ชนะน็อคยกที่ 3 ท่านเปน็ ผู้อทุ ิศชวี ติ และเสยี สละเรอื่ งเกีย่ วกบั วงการมวยไทยมาโดยตลอด เม่ือปี พ.ศ. 2516 ท่านเป็นประธานตรวจสอบการประกวดดวงตราไปรษณียากร ชุดศิลปะมวยไทย ซ่ึงจัดข้ึนใน สัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย พ.ศ.2516 ปรากฏว่าชุดชนะเลิศเป็นของ อาจารย์วัลลภิศร์ สดประเสรฐิ ครูมวยไทย สายไชยาศษิ ย์ทา่ นปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย น่ันเอง แสตมป์ชุดน้ีถือว่าเป็น ต้นแบบท่ีมีคุณค่าทางเอกลักษณ์ไทยที่ได้รับการเผยแพร่ไปทั่วโลก ปรมาจารย์เจือ เสียชีวิตเม่ือ พ.ศ. 2526 นับว่าท่านเป็นปรมาจารย์มวยไทยสายไชยาผู้หนึ่งที่รักและสืบสานมรดกไทย ที่มีคุณค่าทาง วฒั นธรรมไทย สสู่ งั คมไทย และสากลโลกในอนาคต 2. มวยไทยสายไชยา ยคุ อนุรกั ษต์ อนปลาย พ.ศ.2525 – พ.ศ.2550 มวยไทยสายไชยาทาท่าจะสูญหายไปอีกครั้ง หลังจากท่ีส้ินบุญของท่านปรมาจารย์ท้ัง 3 ท่าน ที่กล่าวมาแล้ว แต่ด้วยจิตวิญญาณของบรรพบุรุษไทยที่สร้างชาติมา ได้ปลุกให้มวยไทยสาย ไชยาได้ก่อกาเนิดขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง จากเหล่าบรรดาศิษย์ทั้งหลายท่ีได้รับสมบัติอันล้าค่ามา เพื่อมิให้ สูญหายอีกต่อไป จึงทาให้มีการสืบสานต่อโดยคณะลูกศิษย์ หลานศิษย์ ของท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภยั ได้ช่วยกันอนรุ กั ษ์ มวยไทยสายไชยาให้คงอยู่ตอ่ ไปในอนาคต ผู้สืบทอดมวยไทยสายไชยาใน ยคุ นี้ มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. อาจารยส์ มศกั ด์ิ (ไม่ทราบนามสกุล) 2. อาจารย์ปฏิคม (ไม่ทราบนามสกลุ ) 3. อาจารย์พนั ตารวจเอก ดอกเตอร์มรกต เช้อื ไชยา 4. อาจารยท์ องหลอ่ ยาและ หรอื ครูทอง เชื้อไชยา 5. อาจารยเ์ บ้มิ (ไม่ทราบนามสกุล) อยบู่ างย่ีขัน 6. อาจารย์สมาน (ไมท่ ราบนามสกลุ ) ร้านประกายเพชร (จาหน่ายปืน) 7. อาจารย์วลั ลภิศร์ สดประเสริฐ (ครูต๋อง) 8. อาจารยก์ ฤดากร สดประเสริฐ (ครูเล็ก) 9. อาจารย์กรี ตินนั ท์ สดประเสริฐ 10. อาจารยป์ ัญญา ไกรทศั น์ 11. อาจารยว์ ัฒนะ ปานพิพัฒน์ (ครเู ปีย๊ ก) 12. อาจารย์อเล็ก ซุย (ครูมวยไทยสายไชยาชาวฮ่องกง) 13. อาจารย์ชูพงศ์ ปัญจมะรัต (ครตู ัม้ ) 14. อาจารยอ์ มรกฤต ประมวล (ครแู ปรง) 15. อาจารยพ์ ันเอกอานาจ พุกศรีสุข (ครูอานาจ) 16. อาจารย์ภวู ศกั ดิ์ สขุ สริ อิ ารี (ครูมัด) 17. อาจารย์ศักยภ์ ูมิ จฑู ะพงศ์ธรรม (ครแู หลม)
86 18. อาจารย์ชวี นิ อัจฉริยฉาย (ครูตกั๊ ) 19. อาจารยเ์ อกภพ ศภุ ภาโส (พระตา้ ศภุ ภาโส) 20. อาจารย์สถาพร เกดิ สว่างเนตร ผวู้ ิจยั ขอนาประวัติอาจารยบ์ างท่านทช่ี ว่ ยกนั สบื สานและอนุรกั ษ์มวยไทยสายไชยา ให้คงอย่คู ู่ เมืองไทยตลอดไปและพัฒนาไปสู่สากลโลกตอ่ ไป ในอนาคต ดังต่อไปน้ี 1. อาจารย์ทองหล่อ ยาและ หรอื ครูทอง เช้ือไชยา ภาพท่ี 21 อาจารยท์ องหลอ่ ยาและ หรอื ครทู อง เชอื้ ไชยา ท่มี า : http://www.muaythaichaiya.com ท่านเกิดเม่ือวันที่ 1 สิงหาคม 2472 ที่โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพฯ เม่ือเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 โรงเรียนวัฒนศิลป์ประตูน้า เริ่มเรียนมวยสากลกับครูประสิทธิ์ นักมวยสากลจากกรมพละ ช่วงอายุ 13 – 14 ปี ครูให้ออกหาค่ายมวยไทยท่ีจะเรียนอย่างจริงจัง ครูไปดูหลายท่ีแต่ก็ไม่ถูกใจ เพราะแต่ละค่ายนั้น เวลาซ้อมนักมวยจะเจ็บตัวมาก ไม่มีการป้องกันตัวเลย ครูจึงได้ไปหัดเรียนมวย ไทยกับป๊ะลาม ญาตขิ องแม่ แถวซอยก่งิ เพชร มคี รูฉนั ท์ สมิตเวช กบั ครชู าย สิทธผิ ล สอนด้วยว่าเป็น คนร่างเล็ก ผอมบาง จึงถูกเพื่อน ๆ รังแกอยู่เป็นประจา แต่ก็เรียนอยู่ได้ไม่นาน เพราะถูกเด็กโตกว่า กลั่นแกล้ง หลังจากจบภาคการศึกษาและได้ผ่านชีวิตบู๊โลดโผนอย่างลูกผู้ชายในยุคนั้น ครูทองได้มา ทางานท่ีการรถไฟมักกะสัน ได้ร้จู กั กบั เพือ่ นของพอ่ ชือ่ อาจารย์สามเศียร ได้พูดคุยเรื่องมวยและพาไป พบกับอาจารย์เขตรที่บ้าน จึงเร่ิมเรียนมวยไทยสายไชยา ข้ันพ้ืนฐานตามลาดับ เรียนอยู่หลายเดือน จงึ คิดจะขึน้ ชกเวทเี หมอื นอย่างร่นุ พีบ่ ้าง ช่วงนั้นครูทอง อายุประมาณ 16 ปี จึงไปขออนุญาตอาจารย์ เขตร อาจารย์ท่านก็ดูฝีไม้ลายมือว่าใช้ได้ จึงบอกครูให้ซ้อมให้ดีแล้วจะพาไปชก แต่ครูทองท่านได้ แอบไปชกมวยเวทีตามต่างจังหวัดรอบ ๆ กรุงเทพฯ ชนะมากกว่าแพ้และได้ชกชนะมวยดังฉายาเสือ ร้ายแปดริ้วท่ีฉะเชิงเทรา จนเป็นข่าวรู้ถึงอาจารย์เขตร นับแต่นั้นครูทอง จึงได้ชกในกรุงเทพฯ โดย อาจารย์เขตร จะพาไปเอง ครูทองชกคร้ังแรกท่ีเวทีราชดาเนินกับสมชาย พระขรรค์ชัย ครูทองแพ้ ด้วยความตื่นเตน้ เวทีใหญ่ เมือ่ ครูทองติดตอ่ ขอแกม้ อื แต่ว่ายสมชายไม่ขอแกม้ ือด้วยมาเลิกชกมวย เมื่อ
87 อายุ 24 ปี เม่ือคณุ ยา่ ทา่ นป่วยหนักและขอร้องให้ครูเลิกชกมวยเวที ครูทองก็ให้สัจจะแต่ขอคุณย่าไว้ ว่าจะเลิกต่อยแต่ไม่เลิกหัด คุณย่าท่านก็อนุญาตครูทองได้เรียนมวยกับอาจารย์เขตร อยู่อีกหลายปี จนอาจารยเ์ ขตร ออกปากวา่ จะพาไปเรียนกับอาจารยใ์ หญ่ ครูเขตร จึงฝากครูทองให้ไปเรียนวิชาต่อกับอาจารย์กิมเส็ง ครูทองท่านสนใจเรียนมวยมาก เมื่ออาจารย์กิมเส็ง ให้ถือดาบไม้และให้ลองเล่นกับท่านดู โดยบอกว่าก็เล่นเหมือนกับเล่นมวยนั่น แหละ ลองอยู่สักพัก อาจารย์กิมเส็งท่านก็บอกว่า ใช้ได้นี่ ด้วยเหตุน้ี ครูทองจึงไม่ได้เรียนดาบกับ อาจารย์กิมเส็ง ซ่ึงครูมักพูดว่าเสียดายอยู่เสมอ ๆ (แต่ครูทองก็มีความรู้เรื่องการฟันดาบอยู่ไม่น้อย) เรียนอยสู่ กั 3 ปี อาจารย์กิมเส็งท่านก็สิ้น ครูทองได้มาช่วยเพ่ือนช่ือ ไหว สอนมวยอยู่ราชบูรณะ และ เรมิ่ สอนมวยอย่างจริงจัง เมอื่ ยา้ ยบา้ น มาอย่ยู ่านบางนา มีทหารเรือมาฝึกกับท่านจานวนมาก ครูทอง จึงไดไ้ ปขออนญุ าตอาจารยเ์ ขตร ว่าจะสอน ครั้นพูดจบอาจารย์เขตร ท่านก็เหวี่ยงแข้งเตะมาที่ครูทอง ทันที ครูทองกร็ บั ปิดปอ้ ง ว่องไว ตามที่ได้เรียนมาอาจารย์เขตร จึงว่าอย่างน้ีสอนได้ และได้ให้ครูทอง มาเรียนวชิ าครูเพ่ิมเตมิ ครูทอง ท่านใช้ช่ือค่ายมวยว่า “ค่ายศรีสกุล” ต่อมาใช้ “ค่ายสิงห์ทองคา” แต่ซ้ากับค่ายอื่น ท่านจึง ไปกราบขอชื่อค่ายมวยจากอาจารย์เขตร ซึ่งก็ได้รับความกรุณาโดยอาจารย์ได้ต้ังชื่อให้ว่า “ค่ายไชยารัตน์” ดว้ ยเหตุวา่ ครงั้ เรียนวิชามวยไทยสายไชยากับอาจารย์เขตร ศิษย์ทุกคนจะใช้สกุล ในการข้ึนชกมวยว่า “เช้ือไชยา” ครูทอง มีลูกศิษย์หลายรุ่น แต่ละรุ่นท่านก็สอนไม่เหมือนกัน บางคนจะชกมวยสากล บางคนจะชกมวยไทยเวที ทา่ นจะสอนแตกต่างกนั ตามโอกาส จนเม่ือ พ.ศ.2526 ครูทอง ท่านได้ไปเผยแพร่มวยไทยคาดเชือกที่ธนาคารกรุงเทพ สาขา ผา่ นฟา้ และไดพ้ บกบั นักศึกษาจากมหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ชมรมตอ่ สู้ป้องกันตัวอาวุธไทย ได้ขอท่าน เรียนมวย แรก ๆ ก็ไปเรยี นที่บา้ นครู แต่ระยะหลงั จงึ ได้เชิญครทู องทา่ นมาสอนท่ีมหาวิทยาลัย และครู ไดเ้ ริม่ สอน แบบโบราณคาดเชอื กด้วยเห็นว่า ท่าย่างสามขุมของดาบนั้นเป็นแนวเดียวกับการเดินย่าง ของมวยคาดเชือก จนถึง พ.ศ.2527 นักศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เคยฝึกอาวุธไทยท่ี มหาวิทยาลัยรามคาแหง) ได้เชญิ ครูท่านไปเป็นอาจารยพ์ ิเศษทจ่ี ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ครูทอง จึงได้ถ่ายทอดศิลปะมวยไทยคาดเชือกสายไชยาในสองสถาบัน จนปี พ.ศ.2537 จึง หยุดด้วยโรคประจาตัว ครูทองหล่อ ยาและ ป่วยด้วยโรคมะเร็งปอด และถึงแก่กรรมด้วยวัยเพียง 67 ปี ในเวลาเชา้ 8.45 น. ของวันท่ี 19 กันยายน 2539 2.อาจารยว์ ัลลภศิ ร์ สดประเสรฐิ (ครตู ๋อง) อาจารย์วลั ลภศิ ร์ สดประเสรฐิ เรยี นกบั ครเู ขตร ศรยี าภัย ที่บ้านซอยร่วมฤดี ไปกับเพื่อนช่ือ ทวิช ชินประยูร (หลานปู่นายเช้ียว ชินประยูร อดีตผู้ควบคุมยอดมวยจากอุตรดิตถ์ ตระกูลเลี้ยง ประเสริฐ วันทนี่ ายแพ เลีย้ งประเสริฐ ชกกับนายเจียร์ พระตะบอง) ต่อมาพาน้องชายอีก 2 คน คือ นายกีรตินันท์ กับ นายกฤดากร และเพื่อนช่ือชาติชาย อัชนันท์ ไปฝากตัวเป็นศิษย์ครูเขตรด้วย ต่อมาครูเขตร ได้ยา้ ยบา้ นจากซอยร่วมฤดี มาอยทู่ ่ีใหมใ่ นซอยมาลยม์ งคลบนถนนเอกมยั อาจารยว์ ัลลภศิ ร์ กลา่ วถึงครูเขตร ว่าครูเป็นผู้ให้นอกเหนือจากวิชาความรู้อันวิเศษอัศจรรย์ แล้ว คุณธรรมในตัวท่านเป็นส่ิงที่หาได้ยากในแผ่นดิน ท่านเป็นคนใจดี มีเมตตา โอบอ้อมอารี และ ซื่อสัตย์ ดุจพระยาพิชัยดาบหัก ตลอดชีวิตของท่านไม่เคยปรากฏกิตติศัพท์อันใดอันท่ีจะบ่งบอก
88 ความเห็นแก่ตนหรือเอาเปรียบเพ่ือนมนุษย์คาพูดหนึ่ง ของท่าน ที่อยู่ในจิตสานึกตลอดมาก็คือ “พวกลื้อไม่ต้องให้อะไรอว๊ั เพราะล้ือเปน็ เด็ก อวั๊ ต่างหากท่ีตอ้ งใหพ้ วกลื้อ” 2. อาจารยก์ ฤดากร สดประเสรฐิ (ครเู ลก็ ) ภาพท่ี 22 อาจารยก์ ฤดากร สดประเสรฐิ (ครเู ล็ก) อาจารย์กฤดากร สดประเสริฐ หรือ ชาวมวยไทยสายไชยามักเรียกส้ัน ๆ ว่าอาจารย์เล็ก แต่จิตใจย่ิงใหญ่ ผู้สืบสานศิลปะ 2 ตานานในเวลาเดียวกัน คือ อาจารย์เล็กเรียนจบทางด้านศิลปะ แต่ด้วยจิตใจรกั ศิลปะมวยจึงหาเวลาไปศกึ ษามวยไทยโบราณกับพ่ีชายคนโต ตั้งแต่อายไุ ด้ 12 ปี พ่ีชาย คนโตเป็นลูกศิษย์ของท่านปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสิทธิ์ พออายุได้ 16 ปี ได้ไปเรียนกับท่าน ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย เจ้าตารับมวยไทยสายไชยา ในปี พ.ศ. 2516 เรียนจนถึง พ.ศ.2521 ครูเขตร ศรียาภัย ได้เสียชีวิต รวมแล้วเรียนกับครูเขตร ศรียาภัย ได้ 6 ปี ต่อมาได้เรียนกับครูทอง หล่อ ยาและศิษย์รักของท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย รวมแล้วอาจารย์กฤดากร สดประเสริฐ (ครเู ลก็ ) เรียนมวยไทยตงั้ แต่ 12 ปี บ้านช่างไทยเป็นสถานที่อาจารย์กฤดากร สดประเสริฐ สืบทอดศิลปะมวยไทยสายไชยา ตารับปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 จนถึงปัจจุบันนี้ ครูเล็กพูดถึงมวยไทยสาย ไชยา “ท่าเก่งคือ “ท่าเสือลากหาง” คือ ก้มตัวลงต่าให้คู่ต่อสู้เตะสูง แล้วกระโจนเข้าไปจับทุ่ม และ ท่านี้เองเป็นท่าที่ นายปรง จานงทอง ได้รับแต่งต้ังให้เป็นหม่ืนมวยมีช่ือ ทาช่ือเสียงให้มวยไทยสาย ไชยามาจนจวบเท่าทุกวันนี้ คนส่วนใหญ่คิดว่า ถ้าพูดถึงการจับ ต้องไอคิโด พูดถึงการทุ่ม ต้องยูโด จริง ๆ แลว้ มวยไทยมีหมดทุกอยา่ ง ปัญหาคอื เราเรียนอยา่ งลึกซึง้ หรอื เปล่า” ปัจจุบันนี้อาจารย์กฤดากร สดประเสรฐิ สอนมวยไทยสายไชยา อยู่ที่บ้านช่างไทย เลขท่ี 38 ซอยเอกมัย 10 แยก 2 มีความสุขในการอนุรักษ์ภูมิปัญญามวยโบราณ โดยเฉพาะมวยไทยสายไชยา ได้ถ่ายทอดให้กับบรรดาลูกศิษย์เพื่อสืบสานต่อไปในอนาคต และมีศิษย์เอกที่เรียนมวยไทยสายไชยา มาแลว้ 7 ปี คอื นายประวิทย์ กิตติ-ชาญธรี ะ (เต)้ ซง่ึ จะเป็นผสู้ ืบสานมวยไทยสายไชยาตอ่ ไปในอนาคต
89 ภาพท่ี 23 ครกู ฤดากร สดประเสรฐิ (ครูเล็ก) ครูมวยไทยสายไชยายคุ อนรุ ักษ์ พรอ้ มด้วยลกู ศิษย์ทร่ี ว่ มกันสืบทอดมวยไทยสายไชยา 4. อาจารย์ณปภพ ประมวญ (ครูแปรง) ภาพท่ี 24 อาจารย์ณปภพ ประมวญ (ครูแปรง) ทมี่ า : http://www.muaythaichaiya.com เม่อื พ.ศ.2520 ได้เดินทางมาศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยรามคาแหง และได้สมัครเข้าเป็นสมาชิก ชมรมต่อสู้ป้องกันตัว แผนกมวยไทย ฝึกซ้อมและขึ้นชกมวย ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยอยู่พัก หน่งึ จึงยา้ ยมาเรียนทแ่ี ผนกอาวธุ ไทย “สานกั ดาบเจา้ ราม” ซึง่ รุน่ พ่ใี นชมรมฯ ชว่ งนั้นจะมีหลายคนมา จากหลายสานัก รวมตัวกนั ในรามฯ เพอ่ื ก่อตง้ั เป็นแผนกอาวธุ ไทย ครูแปรง จึงได้เรียนวิชาจากหลายสานัก เช่น ดาบพุทธไธสวรรค์ ดาบผดุงสทิ ธ์ิ ดาบพละ ดาบพรานนก ดาบอาทมาต ดาบอาทมาตเท้าช้างปัตตานี มีดสั้นทอง นับแต่ปี พ.ศ.2520 – 2525 จึงจบหลักสูตร หลังจากน้ันครูแปรง ยังได้ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมจากครูอีกหลายท่าน อาทิ ครูพัน ยารนะ ครูดาบสะบัดชัย ดาบสายกรมหลวงชุมพรจากกี คลองตัน ดาบสายอาจารย์นาค เทพหัสดิน
90 ณ อยุธยา ดาบบ้านไชว อยุธยา ดาบและมวยในสายอาจารย์กิมเส็ง ซึ่งถือว่าเป็นอาจารย์ปู่สายมวย ทวีสิทธ์ิ ในเวลาต่อมาอีกด้วย ช่วงต้นปี พ.ศ.2525 ระหว่างท่ีครูแปรง ทาการสอนวิชาดาบที่แผนก อาวุธไทย ในฐานะรุ่นพ่ีอยู่นั้น ได้มีรุ่นน้องคนหนึ่ง ชื่อ ปาน ได้ขอซ้อมมวยกับครูแปรง ด้วยทราบว่า ครูแปรง เคยเป็นนักมวยเวทีมาก่อน และระหว่างดูเชิงกันอยู่น้ัน รุ่นน้องคนนั้นได้ตั้งท่าทางมวย แปลกๆ ซึ่งทาให้รุ่นพี่รุ่นน้องหลาย ๆ คนสนใจ สอบได้ความว่าเป็นวิชามวยไทยคาดเชือกสายไชยา ครูแปรงจึงได้ติดตามไปขอพบ และทดสอบวิชามวยน้ันด้วยตัวท่านเอง จนแน่ใจว่าเป็นวิชามวยคาด เชือกจริง จึงเขา้ มอบตวั เปน็ ศิษย์ ศึกษาวชิ ามวยจากครทู า่ นนั้น ซ่ึงก็คือ ครูทอง ครูมวยไทยสายไชยา แหง่ คลองทบั ชา้ ง (ทองหลอ่ ยาและ) ปี พ.ศ.2525 – 2539 ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเผยแพร่ศิลปะมวย ไทยสายไชยา และวิชากระบี่กระบองอาวุธไทย ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ครูทองได้ก่อต้ัง “ชมรม อนุรักษ์พาหุยุทธ์ไชยารัตน์ และอาวุธไทยตาหรับพิชัยยุทธ์” และได้ศิษย์อาวุธไทย “สานักดาบ เจา้ ราม” คอยให้ความชว่ ยเหลือในเร่ืองงานสาธติ แสดงในสถานที่ต่าง ๆ รวมถึงเผยแพร่ทางนิตยสาร และโทรทัศนม์ าโดยตลอด พ.ศ.2527 ครแู ปรง ได้รับการชักชวนจากครูทอง ให้ทางานร่วมกับท่านที่กรมโยธาฯ ผ่านฟ้า ทาให้ ครูแปรง ได้มีโอกาสติดตามครูทอง ช่วยงานสอนมวยไทยสายไชยา ให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้ท่ีสนใจ พร้อมท้ังได้ร่วมกับครูทอง ปรับปรุงหลักสูตรการสอนมวยไทยสายไชยาให้เป็นระบบ ตามแนวคิดของครูทอง ที่ต้องการให้ศิลปะมวยคาดเชือกสายไชยาเป็นที่สนใจในวงกว้าง สามารถ เรียนได้ทั้งผู้หญิงและเด็ก ในรูปของ “การบริหารร่างกาย เพ่ือพาหุยุทธ์” โดยยึดหลักวิชาการตาม แบบโบราณไวอ้ ยา่ งเคร่งครดั พ.ศ.2539 ครทู อง เสียชีวิต ทาให้การดาเนินงานด้านเผยแพร่มวยไทยสายไชยา หยุดชะงัก ไปช่ัวคราว ครูแปรง ขณะนั้นประกอบอาชีพ ทนายความ ได้ละงานประจา มาดาเนินกิจกรรมสืบต่อ เหตุเพราะครูทอง ได้เคยพูดไว้เสมอว่า “มีอยู่สองคนท่ีได้วิชาจากครูมากท่ีสุด คือ แปรง กับ โย่ง” หรือ “ถ้าครูไม่อยู่ใครจะเรียนมวย ให้ไปหาแปรง” ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากว่า 20 ปี ครูแปรง เองก็ได้ตั้งใจพัฒนาทักษะร่างกาย ฝึกฝน สืบค้น ตีความ จนสามารถเข้าถึง เคล็ดวิชาในมวยไทยสาย ไชยา ทาให้ศิษย์มวยไทยสายไชยา และผู้สนใจ ต่างมุ่งมาเรียนกับครูแปรง เป็นหลัก ปี พ.ศ.2545 ครูแปรงและรุ่นพี่รุ่นน้องในชมรมฯ ได้ร่วมมือกันทางานเผยแพร่อย่างจริงจัง จึงทาให้มีคนรู้จัก และ สนใจศึกษาศิลปะมวยไทยสายไชยามากข้ึน คณะศิษย์มวยไทยสายไชยา จึงได้ประชุมร่วมกัน เพ่ือ ก่อต้ัง “มูลนิธิมวยไทยไชยา” พร้อมดาเนินการจดทะเบียนข้ึน เมื่อวันท่ี 17 มิถุนายน 2546 โดยมี ครแู ปรง อมรกฤต ประมวญ ดารงตาแหน่ง ประธานมูลนิธิฯ ดาเนินงานเผยแพร่และอนุรักษ์ศิลปะ มวยไทยสายไชยาและอาวุธไทยพิชัยยุทธ์ ในรูปองค์กรต่อไป (อมรกฤต ประมวญ (ครูแปรง). มูลนธิ มิ วยไทยไชยา. ข้อมูลจาก http://www.muaythaichaiya.com) ปัจจุบันน้ีมวยไทยสายไชยา คงมีอยู่คู่คนไทยท่ีรัก และหวงแหนมรดกไทย แต่ยังไม่ แพร่หลายเท่าที่ควร ควรอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่สืบต่อไป ถึงแม้ว่าผู้เรียน หรือผู้ฝึกมวยไทยสายไชยา จะ ไม่ได้นาไปใช้ ในการแข่งขันจริง หรือใช้ในการต่อสู้บนสังเวียนผ้าใบในยุคปัจจุบัน แต่ก็เป็นส่วน หน่ึงในการช่วยอนุรักษ์ให้มวยไทยสายไชยา วัฒนธรรมไทย กีฬาไทยและภูมิปัญญาไทยต่อไป นอกจากนีผ้ ู้เรยี นหรอื ผูฝ้ กึ มวยไทยสายไชยา ยังสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ เช่น การออก กาลังกายเพื่อสุขภาพ มีคุณธรรม มีสมาธิ ท่ีสุขุมรอบคอบ มีสติที่แน่วแน่ ใช้สาหรับเป็นศิลปะป้องกัน
91 ตัวและทาให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ที่ได้ช่วยกันอนุรักษ์มวยไทยสายไชยา ให้คงอยู่คู่ สังคมไทย ชาติไทย และนาพาสู่สากลโลกต่อไปในอนาคต สมกับคาว่า “มวยไทยสายไชยาคือศาสตร์ และศลิ ปข์ องแผ่นดนิ ” 4. อาจารย์ภูวศกั ด์ิ สุขศิริอารี (ครูมดั ) ภาพที่ 25 อาจารย์ภวู ศกั ด์ิ สขุ สิรอิ ารี (ครูมัด) นายภูวศักด์ิ บังสันเสนี (ครูมัด) เป็นบุตรนายศิริ สุขศิริอารี นางฮับเซาะห์ สุขถาวร เกิด วนั ท่ี 11 มกราคม พ.ศ.2512 มีพ่ีน้องท้ังหมด 7 คน เป็นลูกชายคนที่ 5 ของตระกูล “สุขศิริอารี”เม่ือ อายุได้ 13 ขวบ ไดฝ้ ากตวั เป็นลกู ศิษยข์ องครนู กั ชาย จเิ มฆ เรียนวชิ ากระบี่กระบอง มวยโบราณปัญจ สีลัต และพุทธาคม เป็นเวลา 7 ปี เรียนมวยไชยาตารับปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย กับ ครูทองหล่อ ยาและ เป็นเวลา 3 ปี เมื่อปี พ.ศ.2533 เข้ารับราชการทหารกองประจาการ สังกัดกรมอากาศโยธิน กรมทหารต่อสู้อากาศยาน เมื่อปลดประจาการ ได้ไปศึกษามวยไชยา ปัญจสิลัต กระบ่ีกองอาสาจาม ตารับพระยาราชบังสัน กับปู่ (ครูสมาน แม่นพงษ์) เป็นระยะเวลาหลายปีจนกระท่ังเกิดพายุเกย์ ถล่มจึงได้กลับมากรุงเทพฯ ภายหลังได้ทราบว่าครูทองหล่อฯ ท่านเสียชีวิตจึงได้ฝากตัวเป็นศิษย์และ ครอบครูกับครูกฤดากร สดประเสริฐ (ครูเล็ก) ทาหน้าท่ีสืบสายมวยไทยสายไชยาตารับพ่อท่านมา และตารับพระยาราชบังสันโดยสมบูรณ์แบบ ปัจจุบันได้เปิดบ้าน “ภูวศักดิ์” เป็นแหล่งเรียนรู้และ เผยแพร่ภูมิปัญญาศาสตร์การต่อสู้และป้องกันตัวของไทย ให้กับเยาวชน สถานศึกษา หน่วยงาน ราชการและผูท้ ส่ี นใจโดยท่ัวไป ตงั้ แต่ พ.ศ.2540 จนถงึ ปจั จุบัน ประสบการณ์การทางานเกียรติ์ประวัติผลงานและการเผยแพร่ศิลปะมวยไทยโบราณ พ.ศ. 2548 ก่อต้ัง “ชมรมสืบสานยุทธศิลป์ บ้านภูวศักด์ิ” และ “สถาบันอนุรักษ์ มวยไทยสายไชยา ค่าย ศรวี นาไชยารัตน์” และเป็นกรรมการเข้าร่วมวิพากษ์หลักสูตรสมรรถนะครูมวยไทย A License B License และ C. License ของการกีฬาแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน
92 จอมบึง พ.ศ.2553 เป็นวิทยากรพิเศษแสดงศิลปะมวยไทยไชยา ในงาน Nike super workshop 2010 ณ. กรุงปักก่ิง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน และ ได้รับตาแหน่งปรมาจารย์มวย ไทยจาก จากสมาคมครูมวยไทยศึกษาแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ.2554 ได้การรับรองว่าเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะมวยไทยสายไชยาของวิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ และได้จดั ทาตาราการเรยี นการสอนมวยไทยสายไชยา “พาหุยุทธ์ มวยไทยไชยา 1” รวมท้ังได้นาหนังสือ “พาหุยุทธ์มวยไทยไชยา 1” ทูลเกล้าฯ แด่พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อย่หู วั ภูมิพลอดุลยเดช ฯ พ.ศ.2556 เปิดสถาบนั อนุรกั ษม์ วยไทยสายไชยาข้ึนเพ่ือเผยแพร่มวย ไทยไชยาเป็นวิทยาทานในเขตหนองจอก และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร“ศิลปศาสตรมหา บัณฑิตกิตติมศักดิ์” จากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร สาขาวิชามวยไทยศึกษา จากวิทยาลยั มวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ ภาพท่ี 26 นายภูวศักด์ิ สขุ ศิรอิ ารี (ครูมัด) ถา่ ยภาพร่วมกับลกู ศษิ ย์ นายพฤฒ วฒั นชโนบล นายจตพุ ล ลอื พฒั นสุข นายฤทธิก์ รชิ สพุ ัฒนาพงศ์ นายปรัชญา ศวิ พรรุ่งสกุล นายสุวทิ ย์ เจ้าดารี 5. ศกั ย์ภูมิ จูฑะพงศธ์ รรม (ครแู หลม) ภาพที่ 27 ครศู กั ย์ภมู ิ จฑู ะพงศธ์ รรม (ครแู หลม) ครมู วยไทยสายไชยา ความสามารถกระบี่กระบอง มวยโบราณ มวยไทยสายไชยา
93 ปัจจบุ ัน ประธานกล่มุ ไทอชิร อาจารย์พเิ ศษชมรมต่อส้ปู ้องกันตวั อาวุธไทย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ครมู วยไชยา โครงการทบู นี มั เบอร์วนั และ ศนู ย์เยาวชนดอนเมือง กรุงเทพ ศึกษา ศิลปะการต่อสู้ กระบี่กระบอง จากชมรมต่อสู้ป้องกันตัว แผนกอาวุธไทย มหาวิทยาลัยรามคาแหง เข้ารว่ มแข่งขันกฬี าดาบไทย ประเภทดาบหุ้มนวม ในกีฬามหาวิทยาลัย และ เป็นผู้ฝึกสอนกระบี่กระบอง โค้ชนักกีฬาดาบหุ้ม – นวม ให้กับนักกีฬาใน แผนก อาวุธไทย มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ตง้ั แตป่ ี 2525 – 2528 ศกึ ษาวิชามวยไทยสายไชยา กับครทู องหล่อ ยาและ เม่ือปี 2526 เป็นต้นมา และรับตาแหน่ง ประธานชมรมตอ่ สู้ป้องกันตัว แผนกอาวธุ ไทย ปี 2527 – 2528 ร่วมกิจกรรมเผยแพร่ดาบไทย มวยไทยสายไชยา ให้กับ ชมรมอนุรักษ์พาหุยุทธ์ไชยารัตน์ และอาวุธไทยพิชัยยุทธ์ ตลอดระยะเวลา 15 ปี และได้รับการแต่งต้ังเป็นอาจารย์พิเศษ ประจาชมรม ตอ่ สูป้ อ้ งกนั ตัว อาวธุ ไทย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ.2545 ครูทองหล่อ (ประธานชมรมอนุรักษ์พาหุยุทธ์ฯ) ได้เสียชีวิตในปี พ.ศ.2539 จึงได้ร่วมงานกับ ครูแปรง (ครูณปภพ ประมวล) สานงานต่อจากครูทองหล่อ ยาและ ในนาม ชมรมมวยไทยไชยา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 รับตาแหน่งเลขานุการมูลนิธิมวยไทยไชยา และตาแหน่งรองประธานศูนย์ศึกษาสยามยุทธ์ “บา้ นครแู ปรง” ในปี 2546 ทาการสอนและเผยแพรศ่ ลิ ปะการตอ่ สู้ ดาบไทย มวยไชยา ท่ีสวนลุมพีนี กรงุ เทพฯ และร่วมในกิจกรรมตา่ ง ๆ ของทางรฐั และเอกชน ทั้งเผยแพร่ในรายการโทรทัศน์ มากมาย ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2544 – 2552 พ.ศ.2553 กอ่ ตง้ั กลุม่ ไทอชริ เพ่อื เผยแพร่ศิลปะการต่อสู้ไทย กระบ่ีกระบอง มวยโบราณ ใน ปี พ.ศ.2554 มีผลงานเผยแพร่ศลิ ปะการตอ่ สู้ ดาบไทย มวยไชยา ท้ังในประเทศและต่างประเทศ เช่น เยอรมนั ออสเตรีย รสั เซยี พ.ศ.2553 ได้สานต่อโครงการ \"เติมน้าให้ชุมชน\" จากที่เคยทาไว้เม่ือปี พ.ศ.2552 ด้วยการ จัดหาโอ่งน้าขนาดใหญ่ไปมอบให้กับโรงเรียนและวัดที่อยู่ห่างไกลในชนบทพร้อมๆ กับการจัดทา โครงงาน \"เติมความรู้ สู่ชุมชน\" ด้วยการนาหนังสือ,สมุด,อุปกรณ์การเขียนและอุปกรณ์กีฬา ไปมอบ ใหก้ ับโรงเรยี นเหลา่ นนั้ ดว้ ย พ.ศ.2555 กลมุ่ ไทอชริ จดั กิจกรรมคา่ ย \"ยุวชนไทอชริ \" ข้ึน โดยการชักชวนเพ่อื น ๆ ในวงการ ศิลปะ การต่อสู้ต่าง ๆ ร่วมกันให้ความรู้รอบตัว สันทนาการ สอนดาบไทย และมวยไทยสายไชยา ใหก้ บั เดก็ นักเรียนในต่างจงั หวัดอีกดว้ ย 6. นายจิระประวตั ิ แบบประเสรฐิ
94 ภาพที่ 28 ครูจิระประวัติ แบบประเสริฐ (ครูจิ๋ว) ครูมวยไทยสายไชยา ชอ่ื ที่ใชใ้ นการชกมวยไทย เกียรตจิ รสั อัครพล ปจั จบุ ัน อยั การผ้เู ชย่ี วชาญ สานักงานคดแี รงงาน ภาค 6 จังหวัดนครสวรรค์ การศกึ ษา - พ.ศ.2524 นิตศิ าสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง - พ.ศ.2526 เนติบณั ฑิตไทย - พ.ศ.2542 ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขารฐั ศาสตร์ สาหรบั ผบู้ ริหาร รนุ่ 1 - พ.ศ.2544 นติ ศิ าสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั รามคาแหง ผลงานเก่ียวกับมวยไทย - พ.ศ.2518 เรยี นมวยไทยอาชีพที่ค่ายศรราม ค่ายพรทวี คา่ ยเกยี รติการบินไทย และคา่ ยอัครพล - พ.ศ.2518 – 2525 ชกมวยไทยอาชพี - พ.ศ.2521 สมาชิกชมรมต่อสปู้ ้องกนั ตวั แผนกมวยไทย มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง - พ.ศ.2524 เรยี นมวยไทยสายไชยากบั ครูทองหล่อ ยาและ ทีม่ หาวิทยาลยั รามคาแหง ผลงานการเผยแพร่มวยไทยสายไชยา - พ.ศ.2547 – ปัจจบุ นั สอนมวยไทยสายไชยา ในชมรมต่อสปู้ ้องกันตัว มหาวิทยาลยั รามคาแหง - เปิดสอนมวยไทยสายไชยาท่ีบ้านแบบประเสริฐ บ้านอยั การ และบ้านมวยไทยไชยา 2. เอกลกั ษณข์ องมวยไทยสายไชยา เพ่อื ให้บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาเรื่อง การจัดการความรู้มวยไทยสายไชยา สามารถแบ่งออกเป็นประเด็นได้ดงั นี้ 2.1. การตัง้ ทา่ มวย หรอื การจดมวย
95 2.2. ทา่ ครู หรือ ทา่ ย่างสามขุม 2.3. การร่ายราไหวค้ รู 2.4. การพันหมัดแบบคาดเชือก 2.5. การแตง่ กาย 2.6. การฝกึ ซอ้ ม 2.1. การต้ังท่าหรอื การจดมวย การจดมวยของมวยไทยสายไชยา สามารถรบั และรกุ คือป้องกนั ตัวพร้อมตอบโต้ไดใ้ นเวลา เดยี วกนั และยงั หมายถงึ การง้างรอโดยท่ีคู่ต่อสไู้ มม่ ที างรู้ เป็นแนวป้องกันกค็ ือ แขนท้งั สองขา้ งอยู่ใน แนว 45 องศา ลดหลน่ั กัน คอยดักระวงั อวยั วุธจากฝ่ายปรปักษ์ ภาพท่ี 29 การต้งั ท่าหรือการจดมวย โดย ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ที่มา : หนังสอื ปรทิ ศั น์มวยไทย. 2550 หนา้ 44 จดหรือจดมวย การจด คือลักษณะของการยืนเตรียมพร้อมในการรุกหรือรับให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด ลักษณะการจดจะมีท้งั จดวงกว้าง จดวงแคบ จดสูง และจดตา่ จดวงกว้าง หมายถึง การยืนแบบแยกเท้าให้ห่างกัน โดยหันด้านหน้าอกมาข้างหน้า การจด แบบนใ้ี ชไ้ ดด้ สี าหรับผู้ทีถ่ นัดจะใช้เตะ การจดจะแคบลงเรื่อย ๆ ตามความสั้นของอาวุธที่ถนัด ผู้ท่ีถนัด ใชศ้ อกจะจดแคบทส่ี ุด คือ จะหนั สีข้างไปข้างหน้าและเท้าทั้งสองเกือบจะเป็นแนวเดียวกัน ท้ังนี้โดยมี หลักว่า ผทู้ ่ถี นัดอาวุธอะไรกจ็ ะพยายามให้อาวุธน้ัน ใกล้คู่ต่อส้ไู ว้เพ่ือจะใช้ไดร้ วดเรว็ และหนักหน่วง การจดสูง จะใชก้ บั การเตรียมต่อสู้ดว้ ยมอื เปล่า การจดตา่ ปกติจะใชส้ าหรับการเตรียมต่อส้เู มื่อใช้อาวุธ เพี่อท่จี ะใช้อาวธุ ทถ่ี ืออยู่ป้องกัน สว่ นล่างของร่างกายได้ การป้นั หมดั และการตั้งท่า ความรเู้ บอ้ื งตน้ ในการฝึกหัดมวยคือการ “ปั้นหมัด” หรือการทา ให้มือเป็นก้อนแข็งเพื่อมิให้กระดูกน้อยใหญ่รวม 27 ชิ้น เป็นอันตราย เพราะถือว่าเป็นอวัยวะสาคัญ
96 ของมนษุ ยใ์ นการดารงชีพ การถางป่าทาไร่ ล้างหน้า ฯ ล้วนต้องอาศัยมือท้ังนั้น แม้ข้อมือหักนิ้วมือซ้น ไมเ่ ปน็ อันตราย ถงึ ตายก็จริง แตแ่ มเ้ กดิ คนั ไหล่หรอื คนั หนา้ อก จะไม่มีอวัยวะส่วนไหนทาหน้าที่แก้คัน แทนมือได้ ฉะนน้ั การป้ันหมดั จึงสาคญั ไม่น้อยกวา่ การ “ตงั้ ท่า” อนื่ ๆ หมัดซึ่งติดอยู่กับแขนนั้น นอกจากใช้ในการต่อสู้และจัดอยู่ในประเภท “ไม้ยาว” ทานอง เดยี วกับตีนแล้ว ยังใช้เป็นโลป่ อ้ งกนั ลาตัว ซง่ึ มีขนาดแผก่ ว้างกว่าแขน 2 ข้างรวมกัน จึงต้องแนะนาให้ มีการขยับเขยื้อนเคล่ือนแขนตามแบบ ซ่ึงอาจป้องปิดลาตัวตั้งแต่หัวถึงชายโครง ต่อจากการป้ันหมัด และการขยับเขยอื้ นแขนตามทแ่ี นะนาแล้วก็มาถึงการ “ต้ังท่า” ซ่ึงมีหลักเกณฑ์สาคัญในการทาตัวให้ บางเป็นเป้าเล็ก โดยเบี่ยงให้ปฏิปักษ์ ในลักษณะท่ีอาจป้องกันหลบหลีกสืบถอยให้พ้นอวัยวุธ (มือ - ตนี ) ของปฏปิ ักษไ์ ด้คลอ่ งแคล่วและไม่เสียหลกั งา่ ย ๆ การตั้งท่าจึงสาคัญไม่น้อยกว่าการป้องปัด รวมท้งั ขยับแขนปิดดว้ ย 2.2. ทา่ ครหู รือทา่ ย่างสามขุม ภาพที่ 30 อาจารย์กฤดากร สดประเสริฐ สาธิตท่าครหู รือท่าย่างสามขุม เม่อื ไดก้ ลา่ วถึงวิธกี ารฝึกมวยท่อนบนของรา่ งกาย (หัวถึงบั้นเอว) พอสมควรแลว้ ขอหวน กลบั มาพจิ ารณาท่อนลา่ งกนั ต่อไป อนั ท่ีจริงนักมวยสมยั โบราณไมม่ ีการยนื น่งิ ๆ อยกู่ ับทเี่ พราะการตั้งท่าทานองน้ันอาจทาให้นัก “มวย” กลายเป็น “ม้วย” เม่ือใดก็ได้ ในการชกต่อยแบบสากล ถือว่าฟุตเวิร์ค (Foot work) เป็น ความรูส้ าคญั ทีจ่ ะนานักมวยไปสู่ตาแหน่งสุดยอด มวยไทยก็เช่นเดียวกัน มีท่าก้าวย่างซึ่งถือว่าสาคัญ อาจใช้ป้องกันและต่อสู้ได้ในขณะเดียวกัน วิธีก้าวย่างท่ีอานวยผลฉกรรจ์หรือผลสาเร็จจึงจาเป็นต้อง เรยี นรูแ้ ทนการทอดทิง้ อย่างปัจจุบัน เพราะหากการก้าวย่างไม่มีประโยชน์จริงแล้ว วิชามวยไทยคงไม่ จีรังยั่งยืนอยู่ได้ถึงบัดนี้ และนายยัง หาญทะเล สมัยสนามมวยสวนกุหลาบ คงจะพุ่งทะลุก่อนเรียก เลือดสด ๆ จากหูซา้ ยขวาของจอมมวยจีน “จฉ๊ี ่าง” ซึ่งมีนิว้ แขง็ แทงไมก้ ระดานหนา 2 นิ้วแตก 2 ซีก แต่น่าเสียดายท่ีมวยไทยทุกวันนี้ ไม่มีการก้าวย่างแบบอมตะ ต่างหลงใหลดัดแปลงให้คล้ายท่ามวย สากล เพราะเหตุละเลยท่าสาคัญที่โบราณเรียกว่า “ย่างสามขุม” เปน็ ที่น่าเสียดายและเสียใจจริง ๆ ที่ มวยไทยละเลยเลห่ เ์ หลยี่ มลูกไม้มวยไทยกนั หมด
97 ท่ีมาของการย่างสามขุม บรรพบุรุษของไทยเรา โดยเฉพาะอย่างย่ิงคณาจารย์ผู้ประสิทธ์ิ ประสาทวชิ ามวยไทยไวเ้ ปน็ ศลิ ปะประจาชาติ ได้จาแนกหลกั การฝกึ มวยไทยไว้เป็นข้ัน ๆ อย่างพิสดาร ตลอดจนพยายามบรรยายอุปเท่ห์เพ่ือดาเนินการปลุกใจ (ปราณ) ให้เกิดความฮึกเหิมเป็นต้นขึ้นไว้ ใน กระบวนการปลุกใจทานองหนึ่งจากหลายวิธีเท่าท่ีมีอยู่ คณาจารย์ได้ใช้จิตวิทยาจากคณาจารย์ของ พวกมลั ละซง่ึ ไดใ้ ช้จิตวิทยาให้มคี วามสนใจไตรต่ รองโดยกลา่ วเป็นสัมโมทนยี กถาหรอื ถ้อยคารน่ื เริงไวด้ ังน้ี ครง้ั น้ันพระอศิ วรเปน็ เจ้าประทบั เกษมพระสาราญอยู่กับพระอุมาในแดนสวรรค์ (ตามคติของ ลทั ธฮิ นิ ดูหรือไสยศาสตร์ หมายความว่า แดนแห่งความสว่างรุ่งเรือง) พร่ังพร้อมด้วยเทพยดาและสาว สวรรค์ฟ้อนราบาเรอถวายโดยมีคนธรรพ์ (ในไตรภูมิพระร่วงกล่าวว่ารูปร่างคร่ึงคนครึ่งเทวดา) ขับ กล่อมมโหรี ปี่พาทย์ระคนเสียงป่ี 60,000 เลา (คงดังเหมือนฟ้าร้อง) เมื่อเวลางานรื่นเริงของชาว สวรรค์ยุติลง อมร ใหญ่น้อยท้ังปวงต่างเตรียมแยกย้ายกันกลับวิมานแห่งตน พระผู้เป็นเจ้าทรงชาย พระเนตรเห็นอสูรตาตะวันหมอบเฝ้าอยู่แทบฐานพิมานเมฆ ก็ทรงพอพระทัย (ชอบประจบ) ในความ จงรักภักดี จึงตรัสปราศรัยด้วยถ้อยมธุรส ฝ่ายพญายักษ์ลาพองใจเห็นได้ท่าก้มหัวลงกราบทูลขอ ประทานท่ีดินเป็นกรรมสิทธิ์ กว้างขวางโดยคณนา 300 โยชน์ (หรือเท่ากับ 100 ตารางไมล์) พร้อม ด้วยพระพรว่า สัตว์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเดรัจฉาน มนุษย์ เทวดา นาคา ภุมภัณฑ์ หรืออสูรใด ๆ หาก บกุ รุกเข้าไปในดินแดนแห่งกรรมสิทธิ์ของตนแล้วไซร้ ขอจับกินเป็นอาหารได้ตามอาเภอใจ พระอิศวร (ใหพ้ ร แตเ่ รยี กคนื ไม่ได้) กจ็ าตอ้ งประทานพรและทีด่ ินให้แก่ยกั ษ์ตามคาขอ เม่ือท้าวตาตะวัน ได้ส่ิงที่พึงประสงค์ง่ายดายสมใจ ก็กลับคืนสู่ท่ีอยู่ข้างเขาพระสิเนนุราช บรรพต (เทือกป่าหิมพานต์ ซ่ึงเป็นป่าหนาวจัดแถบเหนือของอินเดีย) มีความปลาบปลื้มลืมตัวเมามัว อานาจ คาดคิดจะลม่ ฟ้า กาเรบิ อยากกนิ สัตวแ์ ปลก ๆ เป็นอาหารตามสันดานเลว ตั้งพิธีเพ่ิมตบะร่าย เวทย์มนต์วเิ ศษขึ้น (คงเป็นบทท่ีพระสงั ข์ทองเรียกเนือ้ เรียกปลา) ดว้ ยแรงฤทธ์ิรากษสร้ายแรงฤทธิ์วิศว มนต์ เทวดา มนุษย์และสัตว์โลกน้อยใหญ่หลากหลายท่ีต้องมนต์พากันหลงใหลล่วงล้าเข้าไปในแดน มฤตยู โดยมิได้ตั้งใจ ท้าวตาตะวันเห็นดังนั้นดีใจจนน้าลายไหลไล่จับกินได้สัตว์กินสัตว์ ได้มนุษย์กิน มนษุ ย์ ตลอดจนเทวดานางฟา้ และคนธรรพ์ ต่างถูกจับกินคราวละมาก ๆ ไม่เว้นแต่ละวัน ร้อนถึงพวก ทีย่ ังไมถ่ กู กินต่างพากนั หวั่นเกรง นงั่ นอนสะดุ้ง ประสาทเส่ือมไปตาม ๆ กัน (ยิ่งกว่าสูดควันท่อไอเสีย) จึงปรึกษาหารือ ตกลงชวนกันข้ึนเฝ้าพระอิศวร (พิเคราะห์ดูแล้ว ไม่น่าแปลกท่ีมีการเดินขบวนร้อง ทุกข์ต่อผอู้ านวยการปราบปรามผู้เป็นภัยตอ่ สงั คม) บรรยายความทกุ ขร์ ้อนใหพ้ ระผ้เู ปน็ เจ้าทรงทราบ พระอิศวรได้ฟังก็พิโรธ รับส่ังเทพบุตร ไปตามพระนารายณ์ซึ่งประทับบรรทมอยู่ ณ เกษยี รสมุทร ให้รีบปราบยกั ษเ์ พื่อกาจัดยุคเขญ็ โดยดว่ น คนไทยส่วนมากย่อมทราบอยู่แล้วว่าพระนารายณ์เป็นเทพซ่ึงไม่โปรดยักษ์มารที่คดโกง การ ปราบปราม กเ็ ด็ดขาดรุนแรงถึงขน้ั ประหารชีวิตทกุ ราย เชน่ ปราบนนทุกข์ผู้ได้พรน้ิวเพชร แล้วเที่ยวช้ี ใครต่อใครตายเปน็ ระนาวหิรญั ยักษ์ม้วนแผ่นดิน เดือดร้อนแก่เหล่ามัตตัย (คนไทย) ไม่มีท่ีอยู่และอสูร หอยสังข์ ผู้ขโมยคัมภีร์พระเวท เป็นต้น ครั้นพระนารายณ์ได้ทราบพระโองการของพระผู้เป็นเจ้า จึงแปลงกายเป็นพราหมณ์รูปงาม นวยนาดเอื่อย ๆ ล่วงล้าเข้าไปในแดนหวงห้าม ด้วยลักษณะที่คณาจารย์มวยให้ชื่อว่า “นารายณ์ ยุรยาตร” เพื่อสังเกตทที า่ ย่างระวัง แบบนกั มวยได้ยนิ สญั ญาณระฆงั ให้เรม่ิ ต่อส้กู ัน
98 ทันใดนั้นอสูรตาตะวันผู้ก่อความมืดมนหมายถึง (ความชั่ว) แก่โลกก็ตวาดด้วยเสียงอันดังดุจ ฟา้ ร้องวา่ “อ้ายหน่มุ เดนตาย มึงทะลงึ่ เซ่อซา่ เขา้ มาทาไม ไม่กลวั ยกั ษจ์ บั กนิ หรือ” พราหมณ์แสร้งทา (ลูกไม้) เป็นกลัว ตอบคาตะคอกของยักษ์ด้วยเสียงอันส่ันเครือว่า “ท่านผู้ ย่ิงใหญ่ไม่มีใครเทียบเท่า ข้าน้อยเดินหาท่ีดินเพ่ือประกอบพิธีตามตารับพระเวทแห่งวิสัยพราหมณ์สัก 3 กา้ ว (เลห่ ์-เหล่ยี ม) ไม่ไดต้ ัง้ ใจจะคาแหงหาญบุกรกุ รบกวน ขอทา่ นอสรู ได้โปรดเมตตาข้าด้วย เม่ือข้า ประกอบพิธเี สร็จแล้ว แม้ตอ้ งตายก็ไมเ่ สียดายชวี ติ เพราะข้นึ ชื่อวา่ ไดป้ ระพฤติสมบูรณ์แบบท่ีได้กาเนิด เกดิ มาในตระกูลพราหมณแ์ ล้ว” ท้าวตาตะวันไม่รู้กล (ไม้มวยไทย) ทะนงตนตอบว่า “กูได้ที่ดินแห่งน้ีมาจากพระอิศวร ถ้ามึง อยากไดเ้ พยี งเพอ่ื ประกอบพิธี กกู ย็ อมเทา่ ที่มงึ ตอ้ งการโดยไมค่ ดิ อะไรท้ังหมด” พราหมณท์ าแกล้งเป็นสงสัยถามอีกคร้ังว่า “ท่านผู้เป็นใหญ่ ท่านกรุณาให้แล้วจะกลับเอาคืน หรอื ไม”่ อสูรตาตะวันไม่เฉลียวใจ ลั่นวาจาด้วยความคึกคะนองว่า “เม่ือกูให้เป็นสิทธ์ิแล้ว กูก็รักษา สจั จะไมเ่ อาคนื เด็ดขาด” ทันทีที่ได้ยินยักษ์ต้ังความสัตย์พระนารายณ์ก็สาแดงเดชป่าหิมพานต์สะท้านสะเทือน “ย่าง สามขมุ ” ยกั เยื่องคลมุ แดนยกั ษ์ ทงั้ หมด 300 โยชน์ อสูรตาตะวันตกใจ ตะลึง คิดว่าคงไม่มีใครทาได้เช่นน้ันนอกจากองค์พระสี่กร นึกขึ้นได้กลัว ตาย รีบเผ่นหนีเพอ่ื เอาตวั รอด แตไ่ ปไม่รอด ตอ้ งถงึ กาลม้วยมรณาดว้ ยเดชามหาอิทธิฤทธ์ิ แห่งเทพเจ้า ผูศ้ กั ดสิ์ ทิ ธ์ิ เพราะฉะน้นั ตามตาราพระเวทจึง (นับ) ถือเอาการ “ย่างสามขุม”หรือการก้าวจังหวะยักเยื้อง สามเส้า เป็นแบบฉบับในกระบวนการ “พาหุยุทธ์” หรือการชกต่อยและใช้อุปเท่ห์ เล่ห์เหลี่ยม ดาเนนิ การปลุกปราณ (จิตใจ) บรรดามัลละในขณะเริ่มการต่อสู้ด้วยคติท่ีว่า อย่าแต่ว่าปฏิปักษ์ซ่ึงเป็น เพยี งมนษุ ยธ์ รรมดาเลย แม้ยักษ์เม่ือต้องประจันหน้ากับท่าทาง “ย่างสามขุม” ยังตกใจกลัว หนีจนไม่ สามารถเอาชีวิตรอดได้ หลวงวิศาลดรุณกร ท่าย่างสามขุมที่ต้องตามตารา ผู้เขียนเห็นว่าควรถือ แบบของอาจารย์หลวงวิศาลดรุณกร (อั้น สาริกบุตร) อาจารย์มวยไทยแห่งโรงเรียนสวนกุหลาบ วทิ ยาลยั สมยั พ.ศ.2464 เพราะเป็นทา่ ย่างสามขุมซงึ่ ตรงกับแบบทา่ ของ “พ่อทา่ นมา” เจ้าอาวาสวัด ทุ่งจบั ช้าง อาเภอไชยา ไทยเรามีหลักเกณฑ์และศิลปะการต่อสู้ช้ันยอด แต่ไม่มีใครเอาใจใส่สนใจ ก็น่าเสียดาย และ หากคนไทยยงั มวั หลงใหลลืมตัวนาน ๆ ไป พวกเราคงไม่พ้นสภาวะท้าวตาตะวัน ส่วนผู้ปราบน้ัน มิใช่ พระนารายณ์หรือมนษุ ยท์ ีไ่ หน แตอ่ าจเป็นคนต่างชาตซิ ง่ึ เดินดนิ เหมอื นเรา ๆ นั่นเอง การปิดป้องส่วนท่อนล่าง การต้ังท่า หรือปัจจุบันเรียกว่า การจดมวย ตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว เป็นเพียงท่าที่จดอยู่กับที่เฉย ๆ มีการปิดป้องพอสมควรเฉพาะบั้นเอวข้ึนไปจนถึงกระหม่อมเท่านั้น ส่วนท่อนลา่ งตั้งแตบ่ ั้นเอวลงมาจนถงึ ตีน ยงั มี “ช่องว่าง” ควรแก่การป้องกันอยู่อีกเป็นอันมาก ฉะน้ัน มวยไทยจึงต้องยอ่ ตัวลงเพือ่ ให้หวั เขา่ เกิดมมุ เตรียมไว้สา่ ยรบั เตะ และกา้ วขาเบง่ ขึ้นเองโดยไมต่ ้องเกร็ง การออมแรงไว้ใช้ในคราวจาเป็น เพียงลักษณะท่าทางเท่านี้ยังไม่ปลอดภัยจากการถูกเตะ “แคมสาเภา” หรือท่อนขาอ่อนเสียทีเดียว เพราะตลอดแนวด้านนอกของขา ตั้งแต่ “สลักเพชร” ลง มาจนถงึ หวั เขา่ ตลอดมาตามแนวกลา้ มเน้ือขา้ งนอ่ ง มเี ส้นสาคัญเรียกว่า “ปัตคาต” อันเป็นเส้นโคนขา
99 ดา้ นใน ไปถงึ อุ้งเข่าคู้ตอ่ กับ “นาคบาศ” คือพับในตลอดถึงตาตมุ่ ดา้ นใน ซ่งึ บางตาราเรียกว่า “ปัตคาต ขาคมี ” เป็นจุดเจบ็ ซ่งึ ถ้าเผลอเลอจนถกู ทาร้ายอาจเป็นอัมพาตชั่วคราวได้ ฉะนั้นการย่าเหยาะ (ยกขา ขึ้นลง) และย่างสามขุม จึงเป็นวิธีป้องกันอันตราย ขนานด้ังเดิมที่ปลอดภัยท่ีสุด นอกจากนั้นการย่า เหยาะท่ีคละกบั การยา่ งสามขมุ ใช้ตีโต้ (counter-attack) แกป่ ฏปิ กั ษไ์ ดผ้ ลชะมดั อีกด้วย ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ได้กล่าวไว้ว่า จากประสบการณ์เป็นเวลายาวนานในวงการมวย ไทยเห็นว่าการยา่ งสามขมุ มหี ลายแบบด้วยกัน แต่ได้เคยแนะนาให้ถือเอาลีลาท่าทางปรมาจารย์หลวง วศิ าลดรุณกร (อน้ั สาริกบตุ ร) ซงึ่ ถอื เป็นหลักฝึกหัดอย่างย่ิง ท้ังน้ีด้วยเหตุผลพิจารณาคือ ปรมาจารย์ หลวงวศิ าลดรุณกร เป็นศิษยเ์ อกของพระไชยโชคชกชนะ (อ้น) และขุนยี่สารสรรพยากร (ครูแสงดาบ) ท้ัง 2 ท่านนี้ เป็นบรมครูมวยและกระบี่กระบองเล่ืองชื่อในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปิยมหาราช ซง่ึ เมอื่ ทรงพระเยาว์ก็โปรดปรานการฝึกมวยและกระบี่กระบอง จนทรงพระปรีชาสามารถ ออกแสดง ร่วมกับพระเจ้าน้องยาเธอองค์อ่ืน ๆ ในงานสมโภชและงานพระราชพิธี แต่ก็ยากท่ีจะสืบหาผู้รู้เร่ืองดี ไมเ่ หมือนพวกฝรั่งซึง่ มกี ารบนั ทกึ ประวัติน่ารู้ไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ทราบความก่อนแต่เกิด เช่น การชิง ตาแหน่งจอมมวยรนุ่ เวลเตอร์เวท ระหว่างแฮร่ี เลวสิ หรอื นามจริงว่า แฮร่ี เบสเตอร์แมน กับ อารอน บราวน์ หรือเป็นท่ีรู้จักกันทั่วไปว่า “ดิ๊กซี่ คิด” ซึ่งต่อสู้กันอย่างดุเดือดร้ายกาจหวาดเสียวจนนวม หนงั ขาวกลายเปน็ สีแดงเลอื ด ณ สนามกฬี าแห่งเมือง ลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ เม่ือประมาณ 60 ปี มาแล้ว ทั้งน้ีเพราะฝรั่งเขามีนายเจมส์ บัตเลอร์ ผู้สนใจกีฬามวยคนสาคัญ ได้รับมอบนวมชุดนั้นไว้ เป็นทรี่ ะลึก ฝรั่งจงึ มีหลกั ฐานอา้ งอิงเรอื่ งราวของเขาไว้ ท่าต่าง ๆ ของท่าย่างสามขุม ประการที่ 2 ปรมาจารย์หลวงวิศาลดรุณกร เป็นครูมวย โรงเรียน สวนกุหลาบ อันเป็นศึกษาลัยใหญ่ยิ่งแห่งหน่ึงในประเทศไทย (ความจริงตาแหน่งของท่าน คอื อาจารยผ์ ปู้ กครองโรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลัย) ยอ่ มเป็นเสมือนประกาศนยี บัตรรับรองภูมิรู้และ หลักประกันท่ีเชื่อถือได้ โดยปราศจากข้อสงสัย อาจกล่าวว่า โรงเรียนพลศึกษาซ่ึงตั้งอยู่บริเวณ โรงเรียนสวนกุหลาบ ก็คอื ที่มาของกรมพลศกึ ษาในปัจจุบันนน้ี ่ันเอง และทสี่ าคัญที่สุด แบบยา่ งสามขุมตามทป่ี รมาจารยห์ ลวงวิศาลดรุณกร อบรมฝึกสอนลูกศิษย์ ก็เหมือนแบบฝึกสอนของ “พ่อท่านมา” เจ้าอาวาสวัดทุ่งจับช้าง อาเภอไชยา เกือบจะเรียกว่าออกมา จากปาจรยี ์เดียวกัน ฉะนน้ั นักมวยไทยท่ีจะฝึกย่างสามขุมคลุมแดนยักษ์โดยไม่ต้องหว่ันเกรงขาลากขา ลีบ กโ็ ปรดพิจารณาใหเ้ ขา้ ใจ และพยายามฝึกฝนตามคาแนะนาน้ี ท่าเตรียมตัว ยืนตัวตรง ยกมือซ้ายกาหมัดขึ้นถึงระดับแสกหน้า หรือหน้าผากตรงอุณาโลม (ระหว่างกลางหัวค้ิว) หมัดขวาอยู่ห่างกึ่งกลางแขนซ้ายประมาณไม่เกิน 2 - 3 น้ิว ถ้าห่างมาก ถ้า ปฏิปักษ์เตะ หน้าแข้งปฏิปักษ์อาจพลาดถูกซี่โครง อันเป็นตอนท่ีเรียกว่าซี่โครงอ่อนซ่ึงหักง่าย ตอ่ จากนั้นกา้ วเท้าซา้ ยออกไป ข้างหน้าให้เตม็ กา้ วยาว ระวังอยา่ ให้ถึงกับเสียศนู ย์ บดิ ตัวตะแคงเหล่ียม เพ่ือให้เป้าเล็กลงคร่ึงหนึ่ง น้าหนักตัวบนปลายโต่งท้ังสองข้าง (Balls of the feet) สาหรับนักมวยที่ ถนัดซ้าย กอ็ าจต้ังทา่ กลบั กนั แตน่ ักมวยที่ดจี รงิ ควรถนัดทัง้ ซ้ายและขวา ท่าย่าเหยาะ ยกขาซ้ายซึ่งก้าวออกไปข้างหน้าแล้ว ให้ลอยขึ้นจนเข่าใกล้ปลายศอกซ้ายเท่าท่ี อาจยกได้ หรอื ชิดศอกก็ยงิ่ ดี เป็นการปิดช่องวา่ งและกนั “ลูกเหนบ็ ” เข้าชายโครงซ้าย พยายามให้ส้น ชิดตะโพก หรือให้น่องแนบใต้โคนขา เพื่อให้กล้ามเน้ือตลอดขาเบ่งโดยไม่ต้องบังคับและเขม็งพอ ทนทานการเตะ และยังปิดปอ้ งซโ่ี ครงดว้ ย
100 เมื่อทาทา่ น่งิ แล้ว ต่อไปก็ยกขาซา้ ยขวาขน้ึ ลงในจุดเดมิ คือ ย่าหรือเหยียบลงซ้า ๆ เร็ว ๆ ตาม ความหมายของคาวา่ “เหยาะ” พร้อมทจ่ี ะย่ายีในจงั หวะตโี ตเ้ มอ่ื ตอ้ งการ ท่าก้าวย่างเมื่อได้ฝึกท่าเตรียมตัวผสมกับท่าย่าเหยาะคล่องแคล่วพอสมควรแล้ว ก็มาถึงท่า ก้าวย่างและพลิกเหล่ียม โดยก้าวขาขวาไปข้างหน้า ขณะเดียวกับยกมือขวาขึ้นถึงระดับหน้าผาก ทานองเดยี วกับมือซา้ ยลดลงปิดชายโครง เมือ่ ฝึกพลิกเหลีย่ มโดยกา้ วไปข้างหน้าได้คล่องท้ังสองเหล่ียม ก็ควรพลิกถอยหลังให้คล่องด้วย แต่โปรดอย่าเข้าใจปนกับคาว่า “กระหยด” เพราะการกระหยดเป็น คาใชแ้ ทนคาว่าสบื ถอยหรือท่ฝี รั่งเรียกวา Snap back or pull away ท่าย่างสามขุมในการตีโต้ ท่าท้ังสามดังได้บรรยายมาแล้วข้างต้น เป็นท่าที่รวมอยู่ในท่าย่าง สามขุมคลุมแดนยักษ์ เฉพาะใช้รับหรือป้องกันเท่าน้ัน ถ้าจะคานึงถึงการใช้ประโยชน์ของท่าย่างสาม ขมุ ในการตโี ต้ ขอแนะนาเป็นตวั อยา่ งดังนี้ ท่าห้ามทัพ เม่ือได้ยกตีนข้ึนในลักษณะพร้อมที่จะก้าวย่างโดยจะเป็นตีนขวาหรือซ้ายก็ตาม ย่อมอยใู่ นท่าซ่ึงอาจถีบโคนขา ให้ปฏิปักษ์ชะงักการบุกแล้วเตะตอบอย่างเหมาะเจาะด้วยตีนข้างที่ยืน ได้ หรือจะถีบตรงสะบ้าหัวเข่าให้เคล็ด เป็นการเริ่มต้นไปสู่ชัยชนะก็ได้ เพราะมวยไทยท่ีเข่าเคล็ด ย่อมจะลดสมรรถภาพในการต่อสู้หรือป้องกันตัวมาก หรือหากจะเอาถึงพิกลพิการก็ยังได้ แต่ครูบา อาจารย์กาชับไว้มิให้กระทาเกินสมควร นอกจากน้ันสมมติว่าปฏิปักษ์เตะไม่ว่าด้วยตีนซ้ายหรือขวาก็ ตาม ตีนท่กี าลงั อยู่ในลกั ษณะกา้ วย่างอาจเหยยี ดออกปะทะไว้ ตามความหมายทเี่ รยี กวา่ ห้ามทัพ เมื่อเห็นเชิงว่าควรตีโต้อย่างไรดีแล้ว จึงเลือกวางตีนที่เหยียดออกไปปะทะตรงจุดท่ีจะใช้ตีน ข้างท่ียืน เตะตัดได้ถนัดถน่ีตรงเป้าสาคัญทั้งบนล่าง หรือชกและเตะตามด้วยเข่า หรือจะเตะเพียงให้ เกิดผน่ื แดง ขดั ยอกตามแตเ่ จตนา ขอยืนยันว่ามวยไทยขนานแท้นั้น มี “ลูกไม้” ร้ายกาจมากมายและมวยไทยมีมาช้านานก่อน ชาวโปรตุเกส ซ่ึงเป็นชาวเทศเข้ามาอยู่ประเทศไทยก่อนชาติอื่น (พ.ศ.2060) และก่อนพวกพ่อค้าชาว ญี่ปุน่ ซ่ึงเพิ่งเข้ามากรงุ ศรีอยธุ ยาราว พ.ศ. 2171 หลายปี ประจักษ์พฤติการณ์ดังกล่าวน้ี เป็นเหตุซ่ึงลบล้างความคิดเห็นผิด ๆ ของอาจารย์มวยไทย บางท่านท่ยี ังหลงเข้าใจวา่ การทาให้ปฏปิ ักษ์ลม้ โดยการปดั ขาหรอื อยา่ งใด ๆ ก็ตามนั้นมวยไทยเราเอา แบบอยา่ งมาจากมวยญี่ปุ่น ที่เรียกว่า ยวิ ยิตสู หรือทีม่ ผี คู้ ิดพฒั นาข้นึ เรยี กชื่อใหม่ว่า ยูโด หรือเอาแบบ มวยปล้า (Wrestling) ของชาวโลกทมี่ ีโครงร่างใหญโ่ ต ท่านท่ียังหลงคิดเช่นน้ัน โปรดทราบไว้ว่ามวยไทยเรายังมีหลักสูตร “ทุ่มทับจับหัก” คือเอา เป็นเอาตายใช้กันอยู่นานแล้ว อย่าว่าแต่จะทาให้คนธรรมดาล้มเลย ถึงแม้ว่าควายเขาแค่หูน้าหนัก 300 ปอนด์ เทา่ ม้าลาย ก็อาจใช้หลัก “พาหุยุทธ์” ของไทยทาให้ล้มได้ พระอาจารย์ ม.จ.วิบูลย์สวัสดิ วงศ์ สวัสดิกุล พระอาจารย์ท่านหนึ่งของโรงเรียนสวนกุหลาบก็เคยประทานการฝึกแก่ลูกศิษย์ ให้ แสดงไดเ้ หมอื นกิน กลว้ ยนา้ วา้ ถงึ แมก้ ารข่มี าใหล้ ม้ ท่พี วกเขาเคยเห็นจากจอภาพยนตร์ คนไทยก็ข่ีม้า ให้ล้มได้ด้วยการใช้ศิลปะ มใิ ช่ดว้ ยกาลงั ท่าย่ายี ได้กล่าวและสาธกการใช้ตีนเป็น “ไม้เด็ด” ดังที่ยอมรับรู้กันแล้วเฉพาะตีนท่ีอยู่ใน ท่าก้าวย่างเหยียดออกไปท่ีจุดมรณะ ซึ่งตามศัพท์วิชาเรียกว่า “สุมนา” หรือ โยคะศาสตร์ ใช้เรียก เสียงส้ันหน่อยว่า “สุมนะ” เป็นจุดซ่ึงหากกระทบกระทั่งแรง ๆ จะก่อให้เกิดอาการเสียดเสียวและ ขดั ยอก อาจเป็นไข้ตัวรอ้ นและออ่ นเพลียบรเิ วณดังว่านี้ คือ บรเิ วณทอ้ งนอ้ ย
101 อย่างไรก็ตามขอให้ระลึกไว้ว่าพ้ืนท้องน้อยตอนนั้นไม่มีกระดูก มีแต่หนังบาง ๆ ติดต่อแนว ประสาท เน้ือและไขมัน เพียงใช้น้ิวกดก็จะบุ๋มแฟบเกือบจะจดกระดูกสันหลัง ถัดผนังหน้าท้องเข้า ภายในตาแหน่งของอันตคุณ หรอื ไสท้ บ (ลาไสเ้ ลก็ ) ยาวตัง้ 200 กว่าฟุต ตอ่ กับอันตะ (ลาไส้ใหญ่) อีก 4 -5 ฟุต จึงขอให้คิดดูว่าเมื่อถูกทิ่มด้วยปลายน้ิว (ตีน) อันมีกระดูกใหญ่ท่ีสุด 3 ท่อน ประกอบด้วย กล้ามเน้ือใหญ่ที่สุดเป็นอุปกรณ์ส่งออกไป ย่อมแรงพอท่ีจะก่อให้เกิดอาการไส้ขย้อนและอาเจียน เพราะฉะนน้ั ครูอาจารย์ใหล้ ูกศษิ ยผ์ ู้กระทาการชกต่อยชงิ ดี อาบน้าชาระกาย (รวมทั้งข้ีเยี่ยว) เสียก่อน (พึงสังเกตว่าฝร่ังเมืองหนาวต้องทาให้ร่างกายอบอุ่นก่อนชิงชัยเรียกว่า Warm up แต่ไทยเราเมือง ร้อน จึงต้องมีการทาให้ร่างกายเย็นลงด้วยการอาบน้าชาระกายดังกล่าว) ท้ังน้ีเพ่ือทาให้กระเพาะ หนักและเบา ได้มีอัตรายืดหยุ่นผ่อนแรงปะทะตามสมควร มิฉะนั้นกระเพาะอาจแตกหรือชารุดเป็น การเสี่ยงต่อความตาย พวกเราในสมัยหลัง ๆ เห่อฝรั่งคิดว่าบรรดาบรรพาจารย์โง่เง่าเต่าตุ่นย่อมเป็น ความคิดทีผ่ ิดมาก จากท่าย่างสามขุมคลมุ แดนยักษ์นี้ มวยไทยอาจใชเ้ ปน็ ท่าย่ายีได้อีกหลายประการ ซึ่งมีความ จาเป็นทต่ี ้องพยายามฝกึ เชน่ ก. ก้าวย่างตรงเข้าเผชิญหน้าปฏิปักษ์ เปล่ียนตีนหลังเหยียดออกไปโดยแรง (เหน็บ) ตรงบริเวณทอ้ งนอ้ ย ส่วนมอื ต้องคอยปิดหมัดที่ปฏปิ กั ษ์อาจชกสวนมา ข. กา้ วตนี ขวาออกไปทางขวาพอตนี ถงึ พนื้ ก็ใช้ตนี ซา้ ยเหวย่ี งเขา้ ชายโครงปฏิปักษ์ หรือแถว ๆ บัน้ เอว แลว้ หมุนตวั กลับโดยใชแ้ ขนซา้ ยปดั แขนปฏิปกั ษ์ ถองด้วยศอกขวาที่แขนหรือทีบ่ ่าก็ได้ ค. กา้ วยา่ งให้ตีนขวาลอย (สงู ) พอวางตรงหน้าปฏิปักษ์ ก็ใช้เข่าซ้ายสอยไปที่หน้าอกปฏิปักษ์ หรือทาทสี อยดว้ ยเขา่ ซา้ ย แตไ่ มใ่ ห้ถูก เมื่อปฏปิ ักษป์ ดิ ป้องก็ใช้เข่าขวาโทน (ตรง) ตลี าตวั ง. ทาทีจะก้าวย่างจะเข้าถีบ พอตีนถึงพ้ืนก็ย่อตัวลงต่า ต่อยหมัดตรงทันทีท่ีท้องน้อยยิ่ง ปฏปิ กั ษ์กาลงั เหน่อื ย หมดั นยี้ อ่ มไดผ้ ลสมประสงค์ ย่างสามขุม คือ การก้าวย่างที่เท้าท้ังสองข้างเหยียบลงบนเส้นตรงที่วางขนานกันตลอดเวลา โดยที่เท้าซา้ ยจะวางอยู่บนเสน้ ตรงเสน้ ซา้ ย และเท้าขวาจะวางอยบู่ นเส้นตรงเสน้ ขวา การใช้งาน ยา่ งสามขุม ใชท้ ้งั รุกทง้ั รับ เชน่ เดียวกบั ฉากนอก ลกั ษณะการฉากใน จะใช้ในกรณี ที่ตอ้ งการเขา้ วงในของคู่ต่อสู้ ให้แคบที่สุด และใช้ประกอบกับมือ ท่ีปัดจากในออกนอก ส่วนฉากนอก ต้องการ ใช้เพ่ือไปด้านนอกของคู่ต่อสู้ และใช้ประกอบการปัดจากนอกเข้าใน ส่วนย่างสามขุม การเคลื่อนเท้า จะไม่แคบเช่นเดียวกับฉากใน และไม่กว้างเท่ากับฉากนอก แต่มีจุดเด่นที่สามารถใช้ ประกอบกับมอื ทใี ช้ปดั ในออกนอก และปดั จากนอกเข้าใน ย่างสุขเกษม คือ การกา้ วย่างเทา้ ที่เคลื่อนท่ี ในจงั หวะแรกจะเคลื่อนท่ีเช่นเดียวกับฉากใน คือ เหยียบลงบนเสน้ ตรงเส้นเดิม และจังหวะท่ีสองเท้าข้างเดียวกันจะเล่ือนไปเหยียบลงบนเส้นตรงท่ีสอง ท่ีวางขนานกันกับเสน้ ตรงเส้นแรก การใช้งาน ย่างสุขเกษม ใช้ทั้งรุก ท้ังรับ ประกอบกับการใช้อาวุธ หรือแม่ไม้ในลักษณะ กระชากกลับ เชน่ หมัดกระชาก ฝา่ มือกระชาก ศอกกระชาก และการคว้ากระชากในออกนอก 2.3. การไหว้ครรู ่ายรามวยไทย มวยไทย เป็นท้ังศิลปะและศาสตร์ท่ีผ่านการค้นคว้า กลั่นกรองมาเป็นระยะเวลาอัน ยาวนาน นับเน่ืองมาต้ังแต่ชนชาติไทยเร่ิมก่อร่างสร้างตัว การไหว้ครูร่ายรามวยไทย จึงเป็นวิธีคารวะ
102 ครูบาอาจารย์ ผู้มีพระคุณของแต่ละครูแต่ละท้องถ่ิน เพ่ือแสดงออกถึงวัฒนธรรมและจรรยามารยาท ของนักมวย ดงั น้นั ลลี าทา่ ทางของการไหว้ครู ของแต่ละครูแต่ละสานักจงึ ไมเ่ หมือนกัน เหตุที่การไหว้ครูและร่ายรามวยไทยแตกต่างกันออกไป แต่ละครูแต่ละท้องถ่ินจะถือยุติเป็น แบบเดียวกันมิได้ นักมวยจากท่ีราบสูงหรือนักมวยจากฝ่ายเหนือ ท่ีมักมีขาแข็งแรงจึงมีท่าร่ายราท่ี เข้มแขง็ ส่วนนกั มวยฝ่ายใต้ นับจากเมอื งชมุ พร ไชยาลงไป มกั ใช้เลห่ ์เหล่ียมรัดกุม ป้องกันการชกต่อย หรือเตะด้วยเชงิ อ่อนตาม ท่าร่ายราของมวยฝา่ ยใต้ จึงมีทว่ งท่าออ่ นไหว ไมส่ ้นู า่ กลัว ส่วนนักมวยภาคกลาง ท่ีรวมศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ก็มีแบบฉบับของตนเอง สุดแต่จะ ประยุกต์เข้ามาให้เกิด ความสวยงาม และการไหว้ครูร่ายรามวยไทยที่นิยมกันมาก ก็มีท่าเทพนม พรหมสีห่ น้า ฯลฯ ท่าไหว้ครูร่ายรามวยไทย ของปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสิทธ์ิ ที่แพร่หลายคือ ท่าย่างสุข เกษม และมวยไทยสายไชยามีท่าเสือลากหาง ที่นอกจากจะงดงามในแง่ศิลปะแล้ว ยังเป็นท่า เตรยี มพรอ้ มเพ่ือเข้ากระทาตอ่ ปฏิปกั ษ์ ในข้ันเด็ดขาดอีกดว้ ย นอกจากนก้ี ารไหว้ครูร่ายรามวยไทยยงั เปน็ อบุ ายเตือนใจให้ยึดม่ันในความสามัคคีรักหมู่คณะ หากฝ่ายหน่ึงไหว้ครูร่ายรามวยไทยแบบเดียวกันก็ย่อมแสดงให้เห็นว่าเป็นคนในหมู่ คณะเดียวกันไม่มี ความจาเป็น ต้องต่อสู้พิฆาตกันเองขณะเดียวกันความมั่นคงแน่นแฟ้นของการรักหมู่คณะ ย่อมโน้ม นาไปสู่ความจงรักภักดีต่อพ่อเมืองหรือพระมหากษัตริย์ เพราะเหตุน้ีนักมวยจึงต้องผินหน้าไปทางทิศ อนั เปน็ ทปี่ ระทบั ของพ่อเมือง น้อมราลึกถงึ พระบารมี ตลอดจนคณุ ของบิดามารดา ครูบาอาจารย์ การไหวค้ รูร่ายรามวยไทยของมวยไทยสายไชยา หลังจากนักมวยถวายบังคมพระมหากษัตริย์ แล้ว นักมวยจะน่ังยอง ๆ ลงบริกรรมคาถาและก้มกราบลงพ้ืน 3 ครั้ง นักมวยจะยืนขึ้นสารวมกาย พร้อมกับยกนว้ิ หัวแมม่ ือข้นึ อดุ ทีร่ จู มกู ทีละข้าง สูดลมหายใจเข้าออกช้า ๆ จึงกระทืบเท้าตั้งท่าครูแล้ว รา่ ยรา ลอ่ หลอก คมุ เชิง ดูคู่ต่อสู้ ท่ีจริงแล้วนี่คือ วิชาตรวจลมหายใจ หรือ ตรวจ “ปราณ” ท่ีสืบทอด มาแตค่ รง้ั โบราณ การไหวค้ รรู ่ายราในสมัยโบราณน้ัน มิได้เน้นท่ีความอ่อนช้อยงดงาม หรือการนาเอา นาฏลลี ามาผสมด้วย อีกทั้งกลไม้มวยต่าง ๆ ที่เห็นมีแสดงกันอยู่ในปัจจุบันน้ัน เพ่ิงมีมาปรากฏในการ ไหว้ครูมวยไทยเม่ือไม่นานน้ีเอง การไหว้ครูร่ายรามวยไทย โดยเน้ือแท้แล้วมุ่งเน้นไปที่ การระลึกถึง คณุ ครูบาอาจารย์ ทาจิตให้เป็นสมาธิ อันเป็นการสารวมจิต สารวมกายและวิทยาคมที่เรียนมา แฝง ไปด้วยความคิดที่รอบคอบ ระหว่างการไหว้ครู ร่ายราจะต้องมีความรัดกุมทะมัดทะแมง เปี่ยมด้วย ตบะครอบคลุมน่าเกรงขาม และเปน็ โอกาสในการสารวจพ้ืนที่ว่ามีหลุมบ่อ กรวดทราย ดูแสงตะวันอยู่ ทศิ ใด เพอ่ื ประโยชน์ในการต่อสู้ และเป็นการอบอุ่นรา่ งกาย ท่าไหว้ครรู า่ ยรามวยไทยสายไชยา แบ่งออกเปน็ 5 ขั้น ดังนี้ 1. ทา่ ถวายบงั คมพระมหากษตั ริย์ สมยั ก่อนเมื่อมีการแข่งขันมวยต่อหน้าพระพักตร์พระมหากษัตริย์ นักมวยทุกคนต้อแสดง การถวายบังคมทุกคร้ัง และหากแม้ไม่เสด็จ ก็จาต้องถวายบังคมโดยสมมุติ เป็นประเพณีสืบมาถึง ปจั จบุ นั 2. ทา่ กราบเบญจางคประดิษฐ์ เมื่อถวายบังคมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นั่งยอง ๆ เพื่อเตรียมทาท่ากราบ การน่ังยอง ๆ เป็นท่าน่ังของมวยไทยสายไชยา เอกลักษณ์ที่ไม่เหมือนใคร เหตุผลทางภาคใต้มีฝนตกเกือบตลอดปี
103 หรือเรียกว่า “ฝนแปดแดดส่ี” และการแข่งขันสมัยก่อนแข่งชกมวยบนพื้นดิน สนามมวยชื้นแฉะเป็น ส่วนมาก ผู้รู้บางท่านก็ว่าการนั่งยอง ๆ เป็นท่าน่ังท่ีคนในพ้ืนท่ีชนบทส่วนใหญ่นิยมน่ังกัน ไม่ได้ เกย่ี วขอ้ งกบั สภาพดนิ ฟ้าอากาศ แตอ่ ย่างใด สว่ นมวยภาคอื่น ๆ จะนั่งคุกเข่าแบบสวดมนต์ทาวัตร ท่า กราบเบญจางคประดษิ ฐ์ กราบโดยให้อวัยวะทง้ั 5 มีเข่า 2 มือ 2 หน้าผาก 1 จรดลงกับพ้ืน เพื่อระลึก คุณพระรัตนตรัย คุณของบิดามารดา คุณของครูบาอาจารย์ ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชา เพ่ือยึดเหนี่ยว จติ ใจใหม้ ีสติ สงบ เยือกเย็น มัน่ คงพรอ้ มตอ่ สู้ 3. ทา่ ตรวจลม เมื่อกราบเบญจางคประดิษฐ์เสรจ็ กล็ ุกขึน้ ยืน ยกหัวแมม่ ือขวาปิดจมกู ขวา หายใจเข้าออก 2 - 3 ครั้ง จากนั้นทาสลับด้านซ้าย เพ่ือตรวจดูลมหายใจข้างซ้าย หรือขวาไหลเวียนคล่องดีหรือไม่ หาก ลมหายใจติดขัดไม่คล่องให้บริกรรมคาถา จนกว่าลมหายใจข้างนั้นจะไหลเวียนคล่อง จนสงบ เกิดสมาธิ เม่ือลมหายใจไหลเวียนคล่องไม่ติดขัด เป็นสมาธิดีแล้ว ให้ยกสันหมัดท้ังสองจรดหน้าผาก เรยี กว่า ถวายหมดั ครู แลว้ กระทบื เทา้ เพอื่ ขึ้นทา่ ครู ตามวิธกี ารไหว้ครรู า่ ยรา 4. ท่าย่างสามขมุ เม่ือข้ึนท่าครูแล้ว นักมวยจะเดินย่างสามขุมด้วยลีลาเนิบช้าไปข้างหน้าตลอด และกลับตัว หา้ มย่างถอยหลัง 5. ท่าเสอื ลากหาง ท่านี้เป็นการเข้าสะกดข่มขวัญปรปักษ์ ด้วยอาการอย่างเสือหมอบ ค่อย ๆ เข้าหาเหยื่อ อยา่ งระมัดระวงั พรอ้ มยกมอื ข้ึนป้องหน้าและสารวจคู่ต่อสู้ตลอดทั้งตัว ลุกขึ้นยืนกระทืบเท้าแล้วกลับ ตัวพร้อม หันมาพยักหน้าให้ฝ่ายปรปักษ์ 3 ครั้ง ค่อยจะย่างสามขุมกลับเข้ามุม ระหว่างนั้นอาจมี การหยดุ ยวั่ ดว้ ยท่า สุขเกษม พร้อมเอี้ยวคอมาพยักหน้าอีกครง้ั ก็ได้ การไหวค้ รรู า่ ยราของมวยไทยสายไชยา จะไม่มีท่าสวยงามแบบนาฏศิลป์ ยกเว้นท่าท้าคู่ต่อสู้ โดยเอาหน้าคุ้ยดินอย่างไก่ ซ่ึงมีลีลาคล้ายโนราห์ของชาวใต้ จะย่างสามขุมเดินวนเป็นวงกลม ไม่ตายตัว หลอกล่อคู่ต่อสู้ อาจทาให้คู่ต่อสู้ตาลายได้ (วัลลภิศร์ สดประเสริฐ. 2547 : 79 - 84) (อมรกฤต ประมวญ. ข้อมูลจาก http:/www.muaychaiya.com) (พันเอกอานาจ พุกศรีสุข ผู้ให้ สมั ภาษณ์ 20 มกราคม 2550)
104 ภาพที่ 31 ปรมาจารย์เจือ จักษุรกั ษ์ สาธติ การไหวค้ รูร่ายรามวยไทยสายไชยา ท่มี า : หนังสอื muaythai the king of all martial arts dec. 1984 การพนั หมดั แบบคาดเชือก
105 ภาพท่ี 32 - 34 วธิ กี ารพันหมัดคาดเชือกของมวยไทยสายไชยา วธิ ี “คาดเชือก” (เตรียมหมัดชกมวย) ในสมัยโบราณ (เมื่อ 80 - 90 ปี) ตามท่ีทราบกันอยู่ ท่ัวไปแล้วว่า มือเป็นอวัยวะสาคัญในการครองชีพ หากมือพิการย่อมทาให้เจ้าของมือหย่อน สมรรถภาพลงมาก จนไม่อาจหาสิ่งประดิษฐ์ใด ๆ ทดแทนมือได้ นักมวยจึงต้องเสริมหมัดให้มั่นคง ดงั ในสมัยโบราณเรียกวา่ “คาดเชือก” ความจริงคาว่า “คาดเชือก” หมายถึง ด้ายดิบที่จับเป็น “ไจ” (รวมเสน้ ดา้ ย) ขนาดโตเท่าดินสอดา ต่อกันให้เป็นเส้นเชือก ยาวประมาณ 20 - 25 เมตร ม้วนแยก เป็น 2 กลุ่ม ความยาวของเชือกด้ายดิบต่างกันสุดแต่ความต้องการของประเภทนักมวยหรือเก่ียวแก่ ความนิยมของท้องถิ่น นักมวยที่ต้องการใช้หมัดป้องปิดหน้า และให้หมัดหนักชอบใช้ด้ายยาวซึ่งมี ผลเสียทาให้ชกอืดอาด ถ้าใช้ด้ายดิบขนาดสั้น หมัดเล็กและเบาก็อานวยผลทางว่องไว ทั้งนี้ไม่มี ขอ้ บงั คับว่าด้ายตอ้ งยาวแคไ่ หนไม่คาดหมดั เลยก็ได้ เช่น นักมวยของเจ้าหลวงลาปาง คร้ังส่งเข้ามาชก แขง่ ขนั เกบ็ เงนิ ซื้อปนื ให้กองเสอื ป่า ณ สนามมวยสวนกุหลาบ ก็ไมค่ าดหมดั เลย นักมวยไทยสายโคราช (นายทับ จาเกาะ นายยัง หาญทะเล) เป็นมวยเตะ นักมวยพ้ืนเมือง จงึ คาดหมดั ถงึ ข้อศอกเพ่อื ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการเตะได้พอสมควร มวยไทยสายโคราชจึงใช้เชือกยาว เพราะนอกจากพันหมดั แลว้ ยงั พนั รอบแขนจดขอ้ ศอกกบั ทั้งยงั ขมวดไว้กันหลดุ ลยุ่ อีกดว้ ย
106 มวยไทยสายลพบุรีท่ีเลื่องลือว่า “มวยหมัดตรง” ไม่นิยมการใช้มือป้องกันเตะชอบต่อยตรงๆ เป็นแบบฉบับ ฉะนั้นมวยไทยสายลพบุรี จึงต่อยแหวกการคุมได้ดีกว่ามวยสายอ่ืน ๆ จนได้ชื่อว่า “แม่น” ก็ได้ต่อยกับนักมวยท่ีชอบเดินชนและไม่ปิดหน้าเช่นเห็นตัวกันบ่อย ๆ ปัจจุบันเชื่อว่าจะเป็น โรค “เมาหมดั ” เพิ่มขึ้นมาก การใชด้ ้ายดิบวตั ถุพันหมดั จงึ ไมส่ ู้ยาว สาหรับมวยภาคใต้ เช่น ชุมพร ไชยา และสุราษฎร์ธานี ขนาดหมัดแตกต่างกันเพราะมีท้ัง เลก็ และใหญ่ มเี หมอื นอยอู่ ย่างเดียวตรงคาดเชือกไม่เลยข้อมือมากนัก ท้ังน้ีเพราะมวยภาคใต้ต้องการ ใช้ศอกรับ (ปิด) ตีนและท่อนแขน รวมทั้งศอกกระทุ้งแท้งลาตัว โดยเรียกลักษณะการกระทาด้วยรหัส รกู้ ันในหมู่มวยภาคใตว้ ่า “ปักลูกทอย และฝานลูกบวบ” ส่วนขนาดของด้ายจะยาวหรือสั้นสุดแล้วแต่ ประเภทบคุ คล หากประสงคจ์ ะใชห้ มดั ปิดปอ้ งหน้าก็ใช้เชือกยาวซ่ึงอืดอาด ถ้าใช้ด้ายขนาดส้ันก็ว่องไว กว่า อาจชกลอดการคมุ ได้ หมัดคาดเชือกเป็นวิธีพันด้ายดิบเสริมป้องกันมือมิให้เป็นอันตราย นักมวยท่ีจะแข่งขันต้อง อาบน้าชาระกายเพ่อื ให้เกิดความชุ่มชืน้ และบางรายยังใช้ผ้าขาวม้าหมาด ๆ คลุมไหล่ไว้อีกแล้วนั่งกับ พ้ืนท่ีไหนกไ็ ด้ เพราะไมม่ หี อ้ งแต่งตัวอย่างในปัจจุบัน การนั่งต้องชันหัวเข่าไว้ทั้ง 2 ข้าง เพื่อรับแขนท่ี เหยียดออกไปข้างหน้าตรงข้อศอก คว่ามือกางน้ิวออกเต็มที่ พ่ีเล้ียงหรือคนให้น้า ซ่ึงความจริงเป็นครู มวยผู้ประสิทธ์ิวิทยาการและวิทยาคมปลุกเสกเครื่องรางของขลัง ด้วยพระคาถานารายณ์แสง หรือ สุดแตจ่ ะใชบ้ ทใดตามที่ไดเ้ รยี นมา แล้วก็สวมประเจียด (ผา้ ยันต์ทเี่ ชอ่ื ว่าปอ้ งกนั อนั ตรายได้) หรือมงคล (ด้ายสายสิญจน์ท่ีเข้าพิธีพุทธตันตระเพ่ือสิริและโชคชัย) ไว้บนหัวนักมวยก่อนเครื่องคาดอ่ืน ๆ เช่น ตะกรุด พิสมร อาจารย์บางท่านอาจลงธนูมือ หรืออาวุธ 4 ประการ หรืออาวุธพระเจ้าสุดแต่ความ นิยม แลว้ เริ่มคาดด้ายดิบตรงข้อมือเพื่อให้กระดูก 8 ช้ิน กระชับม่ันคงไม่เคล็ด ไม่ซ้น ต่อจากนั้นก็พัน รอบ ๆ หลงั มอื และซองมือไปจนจรดปลายนิ้วอย่างหลวม ๆ หันกลับมาทางข้อน้ิวมืออีกคร้ังหน่ึง แล้ว จึงสอดด้ายรวบรั้งจากปลายเขา้ มาจนเลยง่ามมอื ให้ขอ้ น้วิ โผลก่ ลายเปน็ อวัยวุธ ถงึ ระยะนี้หมดั ทีค่ าดเชอื กยังคงออ่ นนุม่ (คลา้ ยนวม) เม่ือด้ายดิบยังเหลือจากการพันประมาณ 1 เมตร ครูผู้คาดหมัดจะบิดด้ายดิบให้เป็นเกลียวเขม็งแข็งเป็นตัวหอย นักมวยต้องขยับน้ิวป้องกัน อาการเหน็บ สอดก้นหอยเข้าทที่ ีละตัวเรยี งรายจนทัว่ หลังหมดั มีความตึงข้ึนทุกที เท่าน้ียังไม่พอเพราะ ก้นหอยยังพลิกได้ จึงต้องใช้ด้ายขนาดก้านไม้ขีด ยาวประมาณ 1 เมตร เรียกว่า “หางเชือก” ผู้คาด หมัดต้องใช้หางเชือก “สัก” คือสอดตรึงให้ก้นหอยท่ีเอียงมาไปมาได้ ต้ังตรงทานองเดียวกับหนาม ทเุ รยี นทขี่ รบิ เอาปลายแหลมออก เมอื่ จะเริม่ การชกต่อยจริงจัง ครูมวยยังอมน้าพ่นลงบนหลังหมัด ด้ายดิบที่บิดกลม ๆ เป็นก้น หอยก็จะดูดน้าเบ่งตัวแข็ง ปฏิปักษ์ที่ปิดป้องไม่รัดกุม หรือเครื่องรางของขลังไม่ศักด์ิสิทธิ์อาจต้องใช้ เพ่ือนจูงกลับบ้านเพราะมองไม่เห็นทาง ฉะน้ันนักมวยในสมัยโบราณจึงต้องฝึกฝนการป้องกันตัวก่อน การเรียนแม่ไม้ลูกไม้อย่างอ่ืน และก่อนที่ครูบาอาจารย์จะปล่อยให้ทดสอบสมรรถภาพในสนาม อาจ ต้องใชเ้ วลา 3 - 4 ปี สมกบั ความหมายของคาว่า “ลกู ศิษย์” หรอื รกั เหมอื นลูก อนึง่ ดา้ ยดิบทใี่ ชค้ าดหมดั (ซึ่งบางอาจารย์ใช้ด้ายตราสังศพก็มี) มักจะถูกเก็บไว้ช้านานมีเลือด ก็ตาม เนื้อก็ตาม ซ่ึงมักติดเกรอะกรังที่ด้ายจึงแข็งคมเหมือนกระดาษทราย ส่วนที่เล่าลือต่อ ๆ กันมา ว่าเชือกคาดหมัดนักมวยสมัยโบราณเป็นด้ายดิบชุบน้าข้าวและยังแถมโรยผงแก้ว (เหมือนทาป่านคม) ด้ายน้ันยงไม่เคยเห็นด้วยตาจึงไม่กล้ายืนยัน ขอเสนอเป็นข้อสังเกตแต่เพียงว่า นักมวยจาเป็นต้องใช้
107 หมัดตนเองลูบหน้าให้กรรมการดูก่อนเร่ิมชกตามประเพณีมวยไทยแท้ มืออ่อนแต่หมัดแข็ง (ฟ้าเมอื งไทย ปที ่ี 4 ฉบับที่ 193 วนั พฤหัสบดที ี่ 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2515) เปรียบเทียบการคาดเชอื กของ 3 มวย 1. มวยไทยสายโคราช เป็นมวยท่ีเตะต่อยวงกว้างเรียกกันว่า “เหวี่ยงควาย” จึงใช้ด้ายดิบ คาดหมดั แลว้ ขมวดรอบ ๆ แขน จนจรดข้อศอกเพ่ือปอ้ งกันการเตะ 2. มวยไทยสายลพบุรี เป็นท่ีเลื่องช่ือว่าเป็นมวยหมัดตรงไม่นิยมใช้มือป้องกันการเตะ ชอบ ต่อยตรง ๆ ตามแบบฉบับมวยไทยสายลพบุรี จึงต่อยแหวกการคุมได้ดีกว่ามวยถิ่นอ่ืน จนได้ชื่อว่า “แมน่ ” การคาดหมัดจงึ เพยี งครึง่ แขน ใช้ด้ายดบิ ไม่ยาวเท่าโคราช 3. มวยไทยสายไชยา ถนัดการใชศ้ อกและแขน จึงคาดด้ายดบิ ขนาดสัน้ พอให้พนั รอบขอ้ มอื กันซ้นหรอื เคลด็ เทา่ นน้ั จุดประสงคข์ องการคาดเชือกกเ็ พ่ือเสริมหมัดให้กระชบั มัน่ คงกว่าการปน้ั หมดั ธรรมดา ๆ และ เชอื ก ซง่ึ ความจรงิ ก็คอื ด้ายดิบท่จี บั เป็น “ไจ” การคาดเชือกตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์เท่าที่สืบค้นได้ น่าจะมีมาตั้งแต่ก่อนอยุธยา ตอนกลางในปลายรัชสมัยของพระเชษฐาธิราช (พระบรมราชาท่ี 2) พระองค์ระแวงว่าเจ้าพระยา กลาโหมสุริยวงค์จะคิดกบฏ จึงดารัสให้ขุนมหามนตรี ออกไปหาตัวเจ้าพระยากลาโหมฯ เข้ามา ขณะนั้น จหมืน่ สรรเพชรภักดี ได้สอดหนังสือลับออกไปแจ้งแก่พระยากลาโหมว่า “พระโองการให้พา เข้ามาดูมวย บัดนี้เตรียมไว้ให้พร้อมอยู่แล้ว เมื่อเจ้าคุณจะเข้ามานั้นให้คาดเชือกเข้ามาทีเดียว” เมื่อ เจ้าพระยากลาโหมฯ ได้รับแจ้งรหัส ดังนั้นจึงเตรียมพร้อมแล้วนาทหารเข้าชิงอานาจจับพระยา เชษฐาธิราช สาเร็จโทษตามประเพณีกษัตริย์ ต่อมาเล่าขุนนางก็พร้อมกันยกเจ้าพระยากลาโหมฯ ข้ึน เป็นพระเจ้าปราสาททองสืบไป ดังน้ันการคาดเชือกจึงน่าจะมีมาก่อนรัชสมัยน้ีนานแล้วและคาว่า “คาดเชอื ก” กก็ ลายเป็นรหสั ท่รี เู้ ฉพาะผู้คิดการใหญ่ในสมยั อยธุ ยา การแต่งกาย ภาพที่ 35 - 36 การแต่งกายของมวยไทยสายไชยา
108 กวี บัวทอง และคณะ (2525 : 17) กล่าวว่า มวยไทยสายไชยา ใช้กางเกงขาส้ัน (แบบ ขาก๊วย) ใช้ผ้าผูกลูกโปะ (กระจับ) ท่อนบนเปลือยอก หมัดใช้ด้ายดิบพันมือ (หมัดถัก) ขณะชกศีรษะ สวม “ประเจยี ด” การแต่งกายของ “มวยไทย” กบั “มวยไทยสายไชยา” แตกต่างกัน ดงั นี้ 1. มวยไทย ใช้เครื่องผูกศีรษะ เรียกว่า “มงคล” ใช้เป็นเครื่องผูกศีรษะหรือเครื่องรัดผม ถือ เป็นเคร่ืองรางท่ีสามารถป้องกันภัยได้ชนิดหน่ึง มวยไทยสายไชยา เรียกเคร่ืองสวมศีรษะว่า “ประเจียด” มีการลงคาถาอาคม ลงยันต์เป็นเคร่ืองป้องกันภัย และป้องกันมิให้เส้นผมลงมาปิดตา ในขณะท่ีกาลังต่อสู้มวยไทยสายไชยาจึงต้องสวมประเจียดหรือเคร่ืองสวมศีรษะตลอดเวลาที่ทา การ ต่อสู้ ถา้ หลดุ กข็ ออนญุ าตสวมใหม่ได้ 2. มวยไทย เรียกเครื่องผกู แขนว่า (ผา้ ) “ประเจียด” มวยไทยสายไชยา ใช้ “ประเจียด” สวม ศีรษะหรือผกู ศรี ษะตลอดเวลาที่ขน้ึ ชกมวย 3. มวยไทย เรียกเคร่ืองผูกหมัดว่า “คาดเชือก” มวยไทยสายไชยา เรียกการพันหมัดว่า “หมัดถกั ” แตเ่ ชอื กทเี่ อามาทา “คาดเชือก” หรือ “หมดั ถกั ” ใชเ้ หมอื นกนั คอื ใช้ด้ายดิบหรอื ผ้าดิบ 4. มวยไทย มีการผูกใจด้วยคาถา มนตรา และอาคม ส่วนนี้มวยไทยสายไชยาไม่ได้แยกเป็น เคร่ืองผูกใจ แต่ใชก้ ารปลุกเสกคาถาอาคมไวใ้ น “ประเจียด” การฝึกซ้อม ไชยามีกองมวยอยู่หลายกองแทบทุกหมู่บ้าน มีครูมวยแล้วก็ต้ังกองมวย เพราะเม่ือก่อนไช ยาเป็นเมืองหน้าด่าน ต้องออกรบกันเลยตั้งกองเมืองไว้เพ่ือเรียกใช้ในยามสงคราม “ธรรมทาส พานิช ผู้ได้รับการเชิดชูจากสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติว่า เป็นผู้มีผลงานดีเด่น ทางด้านวัฒนธรรมของภาคใต้เล่าถึงความเป็นมาของเมืองไชยา เมืองมวยท่ีได้รับการกล่าวขานมา ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 อันที่จริงแล้ว เมืองซึ่งได้รับการยกย่องว่ามีความดีเด่นทางด้านมวยนอกจาก เมืองไชยาแลว้ ยังมีเมืองโคราช และเมืองลพบรุ ี อีก 2 เมือง ด้วย ภาพท่ี 37 – 38 การฝึกซ้อมของมวยไทยสายไชยา
109 พระเดชพระคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์สม ฉนโน อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศน์เทพวราราม ได้ กล่าวถึงนลิ ปกั ษี ครูมวยไทยสายไชยา คนหนง่ึ ของเมอื งไชยาวา่ “นายนลิ ครมู วยไชยา ประแป้งหน้าขาว นัง่ ขดั สมาธิบนครก (ตาข้าว) แล้วให้ลูกศิษย์เข้าชก พร้อมกันถึง 3 คน โดยครูนิลสามารถปิดป้อง มิให้หมัดลูกศิษย์โดนหน้าและไม่ให้เสียหลักถึงตก จากครก” ครูนิลผู้น้ี เป็นนักมวยรุ่นเดียวกันกับหม่ืนมวยมีช่ือ และฝีมือก็พอฟัดพอเหว่ียงกัน การที่ครู นิลสามารถปิดป้องการชกของลูกศิษย์ทั้ง 3 คน โดยลูกศิษย์มิอาจชกถูกหน้าได้ท้ัง ๆ ที่น่ังอยู่บนครก กระเด่ืองน้ัน กเ็ ป็นผลสืบเนือ่ งมาจาการฝกึ ฝนมวยไทยอย่างถกู หลักวธิ ีนัน่ เอง การฝึกมวยไทยแต่สมัยกอ่ นนั้น เปน็ การฝึกทีละข้ันทีละตอน โดยเริ่มจากการฝึก “ป้องปัดปิด เปิด” “ล้มลุกคลุกคลาน” เป็นลาดับแรก จากนั้นก็ฝึก “ล่อหลอกหลบหลีก” “ทุ่มทับจับหัก” เป็น ลาดับถัดมาและ “ประกบประกับจับรั้ง เข้าด้านหลังดัดก้านคอ” เป็นลาดับสุดท้าย เหนืออื่นใดน้ัน นักมวยไทยจะต้องฝึก “การย่างสามขุม” ให้ชานาญ น่ันหมายถึงว่าจะต้องฝึกการย่าเหยาะและการ ก้าวยา่ ง ซึ่งรวมอยู่ในท่ายา่ งสามขมุ ได้อยา่ งชัดเจนดว้ ย ท่าย่างสามขุมนี้ ครูมวยแต่ละท่านจะมีท่วงท่าและลีลาที่ต่างกัน แต่ท่าย่างสามขุมท่ีสมบูรณ์ แบบที่สุด สามารถใช้ป้องกันตัวหลบหลีกคือรับ และแปลงเป็นท่าย่ายีฝ่ายปรปักษ์คือรุก ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รัดกุมมากที่สุด คือท่าย่างสามขุมของหลวงวิศาลดรุณกร ซ่ึงฝึกมาจากพระไชยโชคชก ชนะ (อน้ ) และทา่ ยา่ งสามขมุ ของหลวงวิศาลดรุณกรนี้ ก็เป็นท่าย่างสามขุมของพ่อท่านมา เจ้าอาวาส แห่งวดั ท่งุ จบั ชา้ ง ปรมาจารย์มวยผู้มากด้วยอภริ หิ ารแห่งเมืองไชยาน่ันเอง “นักมวยจะเอาดีไม่ได้ ถ้าฉากไม่คล่อง” ครูจรูญ ทวีสิทธ์ิ ปรมาจารย์มวย ทายาทของครู กมิ เสง็ ทวสี ิทธิ์ เนน้ ความสาคัญของทา่ เทา้ คือ การยา่ งสามขุมพรอ้ มทง้ั แสดงทา่ จดมวยใหด้ ู การตั้งท่ามวยหรือการจดมวยนี้ เป็นท่าเบ้ืองต้นของการย่างสามขุม ซ่ึงมีหลักอยู่ว่าต้อง เบี่ยงตัวให้บางเป็นเป้าเล็ก โดยเบ่ียงหลบฝ่ายปรปักษ์ ในลักษณะที่ป้องปัดหลบหลีกสืบถอยได้ คล่องแคล่วและไม่เสียหลัก การฝึกมวยแต่ก่อนนั้นอุปกรณ์การฝึกยังไม่พร้อมเหมือนเช่นปัจจุบัน ฉะนัน้ อปุ กรณแ์ ละธรรมชาติ รอบ ๆ ตัวจึงถูกนามาใช้กับการฝึกไปโดยปริยาย อาทิ เม่ือลูกศิษย์ได้รับ คาแนะนาให้รู้จักการปั้นหมัดแล้ว ขั้นต่อมาก็จะใช้ผ้าขาวม้าพาดคอด้านหลัง มือซ้ายขวาม้วนชายผ้า ทั้งสองพันหมัด ยกมือซ้ายหรือขวาให้เป็นระดับหน้าผากตรงกลางหัวค้ิว ห่างจากหน้าประมาณ 8-12 นิ้ว อีกมือหน่ึงอยู่ในระดับปลายคาง ศอกของมือน้ีห้อยปิดลาตัว ห่างซ่ีโครงประมาณ 2-3 นิ้ว ถ้าห่างมากจะทาให้การป้องกันการเตะไมร่ ดั กุม หรือศอกตวั เองอาจกระแทกบรเิ วณซ่โี ครงถึงจุกได้ เมื่อเตรียมมือหรือหมัดตามท่าดังกล่าวแล้ว ก้าวขาซ้ายหรือขวาออกไปข้างหน้าเต็มก้าว ข้อสาคัญหากก้าวขาซ้ายออก หมัดท่ีอยู่ระดับหน้าต้องเป็นหมัดซ้าย หากก้าวขาขวาหมัดท่ีอยู่ระดับ หนา้ ก็ต้องเปน็ หมัดขวาเชน่ กนั จากน้ันก็ปล่อยหมัดหนา้ ออกไปสลับซ้ายและขวาโดยให้เท้าเคล่ือนไหว สมั พันธก์ ับการปลอ่ ยหมดั ดว้ ย คอื ปล่อยหมัดซ้ายก็ต้องก้าวซ้าย ปล่อยขวาก็ต้องก้าวขวาเป็นต้น และ ผ้าขาวม้าน่ีเองทใี่ ชเ้ ปน็ ลูกประคบพันมือแทนนวม นอกจากผ้าขาวม้าแล้ว สมัยที่อาจารย์กิมเส็ง ทวีสิทธิ์ ปรมาจารย์มวยไทยผู้ยิ่งใหญ่ ฝึกมวย กับครูเขียวน้ัน ใช้กาบมะพร้าวแทนนวมด้วย ส่วนอุปกรณ์การฝึกอื่น ๆ นั้น มีการใช้มะนาว ท่ียังมีข้ัว 10 ลกู ผกู ด้วยด้ายแขวนกับราวไม้รวก ห่างกันประมาณคืบเศษเสมอระดับคอหอยของผู้ฝึก โดยผู้ฝึก
110 ต้องใชห้ มดั ตอ่ ย ศอกถอง แขนรบั โดยมขี ้อกาหนดว่า อย่าให้มะนาวแกว่งถูกหน้า อย่าให้ด้ายท่ีแขวน พนั กัน และอยา่ ให้ขวั้ มะนาวหลดุ เม่ือใช้หมัดคล่องแคล่วแล้ว ก็จะเป็นการทดสอบป้องกันตัวส่วนบน (หัวถึงบั้นเอว) เป็นขั้น สุดท้าย ด้วยการใช้แป้งนวลผสมน้าประหน้าแล้วให้ข้ึนนั่งสมาธิบนก้นครกกระเด่ือง (ครกตาข้าว) จากน้ันค่ซู อ้ มซ่งึ สวมนวมทเี่ ย็บกันเองด้วยผ้าใบแบบให้น้ิวท้ัง 5 โผล่ออกมา จะชกเป็นพัลวัน ผู้ฝึกที่ น่งั อยูบ่ นครกต้องพยายามปิดหมัดย่งิ กวา่ ปดั ให้หมดั เฉียด และหากผใู้ ดตกครกบ่อย ๆ แสดงว่าหลักยัง ไม่มั่น หรือถ้าแป้งที่ประหน้ามีรอยเช็ดมากก็แสดงว่า ยังปิดและปัดไม่คล่อง จะต้องฝึกฝนจนกว่าจะ คลอ่ งและหลักดี ส่วนการฝกึ เท้าน้นั นอกจากการวิ่งในน้าในระดับข้อขา โดยว่ิงกระแทกให้เห็นรอยทรายทุกฝี ก้าวและวิ่งลึกไปจนถึงระดับหน้าขาแล้ว ก็ต้องฝึกหัดเตะต้นกล้วย (สมัยเม่ือยังไม่มีกระสอบทราย) ดว้ ยการใชต้ น้ กลว้ ยขนาดศูนย์กลาง 5-6 นวิ้ ยาวประมาณ 3 ศอก ต้ังไว้ตรงพื้นเรียบ ๆ ผู้ฝึกต้องเตะ ประครองตีนซ้ายตีนขวามิให้ต้นกล้วยล้ม ผลัดเปล่ียนเตะตลอดต้นจากต่าจนถึงระดับสูง เมื่อคล่อง แล้วก็เปลี่ยนเป็นต้นกล้วยขนาด 4 ศอก ผู้ที่ได้รับการกล่าวขานว่ามีความชานาญว่ามีความในการฝึก วิธีนี้ได้แก่ นายทับ จาเกาะ นักมวยมือดีจากโคราชสมัยสนามสวนกุหลาบ และครูนวล ครูมวยเมือง ลพบรุ ี ในเร่ืองการฝึกหมัด ฝึกตีน ฝึกศอก ฝึกเข่านี้ ในช่วงที่มวยไทยเริ่มมีกระสอบทรายฝึกซ้อม การท่ีจะทาให้หมัด ตีน ศอก เข่า คล่องและหนักนั้น ครูจรูญ ทวีสิทธ์ิ เปิดเผยว่า “ทายังไงก็ได้จะเตะ จะต่อยอย่างไรก็ได้ แต่มีข้อแม้ว่าต่อยหรือเตะให้กระสอบทรายเอียงอยู่ในระดับ 30 องศาขึ้นไป ย่ิง เอียงย่ิงดแี ละต้องเอยี งให้อยู่นาน 3-5 วินาที กว่าข้ึนไป เร่ิมจากกระสอบใส่ขี้เลื่อยเอียงอยู่อย่างนั้นได้ 3-5 วินาที แล้วก็ค่อย ๆ ผสมทรายลงไปในข้ีเลื่อยจนเป็นทรายล้วน” (กนกรัฐ สิงหพงษ์. 2530 : 52-67) 3. กระบวนทา่ ของมวยไทยสายไชยา เพ่ือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ได้รวบรวมกระบวนท่า ของมวยไทยสายไชยา โดยอาศัยแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ในเร่ืองของแม่ไม้ ลูกไม้มวยไทยสาย ไชยา จนกลายมาเป็นกระบวนท่าของมวยไทยสายไชยาปัจจุบันนี้ โดยสามารถแยกออกเป็นประเด็น ได้ดังนี้ 1) แมไ่ ม้มวยไทยสายไชยา 2) ท่าบริหารเพ่ือพาหุยทุ ธ์ 3) ท่ามวยไทยสายไชยาพาหยุ ทุ ธ 4) เคล็ดมวยไทยสายไชยา 5) ลูกไม้มวยไทยสายไชยา แมไ่ ม้มวยไทยสายไชยา ตารามวยไทยของหลวงวศิ าลดรณุ กร (อัน้ สารกิ บุตร) ซึง่ ตีพิมพ์เม่ือปี พ.ศ.2466 และใช้เป็น หลักสูตรครูพลศึกษา มีข้อความตอนหนึ่งบรรยายถึงแม่ไม้มวยไทยว่า มวยไทยมีทั้งท่าเดี่ยว ท่าคละ เพลงมวย ลกู ไมแ้ ละหมัดเดด็ เม่ือเรียนร้จู บท้ัง 3 ชั้นแล้ว ควรเรียน “ไม้เกล็ด” อันเป็นวิชามวยช้ันสูง หรือชน้ั ครู ไมเ้ กลด็ มี 12 ทา่ เพลงมวยมี 16 อยา่ ง และปลา้ มี 18 สถาน ดงั น้ี ไมเ้ กล็ด 12 ทา่ ได้แก่ ประกบ ประกับ จับ ตดั ปดั แหวกกระแทกถอง ชก เหนบ็ ตยุ๊ และสวม เพลงมวย 16 อย่าง คือ ใชห้ วั 3 อยา่ ง ได้แก่ ขวิดควายซ้าย ขวดิ ควายขวาและชนควายกลาง
111 ใช้ศอก 4 อยา่ ง คือ ชกข้าง ชกตรง ชกผดิ ฟาดกลับ และชกไม่ถึงหลอกให้ตาม ใช้เข่า 2 อยา่ ง คือ ตีเข่าฟาดเรยี กวา่ เขา่ ลา และตีเข่าตรงเรียกวา่ เขา่ โทน ใช้เท้า 3 อย่าง คือ จระเข้ฟาดหาง 2 อย่าง ได้แก่ ฟาดไปถูก 1 กับฟาดไปผิดแล้วฟาด กลับมาอีก 1 และถ้าเสือกออกไปตรง เรียกว่า เหน็บ รวมท้ังส้ิน 16 อย่าง ส่วนปล้า 18 สถาน ดังนี้ จิกศีรษะ กดคอ หักแขน หักขา ทุบคอ ทุบโครง หยิกนัยน์ตา หยิกไหปลาร้า โดนด้วยตัว โดนด้วย กน้ กดั หู ถีบ บิดแขน บิดขา กระทบื หน้า กระทืบอก หยิกคอหอย และโดนด้วยสะโพก เรียกว่า ปล้า 18 สถาน ครูมวยในยุคต่อมาได้รวบรวมกลเม็ดของมวยไทย เรียกว่า แม้ไม้และลูกไม้และแบ่งเป็น แม่ไม้ 15 ทา่ ลูกไม้ 15 ท่า ทงั้ หมดเป็นเชงิ รบั และเชิงรุกจดั เปน็ แมไ่ ม้ ลูกไม้ช้ันครู ทม่ี ีอยู่ในปัจจุบนั นี้ ส่วนไม้มวยของมวยไทยสายไชยา เรียกไม้มวยอยู่เพียงศอก เข่า หมัด และเตะเท่าน้ัน โดย จาแนกลกั ษณะของทักษะแตล่ ะอยา่ งดังนี้ ศอก มี 9 อย่าง คอื ศอกเสย ศอกฟนั ศอกเฉียง ศอกแทง ศอกต้ัง ศอกกระทุ้ง เป็นศอก ไปขา้ งหน้า 6 และศอกกลับหลัง 3 ได้แก่ กลับโล้น กลับเฉียงข้ึน และกลับเฉียงลง นอกจากนี้ก็แยก ยอ่ ยมีศอกกระตกุ ศอกคู่ เข่า มี 6 เข่า คอื เขา่ โทน เข่าลา เข่าโดด เขา่ ลอย เขา่ น้อย และเขา่ กระต่าย เทา้ มี 10 อยา่ งคือเตะตบ เตะตัด เตะตา่ เตะกลาง เตะสงู เตะตรง เตะฟาด ถีบฉัด และเหนบ็ หมัด มี 4 ไดแ้ ก่ หมดั เหวี่ยง หมดั ตรง หมดั กระทุง้ และหมัดเสย การใช้ไม้ตา่ ง ๆ เหลา่ น้ตี อ้ งปรับไปตามสถานการณ์ของการต่อสู้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการฝึกของครู มวยต่าง ๆ ทีถ่ ่ายทอดให้แก่ลูกศษิ ย์ แม่ไม้มวยไทยสายไชยา หมายถึง ทักษะ ท่าทางที่ครูอาจารย์ประสิทธ์ิประสาทให้ไว้เป็น แม่บท ได้แก่ ท่าจด หรือท่าคุม ตลอดจนการย่างสามขุม เป็นแม่ไม้มวยไทยสายไชยา เพราะถ้าฝึก จนเกิดความชานาญจะทาใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในการนาไปใชร้ ุก รบั ตอบโต้ คูต่ ่อสู้ ได้อยา่ งดีเย่ยี ม ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ได้แบ่งแม่ไมม้ วยไทยสายไชยา ไวด้ งั น้ี 1. ป้นั หมดั 2. พันแขน 3. พันหมัด 4. พนั หมดั พลิกเหลี่ยม 5. กระโดดตบศอก 6. เตน้ แร้งเต้นกา 7. ยา่ งสามขมุ
112 ภาพที่ 39 – 40 แสดงการปน้ั หมัด ภาพท่ี 41 - 42 แสดงการพนั แขน ภาพที่ 43 - 44 แสดงการพนั หมดั ภาพที่ 45 - 46 แสดงการพันหมัดพลิกเหลี่ยม ภาพท่ี 47 - 48 แสดงการกระโดดตบศอก ภาพท่ี 49 - 50 แสดงการเตน้ แร้งเต้นกา
113 ภาพท่ี 51 - 53 แสดงการยา่ งสามขมุ ทา่ แม่ไมม้ วยไทยสายไชยา ถือวา่ เปน็ ท่าพื้นฐานของการใช้ไม้มวยต่าง ๆ ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ การฝึกแม่ไม้มวยไทยสายไชยา จาเปน็ ต้องใช้เวลาในการฝึกจนเกิดความชานาญถือว่า เปน็ พนื้ ฐาน เป็นทา่ ครู และเป็นท่าแมบ่ ท ทา่ บรหิ ารเพื่อพาหุยุทธ์ การบรหิ ารร่างกาย เป็นวิธีหน่ึงของการทาให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงและสมบูรณ์ ปราศจาก โรคภัยไข้เจ็บ คนเราเมื่อมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงดีแล้ว การจะดาเนินชีวิตประจาวันจะทาให้มี ประสทิ ธิภาพท่ดี ีย่ิงขึ้น การบริหารร่างกายจึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นอย่างย่ิง เปรียบเหมือนกับการออกกาลัง กายโดยวธิ ีหน่ึง หรอื เปน็ วิธงี า่ ย ๆ สาหรับคนทั่วไป ต้ังแต่ระดับปฐมวัย จนถึงผู้สูงอายุ ท่าทางที่นามา ถา่ ยทอดเปน็ ท่าบริหารเพ่ือพาหุยุทธ์ กค็ ือท่าทางของแมไ่ มม้ วยไทยสายไชยา น่นั เอง ท่าบริหารร่างกายเพ่ือพาหุยุทธ์สาหรับมวยไทยสายไชยา ถือว่าเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญอย่างย่ิง ในการเตรียมร่างกาย จิตใจให้เกิดความกระชับรัดกุม ร่างกายสมส่วนในความเป็นมวย รูปลักษณ์บ่ง บอกถึงความสง่างาม สมส่วน ถึงพร้อมการเข้าสู่การฝึกในลาดับต่อไป ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ทา่ นได้ฝกึ และสอนทา่ บริหารร่างกายเพ่อื พาหยุ ุทธ์ใหก้ ับลกู ศษิ ยท์ ุกคน ไม่วา่ ศิษย์ผู้น้ันจะเข้ามาศึกษา เรื่องมวยไทยสายไชยา หรือฝึกบริหารร่างกายเพ่ือสุขภาพท่ีดี ท่านก็ได้ให้ทุกคนได้เรียนรู้ และศิษย์ มวยไทยสายไชยาได้รับท่าบริหารเพื่อพาหุยุทธ์สืบทอดต่อกันมานับว่าเป็นพื้นฐานของวิชามวยไทย สายไชยา ท้งั ยังเป็นการเตรยี มความพรอ้ มร่างกายอีกทัง้ ท่าการบริหาร ยังอุดมไปด้วยเคล็ดลับวิชาใน การรกุ รับ หรอื ปอ้ งกันและตอบโตเ้ ป็นอยา่ งดีดว้ ย ท่าบริหารร่างกายเพ่ือสุขภาพ หรือเพื่อพาหยุ ุทธ์ มอี ยูห่ ลายท่าแต่มีทา่ ที่นามาใช้แล้วเกิด ประโยชนส์ งู สุดต่อสขุ ภาพ มีดงั นี้ 1. ท่าปนั้ หมัด ป้ันหมัดยืด ปัน้ หมัดย่อ 2. ทา่ พนั แขน
114 พนั แขนยอ่ พนั แขนยืด 3. ท่าพนั หมัด พันหมดั เตรียม พนั หมัดตั้ง 4. ทา่ พันหมัดพลกิ เหลยี่ ม (ยกเขา่ สลับขา) พันหมัดพลิกเหลย่ี มซา้ ย พนั หมัดพลกิ เหลยี่ มขวา 5. ท่าเล่นมวย เล่นมวยซ้าย เลน่ มวยขวา 6. ท่าทดั มาลา ทัดมาลาซ้าย ทัดมาลาขวา 7. ทา่ จูบศอก (ทัดมาลาไขว้) จบู ศอกซ้าย จูบศอกขวา 8. ทา่ กระโดดตบศอก (ทัดมาลาตบศอก) กระโดดตบศอกซา้ ย กระโดดตบศอกขวา 9. ทา่ เตน้ แรง้ เต้นกา (น่งั ยอง ๆ ทา) เต้นแร้งเต้นกา – ทัดมาลาซา้ ย เต้นแร้งเต้นกา – ทัดมาลาขวา เตน้ แรงเต้นกา – จูบศอกซ้าย เต้นแร้งเต้นกา – จบู ศอกขวา 10. ท่าย่างสามขุม ยก ยา่ ง 11. ท่าเหว่ยี งแข้ง เหว่ียงแขง้ ซ้าย เหวยี่ งแข้งขวา 12. ท่าฉัด ฉดั ซ้าย ฉัดขวา การนาเอาท่าบริหารร่างกายเพ่ือพาหุยุทธท์ งั้ 12 ทา่ นี้ ไปใชใ้ นการบริหารร่างกายทกุ วัน อย่างน้อยวนั ละ 30 นาที 3 วันต่อสัปดาห์ หรอื บรหิ ารในทุก ๆ วัน จะทาให้สมรรถภาพทางกายจติ ใจ ดีขนึ้ เป็นมหศั จรรย์ ปราศจากโรคภัยไข้เจบ็ สขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรงสมบูรณแ์ ละยังสามารถนาไปใช้ ในการป้องกันตวั ไดเ้ ปน็ อย่างดี ทา่ มวยไทยไชยาพาหุยุทธ์ ปรมาจารยเ์ ขตร ศรยี าภัย ไดจ้ ากดั ความหมายมวยไทยไว้วา่ “เป็นแบบการต่อสตู้ ง้ั แต่หัว ตลอดตนี ท้งั ข้างหน้าและขา้ งหลัง” นอกจากน้ียงั จัดให้มวยไทยเปน็ พาหยุ ุทธ์อีกดว้ ย แตแ่ ทจ้ รงิ แล้ว พาหุยุทธม์ ีความหมายแค่การตอ่ ส้ดู ้วยแขนและการปลา้ ในขณะที่มวยไทยเนน้ ทุกสว่ นอวยั วะของ รา่ งกายที่สามารถใช้เป็นอาวุธป้องกันตวั และทารา้ ยคตู่ ่อส้ไู ด้ ดงั นน้ั มวยไทยจงึ เปน็ ยิ่งกว่าพาหยุ ุทธ์ อาวุธหลักของมวยไทยหรือเรียกวา่ “นวอาวุธ” มอี ยู่ 9 อย่างได้แก่ หวั 1 หมดั 2 ศอก 2 เขา่ 2 และ ตนี 2 เมอื่ เราฝึกการบริหารรา่ งกายให้เปน็ พาหุยุทธข์ องมวยไทยสายไชยา ได้จนเกิดความ
115 ชานาญจึงเริม่ ศึกษาอวัยวะให้เปน็ อวยั วธุ เพอื่ ใช้ในการป้องกนั ตวั โดยฝกึ ควบคู่ไปกบั การฝึกพาหุยทุ ธ์ ดังน้ี หมดั ทม่ิ กระแทก กระทุง้ เหว่ยี งส้นั เหวยี่ งยาว โขก เขก หมดั กลบั (ยาว,ส้ัน) ทบุ ตบ สะบดั ฟาด ปดั ขอด หมัดคู่ ฯลฯ เทา้ เตะ ถีบ ฉัด เหนบ็ ยนั เหยียบ ฯลฯ เข่า เขา่ ยงิ เข่าโดด เขา่ ลด เข่าลา เข่าลอย เข่าน้อย เข่ากระต่าย ฯลฯ ศอก ทิม่ ปัก ยกั เสย สับ กลับ งัด กด กระตุก ฯลฯ สว่ นศรี ษะ ปจั จบุ นั เราใช้ศรี ษะเพอ่ื คิดวเิ คราะห์แล้วนาไปใช้ในการรกุ รบั ตอบโต้ ปอ้ งกันตวั เคลด็ มวยไทยสายไชยา มวยไทยในทุกสานัก หรอื คา่ ยมวยในปัจจุบันนี้ แต่ละแห่งจะมีทีเด็ดสูตรลับกลเม็ดเด็ดพราย หรือเคล็ดมวยไว้ให้ลูกศิษย์ฝึกซ้อมจดจา นาไปใช้ในการต่อสู้ป้องกันตัวได้เป็นอย่างดี เคล็ดมวยไทย สายไชยาถือว่าเป็นรหัสลับท่ีแฝงไปด้วยคาไทยท่ีคล้องจองกันเป็นอย่างดี แต่สุดแท้ที่จะหยั่งถึงในการ ฝึกหรือการตีความให้กระจ่าง มวยไทยสายไชยาจึงเป็นศาสตร์และศิลป์ของแผ่นดินท่ีเราคนไทยควร ภาคภูมิใจเปน็ อย่างย่งิ และเคลด็ มวยไทยสายไชยา มดี งั น้ี เหยาะ ยา่ ง ยกั เย้ือง ถด ถอย เหาะ เหริ ล่อ หลอก หลบ หลกี ปอ้ ง ปัด ปิด เปิด ปดิ ปอ้ ง ตอบโต้ ตดิ ตาม ซา้ เติม กอด รัด ฟดั เหวยี่ ง ล้ม ลุก คลกุ คลาน หลอก ลอ่ ลอ้ เล่น ทุม่ ทับ จบั หัก ประกบ ประกับ จับร้งั เขา้ ขา้ งหลัง เตะตดั ดดั กา้ นคอ ป้องกัน ตอบโต้ ตดิ ตาม ซา้ เติม ป้องกนั แลว้ ตอบโต้ ปอ้ งกันพรอ้ ม ตอบโต้ เก้ยี ว กวัด ตอกสลัก ปกั ลิ่ม เหยียบ ยัน ขดั เก่ยี ว ปีน ป่าย ลักษณะเคล็ดลับมวยไทยสายไชยา จะเป็นการฝึกซ้อมจนเกิดความชานาญเกิดความ แคล่วคล่องว่องไว เป็นไปโดยอัตโนมัติ รุกรับ ตอบโต้แบบเฉียบพลัน สายตาประสาทสัมผัสทางาน อย่างมีประสิทธิภาพเป็นมวยท่ีชิงคม คือ ชิงทาก่อนหรือพันลา เป็นการกระทาอย่างต่อเนื่อง อย่างมี ความหมายและประสบความสาเร็จในการตอ่ สู้
116 เคลด็ มวยทส่ี าคญั ปอ้ ง ปัด ปิด เปิด ภาพที่ 54 – 57 แสดงการป้อง ปัด ปิด เปิด เคล็ดลับทสี่ าคัญของมวยไทยสายไชยา ลกู ไม้มวยไทยสายไชยา 13. นาคมดุ บาดาล ลกู ไม้หรือไม้มวยไทยสายไชยา 14. หนุมานถวายแหวน 1. ชวาซัดหอก 15. เถรกวาดลาน 2. อเิ หนาแทงกริช 16. ฝานลูกบวบ 3. ไตเ่ ขาพระสเุ มรุ 17. สับหวั มจั ฉา 4. ตาเถรค้าฟัก 18. พระเจ้าตาน่ังแท่น 5. มอญยันหลัก 19. สุครพี ถอนต้นรงั 6. ปักลูกทอย 20. กวางเหลยี วหลัง 7. จระเขฟ้ าดหาง 21. ขะแมค้าเสา 8. ขุนยกั ษ์จับลิง 22. พมา่ ราขวาน 9. นาคาบดิ หาง 23. พระรามเดนิ ดง 10. หกั คอเอราวัณ 24. เสือลากหาง 11. มณโฑนง่ั แท่น 12. หิรญั มว้ นแผน่ ดิน ไมม้ วยไทยสายไชยา
117 1. ชวาซัดหอก ภาพที่ 58 ชวาซดั หอก ทม่ี า : ภวู ศกั ดิ์ สุขศิรอิ ารี เปน็ ไมม้ วยสาหรับตอบโต้ค่ตู ่อสู้ ค่ตู ่อสู้ สบื เทา้ ท่ิมหมัด ฝ่ายปอ้ งกนั ปัดหมัดคู่ต่อสู้ เหว่ยี งศอกระบังลม (ล้ินปี่) 2. อิเหนาแทงกริช ภาพที่ 59 อเิ หนาแทง กริช เป็นไม้มวยสาหรับตอบโตค้ ู่ต่อสู้ ค่ตู ่อสู้ สบื เท้าทม่ิ หมัด ฝา่ ยปอ้ งกัน ใชห้ มดั หลงั ปัดหลังหมัดค่ตู ่อสู้พร้อมก้าวเท้าขวาเฉยี งปัดหมัด 3.ไตเ่ ขาพระสุเมรุ (หนมุ านเหยยี บลงกา)
118 ภาพที่ 60 ไต่เขาพระสเุ มรุ ท่มี า : ภูวศกั ดิ์ สุขศิริอารี เป็นไม้มวยสาหรบั ตอบโตค้ ู่ต่อส้ดู ้วยการจบั ทมุ่ คูต่ ่อสู้ เหวย่ี งแขง้ ระดบั กา้ นคอ ฝ่ายป้องกัน พลกิ ตัวรับแข้งคู่ต่อสู้พร้อมก้าวเท้าแบกทุ่ม 4. ตาเถรค้าฟกั ภาพท่ี 61 ตาเถรคา้ ฟกั เปน็ ไมม้ วยสาหรับตอบโต้คูต่ ่อสู้ คูต่ อ่ สู้ สืบเท้ากระแทกหมดั ฝา่ ยปอ้ งกนั เปิดหมดั คตู่ ่อสู้ พร้อมกระทุง้ หมัด 5.มอญยันหลัก
119 ภาพท่ี 62 มอญยันหลกั เป็นไมม้ วยสาหรับป้องกันคูต่ ่อสู้เข้าทา คูต่ ่อสู้ เหว่ียงแข้งและสืบเทา้ กระแทกหมัด ฝา่ ยปอ้ งกัน ยกเท้าถีบยนั ออกไป 6. ปักลกู ทอย ภาพที่ 63 ปกั ลูกทอย เป็นไมม้ วยสาหรับป้องกนั ตอบโต้ เมอื่ คู่ต่อสเู้ หวี่ยงแข้ง ค่ตู ่อสู้ เหวีย่ งแข้ง ฝา่ ยปอ้ งกัน พลิกตวั กดศอกลงไปทแ่ี ข้งคตู่ ่อสู้ 7. จระเขฟ้ าดหาง
120 ภาพท่ี 64 จระเขฟ้ าดหาง ทมี่ า : ภวู ศักด์ิ สขุ ศิริอารี เปน็ ไม้มวยตอบโตค้ ูต่ ่อสู้ คตู่ ่อสู้ เหว่ียงแขง้ ฝา่ ยปอ้ งกนั พลิกตวั กลับเหวย่ี งสน้ เทา้ หมายก้านคอ หรอื ปลายคาง (กระเดยี ดนา้ ) 8. ขุนยกั ษ์จับลิง ภาพท่ี 65 ขนุ ยักษ์จบั ลิง ท่ีมา : ภวู ศักดิ์ สขุ ศริ ิอารี เปน็ ไม้มวยสาหรับตอบโต้หมัดเหวี่ยง คตู่ ่อสู้ เหวีย่ งหมดั ฝา่ ยปอ้ งกัน ใช้หมัดปดิ หมดั คู่ต่อสู้ พร้อมส่งหมดั หนา้ ผา่ นซอกคอคู่ ตอ่ สู้ ตวดั แขนกลบั กอดคอคู่ต่อสูส้ ับศอกลงสะบัก 9. นาคาบดิ หาง
121 ภาพที่ 66 นาคาบดิ หาง ท่มี า : ภูวศักดิ์ สขุ ศริ อิ ารี เปน็ ไม้มวยรับเท้าคู่ต่อสู้แล้วโต้ คู่ตอ่ สู้ ถีบด้วยเท้าหน้า ฝ่ายป้องกัน พลกิ ตัวมือหน่ึงจับส้นเท้า มือหน่งึ จับปลายเทา้ บิด 10.หกั คอเอราวณั ภาพที่ 67 หกั คอเอราวณั ท่ีมา : ภูวศักดิ์ สุขศริ อิ ารี เป็นไม้มวยสาหรับตอบโต้เมอื่ คตู่ อ่ สูย้ ่ืนแขนเพื่อรวบคอตเี ข่า คูต่ ่อสู้ ยื่นแขนทงั้ สองออกมาเพ่ือรวบคอ ฝา่ ยป้องกัน สอดหมดั ขา้ งหน่ึงขึ้นตะปบศรี ษะ อีกหมัดสอดเข้าท่คี างคู่ต่อสู้ พร้อมดนั หมัดท่ีคางขนึ้ ถึงหมัดทศ่ี ีรษะ 11.มณโฑน่งั แทน่
122 ภาพท่ี 68 มณโฑน่งั แท่น ทม่ี า : ภวู ศักด์ิ สุขศิริอารี เป็นไม้มวยสาหรับตอบโต้เมื่อค่ตู ่อสู้เหวย่ี งแข้ง คตู่ อ่ สู้ เหวี่ยงแข้ง ฝา่ ยปอ้ งกัน ดีดตัวขนึ้ นั่งหน้าขาคตู่ อ่ สู้ พร้อมสบั ศอกลงท่หี น้า หรือกระหมอ่ ม 12. หริ ัญม้วนแผ่นดนิ ภาพที่ 69 หริ ัญม้วนแผ่นดิน ทีม่ า : ภวู ศกั ดิ์ สขุ ศริ ิอารี เปน็ ไม้มวยสาหรบั ตอบโต้เม่ือค่ตู ่อสเู้ หว่ยี งแขง้ คตู่ ่อสู้ เตะด้วยเท้าขวาทีช่ ายโครง ฝา่ ยป้องกนั ยกแขนขวาท่อนล่างขึน้ รับแตะคู่ต่อสู้ พร้อมกลับหลงั หันกางศอกซ้ายระดับปลายคาง หรอื ใบหนา้ ของคู่ต่อสู้ 13. นาคามดุ บาดาล
123 ภาพที่ 70 นาคามดุ บาดาล เปน็ ไมม้ วยสาหรบั ตอบโตเ้ มื่อคู่ต่อสู้เตะสูง คู่ต่อสู้ เตะขวาสูงเข้าบริเวณปลายคาง ฝา่ ยปอ้ งกัน ก้มหลบลอดใต้ขาขวา พรอ้ มกบั ถบี ดว้ ยเทา้ ขวาท่ีขา พบั ช้างซา้ ยของคู่ ต่อสู้ 14. หนมุ านถวายแหวน ภาพที่ 71 หนมุ านถวายแหวน ทม่ี า : ภวู ศกั ด์ิ สุขศิริอารี เปน็ ไม้มวยสาหรบั ตอบโตเ้ ม่อื คู่ต่อส้เู ข้ารวบคอ คตู่ ่อสู้ เขา้ รวบคอ ฝ่ายปอ้ งกัน ยอ่ เขา่ พรอ้ มดึงหมัดทั้งสองลงระดับหน้าอก หงายหมัด ทง้ั สองกระทุ้งเขา้ หมายคางคู่ตอ่ สู้ 15. เถรกวาดลาน
124 ภาพที่ 72 - 73 เถรกวาดลาน เป็นไมม้ วยสาหรบั ตอบโต้เมื่อคู่ตอ่ ส้เู หว่ยี งแข้ง ค่ตู ่อสู้ เหว่ียงแข้ง ฝา่ ยป้องกัน กา้ วเท้าเฉยี งออกด้านขา้ งพรอ้ มเหวีย่ งแข้งใต้ขาพบั ค่ตู ่อสู้ 16. ฝานลกู บวบ ภาพที่ 74 ฝานลูกบวบ ทีม่ า : ภวู ศกั ด์ิ สขุ ศิริอารี เปน็ ไมม้ วยสาหรบั ตอบโตเ้ มื่อคตู่ อ่ สู้กระแทกหมัด คู่ตอ่ สู้ กระแทกหมดั ฝ่ายปอ้ งกนั สง่ แขนขน้ึ รบั หมัดคตู่ ่อสู้ พรอ้ มสบั แขนอีกขา้ งเฉียงลง ทไ่ี หล่คตู่ ่อสู้ 17. สบั หัวมัจฉา
125 ภาพที่ 75 สบั หวั มจั ฉา เป็นไมม้ วยสาหรบั ตอบโต้เม่ือคตู่ ่อสูเ้ หวย่ี งหมัดหมายชายโครง (กระเดียดนา้ ) คู่ตอ่ สู้ เหวยี่ งหมดั หมายชายโครง ฝ่ายปอ้ งกนั ปัดหมดั ลงพร้อมสบั แขนขวาลงกระหม่อมคู่ต่อสู้ 18. พระเจ้าตานั่งแท่น ภาพท่ี 76 พระเจ้าตานงั่ แทน่ เปน็ ไมม้ วยสาหรับตอบโตค้ ู่ต่อสู้ คูต่ อ่ สู้ เหวย่ี งแข้งพบนอก ฝ่ายปอ้ งกนั พลกิ ตวั น่งั ทับแข้งคตู่ อ่ สู้ 19. สคุ รพี ถอนต้นรงั
126 ภาพท่ี 77 – 78 หนุมานถวายแหวน เปน็ ไม้มวยสาหรบั รบั แขง้ คตู่ ่อสู้ คู่ตอ่ สู้ เหว่ียงแขง้ หมายกา้ นคอ ฝา่ ยปอ้ งกัน รบั แขง้ พลิกตัวดงึ มาดา้ นหลัง 20. กวางเหลียวหลงั ภาพท่ี 79 กวางเหลียวหลงั ที่มา : ภวู ศกั ด์ิ สุขศริ อิ ารี เป็นไม้มวยป้องกนั คู่ต่อสเู้ ข้าทา คู่ตอ่ สู้ กระแทกหมัด ฝา่ ยปอ้ งกัน พลิกตวั ถีบ (ด้วยสน้ เท้า) 21. ขะแมรค์ ้าเสา
127 ภาพท่ี 80 ขะแมร์ค้าเสา ท่ีมา : ภูวศกั ดิ์ สขุ ศิริอารี เปน็ ไม้มวยปอ้ งกันคตู่ อ่ สู้เข้าทา ค่ตู ่อสู้ กระแทกหมดั ฝ่ายปอ้ งกนั ใชส้ นั มอื ยันหน้าหรือยันอกคู่ต่อสู้ 22. พม่าราขวาน ภาพท่ี 81 – 82 พม่าราขวาน เปน็ ไมม้ วยป้องกนั หมัดคูต่ ่อสู้ คู่ต่อสู้ กระแทกหมดั ฝา่ ยปอ้ งกัน กระโดดพลิกเหลย่ี มสับด้วยแขน 23.พระรามเดนิ ดง
128 ภาพที่ 83 - 84 พระรามเดินดง ทีม่ า : ภูวศกั ดิ์ สขุ ศิรอิ ารี เป็นไม้มวยป้องกันการเหวยี่ งแข้งคู่ต่อสู้ คตู่ อ่ สู้ เหวีย่ งแขง้ ฝา่ ยป้องกัน กระโดดเหยียบต้นขาค่ตู ่อสทู้ ี่เหวี่ยงแข้ง พร้อมกับตีเขา่ ขวาสวนเข้าทปี่ ลายคาง 24. เสอื ลากหาง ภาพที่ 85 – 86 เสอื ลากหาง เป็นไมม้ วยหลอกคูต่ ่อสู้ ค่ตู อ่ สู้ เหว่ยี งแขง้ สงู หมายกา้ นคอ ฝ่ายปอ้ งกนั ก้มหลบแข้งจับขาคู่ตอ่ สู้พรอ้ มสับศอกขวาท่ีหน้าอก และลม้ ตวั กดทบั ยันด้วยเขา่ สรุป กระบวนทา่ มวยไทยสายไชยา เพื่อนาไปใช้ในการอนุรักษ์ สืบสาน โดยการนาไปใช้ใน การเรยี นการสอนมวยไทยสายไชยา มีดงั นี้
129 1. บริหารร่างกายโดยใช้ท่าแมไ่ ม้มวยไทยสายไชยา เป็นท่าบริหารร่างกายหรอื อบอุ่นร่างกาย 2. ย่างสามขมุ ฝกึ ท่าครใู ห้เกิดความชานาญคล่องแคลว่ ว่องไว รุก-รบั พลกิ เหลี่ยม ซา้ ย–ขวา 3. ปอ้ ง – ปัด – ปิด – เปิด ฝึกท่าป้องกันตัวท่ีดที ี่สดุ ของมวยไทยสายไชยา 4. การฝกึ อวัยวะเปน็ อวยั วธุ การฝึกใชอ้ วัยวะทม่ี ีความคมในรา่ งกายให้เปน็ อาวุธ เช่น หมดั เขา่ ศอก และเท้า 5. เข้าประกบคู่ ฝึกซ้อมร่วมกันกับคู่ของตน เป็นการทบทวน การรุก–รับ ป้องกันตัว การฝึก 5 ข้นั ตอน ซ่งึ ถือวา่ เป็นพนื้ ฐานของมวยไทยสายไชยาการฝกึ และการสอน ผู้สอนต้องเน้นคุณธรรม จริยธรรม เป็นสาคัญ เช่น ผู้เรียนต้องไม่นาวิชาไปทาร้ายร่างกายผู้อ่ืน ไม่ว่าจะเป็นทางกายหรือทาร้ายจิตใจ ดูถูก เหยียดหยาม ถากถาง เยาะเย้ย คู่ฝึกหรือบุคคลอ่ืน ต้องมีความกตัญญู อ่อนน้อมถ่อมตน มีสมบัติผู้ดี ติดตัวไปตลอด ผู้เรียนต้องเรียนเป็นศิลปะสืบทอด อนุรักษ์และใช้ป้องกันตัวเท่าน้ัน ผู้สอนควรฝึกให้ ทง้ั หญงิ และชาย ตั้งแตเ่ ยาวชนตลอดจนนักเรียนนกั ศึกษา ผู้สนใจท่วั ไป เพ่ืออนุรักษ์มวยไทยสายไชยา หรือ มวยคาดเชอื กซ่งึ เป็นมวยโบราณทเ่ี ปน็ ศิลปะการต่อสู้ปอ้ งกนั ตัว ทีด่ ที ่ีสดุ ของบรรพบุรุษไทย ให้สืบสานต่อไป ในอนาคต ถือว่าเป็นการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน (วัลลภิศร์ สดประเสริฐ. 2548) (กฤดากร สดประเสริฐ, สมั ภาษณ,์ วนั ท่ี 6ตลุ าคมพ.ศ.2549) (อมรกฤต ประมวญ. ขอ้ มูลจาก http://www.muaychaiya.com) (ภวู ศักดิ์ สุขศิริอารี. ข้อมูลจากhttp ://www.sriwanachaiyarat.com) (เอกภพ ศุภภาโส. เอกสารอัด สาเนา) 4. ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายไชยา ระเบยี บแบบแผนและประเพณขี องมวยไทยสายไชยา สามารถแยกออกเป็นประเด็น ได้ดงั นี้ 1. การมอบตัวเปน็ ศิษย์ 2. เคร่อื งรางและของขลัง 3. ระเบียบการแขง่ ขนั มวยไทยสายไชยา การมอบตัวเป็นศษิ ย์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 501
Pages: