Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

Description: การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย.

Search

Read the Text Version

380 ภาพท่ี 260 – 261 ภาพแสดงการยา่ งสขุ เกษม หรอื ขุนพลกรายทวนแปดทิศ ก้าวเท้าซ้ายวางข้างหน้าในลักษณะ ให้ปลายเท้าแตะพื้น เปิดส้นเท้าซ้ายขึ้น ยืนด้วยเท้า ขวา ย่อเขา่ ขวาเล็กนอ้ ย มือขวากุมเสมอคาง แขนซ้าย วางไว้ด้านหน้าขาซ้าย ในลักษณะหันหลังหมัด ออกด้านหน้า หมัดซ้ายห่างจากขาซ้ายประมาณ 1 ฝ่ามือ จากนั้นยกเท้าซ้ายข้ึนแล้ววางปลายเท้า ซา้ ยแตะพืน้ 2 คร้ัง จากน้ันวาดเท้าซ้ายไปทางขวา แล้ววาดกลับมาทางซ้ายในทิศทางเดิม แล้วน้าเท้า ซา้ ยมาวางท่ดี า้ นหลงั เทา้ ขวา หมุนตัวไปทางซ้าย 45 องศา ก้าวเท้าขวาออกไปข้างหน้า ประมาณคร่ึง ก้าว ในลักษณะปลายเท้าขวาแตะพ้ืน เปิดส้นเท้าขวาข้ึน มือซ้ายกุมเสมอคาง แขนขวาวางไว้ ด้านหน้าขาขวา ในลักษณะหันหลังหมัดออกด้านหน้า หมัดขวาห่างจากขาขวาประมาณ 1 ฝ่ามือ จากนั้นยกเท้าขวาขึ้นแล้ววางปลายเท้าขวาแตะพ้ืน 2 ครั้ง จากนั้นวาดเท้าขวาไปทางซ้าย แล้ววาด กลับมาทางขวาในทิศทางเดิม แล้วน้าเท้าขวามาวางที่ด้านหลังเท้าซ้าย หมุนตัวไปทางซ้าย 45 องศา ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้า ประมาณครึ่งก้าว ในลักษณะปลายเท้าซ้ายแตะพื้น เปิดส้นเท้าซ้ายขึ้น มือขวากุมเสมอคาง แขนซ้ายวางไว้ด้านหน้าขาซ้าย ในลักษณะหันหลังหมัดออกด้านหน้า หมัดซ้าย ห่างจากขาซา้ ยประมาณ 1 ฝ่ามือ ทาแบบเดียวกนั นี้ 4 คร้งั ในครั้งสดุ ท้ายเท้าซ้ายจะอยู่ด้านหน้า แล้ว วาดเท้าซ้ายออกด้านข้างทางซา้ ยแล้วดึงกลบั มาชิดเท้าขวาแล้วทาท่ายืนตรง ซ่ึงการย่างลักษณะน้ีเป็น การย่างไปพร้อมกับการปัดแขนลงข้างล่างสลับซ้ายขวา ซ่ึงเป็นการป้องกันตัว โดยการปัดขาคู่ต่อสู้ท่ี ถีบหรือเตะมาให้พ้นตัว หรือครูมวยบางท่านได้กล่าวว่า เป็นการย่างเป็นวงกลมรอบตัว เพ่ือตรวจ สภาพพ้ืนสนามท่ีใช้ในการแข่งขัน เน่ืองจากการชกมวยในสมัยก่อนใช้ลานวัด หรือสนามหญ้าเป็น สนามในการแข่งขัน ซึ่งอาจจะมีหลุม หรืออาจเป็นพื้นท่ีต่าซึ่งอาจทาให้ได้เปรียบเสียเปรียบในการ แขง่ ขนั ได้ การไหว้ครูและร่ายรามวยไทย ซ่ึงเป็นการแสดงความเคารพต่อคุณครูอาจารย์ ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ พระมหากษัตริย์และประธานในพิธี ได้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเป็นประเพณี โดยก่อนการแข่งขัน ทุกครั้งนักมวยทุกคนจะต้องไหว้ครูและร่ายรามวยไทย ต่อมาการแข่งขันชกมวยไทยได้เน้นในรูปของ

381 ธุรกิจมากข้ึน มีการเล่นพนันมวยกันอย่างกว้างขวาง มวยไทยจึงถูกอิทธิพลของเซียนมวยและ ผู้จัด กาหนดทิศทางอนาคตโดยทางอ้อม การไหว้ครูและร่ายรามวยไทยซ่ึงมีความสาคัญต่อจิตใจของ นักมวยผู้ต้องขึ้นชกแข่งขัน แต่ไม่มี ความสาคัญต่อผู้ชมนอกสังเวียน จึงได้ถูกละเลยไปเพราะมองว่า เป็นเรื่องของความเชื่อที่ล้าสมัย เสียเวลารอคอยสาหรับนักพนัน นักมวยจึงจาเป็นต้องตัดทอนลีลา การร่ายราลงให้เหลือเพียงบางส่วนที่สาคัญพอเป็นพิธี นักมวยน้อยคนนักที่จะแสดงลีลาการร่ายรา มวยไทยไดเ้ ป็นทีถ่ กู ใจคนดแู ละเซยี นพนนั ทง้ั สนามได้ ปัจจุบันทั้งองค์กรภาครัฐและเอกชนได้เล็งเห็นความสาคัญของมรดกทางวัฒนธรรมไทย ดังกล่าว จึงได้พยายามฟื้นฟูสนับสนุน และเผยแพร่ให้ประชาชนและคนในวงการมวยไทยได้เล็งเห็น คุณค่าของ วัฒนธรรมประเพณีของไทยแขนงนี้ การไหว้ครูและร่ายรามวยไทยจึงกลับมาได้รับความ นิยมอีกครั้งหน่ึง และผู้คนให้ความสนใจ รวมทั้งเข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของการไหว้ครู และร่ายรามวยไทยมากข้ึนกว่าเดิม อีกทั้งชาวต่างประเทศที่ได้มีโอกาสศึกษาและฝึกฝนมวยไทยก็ให้ ความสนใจในประเพณีการไหว้ครูและร่ายรามวยไทย ทั้งสามารถร่ายราได้งดงามไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า คนไทย จงึ เปน็ เรอ่ื งทน่ี า่ ภาคภูมิใจสาหรับคนไทยทุกคนซ่ึงเป็นเจา้ ของวฒั นธรรม ควรที่จะร่วมมือกัน รักษาและสบื ทอดใหค้ งอยตู่ ลอดไป 2.3. เอกลกั ษณ์ด้านการเรยี นการสอน 2.3.1. การทาพิธีกรรมก่อนการเรียน มวยไทยสายพลศึกษา ถือว่าการให้ผู้เรียนทา พิธีกรรมก่อนการเรียนการสอนเป็นเอกลักษณ์สาคัญอีกประการหน่ึง และเป็นพิธีกรรมท่ีเน้นการ เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ช่วยส่งเสริมให้เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ รวมถึงการเคารพครูบาอาจารย์ ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ให้ โดยมีความเชื่อว่าหากได้กระทา พิธีดังกล่าวแล้ว จะทาให้การถ่ายทอดสรรพวิชาต่าง ๆ เป็นไปได้โดยง่าย และทาให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้และจดจาได้ดีข้ึน ซึ่งพิธีกรรมดังกล่าวประกอบด้วย การร้องเพลงชาติ การสวดมนต์ไหว้พระ การร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และการยกครูหรือการข้ึนครู ซ่ึงศิษย์ท้ังหมดจะน่ังคุกเข่า โดยมี ตัวแทนมอบพานให้ครูมวยอาวุโส แล้วสวดบทนมัสการพร้อมกัน 3 จบ และกล่าวคาไหว้ครูตามผู้นา ดังต่อไปน้ี นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ นะโมตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มา สัมพทุ ธัสสะ นะโมตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มา สมั พทุ ธัสสะ กล่าวตามผู้นา ยะมะหัง ครูอาจาริยัง สะระนงั คะโต อมิ นิ าสักกาเรนะตัง ครูอาจารยิ งั อะภปิ ูชะยามิ ทุตยิ ัมปิ ยะมะหงั ครูอาจาริยงั สะระนงั คะโต อมิ ินาสักกาเรนะตัง ครูอาจารยิ งั อะภิปูชะยามิ ตะตยิ ัมปิ ยะมะหงั ครูอาจาริยัง สะระนังคะโต อิมนิ าสักกาเรนะตัง ครูอาจารยิ ัง อะภิปูชะยามิ เสรจ็ แล้วกราบลง 1 คร้งั (โดยไมแ่ บมอื )

382 ภาพที่ 262 แสดงการทาพธิ ีก่อนการเรียนมวยไทยสายพลศกึ ษา 2.3.1. เอกลักษณ์ในการสบื ทอดเน้นการสอน 5 ขน้ั ตอน 1. ขน้ั เตรยี มอบอ่นุ ร่างกาย 2. ข้นั อธบิ ายสาธติ 3. ขึ้นฝกึ หัด 4. ขน้ั นาไปใช้ 5. ข้นั สรปุ 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายพลศึกษา 3.1. กลวิธกี ารใชห้ มัด หมัดเป็นอวัยวะที่สาคัญอย่างหนึ่งของมวยไทยสายพลศึกษาที่มีประสิทธิภาพมาก สาหรับ การตอ่ สเู้ ป็นอวัยวะท่ีใชไ้ ด้ผลเมื่อยู่ในระยะกลาง เราจะสงั เกตไดจ้ ากสถานการณต์ ่อสู้จริงว่าผลของแพ้ หรือชนะส่วนมากมาจากการใช้หมัดชก หมัดท่ีเราพบในมวยไทยสายพลศึกษา ประกอบไปด้วย หมัด ตรง หมัดเสย หมัดเหวี่ยง 3.1.1. หมดั ตรง หมัดตรง คอื การชกหมัดออกไปตรง ๆ จากการตั้งท่าปล่อยหมัดออกไป โดยการคว่าหมัดลงให้เป็นแนวขนานกับพื้น อาศัยแรงส่งจากไหล่ สะโพกและเท้า การชกหมัดตรง แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ การชกหมัดตรงหน้า และการชกหมัดตรงหลัง การชกหมัดตรงหน้าหรือ เรียกว่าหมัดนา คือ การชกหมัดตรงที่เป็นหมัดหน้าชกออกไปตรง ๆ ใช้แรงส่งจากไหล่ สะโพกและ เท้า ขณะที่หมัดออกไป ให้บิดแขนให้หมัดอยู่ในลักษณะคว่าหมัด แขนตึงและตรง เม่ือหมัดถูก เป้าหมายให้เกร็งหมัด หลังจากชกไปแล้วนาหมัดกลับท่ีเดิมให้เหมือนกับลักษณะการออกของหมัด คือออกหมัดไปแนวใด ก็ให้กลับแนวเดิมอย่าลดหมัดและแขนลง การชกอาจจะยืนอยู่กับที่หรือ เคล่ือนทโ่ี ดยการสบื เทา้ เข้าชกเป้าหมาย การชกสว่ นใหญ่ จะอยทู่ ีบ่ รเิ วณหน้าของคูต่ อ่ สู้ หมัดตรงหลัง เปน็ หมดั ต่อเน่อื งจากหมัดหนา้ ชกตรง ๆ ไปยังเปา้ หมาย อาจจะเป็นใบหน้าหรือลาตัว (ปัญญา ไกรทัศน์. 2524 : 142) หมัดตรงหลงั หรอื เรียกว่า หมัดตาม การชกอาศยั แรงสง่ จากไหล่ สะโพกและเท้า

383 ภาพท่ี 263 การชกหมดั ตรง 3.1.2 หมดั เสย ภาพท่ี 264 การชกหมดั เสย หมัดเสยหรือบางคนเรียกว่า หมัดสอยดาว วิธีการชกอาศัยการบิดหมัดให้หงายเอา ทางดา้ นฝา่ มือเขา้ หาตวั เองในลักษณะงอแขน หมดั ทีช่ กออกไปจะต้องอาศัยแรงส่งจากหัวไหล่ สะโพก และเท้า มีประโยชน์มากเม่ืออยู่ระดับใกล้ หมัดที่ใช้ชกน้ันใช้ได้ท้ังสองหมัด จะเป็นหมัดนาหรือหมัด ตามก็ได้ การชกจะได้ผลดีน้ันจะต้องใช้แรงส่งจากไหล่และเท้าและต้องมีความสัมพันธ์กัน เป้าหมาย ของการชก คอื บริเวณปลายคางเราจงึ เรียกวา่ หมัด สอยดาว สว่ นบริเวณอื่น เชน่ บริเวณทอ้ ง

384 3.1.3 หมัดเหวีย่ ง คอื การชกโดยการใชแ้ รงเหวี่ยงจากไหล่ ลาตัว และเท้า ลักษณะของ แขนท่ีเหว่ียง ขึ้นอยู่กับระยะของคู่ต่อสู้ ถ้าคู่ต่อสู้อยู่ใกล้ก็ต้องงอแขนให้มาก เมื่อคู่ต่อสู้อยู่ไกล ก็งอ แขนนอ้ ย การเหวี่ยงในระยะใกลจ้ ะต้องเหวีย่ งโดยการงอแขนและบิดสันหมัดเข้าหาเป้าหมาย สาหรับ การเหว่ียงระยะไกล ออกไปบางคร้ังอาจจะเหว่ียงสันหมัด หรือบางโอกาสจะใช้หลังหมัดก็ได้ การเหว่ียงหมัด ทดี่ คี วรเหว่ียงให้ขนานกับพ้ืน ข้อควรคานงึ ในการชกหมดั เหวยี่ ง คือต้องใช้แรงส่งจาก ไหล่ ลาตัว สะโพกและเท้า เป้าหมายในการชก คือ ขากรรไกร กกหู และท้ายทอย การชกหมัด เหว่ยี งชกได้ทั้งหมัดหน้า และหมัดหลัง หมัดที่เหว่ียงไปผิดเป้าหมายแล้วตวัดกลับมาโดยใช้หลังมือให้ ถูกเปา้ หมาย หมัดตวดั กลบั มานบ้ี างคร้งั เราเรยี กวา่ หมดั เหวี่ยงกลบั ภาพที่ 265 การชกหมัดเหว่ียง 3.2. กลวิธกี ารใชเ้ ท้า เท้าเป็นอวัยวะท่ีสาคัญอย่างหน่ึงของมวยไทย เพราะเป็นอวัยวะท่ีมีประสิทธิภาพมาก สาหรบั การตอ่ สู้เทา้ เป็นอวยั วะทีใ่ ชไ้ ด้ผลในระยะไกล การใช้เทา้ ของกฬี ามวยไทยน้ันหมายถึง การใช้ ตงั้ แตส่ ว่ นใตเ้ ขา่ ลงไปจนถึงปลายเท้า การใช้เทา้ น้นั แบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ คอื การถบี และการเตะ 3.2.1 การถีบ หมายถงึ การใชอ้ วัยวะสว่ นปลายเท้า ฝ่าเท้าหรือส้นเท้า โดยการยกเท้า ข้นึ แล้วงอเขา่ สง่ แรงปะทะเพื่อให้เกิดน้าหนัก การถีบให้มีน้าหนักจะต้องถีบพร้อมกับการใช้จังหวะสืบ เท้าไปข้างหน้า การถีบมีประโยชน์มากในการต่อสู้แบบมวยไทย เช่น ต้องการท่ีจะให้คู่ต่อสู้เสียหลัก แล้วสามารถท่ีจะตามเข้าทาคู่ต่อสู้ด้วยอวัยวะอย่างอื่น จะทาให้ได้เปรียบคู่ต่อสู้ นอกจากนี้ยังเป็น การป้องกันหรือปะทะ คู่ต่อสู้ไว้ก่อน การถีบแบบน้ีเราเรียกว่า ถีบสกัด การถีบสกัดคู่ต่อสู้น้ันไม่ เพียงแต่เป็นการป้องกัน ในบางครั้ง เป็นการทาให้คู่ต่อสู้เสียเปรียบได้ด้วย เป้าหมายของการถีบนั้น สามารถถีบได้ดังน้ี คือ หน้าแข้ง ต้นขา อก ท้อง หรือบริเวณหน้า สิ่งสาคัญในการถีบนั้นจะต้องถีบ ดว้ ยการงอเข่า จงึ จะมีแรงส่ง มือทงั้ สองยกใหส้ ูง เพื่อเป็นการป้องกันพร้อมกับเอนลาตัวไปข้างหน้า

385 เล็กน้อย ถ้าหากต้องการถีบในระดับสูงก็จะต้องเอนตัวไปข้างหลังให้มาก สามารถแบ่งตามลักษณะ ของการถบี ได้ 3 ชนิด ถีบตรง ถบี ขา้ ง ถีบหลงั ก) ถีบตรง คือ การยกเท้าขน้ึ ถีบตรง ๆ ไปข้างหน้าเป้าหมายของการถีบส่วนใหญ่อยู่ ท่บี รเิ วณทอ้ ง อก หรือหน้า การถีบตรงยังแบ่งออกเป็นการถบี ด้วยฝ่าเท้าหรืออาจจะถีบด้วยส่วนหน่ึง ส่วนใดของฝ่าเท้า เช่น ใช้บริเวณโหนกเท้าถีบ ใช้บริเวณร่องเท้าถีบ ใช้บริเวณสันเท้าถีบ ถีบด้วย ปลายเท้า คือการใช้เท้าส่วนท่ีเป็นปลายน้ิวเท้าถูกเป้าหมาย สาหรับปลายนิ้วเท้าน้ันให้ปฏิบัติโดย การงุ้มปลายน้ิวเท้าทั้งห้านิ้วเรียงชิดติดกันและเกร็งให้แข็งลักษณะนี้เรียกว่า การถีบเหน็บหรือถีบจิก ถา้ ถีบจากแนวตรงเราเรียกวา่ ถบี เหน็บ แต่ถา้ สง่ แรงจากข้างบนลงไปส่วนล่าง เรามักจะเรียกว่า จิก เปา้ หมายของการถบี นั้นอยู่บรเิ วณสะดอื ท้อง เมื่อถบี ถูกเป้าหมายอาจทาให้คู่ต่อสู้เกิดการเสียดหรือ จุก ส่วนขอ้ เสยี ของการถีบแบบนี้ คอื มีแรงปะทะน้อย การถีบตรงวิธีน้ีเป็นการถีบตรงด้วยปลายเท้าคือการใช้เท้าส่วนท่ีปลายน้ิวเท้าถูก ปลาย สาหรบั ปลายนิ้วเทา้ นัน้ ทาโดยงมุ้ ปลายนว้ิ เรยี กวา่ ถบี จิก ภาพท่ี 266 การถีบด้วยปลายเท้าของการถบี ตรง หรอื ทเี่ รียกว่าถีบจกิ ข) ถีบข้างหรือหันข้างถีบ คือการถีบที่หักลาตัวด้านข้างให้คู่ต่อสู้ โดยการบิดเข่า จากที่ช้ีข้ึนข้างบนให้ลงมาอยู่แนวนอนทางปลายเท้าที่ยืนเป็นหลัก พร้อมส่งแรงถีบไปยังเป้าหมาย ส่วนที่จะถูกเป้าหมายนั้นคือบริเวณฝ่าเท้าในลักษณะเอียงเฉียงหรือแนวนอน แขนท้ังสองยกขึ้นสูง เพื่อเป็นการป้องกันเป้าหมายท่ีถีบ คือ ลาตัว ต้นขา ชายโครง ด้านข้าง บางโอกาสจะใช้การถีบ ในระดับสูงได้ ข้อสาคัญในการถีบให้สูงขึ้นจะต้องเอนตัวไปข้างหลัง การใช้เท้าถีบใช้ได้ท้ังสองเท้า จะเป็นเทา้ หน้าหรือเท้าหลังกไ็ ด้

386 ภาพที่ 267 การถบี ข้างหรอื หนั ขา้ งถีบ ค) ถีบหลัง หรือกลับหลังถีบ คือ การถีบในลักษณะจากการต้ังท่าใช้การถีบโดย หมุนตัวหันหลังให้คู่ต่อสู้แล้วถีบออกไปจากทางด้านหลังของตัวเรา ใช้การบิดเท้าและหันเข่าลงสู่พ้ืน พร้อมกับถีบและหันหลังให้คู่ต่อสู้เอนตัวให้หน้าคว่าลงสู่พ้ืน ให้หันหน้าเป็นแนวเดียวกับลาตัว เป้าหมายของการถีบ คือ ทลี่ าตวั หน้า โอกาสของการถีบหลังมักไม่ค่อยได้ใช้ เพราะเป็นการหันหลัง ให้คู่ต่อสู้จะทาให้เสียเปรียบในเร่ืองของการต่อสู้ แต่บางครั้งก็ใช้ได้ เช่น คู่ต่อสู้เข้ามาขณะเราหัน หลงั ให้ เราก็ใช้การถีบหลงั ภาพท่ี 268 การถบี หลังหรอื การกลับหลังถีบ 3.2.2 การเตะ หมายถึง การใช้แรงเหว่ียงของเท้าต้ังแต่ใต้เข่าลงไปจนถึงปลายเท้า เหวี่ยงข้ึนไปปะทะเป้าหมาย โดยการใช้ส่วนของหลังเท้า หน้าแข้ง หรือส้นเท้าถูกเป้าหมาย การเตะ

387 นับว่าเป็นทักษะ ท่ีมีประสิทธิภาพสูงอย่างหนึ่ง ลักษณะการเหวี่ยงทาได้หลายลักษณะ คือ เหวี่ยง แนวตรงเรียกว่า เตะตรง เหว่ียงแนวเฉียง เรียกว่า เตะเฉียง เหวี่ยงแนวขนานหรือแนวจากข้างบน ลงมาข้างล่าง เรียกว่า เตะตัด ส่ิงเหล่าน้ีเราเรียกตามลักษณะของการเตะ ส่วนระยะของการเตะท่ี ได้ผล คือ ระยะไกล และระดับของ การเตะน้ันสามารถเตะได้ 3 ระดับ คือ ระดับต่า ระดับกลาง ระดบั สงู มวยไทยสายพลศึกษาแบง่ ลักษณะของการเตะได้ดังน้ี เตะตรง เตะเฉยี ง เตะตัด เตะกลับ และเตะเหว่ยี งกลบั หรอื จระเข้ฟาดหาง ก) เตะตรง คือ การเตะโดยการเหวี่ยงเท้าข้ึนตรง ๆ เดิมเราเรียกว่าเตะผ่าหมาก การเตะตรงเราสามารถเตะได้สองลักษณะ ลักษณะแรก เตะตรงโดยการยกเข่านาข้ึนมาก่อนแล้วจึง ยกเท้าท่อนหลังขึ้นตาม ปลายเท้างุ้ม เหวี่ยงในลักษณะสะบัดปลายเท้าข้ึนอีกลักษณะหนึ่ง คือ การเหวย่ี งเทา้ ขึ้นตรง ๆ เป็นท่อนเดียวกนั ปลายเท้าง้มุ และเอนตวั ไปข้างหลงั ข้อสาคัญของการเตะตรง คือ เท้าที่เป็นเท้าหลักน้ันปลายเท้าจะต้องช้ีตรงเข้าหา คตู่ อ่ สโู้ ดยบิดปลายเท้าเข้าหาคู่ต่อสู้ก่อนท่ีจะเตะการเตะตรงน้ันจะต้องเอนตัวไปข้างหลังเพราะระดับ ของการเตะนั้นสูง เป้าหมายของการเตะคือที่คาง ส่วนท่ีถูกเป้าหมายคือบริเวณหลังเท้า การเตะตรง เตะได้ทั้งเท้านา และเท้าตาม ภาพที่ 269 การเตะตรง ข) เตะเฉียง คือ การใชแ้ รงเหว่ยี งของเท้าเหว่ียงข้ึนไปในแนวเฉียง ส่วนท่ีถูกเป้าหมาย อาจจะเป็นส่วนแข้ง ส่วนหลังเท้า เท้าท่ีเหว่ียงข้ึนไปอาจจะเหยียดตรงหรืองอเข่าเล็กน้อย การเหวี่ยง นั้นให้บิดส่วนหลังเท้าหรือหน้าแข้งหาคู่ต่อสู้ เป้าหมายในการเตะเฉียงส่วนใหญ่มักจะเป็นบริเวณ ชายโครงจนถึงระดับคอแรงเหว่ียงน้ันจะต้องอาศัยแรงเหว่ียงจากเท้าและแขนท้ังสองข้างในขณะที่ใช้ เท้าเตะน้ันจะต้องมีความสัมพันธ์กับแขนขณะเหว่ียงเท้าข้ึนแขนจะต้องเหว่ียงลงมาเพ่ือเป็นแรงส่ง แต่ควรระวังคู่ต่อสู้ด้วยขณะที่เราเหวี่ยงแขนลงมาเป็นแนวตัดกับเท้า การเตะเฉียงนั้นมักเตะใน ระดบั กลางและระดบั สงู

388 ภาพท่ี 270 การเตะเฉียง ค) เตะตัด คือ การเตะท่ีใช้แรงเหวี่ยงของเท้าข้ึนเฉียงแล้วโค้งลงตัดหรือเหว่ียงตัด ขนานกับ แนวพ้ืน บางคร้ังเป็นการเตะโดยการย่อตัวแล้วตัดขนานกับแนวพ้ืน บางครั้งเป็นการเตะ โดยการย่อตัวแล้วเตะตัดที่ข้อเท้า ลักษณะของการเตะจะเตะในระดับสูง ระดับกลาง ระดับต่า อวัยวะทถี่ กู เปา้ หมายจะเป็นบรเิ วณแขง้ หลังเท้า ซง่ึ สามารถแบ่งการเตะตดั ได้ 3 ระดับ คือ 1. เตะตดั ระดับสูงหรอื ทเ่ี ราเรียกกันว่า เตะตัดบน คือ การเตะท่ีใช้การเหวี่ยงของ เท้าขนึ้ ขณะทเ่ี ตะมลี กั ษณะโค้งเข้าหาเป้าหมายโดยการบิดแข้งหรือหลังเท้ากดลงมาข้างล่าง หรือตัด ขนานกบั พื้น เป้าหมายของการเตะตดั สูงต้ังแต่อกไปศรี ษะเป็นการเตะท่มี ีความรุนแรงชนดิ หนง่ึ ภาพท่ี 271 การเตะตดั สูงหรือเตะตัดบน

389 2. เตะตัดระดับกลาง เรียกว่า เตะตัดกลางคือ การเตะในลักษณะเหวี่ยงโค้งข้ึน แล้วตัดขนานกับพ้ืนโดยการบิดหน้าแข้งเข้าหาเป้าหมายใช้แรงเหว่ียงจากสะโพก การเตะจะเตะด้วย วิธีงอเข่าก็ได้ ระดับของการเตะ ได้แก่ บริเวณต้นขา ชายโครง ท้อง บริเวณลาตัว ลาตัวด้านหลัง ของคู่ตอ่ สู่ ภาพที่ 272 การเตะตัดระดบั กลาง 3. เตะตดั ระดบั ต่า เรียกวา่ เตะตดั ลา่ ง ภาพที่ 273 การเตะตัดลา่ งท่ขี าพบั ดา้ นใน ภาพท่ี 274 การเตะตัดลา่ งทขี่ าพบั ด้านนอก

390 เตะตัดระดับต่า หรือ เตะตัดล่าง คือ การเหว่ียงเท้าในลักษณะย่อตัวแล้วตัดไปตามแนว พื้นฐาน โดยการบดิ หลังเท้าและหน้าเข้าหาเป้าหมายเป้าหมายในการ เตะตัดล่างนั้นตั้งแต่ข้อพับลง ไปถงึ ขอ้ เท้า ขอ้ สาคัญในการเตะตดั ล่างนน้ั แขนจะต้องช่วยเหว่ียงใหส้ มั พนั ธก์ ับเท้าท่ีเตะ ส่วนอีกแขน หนึ่งจะตอ้ งยกใหส้ งู เพือ่ เป็นการป้องกันท่ีหน้า ส่วนการเตะนัน้ ต้องยอ่ ตัวลงเพื่อให้มีฐานม่ันคง โอกาส ทใ่ี ชก้ ารเตะตดั ลา่ งได้ผล คือ เมื่อค่ตู ่อส้ใู ช้การเตะระดับสงู เราก็ใช้การเตะตัดล่าง ที่เท้าท่ีเป็นหลักของ คู่ต่อสู้ จะเตะด้านในหรือด้านนอกก็ได้ แต่ที่นิยมเตะมักจะเตะด้านใน (คือระหว่าง-เท้าท้ังสอง) เพราะจะทาให้การทรงตัวเสีย ถ้าเตะด้านในคือ ระหว่างเท้าทั้งสอง มักเรียกกันว่าเตะพับในหรือเตะ บานพบั ใน ถ้าเตะตดั ล่างด้านนอกเรยี กเตะพับนอกหรอื เตะบานพบั นอก ง) เตะกลับ หรือเตะโดยการตวัดกลับ คือ การยกเข่างอข้ึนเฉียงตัดกับลาตัวแล้ว สะบัดกลับให้เท้าเข้าหาเป้าหมาย ถ้าใช้เท้าซ้ายเตะกลับต้องเตะทางด้านซ้ายของคู่ต่อสู้การเตะกลับ บางครั้งใช้ในกรณีเตะคู่ต่อสู้ เมื่อเตะผิดแล้วตวัดเท้ามาเตะในลักษณะเตะกลับ ข้อเสียของการเตะ กลบั คือไมค่ ่อยมีความแรง เปา้ หมายของการเตะในระดับสูง ภาพท่ี 275 การเตะกลบั จ) เตะเหวย่ี งกลบั กลับหลงั เตะ เตะส้นเทา้ หรือเรียกว่าจระเข้ฟาดหาง คือ การเตะ ด้วยการหมุนตัวเตะ ให้ส้นเท้าหรือส่วนท่ีเหนือส้นเท้าขึ้นไปเล็กน้อยถูกเป้าหมาย การเตะทาโดยการ หมุนตัวยกเท้าขึ้นเตะการเตะควรจะก้มหรือโน้มตัวลงเพ่ือที่จะยกเท้าได้สูง การเหว่ียงเท้าจะมี ความสัมพันธ์กับการหมุนตัวเท้าที่เหว่ียงขึ้นไปน้ันไม่ควรงอ การเตะแบบนี้อาจทาได้อีกลักษณะหน่ึง คอื ใชเ้ ทา้ หนึง่ เทา้ ใดเตะขึน้ ไปก่อนแล้วหมุนตัวตาม เตะเหว่ียงแบบน้ีจะต้องเตะให้ครบรอบวงของการ หมนุ จงึ จะถูกเปา้ หมาย เปา้ หมายของการเตะ คือ ท่ีคอต่อ ท้ายทอย คาง ข้อเสียของการเตะคือ หลัก ของการเตะไมด่ ี เนือ่ งจาก เปน็ การเตะดว้ ย การหมุนตวั และเป็นการหันหลังให้คตู่ อ่ สู้

391 ภาพที่ 276 การเตะเหวี่ยงกลับ กลับหลังเตะ เตะส้นเท้าหรือจระเข้ฟาดหาง 3.3. กลวิธีการใช้เข่า การตีเข่า หมายถึง การยกเท้าข้ึนมาแล้วงอเข่าอาจจะเป็นมุมฉากหรือมุมแหลม ใช้ ส่วนหัวเข่าด้านหน้าหรือด้านข้าง (ด้านใน) กระแทก (ตี) เป้าหมายที่ต้องการ (ครองจักร งามมีศรี. 2530 : 13) เข่าเป็นอวัยวะท่ีสาคัญชนิดหนึ่งของกีฬามวยไทยท่ีใช้ได้ผลในระยะใกล้หรือประชิดตัว เป้าหมายของการใช้เข่า ได้แก่ บริเวณต้นขา ท้อง ชายโครง ลาตัว หน้าอก คาง การใช้เข่าตีหรือ กระแทกขนึ้ ไปทาในขณะต้ังท่าอยู่และบางโอกาสการใช้เข่าจะต้องใช้มือทั้งสองจับคอของคู่ต่อสู้แล้วตี หรอื ดึงลงมาแลว้ ตีเขา่ การใช้เข่านั้นมีหลายชนิด แต่ที่นิยมมีดังนี้ เข่าตรงหรือเข่าโหน เข่าเฉียงหรือ เขา่ ตี เข่าตัด เขา่ ลา เขา่ ลอย เข่าน้อย 3.3.1 เข่าตรงหรอื เข่าโหน คอื การยกเข่าขึ้นหรือตีกระแทกยกข้ึนไป โดยการงอเข่า เปน็ มุมแหลม ให้ส่วนท่ีเป็นหัวเข่าถูกเป้าหมายและให้ปลายเท้าของเข่าที่ยกขึ้นตีชี้ไปทางข้างหลัง มัก ใช้ในระยะประชิดตัว การตีเข่าตรงนั้นบางโอกาสใช้มือทั้งสองจับส่วนท่ีเรียกว่า ท้ายทอยดึงหรือโน้ม คอลงมาพรอ้ มกบั ตเี ข่าตรงข้ึนไป ในลกั ษณะของการดึงหรือโน้มคอลงมาพร้อมกับการตีเข่าน้ัน จึงทา ให้การเรียกเปลี่ยนไปจากเข่าตรงเป็นเรียกส่าเข่าโหน (จรัสเดช อุลิต. 2527 : 66) เป้าหมายของ การตเี ข่าตรงหรือเขา่ โหน คอื ทท่ี ้อง คาง หน้า การใช้เข่าที่ดีใช้ตีท้ังเข่าซ้ายและเข่าขวา ข้อสาคัญ ของการตีเข่าตรงนั้นมือท้ังสองต้องยกขึ้นสูง เพ่ือเป็นการป้องกันการตีเข่าในลักษณะเข่าโหนมือ ท้งั สองท่จี ับโน้มคอลงมานน้ั ควรใหแ้ ขนและศอกชิดกนั เพื่อเปน็ การป้องกนั เชน่ กนั

392 ภาพท่ี 277 การตีเขา่ ตรงหรือเขา่ โหน 3.3.2 เขา่ เฉยี งหรือเข่าตี คอื ลกั ษณะตเี ข่าที่ทามุมกับลาตัวคู่ต่อสู้ โดยการใช้แรง เหว่ยี งของสะโพก เป้าหมายคอื บรเิ วณชายโครง ถ้าหากจะตีเข่าเฉียงใหแ้ รงจะตอ้ งกอดรัดหรือจับคู่ ต่อสู้ใหแ้ น่นแล้วดึงค่ตู อ่ สู้มาทางข้างที่จะตีเข่า ปลายเท้าชี้ลงสู่พื้นไปทางข้างหลัง ข้อสาคัญของการตี เข่าต้องใช้แรงเหวี่ยงจากสะโพก เปา้ หมายบริเวณทอ้ ง หน้าอก คาง หนา้ ภาพท่ี 278 การตีเขา่ เฉียงหรือเข่าตี 3.3.3 เข่าตัด คือ การตีเข่าให้ขนานกับพ้ืนตลอดจนเข่าแล้วเท้าต้องขนานกับพื้น หรือเป็นแนวเดียวกัน หรือตีตัดลงมาหาพื้น ปลายเท้าชี้ไปทางข้างหลังโดยใช้แรงเหว่ียงจากสะโพก เหว่ียงตัดเข้าหาลาตัว เป้าหมาย คือต้นขา ชายโครง ในการตีเข่าตัดข้อสาคัญคือ แรงบิดจากเอว และแรงดงึ เข้าหาแลว้ ตนี อกจากนแ้ี ล้วการตีเข่าอาจจะใช้การเหวี่ยงให้คู่ต่อสู้เสียหลักก่อนแล้วจึงตีเข่า สวน การตเี ขา่ ตดั นัน้ บางคร้ังตเี ขา่ ข้นึ เปน็ วงโคง้ จากข้างบนลงมาข้างล่างเราอาจเรยี กว่าเข่าโค้ง

393 ภาพท่ี 279 การตีเข่าตดั 3.3.4 เข่าลา ภาพท่ี 280 การตีเข่าลา เป็นลักษณะครึ่งเตะคร่ึงเข่า คือ ถูกท่ีเข่าและแข้งระยะการใช้เข่าลาอยู่ในระยะ กลาง การตเี ข่าชนิดน้ีไม่ต้องจับคอ แต่ตีแนวเฉียงลักษณะคล้ายกับการเตะเฉียงอาจพับเข่าเล็กน้อย ส่วนทจ่ี ะโดยคือบริเวณเข่าและแข้ง เปา้ หมาย คอื ท้อง และชายโครง 3.3.5 เข่าลอย หมายถึง การยกเข่าขึ้นทาเป็นมุมโดยการชี้ปลายเท้าไปทางข้าง หลัง แล้วพุ่งเขา่ สูเ่ ป้าหมาย และให้เท้าทเ่ี ปน็ ฐานพ้นจากพ้นื พุ่งตัวไปข้างหน้า เป้าหมายอยู่ที่อก ล้ินปี่ และหนา้ จะใชเ้ ท้านาหรือเท้าตามกไ็ ด้ บางคร้ังอาจจะใช้พุ่งเข่าหน้าไปก่อนแล้วตามสลับ เข่าหลังไป เป็นเข่าหน้า และถูกเปา้ หมายโดยไมใ่ หเ้ ท้าตกถึงพ้ืน

394 ภาพท่ี 281 การตีเขา่ ลอย ภาพท่ี 282 การตเี ขา่ น้อย 3.3.6 เข่าน้อย คือ ลักษณะของการใช้เข่าตีบริเวณต้นขาของคู่ต่อสู้เร็ว ๆ หลาย ๆ ครั้ง ในขณะท่ีทาการกอดรัดกัน การกระทาเช่นนี้ทาให้คู่ต่อสู้ขัดเท้าและปวดเท้า หากถูกตีหลายคร้ังก็ อาจจะทาให้คู่ต่อสเู้ สยี เปรียบไดเ้ หมอื นกนั 3.4. กลวิธีการใช้ศอก ศอก เป็นอวัยวะท่ีใช้กันมากในระยะใกล้ และเป็นอวัยวะที่ร้ายแรงชนิดหน่ึงอาจทาให้ คู่ต่อสู้แพ้ได้ ศอกเป็นอวัยวะแหลมคมมีกระดูกที่แข็งแกร่ง เม่ือบวกกับแรงของคู่ต่อสู้ทาให้เป็น อันตรายมาก ในมวยไทยสายพลศึกษา สามารถแบ่งได้ดังนี้ ศอกตี ศอกตัด ศอกงัด ศอกพุ่ง ศอก กระทงุ้ และศอกกลบั 3.4.1 ศอกตี คือ ศอกท่ีใช้ตีในลักษณะแนวด่ิงลงสู่พื้นโดยการใช้แรงหมุนจากหัวไหล่ กดลงเฉยี งๆ ใชม้ ือท่ีตนี น้ั หันเข้าหาลาตวั พรอ้ มกบั ใช้แรงส่งจากเท้าเป้าหมายในการตีศอก คอื หน้า ศีรษะ ภาพท่ี 283 ศอกตี 3.4.2 ศอกตัด คือ ศอกที่ใช้ในลักษณะที่ขนานกับพ้ืนโดยใช้การเหวี่ยงของแรง กระตกุ จากหวั ไหล่อย่างเร็ว ซ่ึงใช้แรงส่งจากสะโพกบิดตัวให้มากๆ จึงจะเป้าหมายและรุนแรง โอกาส ทีจ่ ะใช้กล็ ักษณะเช่นเดยี วกับศอกตี มอื ของศอกทต่ี ีอยเู่ สมอกบั ระดบั ปากส่วนเปา้ หมายของศอกตัด คอื ท่ีหนา้

395 ภาพที่ 284 ศอกตดั 3.4.3 ศอกงัด คือ ศอกทเี่ ราใช้ตเี สยขึ้น โดยการงัดข้ึนตรง ๆ หรือบางครั้งอาจเฉียง เล็กน้อย การงัดให้ย่อตัวลงเพ่ือท่ีจะใช้แรงส่งจากเท้า การงัดอาจใช้ในขณะที่คู่ต่อสู้จะเข้ามาจับคอ ตเี ขา่ เปา้ หมายของการใช้ศอกงดั ท่ีไดผ้ ลดคี อื บริเวณปลายคาง ภาพท่ี 285 ศอกงัด 3.4.4 ศอกพุ่ง คือ ศอกท่ีต้ังไว้ให้ตรงกับคู่ต่อสู้ หรือทางที่คู่ต่อสู้จะรุกเข้ามาพับ ขอ้ แขน ให้ปลายศอกชี้ไปข้างหน้า (ส่วนแหลมชี้ไปทางข้างหน้า) ให้ศอกขนานกับพื้น ควรจะใช้ศอก ที่อยู่ด้านหน้าเพราะอยู่ใกล้พุ่งออกไปตรง ๆ ใช้การสืบเท้าอาศัยแรงส่งจากเท้าหลังเข้าหาคู่ต่อสู้ เปา้ หมายบรเิ วณใบหน้า

396 ภาพท่ี 286 ศอกพุ่ง 3.4.5 ศอกกระทุ้ง ศอกกระทงุ้ คอื จากการท่ีตีศอกเกิดผิดพลาดพร้อมกับกระชาก ศอกกลับคืนมายังเป้าหมายเดิมในลักษณะกระทุ้งกลับเฉียงไปข้างลาตัว โอกาสที่จะใช้ศอกกระทุ้งคือ ใช้เม่ือตีศอกผิดพลาด ใช้เมื่อคู่ต่อสู้เข้ามาประชิดด้านหลังหรือชิดตัว หรือเมื่อคู่ต่อสู้เข้ากอดปล้า การตศี อกกระทุ้ง ถ้าจะใหม้ ีแรงจะต้องส่งจากเท้า เป้าหมายคือบรเิ วณลาตัว ภาพท่ี 287 ศอกกระท้งุ 3.4.6 ศอกกลับ คือ การตีศอกโดยการหมุนตัวและตีศอกออกไปจากทางข้างหลัง ศอกกลับ ท่ีมักพบเห็นนั้นจะเป็นศอกกลับในแนวด่ิง และศอกกลับแนวขนาน ศอกกลับน้ีจะมีความ แรงน้ันข้ึนอยู่กับการหมุนตัว ถ้ามีความเร็วและมีความสัมพันธ์กับการตีศอก เป้าหมายในการตีศอก กลบั คอื ที่หนา้ ศรี ษะ

397 ภาพที่ 288 ศอกกลับ 3.5. แม่ไม้มวยไทย หมายถึง ท่าของการใชศ้ ิลปะมวยไทยทส่ี าคัญท่สี ดุ อันเปน็ พื้นฐานของ การ ใชไ้ มม้ วยไทยซึ่งผ้ฝู ึกมวยไทยจะต้องเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิให้ได้ก่อนท่จี ะฝกึ ลูกไมซ้ ง่ึ ถือว่าเป็นการใช้ ไม้มวยไทยท่ลี ะเอียดข้นึ อาจารยส์ มัยโบราณ ผ้ทู รงคุณวุฒไิ ด้จดั แบง่ แม่ไม้มวยไทยเป็น 15 ไม้ ดงั น้ี 1.แมไ่ ม้ 15 แมไ่ ม้ 1.1 สลับฟันปลา 1.9 จระเข้ฟาดหาง 1.2 ปักษาแหวกรงั 1.10 หกั งวงไอยรา 1.3 ชวาซัดหอก 1.11 นาคาบดิ หาง 1.4 อเิ หนาแทงกรชิ 1.12 วริ ฬุ หกกลับ 1.5 ยอเขาพระสุเมรุ 1.13 ดับชวาลา 1.6 ตาเถรค้าฟัก 1.14 ขนุ ยกั ษจ์ ับลิง 1.7 มอญยันหลกั 1.15 หักคอเอราวณั 1.8 ปกั ลูกทอย 1. สลับฟนั ปลา(รบั วงนอก)

398 ภาพที่ 289 แม่ไม้มวยไทย สลับฟันปลา แมไ่ มน้ ้ี เป็นไมห้ ลกั หรือไม้ครเู บ้ืองต้น ใชร้ ับและหลบหมัดตรงของค่ตู ่อสทู้ ่ีชกนา โดยหลบ ออกนอกลาแขนของคตู่ ่อส้ทู าใหห้ มัดเลยหน้า ฝา่ ยรุก ชกดว้ ยหมัดซ้ายตรง ทห่ี มายใบหน้าของฝ่ายรับ พร้อมกบั ก้าวเท้าซ้ายสบื ไปข้างหน้า ฝ่ายรับ ก้าวเท้าขวาหลบไปทางกึ่งขวา 1 ก้าว พร้อมกับโน้มตัวเอนไปทางขวาประมาณ 60 องศา น้าหนักตัวอยบู่ นเท้าขวา ขาขวางอเล็กน้อย ศีรษะ และตัวหลบออกวงนอกของหมัดฝ่ายรุก ใชม้ อื ขวาจับควา่ มือทแ่ี ขนทอ่ นบนของฝ่ายรุกมอื ซ้ายจบั กาหงายท่ขี อ้ มอื ของฝ่ายรกุ (ทา่ คลา้ ยจบั หักแขน) 2. ปักษาแหวกรัง (รับวงใน) ภาพที่ 290 ปกั ษาแหวกรงั แม่ไม้นี้เปน็ ไม้ครขู องการเข้าสวู่ งในเพื่อใช้ลกู ไม้อนื่ ต่อไป ฝา่ ยรุก ชกด้วยหมัดซ้ายตรงหมายใบหน้าของฝ่ายรับ พรอ้ มกบั ก้าวเท้าซ้ายไปขา้ งหน้า ฝา่ ยรบั ก้าวเท้าซ้ายสืบไปข้างหน้าเฉยี งไปทางกง่ึ ซา้ ยเล็กนอ้ ย ภายในแขนซ้ายของฝา่ ยรุก ตัวเอนประมาณ 60 องศา น้าหนกั อยู่บนเท้าซา้ ย พร้อมกับงอแขนท้งั สอง ขนึ้ ปะทะแขนทอ่ นบน และ

399 ท่อนลา่ งของฝา่ ยรุกไวโ้ ดยเรว็ หมัดของฝ่ายรบั ทั้งค่ชู ิดกัน (คลา้ ยทา่ เทพนม) ศอกกางประมาณ 1 คบื ศรี ษะและใบหนา้ กาบังอยรู่ ะหวา่ งแขนท้งั สอง ตาคอยชาเลอื งดูหมดั ขวาของฝ่ายรุก 3. ชวาชดั หอก (ศอกวงนอก) ภาพที่ 291 ชวาซดั หอก แมไ่ มน้ ้ีใชเ้ ปน็ หลกั สาหรบั หลบหมดั ตรงออกวงนอก แล้วโต้ตอ่ ยดว้ ยศอก ฝา่ ยรกุ ชกด้วยหมดั ซ้ายตรงบริเวณใบหน้าของฝ่ายรับ พรอ้ มก้าวเท้าซ้ายสบื ไปขา้ งหน้า ฝา่ ยรับ รบี กา้ วเท้าเอนตวั ไปทางกง่ึ ขวาตัวเอนประมาณ 30 องศา นา้ หนักตวั อยู่บนเท้า ขวา พรอ้ มงอแขนขวาใช้ศอกกระแทกชายโครงใต้แขนของฝา่ ยรกุ 4. อิเหนาแทงกริช แม่ไมน้ ีเ้ ป็นหลักในการรับหมัดตรงและใช้ศอกเข้าคลกุ วงใน ฝา่ ยรกุ ชกดว้ ยหมดั ซา้ ยตรงบรเิ วณใบหน้าฝา่ ยรบั พร้อมก้าวเท้าซ้ายสืบเทา้ ไปข้างหน้า ฝ่ายรับ รับก้าวเท้าซ้ายสืบไปขา้ งหนา้ ตวั เอยี งไปทางซา้ ยเลก็ นอ้ ย ตัวเอนประมาณ 60 องศา นา้ หนกั ตัวอยู่บนเท้าซ้ายงอศอกซา้ ยขนานกับพ้นื ตีระดับชายโครงฝา่ ยรุก ภาพท่ี 292 อิเหนาแทงกรชิ 5. ยอเขาพระสเุ มรุ (ชกคางหมัดตา่ ก้มตัว 45 องศา) แมไ่ ม้นี้ ใชร้ บั หมัดตรงในลักษณะก้มตวั เข้าวงในใหห้ มัดผา่ นศีรษะไปแลว้ ชกเสยคาง

400 ฝา่ ยรุก ชกดว้ ยหมดั ซา้ ยตรงทห่ี มายใบหนา้ ฝา่ ยรับ พรอ้ มกา้ วซ้ายไปขา้ งหนา้ ฝ่ายรับ รีบก้าวเท้าขวาพร้อมกับย่อตัวต่าเข้าหาฝ่ายรุก งอเข่าขวาขาซ้ายตึงย่อตัวต่าเอน ตัวไปขา้ งหน้าประมาณ 45 องศา น้าหนักตัวอยู่บนเท้าขวาแล้วให้ยืดเท้าขวายกตัวข้ึนพร้อมกับพุ่งชก หมดั ขวาเสยใตค้ างของฝา่ ยรุก หน้าเงยดูคางของคู้ต่อสแู้ ขนซา้ ยกาบงั อยตู่ รงหนา้ เสมอคาง ภาพที่ 293 ยอเขาพระสเุ มรุ 6. ตาเถรค้าฟกั (ชกคางหมัดสูงกม้ ตัว 60 องศา) ภาพที่ 294 ตาเถรค้าฟัก แม่ไม้นี้เป็นหลกั เบ้ืองตน ในการป้องกนั หมดั โดยใชแ้ ขนปัดหมดั ท่ชี กมาขึ้นขา้ งบน ฝ่ารกุ ชกดว้ ยหมดั ซา้ ยตรงบริเวณใบหนา้ ฝ่ายรับ ฝ่ายรับ รีบกา้ วเทา้ ซ้ายสืบไปข้างหน้าทางกง่ึ ขวาเขา้ วงในของฝ่ายรุก แล้วใชแ้ ขนขวางอ ป้องหมดั ซ้ายทช่ี กมาปัดข้ึนให้พ้นตัว งอเข่าซ้ายเลก็ น้อย ใช้หมดั ชกใตค้ างของฝา่ ยรกุ 7. มอญยันหลกั (รับหมดั ด้วยถีบ) แม่ไมน้ ้ีเป็นหลกั สาคญั ในการรบั หมัดดว้ ยการใช้เทา้ ถีบยอดอกหรือท้อง ฝ่ายรุก ชกด้วยหมดั ซ้ายตรงพร้อมกับก้าวเทา้ ซา้ ยไปข้างหน้า

401 ฝา่ ยรบั โยกตัวเอนไปทางขวา เอนตัวหนีฝา่ ยรกุ ประมาณ 45 องศา ยืนบนเทา้ ขวา แขนทัง้ สองยกงอป้องตรงหน้า พร้อมกบั ยกเท้าซา้ ยถบี ทย่ี อดอก หรือท้องของฝ่ายรกุ ให้กระเด็นหา่ งออกไป ภาพที่ 295 มอญยันหลกั 8. ปกั ลูกทอย (รับเตะด้วยศอก) ภาพท่ี 296 ปักลูกทอย แม่ไมน้ ีเ้ ปน็ หลักในการรับ การเตะกราดโดยใช้ศอกกระแทกท่ีหนา้ แข้ง ฝา่ ยรกุ ยืนตรงหน้าพอไดร้ ะยะเตะกราดไปบรเิ วณชายโครงของฝ่ายรับจากขวาไปซา้ ย โน้มตวั เลก็ นอ้ ย งอแขนทั้งสองป้องกนั หน้า ฝา่ ยรบั รบั โยกตวั ไปทางซ้ายพรอ้ มกบั ก้าวเท้าซ้ายฉากไปข้างหลงั ใชแ้ ขนขวางอศอกขึ้นรับ เทา้ ของฝา่ ยรุกที่เตะมา แขนซ้ายงอป้องกันอยู่ตรงหน้าสูงกวา่ แขนขวาเพ่ือป้องกนั พลาดถูกใบหน้า 9. จระเขฟ้ าดหาง (รบั หมัดดว้ ยเตะ)

402 ภาพท่ี 297 จระเข้ฟาดหาง แม่ไมน้ ี้ใชส้ ้นเท้าฟาดไปทางด้านหลงั เมอื่ คู่ต่อสชู้ กพลาดแล้วถลนั เสยี หลกั จงึ หมนุ ตัวเตะ ดว้ ยลูกเหวีย่ งส้นเท้า ฝา่ ยรกุ ชกด้วยหมัดซา้ ยตรงพร้อมกับสบื เท้าซ้ายไปขา้ งหนา้ ฝ่ายรบั รีบกา้ วเทา้ ขวากระโดดไปทางก่ึงขวาให้พ้นหมัดฝ่ายรกุ แขนงอกาบงั ตรงหน้า แลว้ ใชเ้ ทา้ ซา้ ยเป็นหลักหมนุ ตัว เตะดว้ ยสน้ เท้าขวาบรเิ วณท้องหรือคอ 10. หกั งวงไอยรา(ศอกโคนขา) แม่ไม้นใี้ ช้แก้การเตะโดยตัดกาลังขา ด้วยการใช้ศอกกระทงุ้ ท่โี คนขา ฝ่ายรกุ ยกเท้าขวากราดไปยังบริเวณชายโครงของฝ่ายรับ งอแขนทงั้ สองบังอยตู่ รงหนา้ ฝา่ ยรบั รบี ก้าวเทา้ เข้าหาฝ่ายรุกตรงหนา้ เกือบประชดิ ตวั หันข้างตัวไปทางซ้าย เขา่ ขวา งอ เท้าซ้ายเหยยี ดตรงพร้อมกับใช้มอื ซา้ ยจบั เท้าขวาของฝา่ ยรกุ ใหส้ ูง ศอกกระแทกที่โคนขาฝ่ายรกุ ยกเท้าขวาของฝา่ ยรุกใหส้ ูงขึ้น เพอื่ ให้เสียหลักป้องกนั ฝ่ายรุกใชศ้ อกกระแทกศรี ษะ ภาพท่ี 298 หกั งวงไอยรา 11. นาคาบิดหาง (บิดขาจบั ตีเข่าทน่ี อ่ ง)

403 ภาพท่ี 299 นาคาบดิ หาง แมไ่ ม้น้ีใช้รับการเตะ โดยใช้มือท้งั สองจับปลายเทา้ บิดพร้อมกบั ใช้เขา่ กระแทกขา ฝ่ายรกุ ยกเทา้ ขวาเตะกราดไปยงั บรเิ วณชายโครงของฝ่ายรบั แขนทั้งสองงออยู่ตรงหน้า ฝา่ ยรบั รีบโยกตัวไปทางซ้าย ยนื บนเทา้ ซา้ ย มือซ้ายจบั ส้นเท้าของฝา่ ยรกุ มือขวาจับท่ี ปลายเท้าบดิ ออกนอกตวั พร้อมกับยกเข่าตที ีน่ ่องของฝ่ายรุก 12. วริ ฬุ หกกลบั (รบั เตะด้วยถีบ) แมไ่ ม้นใี้ ช้รับการเตะโดยส้นเท้ากระแทกที่บริเวณโคนขา ฝา่ ยรุก ยกเทา้ ซ้ายเตะกลางลาตวั บรเิ วณชายโครงของฝา่ ยรับ ฝ่ายรบั รบี ยกเท้าซ้ายถีบไปทบ่ี รเิ วณโคนขาซา้ ยของฝ่ายรกุ พร้อมยกแขนทั้งสองกนั ดา้ นหน้า การถบี นัน้ ต้องถีบให้เรว็ และแรงถึงขนาดฝ่ายรกุ หมุนกลบั เสียหลกั ภาพท่ี 300 วริ ุฬหกกลับ 13. ดบั ชวาลา (ปัดหมัดชกตอบ)

404 ภาพที่ 301 ดับชวาลา แมไ่ ม้นี้ใช้แก้การชกดว้ ยหมดั ตรงโดยชกสวนท่ีใบหนา้ ฝา่ ยรุก ชกด้วยหมดั ซ้ายบรเิ วณใบหนา้ ของฝา่ ยรบั พร้อมกับกา้ วเทา้ ซา้ ยไปขา้ งหนา้ แขนขวาคุมบรเิ วณคาง ฝ่ายรบั กา้ วเท้าขวาไปขา้ งหน้าก่ึงขวา หลบอยนู่ อกหมัดซา้ ยของฝา่ ยรุก เอ้ยี วตวั ไป ทางขวา ปัดและกดแขนซา้ ยของฝ่ายรุกที่ชกมาให้ต่าลงพร้อมกับใชห้ มัดซ้ายชกบริเวณหน้าแล้วพุ่งตัว ไปทางกง่ึ ขวา 14. ขุนยกั ษ์จับลิง (รบั -หมัด-เตะ-ศอก) แม่ไม้นี้สาคัญมากใช้ปอ้ งกันคตู่ อ่ สู้ทีไ่ วในการชกเตะและศอกตดิ พนั กนั แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ตอนท่ี 1 ฝ่ายรกุ ชกหมัดซ้ายตรงไปยงั ใบหนา้ ของฝา่ ยรับ พร้อมกับกา้ วเท้าซา้ ยสบื ไปข้างหนา้ ฝา่ ยรบั รบี กา้ วเทา้ ซ้ายสืบเท้าหาตวั ฝา่ ยรุกตรงหน้าแขนขวาปดั แขนซา้ ยฝา่ ยรุกใหพ้ ้นจากตวั ตอนท่ี 2 ฝ่ายรกุ ยกเท้าขวาเตะกวาดบรเิ วณชายโครงของฝ่ายรับ ฝ่ายรับ รีบโยกตัวถอยเท้าซา้ ยไปข้างหลังราวกิ่งซา้ ย ย่อตวั ใช้ศอกขวากระแทกที่ขาขวา ท่อนบนของฝ่ายรุก ตอนท่ี 3 ฝา่ ยรกุ งอแขนขวาโน้มตัวกระแทกศอกท่ีศรี ษะของฝ่ายรบั ฝา่ ยรบั รบี งอแขนขนึ้ รับปะทะใต้ศอกของฝา่ ยรุกแลว้ รีบโยกตวั กา้ วเทา้ ขวาถอยไปทาง หลงั ประมาณครึ่งก้าว

405 ภาพท่ี 302 ขนุ ยักษ์จบั ลงิ (1) ภาพท่ี 303 ขุนยักษ์จับลงิ (2) ภาพที่ 304 ขนุ ยกั ษ์จบั ลงิ (3) 15. หักคอเอราวณั (โน้มคอตเี ข่า) แม่ไม้นี้ใช้แก้การชกด้วยหมัดตรงโดยตีเข่าสวนท่ีใบหน้า ฝา่ ยรุก ชกดว้ ยหมัดซ้ายตรงพร้อมกบั สบื เท้าซ้ายไปข้างหนา้ หมดั ขวาคมุ อยู่บรเิ วณคาง ฝ่ายรบั กา้ วเท้าซ้ายสบื ไปตรงหน้าฝา่ ยรกุ อย่างรวดเรว็ พร้อมกบั ยกแขนขวาสอดปัดแขน ซา้ ย ของฝ่ายรุก แล้วกระโดดเขา้ จบั คอฝ่ายรุกโนม้ ลงมาโดยแรงแล้วตีด้วยเข่าบรเิ วณใบหน้ ภาพที่ 305 หักคอเอราวณั

406 3.7. ลูกไม้มวยไทย หมายถึง ท่าของการใช้ศิลปะมวยไทยท่ีแตกย่อยออกไปจากแม่ไม้ มี ลักษณะละเอียดอ่อนมากมายหลายอย่าง ซ่ึงผู้ฝึกจะต้องผ่านการฝึกหัดแม่ไม้ก่อนจึงจะฝึกลูกไม้ได้ดี อาจารย์สมัยโบราณและผู้ทรงคุณวุฒิไดจ้ ดั แบง่ ลกู ไม้มวยไทย ออกเป็น 15 ไม้ดังน้ี 2.1 เอราวัณเสยงา 2.9 หนุมานถวายแหวน 2.2 บาทาลูบพักตร์ 2.10 ญวนทอดแห 2.3 ขุนยักษ์พานาง 2.11 ทะแยคา้ เสา 2.4 พระรามนา้ วศร 2.12 หงสป์ ีกหกั 2.5 ไกรสรข้ามหว้ ย 2.13 สกั พวงมาลัย 2.6 กวางเหลียวหลัง 2.14 เถรกวาดลาน 2.7 หิรญั มว้ นแผน่ ดิน 2.15 ฝานลูกบวบ 2.8 นาคมดุ บาดาล ลูกไม้มวยไทย 1. เอราวัณเสยงา (แหวกชกเสยคาง) ลูกไมน้ คี้ ล้ายกบั แม่ไม้มวยไทยไมท้ ี่ 6 ชอ่ื ตาเถรค้าฟัก ฝ่ายรกุ ชกดว้ ยหมดั ซา้ ยตรงไปท่ีใบหนา้ ของฝา่ ยรบั พร้อมกา้ วเทา้ ซ้ายไปข้างหน้า หมัด ขวาคมุ เสมอคาง ฝา่ ยรับ เอนตวั หลบเฉียงไปทางซ้ายเลก็ น้อย พร้อมใช้หมัดซา้ ยแหวกหมัดคุมของฝ่ายรุก หมุนตวั ไปทางขวาพร้อมทั้งใช้หมัดซ้ายชกเสยปลายคางของฝ่ายรกุ ภาพท่ี 306 เอราวณั เสยงา 2. บาทาลบู พกั ตร์ (ปัดหมัดเตะตรงหน้า)

407 ฝ่ายรุก ตัง้ หมดั คุมเชิงโดยหมดั ซ้ายนา พร้อมท้งั กา้ วเท้าซ้ายไปขา้ งหน้า หมัดขวาคุมปลาย คางเตรียมจะชกหนา้ ฝา่ ยรับด้วยหมดั ซ้ายตรง ฝ่ายรับ ตง้ั หมดั ซ้ายนาพรอ้ มทง้ั กา้ วเทา้ ซ้ายไปขา้ งหน้าเช่นเดยี วกัน พอฝ่ายรุกขยับตวั จะ ก้าวชกด้วยหมดั ซ้ายตรง ฝา่ ยรบั รบี ใชม้ ือขวาปดั หมดั ซ้ายของฝา่ ยรกุ ทีจ่ ะชกมาให้เบนไปทางขวาของ ฝ่ายรบั พร้อมกบั รบี เตะด้วยเท้าขวาตรงไปท่ปี ลายคางของฝา่ ยรกุ หรือใช้ฝ่าเทา้ ลูบหน้าฝา่ ยรุกแทน การเตะปลายคาง ภาพที่ 307 บาทาลูบพักตร์ 3. ขนุ ยักษ์พานาง (แหวกหมดั ดว้ ยทุ่ม) ภาพท่ี 308 ขนุ ยกั ษ์พานาง ฝา่ ยรกุ ชกด้วยหมัดขวาตรงพรอ้ มทง้ั ก้าวเทา้ สืบไปขา้ งหนา้ หมัดซา้ ยคุมเสมอคาง

408 ฝ่ายรับ รีบสืบเท้าขวาก้าวออกนอกเท้าขวาของฝ่ายรุก ยกแขนซ้ายกระแทกข้อศอกปัด แขนขวาของฝ่ายรุกให้พ้นตัวพร้อมกับรีบอาศัยความเร็วเข้าชิดตัวฝ่ายรุก ใช้แขนขวาโอบกลางตัว (ตอนใกล้เอว) ของฝา่ ยรุก ใช้สะโพกยกตัวฝ่ายรุกขนึ้ ทุม่ หงายหลังลงกบั พื้น 4. พระรามน้าวศร (ปดิ ศอกชกเสยคาง) ลกู ไม้นแี้ ก้การตีศอกของคูต่ ่อสู้ ฝ่ายรกุ สบื เทา้ เข้าหาฝ่ายรับหรอื เข้าชดิ ตัวดว้ ยศอกคู่จะกระแทกศีรษะ ฝ่ายรบั สบื เทา้ เข้าหาฝา่ ยรุก พร้อมทงั้ ยกแขนท่อนล่างข้ึนขนานกับพน้ื เพ่ือรับศอกคขู่ อง ฝา่ ยรกุ พรอ้ มกบั ให้ใชห้ มัดตรงกนั ข้ามเสยคางของฝา่ ยรุกพร้อมท้ังก้าวเท้าสบื ตามหมดั ท่ชี กไปด้วย ภาพท่ี 309 พระรามน้าวศร 5. ไกสรขา้ มห้วย (หลบถีบ เตะตรงถบี ขาหลงั ) ฝ่ายรุก กระโดดเตะปลายคางของฝา่ ยรบั โดยวธิ เี ตะเสยขนึ้ ตรง ๆ ดว้ ยเทา้ ขวา ฝ่ายรบั ก้าวเทา้ ซ้ายกระโดดหลบปลายเท้าขวาของฝา่ ยรุก โนม้ ตวั ไปทางซา้ ยยนื บนเท้าซา้ ย พร้อมกับรีบสอดเท้าขวาถีบขาหลังของฝ่ายรุกทเ่ี ปน็ หลกั ยืนอยบู่ รเิ วณหวั เขา่

409 ภาพที่ 310 ไกรสรขา้ มหว้ ย 6. กวางเหลยี วหลัง (ตามเตะ ถบี ด้วยส้นเทา้ ) ภาพท่ี 311 กวางเหลยี วหลัง ตอนท่ี 1 ฝา่ ยรกุ ต้งั หมัดขวาหรือซา้ ยนาเตรียมจะชกไปยังใบหน้าของฝา่ ยรับพรอ้ มด้วยกา้ วเทา้ ไป ขา้ งหน้า ฝา่ ยรบั เตรยี มตัวจะเตะฝา่ ยรุกท่ชี ายโครง มือทง้ั สองงอคุมบริเวณคาง ตอนที่ 2 ฝ่ายรกุ ตอ้ งถอยหลังเพอื่ หลบเตะของฝ่ายรบั ฝ่ายรับ รีบหมนุ ตวั กลบั โดยเร็วโดยใชเ้ ทา้ ข้างทเ่ี ตะในตอนแรกยืนเป็นหลกั กลบั หลังหันใช้เทา้ ตรงกนั ขา้ ม ถีบปลายคางหรอื ยอดดอกของฝา่ ยรุก 7. หิรัญมว้ นแผ่นดิน (รบั เตะมว้ นตวั แทงศอกกลบั )

410 ภาพที่ 312 หิรัญมว้ นแผ่นดนิ ฝ่ายรกุ เตะด้วยเท้าขวาไปท่ีบรเิ วณชายโครงของฝา่ ยรับ มือท้งั สองยกกาบังตรงหน้า ฝา่ ยรับ รีบยกแขนขวาท่อนลา่ งขนึ้ รบั เตะของฝ่ายรุก พรอ้ มกลับหลงั หันใช้ศอกกลบั หลังตี คางหรือบริเวณใบหน้าของฝา่ ยรุก 8. นาคมดุ บาดาล (ก้มหลบลอดขาถีบขาพบั ) ลูกไมน้ ใ้ี ชแ้ ก้การเตะสงู ฝา่ ยรกุ เตะด้วยเทา้ ขวาบริเวณคางหรือขมบั แต่ไมถ่ ูกทหี่ มายตวั หมนุ ตามเท้าขวาไปดว้ ยแรง เหว่ยี ง ฝา่ ยรบั ก้มตัวหลบลอดใตเ้ ท้าขวาของฝ่ายรกุ ท่ีเตะหน้าแล้วรบี สอดเท้าขวาถบี ขาพบั ทางซ้ายของฝา่ ยรุกให้ล้มคะมาไป ภาพที่ 313 นาคมุดบาล 9. หนุมานถวายแหวน (แหวกวงในชกเสยคางดว้ ยหมัด)

411 ฝ่ายรกุ ชกด้วยหมัดซา้ ยตภรางพไปทยี่ 3งั 1บ4รเิ วหณนใุมบาหนนถ้าวขาอยงแฝห่าวยนรบั พรอ้ มกบั สบื เทา้ ซ้ายไปขา้ งหนา้ แขนขวางอขน้ึ ปดิ ป้องกนั คาง ฝา่ ยรับ เบนตัวหลบหมัดซา้ ยของฝา่ ยรุก พรอ้ มกับสืบเทา้ ซ้ายเขา้ ชดิ ตวั หันซ้ายชดิ อก ฝา่ ยรุกพร้อมกับกาหมัดท้ังสองชกเสือกไปทีป่ ลายคางของฝ่ายรุก 10. ญวนทอดแห (ปัดถบี เตะสอดขาพับ) ลกู ไมน้ ี้ใช้แก้ลกู ถีบของคตู่ ่อสู้ ภาพที่ 315 ญวนทอดแห ฝา่ ยรกุ เตรยี มใชเ้ ทา้ ซา้ ยจิกหรือถีบนาไปยังบรเิ วณท้องของฝา่ ยรบั ฝา่ ยรบั กา้ วเท้าขวาหลบออกวงนอก ใชม้ ือซา้ ยปดั เทา้ ของฝา่ ยรกุ พร้อมจับข้อเทา้ ฝ่ายรุก แล้วใชเ้ ท้าขวาเตะสอดใต้ขาพับฝ่ายรกุ โดยแรง ตัวเบนไปทางขวานา้ หนกั ตวั อย่บู นเทา้ ซ้าย 11. ทะแยค้าเสา (หลบเตะถีบขาหลัง) ฝา่ ยรุก เตะฝ่ายรับดว้ ยเท้าขวาไปบรเิ วณชายโครง ตัวเอนและยนื บนเทา้ ซ้ายหมดั ทั้งสองยก กาบงั ตัวอยู่เสมอ ฝา่ ยรบั รีบก้มตวั ไปทางขวาและยกเทา้ ถีบดว้ ยสันเท้าท่ีโคนขาซ้ายของฝ่ายรกุ ซึง่ ใช้ยืน เป็นหลกั นา้ หนกั ตัวของฝ่ายรับอยบู่ นขาขวา

412 ภาพท่ี 316 ทะแยคา้ เสา 12. หงสป์ กี หัก (หลบวงใน วงนอก ศอกฟนั แขน) ฝ่ายรกุ ชกด้วยหมดั ขวาตรงไปยงั บรเิ วณใบหนา้ ของฝา่ ยรบั พร้อมกับก้าวเท้าซ้ายไป ข้างหน้า หมดั ซา้ ยคมุ เสมอคาง ฝา่ ยรบั สบื เทา้ เขา้ ชิดตัวฝ่ายรกุ โดยเรว็ ใชห้ มดั ซ้ายปดั หมัดขวาของฝ่ายรุกให้พน้ ตวั พร้อม กับรบี ใช้ศอกขวาฟันเฉียดใบหลู งไปกึ่งกลางแขนขวาแท่นบน ภาพที่ 317 หงส์ปกี หกั 13. สกั พวงมาลัย (หลบวงในแทงศอกท่หี น้าอก)

413 ภาพท่ี 318 สกั พวงมาลัย ฝา่ ยรกุ ชกด้วยหมดั ตรงไปยังบรเิ วณใบหนา้ ของฝา่ ยรับ เท้าซา้ ยสืบไปขา้ งหน้าพร้อมกับ หมัดขวาคมุ เสมอคาง ฝา่ ยรบั สบื เทา้ เข้าหาฝ่ายรุกงอตัวอยภู่ ายในแขนของฝ่ายรุก หมดั ขวารับปัดแขนซา้ ยของ ฝ่ายรุกออกไปให้พ้นตวั พรอ้ มกบั รีบยกศอกซ้ายแทงบรเิ วณแผน่ อกของฝา่ ยรุก แทงซ้าหลาย ๆ ครั้ง 14. เถรกวาดลาน (เตะขาขวา) ภาพที่ 319 เถรกวาดลาน ฝ่ายรกุ เตะดว้ ยเทา้ ซ้ายหรือยืนในลักษณะเท้ายนื คู่ ฝา่ ยรบั เดินมวยเข้าหาพรอ้ มกบั กม้ ตัวลงหลบใหเ้ ทา้ ซา้ ยฝ่ายรุกผา่ นศรี ษะไป ใช้เท้าขวาเตะ กราดไปท่ีข้อเทา้ ขวาของฝา่ ยรกุ สดุ แรงถา้ ยืนจดมวยใหเ้ ตะกวาดขาที่ยนื อยขู่ ้างหนา้ 15. ฝานลูกบวบ (หลบเข้าวงในฟนั ศอกตรงหนา้ ) ฝ่ายรกุ ชกด้วยหมดั ซ้ายพร้อมกบั ก้าวเท้าซา้ ยไปขา้ งหนา้ หมดั ขวาคมุ เสมอคาง ฝ่ายรับ รีบสืบเท้าซ้ายเข้าชิดตัวฝ่ายรุกอยู่วงใน หมัดขวาปัดแขนซ้ายของฝ่ายรุกให้พ้นตัว พรอ้ มกับรีบยกศอกขึ้นเสมอกกหูฟันลงใบหน้าของฝ่ายรุก เม่ือฝ่ายรุกเตรียมถอยฉากจะชกด้วยหมัด

414 ขวา ให้ฝ่ายรับก้าวขาตามติดตัว และให้ศอกขวาท่ีบริเวณหน้าสลับกัน แขนตรงข้ามรีบปิดชายโครง เพอื่ กันฝา่ ยรกุ หมายชกชายโครง ภาพที่ 320 ฝานลกู บวบ กระบวนท่าของมวยไทยสายพลศึกษา เป็นการผสมผสานของการใช้หมัด เท้า เข่า ศอก ซึ่ง อาจจะเปน็ ท่าทางของการรกุ หรอื การรบั ไมม้ วยในการต่อสู้ ครูมวยบางคนอาจจะเห็นว่า กระบวนท่า แม่ไม้และลูกไม้ของมวยไทยสายพลศึกษาบางท่าสาคัญและเป็นพ้ืนฐาน ซ่ึงผู้ฝึกหัดมวยไทยสายพล ศึกษาทุกคน ต้องเรียนรู้และฝึกให้เกิดความชานาญ จึงจะไปฝึกท่าของการใช้ไม้มวยไทยท่าอ่ืนท่ี ละเอียดและแยกย่อยมากข้ึน จึงนิยมเรียกท่าสาคัญพื้นท่าน้ีว่า “แม่ไม้” หรือ “ไม้ครู” ส่วนท่าของ การใชไ้ ม้มวยไทยท่ีแตกยอ่ ยออกไปเรยี กว่า “ลกู ไม”้ หรือ “ไม้เกลด็ ” กระบวนท่าของมวยไทยสายพลศึกษาที่ครูอาจารย์ ได้ยึดถือปฏิบัติและถ่ายทอดให้ลูกศิษย์ เป็นแบบอย่างในการฝึกหัดมวยไทย สืบต่อกันมาน้ัน นับว่าเป็นศิลปวัฒนธรรมท่ีทรงคุณค่า ต่อ ประเทศชาติอยา่ งยงิ่ 4. ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายพลศกึ ษา ระเบยี บแบบแผนและประเพณขี องมวยไทยสายพลศึกษา สามารถแยกออกเป็นประเด็น ได้ ดังน้ี 1. พิธกี ารข้นึ ครู หรือ การยกครู 2. พธิ ีการไหวค้ รู 3. เครือ่ งดนตรีประกอบ 1. พธิ ีการขึน้ ครู หรือ การยกครู พิธี “ข้ึนครู” การขึ้นครูของนักมวยมักจะเลือกวันพฤหัสบดีอันถือว่าเป็นวันครูตามปกติ โบราณการขึ้นครูน้ัน ลูกศิษย์ต้องจัดหาดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาวม้าและขันน้ามาทาพิธี ส่วนเงินแล้วแต่ครูแต่ละท่านจะระบุว่าเป็น 6 สลึง 6 บาท จะมากหรือน้อยกว่านั้นบางท่านก็ว่าไม่ จาเปน็ การทาพิธีจะทาตอ่ หน้าพระพทุ ธและรบั สัตยต์ ามทค่ี รูกาหนด (กนกรัฐ สิงหพงษ์. 2530 : 62)

415 การข้ึนครูหรือการยกครู ในสมัยโบราณบุคคลท่ีจะยอมรับไว้เป็นศิษย์จึงต้องผ่านการ คัดเลือกประกอบด้วยคุณลักษณะพร้อมท้ังมีคุณสมบัติพอที่จะรับการถ่ายทอดวิชา ดังน้ันจึงจัดให้มี พิธีมอบตัวเป็นศิษย์โดยการนาเคร่ืองสักการบูชาครูเพ่ือฝากตัวเป็นศิษย์และปฏิญาณตนขออ่อนน้อม ยอมเป็นสานุศิษย์ด้วย กาย วาจา ใจ ปฏิญาณตนว่าจะปฏิบัติตามคาส่ังสอน ทุกประการและจะ เคารพนบน้อมครูบาอาจารย์ท้ังปวงด้วยความกตัญญูกตเวทีเสมอ ต่อจากนั้นครูก็จะให้โอวาท แนะนาวิธีการปฏิบัติตน การเคารพเช่ือฟังการประพฤติตนอยู่ในระเบียบ การเรียนการสอนในส่วน ทเี่ ก่ยี วกับการเรยี นการสอนวชิ ามวยไทย พิธีการ “การข้ึนครู” หรือ “ยกครู” ของนักศึกษาท่ีเรียนมวยไทยการข้ึนครูนั้นผู้เรียน จะต้องจัดหาดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาว หรือผ้าขาวม้าและขันน้ามาทาพิธี พร้อมด้วยเงิน 6 บาท โดยจัดรวมกัน ครูผู้สอนจะจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยและกล่าวคาปฏิญาณพร้อมกัน เสร็จแล้วครูให้โอวาทเพื่อเป็นการปฐมนิเทศให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตน วันที่จะทาพิธียกครู กระทาโดยการนดั หมายของครู เลอื กเอาวันพฤหสั บดีท่ีตามคติโบราณถือว่าเป็นวันครู “การข้นึ ครู” หรือการ “ยกครู” น้ันถือวา่ มปี ระโยชนต์ ่อการเรียนวิชามวยไทยมากระหว่าง ครูกับศิษย์เพราะการข้ึนครูเป็นพิธีการอย่างหนึ่งท่ีมีการตกลง ยอมรับการเป็นครูกับศิษย์อย่าง สมบูรณ์ครูจะยอมรับว่าเป็นศิษย์ของตนอย่างเต็มใจเช่นเดียวกับศิษย์ยอมรับครูด้วยความเต็มใจ เช่นเดียวกัน ในสมัยก่อนอาจจะเป็นกลอุบายก็ได้เปรียบเสมือนการขึ้นทะเบียนและปฐมนิเทศ เป็นการช้ีแจงระเบียบการฝึกหัด ข้อตกลงบางประการในการฝึกหัดเพื่อจะทาให้การเรียนการสอน บรรลุจุดมุ่งหมาย และอีกประการหน่ึงการข้ึนครูยังทาให้ศิษย์เกิดความเชื่อมั่น มีศรัทธาในการเรียน การสอน ตลอดจนถึงการแข่งขัน เพราะได้ผ่านพิธีขึ้นครูมาแล้วอย่างถูกต้องตามประเพณีได้ชื่อว่า ศิษย์มีครู ไม่ได้ไปลักลอบฝึกหัดศิลปะมวยไทยมาจากครูมวยซึ่งจะทาให้ลูกศิษย์เกิดกาลังใจในขณะ ฝึกซ้อมและขณะแข่งขัน เมื่อได้เห็นครูมวยของตนเองมาช่วยเหลือ หรือเม่ือระลึกถึงบุญคุณของครู มวยแล้วเชื่อว่าจะทาให้สามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้ พิธีการนี้ควรจะทาให้มีความหมายโดยสอดคล้อง กับสงั คมในปจั จบุ นั โดยแสดงถึงการยอมรับการรวมกันในส่วนใดที่ไร้สาระไม่มีความหมายปรับให้เข้า กบั สังคมในปจั จบุ นั ถึงเปน็ กจิ กรรมควรสง่ เสรมิ พิธีการขึ้นครูทาโดยให้นักมวยนาดอกไม้ ธูปเทียน และเงินค่าขึ้นครูมาให้ครูมวยครูมวย บางคนก็นิยมเอาข้าวของแทนเงิน เช่น ผ้าแพร ผ้าขาวม้า เป็นต้น ครูมวยจะพานักมวยไปท่ีวัดให้ นักมวยจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย แล้วกล่าวคาปฏิญาณว่าจะเคารพนับถือ เช่ือฟังปฏิบัติตาม คาสอนของครูมวย จะประพฤติตนเป็นคนดีท้ังกาย วาจาและจิตใจ จะมานะฝึกศิลปะมวยไทยให้ สาเร็จและจะนาศิลปะมวยไทย ไปใช้ในทางที่ถูกที่ควร ต่อจากนั้นครูมวยจะให้โอวาทแนะนา การปฏิบัติตนในการฝึกหัดมวยไทย กาหนดกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนและตารางการฝึกจนนักมวย เข้าใจดีแล้ว ครูมวยจะให้นักมวยฟังเทศน์เพื่ออบรมจิตใจ การขึ้นครูดังกล่าวอาจจะทาคนเดียวหรือ ทาพรอ้ มกันหลายคนกไ็ ด้ เมอื่ นกั มวยข้ึนครูหรือยกครูแล้ว ครูมวยจะเร่ิมสอนท่าไหว้ครูให้ ซึ่งท่าไหว้ ครูเปน็ ท่านั่ง ทา่ ยนื และกา้ วยา่ งด้วยลีลาอ่อนช้อยสวยงาม เม่ือฝึกหัดท่าไหว้ครูได้ชานาญดีแล้วครู มวยกจ็ ะเร่มิ สอนวธิ กี ารใช้อาวุธของมวยไทยชนิดต่าง ๆ เช่น กลมวย จู่โจม กลมวยแก้หมัด กลมวย แกเ้ ข่า เป็นต้น

416 ในสมัยอยุธยาและธนบุรี วิธีการข้ึนครูมีลักษณะคล้ายกันคือ นักมวยจะต้องทาให้ ครมู วยแน่ใจวา่ ตนเป็นคนดี มนี สิ ยั สุภาพเรียบร้อย ขยันหมั่นเพียร มีความต้องการในการท่ีจะฝึกหัด ศิลปะมวยไทย บางครั้งถ้าทีเวลาครูมวยจะให้นักมวยพักอาศัยอยู่ท่ีบ้านครูมวยเพ่ือช่วยทางานบ้าน เพ่อื ท่จี ะศึกษานิสัยใจคอลูกศิษย์อยู่เป็นเวลานาน เมื่อแน่ใจว่าลูกศิษย์เป็นคนดีแล้ว จึงให้นาดอกไม้ ธูปเทียน และเงินค่ายกครูมาให้นักมวย แล้วครูก็จะทาพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยให้นักมวย สวดมนต์ไหว้พระแล้วกล่าวคาปฏิญาณตน ว่าจะต้ังใจฝึกซ้อมศิลปะมวยไทยอย่างจริงจังจะใช้ศิลปะ มวยไทยในทางที่ดีงาม และเป็นประโยชน์ต่อสังคมไม่นามาไปใช้ในทางท่ีผิด จะซ่ือสัตย์สุจริตต่อ วิชาชีพ เคารพเชื่อฟังครูมวย สุภาพเรียบร้อยต่อคนท่ัวไปแล้ว ครูมวยก็จะให้โอวาทแนะนา การปฏิบัติตนในการเป็นนักมวยช้ีแจงระเบียบวิธีการต่าง ๆ ในการฝึกหัดมวยไทยจนเป็นท่ีเข้าใจ จึงจะทาการฝึกการไหว้ครูและรา่ ยราต่อไป “การข้ึนครู” นักมวยมักจะเลือกเอาวันพฤหัสบดีอันถือว่าเป็นวันครูตามคติโบราณ การขึ้น ครูนั้นลูกศิษย์ต้องจัดหาดอกไม้ธูปเทียน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาวม้า และขันน้ามาทาพิธี ส่วนเงินแล้วแต่ ครแู ต่ละท่านจะระบวุ า่ เปน็ 6 สลงึ 6 บาท หรือมากน้อยเท่านั้น บางท่านก็ว่าไม่จาเป็น การทาพิธีจะ ทาต่อหนา้ พระพทุ ธรปู และรับสัตย์ตามที่ครูกาหนด (กนกรฐั สิงหพงษ์. 2530 : 62) สาหรับอาจารย์กิมเสง็ ทวสี ทิ ธิ์ นนั้ ใหล้ ูกศษิ ย์รับสัตย์ 4 ขอ้ คือ 1. จะบารุงร่างกายใหส้ ะอาดแข็งแรงและดารงชวี ิตด้วยความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ บรสิ ุทธิ์ 2. จะไม่รังแก่ผ้อู อ่ นแอ รว่ มรักสามัคคแี ละช่วยเหลือกนั เมื่อชว่ ยได้ 3. จะบาเพ็ญกรณีเพอ่ื ประโยชนผ์ อู้ ่นื และรกั ชาติ 4. จะหลีกเลยี่ งเหตุการณอ์ ันไมส่ งบ ภาพที่ 321 ครูมวยพดู คุยซักถามกับพ่อแม่ของลูกศิษย์

417 ภาพท่ี 322 ลกู ศษิ ย์มอบดอกไม้ธปู เทยี นบูชาครู ภาพที่ 323 ลกู ศษิ ย์รับโอวาทจากครู ภาพท่ี 324 ครมู วยสวมมงคลให้ลกู ศษิ ย์

418 หลังจากท่ีศษิ ยก์ ลา่ วคาสตั ย์ปฏญิ าณตนแลว้ ครูจะให้โอวาทลูกศิษย์เหมือนกับการปฐมนิเทศ นกั ศกึ ษา คือใหแ้ นวทางในการปฏิบัติตน การเรียนการฝึกฝน ทั้งข้อตกลงต่าง ๆ ที่จะมีต่อหน้าพ่อแม่ ผู้ปกครองเหมือนเป็นสักขีพยานในการรับศิษย์เข้ามาศึกษาหาความรู้และครูก็จะต้องปฏิบัติต่อศิษย์ ดว้ ยดเี หมือนเปน็ บิดามารดาของศษิ ยเ์ ช่นกนั ภาพที่ 325 เคร่ืองบูชา มงคล และประเจยี ด 2. พิธกี ารไหว้ครู พิธี “ไหว้ครู” พิธีไหว้ครูมวยไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลปะที่ผ่านการค้นคว้ากล่ันกรองมา เป็นระยะเวลาอันยาวนานนับแต่โบราณ ตั้งแต่ชาติไทยเร่ิมก่อสร้างตัวนอกจากนี้แล้ว “การรามวย” ยังเป็นวิธีหน่ึงซึ่งแสดงถึงการคารวะครูอาจารย์ผู้ที่มีพระคุณ แสดงถึงวัฒนธรรมและจรรยามารยาท ของนักมวย ลีลาท่าทางของแต่ละครูอาจจะไม่เหมือนกันเหตุท่ีการรามวยต่างกันไปแต่ละครู แต่ละ ท้องถ่ินจะยึดเป็นแบบเดียวกันไม่ได้ แต่การรามวยน้ันเป็นอุบายเตือนใจให้ยึดมั่นอยู่ในความสามัคคี รักหมู่คณะ เช่น หากฝ่ายหนึ่ง ร่ายราแบบเดียวกันย่อมแสดงว่าสืบสายมาจากครูคนเดียวกัน ขณะเดียวกนั ความม่นั คงแนน่ แฟ้นของการรักหมคู่ ณะยอ่ มโน้มนาไปสู่ความราลึกการนับถือผู้ประสิทธิ์ ประสาทวชิ าให้ การนับถือเคารพในผู้มีวุฒิภาวะสูงกว่า การรู้จักเสียสละกาลังกาย กาลังใจเพ่ือคนอ่ืน ความ ซอื่ สัตย์สจุ รติ ความยุติธรรม การมีมารยาท ความมีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย การฝึกศิลปะ มวยไทยอยเู่ ป็นประจาจะช่วยให้สามารถระงับอารมณ์หงุดหงิดได้ และจะแสดงออกแต่สิ่งที่ดีงาม พบ เห็นได้จากนักมวยท่วั ไป ก่อนทาการฝึกซ้อมทกุ ครงั้ จะต้องทาการระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา ครู อาจารย์ โดยการ ประนมมือไหว้ก่อนจะทาการฝึกซ้อมกับอุปกรณ์ใดก็ตามต้องคารวะ โดยถือว่า อุปกรณ์น้ันเปรียบเสมือนครูคนหนึ่ง ไม่ว่าเป็นกระสอบทราย จะเข้าทาการฝึกซ้อมทุกครั้ง โดยการ เตะ ถบี ชก กระสอบน้ันหรือผู้ที่จับเป้าล่อ คู่ปล้าคู่ซ้อมก็ตามจะต้องเคารพโดยการยกมือไหว้ก่อนทุก ครั้ง ส่ิงเหล่าน้ีแสดงถึงมารยาท การมีสติ การควบคุมตนเอง การกระทาอย่างมีจุดมุ่งหมาย ซ่ึงจะ

419 บรรลุถึงความสาเร็จเม่ือเวลานักมวยเข้าแข่งขันนักมวยจะโค้งคู่ต่อสู้และกราบไหว้มุมของตนเอง เม่ือเวลาชกเสร็จก็จะทาการขอโทษต่อคู่ชกพร้อมท้ังผู้ที่เป็น พี่เล้ียง การกระทาดังกล่าวเป็นมารยาท อันดีงาม ซง่ึ นักกีฬามวยไทยได้ปฏบิ ัติสบื ตอ่ กันมาเปน็ เวลานานแลว้ การแข่งขันในเชิงศิลปะมวยไทย กระบี่กระบอง หรืออาวุธอื่น ๆ ที่มีมาแต่โบราณน้ัน ก่อน การแขง่ ขันทกุ คนจะตอ้ งไหวค้ รู ถ้าเปน็ นักมวยก่อนการแขง่ ขันจะต้องไหว้ครมู วยไทยและ ร่ายรามวย ซึ่งเป็นประเพณีท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน การไหว้ครูเป็นการทาความเคารพต่อประธาน ในพธิ ีแข่งขนั ชกมวยหรือเป็นการถวายบังคมแด่พระมหากษัตริย์ ซึ่งในสมัยโบราณทรงโปรดฯ ให้มี การชกหน้าพระที่น่ัง อยู่เป็นประจา ท้ังเป็นการระลึกถึง และการแสดงถึงความกตัญญูต่อครูบา อาจารย์ที่ประสิทธิประสาทวิชาความรู้ให้ เพ่ือความเป็นสิริมงคลทาให้จิตใจมั่นคงไม่หว่ันไหวครั่น คร้าน ควบคุมสติได้ดี ส่วนการร่ายราเป็นการแสดงออกถึงลักษณะเฉพาะของครูมวยหรือค่ายมวย ซึ่งถ้านักมวยไหว้ครูและร่ายราแบบเดียวกัน มักจะไม่นิยมต่อยกัน เพราะเข้าใจว่าเป็นลูกศิษย์ที่มีครู มวยคนเดียวกนั นอกจากนั้นการรา่ ยรา ยงั เปน็ การสังเกตดูเชงิ คู่ต่อสู้ และเพ่ืออบอุ่นร่างกายให้คลาย ความเครง่ เครยี ดทง้ั กายและจิตใจ ให้พร้อมที่จะเข้าต่อสู้ ได้ทันที ทั้งเป็นการสารวจพ้ืนท่ีบริเวณท่ีจะ ชกมวย เนือ่ งจากแตเ่ ดมิ การแขง่ ขนั ชกมวยจะแขง่ ขันบนลาน ในบรเิ วณวดั ซึ่งเป็นสนามมวยชว่ั คราว ก่อนการแข่งขันชกมวยนักมวยทุกคนจะต้องไหว้ครูและร่ายรามวยไทย เพื่อราลึกถึง พระคุณของ บิดามารดา ครูอาจารย์และส่ิงศักด์ิสิทธิ์ที่เคารพนับถือ ตลอดจนคุณพระศรีรัตนตรัย ให้มาคุ้มครองตนเอง พร้อมทั้งขอให้ได้ชัยชนะด้วยความปลอดภัยแล้วจึงร่ายรามวยไทยตามแบบ ฉบับท่ีครูของตนได้สอนไว้เพื่อให้ร่างกายทุกส่วนได้เตรียมพร้อม ท้ังเป็นการกระตุ้นจิตใจให้ฮึกเหิม คึกคะนองเป็นการทาลายขวัญคู่ต่อสู้ มวยไทยเป็นท้ังศิลปะและเป็นทั้งศาสตร์ทางการต่อสู้แขนงหนึ่ง ท่ีมีระยะเวลาในการ พัฒนาการมาหลายชัว่ อายคุ น ผา่ นการกล่ันกรองหาส่งิ ท่ดี ที ่งี ดงาม มาผสมผสานกันได้อย่างกลมกลืน บง่ บอกถึงความเปน็ ชาติทม่ี วี ัฒนธรรมอนั งดงาม ถ่ายทอดใหเ้ หน็ ถงึ ความมีสัมมาคารวะครูบาอาจารย์ ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชามวยไทย ด้านลีลาท่าทางอันอ่อนช้อยสวยงามที่ครูมวยของตนได้สอนไว้ การไหว้ครูและร่ายรามวยไทยของแต่ละภาคแต่ละสานักจึงแตกต่างกันไป มวยจากท่ีราบสูงหรือ นักมวยฝ่ายเหนือท่ีมักมีขาแข็งแรงมักจะมี ท่าร่ายราที่น่าเกรงขาม ส่วนนักมวยฝ่ายใต้นับจากเมือง ชุมพร เมืองไชยาลงไปมักใช้เล่ห์เหล่ียมรัดกุมป้องกัน การชกต่อยหรือเตะด้วยเชิงอ่อนตามท่าร่ายรา ของนกั มวยฝ่ายใต้ จงึ มีท่วงทานองออ่ นไหวไม่สนู้ า่ กลัว สว่ นนักมวยภาคกลาง อันเปน็ แหล่งรวมวทิ ยาการต่าง ๆ กม็ แี บบฉบบั ของตนเอง สุดแต่ จะประยุกตใ์ หเ้ กิดความสวยงาม และการร่ายรามวยทีน่ ิยมกนั มากก็มีทา่ เทพนม พรหมสีห่ น้า ฯลฯ เป็นต้น ทา่ ไหว้ครูและร่ายรามวยไทยของปรมาจารย์กิมเส็ง ทวีสิทธิ์ ที่แพร่หลาย คือ ท่าย่างสาม ขุมและย่างสุขเกษม ส่วนมวยไทยมีท่าเสือลากหางที่นอกจากจะงดงามในแง่ศิลปะแล้วยังเป็นท่าที่ เตรยี มพร้อมเพือ่ เขา้ ทาร้ายปรปักษใ์ นข้ันเดด็ ขาดอกี ดว้ ย นอกจากนี้การไหว้ครูและร่ายรามวยไทยยังเป็นอุบายเตือนใจให้ยึดมั่นอยู่ในความสามัคคี รักหมู่คณะหากฝ่ายหน่ึงไหว้ครูและร่ายรามวยไทยแบบเดียวกันก็ย่อมแสดงว่าสืบสายมาจากครู เดยี วกัน ไมม่ ีความจาเป็นท่ีจะต้องต่อสู้พิฆาตกันเอง ขณะเดียวกันความม่ันคงแน่นแฟ้น ของการรัก

420 หมู่คณะย่อมโน้มนา ไปส่คู วามจงรักภกั ดตี อ่ สถาบนั พระมหากษตั ริยเ์ พราะเหตนุ ้นี ักมวยจึงต้องผินหน้า ไปทางทิศอันเป็นที่ประทับของพ่อเมืองหรือพระมหากษัตริย์ เพื่อน้อมราลึกถึง พระบารมี ตลอดจน คุณของบดิ ามารดาครบู าอาจารย์ 1. การไหวค้ รกู อ่ นการแขง่ ขัน (สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต.ิ 2540 : 100-128) การเข้าสู่สังเวียนมวย นักมวยสมัยก่อนเชื่อถือเวทย์มนต์คาถา เคร่ืองรางของขลังมาก ปลุกเสกล้างอานาจเคลือบคลุมน้ัน ในปัจจุบันความเชื่อในเร่ืองเวทย์มนต์คาถาอาคมดังกล่าวยังคงมี อยู่แต่ไม่เข้มข้นเท่าสมัยก่อน เนื่องจากวิทยาการแขนงต่าง ๆ เจริญก้าวหน้า การฝึกซ้อมมวยได้ใช้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การกีฬาเข้ามาช่วยเสริมสร้างศักยภาพของนักมวย มีการบันทึกภาพการ แขง่ ขนั ของนักมวย รุ่นต่าง ๆ เพ่อื นามาศึกษาหาความรแู้ ละขอ้ บกพร่องท้ังของตนเองและจุดอ่อนของ คตู่ อ่ สู้ ความเช่อื ในเรื่องของเครอ่ื งรางของขลังและคาถาอาคม จึงเป็นเร่ืองของจิตใจท่ีต้องการสิ่งยึด เหนี่ยว ตอ้ งการศนู ย์รวมแห่งพลังใจในการต่อสู้ และเป็นเร่ืองท่ีไม่สามารถพิสูจน์ได้จึงไม่ควรอย่างย่ิง ท่ีจะเพิกเฉยหรือลบหลู่ ท้ังไม่ใช่เร่ืองที่ทาให้เกิดความเสียหายแต่ประการใด ถ้าจะเชื่อท้ังเรื่องไสย ศาสตร์และฝึกซ้อมให้เชี่ยวชาญตามหลักที่ครูมวยส่ังสอนมาผนวกกับหลักการทางด้านวิทยาศาสตร์ การกีฬา เข้ามาผสมผสานกันให้อันหนึ่งอันเดียวกัน จึงน่าจะให้ประโยชน์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ควบคู่กนั ไป การไหว้ครูหรือพิธีกรรมต่าง ๆ ท่ีปฏิบัติก่อนการแข่งขันมักจะถือคติที่มีมาแต่โบราณว่า สถานทีใ่ ด ๆ กต็ ามมกั จะมเี จ้าท่เี จา้ ทาง สงิ่ ศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายที่เคยอยู่ตรงท่ีนั้นมาแต่เดิมหรืออัญเชิญ เพือ่ มาปกปกั รกั ษาสถานทแี่ หง่ น้นั เมอื่ เริ่มก่อสร้าง หากเราจะกระทาการใดๆ หรือข้ึนชกมวยบนเวที ใดก็ตาม ควรจะขออนุญาตขอขมาลาโทษเสียก่อน หากวา่ ต่อไปข้างหน้าอาจกระทาส่ิงใดไม่เหมาะสม ไม่ควรด้วยความรู้เท่าไม่ถึงกาลจะได้ไม่เกิดเหตุร้ายขึ้น และพร้อมกันน้ันก็จะขอให้ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิที่ ค้มุ ครองบริเวณนัน้ ไดช้ ่วยปกปอ้ งรกั ษาตนเองให้แคล้วคลาดจากภัยอันตรายต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดจากการ กระทาของฝ่ายตรงขา้ ม รวมท้งั ขอพรใหไ้ ดร้ ับชยั ชนะในการแขง่ ขัน 2. พิธีไหว้ครปู ระจาปี พธิ ีไหวค้ รปู ระจาปี จัดเฉพาะพิธีไหว้ครูศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว วันประกอบพิธีไหว้ครูจะ ถือเอาวันพฤหสั บดีเป็นหลักเพราะเช่ือว่าเปน็ วนั ครูและถือว่าเป็นวนั ดี (จรสั เดช อุลิต. 2542 : 388-391) - นักเรยี น นักศึกษา นกั มวย และผทู้ เ่ี กย่ี วข้องเข้าน่งั ในหอ้ งพิธีให้เสร็จเรยี บร้อย - ประธานหรือครูมวยอาวุโสเข้าสู่ที่ประชุม ผู้เข้าร่วมพิธีทาความเคารพประธาน เมื่อ ประธานนั่งแลว้ ผูเ้ ขา้ รว่ มพิธีนั่งลงเช่นกนั - ครูผู้ควบคุมพิธีการเชิญประธานเริ่มพิธี ประธานจุดธูปเทียนนมัสการพระพุทธรูป ผู้เขา้ รว่ มพิธพี นมมอื เสรจ็ แล้วประธานนงั่ ผู้เขา้ ร่วมพธิ นี ่งั ลง - หัวหน้าศิษย์แต่ละช้ัน หัวหน้าหมู่เรียนรวบรวมดอกไม้ธูปเทียนเครื่องบูชาไปวางหน้า เครอื่ งบชู า ครูควบคมุ ออกมานงั่ คกุ เขา่ ประนมมือ ศิษย์ทาตามและครูควบคุมกล่าวนาสวดมนต์ไหว้พระ (จรสั เดช อลุ ิต และบุญ ชุมภู. 2535 : 28-31) (ครนู า) อรห สมมฺ าสมพุทโฺ ธควา (ศิษย์ตาม) ....................... “ พทุ ธฺ ภควนฺ ต อภวิ าเทมิ “ ........................ (กราบ) “ สวากฺขาโต ภควตา ธมโฺ ม “ ........................

421 “ ธมมฺ นมสฺสามิ “ ........................ (กราบ) “ สุปฎปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ “ ........................ “ สงฆฺ นมามิ “ ........................ (กราบ) นั่งพับเพียบสวดบทนมสั การ (ครูนา) นโม ตสสฺ ภควโต (รับพร้อมกนั ) อรหโต สมมาสมพฺ ุทธสฺส นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมาสมพฺ ุทธสสฺ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมาสมฺพทุ ธสฺส สวดบทพระพุทธคณุ , พระธรรมคณุ , พระสงั ฆคุณ (ครูนา) อิตปิ ิโส ภควโต (รับพรอ้ มกัน) อรห สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนูโน สุคโต โลกวิทู อนุตตฺ โร ปรุ สิ ทมฺมสารถิ สตถฺ า เทวมนุสฺสาร พทุ โธ ภควาติ (ครนู า) สวากขาโต (รับพร้อมกัน) ภควาตา ธมฺโม สนฺทฎฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอ ปนยิโก ปจฺจตฺต เวทติ พฺโพ วิญญหติ ิ (ครนู า) สปุ ฎิปนโฺ น (รับพรอ้ มกัน) ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฎปิ นฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ญาญปฎปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฎิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิท จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฎฐ ปุริสปุคคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเนยฺโย อญชลีกรณีโย อนุตตร ปุญญกฺเขตตฺ โลกสสฺ าติ เสร็จแล้วกราบ 3 หน ครูนาสวดกลับมายังท่ีหัวหน้าช้ันหรือหัวหน้าหมู่เรียน ออกมา หนา้ ทป่ี ระชมุ กล่าวนาครูศษิ ย์วา่ ตามเป็นวรรค ๆ ข้าพเจ้ามาบูชาครูวันนี้ / ขอปฏิญาณตัวของข้าพเจ้ามาเป็นศิษย์และให้สัตว์ปฏิญาณด้วย ความจริงใจวา่ / ข้าพเจา้ จะมคี วามเคารพ / และมีความจงรกั ภกั ดีต่อครูบาอาจารย์ / ส่ิงใดท่ีได้ศึกษา มาแล้ว / จะพยายามรักษาระเบียบแบบแผน / อันเป็นประเพณีไว้อย่างเคร่งครัดทุกประการ / เม่ือ ข้าพเจ้าขึ้นท่าไหว้ครูแล้ว / จะถือเอาแบบขึ้นท่าไหว้ครูนี้ / เป็นสิทธิ์แก่ตัวข้าพเจ้าต่อไปภายหน้า / ขา้ พเจ้าจะไม่อาฆาตลบหลู่ครูหรือศิษย์ด้วยกัน / เป็นความสัตย์จริง / ที่ข้าพเจ้าให้สัตย์ต่อหน้าดินฟ้า ธาตุ / และทิศทั้งสี่เป็นพยาน / ข้าพเจ้าขึ้นท่าครูเมื่อใด / ขอให้อานาจบารมีของครู / เป็นที่พึ่ง ปกป้อง / คมุ้ ครองตลอดเวลา / เอหิตะวงั / กะตินจิ ัง / มะอะอสุ ิวัง ข้าพเจ้าขอประณตนอ้ มยอมเป็นสานศุ ิษย์ / พรอ้ มด้วยกาย วาจาใจ / และความเคารพนับ ถือยงิ่ ฉะนน้ั / ขอคณุ ครทู ง้ั หลาย / จงไดโ้ ปรดกรุณาประสิทธิ์ประสาทผล / ให้ข้าพเจ้าลุล่วงสมมาโน รสทุกประการ / และขอจงช่วยปกป้องคุ้มครองรักษาปวงข้าพเจ้าท้ังหลาย / ให้ปราศจากภยันตราย ท้งั ปวง / ประสบแตค่ วามสขุ / ความเจรญิ ชว่ั กัลปาวสานเทอญ น่ังสารวมจติ ระลึกครูบาอาจารย์ 1 นาที แลว้ กราบ 3 หน จากน้ีประธานประกอบพิธีทาน้ามนต์ โดยนาเทียนเล่มใหญ่มาหยดพร้อมกับสวดบท นมสั การ 3 จบแล้วว่า จักรกวาวุธโส อรหัง สัมมา สัมพุทโธ นะโนพุทธายะ อย่าเข้ามาใกล้ เสมามณฑล มณฑล เขา้ อยู่สารพัดศตั รูวินาศสันติ อิมินา สักกาเรนะ พุทธงั ปเู ซมิ อิมินา สกั กาเรนะ ธัมมังปูเซมิ อมิ ินา สกั กาเรนะสงั ฆงั ปูเซมิ

422 ประธานด่ืมน้ามนต์และใช้น้ามนต์พรมลงศีรษะ แล้วใช้แป้งกระแจะเจิมอุปกรณ์มวย ท้ังหมด จากนั้นศิษย์ท้ังหมดเข้าไปดื่มน้ามนต์แล้วพรมลงบนศีรษะ (โดยด่ืมให้เหลือติดก้นถ้วย เล็กน้อยเพ่ือไว้พรมศีรษะ) แล้วเข้าไปไหว้ครู ครูใช้น้ิวหัวแม่มือขวาจุ่มแป้งกระแจะและเจิมท่ีกลาง กระหม่อมพร้อมกับว่า ข้าพเจ้าขออาราธนาพระบรมครู พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า ทั้ง 3 พระองค์ทรงมาบันดาลปกป้องรักษาตลอดกาลพร้อมพระพุทธองค์ พระนานาคมาเป็นมงคล สังวาล ป้องกันอันตรายท้ังหลายแล อันศัตรูหมู่พาลสันดานช่ัวจงเกรงกลัวอานาจขยาดหนี โดย พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงบันดาล นะโมพุทธายะ สาธุ (ถ้ามีเทียนเหลือจากการทาน้ามนต์ก็ให้ ศิษย์แตะเทยี นติดทีผ่ ม) ศิษย์กราบทาความเคารพครูผปู้ ระกอบพธิ ี หลังจากลูกศิษย์ทั้งหมดได้รับการเจิมท่ีกลางกระหม่อมเสร็จทุกคนแล้ว ครูให้โอวาทเพ่ือ เป็นแนวทางในการปฏิบัติตน เพ่ือท่ีจะเรียนรู้หลักวิทยาการต่าง ๆ ให้เข้าใจแจ่มแจ้งและมีความ เช่ยี วชาญ ทั้งมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมอนั จะทาใหพ้ ลเมืองท่ีดีของประเทศชาติตอ่ ไป การเตรยี มเก่ียวกบั พธิ ีไหว้ครู 1. การจดั โต๊ะบูชา ประกอบด้วย เคร่ืองบูชา เครื่องสังเวยสาหรบั เชน่ ไหว้ 2. มีดอกไมส้ ด ธูป เทียน สาหรบั บูชา 3. เครือ่ งอปุ กรณม์ วยไทย 4. มีเทยี นขีผ้ งึ้ หนัก 1 บาท เพือ่ ใช้ประกอบพิธีทาน้ามนต์ 5. น้า 1 ขนั เพือ่ ทาน้ามนต์หรอื มากพอกบั จานวนคน 6. แป้งกระแจะใส่ถว้ ยสาหรบั เจมิ เคร่ืองบชู าทศ่ี ิษย์เตรยี มไป 1. ดอกไม้สดสตี ่าง ๆ จะเปน็ ชอ่ เป็นกาหรอื พวงก็ได้ (จัดแต่ละคน) 2. ผา้ ขาวยาวประมาณ 1 เมตรครงึ่ หรือผา้ ขาวมา้ 3. ธูปเทียน การจดั พิธไี หว้ครูนัน้ ถือว่าเป็นประเพณอี นั ดีงามมาแต่โบราณกาลจาเป็นท่ีจะต้องส่งเสริม นักศึกษาของสถาบัน และจะต้องรักษาประเพณีอันดีงามน้ีไว้ให้คงอยู่ตลอดไปในฐานะท่ีเป็นครูสอน วชิ ามวยไทย เปน็ สถาบนั ทางสังคมสถาบันหน่ึงท่ีเป็นเบ้าหลอมท่ีดีของนักศึกษา ตลอดจนเพื่อความ สามัคคีระหว่างครูผู้สอนกับศิษย์ จนทาให้ศิษย์เกิดความเชื่อความศรัทธาในตัวครูผู้สอน ผู้เรียนเกิด ความภาคภูมิใจในการจัดพิธีไหว้ครู เพราะถือว่าเป็นพิธีสาคัญและครูสอนจะต้องเป็นผู้ดาเนินการ เป็นผ้กู ล่าวนาตา่ ง ๆ ไดถ้ ือวา่ เปน็ ส่วนสาคญั อย่างหนง่ึ 3. เครื่องดนตรีประกอบมวยไทย (สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ. 2540 : 91-95) องค์ประกอบท่ีสาคัญและเป็นสาคัญสร้างบรรยากาศให้แก่การไหว้ครูและร่ายรา มวยไทย รวมท้ังการแข่งขันชกมวยนนั้ คอื วงดนตรปี ก่ี ลอง ซง่ึ มจี ังหวะและท่วงทานองช้าและเร็วตาม ช่วงเวลาของการแข่งขันเมื่อเร่ิมไหว้ครูท่วงทานองก็จะช้าเนิบนาบช่วยให้ลีลาในการร่า ยราไหว้ครูดู ออ่ นชอ้ ย งดงามเป็นจงั หวะนา่ ชม และเมื่อเริม่ การแข่งขันเสียงดนตรีก็เริ่มมีจังหวะเร็วข้ึนบอกให้ผู้ได้ ยินได้ชมรู้ว่าขณะนั้นนักมวยกาลังใช้ช้ันเชิงต่อสู้กันอยู่ในสังเวียน และเมื่อถึงยกสุดท้ายจังหวะดนตรี

423 ยงิ่ เรง่ เรา้ ขนึ้ เรา้ ใจให้นักมวยได้เร่งพชิ ติ คู่ต่อสูแ้ ละเร้าใจผู้ชมมวยรอบสนามให้ต่ืนเต้นกับผลการแข่งขัน ที่จะเกิดข้ึนในไม่ช้าจังหวะดนตรีจึงเปน็ ส่วนสรา้ งความร้สู กึ ของนักชกและผชู้ มรอบสนามให้สนุกสนาน ต่ืนเตน้ กบั การแข่งขันไดอ้ ยา่ งน่าอศั จรรย์ เคร่ืองดนตรีท่ีนามาบรรเลงประกอบการแข่งขันชกมวยไทย มีชื่อเรียกว่า “วงปี่กลอง” มี นักดนตรีร่วมบรรเลงดนตรโี ดยทว่ั ไปจานวน 4 คน เคร่ืองดนตรีประกอบด้วยปี่ชวา 1 เลา กลองแขก 2 ใบ และฉ่งิ 1 คู่ ปช่ี วา ทาเป็น 2 ทอ่ นเหมอื นป่ีไฉน คือ ถ้าเลาป่ียาวประมาณ 27 เซนติเมตร ท่อนลาโพง ยาวประมาณ 14 เซนติเมตร เจาะรู รูปร่างลักษณะเหมือนป่ีไฉนทุกอย่างแต่มีขนาดยาวกว่าปี่ไฉน กล่าวคือ ป่ีชวาเมื่อสวมท่อนลาโพงและเลาปี่เข้าด้วยกันแล้ว ยาวประมาณ 38-39 เซนติเมตร ตรง ปากลาโพงกว้างขนาดเดียวกับป่ีไฉน ทาด้วยไม้จริงหรืองา ส่วนที่ทาต่างจากป่ีไฉนก็คือตอนบนที่ใส่ ล้ินปีท่ าให้บานออกเล็กนอ้ ย ลักษณะของลิน้ ป่ี เหมอื นกับป่ีไฉน ต่างแต่มีขนาดยาวกว่าเล็กน้อยแม้เรา จะไม่รู้ที่มาของปี่ชวา แต่ชื่อของปี่ชวานี้บอกตานานอยู่ในตัวและเหตุที่มีลักษณะรูปร่างเหมือนปี่ไฉน ของอนิ เดยี จงึ เขา้ ใจวา่ ชวาคงไดแ้ บบอยา่ งมาจากป่ีไฉนของ อินเดีย แตด่ ัดแปลงให้ยาวกวา่ เสียงที่เป่า ออกมาจึงแตกต่างไปจากปี่ไฉน เรานาป่ีชวามาใช้เม่ือไรไม่อาจทราบได้ แต่คงจะนาเข้ามาใช้คราว เดยี วกบั กลองแขกและเม่ือสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นนั้น ปรากฏว่าเรามีปี่ชวาใช้ในกระบวนพยุหยาตรา เสด็จพระราชดาเนินแลว้ เช่นมกี ล่าวถึงใน “ลลิ ิตยวนพ่าย” วา่ “สรวญศรพั ทพฤโฆษฆ้อง กลองไชย ทุมพ่างแตรสงั ข์ ชวา ป่ีห้อ” ซึ่งคงจะหมายถึง ป่ีชวาและป่ีห้อหรือปี่อ้อ ปี่ชวาใช้คู่กับกลองแขก (ชวา) เช่น เป่า ประกอบการเลน่ กระบ่ีกระบอง และประกอบการแสดงละครอิเหนา ตอนรากริช และใช้ในวงปี่พาทย์ นางหงส์และใช้ในวงดนตรีเรียกว่าวง “ป่ีชวากลองแขก” หรือ วง “กลองแขกปี่ชวา” วงเคร่ืองสาย ปี่ชวา และวง “บัวลอย” ท้ังนาไปใช้เป่าในกระบวนแห่ ซึ่ง “จ่าป่ี” เป่านากลองชนะในกระบวน พยหุ ยาตราดว้ ย ภาพท่ี 326 ภาพปช่ี วา กลอกแขก รูปร่างยาวเป็นกระบอก หน้าหนึ่งใหญ่เรียกว่า “หน้าลุ่ย” กว้างประมาณ 20 เซนติเมตร อีกหน้าหนึ่งเล็กเรียกว่า “หน้าต่าน” กว้างประมาณ 17 เซนติเมตร หุ่นกลองยาว

424 ประมาณ 57 เซนติเมตร ทาด้วยไม้จริงหรือไม่แก่น เช่น ไม้ชิงชันหรือไม้มะริดขึ้นหนัง 2 หน้า ดา้ นหลงั ลูกววั หรือหนงั แพะ ใช้เส้นหวายผา่ ซีกเป็นสายโยงเร่งเสียง โยงเส้นห่าง ๆ ต่อมาในระยะหลัง นี้คงจะเน่ืองจากหาหวายไม่สะดวก บางคราวจึงใช้สายหนังโยงก็มีสารับหน่ึงมี 2 ลูก ลูกเสียสูง เรยี กว่า “ตวั ผู้” ลกู เสียงต่าเรยี กว่า “ตัวเมยี ” ตีด้วยฝ่ามือ ท้ังสองหน้าให้เสียงสอดสลับกันท้ังสองลูก กลองแบบน้ีเรียกว่าอีกอย่างหน่ึงว่า “กลองชวา” เพราะเข้าใจว่าเราได้แบบอย่างมาจากชวา ในวงป่ี พาทย์ของชวาก็มีกลอง 2 ชนิดคล้ายกัน แต่รูปร่างกลองตอนกลางป่องโตมากกว่าของไทย เราคงจะ นากลองชนิดนี้มาใช้ในวงดนตรีของไทยมาแต่โบราณ ในกฎหมายศักดินา มีการกล่าวถึง “หม่ืนราช ราช” พนักงานกลองแขกนา 200 และมลี ูกน้องเรยี กวา่ ชาวกลองเลวนา 50 บางทีแต่เดิม คงจะนาเข้า มาใช้ขบวนแห่นาเสด็จพระราชดาเนิน เช่น กระบวนช้างและกระบวนเรือ และใช้บรรเลงร่วมกับป่ี ชวาประกอบการเล่นกระบี่กระบอง ภายหลังจึงนามาใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์ของไทย เม่ือคร้ังนา ละครอิเหนาของชวามาเล่นเป็นละครไทย ในตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น ใช้ในละครราเพลง กริช เป็นต้น ต่อมานามาใช้ตีกากับจังหวะแทนตะโพนในวงป่ีพาทย์และใช้แทนโทนกับรามะนาใน วงเครื่องสายดว้ ย ภาพที่ 327 กลองแขก ฉิ่ง เป็นเคร่ืองตีทาด้วยโลหะ หล่อหนา เว้ากลาง ปากผายกลม รูปคล้ายถ้วยชาไม่มีก้น สารบั หน่งึ มี 2 ฝาแต่ละฝาวัดผา่ นศนู ย์กลางจากสุดของหนึ่งไปสุดของอีกข้างหน่ึงประมาณ 6 เซนติเมตร ถงึ 6.5 เซนติเมตร เจาะรตู รงกลาง สาหรับร้อยเชือก เพ่ือสะดวกในการถือตีกระทบกันให้เกิดเสียง เป็นจังหวะ ฉิ่งท่ีกล่าวนี้สาหรับใช้ประกอบวงป่ีพาทย์ ส่วนฉ่ิงที่ใช้สาหรับวงเครื่องสายและวงมโหรี มีขนาดเล็กกวา่ นนั้ คือ วัดผา่ นศูนยก์ ลางเพียง 5.5 เซนติเมตร ท่ีเรียกว่า “ฉิ่ง” ก็คงจะเรียกตามเสียงท่ีเกิดข้ึนจากการเอาของของฝาหนึ่งกระทบเข้ากับ อกี ฝาหนงึ่ แลว้ ยกข้นึ จะได้ยินเสียงกงั วานยาวคลา้ ย “ฉิ่ง” แตถ่ ้าเอา 2 ฝาน้ันกลับกระทบประกบกันไว้ จะได้ยินเสียงสั้นคล้าย “ฉับ” เคร่ืองตีชนิดน้ี สาหรับใช้ในวงดนตรีประกอบขับร้องฟ้อนรา และ การแสดงนาฏกรรม โขน ละคร

425 ภาพท่ี 328 ภาพฉง่ิ การบรรเลงดนตรีประกอบกีฬามวยไทย หรือกระบ่ีกระบองน้ัน ปรมาจารย์ทางดนตรี ไดว้ าง บทเพลงในแต่ละอาวุธไว้ไมเ่ หมอื นกัน เชน่ การรากระบี่ใช้แพลงกระบ่ีลีลา การราดาบใช้เพลง มอญราดาบ เป็นต้น นาค เทพหัสดินทร์ ณ อยุธยา (2513 : 18) กล่าวว่าการไหว้ครูของกระบี่ กระบองน้ัน ใช้เพลง ชมสมุทร เพลงโฉลก เพลงเกาะ หรือเพลงระกา การโหมโรงใช้เพลงแขกโอด เพลงสารถี เพลงเยี่ยมวิมาน แขกไทร การรบกันใช้เพลงอาวุธต่าง ๆ เช่น ดาบสองมือใช้เพลง จาปาทองเทศ หรอื ขอมทรงเคร่อื ง พลอง ใช้เพลงลงสรง หรือขน้ึ พลับพลา เปน็ ต้น สาหรับการบรรเลงดนตรีประกอบกีฬามวยไทยน้ัน คล้ายกับการบรรเลงประกอบกีฬา กระบ่ีกระบอง เนื่องจากวงดนตรีประเภท “วงป่ีกลอง” เหมือนกัน จะแตกต่างกันก็ตรงที่การบรรเลง ดนตรีประกอบกีฬามวยไทยนั้นประกอบดว้ ยเพลง โยน ใช้ในการไหว้ครู ส่วนเพลงท่ีใช้ในการชกใช้ เพลงเชิด ในสมัยสนามมวยสวนกุหลาบ พระยานนทเสนสุเรนทรภักดี แม่กองเสือป่าเป็นผู้เป่าป่ี มลี กู น้องในคณะตกี ลองแขกและฉิ่งในการแข่งขันชกมวยระหว่าง นายทับ จาเกาะ กับนายประสิทธิ์ บุญยารมณ์ ส่วนคู่ของนายยัง หาญทะเล กับ จ๊ีฉ่าง นักมวยจีน มีวงป่ีกลองของหม่ืนสมัคร เสียง ประจติ บรรเลงเพลง ซึง่ ทั้งสองคเู่ ป็นคมู่ วยท่มี ผี ู้คนสนใจเข้าชมมากเป็นประวัติการณ์

426 ภาพที่ 329 แสดงวงป่ีกลองบรรเลง (ปัจจบุ นั ) ภาพที่ 330 บรรเลงวงปี่กลองสมยั โบราณ ท่มี า : จรัสเดช อลุ ิต (คูม่ ือการฝกึ กีฬามวยไทย)

บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเร่ือง “การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย” ผู้วิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยเพ่ือนาผล มาอภิปรายและจัดทาข้อเสนอแนะจากการวิจยั ของมวยไทยแตล่ ะสายดงั น้ี มวยไทยสายไชยา ผลจากการศึกษาพบว่า มวยไทยสายไชยาเปน็ กีฬาพื้นบา้ นไทยชนิดหนึ่งท่ีมีการละเล่น อยู่ทั่ว ทกุ ภาคของประเทศไทย และเป็นกีฬาที่ใช้คนเป็นผู้เล่น เรียกว่า นักกีฬา ซึ่งจุดมุ่งหมายของการเล่น กีฬานี้กเ็ พอื่ บารงุ ร่างกาย ใหม้ ีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลินเป็นการผ่อนคลายความเครียดหลังจากการทางาน และเป็นเคร่ืองมือในการสร้างเสริม ความสามัคคีของคนในสงั คม ชมุ ชน 1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของมวยไทยสายไชยา เมือ่ ศกึ ษาถงึ พฒั นาการของมวยไทยสายไชยา พบว่า มวยไทยสายไชยาพัฒนาการมาจากพ่อ ท่านมา หรอื หลวงพ่อมา เจ้าอาวาสวัดทงุ่ จบั ช้าง แห่งเมืองไชยา ถือว่าพ่อท่านมาเป็นครูมวยใหญ่ มี ตานาน เล่าสืบต่อกันมาว่า เดิมท่านเป็นขุนศึก หรือ แม่ทัพ ออกบวชในพระพุทธศาสนาแล้วออกเดิน ธุดงค์มาจากพระนคร เร่ือยมาจนถึงเมืองไชยา พร้อมท้ังอยู่จาพรรษาท่ีวัดทุ่งจับช้าง เม่ือประมาณ 165 ปี ซง่ึ พ่อท่านมาเป็นผู้มีวิชาอาคมสูง มีความรอบรู้เร่ืองมวยไทยอย่างครบถ้วน ท่านจึงได้เป็นครู มวยผฝู้ ึกสอนใหแ้ ก่ชาวไชยา จึงทาใหท้ ่านมีลูกศษิ ย์ท่เี ปน็ นักมวยมากมาย เป็นเอกลักษณ์เฉพาะทาง หมัดมวย เรียกว่า “มวยไทยสายไชยา” โดยศิษย์พ่อท่านมาที่เรียนมวยไทยสายไชยาท่ีมีช่ือเสียงมาก ที่สุดในสมัยรัชกาลท่ี 5 เพราะว่าเมืองไชยา สมัยนั้นเป็นเมืองหน้าด่าน จึงมีการฝึกมวยไว้แทบทุก หมู่บ้าน โดยมีครูมวยส่วนใหญ่เป็นลูกศิษย์ของพ่อท่านมา ซ่ึงมวยไทยสายไชยาที่พระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรยี าภยั ) เจ้าเมืองไชยา ไดน้ าศษิ ย์ทเ่ี ป็นนกั มวยมาชกถวายต่อหน้าพระท่ีน่ังรัชกาลท่ี 5 จนได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นที่ “หมื่นมวยมีชื่อ” คือ นายปรง จานงทอง โดยท่ามวยไทยสายไชยาที่ เปน็ เอกลกั ษณ์มากท่ีสุดทท่ี าใหค้ นร้จู กั คือ ท่าเสือลากหาง เพอื่ เขา้ ทุม่ ทับจบั หกั คูต่ อ่ สู้ นอกจากนน้ั มวยไทยสายไชยา ยังเป็นกีฬามวยไทยท่ีเป็นสัญลักษณ์ในงานประเพณีประจาปี ทอ้ งถน่ิ คือ งานนมัสการพระบรมธาตุไชยา และงานการกุศลฉลองสถานท่ีต่าง ๆ ก็จัดชกมวยทั้งน้ัน เมอ่ื มีคนเมืองไชยา มารับราชการอยู่กรุงเทพมหานคร ก็ได้นาเอามวยไทยสายไชยา ขึ้นมาชกในเมือง หลวงบ้าง ซึ่งผู้ท่ีนามวยไทยสายไชยา ขึ้นมาชกที่กรุงเทพมหานคร ในสมัยรัชกาลท่ี 6 คือ ป้าชื่น ศรียาภัย จงึ ทาใหค้ นไทยมวยไทยสายไชยา สืบมาจนถึงปจั จบุ ัน 2. เอกลักษณ์ของมวยไทยสายไชยา ผลการศึกษาเอกลกั ษณข์ องมวยไทยสายไชยา พบว่ามี 6 ดา้ น คือ 1. การต้ังท่ามวย หรือ การจดมวย เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของมวยไทยสายไชยา เป็นท่า เรมิ่ ต้นก่อนท่ีจะขึ้นในท่าต่อไป คือ ท่าครู หรือ ท่าย่างสามขุม การต้ังท่ามวย หรือการจดมวยของ แต่ละค่ายจะไม่เหมือนกัน ท่าจดมวยของมวยไทยสายไชยาท่ีเห็นเด่นชัด ก็คือ ถ้านักมวยจดด้วย เหลี่ยมขวา ขาซา้ ยจะอย่ดู ้านหน้า ขาขวาจะอยู่ด้านหลัง ย่อเข่าทั้งสองลงเล็กน้อย ส่วนมือซ้ายจะอยู่

468 ดา้ นหน้าระหว่างอณุ าโลม คอื ตรงกลางระหวา่ งคว้ิ หา่ งใบหน้าประมาณ 12 น้ิว มือขวาอยู่ตรงกลาง ของแขนด้านซา้ ย หรือใกล้บรเิ วณปากและคาง ห่างใบหนา้ ประมาณ 3 นว้ิ 2. ท่าครู หรือ ท่ายา่ งสามขมุ เปน็ เอกลกั ษณท์ ี่สาคัญของมวยไทยสายไชยา เป็นท่าในการรุก รับ ตอบโต้ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ไม่ว่านกั มวยจะเคลอื่ นทไี่ ปในทศิ ทางใดก็ตาม ท่าย่างสามขุมเป็น ท่าท่ีใช้ในการป้องกันได้เป็นอย่างดี พร้อมกับตอบโต้หรือออกทักษะแม่ไม้มวยไทยได้อย่างดีเย่ียม เป็นท่าท่ีกระทาต่อจากท่าจดมวย แต่มีการยกเท้าเพื่อย่างก้าว ไปได้ในทุกทิศทาง ในการท่ีจะรุก รับ ปอ้ งกัน ตอบโตก้ บั คตู่ ่อสู้ จดั ว่าเป็นแมไ่ มม้ วยไทยที่ดเี ยย่ี มทีสดุ ของมวยไทยสายไชยา 3. การร่ายราไหว้ครู เป็นเอกลักษณ์ท่ีไม่เหมือนกับมวยไทยค่ายอื่น เร่ิมตั้งแต่การกราบ จะ น่งั ในทา่ น่ังยอง ๆ เพ่ือก้มลงกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ แล้วยืนข้ึนยกหัวแม่มือ อุดรูจมูกทีละข้าง เรยี กว่าวชิ าตรวจลมหายใจ หรอื เรียกว่า “ปราณ” 4. การพันหมัดแบบคาดเชือก จะพันหมัดแค่ข้อมือเพ่ือป้องกันการซ้นหรือเคล็ดเท่านั้น เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคล่องตัวในการรกุ เขา้ ทาต่อคู่ต่อสู้ในวงใน เพ่ือให้ใช้ศอกได้ถนัดและสามารถจับคู่ต่อสู้ ไดง้ า่ ยขึ้น ในการใช้เขา่ เขา้ กระทาตอ่ คู่ตอ่ สู้ 5. การแตง่ กายของมวยไทยสายไชยา ใชก้ างเกงขาส้ันแบบขาก๊วย ใช้ผ้าผูกลูกโป๊ะ (กระจับ) โดยเครื่องผูกศีรษะและแขน เรียกว่า ประเจียด (ในขณะชกจะไม่ถอดประเจียดออก) เคร่ืองผูกหมัด เรียกว่า หมดั ถัก 6. การฝึกซ้อมมวยไทยสายไชยา ที่เป็นเอกลักษณ์เด่นชัดคือ การนั่งขัดสมาธิบนครกตาข้าว ขนาดใหญ่ แล้วให้คู่ฝึกซ้อมเข้าชก โดยผู้ฝึกจะต้องหลบหมัดให้ได้ และการวิ่งบริเวณชายหาดที่มีน้า ประมาณครง่ึ แข้ง 3. กระบวนทา่ ของมวยไทยสายไชยา ผลการศึกษากระบวนท่าของมวยไทยสายไชยา พบวา่ มี 5 ชุด คือ 1. แมไ่ มม้ วยไทยสายไชยา มีดงั นี้ 1) ปนั้ หมัด 2) พนั แขน 3) พนั หมดั 4) พันหมดั พลิกเหลี่ยม 5) กระโดดตบศอก 6) เตน้ แร้งเตน้ กา 7) ย่างสามขมุ 2. ทา่ บริหารร่างกายเพ่อื พาหุยทุ ธ์มี 12 ท่า ดังน้ี 1) ท่าปน้ั หมัด 2) ทา่ พนั แขน 3) ท่าพันหมัด 4) ท่าพันหมัดพลิกเหลี่ยม 5) ท่าเล่นมวย 6) ท่าทัดมาลา 7) ท่าจูบศอก 8) ท่ากระโดดตบศอก 9) ท่าเตน้ แรง้ เตน้ กา 10) ทา่ ย่างสามขุม 11) ทา่ เหวย่ี งแขง้ 12) ท่าฉัด 3. ท่ามวยไทยไชยาพาหยุ ุทธ์ ประกอบดว้ ย 4 ทักษะ คือ 1) หมดั 2) เทา้ 3) เข่า 4) ศอก 4. เคล็ดมวยไทยไชยา ท่ีใช้ในการปอ้ งกนั ตัวทีด่ ีท่สี ุด คือ 1) ปอ้ ง 2) ปัด 3) ปิด 4) เปิด 5. ลูกไม้มวยไทยสายไชยา ท่าท่ีใชไ้ ดด้ ีที่สดุ คือ ท่าเสือลากหาง เปน็ ลกู ไม้หรอื ไม้มวยที่ โดดเดน่ ของมวยไทยสายไชยา 4. ระเบียบประเพณขี องมวยไทยสายไชยา ผลการศึกษาระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายไชยา พบว่ามี 3 ประการ คือ 1. การมอบตัวเป็นศิษย์ เมื่อสนใจจะเรียนมวยไทยสายไชยา ศิษย์ก็จะเข้าไปหาครูในวัน พฤหัสบดี ถือว่าเป็นวันครู ต่อจากนั้นครูจะถ่ายทอดศิลปะวิทยาให้ หากศิษย์ฝึกซ้อมวิชามวยได้ใน เบ้ืองต้นแล้ว ก็เรียกศิษย์มาข้ึนครูต่อหน้าพระพุทธรูป รับศีล 5 เม่ือเห็นว่าศิษย์คนใดมีความสามารถ จะทาพธิ ีครอบครูให้สืบทอดวิชามวยไทยสายไชยาได้

469 2. เครอ่ื งรางและของขลัง คือ เครื่องผูกใจชนิดหนึ่งของนักมวยแต่ละคน ท่ีศรัทธาเชื่อถือ นกั มวยไทยสายไชยามีทั้งนบั ถือพุทธคณุ และไสยศาสตร์ควบคกู่ ันเพอื่ ใชเ้ ป็นท่ีพงึ่ ทางใจ 3. ระเบียบการแข่งขัน ในสมัยเวทีศาลาเก้าห้องไม่มีการกาหนดยก การหมดยกมี 2 กรณี กรณีแรกจะยกมอื เพอ่ื ขอเข้าพุม่ (มมุ นักมวย) กรณีที่ 2 จะใช้ลูกอัน (กะลาเจาะรูใส่ในโถน้าเม่ือกะลา จมถอื วา่ หมดยก) เวียนคู่ชกไปเรื่อย ๆ สมัยเวทีวัดพระบรมธาตุไชยา มีการกาหนดการชกเป็น 5 ยก สว่ นเครือ่ งดนตรีท่ีใชป้ ระกอบมีป่ีกบั กลองเทา่ น้นั มวยไทยสายโคราช การศึกษาเรื่องมวยไทยโคราช เพ่ือให้ข้อมูลการสรุปและอภิปรายผลครอบคลุมเน้ือหา หลาย ๆ ด้านท่ีเกี่ยวข้อง ผู้วิจัยขอสรุปและอภิปรายผลตามประเด็นต่างๆที่ค้นพบจากการศึกษา ดงั ต่อไปนี้ 1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของมวยไทยสายโคราช ผลการศกึ ษาเกย่ี วกับประวัตคิ วามเป็นมาของมวยไทยโคราชน้ัน อภิปรายผลวา่ ในสมัยโบราณ ชาวไทยทุกคนต้องเรียนรู้วิธีการต่อสู้ป้องกันตัวเพ่ือความอยู่รอด เพ่ือช่วย ตนเองให้พ้นจากภัยอันตรายต่าง ๆ วิชาท่ีจาเป็นต้องเรียนรู้และฝึกหัดคือยุทธวิธีต่าง ๆ เช่น ฟันดาบ กระบี่ กระบอง มวย การต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่าสาหรับการต่อสู้กับศัตรูผู้รุกราน โดยเฉพาะ ในทางประวัติศาสตร์แล้วชนชาติไทยต้องเผชิญกับการรุกรานข่มเหงของศัตรูอยู่เสมอ มวยไทย มีรากฐานการต่อสู้มาจากการป้องกันตนให้พ้นภัยของชนชาติไทย ซึ่งมีร่องรอยว่าเริ่มอุบัติข้ึนต้ังแต่ สมยั สุวรรณภมู เิ ปน็ อยา่ งช้า แต่เดมิ ศิลปะมวยไทยท่มี ชี ัน้ เชิงสงู มักจะฝึกสอนกันในบรรดาขุนนางเจ้านายช้ันผู้ใหญ่หรือ เฉพาะพระมหากษัตริย์เท่านั้น พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ต้องผ่านการศึกษาศิลปะศาสตร์ ซึ่ง เปน็ ความรู้ด้านต่าง ๆ สาหรับพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ ประกอบด้วยความรู้ 18 ประการ สาหรับ มวยไทยกเ็ ป็นหนง่ึ ใน 18 ของศาสตรน์ ี้ ในสมยั กอ่ นพระมหากษตั ริย์จาเป็นต้องเป็นนักรบ เป็นนักมวย มีความกล้าหาญองอาจในฐานะเป็นผู้นาของประเทศ ต่อมาจึงแพร่หลายไปถึงสามัญชนซึ่งได้รับ การถ่ายทอดวิทยาการจากปรมาจารยซ์ งึ่ เดิมเปน็ ยอดนกั รบมากอ่ น โคราช ไดช้ ื่อวา่ เมอื งมวยมาช้านาน เป็นทนี่ ิยมชมชอบของชาวโคราชทกุ คนทุกยุค ทุกสมัย ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ จนเป็นท่ีข้ึนชื่อลือชาตลอดไปทั่วประเทศไทย ในส่วนของศิลปะป้องกันตัวของ ไทย เช่น กระบี่ กระบอง พลอง ง้าว และมวยไทยน้ันเป็นของคู่บ้านคู่เมืองมานานแล้ว ชาวเมืองต้อง เรียนรู้การป้องกันตัวไว้เพ่ือความไม่ประมาท จึงทาให้เป็นผู้มีเลือดนักสู้เต็มตัว และมีนักมวยฝีมือดี หลายคนในเวลาต่อมา เมืองโคราช มีประวัติความเป็นมาท่ียาวนาน ด้วยเหตุท่ีโคราชเป็นเมืองหน้า ด่าน ประชาชนจึงต้องมีความพร้อมในด้านการต่อสู้อยู่เสมอ ลูกหลานของชาวโคราชต่างก็ได้สัมผัส และคนุ้ เคยกบั การฝกึ ศิลปะการป้องกันตวั รวมถงึ การสู้รบกับ ผรู้ ุกรานอยู่ตลอดเวลา ส่ิงเหล่านี้จึงถูก ปลูกฝังและซมึ ซับเขา้ สูจ่ ิตวิญญาณของบุตรหลานชาวโคราชโดยตรง เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของมวยไทยโคราชนั้น สมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2369 คณุ หญงิ โม ภรรยาเจา้ เมอื งโคราชในสมัยนั้น ได้นาชาวเมืองโคราชใช้อาวุธเท่าที่หาได้และ