330 ภาพที่ 210 การยกขวากนั แล้วต่อยหมัดทปี่ ลายคาง ทีม่ า : พพิ ธิ ภัณฑ์พระยาพิชัยดาบหัก บ้านเกดิ พระยาพิชัยดาบหัก ภาพท่ี 211 การใชศ้ อกฟันที่ศีรษะ นายทองดี ฟันขาว ชกกับครูห้าวไดเ้ อาศอกฟันทีศ่ รี ษะ ของครูหา้ วถึง 2 ครงั้ ทาให้ศรี ษะแตกถงึ 2 แผล ที่มา : พิพิธภณั ฑ์พระยาพิชัยดาบหกั บา้ นเกิดพระยาพิชัยดาบหัก
331 ภาพท่ี 212 การใช้ศอกฟันที่ปลายคางขณะท่ีค่ตู ่อสเู้ ตะมา ทีม่ า : พิพิธภัณฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บา้ นเกิดพระยาพชิ ัยดาบหัก ภาพที่ 213 การเตะสูงท่กี ้านคอหรอื เตะท่ีทดั ดอกไม้ ตอนที่นายทองดีฟนั ขาวเตะครหู า้ วทค่ี ร่ึงปากครึ่งจมกู จนครูหา้ วน้าหงายแลว้ เตะสกดั ไว้ทก่ี า้ นคออยา่ งรนุ แรงส่งผลใหค้ รหู า้ วล้มลงสลบอย่กู ลางสนาม ที่มา : พพิ ธิ ภณั ฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บ้านเกิดพระยาพชิ ัยดาบหัก
332 ภาพท่ี 214 จับขาแล้วเตะตัดทขี่ าท่อนบนเม่ือคู่ตอ่ สู่เตะลาตัว ท่มี า : พพิ ธิ ภณั ฑ์พระยาพชิ ยั ดาบหกั บ้านเกิดพระยาพิชยั ดาบหัก ภาพที่ 215 ยกเท้าถีบที่ใบหนา้ คตู่ อ่ สู้ (บาทาลูบพักตร์) ทมี่ า : พพิ ธิ ภัณฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บ้านเกดิ พระยาพชิ ัยดาบหกั
333 ภาพที่ 216 เตะผดิ แลว้ ปดิ ตัวตวัดเท้ากลับ (จระเข้ฟาดหาง) ที่มา : พิพิธภัณฑ์พระยาพชิ ยั ดาบหัก บ้านเกิดพระยาพชิ ัยดาบหกั ภาพท่ี 217 การกระโดดข้ามศีรษะแลว้ เอาเท้าถีบท่ีทา้ ยทอย การใช้ชน้ั เชิงที่เหนอื ชั้นกระโดดขา้ ม ศีรษะนายถกึ เอาเทา้ ถบี ทา้ ยทอยแลว้ กระโดดลงข้างหลัง เม่ือนายถึกกลับหลงั หันมาแล้วเตะที่กา้ นคอ อย่างรุนแรง นายถึกล้มลงสลบแนน่ ่งิ อยู่กลางสนาม ที่มา : พิพิธภณั ฑ์พระยาพิชัยดาบหกั บ้านเกดิ พระยาพิชัยดาบหัก
334 ภาพที่ 218 กอดคอกระโดดตีเขา่ ที่อกคตู่ อ่ สู้ ทม่ี า : พพิ ิธภัณฑ์พระยาพิชยั ดาบหัก บา้ นเกดิ พระยาพชิ ยั ดาบหัก ภาพที่ 219 การจบั ขาคตู่ อ่ สู้แลว้ กระทุ้งเข่าทหี่ น้าท้อง ตอนท่ชี กกับครนู ิลนายทองดี ฟนั ขาวไดใ้ ชจ้ งั หวะ ในขณะทีค่ รนู ิลเตะแล้วจบั ขาครนู ลิ กระชากเขา้ หาตัว แลว้ กระทุ้งเขา่ เขา้ ทท่ี ้องของครูนิล ทีม่ า : พิพธิ ภัณฑ์พระยาพิชัยดาบหกั บ้านเกดิ พระยาพิชัยดาบหัก
335 ภาพที่ 220 การล้มตัวเพื่อหลบค่ตู ่อสู้ การล้มลงของนายทองดี ฟันขาว ครงั้ ทีช่ กกับครหู า้ ว ครหู ้าวโหมกาลังรกุ เข้าหานายทองดี นายทองดี ตงั้ ตัวไมต่ ิดตอ้ งลม้ ลงกบั พนื้ เพ่ือหลบหมัด ใหร้ อดพน้ การรุกของครหู า้ ว ครหู ้าวทาอะไรนายทองดี ไม่ได้เลย ทีม่ า : พิพธิ ภัณฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บ้านเกิดพระยาพิชยั ดาบหัก ภาพที่ 221 เตะตัดล่างเมื่อคู่ต่อสเู้ ตะสงู (ตาเถรกวาดลาน)
336 ภาพท่ี 222 ก้มหลบตา่ ถบี ท่ีเขา่ เมื่อคู่ต่อสู้เตะสูง ทีม่ า : พิพิธภัณฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บ้านเกดิ พระยาพชิ ยั ดาบหัก การชก สว่ นใหญ่จะคงแนวการใชไ้ วพ้ อสมควร เพราะความนิยมในมวยสากล อย่างไรก็ดีการ ใช้หมดั ในมวยไทยกย็ งั มีนอกเหนอื จากมวยสากลอกี หลายแนว โดยท่ัวไปอาจแบง่ เปน็ 15 ไม้ การเตะ มวยท่าเสามีชื่อเสียงมากในการเตะท่ีสวยงามและมีประสิทธิผลมาตั้งแต่ครั้งครูเมฆ สอนมวยท่บี า้ นท่าเสา แมก้ ระท่งั ผู้สบื สายของสานกั ท่าเสากม็ ีชือ่ เสียงในการเตะ เช่น ครูโพล้ง ครูฤทธิ์ ครูแพ ครพู ลอย และครูฉลอง เลยี้ งประเสริฐ ตัวพระยาพิชัยดาบหักเองก็ได้เรียนจากครูเมฆและได้ใช้ วชิ าความรู้จากสานักมวยเท่าเสาในการต่อสูท้ กุ แบ่งเปน็ 10 ไม้ การถบี ไม้ถบี เปน็ ไม้พ้นื อกี ชนดิ หนึ่ง ซ่ึงมวยสายท่าเสาและมวยสายพระยาพิชัย ดาบหักมี ความถนัดเป็นอย่างมาก สามารถถีบซ้าย-ขวาอย่างคล่องแคล่วและสามารถน็อกคู่ต่อสู้ด้วยลูกถีบได้ การถีบสามารถแบง่ เปน็ แนวทางต่างๆ แบ่งเป็น 10 ไม้ การตเี ข่า นักมวยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก หลายคนในอดีตมีเชื่อเสียงมากใน การใช้เขา่ ซึ่งมีแนวการใชม้ ากมายหลายแนว แบ่งเปน็ 10 ไม้ การศอก นักมวยไทยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก มีชื่อเสียงนอกจากการเตะ และการถีบแลว้ ยังมีช่อื เสียงเกี่ยวกบั การใชศ้ อก เรียกวา่ “ศอกอตุ รดิตถ์” แบ่งเปน็ 12 ไม้ ผมได้มโี อกาสไดอ้ บรมและเรียนรู้ทักษะมวยไทยหรือไม้มวยไทยที่ครูฉลอง เล้ียงประเสริฐ ได้ สอนไว้ในการอบรมครมู วยไทย มรดกไทยมรดกโลก ปี 2544 ของสานักงานการประถมศึกษาจังหวัด อตุ รดิตถด์ ังนี้
337 การชก ส่วนใหญจ่ ะคงแนวการใช้ไว้พอสมควร เพราะความนิยมในมวยสากล อย่างไรก็ดีการ ใชห้ มัดในมวยไทยกย็ ังมนี อกเหนือจากมวยสากลอกี หลายแนว โดยทั่วไปอาจแบ่งเปน็ 15 ไม้ การเตะ มวยท่าเสามีช่ือเสียงมากในการเตะท่ีสวยงามและมีประสิทธิผลมาตั้งแต่ครั้งครูเมฆ สอนมวยที่บ้านท่าเสา ตลอดจนลกู ศิษย์รุ่นปัจจุบนั แบง่ เป็น 10 ไม้ การถบี ไม้ถบี เปน็ ไม้พ้นื อีกชนดิ หนงึ่ ซงึ่ มวยสายทา่ เสาและมวยสายพระยาพชิ ยั ดาบหักมี ความถนดั เปน็ อย่าง สามารถถีบซา้ ย-ขวาอย่างคล่องแคลว่ และสามารถน๊อคคูต่ ่อสู้ด้วยลูกถบี ได้ การ ถบี สามารถแบง่ เปน็ แนวทางต่างๆ แบ่งเป็น 10 ไม้ การตเี ขา่ นกั มวยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก หลายคนในอดีตมีเชื่อเสียงมากใน การใชเ้ ข่า ซึ่งมแี นวการใชม้ ากมายหลายแนว แบง่ เป็น 10 ไม้ การศอก นักมวยไทยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก มีชื่อเสียงนอกจากการเตะ และการถบี แลว้ ยงั มชี ่ือเสยี งเก่ียวกบั การใช้ศอก เรยี กวา่ “ศอกอตุ รดติ ถ”์ แบ่งเป็น 12 ไม้ 4. ระเบยี บประเพณขี องมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายท่าสาและพระยาพิชัย คือ พิธีกรรม ในท่ีนี้หมายถึงวิธีการ การต่างๆ และคาถาอาคมท่ีเก่ียวข้องในการข้ึนครูหรือยกครู การไหว้ครูประจาปี การครอบครู และ การราไหว้ครูกอ่ นชกมวยสวยพระยาพิชัยดาบหัก และมวยสายครเู มฆแห่งบ้านท่าเสา พิธีกรรมเหล่าน้ี ส่วนใหญ่ผู้เขียนได้เขียนไว้ในหนังสือศิลปะมวยไทย ซึ่งจัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติแล้ว จึงขอวิสาสะนาสิ่งที่ผู้เขียนได้เขียนไว้เองมาใช้ในท่ีนี้ด้วย แต่ก็ได้เพิ่มเติมรายละเอียด อื่น ๆ เช่น คาถาอาคม ฯลฯ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์เพ่ือนให้ลูกศิษย์และผู้ที่สนใจสามารถใช้เป็นคู่มือใน การศึกษาและฝึกมวยสายพระยาพชิ ัยดาบหักต่อไปไดโ้ ดยไม่จาเป็นตอ้ งไปเสาะหาจากแหล่งอ่ืน ๆ อกี 4.1 การข้นึ ครหู รอื การยกครู การขึ้นครูหรือการยกครูในสมัยโบราณ การจะรับลูกศิษย์มิใช่รับกันง่าย ๆ เพราะต้อง แนใ่ จว่าลกู ศิษยต์ ้องเปน็ คนดมี ศี ีลธรรม ไม่นาความรู้ไปใช้ในทางที่ผิด ต้องเคารพเชื่อฟังครูบาอาจารย์ บางคร้ังครูมวยจะรับลูกศิษย์เข้ามาอยู่ในบ้านโดยขณะที่ช่วยทางานบ้านและช่วยครูทาไร่ไถนาครูจะ คอยสงั เกตดคู วามประพฤติและความขยนั ขนั แข็งกอ่ น เมอื่ เห็นว่าเป็นคนดีมีความขยันสุภาพเรียบร้อย จึงนัดวันขึ้นครูหรือยกครูก่อนทาการสอนวิชาต่างๆให้ ศิษย์ที่จะมาขึ้นครูกับครูมวยในสาย ท่าเสานั้น เมอื่ ครูมวยได้ตกลงใจจะรบั ลกู ศิษย์แลว้ จะนัดวนั ใหล้ กู ศิษย์นาดอกไม้ ธูปเทยี น ผ้าขาวม้า ขันน้า และ เงินค่าขึ้นครู 6 บาท มามอบให้ ส่วนใหญ่จะเป็นวันพฤหัสบดีข้างข้ึน เมื่อมาพร้อมแล้ว ลูกศิษย์ต้อง กลา่ วคาขอให้ครูรับตนเป็นศิษย์ โดยตนจะเคารพนับถือเช่ือฟังคาสั่งสอนของครู ประพฤติตนให้อยู่ใน ศีลธรรม ขยันขันแข็งและมานะอดทนในการฝึกหัดและจดจาศิลปะทั้งหมดท่ีครูจะส่ังสอนให้ จะนา ความรู้ไปใช้ในทางที่ถูกและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และจะสืบทอดความรู้ของสายมวยอย่างสุด ความสามารถ เมอื่ ครูรับดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าขาวม้า ขันน้า และเงินค่าขึ้นครูแล้ว ครูจะนาดอกไม้ ธูป เทียน ผ้าขาวม้า ขันน้า ไปบูชาพระ และนาเงินค่าขึ้นครูไปถวายพระหรือทาบุญในภายหลัง ส่วน
338 ผ้าขาวม้าน้ันครูจะเอาไว้ใช้เองหรือมอบให้ใครก็ได้ หลังจากน้ันครูจะให้โอวาทแก่ศิษย์ให้ขยันขันแข็ง มีมานะอดทน เช่ือฟังครูบาอาจารย์และผู้ใหญ่ สุภาพเรียบร้อย และใช้วิชาในทางท่ีถูกและเป็น ประโยชน์ตอ่ สงั คม ก่อนทคี่ รจู ะชแี้ จงแนวทางการฝึกมวยว่าประกอบไปด้วยอะไรบ้างและลูกศิษย์ควร จะเตรียมตัวหรือปฏิบัติตัวอย่างไร ครูมวยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหักจะเล่าประวัติของ สานักให้ฟงั ว่ามกี ารสบื ทอดมาอย่างไร มีครูมวยที่จดจาได้ช่ืออะไรบา้ ง เพื่อลกู ศิษย์จะได้รู้จักและแสดง ความเคารพตอ่ ครูอาจารย์เหล่าน้ันทุกๆคน และเป็นการทาให้ลูกศิษย์มีความภูมิใจในสายมวยของตน พยายามประพฤติตนเพ่ือมใิ หเ้ สียชื่อครบู าอาจารย์ทไี่ ด้ลว่ งลับไปแล้ว 4.2 การไหว้ครมู วยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัย การไหว้ครูประจาปี ครูสอนสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหักปกติจะจัดให้มีการ ไหว้ครูผู้ล่วงลับไปแล้วทุกวันพฤหัสบดี ข้างข้ึนสูงสุดของเดือน 4 ทุกปี ซึ่งจะจัดที่บ้านครูผู้สอนเพื่อ เป็นการระลึกถึงคุณของครูมวยท้ังหลาย เพ่ือขอพรให้การสอนการฝึกฝนบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ และเพอ่ื ใหค้ รูผูล้ ่วงลับไปแล้วช่วยดลบันดาลใหท้ ุกคนอยเู่ ยน็ เปน็ สุข ใหส้ ามารถรู้แจ้งเห็นชัดในการใช้ ศลิ ปะมวยไทยทัง้ รุกและรับอยา่ งรวดเรว็ ทนั การ สามารถใช้ศิลปะมวยไทยให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ส่วนรวมและประเทศชาติ รวมทั้งอนุญาตให้ลูกศิษย์ทั้งหลายได้พัฒนาศิลปะมวยไทยสายท่าเสาและ มวยไทยสายพระยาพชิ ยั ดาบหกั ใหเ้ จริญกา้ วหน้าต่อไปเพือ่ รักษาช่อื เสียงของสายมวยท้ัง 2 ไว้อย่างมั่ง คงสืบไป เครอ่ื งเซน่ ไหว้ครใู นการไหว้ครปู ระจาปีโดยท่วั ไปประกอบไปด้วย 1) หัวหมู 1 หวั หรือไก่ 1 ตัว (หรอื ท้ัง 2 อย่าง และอาจมีปลาอีก 2 ตัวด้วยก็ได้) 2) มะพร้าวอ่อน 2 ลกู 3) เหลา้ 1 ขวด 4) บายสปี ากชาม 1 คู่ พร้อมดอกไม้ 3 สี และดอกไม้ในแจกนั อีก 1 คู่ 5) ขนมหวาน (เช่น ขา้ วตม้ ขาว ตม้ แดง ฯลฯ) 6) นวมหรอื โครงสาหรับคาดเชือกพร้อมผ้าดบิ 2 คู่ 7) พานและมงคลของครผู ู้สอน 8) เทยี นสผี ึง่ 1 ดอก สาหรบั ทาน้ามนต์ 9) ขนั (ทล่ี ูกศิษยน์ ามามอบให้วนั ขนึ้ ครู) 1 ใบ 10) หมาก พลู บุหรี่ (อย่างละ 3 คา/มวน) 11) ธูป 1 แหนบพรอ้ มกระถางธูป 1 ใบ 12) ค่าครู 12 บาท การจดั เครื่องเซ่นไหว้ครู
339 ภาพท่ี 223 การจดั เคร่ืองเซ่นไหว้พิธีไหว้ครู ที่มาของภาพ : สมพร แสงชัย กอ่ นทีจ่ ะเรมิ่ พิธีเซน่ ไหว้ ครูจะต้องจุดธปู เทยี นบชู าพระพุทธแลว้ ทาน้ามนตใ์ นขนั โดย สวด ตานานและคาถามงกฎุ พระพทุ ธเจ้า ในน้าจะต้องมีเกร็ดมะกรดู 9 เม็ด ใบส้มป่อย 9 ใบ และใบ มะยม 9 ใบ และมีกง่ิ มะยมหลายๆก่ิงมดั รวมกันสาหรับใช้พรมนา้ มนต์ ส่วนของเซ่นไหว้นนั้ จะตอ้ งอยู่ บนผ้าขาว ยาว 2 เมตร กว้าง 1 เมตร ซ่ึงหนั หนา้ ไปทางตะวันออก ผ้าแดงซ่งึ ยาวเท่ากับผ้าขาวมา้ ปู ตอ่ จากผา้ ขาวไปทางตะวนั ตกเพื่อเป็นทน่ี ่ังของครบู าอาจารยท์ ี่ไดล้ ว่ งลับไปแล้ว โดยจัดของเรียงตาม รูปข้างบน พธิ ไี หว้ครมู วยสายท่าเสาและพระยาพิชัย ภาพที่ 224 นายฉลอง เลีย้ งประเสรฐิ ครมู วยไทยสายท่าเสาผู้สืบทอดจากครเู มฆจดั พิธไี หวค้ รู ทม่ี าของภาพ : สมพร แสงชัย
340 เม่อื ไดเ้ วลากอ่ นเพลทค่ี รูและลูกศษิ ย์ทั้งหลายมาพรอ้ มกันแล้ว ครูและลูกศิษย์ก็จะช่วยกัน รินเหลา้ ใสแ่ ก้ว เทน้ามะพร้าวใส่แก้ว จดุ ธปู ปกั บนของเซน่ ไหว้คาวหวานท้ังหมด ขวดเหล้าลูกมะพร้าว และน้าจ้ิม จากนั้นทุกคนก็จุดธูปคนละ 3 ดอกและพากันกล่าวคาระลึกถึงคุณของครูและเชิญครูมา รับรู้เครื่องเซ่นไหว้ โดยทางสายท่าเสาจะกล่าวว่า “ลูกหลานขอเคารพและระลึกถึงคุณครูที่ได้ ถ่ายทอดศิลปะมวยไทยให้แก่ลูกหลานขอให้บารมีของครูทั้งหลาย ซึ่งมีครูเมฆเป็นครูใหญ่ ครูเอี่ยม ครูเอม ครูอัด ครูโต๊ะ ครูโพล้ง ครูฤทธิ์ ครูแพ ครูพลอย และครูฉลอง เลี้ยงประเสริฐ ได้ปกป้อง คุ้มครองลกู หลาน หากลูกหลานผิดพลาดไป ขอให้ครูไดอ้ ภยั แกล่ กู หลานดว้ ย ลูกหลานจะประพฤติตน เป็นคนดีมีศีลธรรม ขยันขันแข็ง และมานะอดทนในการฝึกฝนวิชามวยไทยที่ได้ถ่ายทอดมาจนถึง ปัจจุบันนี้ ขอให้ลูกหลานประสบแต่ความสาเร็จ และความก้าวหน้าในการฝึกฝนวิชามวยไทยตาม ประสงค์ด้วยเถิด” ส่วนมวยสายพระยาพิชัยดาบหักก็ใช้คากล่าว ซึ่งลูกศิษย์ทุกคนจะกล่าวในใจหรือ ดงั ๆกไ็ ดว้ ่า “ขา้ พเจา้ ขอคารวะและระลึกถึงคุณครตู ั้งแตค่ รั้ง ชวด ฉลู กัลป์ ท่ีได้สืบทอดศิลปะมวยไทย มาจนถึงปัจจุบันน้ี อาทิเช่น พระครูเจ้าอาวาสวัด พระธาตุเมืองพิชัย ครูเที่ยงบ้านแก่ง ครูมวยง้ิววัด ท่าถนน ครูเมฆท่าเสา ครูดาบเหลือ เมืองสวรรคโลก ครูมวยจีนสุโขทัยธานีและพระยาพิชัยดาบหัก และผู้สบื ทอดได้แก่ หลวงพิทักษ์ (เสอื ) หลวงจง ครแู สง อตุ รดิตถ์ ครูซุนกวน ครูอยู่ ครูสงวน แสงชัย และครูอื่นๆที่ไม่ได้กล่าวถึง ข้าพเจ้าได้เล่าเรียนมวยไทยของครูทั้งหลาย ขอให้ครูท้ังหลายบันดาลให้ ข้าพเจ้าประสบผลสาเร็จในการฝึกฝนและสามารถทาให้มวยไทยของครูท้ังหลายก้าวหน้าต่อไปอย่าง ไม่หยุดยั้ง ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตัวว่า ข้าพเจ้าจะประพฤติตัวอยู่ในศีลธรรม ใช้วิชาความรู้ในทางที่ถูก ท่ีควร ข้าพเจ้าจะเคารพนับถือครูอาจารย์ทุกคน จะรักษาประเพณีและแบบแผนท่ีดีงามไว้ จะรักษา ชื่อเสียงของครูบาอาจารย์ ขอใหค้ รูอาจารยท์ งั้ หลานได้ปกป้องคุม้ ครองและอวยพรให้ขา้ พเจ้าด้วย” การครอบครตู ามประเพณีเดิมของมวยสายครูเมฆบ้านท่าเสาและพระยาพิชัย การครอบครู หมายถึง การที่ลูกศิษย์ได้ศึกษาเล่าเรียนศิลปะมวยไทยจนหมดส้ินแล้ว มีความสามารถที่จะสืบทอด ศิลปะมวยไทยตามตารับของครูมวยสายน้ัน มีความสามารถท่ีจะประยุกต์มวยให้เข้ากับสถานการณ์ ต่าง ๆ และแก้ไขปรับปรุงลูกไม้และเกร็ดไม้ต่าง ๆ ได้จนเป็นที่พอใจของครู ได้รับการถ่ายทอดเคล็ด ลับแล้วไม้ต่าง ๆ พอจะเป็นครูมวยต่อไปได้ ทั้งยังสามารถข้ึนเวทีมวยโดยไม่ทาให้สานักมวยต้องขาย หน้าแลว้ ครูมวยจะทาพิธีครอบครู สวมมงคลท่ีถูกต้องตามประเพณีของสานักมวยให้ ซ่ึงส่วนใหญ่จะ ทาให้วันพฤหัสบดีก่อนเวลาเพลท่ีบ้านครูมวยหรือในวัด เป็นท่ีน่าสังเกตว่ามงคลที่สวมให้น้ันอาจจะ เป็นมงคลประจาตัวเพราะมงคลน้ีจะมีดวงพิชัยสงครามของผู้น้ันอยู่บนแผ่นยันต์สีแดงซ่ึงพันอยู่รอบ มงคล มงคลน้ีจะมีสีขาวแดงถักด้วยด้ายดิบสีขาว 4 เส้น และสีแดง 4 เส้น แต่ละเส้นประกอบไปด้วย ดา้ ยดบิ หลายสิบเสน้ ถกั พอดีกบั ขนาดของศีรษะ แล้วบรรจบเปน็ เส้นเดยี วพอได้ระยะจากนั้นก็แยกถัก เปน็ 2 หาง โดยมีการผูกมัดไว้ที่ปลายและจะไม่ใช้วัตถุแข็งเลย เพราะในอดีตนักมวยจะสวมมงคลข้ึน เวทตี ่อสแู้ ละไมถ่ อดมงคลตลอดเวลาการต่อสู้ หลังจากนั้นจะนาเอาแผ่นยันต์ท่ีลงอักขระประจาสานัก และดวงพิชัยสงครามของผู้ได้รับการครอบครูพันรอบมงคลส่วนหน้าเอาไว้ มงคลน้ีโดยปกติจะได้รับ การสวดยัติไว้ (ถ้าใช้แผ่นยันต์พันรอบ) ถ้าไม่มีแผ่นยันต์ก็ไม่ต้องสวดยัติแต่ประการใด แต่ถ้ามีโอกาส นาเขา้ ไปร่วมพธิ สี วดยตั ิเมือ่ มกี ารบวชพระใหม่ ในการทาพิธคี รอบครูจะต้องมีการเซน่ ไหว้ครูแตโ่ บราณด้วยอาหารและสิ่งของดังนค้ี ือ 1. หัวหมู 1 หวั 12. บายสี 1 คู่
341 2. ไก่ 1 ตวั 13. ธปู 1 แหนบ 3. ปลา 2 ตวั 14. เทียนสีผงึ้ สขี าว 1 เล่ม 4. มะพร้าวออ่ น 2 ลูก 15. ขัน 1 ใบ(ไว้ใสน่ ้ามนต์ท่มี ีผวิ มะกรดู 9 ช้ิน 5. เหลา้ 1 ขวด ส้มปอ่ ย 9 ชนิ้ และมะยม 9 ใบ) 6. ขนมหวาน 2-3 อยา่ ง 16. มงคลของครูและลกู ศิษย์ท่ีจะครอบ 7. ไข่ 2 ใบ (ในกรวยบายสี) 17. ผ้าแดง กวา้ ง 1 เมตร ยาว 2 เมตร 8. นวมหรือโครงสาหรับคาดเชือกพร้อมผ้าดิบ 2 คู่ จานวน 1 ผนื 9. ดอกไม้ 3 สี และดอกไมใ้ นแจกนั อีก 2 ใบ 18. ผา้ ขาว กวา้ ง 1 เมตร ยาว 2 เมตร 10. หมาก,พลู,บุหร่ี (อย่างละ 3 คา/มวน) จานวน 1 ผนื 11. เงนิ 12 บาท 19. กระถางธูป 1 ใบ ขั้นตอนพธิ ีการไหว้ครปู ระจาปี ภาพที่ 225 ครแู ละศษิ ย์จดุ ธูปไหว้พระ ท่มี าของภาพ : สมพร แสงชัย พิธีการเร่ิมด้วยการให้ทุกคนจุดธูป 3 ดอก เพ่ือไหว้พระและจุดธูป 1 ดอก ปักลงบน เคร่ืองเซ่นไหว้ทุกอย่างก่อนแล้วสวดชุมนุมเทวดา หลังจากน้ันครูหรือพระพรมน้ามนต์ให้กับทุกคน ท่ีมาร่วมพิธี หลงั จากนั้น ผู้ที่จะได้รับการครอบครูจะต้องกล่าวขอครอบ“ลูกหลานของระลึกถึงคุณครู ที่ได้สอนศิลปะมวยไทยให้แก่ลูกหลาน โดยมีครูเมฆซ่ึงเป็นครูใหญ่ ครูเอี่ยม ครูเอม ครูอัด ครูโต๊ะ ครู โพล้ง ครูฤทธ์ิ ครูแพ ครูพลอย และครูฉลอง ลูกหลานได้เล่าเรียนศิลปะมวยไทยสายท่าเสาและยัง ไมไ่ ดค้ รอบครู วันน้เี ปน็ วนั ดแี ละไดฤ้ กษ์ดี ลูกหลานขอให้ครอบครูให้ดว้ ย” ถ้าเปน็ สายพระยาพิชัย คากลา่ วจะตา่ งออกไปบา้ ง ดังน้ี “ข้าพเจ้าขอคารวะ และระลึกถึงคุณครูตั้งแต่ครั้งชวดฉลูกัลป์ที่ได้ถ่ายทอดศิลปะมวย ไทยมาจนถึงขา้ พเจา้ อาทิเช่น พระครูเจ้าอาวาสวัดพระธาตุเมืองพิชัย ครูเท่ียงบ้านแก่ง ครูมวยงิ้ววัด ทา่ ถนน ครูเมฆบา้ นท่าเสา ครูดาบเหลือเมืองสวรรคโลก และครูมวยจีนสุโขทัยธานี พระยาพิชัยดาบ
342 หัก ซึ่งได้ รวบรมศิลปะมวยไทยให้เป็นระบบ และผู้สืบทอด ได้แก่ หลวงพิทักษ์(เสือ) หลวงจง ครู แสงอุตรดิตถ์ ครูซุนกวน ครูอยู่ ครูสงวน แสงชัย และครูอ่ืนๆที่ไม่ได้กล่าวถึง ข้าพเจ้าได้เล่าเรียน ศลิ ปะมวยไทยและยงั ไม่ได้ครอบครู วันนเี้ ป็นโอกาสดี ข้าพเจา้ ขอใหค้ รไู ด้โปรดครอบครูด้วย” เม่ือผู้จะครอบครูกล่าวจบ ครูจะกล่าวอบรมส่ังสอนให้ลูกศิษย์ได้นาความรู้ไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ต่อตนเอง ต่อสังคม และให้ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรมอันดี อย่าได้ใช้วิชาไปในทางที่ผิด และให้พยายามศึกษาพัฒนาศิลปะมวยไทยต่อไปเรื่อย ๆ ศิลปะมวยไทยจะหยุดอยู่กับท่ีไม่ได้ ต้อง ประยุกต์และปรับปรุงให้ก้าวหน้าต่อไป เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและสังคมไทย นอกจากน้ี มวยไทยควรจะคงความเป็นไทย แต่ไม่ควรต่อต้านความเปล่ียนแปลงที่จะทาให้ศิลปะมวยไทยเป็น เลิศยิ่งข้ึน ผู้ที่จะฝึกหัด มวยไทยควรจะมีใจคอกว้างขวางและรู้ว่าศิลปะมวยไทยมีจุดเด่นและจุด ด้อยอย่างไร ควรพัฒนาจุดเด่นและ แก้ไขจุดด้อยต่อไปอย่างไม่หยุดย้ัง มิฉะนั้นศิลปะมวยไทยจะสู้ ศลิ ปะการตอ่ สปู้ ้องกนั ตัวของชนชาตอิ ่นื ไม่ได้ ผู้ที่ได้รับการครอบครูจึงต้องมีหน้าท่ีอันศักด์ิสิทธิ์จะต้อง ปฏิบตั ิต่อไป ภาพที่ 226 ครเู ร่ิมทาน้ามนต์ ท่ีมาของภาพ : สมพร แสงชัย หลังจากที่ครูมวยได้กล่าวจบ ครูมวยก็จะได้สวมมงคลบนศีรษะของผู้ท่ีได้รับการครอบ (ในช่วงนี้พระสงฆ์จะได้สวดชะยันโตให้แก้ผู้ได้รับการครอบครู) จากน้ันก็ทาการถวายอาหารเพล ให้แก่พระสงฆ์ระหว่างพระฉนั เพลอยู่น้ันป่ีกลองจะเริ่มบรรเลงเพลงไหว้ครู ผู้ท่ีได้การครอบจะเร่ิมร่าย ราไหวค้ รจู นจบส้ินตามแบบฉบับที่ครูได้สั่งสอนเอาไว้ (สาหรับสายพระยาพิชัยจะต้องมานอกโบสถ์) เพื่อร่ายราไหวค้ รแู ละถวายมือต่อไป
343 ภาพที่ 227 ศิษย์เรมิ่ ราไหวค้ รู ภาพท่ี 228 ทา่ ราไหว้ครขู องศษิ ย์ ภาพท่ี 229 ทา่ ราไหวค้ รูของศษิ ย์ ภาพท่ี 230 ทา่ ราไหวค้ รูของศิษย์ ท่มี าของภาพ : สมพร แสงชยั
344 ภาพท่ี 231 ท่าราไหวค้ รูของศษิ ย์ ภาพที่ 232 จบท่าราไหว้ครูของศษิ ย์ ทมี่ าของภาพ : สมพร แสงชัย หลังจากนั้น ครูมวยจะเริ่มร่ายราไหว้ครู ตามแบบฉบับที่จนเองได้รับครอบเอาไว้ท่าร่ายรา อาจจะไม่เหมือนกันก็ได้ เพราะครูต้องพิจารณาดูว่ารูปร่างแต่ละคนน้ัน เม่ือร่ายราในฉบับได้แล้วจะ ดูงดงามและเข้ากับรูปร่างมากกว่ากัน เช่น รูปร่างเล็กก็อาจจะให้ใช้แบบสาวน้อยประแป้ง รูปร่างสูง เกร็งอาจใช้แบบย่างสามขุม รูปร่างสันทัดอาจใช้แบบพรหมสี่หน้าใหญ่ หรือรูปร่างใหญ่อาจใช้แบบ พรหมสี่หน้าน้อย เป็นต้น แต่การเริ่มต้นจะเหมือน กัน คือเริ่มจากการไหว้พระแม่ธรณี ตามด้วยการ ไหว้บรมครู (พระอิศวร) พระรัตนตรัย และครูผู้ส่ังสอนวิชา หลังจากนั้นจึงเร่ิมด้วยท่าน่ังสาหรับสาย พระยาพิชัยดาบหัก และท่ายืนสาหรับสายท่าเสาด้วยท่าส่องเมฆ (ถ้าเป็นย่างสามขุม) หรือเสือลาก หาง (ถา้ เปน็ พรหมสห่ี น้าใหญห่ รอื น้อย) จนจบการรา่ ยราไหวค้ รู ภาพที่ 233 ครมู วยเรม่ิ รา่ ยราไหว้ครู ภาพท่ี 234 ท่าราไหว้ครูของครู
345 ภาพท่ี 235 ท่าราไหว้ครูของครู ภาพที่ 236 ท่าราไหวค้ รูของครู ท่มี าของภาพ : สมพร แสงชยั ภาพท่ี 237 จบท่าราไหว้ครขู องครู ทมี่ าของภาพ : สมพร แสงชยั เม่อื ครูทาตามขัน้ ตอนการไหว้ครเู สรจ็ แลว้ ท้ังครูและศิษย์จะเริ่มการถวายมือ คือการประ มือ ระหว่างครูและลูกศิษย์ ซ่ึงถือว่าเป็นการสอนครั้งสุดท้าย ก่อนจบการเรียนจากครูผู้นั้นการถวาย มือจะยาวหรือสั้นอยู่ท่ีการกาหนดของครูเอง เพระส่วนใหญ่ครูซ่ึงอายุมากอาจจะไม่สามารถออกแรง ได้มากนัก บางครั้งครูจะให้ศิษย์ท่ีอาวุโสซ่ึงได้รับการครอบไปแล้ว เป็นผู้ถวายมือกับผู้ได้รับการ ครอบใหมก่ ไ็ ด้ ระหวา่ งการถวายมือป่ีกลองจะบรรเลงเหมือนกับการตอ่ สู้บนเวที
346 ภาพที่ 238 เริ่มถวายมอื ระหวา่ งครกู บั ศิษย์ ภาพที่ 239 การปะมอื ระหวา่ งครกู ับศิษย์ ภาพที่ 240 การปะมือระหว่างครูกับศิษย์ ทมี่ าของภาพ : สมพร แสงชยั
347 ภาพท่ี 241 การปะมอื ระหว่างครกู บั ศิษย์ ทีม่ าของภาพ : สมพร แสงชยั ตามประเพณีของสายท่าเสาและของสายพระยาพิชัย หากครูผู้สอนวิชาตนยังอยู่หรือศิษย์ อาวุโสกวา่ ตนยังอยู่ ครจู ะไมค่ รอบให้ลกู ศิษย์ของตนเอง แต่จะนาไปให้ครูของตนหรือศิษย์อาวุโสกว่า ตนเปน็ ผคู้ รอบใหแ้ กล่ กู ศิษย์ตนอีกทีหนึ่ง ยกเว้นแต่ในกรณีที่อยู่ห่างไกลกันมากกับผู้อาวุโสเดินทางไม่ สะดวก จึงสามารถเป็นคนครอบให้ลูกศิษย์ของตนได้ หลังจากถวายมือแล้ว ทุกคนจะถอดมงคล และนามาไว้บนพานและทาการไว้พระ และครูผู้ล่วงลับไปแล้วทุกคน แล้วจึงทาการถอนเคร่ืองเซ่น ไหว้ (สายพระยาพิชัยดาบหักก็กลับเข้าไปรับพรจากพระสงฆ์ หลังจากพระสงฆ์ฉันเพลเสร็จแล้ว) หลงั จากนน้ั ทั้งครูและลูกศษิ ย์ กน็ าเครื่องเซน่ อาหารตา่ งๆ มารับประทานกัน การครอบครูก็เสร็จส้ิน ลงลูกศิษย์สายพระยาพิชัยดาบหักจะนามงคลของตนติดตัวไปด้วย และผู้ได้รับการครอบจะมีศักดิ์ และสทิ ธ์ิเป็นครมู วยทกุ ประการ (สานกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 2541. หน้า 80-83) 4.3 การแต่งมวยการราไหว้ครู วชิ าแตง่ มวยมสี ่วนสาคัญก่อน การราไหวค้ รเู ป็นอย่างยิ่ง เพราะนักมวยจะต้องชานาญและ เกง่ ในเรือ่ งคาถาอาคม เน่ืองจากการคาดเชือกของการชกมวยสมัยโบราณ เป็นการคาดเชือกต้องเอา เชือกด้ายตราสังมาลงคาถาอาคมแล้วบิดให้เขม็งเกลียว หลังจากนั้นเอามาขดก้นหอย 4 ขด แล้ว นาเอาตราสังมาเคยี นเปน็ วง 4 วง รองข้างล่างก้นหอยอีกทีหน่ึง เพ่ือสวมเป็นสนับมือ เมื่อสวมนิ้วมือ แล้วก็เอาด้ายตราสังมาเคียนทับอีกทีหนึ่ง เชือกท่ีคาดจะต้องลงรักและคลุกน้ามันยาง จากน้ันก็คลุก แก้วบดอีกทหี นึ่งอันเป็นเสรจ็ พธิ คี าดเชือก ดงั นนั้ นกั มวยสมยั นนั้ หนงั จะต้องเหนียวมิฉะน้ันชกมวยไม่ได้ขืนชกเป็นได้เลือดแดงทั้งตัว ทีเดียว นักมวยสายท่าเสาจึงต้องเสกพริกไท 7 เม็ดกินทุกวัน เพ่ือให้อยู่ยงคงกระพันและป้องกันปืน ผาหน้าไม้ด้วยคาถากระทู้ 7 แบกประจาทิศบูรพา คือ อิระ ชาคะ ตะระสา 15 จบ และก่อนข้ึนชก
348 ต้องเสกหมากหรือว่าน เพื่อเค้ียวกินกันแตกด้วยคาถาฝนแสนห่าประจาทิศอาคเนย์ 8 จบ ติหัง จะโต โรถนิ ัง ครูสงวน เชาวนปรีชา ได้ให้คาถาอยู่ยงคงกระพันมาเพิ่มเติมเพ่ือให้ใช้เสกข้าวกินทุกเช้า ดังน้ี พุทธ แลแล ปะแลยันติ เชิญคุณครูปัตติยาย ชอ กัมมะสิทธ์ิอยู่กับรูปด้วย อะ นะโมพุทธายะ มะอะอุ มัตติหยา ปตั ตภิ ะเว เนหะกันหะ แมพ่ ระธรณีเอ๋ย อยู่แล้วหรือยัง สังฆังโลกะวิทู พุทธังอัด ธัมมังอัด สังฆังอัด อัดด้วยนะโมพุทธายะ โสภีโตพุทโธท้อ ถ้าเสกข้าวกินทุกเช้าให้เสกจบเดียว ถ้า เสกหมากหรืออาหารกินให้เสก 3 จบ ครูสงวน เชาวนปรีชา ให้เสกเป็นประจาและเป็นท่ีรู้กันใน อตุ รดิตถ์ว่าเปน็ คนหนงั เหนียวมากคนหนึ่ง มดี และของมคี มไม่เคยได้เลือดจากครูสงวนเลย นอกจากนี้ ครสู งวนยังไดใ้ ห้นะทอ้ หรือนะทรหด สาหรับการชกมวย โดยให้ลงใบพลูกินจะทาให้คงทนและทรหด หนงั จะไม่แตกเลย คอื ให้ลงนะพรอ้ มกับทอ่ ง ทอ้ รันโตสีละสมาธิ ท้อรนั โตมะละมตั ตะโน ทอ้ รนั โตกัมมัฏฐานงั ท้อรนั ตันตงั นะมามหิ งั เมื่อข้นึ อุณาโลม ใหท้ ่อง ทอ้ อณุ าโลมเนาวะนาถัง ท้อทเุ สสัง สมั ภะโว พุทธัง สรณงั คัจฉามิ (ขมวดแรก) ธัมมัง สรณัง คจั ฉามิ (ขมวดท่ี 2) สังฆงั สรณงั คจั ฉามิ (ขมวดที่ 3) สัตถุโน พทุ โธ (ข้นึ ยอด) ภาพท่ี 242 ยันคาถาคงกระพัน ที่มา : สมพร แสงชยั . 2545, ศลิ ปะมวยไทยสายพระยาพิชยั ดาบหัก จังหวดั อตุ รดติ ถ์.หน้า 39 เสรจ็ แลว้ ใหเ้ สกทอ้ ฬ่อ ๆ ๆ ๆ พร้อมกบั เคย้ี วใบพลูไปเร่ือยๆ ถ้าใบพลูมีรสเปรยี้ ว คาถาใช้ไดแ้ ลว้ ถ้าใบพลไู มเ่ ปรย้ี วต้องเริ่มต้นลงใบพลใู หม่อีกครง้ั หนงึ่ ครูมวยอาจเสกแป้งประหน้าให้นักมวยก่อนชกด้วยนะจังงัง จะทาให้ศัตรูทาอะไร ไม่ลง ลอบทาร้ายก็ไม่ได้ ขนาดยกปืนเล็งยังเหน่ียวไกปืนไม่ได้ โดยเสกแป้งด้วยคาถา พุทธัง ปังจังงัง คัดจงั งัง คัดจังเอย๋ เกยจงั งัง ธัมโม สุภโผ ตัวนักมวยอาจเสกแป้งประหน้าเองก็ได้ และ/หรืออาจ สวดคาถาพญาเต่าเรือสัก 7 จบ เพื่อให้คู้ต่อสู้งงงวย ทาอะไรไม่ถูก จนตัวนักมวยเกิดความแคล้ว คลาดและมชี ัยชนะ โดยใหบ้ ริกรรม นาสงั สโิ ม แตก่ ่อนจะพนั มือหรือคาดเชือก ครูมวยหรือตัวนักมวย เองอาจเสกหมัดซ้ายว่า นะ มะ พะ ทะ คือ นะอยู่สันนิ้วชี้ มะอยู่สันน้ิวกลาง พะอยู่สันนิ้วนาง และ ทะอยู่สันนิ้วก้อย และลงสันหมัดขวาวา่ ทะ พะ มะ นะ โดยใชท้ ะอยู่สันนว้ิ ช้ี พะอยู่สันนิ้วกลาง มะอยู่
349 สันน้ิวนาง และนะอยู่สันน้ิวก้อย ตามลาดับ (เมื่อกรรมการเรียกตัวไปช้ีแจงกติกากลางเวที ต้องเอา หมัดทั้ง 2 แตะตัวคู่ต่อสู้ไม่ใช่แตะเฉพาะหมัดเท่าน้ัน) หลังจากน้ัน นักมวยจะลงคาถากากับหมัดสาย ท่าเสาจะเสก อจิ ะฉะ 3 ครัง้ แล้วเป่าลงท่ีหมดั 3 ครง้ั กอ่ นใส่นวมหรือคาดเชือก ผู้ท่ีสักนะธนูทองไว้ท่ี มือเอาไว้ก็บริกรรมคาถาธนูมือแล้วเป่าลงบนหมัด 3 ครั้ง โดยใช้คาถาอสิสัตติ ธนูเจวะ สัพเพเต อาวธุ านิจะ ภัคคะภัคคา วจิ ุลนานิ โลมงั นาเม นะผุดสนั ติ ส่วนสายพระยาพิชัยดาบหักจะลง “นะธนู เงิน-ธนูทอง” บนฝ่ามือซ้ายขวา โดยลงนะท้อพร้อมกับบริกรรม “ท้อรันตันโต ศรีรัตนสมาธิ ท้อรัน ตันติ ปานะมตุ ตะโมท้อรนั นันโต กัมมะสถานงั ” เวลาชักอุณาโลมใหท้ ่อง“ทอ้ อณุ าโลมา ปานะชัยยะเต” เป็นที่น่าสังเกตว่า “นะธนูเงิน-ธนูทอง” นี้ คล้ายคลึงกับนะทรหดเป็นอย่างมาก โดยครู เสนาะ เชาวนปรีชาได้ยืนยันว่าคาถาบทนี้ใช้เขียนฝ่ามือเพ่ือใช้ในการชกมวย โดยมีความแตกต่างกับ นะทรหดพอสมควร และเวลาชักยอดของนะธนูเงิน-ธนูทอง ยอดต้องข้ึนไปตามนิ้วกลางด้วย จึงจะ สมบูรณ์ นะน้ีครูสงวน แสงชัยซึ่งลืมคาถาอาคมเกือบหมดแล้วบอกว่าคลับคล้ายคลับคลามาก แต่ไม่ สามารถบอกได้ว่าใช่หรือไม่ใช่ แต่คิดว่าอาจจะใช่มากกว่า อย่างไรก็ดี ดร.สมพร แสงชัย ก็ใช้คาถา จักรนารายณ์กากับมือมาตั้งแต่เด็กว่า หัตถะยัง จังคัง ในการชกมวย โดยให้บริกรรมแล้วเป่าใส่มือ 3 ครั้ง ก่อนใส่นวมและหลังพันมือแล้ว ดังนั้น คาถาบางบทอาจต้องบริกรรมและเขียนลงบนฝ่ามือ และมีหลายบทซึ่งสามารถเสกเป่าหลงั จากการพันมือและการสวมนวมแลว้ ส่วนสาคัญมากของการแต่งตัวของนักมวยคือการสวมมงคลและกา รคาดฝ้าประเจียดผ้า ประเจียดและมงคลนั้นได้มีการปลุกเสกมาแล้ว แต่เมื่อสวมมงคลลงบนศีรษะของนักมวยครูมวย จะต้องมคี าถากากับมงคลคือ คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า ยอดธงพระพุทธเจ้า (หรือหัวใจอิติปิโส) และ นารายณก์ รึงจกั ร ท้ัง 3 บทน้ีจะใชเ้ วลาถอดมงคลด้วยเช่นกนั ดงั น้ี คาถามงกุฎพระพทุ ธเจ้า อติ ปิ ิโส วเิ สเสอิ อิเสเส พทุ ธะนาเมอิ อเิ มนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พทุ ธปั ติ ิอิ ตะโจ พระพุทธเจา้ จงมาเป็นหนัง มงั สงั พระธรรมเจา้ จงมาเปน็ เน้ือ สังฆังอัฐิ พระสงฆ์เจา้ จงมาเปน็ กระดกู ตรีเพชรคงคง นะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ พุทธปิตอิ ิ คาถายอดธงพุทธเจา้ (หรือหัวใจอิติปโิ ส) อาสงั สุ สังสุสุ คาถานารายณก์ รึงจักร อะภะสัง พวุ ิสะ สปุ ุโล
350 เม่ือนักมวยแต่งตัวและสวมมงคลคาดผ้าประเจียดเรียบร้อยแล้ว ครูจะพานักมวยไปที่เวที ก่อนขึ้นเวที ครูหรือตัวนักมวยจะเสกดินขอพรจากพระแม่ธรณี (ในสมัยก่อน การชมมวยอยู่บน ลานดิน การเสกดินขอพรจากพระแม่ธรณีจึงสามารถทากันได้ในเวทีมวย) มวยสวยท่าเสาจะว่านะโม 3 จบ เพื่อให้เกิดสมาธิแล้วกล่าวว่า แม่ธรณีเอ๋ย อยู่แล้วหรือยัง ขอฝากชีวัง โลกะวิทู ขอฝาก ลูกด้วย พร้อมกับเอาดินใส่หัวแล้วกราบพระแม่ธรณี ส่วนสายพระยาพิชัยดาบหักจะกล่าวหลังว่า นะโม 3 จบ เพอ่ื ให้เกดิ สมาธวิ า่ แมธ่ รณเี อ๋ย อยู่แล้วหรอื ยัง สังฆังโลกะวทิ ู พุทธังอัด ธัมมังอัด สงั ฆงั อัด อัดด้วยนะโมพทุ ธายะ หลังจากนั้น ให้หยิบดินโรยบนหัวเล็กน้อยแล้วก้มลงกราบพระแม่ ธรณีก่อนเดินข้ึนไปบนเวที เม่ือข้ึนไปบนเวทีแต่ยังไม่ข้ามเชือก นักมวยหรือครูมวยต้องว่าคาถาพระ เจ้าสิบชาติ เพื่อไล่อาถรรพ์ และภูตผีปีศาจและนารายณ์คลายจักรเพื่อถอนหรือแก้การกระทาทุก ชนิด และปัดพิษร้ายต่าง ๆ ให้หมดไป คาถาพระเจ้าสิบชาติได้แก่ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว โดยท่องคาถา 3 จบ แล้วเป่าลงบนเชือกพร้อมท้ังลูบเชือกเวทีเส้นบน 3 คร้ัง จากนั้นจึง ข้ามเชือกเข้าไปในเวที ถ้ารู้ว่าคู่ต่อสู้มีคาถาอาคมแก่กล้านักมวยจะพยายามไม่ถูกเชือกเวลากระโดด ขา้ มเชือกเข้าเวทเี พือ่ จะไมใ่ ห้ถกู อาถรรพข์ องฝ่ายตรงขา้ ม เม่อื นักมวยขึ้นมาบนเวทแี ลว้ นักมวยจะมีท่าทางการไหว้ครูและร่ายราแบง่ เป็น 2 ตอน คือ ท่านงั่ และทา่ ยืน สาหรับท่านง่ั จะแบ่งดงั น้ี 1. การเดินไปกราบบรมครู ซ่ึงสายมวยท่าเสาและพระยาพิชัยดาบหัก ถือว่า พระอิศวร เป็นผู้ประสิทธิประสาทวิชาการต่อสู้และการร่ายราให้แล้วจึงไปกราบครูป่ีกลองซึ่งได้มีการบูชาครูไว้ เรียบรอ้ ยแล้ว 2. การเดินไปกราบพระรตั นตรัยยงั ทิศทผ่ี ีฟา้ ไม่ขา้ ม 3. จากนนั้ จะหมอบลงบริกรรมคาถาอาคมท่ีเล่าเรียนมาโดยเฉพาะคาถาอาคมประจาสานัก แต่บางคนจะนิยมน่ันคุกเข่าบริกรรมคาถาจะมีบทต่าง ๆ เช่น นะทรหด นะธนูมือ นะคงกระพันชาตรี ถ้ายงั ไม่ได้บรกิ รรมกอ่ นขนึ้ เวที ถ้าได้บริกรรมไปแล้วช่วงน้ีเป็นการปลุกเสกตัว เช่น ปลุกเสกหัวใจเสือ สมิง ทุ สะ หมิง ติ ไปเรื่อยๆจนเข้าสมาธิหรือปลุกเสกหนุมานคลุกฝุ่น โอม หุลามาน กูจะผลาญ ไตรภพ กูจะขบ กจู ะกดั กจู ะฟัดมึงใหแ้ หลก กูจะแยกแม่ธรณี ผงเผ่าเถ่าธุรี นะกรนโต กะโลปะ นะกรินตรี กะลีปะ โดยเสกฝุ่นในมือ 3 จบ แล้วลูบไล้ฝุ่นไปทั่วร่างกายพร้อมกับว่าคาถาหนุมาน คลุกฝุ่นไปด้วย เม่ือจบคาถาแล้วให้กล่าวว่า “นะกรนโต กโลปะ นะกรินตรี กะลีปะ” ซ้า ๆ เพ่ือ เปน็ การปลุกตวั เอง คาถาเสอื สมิงทาให้เกิดเรี่ยวแรงและความว่องไวปราดเปรียว ส่วนคาถาหนุมาน คลุกฝุ่นทาให้เกิดความทรหดอดทน เป็นการเรียกกาลังภายในออกมาใช้ต่อสู้ มิให้เหน็ดเหน่ือยและ เจ็บตัว อย่างไรก็ดีนักมวยจะต้องฝึกฝนมาเป็นอย่างดีมิฉะน้ันจะไม่สามารถต่อสู้ได้ผลอยู่ดีน่ันเอง พร้อมกนั น้นี ักมวยจะต้องระลึกถงึ พระคณุ พ่อแมค่ รูอาจารย์ และขอให้บารมีของส่ิงศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย และครสู ายของตนได้ดลบนั ดาลให้ตนจดจาวิชาความรู้ท่ีได้เล่าเรียนและฝึกฝนมาได้ ขอให้อันตรายที่ เกิดข้ึนกับตนจากหนักเป็นเบา และจากเบาเป็นหายไป ขอให้ตนเองแคล้วคลาดปลอดภัยอย่าได้ เพลีย่ งพล้าต่อคตู่ อ่ สู้ เสร็จแล้วให้ภาวนาคาถาแคล้วคลาดปิดท้าย คือ นะมะพะทะ อุดนะปิดนะ นะ
351 โมพุทธายะ อะระหังพุทโธ ภควิ ตามด้วยคาถานารายณ์กรึงจักร “อะพะสัง พุวอ สะสุ ปุโล” 3 จบ เสรจ็ แลว้ กม้ ลงกราบ 3 ครัง้ 4. การเดินไปหาจดุ เหมาะสมเพ่อื ไหว้ครู โดยคุกเข่าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก และกราบ ครูบาอาจารย์ด้วยการพนมมือท้ังสองข้างอยู่ในระดับอก และยกขึ้นระดับหน้าผาก เอามือซ้ายวาง ขา้ งหนา้ บนพน้ื เวที ตามดว้ ยมือขวาซงึ่ วางเลยมือซ้ายไปประมาณหนึ่งคืบ จากขยับมือซ้ายข้ึนไปคู่กับ มือขวาก่อนก้มลงเอาศีรษะจรดพื้นกระทา 3 ครั้ง เป็นการแสดงความหมายถึงครูที่ประสิทธิประสาท วชิ าเม่ือวางอยู่มอื ซ้ายถึงครูผู้ผู้สอนของตนเม่ือวางมือขวาระลึกถึงครูอื่น ๆ ท้ังหมดเม่ือขยับมือซ้ายไป อยู่ในระดบั มอื ขวา การเอาศรี ษะจดพ้ืนกเ็ ป็นการคารวะครูทุกคนนน่ั เอง มวยสายท่าเสาเสร็จท่านั่งและเริ่มท่ายืนที่จุดนี้ แต่สายพระยาพิชัยดาบหักจะน่ังต่อและ เริ่มร่ายราในท่าส่องเมฆ คือ การแยกมือท้ังสองอออกไปข้าง ๆ และวกกลับมาข้างหน้าเพ่ือควงมือ เขา้ หาตัว 3 รอบ โดยจะสิ้นสุดด้วยมือซ้ายอยู่ในระดับจมูกและมือขวาอยู่ในระดับหน้าผากหน้าหงาย ข้ึนเพื่อมองทะลไุ ปยงั เมฆเบอ้ื งบนให้ทาการส่องเมฆ 3 ครง้ั เมอื่ เสรจ็ แล้วจงึ เขา้ สู่ท่ายืนตอ่ ไป อนึ่ง สายมวยท้ัง 2 นี้ จะไม่ทาการถวายบังคมถ้าไม่มพี ระเจา้ อยหู่ วั หรอื ตวั แทนอยูบ่ รเิ วณ เวทีมวย หากจะทาการถวายบังคมกจ็ ะหนั หน้าไปทางทศิ ที่ประทบั อยแู่ ละทาการถวายบังคม 3 คร้ัง กอ่ นจะดาเนินการในข้อที่ 4 สาหรบั ท่ายืนจะแบ่งดงั นี้ สายท่ายืนจะข้นึ ดว้ ยขาขวา คือจากท่าคุกเข่าให้เอาขาขวาข้ึนมาหน้าประมาณคร่ึงก้าวแล้ว ยกตวั เองข้ึนด้วยขาขวาและกา้ วขาซา้ ยเข้ามาชิดขาขวา เมื่อตรงแล้วให้ยกมือท่ีพนมอยู่ระดับอก โดย ให้มือซ้ายอยู่ระดับจมูกและมือขวาอยู่ระดับหน้าผาก พร้อมกับหงายหน้าข้ึนมองเมฆบนท้องฟ้าให้ หยุดนิ่งทานิมิตซักระยะหนึ่ง หลังจากนั้นจึงเริ่มไหว้ครูแบบย่างสามขุม คือให้เอามือลงควงในท่าไต่ เมฆคือควงออกและควงสูงไปเร่ือย ๆ พร้อมท้ังเข่าซ้ายยกข้ึนแล้วขยับขึ้นลง (โดยไม่แตะพื้น 9 คร้ัง หรอื 7 ครง้ั กไ็ ด)้ หลังจากร่ายราขมุ ที่หนึง่ เสรจ็ แล้วใหว้ างเท้าซ้ายไปทางซา้ ยประมาณหนึ่งก้าว แล้วยก เข่าขวาขยับข้ึนลงอีก 7 หรือ 9 ครั้ง พร้อมควงแขนในท่าไต่เมฆ เสร็จแล้วเท้าขวาลงไปทางขวา ประมาณ 1 กา้ วกเ็ ริม่ ขมุ ที่ 3 โดยใชข้ าซ้ายกระทาอกี ครง้ั หนึง่ เมอ่ื เสร็จแล้วให้วางเท้าซ้ายลงทางซ้าย ประมาณ 1 ก้าว นาเท้าขวาเข้าชดิ เท้าซา้ ยยกมอื ข้ึนไหว้ เสร็จแล้วหันไปคานับคู่ต่อสู้ เป็นอันเสร็จพิธี แบบย่างสามขมุ ของสายท่าเสา สาหรับสายพระยาพิชัยดาบหัก เม่ือทาการส่องเมฆในท่าน่ังเสร็จแล้ว อาจจะทาการไหว้ใน ท่าสาวน้อยประแป้งในท่าน่ังต่อไปได้ สาวน้อยประแป้งของสายนี้จะแตกต่างจากมวยสายอ่ืนๆ เล็กน้อยคอื เริ่มด้วยการชอ้ นแป้งดว้ ยมือซ้าย 3 ครั้ง แล้ววักน้าใส่แป้งด้วยมือขวา ผสมแป้งและน้าเข้า ด้วยกันด้วยการบดมือทั้งสองข้าง(ขวาอยู่บน) 3 ครั้ง เสร็จแล้วจึงชักแป้งขึ้นประ 3 ครั้ง ส่องกระจก หวีผม ม้วนผม บิดมวยผม และลูบผมต่อไป นอกจากนั้นจะใกล้เคียงกับมวยสายอื่นๆ ยกเว้นเมื่อยืน ข้ึนด้วยเท้าขวาแล้ว จะใช้ท่าเสือย่างเข้าหาคู่ต่อสู้ ทุกก้าวเสือย่างจะมีท่าเสือลากหางผสมอยู่ แล้ว คานบั คตู่ ่อสู้ซึ่งถอื วา่ เป็นการสิน้ สุดการรา่ ยรา ท่ายนื ในสายพระยาพิชัยดาบหกั มีทา่ รา่ ยรา 3 ทา่ คอื
352 1. ท่าย่างสามขุมซึ่งจะเหมือนท่าของสายท่าเสา คือ ยืนขึ้นด้วยขาขวา แล้วเร่ิมขุมแรก ทางซ้ายพร้อมท่าไต่เมฆ ขุมที่ 2 เป็นทางขวา และขุมท่ี 3 เป็นทางซ้าย เสร็จแล้วเดินเสือย่างเข้าหาคู่ ต่อสู้ พรอ้ มกบั ทาทา่ เสือลากหางผสมทุกกา้ ว คานับคตู่ อ่ สเู้ ป็นอนั เสร็จพธิ กี ารไหว้ยา่ งสามขุม 2. ทา่ พรหมสห่ี นา้ นอ้ ย คือ เมือ่ เสรจ็ ส่องเมฆแล้ว ให้ยืนข้ึนด้วยขาซ้าย เดินไปทางใต้ด้วย ทา่ เสอื ยา่ ง 1 ก้าว โดยมีเสือลากหางในตัวทุกก้าว เสร็จแล้วเดินไปทางตะวันออก 3 ก้าว หมุนตัวเดิน ไปทางเหนือ 3 ก้าว ทิศตะวันตก 3 ก้าว หมุนตัวไปทางทิศใต้ 1 ก้าว เสร็จแล้วยกเท้าซ้ายไปบรรจบ จุดทย่ี ืนข้นึ ชิดเท้าขวาเข้าหาเทา้ ซ้ายพร้อมกับหันตัวไปทางทิศตะวันออก ยกมือไหว้ แล้วหันไปคานับ คตู่ อ่ สเู้ ปน็ อันเสร็จพิธี ภาพที่ 243 ผงั การไหว้ครทู ่าพรหมสห่ี น้า ท่ีมา : สมพร แสงชัย. 2545. ศลิ ปะมวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหกั จังหวดั อตุ รดิตถ์. หน้า 43 3. ท่าพรหมสี่หน้าใหญ่ มีลกั ษณะเหมือนพรหมส่ีหน้าน้อย แต่เพ่ิมท่าเสอื ยา่ ง พรอ้ มเสอื ลากหางเป็นจานวนกา้ ว ดังน้ี 2,4,4,4,2 และเม่ือถึงจดุ เร่มิ ต้นก็รวบเท้าขาวชดิ เท้าซ้าย พร้อมกับหันตัว ไปทางทศิ ตะวันออก ยกมอื ไหว้เสรจ็ แลว้ หนั ไปคานับคตู่ ่อสู้ การเดนิ ท่าเสือย่างพรอ้ มเสือลากหางจะต้องเข้าจังหวะป่กี ลอง และมีความหมาย เพราะท่า ส่องเมฆและท่าไต่เมฆเป็นการราลึกถึงครูเมฆแห่งสานักท่าเสา ผู้ครอบมวยให้แก่พระยาพิชัยดาบหัก ท่าเสือย่างและเสือลากหางเป็นการราลึกครูเหลือแห่งสานักดาบสวรรคโลก ผู้ซึ่งครอบดาบให้แก่พระ ยาพิชัยดาบหัก ส่วนเจ้าอาวาสวัดพระธาตุเมืองพิชัย ครูเท่ียงแห่งบ้านแก่ง ครูมวยงิ้ววัดท่าถนน และ ครูมวยจีนเมืองสุโขทัยธานีถือว่าได้ไหว้แล้ว ในการวางมือไหว้ครูตอนแรก และการไหว้ครูและร่ายรา ทั้งหมดก็เป็นการคารวะครูผู้สืบทอดวิชามวยทุกๆคนของมวยสายน้ี (สานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ. 2540. หนา้ 133 – 136) เม่ือฝึกหัดการไหว้ครูและก้าวย่างแล้ว ก็จะฝึกหัดพ้ืนฐานของมวยไทย แม่ไม้และลูกไม้ มวยไทย เริ่มแรกของการฝึก ครูมักจะให้ปั้นหมัด กามือให้แน่นท้ังซ้ายขวา ใช้ผ้าขาวม้าพาดที่คอ ด้านหลัง มือซ้ายขวาม้วนชายผ้าขาวม้าท้ังสองพันหมัด ยกมือซ้ายขวาข้ึนเสมอระดับหน้าผากตรง กลางหัวค้ิว ห่างหน้าประมาณ 8 – 12 น้ิว อีกมือหน่ึงอยู่ระดับปลายคางศอกทั้งสองห้อยปิดลาตัว ห่างซี่โครงประมาณ 2 – 3 นิ้ว ถ้าห่างมากนักทาให้การป้องกันเตะไม่รัดกุมหรือศอกอาจจะกระแทก
353 ชายโครงของตนเองได้ การเตรียมหมัดตามท่าดังกล่าวก้าวเท้าซ้ายหรือท้าวขวาออกข้างหน้าเต็มก้าว หากก้าวเท้าซา้ ยออกหมัดทอ่ี ยรู่ ะดบั หนา้ ตอ้ งเป็นมอื ซ้าย (โพธสิ์ วัสด์ิ แสงสวา่ ง. 2522, หน้า 47) เม่ือไหว้ครูเสร็จแล้ว กรรมการจะเรียกนักมวยทั้งสองมาพบกันกลางเวที เพื่อช้ีแจงกติกา หรือซักซ้อมระเบียบของการชกมวย ในช่วงน้ีนักมวยสายพระยาพิชัยดาบหักจะเอาหมัดท้ังสองข้าง แตะตัว คู่ต่อสู้เพ่ือถอนคาถาอาคมของอีกฝ่ายหนึ่ง ในขณะที่นักมวยทั้ง 2 สาย จะภาวนาคาถา นารายณ์ขว้างจักรเพ่ือเป็นการข่มขวัญคู่ต่อสู้ ซึ่งมีครูบาอาจารย์เช่นกัน คาถานารายณ์ข้างจักร คือ ภะสัม สมั วสิ ะ เทภะ จากนัน้ ก็กลับเข้ามมุ เพือ่ เตรยี มการชกยกท่ี 1 ต่อไป หัสดินทร์ เชาวนปรีชา (2556) ผมว่าการไหว้ครูไม่ว่าจะเป็นดาบหรือเป็นมวย เริ่มแรกจะ ทาการไหว้ 4 อย่าง เริ่มด้วยการไหว้แม่พระธรณี ไหว้บรมครูคือพระอิศวร ซ่ึงถือว่าเป็นผู้ประสิทธิ์ ประสาทวิชา ท่ารายราต่าง ๆ ของท่านก็คือท่าต่อสู้โดยจะไหว้ตรงป่ีกลอง ซ่ึงทาพิธีบูชาบรมครูองค์ เดียวกนั ไว้เรยี บร้อยแลว้ ตามด้วยไหว้พระทางทิศหรดี ซงึ่ ตามระบบความเช่ือของผฝู้ ึกมวยสายน้ีถือว่า เป็นทิศที่ผีฟ้าไม่ข้าม ผีฟ้า หมายถึงสิ่งท่ีมีอานาจดลบันดาลให้เกิดสิ่งไม่ดีกับเรา ผีฟ้าจะไม่ไปอยู่ทาง ทิศนี้ หลงั จากไหว้พระแลว้ สามารถบริกรรมคาถาได้ เสร็จแล้วจึงหันไปทางทิศตะวันออกแล้วทาการ ไหว้ครู โดยท่าร่ายราต่าง ๆ ก็จะเป็นสัญลักษณ์ของการระลึกถึงครู ผู้ประสิทธิประสาทวิชา ท้ังครู เมฆ ครูเหลือ ทั้งครูที่สอนตน ครูในอดีตและครูอื่นท้ังหมดที่ให้ความรู้เราประกอบกับการเดิน เคล่ือนท่ไี ปยังทศิ ทางตา่ ง ๆ ในลักษณะของการเดินยนั ตร์ รวมถึงบทคาถาท่ีใช้ท่องซ่ึงจะเป็นของสาย พุทธศาสนาซ่ึงเป็นสายมาตรฐานท่ีใช้ร่วมกันของสังคมไทย ... (หัสดินทร์ เชาวนปรีชา. สัมภาษณ์. 5 มนี าคม 2556) ผมได้เรียนมวยกับครูฉลอง เล้ียงประเสริฐ เมื่อคร้ังอบรมครูมวยไทยของสานักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดอุตรดิตถ์ให้ครูพลศึกษาเมื่อปี 2544 คือ ครูฉลอง เล้ียงประเสริฐ กล่าวว่า ต้องมี การพิจารณาคุณสมบัตขิ องผู้ทจี่ ะมาเรียนมวยหลาย ๆ ประกอบกัน คอื 1. ศิษย์ตอ้ งสมคั รใจ ถ้ายังเด็กอยู่บิดามารดาต้องยินยอมสามารถทาตามระเบียบของสานัก ได้ดังน้ี 1.1 เป็นคนกตัญญูรคู้ ุณ 1.2 วา่ นอนสอนง่าย 1.3 มคี วามประพฤตเิ รียบร้อย 1.4 ไม่เปน็ นักเลงอนั ธพาล 1.5 ไม่รังแกผู้อ่อนแอกวา่ เช่น เดก็ สตรแี ละคนแก่ 1.6 ช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ท่ีถูกรังแก 1.7 ไม่อวดอ้างวา่ ตนเองมีฝมี อื 1.8 ไม่นาความรไู้ ปใชใ้ นทางที่ผิด 1.9 หา้ มนาความรู้ไปสอนผ้อู ่นื กอ่ นไดร้ บั อนุญาต 2. ฝึกรามวยใหไ้ ด้ถ้าทนได้ก็จะได้รับการขึน้ ครู เพ่ือรบั เปน็ ศษิ ย์
354 3. เม่ือรับศิษย์ไว้แล้วครูก็จะทาพิธียกครูให้ในวันพฤหัสบดีเพราะถือว่าเป็นวันครูให้นักมวย สวดมนต์ไว้พระ ทาสัตย์ปฏิญาณว่าจะเป็นคนดี ประพฤติชอบทั้งกายวาจาใจ ซ่ือสัตย์สุจริต เช่ือฟัง คาส่ังของครูมวย เคารพอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ สุภาพเรียบร้อยต่อบุคคลทั่วไป และจะไม่นาศิลปะมวย ไทยสายของตนไปใช้กับคนอื่นให้คนอ่ืนเดือดร้อนโดยไม่จาเป็น ปฏิญาณตนแล้วครูก็จะให้โอวาท แนะนาการฝกึ และขอ้ ตกลงในการฝึกหดั มวยไทยให้ อาตมาได้ศึกษามาว่าการข้ึนครูหรือยกครู จะกระทาต่อเม่ือครูได้ทดสอบศิษย์แล้ว การไหว้ ครูจะทาในวันขึ้นสูงสุดของเดือนสามหรือเดือนสี่ (ปีท่ีมีอธิกมาส) ส่วนการครอบครูจะกระทาเม่ือครู เหน็ สมควรเทา่ นน้ั สาหรับสายมวยทา่ เสาและสายพระยาพิชัยดาบหักครูมวยจะไม่สวมมงคลให้แก่ลูก ศิษย์เมอื่ มายกครูหรือขึ้นครูแต่จะสวมให้ในพิธีครอบครูเท่าน้ัน เพราะการสวมมงคลตามจะแสดงว่ามี ศกั ด์ิและสทิ ธิเ์ ป็นครูมวยแล้ว จะได้เรียนรู้ศิลปะมวยไทยจนครูพอใจแล้วเท่าน้ัน การไหว้ครูประจาปี มีเคร่ืองเซน่ ไหว้ครใู นการไหวค้ รูประกอบไปด้วย หวั หมู 1 หวั หรอื ไก่ 1 ตัว (หรอื ท้ัง 2 อย่างและอาจ มีปลาอีก 2 ตัวด้วยก็ได้), มะพร้าวอ่อน 2 ลูก, เหล้า 1 ขวด, บายสีปากชาม 1 คู่ พร้อมดอกไม้ 3 สี และดอกไม้ในแจกันอีก 1 คู่, ขนมหวาน (เช่น ข้าวต้มขาว ต้มแดง ฯลฯ), นวมหรือโครงสาหรับคาด เชอื กพร้อมผ้าดิบ 2 คู่, พานและมงคลของครูผู้สอน, เทียนสีผ่ึง 1 ดอก สาหรับทาน้ามนต์, ขัน 1 ใบ, หมาก พลู บุหรี่ (อย่างละ 3 คา/มวน), ธูป 1 แหนบพร้อมกระถางธูป 1 ใบ,ค่าครู 12 บาท (ประกาศ เพยี สามารถ. สัมภาษณ์ 5 มีนาคม 2556) จึงอาจกลา่ วได้ว่า มวยไทยสายพระยาพชิ ัยดาบหกั ไดม้ ีระเบยี บแบบแผนประเพณีประกอบไป ด้วย การขึ้นครูหรือยกครู การร่ายราไหว้ครู การไหว้ครูประจาปีและการครอบครู การข้ึนครูหรือยก ครูจะกระทาเม่ือเม่ือครูมวยได้ตกลงใจจะรับลูกศิษย์แล้ว จะนัดวันให้ลูกศิษย์นาดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าขาวม้า ขันน้าและเงินค่าขึ้นครู 6 บาท มามอบให้ ส่วนใหญ่จะเป็นวันพฤหัสบดีข้างขึ้น เม่ือมา พรอ้ มแลว้ ลูกศษิ ย์ต้องกลา่ วคาขอให้ครูรับตนเปน็ ศิษย์ โดยตนจะเคารพนับถือเชื่อฟังคาสั่งสอนของครู ประพฤติตนให้อยู่ในศีลธรรม ขยันขันแข็งและมานะอดทนในการฝึกหัดและจดจาศิลปะท้ังหมดท่ีครู จะสั่งสอนให้ จะนาความรู้ไปใช้ในทางที่ถูกและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และจะสืบทอดความรู้ของ สายมวยอย่างสุดความสามารถ การร่ายราไหว้ครูเป็นพิธีกรรมอย่างหน่ึงท่ีนักมวยต้องกระทาก่อนชก มวยทุกคร้ังมวยสายพระยาพิชัยดาบหักน้ันก็จะแต่งมวยราร่ายไหว้ครูให้กับลูกศิษย์ถือว่าเป็นเรื่องท่ี เปน็ มงคล เพราะจะมีวิชาอาคมอยู่ดว้ ยเมอื่ ขน้ึ บนเวทแี ล้วต้องทาการราร่ายไหว้ครู โดยเร่ิมจากการนั่ง ตอ้ งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เริ่มการกราบ 3 ครั้ง กราบหน่ึงกราบบรมครูคือพระศิวะ กราบสอง คอื กราบพระรัตนตรยั และกราบสามกราบครูบาอาจารย์ หมอบกราบบริกรรมคาถา แล้วตามด้วยการ ปลกุ เสกตัวแลว้ ตามด้วยส่องเมฆ จงึ จะเป็นท่ายืน มีท่าย่างสามขุม พรหมส่ีหน้าจะเป็นพรมสี่หน้าน้อย หรอื สี่หนา้ ใหญ่กไ็ ด้ หนั หลังกลับคานับคูต่ ่อสู้ การไหว้ครูประจาปีก็จะกาหนดในวันพฤหัสบดีขึ้นสูงสุด ของเดอื นสามหรือเดอื นสี่ถา้ ปีนน้ั เปน็ ปีอธกิ มาสจะทาพธิ ีทบ่ี า้ นครู ปัจจุบันนี้สายท่าเสาจะร่วมกันทาที่ วัดใหญ่ท่าเสาโดยมีเคร่ืองไหว้ 12 อย่างด้วยกัน การไหว้ต้องหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ตาม ประเพณีของมวยสายพระยาพิชัยดาบหัก มีผ้าขาวปูเพื่อวางของไหว้ ตามด้วยปูผ้าแดงเท่ากับ ผ้าขาวม้าปูต่อจากผ้าขาวไปทางตะวันตก เพื่อเป็นที่น่ังของครูบาอาจารย์ที่ได้ล่วงลับไปจุดธูปเทียน บูชา พระรัตนตรัยสวดมนต์ไหว้พระเชิญดวงวิญญาณของครูทั้งหลายที่ล่วงลับแล้ว กล่าวคาไหว้ครู รวมถึงครูท่ีมีชีวิตอยู่ ส่วนการครอบครูนั้นจะกระทาเมื่อลูกศิษย์ได้เล่าเรียนจนจบหลักสูตรท่ีครูสอน
355 แล้ว สามารถจะไปเป็นครูมวยสืบทอดสายมวยได้ การครอบ ครูมวยจะทาพิธีครอบครู สวมมงคลที่ ถูกต้องตามประเพณีของสานักมวยให้ ซ่ึงส่วนใหญ่จะทาให้วันพฤหัสบดีก่อนเวลาเพลที่บ้านครูมวย หรือในวัด เพราะมงคลน้ีจะมีดวงพิชัยสงครามของผู้นั้นอยู่บนแผ่นยันต์สีแดงซึ่งพันอยู่รอบมงคล มงคลนี้จะถักด้วยด้ายดิบสีแดง 9 เส้น แต่ละเส้นประกอบไปด้วยด้ายดิบหลายสิบเส้น ถักพอดีกับ ขนาดของศีรษะ แลว้ บรรจบเป็นเส้นเดียวพอได้ระยะจากนั้นก็แยกถักเป็น 2 หาง โดยมีการผูกมัดไว้ท่ี ปลาย มงคลนี้ครูจะเปน็ ผูถ้ ักใหแ้ ลว้ ถอื วา่ เปน็ มงคลส่วนตัวของนกั มวยสายนี้ มวยไทยสายพลศกึ ษา ในการวจิ ัยเร่ือง การจดั การความรมู้ วยไทยสายพลศึกษา แบ่งผลการวจิ ัยเป็น 4 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนที่ 1 ประวตั ิความเปน็ มาของมวยไทยสายพลศึกษา ตอนที่ 2 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายพลศึกษา ตอนท่ี 3 กระบวนทา่ ของมวยไทยสายพลศกึ ษา ตอนที่ 4 ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายพลศึกษา 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของมวยไทยสายพลศึกษา มวยไทยสายพลศึกษาได้ก่อกาเนิดมาพร้อมกับการจัดต้ังสามัคยาจารย์สมาคม เพื่อจัดเป็น สถานทกี่ ารออกกาลังกาย สาหรับประชาชนทั่วไป และเพื่อนาเอาความรู้ไปเป็นครูสอนเรื่องเก่ียวกับ พลศึกษาด้วย ตอ่ มาได้เปลยี่ นเปน็ ห้องพลศกึ ษากลาง ซ่งึ อยู่ภายใตก้ ารกากับของกรมศึกษาธิการ ปี พ.ศ.2497 โรงเรยี นพลศึกษากลาง ได้มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรใหม่ การเรียนการสอนก็ ยังคง มีการเรียนมวยไทยเหมือนเดิม โดยเร่ิมตั้งแต่ตอนบ่ายและช่วงเย็น โดยมีมวยไทยเป็นหมวด วิชาไม่บังคับ หลังจากนาวาเอกหลวงศุภชลาศัย ได้ดารงตาแหน่งอธิบดีกรมพลศึกษา ได้ขอ งบประมาณสร้างสนามกีฬาแหง่ ชาตขิ ้นึ ใหม่ ท่บี รเิ วณตาบลวงั ใหม่ อาเภอปทุมวัน กรงุ เทพมหานครฯ และเรียกว่าสนามกีฬาแหง่ ชาติ ในขณะเดียวกัน กรมพลศึกษามีการจัดการเรียนการสอนเต็มเวลา 5 ปีเต็ม โดยเป็นนักเรียนทุนและคัดมาจากจังหวัดต่าง ๆ หลักสูตรการเรียนการสอนในกิจกรรมที่มี มวยไทยดว้ ย ต่อมาหลักสูตรทางด้านพลศึกษา มีการเปิดระดับปริญญาตรีในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ.2513 วิทยาลัยพลศึกษายกฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา และต่อมาปี พ.ศ.2517 ได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒพลศึกษา และกรมพลศึกษาได้เปิดวิทยาลัยพลศึกษา ทั้งกรุงเทพฯ และส่วนภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 17 แห่ง ในปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นสถาบันการพลศึกษา ทั้งหมด นอกจากน้ัน สถาบันท่ีเปดิ การเรียนการสอนพลศกึ ษามีการเปดิ การเรียนมวยไทยข้ึน ในสถาน บนั อดุ มศกึ ษาตา่ ง ๆ ด้วย มวยไทยสายพลศึกษามีการสืบทอดอย่างต่อเน่ืองหลังจากมีการพัฒนา และปรับเปลี่ยน สถาบันที่ทาหน้าที่ผลิตครูพลศึกษาการสืบทอดเดิมจากครูผู้สอนมวยไทย ก็ต่างครูก็สอนตามลักษณะ การสอนของตน ปรมาจารย์ผู้ถ่ายทอดวิชามวยพลศึกษาที่มีช่ือเสียงในทางสายพลศึกษานั้นคือ อาจารย์สุนทร ทวีสิทธ์ิ หรือ อาจารย์กิมเส็ง ทวีสิทธ์ิ อีกคนหน่ึงคือ อาจารย์แสวง ศิริไปล์
356 ปรมาจารย์มวยไทยสายพลศึกษา นอกจากน้ี ยังมีอาจารย์ที่สอนในสายพลศึกษาซ่ึงเกี่ยวกับมวยไทย อีกมากมาย ซึง่ ทาหน้าท่ีสบื ทอดมวยพลศกึ ษาต่อ ๆ กนั มารนุ่ สรู่ นุ่ บุคคลท่ีมีชื่อเสียงในมวยไทยสายพลศึกษา อาทิเช่น อาจารย์สืบ จุนฑะเกาศลย์ อาจารย์ ผจญ เมืองสนธ์ อาจารย์ณัชพล บรรเลงประดิษฐ์ อาจารย์นบน้อม อ่าวสุคนธ์ รองศาสตราจารย์ ระดม ณ บางชา้ ง ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ มบรู ณ์ ตะปนิ า อาจารย์นอง เสยี งหล่อ อาจารย์จรัสเดช อุลิต ผ้ชู ่วยศาสตราจารยโ์ พธสิ์ วสั ดิ์ แสงสว่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ เสียงหล่อ อาจารย์สงวน มีระหงส์ อาจารย์ครองจักร งามมีศรี อาจารย์ทินกร นาบุญจิตต์ อาจารย์ชาญณรงค์ สุหงษา ร้อยเอกธานี หอมจาปา และอาจารยจ์ รวย แก่นวงษค์ า ผมู้ ีช่อื เสยี งในการไหว้ครูและรา่ ยราท่าสาวนอ้ ยปะแปง้ ผู้วิจยั ขอนาประวัติอาจารย์บางทา่ นทชี่ ว่ ยกนั สืบสานและอนุรกั ษม์ วยไทยสายพลศึกษา ใหค้ ง อยู่ คคู่ นไทย สงั คมไทย ประเทศไทยและพฒั นาไปส่สู ากลโลกตอ่ ไป ในอนาคต ดังตอ่ ไปน้ี 1. ปรมาจารย์สนุ ทร (กิมเส็ง) ทวีสทิ ธิ์ ภาพที่ 244 ปรมาจารย์สนุ ทร ทวสี ทิ ธิ์ ท่มี า : คมู่ อื การฝกึ กีฬามวยไทย (2548) ปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสิทธ์ิ เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2433 ที่เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ช่วงอายุ 41 ปี ท่านได้เดินทางไปศึกษาที่สิงคโปร์และเร่ิมเรียนยูโด ฟันดาบ มวยสากลท่ี น่ัน จนได้พบกับนายเบเกอร์ เจ้าของร้านขนมปังซ่ึงเป็นครูมวยสากลฝีมือดี ได้สอนด้านทฤษฎีและ ปฏิบัติของ N.S. Rule จนทาให้อาจารย์มีความรู้ ความชานาญในมวยสากลเป็นอย่างมาก อาจารย์ ทา่ นยังไดเ้ รยี นวชิ ามวยไทย ดาบไทย จากครูเขียว ในป่าเขตแดนสระบุรีกับอยุธยาอยู่ 2 ปี จึงทาให้ อาจารย์เชีย่ วชาญวิชาการต่อสูข้ องไทยมากขึ้น นอกจากวชิ าทกี่ ลา่ วมาแล้ว อาจารย์ยังมีความรู้ในวิชา มวยชวาของชาวอินโดนีเซีย ที่เรียกว่า “เพนต์จ๊าก” มวยจีน “เก่งคุ้ง” และ ยูยิตสู การจับหักของ ชาวญ่ีปุ่นอีกด้วย เร่ิมชกมวยไทยเม่ือช่วงอายุ 25 ปี หลังจากนั้นก็เริ่มสอนมวยไทยและมวยสากลที่ บ้านข้างวัดดอน ยานนาวา มีลูกศิษย์มากมายชกชนะมากกว่าแพ้ ลูกศิษย์ ท่านได้เป็นทั้งแชมป์มวย ไทย มวยสากลก็มากจนเกดิ เป็น “คณะทวีสทิ ธ์ิ” พ.ศ.2472 – 2482 พระยาคทาธรบดี ได้เริ่มจัดสนามมวยสวนสนุกข้ึน ภายในบริเวณสวม ลมุ พินแี ละได้ชักชวนให้อาจารย์สอนวิชามวยที่โรงเรียนของกระทรวง แต่งต้ังเป็นอาจารย์ของกรมพล ศึกษากลาง มีลกู ศิษย์มากมายกระจายอยทู่ ่วั ประเทศ และเปิดค่ายมวยก็มาก จึงทาให้ “ท่าราพรหมสี่ หน้า” กับ “ท่าย่างสุขเกษม” แพร่หลายกลายเป็นมรดกท่ีเห็นนักมวยไทยใช้ราบนเวทีกันอยู่จนทุก
357 วันนี้ แต่เป็นท่ีนา่ เสยี ดายท่ี “หงายหมัด” ซง่ึ ปรมาจารยเ์ ขตร ศรยี าภยั ปรมาจารยม์ วยไทยสายไชยา ลูกศิษย์ของท่าน ได้กล่าวไว้ว่า “ผิดแผกกับการตั้งท่าของมวยภาคต่าง ๆ ท่ัวประเทศ” ท่าหงายหมัด ไม้มวยนี้ได้เลือนหายไปจากเวทีมวยไทยปัจจุบัน อาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสิทธ์ิ ได้ถึงแก่กรรมด้วย โรคมะเรง็ ปอด เมอ่ื วันท่ี 22 กรกฎาคม 2504 สิรอิ ายรุ วม 72 ปี คาสอนของท่านปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวสี ิทธ์ิ “คนต้องใช้ช้ันเชิงไหวพริบแลวชิ าเข้า ตอ่ สู้กนั อย่าใช้แตก่ าลังเหมอื นด่งั ควายขวิดคันนา เพราะคันนาไมส่ ้คู วาย” 2. อาจารย์แสวง ศิริไปล์ ภาพที่ 245 อาจารย์แสวง ศิริไปล์ ท่มี า : หนังสอื อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พ.ศ.2531 อาจารย์แสวง ศิริไปล์ เกดิ เมือ่ วนั ท่ี 15 มนี าคม 2459 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด ร้อยเอด็ เปน็ บตุ รจ่านายสิบ ขนุ พินจิ สรศกั ดิ์ (นายพรหม ศริ ิไปล์) มารดาช่ือนางสมิ มาลา ศริ ไิ ปล์ การศึกษา - พ.ศ.2476 สาเร็จชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ท่โี รงเรียนรอ้ ยเอ็ดวทิ ยาลยั อาเภอเมือง จงั หวดั รอ้ ยเอด็ - พ.ศ.2482 ประกาศนยี บัตรประโยคผู้สอนพลศึกษาช้นั เอก (พ.อ.) จากโรงเรยี นพลศึกษา กลาง - พ.ศ.2514 ปริญญาการศึกษาบณั ฑิต (กศ.บ.) จากวิทยาลยั วชิ าการศกึ ษา พลศึกษาศรี นครินทร วิโรฒประสานมติ ร - พ.ศ.2493 ครูตรีโรงเรียนฝึกหัดครูพลศึกษา กรมพลศึกษา - พ.ศ.2497 ครโู ทโรงเรยี นฝึกหัดครูพลศึกษา กรมพลศกึ ษา - พ.ศ.2498 ครูโทวทิ ยาลยั พลศกึ ษา กรมพลศกึ ษา - พ.ศ.2508 อาจารย์เอกผู้ช่วยผอู้ านวยการวทิ ยาลัยพลศึกษา กรมพลศกึ ษา - พ.ศ.2518 อาจารยช์ ั้นพเิ ศษ ภาควชิ าพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริ ทนร วโิ รฒพลศกึ ษา ทบวงมหาวิทยาลัยของรฐั ความรพู้ ิเศษ - ประกาศนยี บัตรผู้ชขี้ าด ผตู้ ัดสินมวยสมคั รเลน่ นานาชาติ (AIBA Referee & Judge)
358 - ประกาศนียบัตรผูช้ ีข้ าด ผู้ตดั สนิ มวยโอลมิ ปิกเกมส์ครงั้ ที่ 19 ณ ประเทศเม็กซโิ ก - ประกาศนียบัตรผู้ฝกึ สอนกีฬาของศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ การกีฬาแหง่ ประเทศไทย คติและแนวคดิ “ยส่ี บิ ปี นึกวา่ ร้หู มด ส่ีสบิ ปี สงสัยท่วี า่ รู้ หกสิบปี รแู้ นว่ ่ายังไมร่ ู้อะไร” “คา่ ของคนอยู่ที่ระเบียบวินัย คา่ ของไทยอย่ทู ่ีวฒั นธรรม การเปน็ ผฝู้ ึกสอนกฬี านน้ั ต้อง ฝกึ สอนใหเ้ ขาเป็นคนดี ไม่ใชฝ่ ึกสอนให้เขาชนะอยา่ งเดียว” 3. อาจารยจ์ รวย แก่นวงษ์คา ภาพที่ 246 อาจารยจ์ รวย แกน่ วงษ์คา ครูมวยไทยสายพลศึกษา ทีม่ า : มวยไทย มวยสากล ชอื่ ท่ีใชใ้ นการชกมวย เรงิ ชัย ศลิ ารักษ์ เกิดท่ี 13 มกราคม 2469 ท่อี าเภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี การศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา โรงเรยี นเบญจะมะมหาราช อาเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธานี ครู พ. (พเิ ศษมลู ) ครู พ.ป. (พเิ ศษประถม) ครู พ.ม. (พเิ ศษมธั ยม) ประกาศนียบตั รวชิ าชพี การศึกษา ขัน้ สูง วทิ ยาลัยพลศกึ ษา
359 การศกึ ษาบณั ฑิตวทิ ยาลยั วชิ าการศกึ ษา ประสานมิตร กรุงเทพมหานคร ครุศาสตรบัณฑติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย กรงุ เทพมหานคร ครุศาสตรมหาบัณฑติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย กรงุ เทพมหานคร ฝกึ หดั ชกมวยคร้งั แรก (มวยสากล) จากครไู สว จังกาจิตต์ (มวยไทย) ใชช้ ือ่ เริงชยั ผูพ้ ิชิต ชนะคะแนน คุณสรุ ะ ลูกสุรินทร์ ได้รางวัล 60 บาท เม่อื พ.ศ.2498 ชกมวยครงั้ สดุ ทา้ ยแพ้คะแนน ร่งุ ศกั ดิ์ ร.ฟ.ท. หรือ สงิ หอ์ ีสาน ท่เี วทีสรุ นารี จังหวัดนครราชสีมา โดยได้รับอนุญาตการใช้นามคณะสิงหพลั ลภ จากครทู องเบม้ิ สงิ หพลั ลภ ประสบการณ์การชกมวย เคยชกกับนกั มวยช่ือดังในสมยั นั้น เช่น ชูเกียรติ เทียมกาแหง เทวิน กล้าศึก ฉายาหมัดซ้ายตะลุมพุก เคมาล ชัยณรงค์ สวัสด์สิ ม ลูกสุรินทร์ (รองแชมป์มวยไทย รุ่นฟลายเวท อันดับ 4 เวทีราชดาเนิน) เจนสมุทร ลูกนาวี ชานาญ ชาญณรงค์ บู่ ชยั ชมุ พล การชกมวยของอาจารย์จรวย แก่นวงษ์คา ส่วนมากใช้นามคณะศิลารักษ์ ของ สบิ ตารวจเอก เหมอื น ศิลารักษ์ หลังเลิกชกมวยเขา้ รบั ราชการ ประสบความสาเร็จในชีวิต ตาแหน่ง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ที่วิทยาลัยครอู ุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ.2525 อาจารย์จรวย แก่นวงษ์คา ได้ใช้ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ซึ่งเคย เปน็ ผู้มชี วี ติ การต่อสู้บนผืนผ้าใบ อย่างโชกโชน และเป็นต้นตาหรับของท่าไหว้ครูและร่ายรามวยไทย “สาวนอ้ ยประแป้ง” ซงึ่ เป็นทา่ รา่ ยราท่ีสวยงามตามเอกลกั ษณม์ วยไทย ภาพท่ี 247 อาจารย์จรวย แก่นวงษค์ า สาธิตการไหว้ครแู ละรา่ ยรามวยไทย ท่มี า : มวยไทย มวยสากล
360 4. อาจารยส์ บื จนุ ฑะเกาศลย์ ภาพที่ 248 อาจารย์สบื จนุ ฑะเกาศลย์ ครมู วยไทยสายพลศึกษา ทีม่ า : สมาคมครมู วยไทย อาจารย์สืบ จุนฑะเกาศลย์ เร่ิมหัดมวยครั้งแรกเน่ืองจากถูกเพื่อน ๆ ล้อเลียนว่าใจไม่สู้ จึงตัดสินใจฝึกหัดชกมวยขณะอายุ 11 ขวบ จากน้ันได้มีโอกาสขึ้นชกมวยขณะท่ีเรียนอยู่โรงเรียน อานวยศลิ ป์ ร่วมแข่งขนั ในร่นุ 100 ปอนด์ ปรากฏวา่ ชนะเลศิ 2 ปีติดต่อกัน โดยมี ครูชีวะ ภัศนพักตร์ และ ครอู นุ ทรงกิตรตั น์ คอยประสิทธป์ิ ระสาทวิชาและช่วยขดั เกลา ปี พ.ศ. 2494 ชนะเลิศมวยนกั เรยี นกรมพลศึกษา ในรนุ่ เฟเธอร์เวต และในปเี ดียวกันได้เข้า เรียนตอ่ ที่วทิ ยาลยั พลศึกษาและร่วมแขง่ ขนั ชกมวยสากลสมคั รเล่นให้กบั กรมพลศึกษาด้วย ปี พ.ศ.2496 คว้าแชมป์รุ่นไลต์เวตของสมาคมมวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และ ครองแชมป์ประเทศไทยในรุ่นไลต์เวต และ รุ่นไลต์เวลเตอร์เวต ตลอดระยะเวลา 6 ปี ชนะคู่ต่อสู้มา ตลอดโดยไม่แพใ้ ครเลย ปี พ.ศ.2496 เปน็ ตวั แทนประเทศไทยร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ท่ีประเทศฟิลิปปินส์ และ เป็นนักกีฬาไทยคนแรกและคนเดียวท่ีคว้าเหรียญทองแดง โดยในวันเดินทางกลับมี พิธีต้อนรับอย่าง สมเกียรติ ที่บรเิ วณศาลาเฉลิมกรุง ปี พ.ศ.2498 ได้มีโอกาสไปร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ที่เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แตไ่ ม่ประสบความสาเร็จ รับหน้าที่เป็นโค้ชมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ ถงึ 3 คร้งั (ทเี่ มืองบาร์เซโลน่า ประเทศสเปน ประเทศญี่ปนุ่ และกรงุ มอสโก ประเทศรสั เซีย)
361 - หลงั เลิกมวยได้เดนิ ทางไปเป็นครูมวยสอนมวยท่ีเมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย - ตาแหนง่ สุดทา้ ย ในการรับราชการเปน็ ผู้เชี่ยวชาญพเิ ศษกรมพลศึกษาและ ผชู้ ว่ ยอธิบดี กรมพลศกึ ษา เกษยี ณอายุราชการในปี 2537 - ได้รับเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ชน้ั ปฐมภรณ์มงกุฎไทย 2 สาย 5. อาจารยผ์ จญ เมืองสนธ์ ภาพท่ี 249 อาจารย์ผจญ เมอื งสนธ์ ครมู วยไทยสายพลศึกษา ทมี่ า : สมาคมครมู วยไทย ครูผจญ เมอื งสนธ์ เกดิ ในครอบครวั ชาวนา-ชาวสวน ที่จังหวัดขอนแก่น มีความสนใจในกีฬา ทุกประเภทโดยเฉพาะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบมวยไทย เมื่อก้าวเข้าสู่วัยรุ่นได้ตระเวนชกมวยไทย สมัครเล่นด้วยใจรัก และรู้สึกว่ามีความเพลิดเพลิน เม่ืออยู่บนเวทีชกมวย เริ่มเข้าค่ายฝึกมวยมา ตั้งแต่เรียนในระดับมัธยมศึกษา หลังจบการศึกษาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร์ (พลศึกษา) จาก มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒพลศึกษา กรงุ เทพมหานคร ครผู จญ เมืองสนธ์ เรยี นรู้ศลิ ปะมวยไทยจากประสบการณ์การเป็นนักมวยในเวทีงานวัด และ งานเทศกาลประจาปี ต่อมาครูผจญได้เรียนรู้ศิลปะมวยไทยอย่างเป็นระบบจากค่ายมวย ค่าย เพชรเหล็ก และจากการเข้ารับการศึกษาในวิทยาลัยพลศึกษากรุงเทพ ทาให้ได้เรียนรู้ศิลปะมวยไทย ท้งั ภาคทฤษฏแี ละภาคปฏบิ ตั ไิ ปพรอ้ ม ๆ กัน โดยชกมวยไทยอาชีพได้ตาแหน่งแชมป์มวยไทยส่วนการ เป็นนักกีฬามวยสากลสมคั รเลน่ ในนามของกรมพลศกึ ษาไดค้ รองตาแหนง่ แชมป์ 3 ปีซ้อน ครูผจญมีความเช่ียวชาญทั้งด้านมวยไทยและมวยสากล ซึ่งเกิดมาจาการมีนิสัยรักการเล่น กีฬาทุกประเภท โดยเฉพาะศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบมวยไทย โดยข้ึนชกมวยไทยตามงานวัด และงานประเพณีต่าง ๆ เม่ือเรียนอยู่ในระดับมัธยมศึกษาได้ข้ึนชกมวยอาชีพกับค่ายเหล็กเพชรเพื่อ หาเงินทนุ เพ่ือการศึกษาและการกศุ ล ขณะศึกษาต่อท่วี ิทยาลัยพลศึกษา ได้ตาแหน่งแชมป์เปี้ยนมวย ไทยอาชีพ และแชมป์มวยสากลสมัครเล่น 3 ปีซ้อน ในนามของวิทยาลัยพลศึกษา ศึกษาประวัติ ความเป็นมาของมวยไทยจนเช่ียวชาญ ขึ้นชกมวยเพื่อศึกษาเทคนิคจดจามาใช้ในการสอนจนมีความ เช่ียวชาญดา้ นศิลปะมวยไทย และเป็นครูมวยคนสาคญั ของเมืองไทย
362 ครูผจญ เมอื งสนธ์ ถ่ายทอดความร้ศู ลิ ปะมวยไทยดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย อาทิการบรรยาย การสาธิต การฝึกปฏิบัติระยะส้ัน ระยะยาว การเขียนตาราเผยแพร่ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ร่วมจัดทาหลักสูตรรายวิชาศิลปะแม่ไม้มวยไทยเพ่ือให้มวยไทยได้รับการสืบสานผ่านเยาวชนรุ่นใหม่ การท่ีครูผจญ เมืองสนธ์ เป็นบุคคลผู้ทรงภูมิปัญญาด้านศิลปกรรม (ศิลปะมวยไทย) เป็นผู้สร้างสรรค์ และสืบสานภูมิปัญญามวยไทยอย่างต่อเน่ือง จนเป็นที่ยอมรับของสังคมและชุมชน จึงได้รับการยกย่อง เชิดชูเกยี รติจากสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นครูภูมิปัญญาไทย เพ่ือ ทาหน้าท่ีถ่ายทอดภูมิปัญญาในการจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย ตามนัยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไข เพ่ิมเติม ฉบบั 2) พทุ ธศักราช 2545 ครผู จญ เมอื งสนธ์ ถ่ายทอดความรดู้ า้ นศิลปะมวยไทย ผ่านการจัดการศึกษาท้ัง 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาในระบบถา่ ยทอดศิลปะมวยไทยให้แกผ่ ู้เรียนในสถานศึกษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร เช่น โรงเรียนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร การศึกษานอกระบบ ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ครูแม่บทฝึก ศลิ ปะแม่ไม้มวยไทยพ้ืนฐานขยายผลสู่โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครใน 50 เขต จานวน 431 โรง การศึกษา ตามอัธยาศัย ถ่ายทอดศิลปะมวยไทยให้แก่กลุ่มบุคคล บุคคล หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชาวตา่ งชาติท่เี มืองแมนแชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ เกียรตคิ ณุ ท่ีเคยไดร้ บั พ.ศ.2544 ผ้อู นรุ ักษส์ ง่ เสริมและเผยแพร่ศิลปะมวยไทย จากสานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ ผมู้ ผี ลงานดีเดน่ ทางดา้ นวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร สาขานนั ทนาการและ ผกู้ ระทาคณุ ประโยชน์ทางด้านวัฒนธรรมศิลปะมวยไทย พ.ศ.2545 รางวลั ราชมงคลสรรเสริญผมู้ ีผลงานดเี ดน่ ทางวัฒนธรรม สาขากีฬาและ นนั ทนาการ พ.ศ.2546 เกียรตคิ ุณครภู ูมปิ ัญญาท้องถิ่นจากศูนยว์ ชิ าการเขตดอนเมือง พ.ศ.2548 ครภู ูมิปัญญาไทย รนุ่ ท่ี 4 ด้านศลิ ปกรรมจากสานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร 6. ครนู อง เสียงหลอ่
363 ภาพที่ 250 อาจารย์นอง เสยี งหลอ่ ครมู วยไทยสายพลศึกษา ทีม่ า : ศลิ ปวัฒนธรรมไทย เกิดวนั ท่ี 12 สงิ หาคม 2487 การศกึ ษา ปริญญาโท สาขาวชิ าพลศกึ ษา ประวัตกิ ารทางาน - อปุ นายกสามาคมกฬี ามวยอาชีพแหง่ ประเทศไทย - อปุ นายกสมาคมครูมวยไทย - ผูเ้ ชีย่ วชาญกฬี ามวยไทย การกฬี าแหง่ ประเทศไทย ประวตั แิ ละผลงานดา้ นมวยไทย - ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการกฬี ามวย - ผอู้ านวยการกองพัฒนากีฬาอาชีพ การกีฬาแห่งประเทศไทย - อาจารย์มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพลศึกษา - อาจารย์วทิ ยาลัยพลศกึ ษา กรมพลศึกษา - ผู้รว่ มโครงการดาวรุ่งมุง่ โอลมิ ปิกมวยสากล “พเยาว์ พูลธรัตน์” ไดเ้ หรียญ โอลิมปกิ คนแรกของประเทศไทย - ผู้ฝกึ สอนมวยทมี ชาติไทย หลายสมัย - กรรมการผ้กู ่อตง้ั สมาคมมวยสมัครเลน่ แห่งประเทศไทยครัง้ แรก - ดาเนินการจดลขิ สทิ ธิ์มาตรฐานกฬี ามวยไทย - กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการกีฬามวย - กรรมการจดั ทาหลักสตู รผตู้ ัดสนิ และผ้ฝู ึกสอนมวยไทย - วิทยากรให้การอบรมหลกั สูตรผู้ตัดสนิ และผู้ฝึกสอนกีฬามวย - ทป่ี รึกษาโครงการมวยของกรมราชทัณฑ์ 7. ครูนบน้อม อ่าวสคุ นธ์
364 ภาพท่ี 251 ครนู บนอ้ ม อ่าวสคุ นธ์ ครูมวยไทยสายพลศึกษา ท่ีมา : สมาคมครูมวยไทย เกิดวันที่ 28 พฤษภาคม 2483 ที่อยู่ปัจจบุ ัน เลขท่ี 21 หมู่บา้ นรวมโชค เขตลาดพรา้ ว โชคชัย 4 กรงุ เทพมหานคร การศกึ ษา ประกาศนียบัตรวชิ าชีพการศึกษา (พลานามยั ) โรงเรยี นฝึกหัดครพู ลานามยั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี การศึกษา ขนั้ สูง (พลศกึ ษา) วิทยาลัยพลศกึ ษา การศกึ ษาบัณฑติ (พลศึกษา) วิทยาลยั วิชาการศกึ ษาพลศกึ ษา ผ้ตู ัดสนิ มวยเวทลี มุ พินี ต้ังแตป่ ี พ.ศ.2513 – 2537 8. อาจารย์จรัสเดช อลุ ิต
365 ภาพท่ี 252 อาจารย์จรัสเดช อลุ ิต ครมู วยไทยสายพลศกึ ษา อาจารยจ์ รัสเดช อุลติ เกิดเมอื่ วนั ที่ 20 ธนั วาคม 2490 การศึกษา ปริญญาตรี กศ.บ. (พลศึกษา) ปรญิ ญาโท กศ.ม. (พลศึกษา) ผลงานทางวิชาการ 1. เอกสารประกอบการเรยี นมวยไทย พ.ศ.2521 2. มวยไทย พ.ศ.2527 3. พธิ ีไหว้ครูมวยไทย กระบก่ี ระบอง พ.ศ.2527 4. พิธไี หวค้ รมู วยไทย พ.ศ.2535 5. ตารามวยไทย 1 พ.ศ.25336 6. ตารามวยไทย 2 พ.ศ.2539 7. เอกสารการไหวค้ รมู วยไทย สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2539 8. ศิลปะมวยไทย สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2540 9. จดั ทาส่ือ ภาพนงิ่ ภาพสไลด์ และวีดที ศั น์ เก่ยี วกบั ท่าไหว้ครมู วยไทย 10. ศิลปะไม้มวยไทย ART OF MAI MUAYTHAI ประเพณตี ่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ สานักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ พ.ศ.2540 11. ตาราเรียนมวยไทยโรงเรียนมวยไทยรงั สิต พ.ศ.2541 12. เอกสารประกอบการสอนวชิ ามวยไทย 1 พ.ศ.2542 13. วีดีทัศนก์ ารสอนมวยไทยเบื้องต้น พ.ศ.2542 14. วีดีทัศน์ การร่ายราไหวค้ รูมวยไทย และการใชท้ ักษะมวยไทย กรมพลศกึ ษา พ.ศ.2544 15. วดี ีทศั น์การร่ายราไหวค้ รูมวยไทยและการใชท้ ักษะมวยไทย กรมพลศึกษา พ.ศ.2544 16. มวยไทยเบื้องตน้ พ.ศ.2548 17. วีดีทศั น์ทา่ ไหว้ครูมวยไทย สมาคมมวยไทยสมัครเล่นแหง่ ประเทศไทย
366 ในพระราชูปถมั ภ์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร พ.ศ.2548 18. วดี ีทศั น์ ศิลปะมวยไทย วิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัย ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง พ.ศ.2545 19. ทักษะมวยไทยเบ้ืองต้น วิทยาลยั มวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ พ.ศ.2549 ผลงานดา้ นกฬี า 1. วิทยากรมวยไทยของสานกั งานพฒั นาการกฬี าและนันทนาการ 2. วิทยากรมวยไทยสหพันธ์สมาคมมวยไทยสมัครเล่นนานาชาติ 3. วทิ ยากรมวยไทยของสหพนั ธ์สมาคมสถาบนั ศลิ ปะการต่อสปู้ อ้ งกนั ตวั แบบไทย 4. วิทยากรมวยไทยของสานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ 5. วทิ ยากรมวยไทยของสมาคมมวยไทยสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร 6. วิทยากรวทิ ยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ น จอมบึง 7. วทิ ยากรสถาบันการพลศึกษา 8. วทิ ยากรของสมาคมครูมวยไทย 9. ผทู้ รงคณุ วฒุ ิและอาจารยห์ ลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขามวยไทยศึกษา วิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ 10. วิทยากรโครงการผู้ฝึกสอนมวยไทยอาชีพ ระดับ C LICENSE และ ระดับ B LICENSE ของ สานกั งานคณะกรรมการกีฬามวย การกฬี าแห่งประเทศไทย 11. วทิ ยากรสมาคมสถาบันศลิ ปะการต่อสูป้ ้องกันตวั แบบไทย รางวัลเกยี รติยศ 1. รางวลั สหพนั ธ์สมาคมมวยไทยสมัครเลน่ นานาชาติ 2. รางวลั สมาคมสถาบันศิลปะการต้องต่อสปู้ ้องกนั ตวั แบบมวยไทย 3. รางวลั สมาคมครมู วยไทย 4. รางวัลสานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ 5. รางวลั ครดู เี ด่น ระดบั ประเทศ ประเภทผู้สอนระดับอุดมศึกษาของคุรสุ ภา
367 ภาพที่ 253 ครจู รัสเดช อุลิต ถ่ายภาพร่วมกับลกู ศษิ ย์มวยไทยสายพลศึกษา จากซา้ ย นายศรณ์ สขุ พิมาย ร้อยเอกธานี หอมจาปา ครูจรัสเดช อลุ ติ นายสรุ ตั น์ สร้อยกระจา่ ง นางพฒั นา บุญวงศ์ นายวันชัย ไชยโชค 9. รองศาสตราจารย์ ระดม ณ บางชา้ ง ภาพท่ี 254 ครรู ะดม ณ บางชา้ ง ครูมวยไทยสายพลศึกษา เกิดวันที่ 17 มีนาคม 2485 ที่อยปู่ ัจจบุ นั 301/161 หม่บู า้ นกติ ตินิเวศน์ ถนนสุขาภบิ าล 3 แขวงหัวหมากใต้ เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร การศกึ ษา ประกาศนียบัตรการศกึ ษา (พลานามยั ) ประกาศนียบัตรการศึกษา ข้ันสงู (พลศกึ ษา) การศึกษาบณั ฑติ (พลานามยั ) ครศุ าสตรมหาบัณฑติ (พลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผลงานทีเ่ กี่ยวข้องกบั มวยไทย ผตู้ ัดสนิ สนามมวย เวทีลุมพินี 2553 – 2556 ประธานทปี่ รึกษาผู้ตดั สนิ สนามมวยเวทีลุมพนิ ี ประธานผู้ตดั สนิ สภามวยไทยโลก ผทู้ รงคณุ วฒุ ิสมาคมครูมวยไทย อาจารย์พิเศษวทิ ยาลยั มวยไทยศึกษาและการแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง จังหวดั ราชบรุ ี
368 ผทู้ รงคณุ วุฒสิ านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวฒั นธรรม 10. อาจารยโ์ พธส์ิ วสั ด์ิ แสงสว่าง ภาพที่ 255 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์โพธสิ์ วัสด์ิ แสงสว่าง ครมู วยไทยสายพลศกึ ษา เกิดวนั ท่ี 30 เมษายน 2493 อาเภอพบิ ลู มังสาหาร จังหวัดอบุ ลราชธานี ท่ีอยู่ บา้ นเลขที่ 6 ซอย 5 ถนนนครสวรรค์ ตาบลตลาด อาเภอเมือง จงั หวดั มหาสารคาม 44000 ปัจจุบนั ขา้ ราชการบานาญ การศึกษา ระดับประถมศกึ ษา โรงเรียนบา้ นโพธต์ิ าก อาเภอพิบูลมงั สาหาร จงั หวดั อบุ ลราชธานี ระดับมธั ยมศึกษา โรงเรียนพบิ ลู วทิ ยาลัย อาเภอพบิ ูลมงั สาหาร จังหวดั อุบลราชธานี ประกาศนยี บัตรวิชาชพี การศึกษา วิทยาลยั ครูอุบลราชธานี จงั หวดั อบุ ลราชธานี ประกาศนยี บัตรวิชาชพี การศกึ ษา ขน้ั สูง วิทยาลยั พลศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร การศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมติ ร กรงุ เทพมหานคร ครุศาสตรมหาบณั ฑิต จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร การศกึ ษาพเิ ศษเฉพาะด้าน Cert. Olympic Solidarity for Boxing Coach ณ กรงุ จาการต์ า ประเทศอนิ โดนเี ซยี โดยทนุ ของบริษทั บุญรอดบริวเวอรร์ ี่ ประวตั ิการทางาน อาจารย์ 1 วทิ ยาลัยครมู หาสารคาม จังหวดั มหาสารคาม หวั หน้าภาควชิ าพลศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ วิทยาลยั ครมู หาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม รองคณบดีคณะครศุ าสตร์ วิทยาลัยครูมหาสารคาม จังหวดั มหาสารคาม ผลงานทเ่ี ก่ยี วกบั มวยไทย
369 ชอ่ื ทใี่ ช้ในการชกมวยไทยอาชพี “ชงิ ชัย มลั ละยุทธ” “ชงิ ชนั สงิ หป์ ่าซุง” นักมวยไทยสมัครเลน่ ตัวแทนจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ชนะเลศิ รุ่นไลท์เวท มวยไทย ประเพณีจฬุ า ธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ.2519 ผู้ฝึกสอนมวยสากลของวทิ ยาลยั ครูมหาสารคาม ชดุ ชนะเลศิ มวยสากลสมัครเล่น กีฬา วทิ ยาลยั ครูแห่งประเทศไทย ณ วิทยาลัยครูเพชรบรุ ี จงั หวดั เพชรบุรี พ.ศ.2529 ผู้ฝึกสอนมวยสากลเขต 4 กีฬาแห่งชาติปี พ.ศ.2518 – 2535 ซ่ึงมีนักมวยได้แชมป์กีฬา แหง่ ชาติ เช่น สมรกั ษ์ คาสิงห์ ไรแมน บุญถม ประทีป บุญถม สมศักด์ิ บุญทา และ วินัย พลเยี่ยม เปน็ ตน้ ผ้ฝู ึกสอนมวยสากลทมี ชาติไทยในกฬี าซีเกมส์ ณ กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2528 ผฝู้ กึ สอนมวยไทยสมคั รเล่น มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ผฝู้ กึ สอนมวยไทยสมัครเล่น ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทยครองถว้ ยสมเด็จพระบรมโอราสาธริ าช สมาคมมวยไทยสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ณ อาคารนิมิตบตุ ร ปี พ.ศ.2529 ผตู้ ดั สินการไหวค้ รูและการแสดงศิลปะแม่ไม้มวยไทย ชงิ ชนะเลศิ แหง่ ประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา งานเขียน วจิ ยั และการทาหลกั สตู รมวยไทย งานวจิ ัย “พฒั นาการกีฬามวยไทย” ทนุ อดุ หนนุ ของจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั งานวจิ ัย “พฒั นาหลักสูตรคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารการศึกษาไทย” ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2537 หนังสือ “ศลิ ปะไมม้ วยไทย” ของกระทรวงวฒั นธรรม พ.ศ.2538 หนงั สอื “ศลิ ปะไมม้ วยไทย” ของกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2539 หนังสอื “ตารามวยไทย” โรงเรียนมวยไทยรงั สิต จงั หวดั ปทมุ ธานี หนงั สือ “มวยไทยเบื้องตน้ ” ระดบั ประกาศนยี บัตรบัณฑิต และระดบั ปรญิ ญาโท ของ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ จังหวดั ราชบรุ ี หลกั สตู ร “มวยไทยในโรงเรยี น” กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.2544 ร่วมจดั ทาพระราชบัญญตั ิกีฬามวย พ.ศ.2542 รว่ มจดั ทาหลกั สูตร ผฝู้ ึกสอนมวยไทย ของสานกั งานคณะกรรมการกีฬามวย การกีฬาแห่งประเทศไทย ผลงานการเผยแพรม่ วยไทยภายในประเทศ สอนมวยไทยในมหาวิทยาลยั มหาสารคาม ปี พ.ศ.2515 – ปจั จบุ ัน สอนมวยไทยอาชีพ “ค่าย วค.มหาสารคาม” “คา่ ยลูกกันทระ” และ “ค่ายเพชรราชภัฏ” สอนมวยไทยในศนู ย์อนุรักษศ์ ลิ ปะและสง่ เสริมมวยไทยของกรมพลศึกษา สอนมวยไทยในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ณ ค่ายเอราวณั จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สอนมวยไทยในวทิ ยาลยั มวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บา้ นจอมบึง สอนมวยไทยครูมวยไทย หลกั สตู รผฝู้ ึกสอนมวยไทยของการกีฬาแห่งประเทศไทย
370 ผทู้ รงคณุ วุฒิกีฬามวย ของคณะกรรมการกีฬามวย การกีฬาแห่งประเทศไทย ผลงานการเผยแพรม่ วยไทยในตา่ งประเทศ ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศอังกฤษ ประเทศโครเอเชีย ประเทศ เบลารุส ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย ประเทศซีเรีย ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศสหพันธรัฐ เยอรมันนี 11. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สุรตั น์ เสยี งหล่อ ภาพท่ี 256 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สุรัตน์ เสยี งหลอ่ ครมู วยไทยสายพลศึกษา ทมี่ า : ศิลปวฒั นธรรม การศกึ ษา - ปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ พลศึกษา - ปรญิ ญาโท การศึกษาบัณฑิตพลศึกษา พลศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วิทยาเขตพลศึกษา ประวตั ิการทางาน คณะพลศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประวตั แิ ละผลงานดา้ นมวยไทย - แชมป์มวยนกั เรยี นสมัครเล่น กรมพลศึกษา ปี พ.ศ.2548 - แชมปม์ วยเหรียญทอง เยาวชนแหง่ ประเทศไทย ปี พ.ศ.2548 - แชมป์มวยสากลสมคั รเล่น รุ่น แบนตมั้ เวท กีฬาซเี กมส์ ปี พ.ศ.2548 - โค้ชมวยสากลสมคั รเลน่ ซีเกมส์ ปี พ.ศ.2524 - 2525
371 - โค้ชมวยสากลสมคั รเลน่ ยอดเยี่ยมของการกีฬาแหง่ ประเทศไทย ปี พ.ศ.2525 - ผฝู้ ึกสอน พเยาว์ พูลธรัตน์ ชิงแชมป์โลก ปี พ.ศ.2527 - ผู้ฝึกสอน เนตรน้อย ส.วรสงิ ห์ และ สด จิตรลดา การกอ่ ต้งั ค่ายมวย - ก่อต้ัง “ค่ายมวยเดชรตั น์” เม่อื วันที่ 12 สงิ หาคม 2528 ปจั จุบันค่ายมวยเดช รัตน์ เป็น 1 ใน 10 ค่ายมวยยอดเย่ียมของสมาคมผูส้ ื่อขา่ วกีฬามวยแห่งประเทศไทย 3 ปีซ้อน (2549 - 2551) - นักมวยทสี่ ร้างชอ่ื เสียง เชน่ อินทรีย์ดา เดชรัตน์ พรหมลิขิต บญุ โรจน์ ชาตชิ าย นอ้ ย ชาวไร่อ้อย ตะกร้อเล็ก เดชรัตน์ จอมโหด เกียรติศักด์ิอนันต์ ศักดิ์ไพฑูรย์ เดชรัตน์ โรจน์ ณรงค์ ดาวแปดริ้ว ดอนคิงส์ เกียรติพญาไท ฉัตรพล เดชรัตน์ สิงห์บางแก้ว ศิษย์พุทธพิมพ์ ยอดธนู ดาวแปดรว้ิ ยอดระดบั ดาวแปดร้วิ สกาวทอง เดชรตั น์ สุดปฐพี เดชรัตน์ วันใหม่น้อย เดชรัตน์ ไม้เรยี ว เดชรัตน์ และคมชัดลึก เดชรตั น์ 12. รอ้ ยเอกธานี หอมจาปา ภาพท่ี 257 รอ้ ยเอกธานี หอมจาปา ครมู วยไทยสายพลศึกษา เกดิ ท่ี 9 ธันวาคม 2514 ที่อาเภอศรเี มืองใหม่ จงั หวัดอุบลราชธานี ท่อี ยู่ บา้ นเลขที่ 31/1 หม่ทู ี่ 7 ตาบลนาคา อาเภอศรเี มอื งใหม่ จงั หวดั อบุ ลราชธานี 34250 ปจั จุบัน รับราชการทหาร การศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นศรเี มืองใหม่ อาเภอศรีเมอื งใหม่ จงั หวดั อุบลราชธานี
372 ระดับมัธยมศกึ ษา โรงเรยี นศรีเมอื งวิทยาคาร อาเภอศรีเมืองใหม่ จงั หวัดอุบลราชธานี รัฐศาสตรบณั ฑิต มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ ามวยไทยศึกษา วิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์ แผนไทย มหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ จงั หวัดราชบรุ ี ผลงานทเี่ ก่ียวกบั มวยไทย เรยี นมวยไทยกับครูยอดธง ศรวี รารักษ์ ครจู รสั เดช อุลิต ครูโพธ์สิ วัสดิ์ แสงสวา่ ง ครมู วยไทย ขัน้ 16 มงคล 6 (มงคลทอง) ผ้ฝู กึ สอนมวยไทยอาชีพ ระดบั B LICENSE (ครูมวยไทยขั้นสงู ) คณะกรรมการสมาคมครูมวยไทย สาเรจ็ หลักสูตรผูต้ ดั สนิ กีฬามวยไทย โดยสานกั งานคณะกรรมการกีฬามวยและสมาคม มวยอาชพี แหง่ ประเทศไทย วิทยากรการอบรมผู้ฝึกสอนมวยไทยอาชพี ระดบั B LICENSE รนุ่ ที่ 1 และ 2 โดยสานกั งานคณะกรรมการกีฬามวย การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า วิทยากรการอบรมผู้ฝึกสอนมวยไทยอาชพี ระดับ C LICENSE รุ่นท่ี 1 , 2 และ 3 โดยสานกั งานคณะกรรมการกีฬามวย การกีฬาแหง่ ประเทศไทย กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า 1.1. ประวตั สิ ถาบนั การพลศึกษา กรมพลศึกษาไดด้ าเนินการผลิตครูพลศึกษามาเป็นเวลานานโดย รับโอนโรงเรียนพลศึกษา กลางมาดาเนินการต้ังแต่ปี พ.ศ.2479 และได้มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเรื่อยมา จนกระทั่งได้ มีการจัดตั้ง “วิทยาลัยพลศึกษา” ข้ึนเมื่อวันท่ี 1 มกราคม 2496 เพื่อดาเนินการสอนในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาการ ศึกษาชั้นสูง (พลศึกษา) และตั้ง “โรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย” ข้ึน ในปี การศึกษา 2501 เพือ่ ดาเนินการสอนในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษา (พลานามยั ) ต่อมาได้ยุบเลิกโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย ในปี พ.ศ.2512 และได้ขยายหลักสูตรของ วิทยาลัย พลศึกษา เป็นระดับปริญญาตรี โดยเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาลัยวิชาการศึกษา แต่ยังคง ดาเนนิ การโดย กรมพลศกึ ษา และใชช้ อื่ วา่ “วิทยาลยั วิชาการศึกษาพลศึกษา” ในปี พ.ศ.2514 ได้ ยุติการดาเนินการวิทยาลัยพลศึกษาในส่วนกลาง และโอนวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษาไปให้ วิทยาลัยวิชาการศึกษาดาเนินการต่อไป กรมพลศึกษาได้เปิดดาเนินการผลิตครูพลศึกษาในส่วน ภูมิภาค โดยเร่ิมเปิด “วิทยาลัย พลศึกษาจังหวัดเชียงใหม่” ข้ึนเป็นแห่งแรก ต่อมาในปี พ.ศ.2515 เปิด “วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดมหาสารคาม” เป็นแห่งท่ีสอง และมีการเปิดเพิ่มขึ้นในจังหวัดต่าง ๆ เร่ือยมา จนกระทั่งมีวิทยาลัยพลศึกษารวม 17 แห่ง และมีการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนกีฬา 11 แหง่ เมื่อกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายบรรจุข้าราชการครูจากผู้ที่มีวุฒิการศึกษา ระดับ ปริญญาตรีเป็นอย่างต่า ทาให้กรมพลศึกษาเร่ิมหาแนวทางยกฐานะวิทยาลัยพลศึกษาให้สามารถเปิด ทาการสอน ในระดับปริญญาตรี โดยในระยะแรกได้จัดทาโครงการร่วมมือทางวิชาการกับกรมการ ฝึกหัดครู ให้วิทยาลัยครูรับวิทยาลัยพลศึกษาเข้าสมทบทางวิชาการเพ่ือเปิดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเน่ือง ต้ังแต่ปีการศึกษา 2531 ในขณะเดียวกันก็พยายามหาแนวทางที่จะเปิดดาเนินการ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี ดว้ ยตนเอง จนได้มกี ารร่างพระราชบัญญัติ เพื่อยกฐานะวิทยาลัยพลศึกษา ข้ึน
373 เป็นสถาบันการศึกษาระดับปริญญา เสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ.2538 และใช้ช่ือ “ร่างพระราชบัญญัติ สถาบันกาญจนมงคล” กรมพลศึกษา ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติสถาบันกาญจนมงคลตามลาดับ ขนั้ ตอนพรอ้ ม ๆ กบั ท่กี รมอาชวี ศกึ ษาได้เสนอร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และกรม ศลิ ปากรได้เสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิสถาบันพฒั นศลิ ป์ ซึง่ กระทรวง ศึกษาธิการได้ให้ความเห็นชอบใน ร่างพระราชบัญญัติทง้ั 3 ฉบบั แตเ่ นอ่ื งจากสาเหตุบางประการกรมพลศึกษาได้นาร่างพระราชบัญญัติ สถาบันกาญจนมงคลกลับมาพิจารณาทบทวนใหม่อีกครั้งหนึ่ง เป็นเหตุให้ไม่สามารถนาเข้าสู่ท่ีประชุม สภาผู้แทนราษฎรได้ทันเวลา เน่ืองจากสภาผู้แทนราษฎรหมดอายุลงจึงต้องนาร่างพระราชบัญญัติ สถาบันกาญจนมงคล มาเร่ิมดาเนินการตามขั้นตอน ใหม่อีกครั้งหนึ่งภายหลังจากท่ีมีการจัดตั้งรัฐบาล ใหม่แล้ว โดยมีคาสั่งกรมพลศึกษาที่ 111/2541 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงร่าง พระราชบัญญัติสถาบันกาญจนมงคล เพ่ือพิจารณาทบทวน แก้ไข ปรับปรุงเน้ือหารายละเอียดให้ เหมาะสมกับสภาพการณ์ เพ่ือเสนอกระทรวงศึกษาธิการอีกคร้ังหน่ึงและได้มีการจัดทาแผนพัฒนา กรมพลศึกษา สาหรับปีงบประมาณ 2542 และ 2543 โดยเป้าหมายประการหนึ่งคือการพัฒนา วิทยาลัยพลศึกษาให้เปน็ สถาบันกาญจนมงคล ต่อมาได้มีคาส่ังกรมพลศึกษาท่ี 2180/2541 เม่ือวันที่ 8พฤศจิกายน 2541 แต่งต้ังคณะกรรมการ เตรียมการสถาบันกาญจนมงคล เพื่อวางแผนปฏิบัติการ ติดตามงาน ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้อง จัดเตรียม เอกสาร เพื่อนาเสนอตามลาดับขั้นตอน ซึ่งได้ดาเนินการเตรียมการในด้านต่าง ๆ รวมทั้ง การเตรียมการด้านหลักสูตร โดยมีคาส่ังกรมพลศึกษาท่ี 614 / 2542 เมื่อวันท่ี 9 เมษายน 2542 แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรปู หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี ในปี พ.ศ. 2542 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงกาหนดให้มี การจัด โครงสรา้ งหน่วยงานทางการศึกษาขน้ึ ใหม่ กระทรวงศึกษาธิการเห็นว่าน่าจะยกฐานะวิทยาลัย พลศึกษาข้ึนเป็นสถาบนั กาญจนมงคลโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา กรมพลศึกษาจึงได้ดาเนินการ ป รั บ ร่ า ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส ถ า บั น ก า ญ จ น ม ง ค ล เ ป็ น พ ร ะ ร า ช ก ฤ ษ ฎี ก า แ ล ะ น า เ ส น อ ต่ อ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพิจารณา กระทรวงศึกษาธิการได้มีคาส่ังที่ สป 416/2543 เม่ือวันที่ 10 สิงหาคม 2543 แต่งตั้งคณะกรรมการกล่ันกรองร่างพระราชกฤษฎีกาสถาบันกาญจนมงคล เพ่ือเสนอ ความเห็นต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการต่อไป แต่เมื่อดาเนินการตามข้ันตอนแล้วสานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นว่ากรณีน้ีไม่สามารถตราเป็นพระราชกฤษฎีกาได้ ต้องตราเป็น พระราชบัญญตั เิ ทา่ น้ัน จงึ ไดม้ ีการปรับเปลย่ี นกลบั มาเป็นร่างพระราชบัญญัติสถาบันกาญจนมงคลอีก ครงั้ หน่งึ แตไ่ มส่ ามารถนาเสนอไดท้ นั เนอื่ งจากสภาผูแ้ ทนราษฎร ได้หมดอายลุ งในปลายปี พ.ศ.2543 กรมพลศึกษายังคงมี ความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะผลักดันวิทยาลัยพลศึกษาให้ เป็น สถาบัน การศึกษาระดับปริญญา โดยได้กาหนดนโยบายปฏิรูปการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใน สังกัดกรม พลศึกษา และมีความเห็นว่าควรเปล่ียนช่ือเป็น “สถาบันการพลศึกษา” ในวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2544 ได้มีคาส่ังกรมพลศึกษาที่ 136/2544 แต่งตั้งคณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติ สถาบันการพลศึกษา เพ่ือดาเนินการต่อไป คณะกรรมการได้นาร่างพระราชบัญญัติสถาบันกาญจน มงคล มาพิจารณาปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และได้นาเสนอต่อหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือ พิจารณาให้ความเห็นชอบ เช่น สานักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
374 ข้าราชการพลเรือนสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สานักงบประมาณ คณะอนุกรรมการอานวยการปฏิรปู การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ คณะกรรมาธิการการกีฬา สภาผู้แทนราษฎร มีมติในการประชุมเมื่อวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2545 ตั้งคณะอนุกรรมาธิการเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาข้ึนคณะหน่ึง และ ไดแ้ ต่งตั้งคณะทางานขน้ึ อีกคณะหนึ่ง เมื่อวันท่ี 6 มีนาคม 2545 เพื่อช่วยในการพิจารณาของคณะอนุ กรรมาธิการ หลังจากที่คณะอนุกรรมาธิการ ได้พิจารณาเสร็จส้ินแล้วได้เสนอรายงานต่อ คณะกรรมาธิการการกฬี า สภาผแู้ ทนราษฎร คณะกรรมาธิการได้มีมติเห็นชอบและให้กรรมาธิการที่ เปน็ สมาชิกพรรคต่าง ๆ นาเสนอต่อพรรคเพื่อพิจารณาเสนอร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร ในนามของแต่ละพรรคต่อไป ซึ่งต่อมาได้มีพรรคต่าง ๆ นาเสนอร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา ต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร รวม 3 พรรค คือ พรรคประชาธปิ ตั ย์ พรรคชาตไิ ทยพฒั นาและพรรคชาตพิ ฒั นา คณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา ได้นาเสนอร่างพระราชบัญญัติ สถาบันการพลศึกษาต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เพ่ือพิจารณานาเสนอ คณะรัฐมนตรีต่อไป รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (นายสนธยา คุณปล้ืม) ได้ให้ ความเห็นชอบและนาเสนอต่อสานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ซ่ึงได้ส่งเร่ืองให้คณะกรรมการ กล่ันกรองเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตรี คณะท่ี 4 เพ่ือพิจารณา ก่อนนาเข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการยกร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา ได้ส่งตัวแทนเข้าชี้แจงและตอบข้อซักถาม ของคณะกรรมการกล่ันกรองพระราชบญั ญตั ิสถาบันการพลศกึ ษา จนกระทั่งได้รับความเห็นชอบและ นาเสนอคณะรัฐมนตรเี พ่อื พจิ ารณาในการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 26 พฤษภาคม 2546 ได้มี มติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา และให้ส่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจพิจารณารายละเอียด ก่อนเสนอเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรตอ่ ไป สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มอบให้คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะท่ี 8 ตรวจ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา ต้ังแต่วันท่ี 23 มิถุนายน 2546 โดยคณะกรรมการ ยกร่างฯ ได้ส่งตัวแทนเขา้ ชแี้ จงและตอบข้อซกั ถามของคณะกรรมการกฤษฎีกา ในการประชุมทุกคร้ัง จนกระท่งั เสร็จเรียบร้อยและสง่ สานกั งานเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรีเพ่อื เสนอตอ่ สภาผแู้ ทนราษฎรตอ่ ไป ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้บรรจุ ร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาเข้าวาระการ ประชุม ในวันท่ี 24 มีนาคม 2547 ที่ประชุมได้มีมติเป็นเอกฉันท์รับหลักการร่างพระราชบัญญัติ สถาบนั การพลศึกษาไวพ้ ิจารณา และตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบัน การพลศกึ ษา เพอ่ื พจิ ารณาในรายละเอยี ดจนกระทั่งพจิ ารณาเสร็จเรียบร้อย เม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม 2547 แต่เน่ืองจากสภาผู้แทนฯ ได้ปิดสมัยประชุมสามัญในวันท่ี 29 พฤษภาคม 2547 จึงต้องรอ นาเข้าวาระการประชุมในสมัยประชุมถัดมา สภาผู้แทนราษฎรได้ประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาในวาระ 2 และวาระ 3 ในวันท่ี 25 สิงหาคม 2547 และมีมติเป็นเอกฉันท์ (286 เสียง งดออกเสียง 1 เสียง) เห็นชอบในรา่ งพระราชบัญญัตสิ ถาบนั การพลศึกษาและให้ส่งวุฒสิ ภาเพื่อพิจารณาต่อไป
375 วุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาร่างพระ ราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาในวันที่ 6 กันยายน 2547 และมีมติเป็นเอกฉันท์รับหลักการร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาไว้พิจารณา และตั้ง คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาเพ่ือพิจารณาใน รายละเอยี ดจนกระทง่ั พิจารณาเสรจ็ เรียบร้อยเมอื่ วันที่ 18 ตุลาคม 2547 และได้นาเสนอรายงานต่อท่ี ประชุมวุฒิสภาเพ่ือพิจารณาในวาระ 2 และวาระ 3 วุฒิสภาได้ประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ สถาบันการพลศึกษาในวันที่ 26 ตุลาคม 2547 และมีมตเิ ห็นชอบตามท่ีคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ เสนอ เน่ืองจากวุฒิสภาได้มีการปรับแก้ร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาในบางส่วนจึง ต้องส่งให้ สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบอีกคร้ัง สภาผู้แทนราษฎรได้นาร่างพระราชบัญญัติ สถาบนั การพลศึกษา ทวี่ ฒุ ิสภาแกไ้ ขมาพิจารณาในการประชมุ เม่อื วนั ท่ี 10 พฤศจิกายน 2547 และมี มตเิ ปน็ เอกฉันทใ์ หค้ วามเห็นชอบตามท่วี ฒุ ิสภาแก้ไข สภาผู้แทนราษฎรได้ส่งร่างพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษาไปยังสานักงานเลขาธิการ คณะรัฐมนตรเี พ่อื ตรวจทานและดาเนนิ การทลู เกล้าฯถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อทรงลง พระปรมาภิไธยตอ่ ไปสานักงานเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ได้ตรวจทานรายละเอียดร่างพระราชบัญญัติ สถาบันการพลศึกษาและทูลเกล้าฯถวายตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2547 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยเม่ือวันท่ี 31 มกราคม 2548 และพระราชทานคืนมายัง สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อดาเนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้มีผลใช้บังคับ ตอ่ ไป สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี โดยกลุ่มงานราชกิจจานุเบกษาได้ประกาศ พระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา ตอนที่ 13 ก เม่ือวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 และทาให้พระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศเป็นต้นไป จึงนับได้ว่า สถาบันการพลศึกษาได้ก่อกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2548 1.2. ประวตั ิวิทยาลัยพลศึกษา สถาบันการพลศึกษา เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เดิมช่ือ วิทยาลัยพลศึกษา ทาหน้าที่ ผลิตครู โดยเฉพาะครูสอนพลศึกษาและสุขศึกษา แต่ปัจจุบันได้เพิ่มบทบาทในการผลิตบุคลากร ด้านวิชาชีพ ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพเพิ่มข้ึน ต้ังอยู่เลขที่ 154 สนามกีฬาแห่งชาติ ถนนพระรามที่ 1 แขวง วังใหม่ เขตปทมุ วนั กรุงเทพมหานคร 10330 ในอดีตกรมพลศึกษา เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ดาเนินการผลิตครูพลศึกษา โดยรับโอน โรงเรยี นพลศกึ ษากลางมาดาเนินการตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2479 และได้มกี ารจดั ตั้ง “วทิ ยาลัยพลศึกษา” ขึ้น เม่ือวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2496 เพ่ือดาเนินการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันสูง (ป.กศ.สูง) และต้ัง “โรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย” ข้ึนในปีการศึกษา 2501 เพื่อดาเนินการสอนใน ระดับประกาศนยี บัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ต่อมาได้ยุบเลิกโรงเรียนฝึกหัดครูพลานามัย ในปี พ.ศ.2512 และได้ขยายหลักสูตรของ วิทยาลัย พลศึกษา เป็นระดับปริญญาตรี โดยเป็นส่วนหนึ่งของวิทยาลัยวิชาการศึกษา แต่ยังคง ดาเนินการโดยกรม พลศึกษา และใช้ชื่อว่า “วิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา” ในปี พ.ศ. 2514 ได้
376 ยุติการดาเนินการวิทยาลัยพลศึกษาในส่วนกลางและโอนวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา ไปให้ วิทยาลัยวิชาการศึกษาดาเนินการต่อไป กรมพลศึกษาได้เปิดดาเนินการผลิตครูพลศึกษาในส่วน ภูมิภาค โดยเร่ิมเปิด “วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดเชียงใหม่” ข้ึนเป็นแห่งแรก ต่อมาในปี พ.ศ.2515 เปิด “วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดมหาสารคาม” และมีการเปิดเพิ่มข้ึนในจังหวัดต่าง ๆ เร่ือยมา จนกระทั่งมีวทิ ยาลยั พลศึกษารวม 17 แหง่ ภาพท่ี 258 วงั กลางท่งุ หรือ วังใหม่ สถานทก่ี ่อสร้างสนามกีฬาแห่งชาติ เม่ือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายบรรจุข้าราชการครูจากผู้ท่ีมีวุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาตรี กรมพลศึกษาจึงหาแนวทางยกฐานะวิทยาลัยพลศึกษาให้สามารถเปิดทาการสอนใน ระดับปริญญาตรี โดย ในระยะแรกได้จัดทาโครงการร่วมมือทางวิชาการกับกรมการฝึกหัดครู เป็น สถาบันสมทบของวิทยาลัยครู เพื่อเปิดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2531 ในขณะเดยี วกันก็มแี นวทางท่ีจะเปดิ ดาเนินการสอนระดบั ปริญญาตรีด้วยตนเอง จนได้มีการร่าง พระราชบัญญัติเพื่อยกฐานะวิทยาลัยพลศึกษาขึ้นเป็นสถาบันการ ศึกษาระดับปริญญา ในปี พ.ศ. 2538 และใช้ช่อื “ร่างพระราชบญั ญตั สิ ถาบนั กาญจนมงคล พ.ศ. ...” กรมพลศึกษาได้เสนอร่างพระราชบัญญัติสถาบันกาญจนมงคลตามลาดับ พร้อมกับกรม อาชีวศึกษาได้เสนอร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน และกรมศิลปากรได้เสนอร่างพระ ราช บญั ญัติสถาบนั พฒั นศิลป์ ซ่ึงกระทรวงศึกษาธกิ ารไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบในรา่ งพระราชบัญญัติทั้ง 3 ฉบับ แต่เนื่องจากสาเหตุบางประการกรมพลศึกษาได้นาร่างพระราชบัญญัติสถาบันกาญจนมงคล กลับมาพิจารณาทบทวนใหม่อีกคร้ัง เป็นเหตุให้ไม่สามารถนาเข้าสู่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ ทันเวลา เนื่องจากสภาผู้แทนราษฎรหมดอายุลง จึงต้องนาร่างพระราชบัญญัติสถาบันกาญจนมงคล มาเรมิ่ ดาเนนิ การตามขั้นตอนใหมอ่ กี คร้งั หน่งึ ภายหลงั จากทมี่ ีการจดั ตั้งรัฐบาลใหมแ่ ล้ว การดาเนนิ การเพ่ือยกฐานะดงั กลา่ ว ได้ดาเนินเรอ่ื ยมากระทั่งสภาผู้แทนราษฎรไดส้ ่งร่าง พระราชบญั ญัติสถาบันการพลศึกษา ไปยงั สานกั งานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อทลู เกล้าฯ ถวาย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว เพือ่ ทรงลงพระปรมาภไิ ธย
377 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวนั ท่ี 31 มกราคม พ.ศ.2548 และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ฉบับกฤษฎกี า ตอนท่ี 13 ก เม่อื วันท่ี 4 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2548 จึงนับไดว้ ่าสถาบันการพลศึกษาได้กอ่ กาเนดิ ข้ึนอยา่ งเปน็ ทางการตงั้ แตว่ นั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2548 หลกั สูตรของสถาบนั การพลศกึ ษา คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬาและสขุ ภาพ หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวทิ ยาศาสตร์การกีฬา โปรแกรมวชิ าวทิ ยาศาสตร์การกฬี า โปรแกรมวชิ าการฝึกสอนกีฬา สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ โปรแกรมวชิ าการส่งเสริมสุขภาพ โปรแกรมวชิ าการส่งเสรมิ สุขภาพเดก็ โปรแกรมวิชาการส่งเสริมสขุ ภาพผ้สู งู อายุ สาขานนั ทนาการ โปรแกรมวชิ านันทนาการบาบดั คณะศิลปศาสตร์ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบ์ ัณฑิต สาขาวิชานเิ ทศศาสตร์ โปรแกรมวชิ าสือ่ สารการกีฬา(หลักสตู รปกติและต่อเน่ือง) สาขาวิชาธรุ กจิ โปรแกรมวชิ าธรุ กจิ สขุ ภาพ โปรแกรมวชิ าการจัดการกีฬา สาขาวิชานันทนาการ โปรแกรมวิชาผนู้ านันทนาการ โปรแกรมวชิ าการบริหารนนั ทนาการ โปรแกรมวชิ านันทนาการเชงิ พาณิชยแ์ ละการท่องเทยี่ ว คณะศึกษาศาสตร์ หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑติ (หลักสตู ร 5 ปี) สาขาวชิ าพลศกึ ษา โปรแกรมวชิ าพลศกึ ษา (หลกั สูตรปกติและต่อเน่ือง) โปรแกรมวชิ าพลศกึ ษาสาหรับคนพิการ (หลกั สูตรปกติ และตอ่ เน่ือง) สาขาวชิ าสขุ ศกึ ษา โปรแกรมวิชาสุขศึกษา (หลักสตู รปกตแิ ละต่อเน่ือง)
378 สาขาวชิ านนั ทนาการ โปรแกรมวิชานันทนาการ วทิ ยาเขตของสถาบนั การศกึ ษา 1. วิทยาเขตกระบี่ 9. วทิ ยาเขตมหาสารคาม 2. วทิ ยาเขตกรุงเทพ 10. วิทยาเขตยะลา 3. วิทยาเขตชลบรุ ี 11. วทิ ยาเขตลาปาง 4. วทิ ยาเขตชัยภูมิ 12. วิทยาเขตศรสี ะเกษ 5. วิทยาเขตชมุ พร 13. วิทยาเขตสมุทรสาคร 6. วิทยาเขตเชยี งใหม่ 14. วทิ ยาเขตสโุ ขทัย 7. วิทยาเขตตรงั 15. วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี 8. วิทยาเขตเพชรบูรณ์ 16. วทิ ยาเขตอา่ งทอง 17. วทิ ยาเขตอุดรธานี โรงเรียนกฬี าสังกัดสถาบันการพลศึกษา 7. โรงเรียนกฬี าจงั หวดั ลาปาง 1. โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน่ 8. โรงเรียนกีฬาจังหวดั ศรีสะเกษ 2. โรงเรียนกีฬาจงั หวดั ชลบุรี 9. โรงเรยี นกีฬาจงั หวัดสุพรรณบรุ ี 3. โรงเรยี นกีฬาจงั หวัดตรงั 10. โรงเรียนกีฬาจังหวัดอา่ งทอง 4. โรงเรยี นกฬี าจงั หวดั 11. โรงเรยี นกีฬาจังหวดั อุบลราชธานี นครศรีธรรมราช 5. โรงเรียนกีฬาจงั หวดั นครสวรรค์ 6. โรงเรยี นกฬี าจังหวัดยะลา 2. เอกลกั ษณข์ องมวยไทยสายพลศึกษา เน่อื งจากมวยไทยสายพลศึกษา เป็นมวยทม่ี ีการฝกึ มาจากสายอืน่ ๆ บ้างแล้ว เม่ือมาเรียนต่อ ท่ีสถาบันการพลศึกษา กไ็ ด้รบั การเรยี นรฝู้ กึ หดั มวยไทย เพิ่มเติมใหม้ กี ลยุทธ์ในการชกมากขึ้นกล่าวคือ เมอ่ื นักมวยจากภาคตา่ งๆ และสายต่างๆ เข้ามาเรียนพลศึกษา ก็มีท่านอาจารย์สุนทร ทวีสิทธิ์ ซึ่งถือ ว่าเป็นปรมาจารย์มวยไทยสายพลศึกษา ท่านจะมีการสอนมวยด้วยทักษะมวยไทย ที่ท่านชอบคือ หมัด เหตุที่ท่านชอบหมัดเพราะท่านได้ศึกษาวิการการชกหมัดของมวยสากล จากหม่อมเจ้าวิบูล สวัสดิวงศ์ สวัสดิกุล ซ่ึงเป็นบุคคลที่ได้ไปศึกษาวิการชกมวยสากลจากต่างประเทศ จนท่านได้ชื่อว่า เปน็ บิดาแห่งมวยสากลของประเทศไทย นอกจากหมัดแล้ว มวยไทยสายพลศึกษายังเน้นในเร่ืองความเร็วและจังหวะเข้า-ออกอย่าง คลอ่ งแคล่ว วอ่ งไว จนเรียกได้วา่ เป็นมวยครบเครื่อง ขณะเดียวกันมวยไทยสายพลศึกษา ได้มี พัฒนาการอยา่ งเปน็ ระบบ โดย - มกี ารจดั การเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบภายในโรงเรียน สถานศกึ ษา - นามวยไทยไปเปลี่ยนมติ ิของสังคม เดิมอาชพี ปรับเปน็ สมัครเลน่ และรูปแบบศิลปะมวยไทย - มีการจัดพิธกี รรมตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วกับการขึ้นครู (การยกครู) และการไหว้ครู - การใชท้ กั ษะเนน้ เร่ืองการใช้หมดั และการเคลือ่ นท่ีเขา้ ออก รวดเรว็
379 - มกี ารจดั ตั้งศูนย์อนรุ ักษ์ศลิ ปะมวยไทยแหง่ ชาติ - มีการจดั การแข่งขนั ศิลปะมวยไทย ระดับประเทศ - มกี ารนาเอาศิลปะมวยไทยมาประยุกตเ์ ปน็ การออกกาลงั กายในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ การ ออกกาลังกายด้วยแม่ไม้มวยไทย การออกกาลังกายแบบมวยไทยแอโรบิก การออกกาลังกายแบบคี ตะมวยไทย การออกกาลังกายแบบนาฏมวยไทย 2.1. เอกลักษณ์ดา้ นการแต่งกาย มวยไทยสายพลศกึ ษาจะแต่งกายโดยสวมกางเกงขาสั้น (กางเกงส่วนมากจะเป็นสีเข้ม ยอ้ มตามธรรมชาติ) มผี า้ คาดเอว สวมมงคลทศี่ ีรษะ ผกู ผา้ ประเจยี ดทต่ี ้นแขนทั้ง 2 ขา้ ง เวลาขึ้นชกจะ ถอดมงคลออก สว่ นการคาดเชือกที่ข้อมือของมวยไทยสายพลศกึ ษา จะคาดเชือกทม่ี ือไปถึงกลาง ทอ่ นแขน (ไดเ้ ปล่ียนการคาดเชอื กมาเปน็ สวมนวมในปี พ.ศ.2472) ภาพที่ 259 การแต่งกายของมวยไทยสายพลศกึ ษา 2.2. เอกลกั ษณ์ดา้ นการไหว้ครแู ละร่ายรามวยไทย ท่าย่างสุขเกษม หรือ ขนุ พลกรายทวนแปดทศิ เป็นทา่ ของการก้าวย่างที่เป็นเอกลักษณ์ ของ มวยไทยสายพลศึกษา โดยผู้ท่ีเป็นต้นตารับของท่าย่างสุขเกษม คือ ปรมาจารย์สุนทร ทวีสิทธ์ิ ปรมาจารย์มวยไทยสายพลศึกษา ท่าย่างสุขเกษม เป็นการก้าวย่างหรือการเคล่ือนท่ีโดยการก้าวเท้า ออกไปข้างนอก พร้อมกับการโยกตัวใช้มือปัดลงมาข้างล่าง ในขณะท่ีอีกมือหนึ่งยกขึ้นระดับใบหน้า เพอ่ื เปน็ การป้องกันอาวุธ ส่วนมือที่ปัดลงมาใช้กรณีเม่ือคู่ต่อสู้ถีบมาหาเรา ก็ใช้มือปัดป้องกันส่วนมือ ท่ีอยู่ข้างบนก็ใช้ป้องกันอาวุธได้ ทั้งนี้ในการกระทานั้น จะต้องบิดสะโพกตามไปด้วยพร้อมกับปัดมือ ลา่ งใหผ้ ่านลาตัว สว่ นเท้าเคลือ่ นท่ีกา้ วไป พร้อมกับการปัดมอื ผ่านลาตัว มขี น้ั ตอนการย่างดังน้ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 501
Pages: