Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

Description: การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย.

Search

Read the Text Version

24 พัชรินทร์ ยาพิมาย (2542) ได้ศึกษาเรื่องสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของนักมวยไทย อาเภอ พิมาย จังหวัดนคราชสีมา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของ นักมวยไทย เภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้รู้เก่ียวกับมวยไทย เจ้าของค่ายมวย นักมวยไทยในอดีต นักมวยไทยในปัจจุบัน และผู้ชม ในเขตอาเภอพิมาย จังหวัด นครราชสีมา จานวน 96 คน ซ่ึงได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและแบบบังเอิญการเก็บข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์ การสังเกต การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติร้อยละ แล้วนาเสนอผลการวิจัยโดยวิธี พรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจยั พบว่า 1. สภาพทางเศรษฐกิจของนักมวย พบว่า นักมวยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 72.31) มาจาก ครอบครัวชาวนา ชาวไร่ มีฐานะยากจน ดังนั้นจึงนิยมส่งบุตรหลานมาฝึกหัดมวยไทย ทั้งนี้เพื่อจะนา รายได้ มาใช้จ่ายในครอบครัว ซึ่งรายได้ของนักมวยนั้นประกอบด้วย เงินค่าตัว เงินเดิมพันและ รางวัลพเิ ศษ การท่ีนักมวยจะมีรายได้เหล่านี้นั้นจะต้องพยายามฝึกหัดเพื่อให้ผลการแข่งขันชนะจึงจะ ทาให้ค่าตัวสูงขึ้นเร่ือย ๆ รวมท้ังเงินเดิมพันและรางวัลพิเศษก็จะเพ่ิมตามมา ซ่ึงทาให้นักมวย เงนิ ออม มีทรพั ย์สิน สว่ นรายจา่ ยของนกั มวยสว่ นมากเจ้าของค่ายมวยจะเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบ 2. สภาพทางสังคมของนักมวย พบว่า นักมวยเริ่มฝึกหัดมวยไทยต้ังแต่อายุ 10 ปี โดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อให้ประสบความสาเร็จในชีวิตการเป็นนักมวย แม้จะต้องอดทนฝึกฝนเป็นเวลานาน และสม่าเสมอ ท้ังนี้เพ่ือความเป็นเลิศทางอาชีพและรายได้จานวนมากตลอดจนรางวัลต่าง ๆ ด้วย นักมวยส่วนใหญ่ (ร้อยละ - 72.41) เป็นนักเรียนนักศึกษาเพราะต้องการมีรายได้เพ่ือการศึกษา การเป็นนักมวยและนักเรียนนักศึกษา ทาให้ไม่มีโอกาสได้พบปะครอบครัวมากนัก เพราะชีวิตในการ เปน็ นกั มวยตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎ ระเบยี บของ ค่ายมวย ในด้านความเช่ือนั้น นักมวยยังมีการเคารพบูชา ครูมวยและมกี ารสวมมงคล ดงั เช่นมวยไทยในอดีต ธานินทร์ สาลาม (2546) ได้ศึกษาเรื่องบทบาทของสายสกุลสุลต่านสุลัยมาน ชาห์ ในการ ปกครอง ของไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย : ศึกษากรณีเมืองไชยา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาสถานภาพและบทบาทของมุสลิมในประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย โดยเน้นสายสกุล สุลต่านสุลัยมาน ชาห์ ในช่วง พ.ศ.2212 - 2325 การวิจัยเป็นเชิงประวัติศาสตร์จากเอกสารและ คาบอกเลา่ ของชาวไชยา จากการศึกษาพบว่ามุสลิมเป็นองค์ประกอบสาคัญของการเมืองไทยตลอดป ระวัติศาสตร์ นับตั้งแต่สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ บทบาทในทางสังคม และการเมืองของมุสลิม ที่มีใน การปกครองของไทยต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของการสร้างดุลอานาจ ซึ่งผู้ปกครองไทยพยายามที่จะควบคุม และสร้างเอกภาพของการปกครองเหนือศูนย์อานาจทางการปกครองต่าง ๆ และความพยายามของ มุสลมิ ทจ่ี ะแสวงหา ความเป็นเอกเทศในกระบวนการทางสังคมและการเมือง มุสลิมประสบกับความ ผันผวน ท้ังน้เี หน็ ได้ชัดในการตั้งราชวงศ์สุลต่านสุลัยมาน ชาห์ และผู้สืบสายสกุลคือสุลต่านมุสตาฟา ผู้ทรงก่อตั้งเมืองไชยาภายหลังการสูญเสียอานาจของสุลต่านสุลัยมานแห่งรัฐมุสลิม ซิง ขรา หวั เขาแดง

25 เพราะฉะนนั้ อาจจะกล่าวได้จากการศึกษาท้ังน้ีว่า อิสลามเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญท่ีก่อให้เกิด เอกลักษณ์ทางสังคมการเมืองของมุสลิมท่ีกาหนดสถานภาพและบทบาทของตนในประวัติศาสตร์ การเมอื งไทย ซ่งึ ช่วยใหเ้ ราเข้าใจประวตั ิศาสตร์ของไทยได้ดียงิ่ ขนึ้ ทรงพล นาคเอี่ยม (2550) ได้ศึกษาเร่ืองการเปลี่ยนแปลงของความหลากหลายในเชิง ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวไทย : กรณีศึกษามวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก โดยมีแนวคิดการบูรณา การองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์มาใช้กับการวิจัยทางพลศึกษา โดยนาแนวคิด/ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและปรากฏการณ์วิทยา มาใช้วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม ประเภทศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวไทย เนื่องจากวิธีคิดต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสังคมไปสู่ ความทันสมัยได้ส่งผลกระทบต่อความเป็นวัฒนธรรมท่ีเคยมีความหลากหลายในอดีตให้เปล่ี ยนแปลง ไป โดยงานวิจัยน้ีได้ใช้การวิเคราะห์ผ่านกรณีของมวยสายพระยาพิชัยดาบหัก ซ่ึงเป็นศิลปะการต่อสู้ ป้องกันตวั โบราณสายหนึ่งของไทยทมี่ กี ารสบื ทอด มาจนถึงปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่า ประวัติของ มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก บอกเล่าถึงการแสดงคุณค่าท่ีมีความหลากหลายของศิลปะการต่อสู้ ป้องกันตัวในสังคมประเพณีของไทย ท้ังองค์ความรู้และวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับทั้งวิถี ชีวิต ความเชอ่ื และระบบคุณค่าของสังคมยุคสมัยนั้นอย่างแยกไม่ออก แต่เม่ือสังคมไทยพัฒนาเข้า สูค่ วามทันสมยั ด้วยวิธีคิดต่าง ๆ ในยุคดังกล่าว ทาให้เกิดการกาหนดตาแหน่งหน้าท่ีเพียงหน่ึงเดียว ให้กับองค์ความรู้เหล่าน้ีจึงส่งผลให้เกิดการปรับเปล่ียนรูปแบบ ที่เคยแสดงถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน จนกระท่ังปัจจุบันได้เกิดการร้ือฟ้ืนความหลากหลายทาง วฒั นธรรมใหม่ โดยศลิ ปะการตอ่ สู้ป้องกันตัวไทย ไดถ้ ูกจดั การด้วยแนวทางที่หลากหลายมากข้ึน เพื่อ ประโยชน์ตามแต่ละกลุ่มความต้องการท่ีถูกแยกย่อยออกไป ซึ่งแนวคิดแบบจารีตนิยมมอง การเปล่ียนแปลงนี้ว่าเป็นการเสื่อมสลาย ในขณะท่ีแนวคิดแบบสมัยนิยมมองว่าเป็นพัฒนาการ อยา่ งไร กต็ าม การจัดการทั้งสองแนวคดิ จะต้องดาเนินควบค่กู นั ไปในวงการศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว เนื่องจากการสร้างแนวทางอย่างหลากหลาย และมีความสัมพันธ์ท่ีเอื้อประโยชน์ต่อกัน จะส่งผลให้ องคค์ วามรูป้ ระเภทนส้ี ามารถสรา้ งคุณค่า สงู สุดให้สังคมไดท้ กุ ยุคสมัยสืบต่อไป ชนทัต มงคลศิลป์ (2550) ได้ศึกษาเร่ืองมวยลพบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษา ประวัติความเป็นมาของมวยลพบุรี 2) ศึกษาเอกลักษณ์ของมวยลพบุรี 3) ศึกษาวัฒนธรรมประเพณี ศิลปะของมวยลพบุรี ผลการวิจยั พบวา่ 1) ประวตั ิความเป็นมาของมวยไทยสายลพบุรี มีวิวฒั นาการและเกิดการเปลยี่ นแปลงที่สาคัญ หลายอย่าง ทาให้มวยไทยสายลพบุรีแบ่งช่วงเวลาต่าง ๆ ตามความสาคัญเป็น 4 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 อยู่ระหว่างปีพุทธศักราช 1200 - 2198 นับเป็นช่วงเริ่มต้นของมวยไทยสายลพบุรี มีปรมาจารย์สุ กะทันตะฤๅษี เป็นผกู้ ่อตงั้ สานกั ขึน้ ทเี่ ขาสมอคอน เมอื งลพบรุ ี มีลูกศษิ ย์ชดุ ท้ายคือ พ่อขุนรามคาแหง มหาราช ช่วงท่ี 2 อยู่ระหว่างปีพุทธศักราช 2199-2410 ถือเป็นช่วงสืบทอดของมวยไทยสายลพบุรี ซ่งึ มวยไทยสายลพบรุ ี เรม่ิ เป็นรูปเป็นรา่ งในสมยั น้ี สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ ที่ส่งเสริมมวยไทยสายลพบุรี อย่างกว้างขวาง มีการจัดการแข่งขัน กาหนดขอบเขตสังเวียนและ มีกตกิ าการชก โดยมพี ระพทุ ธเจ้าเสือ พระมหากษัตริย์อีกพระองค์หน่ึงท่ีสนับสนุนมวยไทย และชอบ ต่อยมวย ถึงขั้นปลอมพระองค์ไปแข่งขันชกมวยกับชาวบ้าน ช่วงท่ี 3 อยู่ระหว่างปี พุทธศักราช 2411 - 2487 เป็นช่วงพัฒนาของมวยไทยสายลพบุรี ช่วงนี้มวยไทยสายลพบุรีโด่งดังและเฟ่ืองฟู

26 จนถงึ ขดี สดุ โดยเฉพาะในรชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระองค์ เรียนวิชามวย จากปรมาจารย์หลวงพลโยธานุโยค พระองค์โปรดมวยมาก เสด็จทอดพระเนตร บ่อยครัง้ ครัง้ ทีส่ าคัญท่ีสดุ คือ การแข่งขนั ชกมวย ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภช เม่ือวันท่ี 19-22 มีนาคม พุทธศักราช 2452 ณ เวทีมวยสวนมิกสกวัน มีนักมวยไทยสายลพบุรี ท่ีเก่งกล้าสามารถจนได้รับการกล่าวขานว่า ฉลาดลพบุรี คือ นายกลึง โตสะอาด ซ่ึงได้รับบรรดาศักดิ์เป็นหมื่นมือแม่นหมัด และต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีนักมวยดังของลพบุรี อีกคนหน่ึงคือ นายจันทร์ บัวทอง และช่วงที่ 4 อยู่ ระหว่าง พุทธศักราช 2488 จนถึงปัจจุบัน ถือเป็นช่วงสมัยใหม่ของมวยไทยสายลพบุรี มีนักมวยไทย สายลพบุรีท่ี เก่งมากเกิดข้ึนอีกสองคน คือ นายทวีศักดิ์ สิงห์คลองส่ี และนายอังคาร ชมพูพวง ซึ่งมี ลีลาท่าทางการชก คล้ายหมื่นมือแม่นหมัด คือถนัดในการใช้หมัดตรงและหลบหลีกได้คล่องแคล่ว ว่องไว นับเป็นความหวังใหม่ของมวยไทยสายลพบุรี ที่จะช่วยพัฒนาและฟื้นฟูมวยไทยสายลพบุรีขึ้น โดยได้มกี ารแขง่ ขันมวยในเวทีมวยคา่ ยนารายณเ์ ปน็ ประจาและมีนักมวยเปน็ จานวนมาก 2) ด้านเอกลักษณ์ของมวยไทยสายลพบุรี เป็นมวยท่ีชกฉลาด รุกรับคล่องแคล่วว่องไวต่อย หมัดตรง ได้แม่นยา เรียกลักษณะการต่อยมวยแบบน้ีว่า มวยเก้ียว ซ่ึงหมายถึง มวยท่ีใช้ช้ันเชิงเข้า ทาคู่ต่อสู้โดยใช้กลลวงมากมาย จะเคล่ือนตัวอยู่เสมอ หลอกล่อ หลบหลีกได้ดี สายตาดี รุกรับและ ออกอาวุธ หมัด เท้า เข่า ศอกไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ สมกับฉายาฉลาดลพบุรี จริง ๆ เอกลักษณ์ท่ีเห็นชัดอีก ประการหน่ึงคือ มีการพันมือคร่ึงแขน แต่ที่เด่นและแปลกกว่ามวยอ่ืนคือ การพันคาดทับข้อเท้าซ่ึง เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะของมวยไทยสายลพบุรี 3) ด้านวัฒนธรรมประเพณศี ิลปะมวยไทยสายลพบรุ ี แบ่งไดเ้ ป็น 3 หัวขอ้ คือ ก) มวยลพบุรี มี ความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับวัดในพุทธศาสนา เนื่องจากแหล่งฝึกมวยเกิดจากพระสงฆ์ท่ีอยู่ในวัด ข) ความเป็นมาของกระบวนท่าศิลปะมวยลพบุรี เป็นกระบวนท่าท่ีผสมกลมกลืนจาการหล่อหลอม และเลียนแบบท่าทางต่าง ๆ เช่น ลิงและช้าง ที่มีอยู่มากในเมืองลพบุรี ตลอดจนจากตานาน การสร้างเมืองลพบุรี และ ค) รากเหง้าท่ีมาของศิลปะมวยไทยสายลพบุรี มาจากหลายสานักเพราะ บรรพชนของมวยไทยทีก่ ระจดั กระจายในแต่ละท้องถ่ิน รากเหง้าท่ีมาจึงไม่ชัดเจน แต่พออนุมานได้ว่า เป็นศิลปะการต่อสู้ที่มาจากองค์ความรู้ท่ีหลากหลายในแต่ละท้องถิ่น ซ่ึงมีแนวทางเฉพาะตน การแข่งขันมวยลพบุรี มีกติกาการชก กาหนด 5 ยก โดยใช้ยกเวียน การหมดยกใช้กะลาเจาะรูใส่ใน โหล เม่ือกะลาจมน้าถือว่าหมดยก การต่อสู้ใช้อวัยวะได้ทุกส่วนของร่างกาย เป็นการเปรียบมวยอยู่ที่ ความสมคั รใจของคู่ชก ไมเ่ กีย่ งนา้ หนกั หรอื อายุ การไหว้ครู เหมือนการไหว้ครูโดยทั่วไป ไม้มวยไทย สายลพบุรี มี 16 กระบวนท่า ได้แก่ กระบวนท่ายอเขาพระสุเมรุ หักงวงไอยรา ขุนยักษ์จับลิง หักคอ เอราวัณ เอราวณั เสยงา ขุนยักษ์พานาง พระรามน้าวศร กวางเหลียวหลัง หิรัญม้วนแผ่นดิน หนุมาน ถวายแหวน ลม้ พลอยอาย ลิงชิงลูกไม้ คชสารถองหญ้า คชสารแทงงา ลิงพล้ิว และหนุมานถอนตอ ครูมวยและนักมวยไทยสายลพบุรี ได้แก่ ครูดั้ง ตาแดง ครูนวล ปักษี หมื่นมือแม่นหมัด นายซิว อกเพชร นายแอ ประจาการ นายเย็น อบทอง นายเพิก ฮวบสกุล นายจันทร์ บัวทอง นายชาญ ศิวารักษ์ นายสมทรง แก้วเกิด และครูประดิษฐ์ เล็กคง นับได้ว่ามวยไทยสายลพบุรี เป็น ประวัติศาสตร์ของมวยไทย ซ่ึงเป็นมวยท้องถิ่นท่ีเก่าแก่ที่สุดของอาณาจักรสยาม มีอายุถึง 1,356 ปี มคี วามโดดเด่นเฉพาะตวั ทง้ั ดา้ นประวัตคิ วามเปน็ มา เอกลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมประเพณี

27 ประกาศ เพียสามารถ (2556) ได้ศึกษาเรื่อง มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก : มุมมองใน เชิงลึกของคนในพ้ืนท่ีจังหวัดอุตรดิตถ์โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือการศึกษาความเป็นมา เอกลักษณ์ ระเบียบแบบแผน ประเพณีและไม้มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหักในมุมมองเชิงลึกของคนในพ้ืนท่ี จังหวัดอุตรดิตถ์ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในพ้ืนท่ีถ่ินกาเนิดของพระยาพิชัย ดาบหัก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลท่ีเป็นแหล่งที่มาของสายมวยไทยสายพระยาพิชัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็น ทายาทของพระยาพิชยั ดาบหัก กลมุ่ ผ้ใู ห้ข้อมูลท่เี ป็นลูกศิษยส์ ายมวยไทยสายพระยาพิชยั เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์บุคคลกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จึงใช้ วิธีการสมั ภาษณ์ระดับลึก ซึง่ เป็นการพูดคุยซักถามตวั ตอ่ ตวั ระหว่างผู้วจิ ยั และผ้ใู หข้ ้อมูล ตลอดจนการ สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ในกรณีท่ีผู้ให้ข้อมูลไม่สะดวกท่ีจะพบกับผู้วิจัย การวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ใช้ วิธีการดังกล่าว รวบรวม ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ในการศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมา เอกลักษณ์ ระเบียบแบบแผนประเพณี ไม้มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหักมุมมองเชิงลึกของคนใน พน้ื ทีจ่ งั หวดั อตุ รดติ ถ์ ในการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ ผ้วู ิจัยได้รายงานผลการศึกษาวิจัยแบบพรรณนาแล้วทา การวิเคราะห์ขอ้ มูล ในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลครั้งน้ี กระทาภายใต้เง่ือนไขหลัก ตามข้อเสนอของ สุภางค์ จันทวานิช น่ันคือการวิเคราะห์ข้อมูลเร่ิมการกระทาไปพร้อม ๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูล และยงั ดาเนินตอ่ ไปภายหลังการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เสรจ็ สนิ้ ลง ผลการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายพระยาพิชัย พบว่า พระยา พิชัยดาบหัก เดิมช่ือจ้อย เกิดท่ีบ้านห้วยคา เมืองพิชัย ปัจจุบันคืออาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เม่ือ อายุ 8 ปี บิดานาตัวไปฝากเรียนกับท่านพระครูวัดมหาธาตุเมืองพิชัยจากน้ันได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์ เรยี นมวยกับครูเทยี่ ง และเปลย่ี นชื่อเป็นทองดี ครูเท่ยี งเรียกว่าทองดี ฟันขาว เรียนมวยสาเร็จได้ออก เดนิ ทางข้ึนเหนือต่อเพือ่ ไปเรยี นมวยกบั ครูเมฆแห่งบา้ นท่าเสา ได้ไปพักอยู่ท่ีวัดวังเตาหม้อ (วัดท่าถนน ปัจจุบัน) และได้ฝกึ หกคะเมน ตีลงั กาเรยี นแบบง้วิ แสดงและนามาฝึกผสมผสานกับท่ามวย จากน้ันได้ เดนิ ทางต่อไปจนถึงสานักมวยครเู มฆแห่งบ้านท่าเสาและได้ฝากตัวเป็นศิษย์ครูเมฆ เรียนมวยอยู่กับครู เมฆจนเก่งกล้า ครูเมฆจึงได้นาไปเปรียบมวยในงานประจาปีวัดพระแท่นศิลาอาสน์ ได้ชกชนะครูนิล และนายหมึก ศิษย์ครูนิล ได้ลาครูเมฆเดินทางต่อไปเพ่ือเรียนดาบกับครูเหลือที่เมืองสวรรคโลก พรอ้ มทงั้ ได้เรียนมวยจีนหกั กระดูกท่ีเมืองสุโขทัย จากนั้นได้เดินทางผจญภัยต่อไปยังเมืองตากและได้ ชกมวยในงานถือน้าพิพัฒน์สัตยา เอาชนะครูห้าวครูมวยดังของเมืองตาก จนเป็นท่ีโปรดปราณของ พระยาตาก พระยาตากได้ชักชวนให้อยู่รับราชการ เป็นทหารองครักษ์ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “หลวง พิชัยอาสา” ได้ร่วมกับพระยาตากกอบกู้เอกราช ตั้งกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงและเสด็จเถลิงถวัลย์ ราชสมบัตเิ ปน็ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ และโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้ังให้เปน็ “หม่ืนไวยวรนารถ” เป็น “พระยา ศรหี ราชเดโช” และเป็น“พระยาพิชัย” โดยลาดับ พ.ศ.2316 โปสุพลา แม่ทัพพม่า ได้มาตีเมืองพิชัย ท่านได้นาทหารออกรบและต่อสู้กับโปสุพลา จนดาบหักไปข้างหน่ึง ท่านได้สมญานามว่า “พระยา พิชัยดาบหกั ” ตัง้ แตน่ ้ันมา เม่ือส้ินสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินแล้ว สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรง เสดจ็ ขึน้ เถลิงถวลั ย์ราชสมบัติ ณ กรงุ เทพมหานคร เม่ือวันท่ี 7 เมษายน 2325 ท่านไม่ยอมอยู่เป็นข้า สองเจ้า บ่าวสองนาย จึงได้กราบทูลสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ขอถวายความจงรักภักดีถวาย

28 ชวี ติ ตามสมเด็จพระเจ้าตากสิน แต่ขอฝากบุตรชายให้รับราชการสนองพระเดชพระคุณสืบไป พระยา พชิ ัยดาบหัก จงึ เปน็ ที่เคารพรกั ของคนจังหวัดอุตรดิตถ์ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จังหวัดอุตรดิตถ์จึงได้ จดั งานฉลองวันชัยชนะให้ กับทา่ นระหวา่ งวันที่ 7-16 มกราคม ทกุ ปี ผลการศึกษาเก่ียวกับเอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายพระยาพชิ ยั พบว่า มวยไทยสายพระยาพิชัย มีเอกลักษณ์เด่น 5 ประการ คือ การยืนมวย หรือจดมวยยืนน้าหนักอยู่เท้าหลัง การไหว้ครูร่ายรา ท่าน่ังต้องส่องเมฆก่อนยืน มงคลประเจียด เป็นมงคลถักสีแดงลงอาคมและมีประเจียดข้างเดียว พิธีกรรม เป็นพิธีท่ีสาคัญ 3 พิธี ได้แก่ การยกครู หรือ ข้ึนครู ไหว้ครูและครอบครู ไม้มวยมีทั้งอ่อน และแขง็ อยู่ในคราวเดียวกนั จะถนัดเรอื่ งการใช้เท้าเป็นอาวุธที่รวดเร็ว ผลการศึกษาแบบแผนประเพณีของมวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก พบว่า แบบแผน ประเพณีของ มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก ประกอบด้วยการขึ้นครู หรือ การยกครู การไหว้ครู ประจาปี การครอบครู และการราไหว้ครกู ่อนชก ผลการศึกษาพน้ื ฐานและพน้ื ไม้มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก พบว่า ทักษะมวยไทยหรือไม้ มวยไทยสายพระยาพชิ ัยดาบหกั ดังน้ี การชก 15 ไม้ ประกอบด้วย หมัดตรง หมัดคร่ึงศอก ครึ่งหมัดคร่ึงศอก หมัดเหวี่ยงหรือหมัด ขว้าง หมัดตบหรือหมัดเหวี่ยงส้ัน หมัดตบหรือหมัดเฉียงสั้น หมัดเหว่ียงข้ึนตรง หมัดเหวี่ยงกลับ หมดั งดั หมัดเสย หมัดสอยดาว หมดั หงาย หมัดเหวีย่ งบนยาว หมัดจิกหรือหมัดฉก หมัดเสยหรือหมัด มะเหงก หมัดคู่ หมดั อัด และหมดั ตวดั การเตะ 10 ไม้ ประกอบด้วย เตะตรงต่า เตะตรงสูง เตะเฉียง เตะเหวี่ยงหรือเตะตัด เตะ ตวัดกลับ เตะหลังเท้า เตะกลับหลัง เตะครง่ึ แขง้ หรือครึง่ เขา่ เตะโขกและเตะตบและกระโดดเตะ การถีบ 10 ไม้ ประกอบด้วย ถีบจิก ถีบกระทุ้ง ถีบข้าง ถีบตบ ถีบต่อเข่า ถีบกลับหลัง หรือ ม้าดีด กระโดดถบี ถีบหลอก ถบี ยนั และเดนิ ถีบ การตีเข่า 10 ไม้ ประกอบด้วย เข่าตรงหรือเข่าโทน เข่าเฉียง เข่าโค้ง เข่าเหวี่ยงหรือ เขา่ ตัด เข่าเหนบ็ หรอื เข่าหยอกนาง คร่ึงเข่าคร่งึ แข้ง เขา่ กระชาก เข่าลอย เข่าพุ่งและเขา่ คู่ การศอก 10 ไม้ ประกอบด้วย ศอกตัด ศอกเฉียง ศอกโค้ง ศอกเสยหรือศอกงัด ศอกถอง ศอกจาม หรือศอกสบั ศอกพุ่ง ศอกกระแทก ศอกเฉือน ศอกเชด็ ศอกกลบั ศอกคู่ เช้า วาทโยธา (2550) ได้ทาการศึกษามวยไทยสายโคราช ซึ่งการวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัย เชิงประวัติศาสตร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา เอกลักษณ์ ระเบียบแบบแผน ประเพณี และไม้มวยไทยสายโคราช กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยกลุ่มผู้รู้ กลุ่มครูมวย กลุ่มผเู้ คยพบเหน็ และเคยฝกึ มวยไทยสายโคราชมากอ่ นเคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวัยเปน็ แบบสัมภาษณ์แบบ ไม่มโี ครงสร้าง และการสงั เกตแบบมีสว่ นร่วมโดยใชว้ ธิ ีการศกึ ษาภาคสนาม ผลการศกึ ษาพบว่า ในด้านประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายโคราช มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยอยุธยา จนถึงสมยั รตั นโกสินทร์ เพราะชาวไทยมีการฝึกการต่อสู้ด้วยอาวุธส้ันประกอบกับศิลปะมวยไทย โดย มีเป้าหมายในการปกป้องประเทศชาติ อีกทั้งโคราชเป็นเมืองหน้าด่านช้ันเอกท่ีต้องการทาการรบกับ ผรู้ กุ รานอยเู่ สมอ จงึ ทาให้ชาวโคราชมคี วามเป็นนักส้โู ดยสายเลือดมาหลายชัว่ อายคุ น เม่ือบ้านเมืองสงบ มวยไทยจึงพัฒนามาเป็นศิลปวัฒนธรรมทางการต่อสู้ป้องกันตัว ประจา ชาติไทย สมัยรัชกาลที่ 5 เป็นห้วงเวลาท่ีมวยคาดเชือกรุ่งเรือง มีการจัดแข่งขันมวยคาดเชือกหน้า

29 พระท่ีน่ังพลับพลาทรงธรรม สวนมิสกวัน ในงานศพของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัช สมโภช ในวันท่ี 18 - 21 มีนาคม ร.ศ. 128 (พ.ศ.2452) โดยให้หัวเมืองทั่วประเทศคัดเลือกนักมวย ฝีมือดีเข้าแข่งขัน นักมวยฝีมือดีชนะคู่ต่อสู้หลายคนจนเป็นที่พอพระราชหฤทัย ทร งโปรดฯ พระราชทานยศและบรรดาศักด์ิให้กับนักมวยจากมณฑลนครราชสีมาเมืองโคราชเป็นหมื่นชงัดเชิงชก นอกน้ียังมีนักมวยจากโคราชอีกหลายคนท่ีมีฝีมือดีท่ีเดินทางเข้าฝึกซ้อมมวยจากโคราช อีกหลายคน ท่มี ีฝีมอื ดที ่ีเดนิ ทางเข้าไปฝกึ ซอ้ มมวยกับกรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ด์ิ ณ วงั เปรมประชากร ในดา้ นเอกลกั ษณข์ องมวยไทยสายโคราชนั้น พบว่า สวมกางเกงขาส้ันไม่สวมเสื้อสวมมงคลท่ี ศีรษะขณะชก และที่พิเศษที่แตกต่างไปจากมวยภาคอื่น ๆ คือ การพันหมัดแบบคาดเชือกต้ังแต่หมัด ข้ึนไปจรดข้อศอก เพราะทางมวยไทยโคราชเป็นมวยต่อย เตะวงกว้าง และใช้หมัดเหวี่ยงควาย การพันเชือกเช่นน้ีเพ่ือใช้ป้องกันเตะ ต่อยได้ดี เบื้องต้นฝึกจากครูมวยในเมืองซึ่งส่วนมากจะเป็นเจ้า เมือง ฝึกตามข้นั ตอนฝกึ โดยใชธ้ รรมชาติ เม่ือเกิดความคล่องแคล่วแล้วทาพิธียกครู แล้วให้ย่างสามขุม และฝึกท่าอยู่กับที่ 5 ท่าทาเคล่ือนที่ 5 ท่าทาเคลื่อนท่ี 5 ฝึกลูกไม้แก่ทางมวย 11 ท่า ฝึกท่าแม่ไม้ สาคัญ ประกอบด้วย ท่าแม่ไม้ครู 5 ท่า และท่าแม่ไม้สาคัญโบราณ 21 ท่า แล้วก็มีโคลงมวยเป็น คติสอนนักมวยด้วย พร้อมท้ังคาแนะนาเตอื นสติไม่ให้เกรงกลวั ค่ตู อ่ สู้ วธิ จี ัดการชกมวยนยิ มจัดชกในงานศพที่ลานวัด การเปรียบมวยให้ทหารตีฆ้องไปตามหมู่บ้าน แล้วร้องบอกให้ทราบไปท่ัวกัน เม่ือเปรียบได้แล้วให้นักมวยชกประลองฝีมือกันก่อนหากว่าฝีมือ ทัดเทียมกันก็ให้ชก แล้วนัดวันมาชก ในการเปรียบมวยไม่มีกฎกติกาท่ีแน่นอน หากพอใจก็ชกกันได้ รางวัลการแข่งขันเป็นส่ิงของเงินทอง หากเป็นการชกหน้าพระที่น่ังรางวัลท่ีได้รับก็จะเป็นหัวเสือและ สรอ้ ยเงิน ผู้วจิ ยั แบ่งยุคของมวยไทยสายโคราชอออกเป็น 4 ยคุ ดงั น้ี 1. มวยไทยโคราชยุคเริ่มตน้ (สมัยรชั กาลที่ 1 – รชั กาลท่ี 4 ) คุณหญิงโม นาชาวเมืองโคราช เข้าตอ่ สู้กับทหารของเจา้ อนุวงศ์ จนไดร้ ับชยั ชยนะท่ีทุง่ สมั ฤทธ์ิ 2. มวยไทยโคราชยุคร่งุ เรอื ง (รัชกาลท่ี 5–รัชกาลท่ี 6) เป็นยุคที่มวยไทยโคราชและมวยไทย ภาคอน่ื ๆ ซึ่งชกกันในแบบคาดเชือกรุ่งเรืองสูงสุด 3. มวยไทยสายโคราชยคุ เรม่ิ ตน้ สวมนวม (รชั กาลท่ี 6- รัชกาลท่ี 8) มีการนาเอานวมสวมชก แทนการคาดเชือก มนี กั มวยจากโคราชเดินทางไปชกในกรุงเทพฯ หลายคน มีการสอนมวยไทยสาย โคราชในโรงเรียนนายร้อย จปร. 4. มวยไทยสายโคราชยุคฟ้ืนฟูอนุรักษ์ (รัชกาล ท่ี 9 – ปัจจุบัน) ไม่มีการฝึกหัดมวยไทยสาย โคราชแบบคาดเชือกในเขตพ้ืนท่ีนครราชสีมา แต่เป็นยุคท่ีมีเวทีจัดการแข่งขันมวยไทยอยู่ทุกคนทุก แห่งโดยท่ัวไป มีกฎกติกาการแข่งขันที่ใช้กติกาของสมาคมมวยไทย ใช้พระราชบัญญัติกีฬามวยทั่ว ประเทศ การฝึกซ้อมมวยและการจัดการแข่งขันเน้นไปในทางธุรกิจเป็นสาคัญ มากกว่าที่จะเน้นใน ดา้ นศลิ ปะแม่ไม้มวยไทย แตย่ ังมีลูกศษิ ย์ครูบัว นิลอาชา (วดั อมิ่ ) คอื พนั เอกอานาจ พุกศรีสุข ทาการ ถ่ายทอดศิลปะมวยไทยสายโคราชให้กับผู้ท่ีสนใจทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เพ่ือฟื้นฟูอนุรักษ์ และสืบทอด อยู่ท่ีสถาบันสยามยุทธ์ กรุงเทพฯ และนายเช้า วาทโยธา ลูกศิษย์ของ พันเอกอานาจ พกุ ศรสี ขุ ทาการฝึกหดั ให้กับผ้ทู ส่ี นใจอยู่ทโ่ี รงเรียนบ้านไผ่ อาเภอบ้านไผ่ จังหวดั ขอนแก่น ทกุ วนั จตั ุชัย จาปาหอม ได้ทาการศึกษาการพฒั นากฬี ามวยไทยไชยา (2550) ซง่ึ การวิจัยครง้ั นี้

30 มีวัตถุประสงค์เพื่อศกึ ษาประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายไชยา เอกลักษณ์ของมวยไทยสายไชยา ระเบียบแบบแผนและประเพณีของมวยไทยสายไชยา และกระบวนท่าของกีฬามวยไทยสายไชยา กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย กลุ่มผู้รู้ และกลุ่มครูมวยและนักมวยไทยสายไชยา เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย เป็นแบบสมั ภาษณ์เชิงลกึ และการสังเกต ผลการศึกษาพบวา่ 1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของมวยไทยสายไชยา พบวา่ มวยไทยสายไชยาจากอดีตถงึ ปจั จบุ ัน สามารถแบง่ ออกเปน็ 4 ยุค คือ 1.1 ยคุ แรก กาเนดิ ข้ึนจากพ่อทา่ นมาหรือหลวงพ่อมา อดีตนายทหารจากพระนคร รัชกาลท่ี 3 ฝกึ มวยใหก้ บั ชาวเมืองไชยา และพระยาวจีสัตยารกั ษ์เป็นปฐมศษิ ย์ 1.2 ยุคเฟื่องฟู ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงโปรดฯ ให้มีการชกมวยหน้าพระท่ีน่ังในงานพระเมรุ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อรุ ุพงศร์ ัชสมโภช จากนัน้ ได้พระราชทานบรรดาศกั ดแ์ิ ก่นักมวยจากเมืองไชยา คือ นายปรง จานงทอง เปน็ หม่ืนมวยมชี ื่อ ตาแหนง่ กรมการพิเศษเมืองไชยา ถือศักดินา 300 และผู้อยู่เบ้ืองหลังมวยไทยไชยา คอื พระยาวจีสตั ยารกั ษ์ และคุณช่นื ศรยี าภยั 1.3 ยุคเปลี่ยนแปลง ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 นักมวย คาดเชือกชื่อ นายแพ เล้ียงประเสริฐ ชกกับนายเจียร์ พระตะบอง ถึงแก่ความตาย รัฐบาล จึงประกาศให้มีการสวมนวมแทนการคาดเชือก ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ได้ร้ือเวทีมวย และพระโครูโสภณเจตสิการาม (เอี่ยม) เจ้าอาวาส วัดพระบรมธาตุไชยามรณภาพลง มวยไทยสายไชยาจงึ ส้นิ สุดลงด้วย 1.4 ยุคอนุรักษ์ หลังจากส้ินสุดสมัยพระครูโสภณ เจตสิการาม (เอี่ยม) มวยไทยสายไชยา เร่ิมเลอื นหายไปจากความทรงจาของชาวไชยา อยา่ งไรก็ตามยังมีผู้ที่เคยเรียนมวยไทยไชยาแล้วนามา สืบทอดต่ออีกหลายท่าน เช่น ปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ปรมาจารย์เจือ จักษุรักษ์ นายวัลลภิศร์ สดประเสริฐ นายทองหล่อ ยาและ นายอมรกฤต ประมวญ นายกฤดากร สดประเสริฐ นายอเล็ก ซุย และพนั เอกอานาจ พุกศรสี ขุ เปน็ ตน้ 2. เอกลักษณ์ของกีฬามวยไทยสายไชยา พบว่ามีท้ังหมด 6 ด้าน คือ การต้ังท่ามวยหรือ การจดมวย ท่าครูหรือท่าย่างสามขุม การร่ายราไหว้ครู การพันหมัดแบบคาดเชือก การแต่งกายและ การฝึกซ้อมมวยไทยสายไชยา 3. ระเบียบแบบแผนและประเพณีของกีฬามวยไทย พบว่ามีท้ังหมด 3 ประการ คือ การมอบตัว เปน็ ศษิ ย์ เครือ่ งรางและของขลัง และระเบยี บการแขง่ ขนั กฬี ามวยไทยสายไชยา และ 4. กระบวนท่าของกฬี ามวยไทยสายไชยา พบว่า มีท้ังหมด 5 ชุด คือ แม่ไม้มวยไทยสายไชยา ท่าบรหิ ารกายเพ่อื พาหยุ ทุ ธ์ ทา่ มวยไทยสายไชยาและลูกไมม้ วยไทยสายไชยา

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ดาเนินการวิจัย โดยใช้วิธีการวิจัย ได้แก่ 1) การวิจัยเอกสาร (documentary analysis) 2) การวิจยั ภาคสนาม (field research) ด้วยการวิจัยเอกสาร (documentary analysis) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth Interview) และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (participant observation) และ 3) การสนทนากลุ่ม (focus group discussion) ซึ่งมีข้ันตอนในการวิจัยตาม วัตถปุ ระสงค์ในการวิจัยดงั นี้ ขน้ั ตอนที่ 1 ศกึ ษาการจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย เพื่อสืบค้นองค์ความรูม้ วยไทย 5 สาย โดยใช้การวจิ ยั เอกสารทีเ่ กีย่ วกบั มวยไทย 5 สาย ข้นั ตอนท่ี 2 วิเคราะห์การจดั ความรู้มวยไทย 5 สาย โดยดาเนนิ การวิจัยภาคสนามในชุมชนท่ี เป็นกรณศี ึกษา 5 แหง่ ด้วยวธิ ีการ 1) วจิ ยั เอกสาร 2) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ 3) การสังเกต แบบมีส่วนรว่ ม ข้ันตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะแนวทางการจัดความรู้มวยไทย 5 สาย โดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ (Focus Group) เป็นกลุ่มนักวิชาการด้านมวยไทย ด้านการจัดการความรู้ และด้าน การจัดการความร้มู วยไทย 5 สาย รายละเอียดการดาเนินการในแต่ละข้ันตอนดังนี้ ขั้นตอนท่ี 1 ศึกษาการจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย เพอ่ื สบื คน้ องค์ความรู้มวยไทย 5 สาย วิจัยศึกษาการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย เพ่ือสืบค้นองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย โดย เลือกชมุ ชนทเี่ ปน็ รากเหงา้ และตน้ กาเนดิ มวยไทย 5 สาย มกี ารจัดการองค์ความรู้มวยไทย 5 สายบน ฐานภมู ปิ ญั ญาของคนในชุมชน และนาผลการศึกษาของแต่ละชุมชนมาเช่ือมโยงกับการนาเสนอวิจัย แนวทางการจัดการความรู้เพ่ือสืบค้นองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย ในการวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยจึงกาหนด ชุมชนทเ่ี ป็นกลมุ่ ตวั อย่างท่ใี ช้ศกึ ษา 5 ชุมชน ได้แก่ 1. ภาคใต้ วดั ทงุ่ จับชา้ ง ตาบลพุมเรยี ง อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี 2. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ โรงเรียนโคราชพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา 3. ภาคกลาง วดั เขาสมอคอน อาเภอเมือง จังหวดั ลพบุรี 4. ภาคเหนือ โรงเรียนอนบุ าลอุตรดติ ถ์ อาเภอเมือง จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ 5. กรุงเทพมหานคร สถาบนั การพลศึกษา 1. แหล่งขอ้ มลู และเอกสารที่ศึกษา แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยเอกสารมาจากแหล่งข้อมูลในหน่วยงาน /ชุมชน ใน การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย เพื่อสืบค้นองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย รวมถึงหน่ายงานที่มี การดาเนินการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ได้แก่ สถาบันอนุรักษ์ศิลปะมวยไทย กรมพลศึกษา วิทยาลยั มวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง

36 โดยผู้วิจัยศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวข้อง เช่น ตารา เอกสาร วารสาร บทความ งานวิจัย พงศาวดารและเอกสารต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับมวยไทย 5 สาย 2. ประเดน็ ท่ีศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยกาหนดประเด็นท่ีศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล โดยการศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย เพื่อสืบค้นองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย โดยกาหนด ประเด็นที่ศึกษา ได้แก่ 2.1 ข้อมลู เบื้องต้นประกอบดว้ ย 1) รากเหงา้ และตน้ กาเนดิ มวยไทย 5 สาย 2) ธรรมชาติมวยไทย 5 สาย 3) ทักษะมวยไทย 5 สาย 2.2 การจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย ประกอบด้วย 1) หน่วยงาน/ชมุ ชน ในการจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย 2) การดาเนนิ การจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย เพ่ือสร้างคุณค่าและความสาคัญ การสรา้ งความรู้ การเก็บรวบรวมความรู้ การถา่ ยโอนความรูแ้ ละใชค้ วามรู้ 2.3 การสืบคน้ มวยไทย 5 สาย ด้วยการจดั การความรู้ 3. การวเิ คราะห์ และนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูล นาข้อมูลมาวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) ตามประเดน็ ทีก่ าหนดไว้ แล้วจงึ นามาสร้างข้อสรปุ จากการวิเคราะห์แบบอุปนัย และการเปรียบเทียบข้อมูล เพ่ือสรุปเป็นผลการวิเคราะห์เอกสารและนาเสนอข้อมูลในรูปแบบความ เรียงตามสาย และสังเคราะห์ภาพรวมของการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย เพื่อสืบค้นองค์ความรู้ มวยไทย 5 สาย ขน้ั ตอนที่ 2 วเิ คราะห์การจัดการความรู้ เพอ่ื สบื ค้นองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย ในขั้นตอนนี้ใช้วิธีการวิจัยภาคสนามในพื้นท่ีที่เป็นกรณีศึกษา จานวน 5 แห่ง จากการศึกษา มวยไทย 5 สาย เก่ียวกับรากเหง้าและต้นกาเนิดมวยไทย 5 สาย ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (2555 : 37) ได้กล่าวว่า “นับแต่โบราณกาลมวยไทย ได้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเน่ืองตลอดจนผสมผสาน เขา้ กับวฒั นธรรมพื้นถ่ินจนเกิดเป็นสายมวยโบราณ ตามภูมิภาคของไทย ดังกล่าวที่ว่า “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา ไวกว่าท่าเสา” เชาว์ปัญญาพลศึกษา ล้วนแสดงให้เห็นถึงความโดดเด่นของมวยไทยจากสานักหรือสายต่าง ๆ” ผู้วิจัยจึงกาหนดกรณีศึกษา ท่ีเป็นชุมชน จานวน 5 กรณีศึกษา โดยจาแนกตามภูมิภาคของประเทศ ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เพ่ือให้ผลการศึกษาครอบคลุมองค์ความรู้มวยไทย 5 สาย โดยการดาเนินการวิจัยภาคสนามด้วยวิธีการ 1) วิจัยเอกสารของกรณีศึกษา 2) การสัมภาษณ์แบบ เจาะลึก และ 3) การสงั เกตแบบมีสว่ นรว่ ม โดยดาเนนิ การดังน้ี 1) กำรคดั เลือกชมุ ชนท่ใี ช้เปน็ กรณีศกึ ษำ ในการดาเนนิ การวิจัยภาคสนาม ในชุมชนทเ่ี ปน็ กรณีศึกษาขององค์ความรูม้ วยไทย 5 สาย มขี ั้นตอนในการคดั เลือกกรณีศึกษา ดังน้ี

37 1.1 ผูว้ จิ ัยยกรา่ งเกณฑ์เพื่อใชใ้ นการคัดเลือกกรณีศกึ ษาใหผ้ ้ทู รงคุณวุฒิด้านการจดั การ ความรมู้ วยไทย 5 สาย ตรวจสอบเกณฑ์ 1.2 ผู้วิจัยนาเสนอความเป็นมา วัตถุประสงค์ การดาเนินการวิจัยและเกณฑ์การคัดเลือก กรณีศึกษาแกผ่ ู้ทรงวฒุ ิดา้ นการจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย ได้แก่ 1) นักวิชาการด้านมวยไทย 1.1) รองศาสตราจารย์ระดม ณ บางช้าง 1.2) รองศาสตราจารย์ไพบลู ย์ ศรชี ัยสวสั ด์ิ 2) นกั วิชาการด้านการจัดการความรู้ 2.1) นายราเชลล์ ไดผ้ ลธัญญา 2.2) นายเดช ใจกลา้ 3) นักวิชาการการจดั การความรมู้ วยไทย 5 สาย ดงั น้ี มวยไทยสายไชยา 3.1) ครกู ฤดากร สดประเสรฐิ 3.2) ครูจัตุชัย จาปาหอม 3.3) ครภู ูวศกั ด์ิ สุขศริ อิ ารี มวยไทยสายโคราช 3.4) ครปู ระนอม อมั พนิ ย์ 3.5) พ.อ.อานาจ พุกศรีสุข 3.6) ครูเช้า วาทโยธา มวยไทยสายลพบรุ ี 3.7) ครสู มนกึ ไตรสทุ ธิ 3.8) ครูประดษิ ฐ์ เล็กคง 3.9) ครชู นทัต มงคลศลิ ป์ มวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ัย 3.10) ครวู นิ ยั จาปาออ่ น 3.11) ครูอดิศร ไกรว่อง 3.12) ครปู ระกาศ เพียสามารถ มวยไทยสายพลศกึ ษา 3.13) ครูนบน้อม อา่ วสุคนธ์ 3.14) ผู้ชว่ ยศาสตราจาย์สมบูรณ์ ตะปินา 3.15) ครจู รัสเดช อลุ ิต 1.3 ผ้ทู รงคุณวุฒพิ จิ ารณาตรวจสอบ ปรับปรุง แกไ้ ขเกณฑก์ ารคัดเลอื กกรณีศกึ ษา 1.4 พจิ ารณาหาความสอดคล้องของการตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข เกณฑ์การ คดั เลอื กกรณีศกึ ษาของผู้ทรงคุณวฒุ ิ โดยยึดหลักหากผทู้ รงคณุ วุฒิ มคี วามเห็นพอ้ งตอ้ งกนั 3 ใน 5 ไดเ้ กณฑ์เพอ่ื คดั เลือกกรณศี ึกษาดงั นี้

38 เกณฑ์ เนื้อหำ เกณฑ์กำรคดั เลือกกรณศี ึกษำด้ำนกำรจดั กำรควำมรมู้ วยไทย 5 สำย 1 ผูว้ ิจัย เปน็ ชุมชนที่มโี ครงการและกจิ กรรมเก่ียวกับ มวยไทย 5 สาย ผทู้ รงคุณวุฒิ เปน็ ชมุ ชนทมี่ โี ครงการและกจิ กรรมเกยี่ วกับ การจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย 2 ผวู้ ิจัย เปน็ ชมุ ชนทม่ี เี นอื้ หาสาระและการดาเนนิ โครงการ และกิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ผู้ทรงคณุ วุฒิ มวยไทย 5 สาย เป็นชมุ ชนทม่ี อี งค์ความรู้ มีการดาเนนิ โครงการและกจิ กรรม เกยี่ วกบั มวย ไทย 5 สาย 3 ผวู้ จิ ยั เปน็ ชุมชนทเี่ ป็นต้นแบบเกยี่ วกับมวยไทย 5 สาย ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ เปน็ ชุมชนทีม่ ีรากเหงา้ และตน้ กาเนิดของมวยไทย 5 สาย 4 ผู้วิจยั เปน็ ชมุ ชนทไ่ี ดร้ บั รางวัลเก่ียวกบั มวยไทย 5 สาย ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ เปน็ ชมุ ชนทอ่ี นุรักษ์ ส่งเสริมมวยไทย 5 สาย 5 ผู้วิจัย เปน็ ชุมชนที่เป็นแหลง่ เรียนรเู้ กีย่ วกับมวยไทย 5 สาย ผทู้ รงคุณวุฒิ เปน็ ชุมชนท่มี ผี ู้รู้ ผ้ทู รงภมู ปิ ัญญา ทส่ี ามารถถา่ ยทอดวธิ คี ิด วธิ ปี ฏบิ ัตแิ ละ วิธใี หค้ ณุ คา่ เก่ียวกบั มวยไทย 5 สาย 1.5 ผวู้ ิจยั ดาเนนิ การคดั เลอื กกรณีศึกษา ด้านการจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย ใน ภาค ๆ ละ 1 ชุมชนเพ่ือนาเสนอผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 5 ท่าน เพื่อพิจารณาคัดเลือกชุมชนท่ีเป็นตัวแทน กรณีศึกษาท่ีดีตามเกณฑ์ท่ีกาหนด โดยใช้ในการคัดเลือกชุมชนตามความเห็นพ้องต้องกันของ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ใน 5 พิจารณาคัดเลือก ซึ่งผลการคัดเลือกได้ชุมชนที่ใช้ในการกรณีศึกษา 5 ชมุ ชน ไดแ้ ก่ 1. ภาคใต้ วัดทุ่งจับชา้ ง ตาบลพมุ เรยี ง อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธ์ านี 2. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ โรงเรยี นโคราชพิทยาคม อาเภอเมือง จงั หวัดนครราชสีมา 3. ภาคกลาง วัดเขาสมอคอน อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 4. ภาคเหนือ โรงเรยี นอนบุ าลอุตรดิตถ์ อาเภอเมือง จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 5. กรงุ เทพมหานคร สถาบนั การพลศึกษา 2. กำรดำเนนิ กำรวิจัยภำคสนำม เพื่อวิเคราะห์การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ผู้วิจัยได้เตรียมตัวลงภาคสนาม ดาเนินการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในชุมชนท่ีเป็น กรณีศึกษา จากแหล่งขอ้ มูลและกลมุ่ ผใู้ หข้ ้อมลู ซง่ึ มรี ายละเอยี ดในการดาเนินการ ดังนี้ 2.1 การเตรียมตวั ลงภาคสนาม 2.1.1 ผ้วู จิ ยั ศกึ ษาเรื่องขอ้ มลู เบอ้ื งต้นของชุมชน และของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในพ้นื ที่ เพื่อกาหนดในกลมุ่ ผใู้ หข้ ้อมูล หนว่ ยงานท่ีมีบทบาทในการจัดการความรูม้ วยไทย 5 สาย ช่วงเวลาท่ี เหมาะสมในการลงศึกษาภาคสนาม

39 2.1.2 ผู้วิจัยสร้างความคุ้นเคยกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล นัดหมายการเข้าศึกษาพ้ืนที่โดย ประสานงานทางโทรศัพท์ เพ่อื กาหนดกลมุ่ ผู้ให้ข้อมูลและนดั หมายการเข้าเยี่ยมชมการดาเนินงานของ ชมุ ชนการสมั ภาษณ์ การสังเกต การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรมู้ วยไทย 5 สาย เพอ่ื สบื คน้ องค์ความรู้ รากเหงา้ และต้นกาเนิดมวยไทย 5 สาย 2.2 การวจิ ยั เอกสาร 2.2.1 แหล่งข้อมลู หลังจากไดผ้ ลการคัดเลอื กชมุ ชนกรณีศึกษาทงั้ 5 แหง่ แลว้ ผวู้ จิ ัยดาเนินการวจิ ัย เอกสารจากแหลง่ ข้อมลู ในพ้ืนทไี่ ดแ้ ก่ 1) ภาคเหนือ ชุมชนโรงเรียนอนบุ าลอุตรดติ ถ์ อาเภอเมือง จังหวดั อุตรดติ ถ์ 2) ภาคใต้ วัดทุ่งจับชา้ ง ตาบลภุมเรยี ง อาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี 3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โรงเรียนโคราชพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสมี า 4) ภาคกลาง วดั เขาสมอคอน อาเภอเมือง จังหวดั ลพบรุ ี 5) กรงุ เทพมหานคร สถาบนั การพลศึกษา 2.2.2 ประเด็นทศี่ ึกษาและการวิเคราะหข์ ้อมูล ผูว้ ิจยั กาหนดประเดน็ ทศี่ กึ ษาภาคสนาม ให้มคี วามครอบคลุมและสอดคล้องกันใน การดาเนินการวิจัยในภาคสนาม คือ การวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์ และการสังเกต โดยประเด็น หลักทใ่ี ช้ในการศึกษา ไดแ้ ก่ 1) ข้อมลู เบือ้ งต้นและบรบิ ทของชมุ ชน ได้แก่ ภาพรวมของชมุ ชนและข้อมูล เกีย่ วกบั การจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย 2) องค์ความรใู้ นการจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย 3) การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ได้แก่ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้มวยไทย 5 สาย กระบวนการจัดการความรู้และปัจจัยท่ีส่งเสริมการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร สื่อส่ิงพิมพ์ วีดีทัศน์ต่าง ๆ บทความเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย และสัมภาษณ์ผู้เก่ียวข้องในการดาเนินการจัดการ ความรู้มวยไทย 5 สาย รวมท้ังสังเกตการดาเนินงานในกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้มวยไทย 5 สาย ของชุมชนที่เลือกเป็นกรณีศึกษา 5 แห่ง เพ่ือดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย การวิเคราะหเ์ น้ือหา (content analysis) 2.3 การสมั ภาษณแ์ ละการสังเกต ผู้วิจัยกาหนดประเด็นในการศึกษาตามประเด็นหลักในการวิจัยภาคสนาม เพื่อสร้าง เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู และกาหนดกล่มุ ผ้ใู ห้ขอ้ มูล ดงั นี้ 2.3.1 เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการเก็บข้อมูลในพน้ื ท่ีกรณีศกึ ษาครง้ั นไ้ี ด้แก่ แบบสัมภาษณ์และ แบบสังเกต 1) แบบสมั ภาษณ์ เป็นแบบสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสร้างโดยสมั ภาษณผ์ ้รู ู้

40 ผทู้ รงภมู ปิ ญั ญาในชมุ ชนพ้ืนที่เปน็ กรณศี ึกษา 2) แบบสังเกต กาหนดประเดน็ ในการสงั เกตแบบมีส่วนร่วมตามท่ี Lofland (1971 อา้ งถึงใน สภุ างค์ จนั ทวานิช. 2545 : 50 - 52) กาหนดรอบในการสงั เกต โดยแบ่งประเภท ปรากฏการณ์ทางสงั คมออกเปน็ 6 ประเภท ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 2.1) การกระทา (acts) คือ เหตุการณ์หรอื สถานการณ์หรือพฤติกรรมที่ เกดิ ข้ึน ในชว่ งเวลาใดเวลาหนึ่ง ซ่งึ เปน็ วิถีชวี ิต 2.2) แบบแผนการกระทา (activities) คือ การกระทาหรือพฤตกิ รรมที่ เปน็ กระบวนการมีข้ันตอนและลกั ษณะต่อเนื่องจนเป็นแบบแผนเพือ่ ชี้ใหเ้ หน็ ถงึ สถานภาพ บทบาท หน้าท่ีของสมาชกิ ของชมุ ชน 2.3) ความหมาย (meanings) คือ การให้ความหมายแก่การกระทาหรือ แบบแผนพฤติกรรมเป็นการที่บคุ คลมองตัวเองในสังคมและวฒั นธรรมนั้น 2.4) ความสัมพนั ธ์ (relationships) คอื ความเกีย่ วโยงระหวา่ งบคุ คล หลาย ๆ คน ในสังคมผา่ นการวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลในสังคม 2.5) การมสี ่วนร่วมกจิ กรรมในชมุ ชน (participation) คอื การท่บี คุ คล ยอมให้ความรว่ มมือและยอมเปน็ สว่ นประกอบของโครงสร้างของสงั คมในส่วนทเี่ ก่ยี วกับกิจกรรม น้นั ๆ 2.6) สภาพสังคม (setting) คือ ภาพรวมทุกแง่ทุกมุมที่สามารถประเมินได้ จากการศึกษาชุมชนในแง่มุมต่าง ๆ ให้ครอบคลุมผ่านกิจกรรม สถานท่ี ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล วัฒนธรรม ความเช่ือ วถิ ีชีวิต การทามาหากิน การควบคุมพฤตกิ รรมของสมาชกิ เปน็ ต้น โดยผู้วิจัยเข้าเยี่ยมชุมชน ร่วมกิจกรรมมวยไทย 5 สาย เพ่ือสังเกตพฤติกรรมของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในชุมชนที่ใช้เป็นกรณีศึกษา ท้ัง 6 ประเด็นหลัก ซึ่งในการวิจัยภาคสนามครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ สัมภาษณ์ผู้รู้ ผู้ทรงภูมิปัญญาในชุมชน และสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ในกรณีศึกษา ทงั้ 5 แห่ง ดงั นี้ กรณีศึกษาที่ 1 ภาคใต้ วัดทุ่งจับช้าง ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผวู้ จิ ัยไดด้ าเนินการวิจยั ภาคสนามในพืน้ ทวี่ จิ ยั ระหวา่ งวันที่ 26 – 30 พฤศจกิ ายน 2555 1.1. ผูใ้ ห้ขอ้ มลู 1.1.1 พระปรชั ญา ปรสิ ุทโธ 1.1.2 นายณรงค์ เสมียนเพชร 1.1.3 นายชมุ สาย ศรียาภยั 1.1.4 นายถาวร จานงทอง 1.1.5 นายศักดริ์ ยิ า วสั แล๊ะ 1.2. การสังเกตแบบมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมของชุมชน เพ่ือนาข้อมูลที่ได้ ไปใช้ในการ สรุปผลการศกึ ษาการจดั การความร้มู วยไทยสายไชยา ไดแ้ ก่ 1.2.1. รว่ มกิจกรรม “การอนรุ ักษ์มวยไทยสายไชยา ณ วัดท่งุ จับชา้ ง ตาบล พุมเรยี ง อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

41 1.2.2. เย่ียมชมสถูปและรูปเหมือนพ่อท่านมา รวมทั้งสักการะสถูปเจ้าเมืองไชยา (ศรยี าภัยอนสุ รณ์) เสาหลักเมอื งไชยา (เสาประโคนชัย) ณ บ้านสงขลาอาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี 1.2.3. ร่วมกิจกรรม “ฟังการบรรยายเกย่ี วกับประวตั คิ วามเป็นมาของมวยไทย สายไชยา” ณ ศูนย์วัฒนธรรมท้องถ่นิ อาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี 1.2.4. ร่วมกิจกรรม “ฟังการเสวนาเรื่องประวัติความเป็นมาของ หม่ืนมวย มีชื่อ นายปรง จานงทอง โดยนายถาวร จานงทอง ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง อาเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี กรณีศึกษาที่ 2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โรงเรียนโคราชพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา ผู้วิจัยได้ดาเนนิ การวิจัยภาคสนามในพืน้ ท่ีวจิ ัย ระหว่างวนั ที่ 17 ธนั วาคม 2555 2.1. ผใู้ ห้ข้อมูล 2.1.1 ครปู ระนอม อัมพินย์ 2.1.2 นายลัดทา ชนะภยั 2.1.3. นายศรณ์ สขุ พมิ าย 2.1.4. นางพฒั นา บุญวงศ์ 2.2. การสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนเพ่ือนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการสรุปผล การศกึ ษาการจดั การความรมู้ วยไทยสายโคราช ได้แก่ 2.2.1. ฟงั การบรรยาย “ประวตั คิ วามเป็นมาของมวยไทยสายโคราช” ณ ศูนย์ “อนุรกั ษศ์ ลิ ปะมวยไทยโรงเรยี นโคราชพทิ ยาคม” ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จงั หวดั นครราชสีมา 2.2.2. ร่วมกิจกรรม “การอนุรักษ์มวยไทยสายโคราช” ณ โรงเรยี นโคราชพิทยาคม ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวัดนครราชสมี า 2.2.3. สกั การอนุสาวรียค์ รมู วยไทยสายโคราช สุข ปราสาทหินพิมาย (ยักษ์ผโี ขมด) ตาบลพมิ าย อาเภอพมิ าย จังหวดั นครราชสมี า กรณีศึกษาท่ี 3 ภาคกลาง วัดเขาสมอคอน ตาบลเขาสมอคอน อาเภอทา่ วงุ้ จงั หวัดลพบรุ ี ผวู้ ิจัยไดด้ าเนินการวจิ ัยภาคสนามในพืน้ ที่วจิ ยั ระหวา่ งวนั ที่ 10 – 14 มีนาคม 2556 3.1. ผใู้ หข้ อ้ มูล 3.1.1 ครูประดษิ ฐ์ เลก็ คง 3.1.2. ครสู มนึก ไตรสทุ ธิ 3.1.3 ครูชนทัต มงคลศลิ ป์ 3.2. การสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของชุมชนเพอื่ นาขอ้ มูลทไ่ี ด้ไปใช้ในการสรุปผล การศึกษาการจดั การความรู้มวยไทยสายลพบุรี ไดแ้ ก่ 3.2.1. ร่วมกิจกรรม “การอนุรกั ษม์ วยไทยสายลพบรุ ี” ณ 3.2.2. เยี่ยมชมวัดเขาสมอคอนและสักการะรูปปั้นสุกะทันตะฤๅษี ณ วัดเขาสมอคอน ตาบลเขาสมอคอน อาเภอทา่ ว้งุ จงั หวัดลพบรุ ี 3. ฟังการบรรยายเก่ียวกับ “ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายลพบุรี” ณ บ้านครู ประดษิ ฐ์ เล็กคง ครูมวยไทยสายลพบรุ ี

42 กรณีศึกษาท่ี 4 ภาคเหนือ โรงเรียนอนุบาลอุตรดิตถ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด อุตรดิตถ์ ผู้วิจัยได้ดาเนินการวจิ ยั ภาคสนามในพ้ืนทวี่ ิจยั ระหวา่ งวันที่ 4 – 8 มนี าคม 2556 4.1. ผใู้ หข้ ้อมูล 4.1.1 ครูประกาศ เพียสามารถ 4.1.2. นายฉลาด เลี้ยงประเสรฐิ 4.1.3 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนิ ยั จาปาอ่อน 4.2. การสังเกตแบบมีส่วนรว่ มในกิจกรรมของชมุ ชนเพื่อนาข้อมูลท่ไี ด้ไปใช้ในการสรุปผล การศกึ ษาการจดั การความรูม้ วยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ัย ไดแ้ ก่ 4.2.1. เยี่ยมชม “การอนุรักษ์มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั ” ณ โรงเรียน อนบุ าลอตุ รดิตถ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวดั อตุ รดิตถ์ 4.2.2 รับฟังการบรรยาย “ประวัติความเป็นมาของครูแพ เล้ียงประเสริฐ และ ครูฉลอง เลี้ยงประเสรฐิ ” ครมู วยไทยสายท่าเสา ณ บา้ นนางสาวเฉลา เลยี้ งประเสรฐิ 4.2.3. เย่ียมชมและสักการะศาลเจ้าพอ่ พระยาพชิ ยั ดาบหกั ณ ตาบลพชิ ยั อาเภอพิชัย จังหวัดอตุ รดิตถ์ กรณศี ึกษาท่ี 5 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ สถาบนั การพลศกึ ษาวิทยาเขตศรสี ะเกษ อาเภอเมือง จงั หวดั ศรสี ะเกษ ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการวิจัยภาคสนามในพืน้ ท่ีวจิ ยั ระหวา่ งวันท่ี 4 – 8 กมุ ภาพันธ์ 2556 5.1. ผใู้ ห้ข้อมลู 5.1.1 ครนู บน้อม อ่าวสุคนธ์ 5.1.2. ผศ.สมบรู ณ์ ตะปนิ า 5.1.3. ครจู รัสเดช อุลิต 5.2. การสงั เกตแบบมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมของชุมชนเพื่อนาข้อมลู ท่ีได้ไปใชใ้ นการสรุปผล การศกึ ษาการจดั การความรูม้ วยไทยสายพลศึกษา ได้แก่ 1) เยย่ี มชม “การอนรุ ักษม์ วยไทยสายพลศึกษา” ณ สถาบนั การพลศึกษาวทิ ยาเขต ศรี สะเกษ อาเภอเมอื ง จงั หวัดศรี สะเกษ 2) สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ “ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายพลศกึ ษา” ณ สถาบันการพลศกึ ษาวิทยาเขตศีรสะเกษ อาเภอเมอื ง จังหวัดศีรสะเกษ 3) เยี่ยมชมพิพิธภณั ฑม์ วยไทย สถาบนั อนรุ ักษ์ศลิ ปะมวยไทย ณ สถาบนั อนรุ ักษ์ศิลปะ มวยไทยแหง่ ชาติ สนามศภุ ชลาศยั กรงุ เทพมหานคร กำรเก็บรวบรวมข้อมลู และกำรจัดกระทำขอ้ มูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้รู้ ผู้ทรงภูมิปัญญา และการสังเกตรวมกั บ การวิจัยเอกสารนาข้อมูลมาจัดกระทาข้อมูลด้วยการลดทอนข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล และวิเคราะห์ ข้อมูลดว้ ยการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย ของชมุ ชนกรณศี ึกษาแตล่ ะแหง่ โดยวิธกี ารดงั นี้ 1. การลดทอนข้อมูล (data reduction) ผู้วิจัยนาข้อมูลทั้ง 5 กรณีศึกษามาเลือกและ แยกแยะข้อมูลในแต่ละประเด็นที่ศึกษา แล้วแยกเป็นหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการสืบค้นและตรวจสอบ ขอ้ มลู

43 2. การตรวจสอบข้อมูล ด้วยการตรวจสอบแบบสามเส้า (triangulation) ท้ังวิธีการ รวบรวมข้อมูล (methodological triangulation ) จากการสมั ภาษณ์ร่วมกับการสังเกตและใช้ข้อมูล จากหลายแหล่ง (data triangulation) นามาตรวจสอบร่วมกับการศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้องจาก แหลง่ ขอ้ มลู กำรวิเครำะห์ข้อมลู ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละกรณีศึกษาจากการวิจัยเอกสารร่วมกับข้อมูลที่ตรวจสอบแล้ว จากการสัมภาษณ์และการสังเกต มาทาการวิเคราะห์เน้ือหา (content analysis) ตามประเด็นท่ี กาหนดไว้ แล้วจึงนามาสร้างข้อสรุปจากการวิเคราะห์แบบอุปนัย การจาแนกข้อมูลและ การเปรยี บเทียบขอ้ มูลของทง้ั 5 กรณี ข้นั ตอนท่ี 3 นาเสนอแนวทางการจดั การความรมู้ วยไทย 5 สาย การวิจัยในขั้นตอนนี้ เป็นการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ โดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิและ จัดการสนทนากลุ่ม เพ่ือพิจารณาผลการวิจัยในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 จัดทาเป็นข้อสรุปแนว ทางการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย โดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิท่ีเป็นผู้รู้ ผู้ทรงภูมิปัญญา และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย เพ่ือพิจารณาผลการวิจัยข้ันตอนท่ี 1 ข้นั ตอนท่ี 2 และ (รา่ ง) แนวทางการจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย โดยดาเนนิ การสนทนากลุ่ม 1. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการสนทนากลุ่ม ในการสนทนากลุ่ม ใช้เครื่องมอื ในการวิจยั โดยการนาเสนอผลการวิจัยในขั้นตอนท่ี 1 และ ขนั้ ตอนท่ี 2 และร่างการจดั การความรูม้ วยไทย 5 สาย และประเดน็ คาถาม ได้แก่ 1.1. แบบสรุปผลการวิจยั นาเสนอในรูปข้อมลู ที่ไดจ้ ากขั้นตอนท่ี 1 และขน้ั ตอนที่ 2 1.2. (รา่ ง) แนวทางการจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย 1.3. ประเดน็ คาถามทีใ่ ชใ้ นการสนทนากลมุ่ ได้แก่ 1) แนวทางการอนุรักษ์และส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มขององค์กรทเ่ี กย่ี วขอ้ งใน การดาเนินการจดั การความรู้มวยไทย 5 สาย ในอนาคตต้องอาศัยความรว่ มมือจากองคก์ รใด 2) นโยบายท่ีสง่ เสริมกากรจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย ควรมีแนวทาง อย่างไร กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ในการดาเนนิ การสนทนากลุ่ม มผี ้ทู รงคณุ วุฒิ เป็นผ้ใู ห้ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. ครกู ฤดากร สดประเสริฐ ครูมวยไทยสายไชยา 2. ครปู ระนอม อัมพินย์ ครมู วยไทยสายโคราช 3. ครสู มนกึ ไตรสทุ ธิ ครูมวยไทยสายลพบรุ ี 4. ครูวนิ ัย จาปาออ่ น ครูมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย 5. ครผู จญ เมืองสนธ์ ครมู วยไทยสายพลศึกษา กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้วจิ ยั ดาเนนิ การสนทนากลมุ่ และเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามประเดน็ คาถามท่ีใชใ้ นการสนทนา กลมุ่ โดยมวี ิธีดาเนินการดังน้ี

44 1. นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากขัน้ ตอนที่ 1 และข้นั ตอนท่ี 2 แก่ผรู้ ่วมสนทนากลุ่ม 2. นาเสนอประเดน็ คาถาม 3. ระดมความคิดเห็นของผู้รว่ มการสนทนากลุ่ม เพื่อตอบประเด็นคาถามและหาข้อสรุป เก่ียวกับแนวทางการจดั การความรมู้ วยไทย 5 สาย 4. นาขอ้ สรปุ ไปจดั ทาแนวทางการจัดการความรมู้ วยไทย 5 สาย กำรจัดกระทำข้อมลู และวิเครำะห์ข้อมลู ผู้วิจัยนาข้อสรุปที่ได้จากการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เน้ือหา (content analysis) นาข้อมูลมาจัดระบบข้อมูลและสังเคราะห์ข้อมูลแล้วนาเสนอเป็นข้อสรุปแนว ทางการจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

47 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู มวยไทยสายไชยา ในการวิจัยเร่ือง การจัดการความรู้มวยไทยสายไชยา แบ่งผลการวิจัยเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายไชยา ตอนที่ 2 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายไชยา ตอนที่ 3 กระบวนท่าของมวยไทยสายไชยา ตอนท่ี 4 ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายไชยา 1. ประวตั ิความเปน็ มาของมวยไทยสายไชยา เพื่อให้บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ของการศึกษาเร่ือง การจัดการความรู้มวยไทยสายไชยา ผู้วิจัย ได้ศกึ ษาข้อมูลประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายไชยา โดยสามารถแยกออกเปน็ ประเด็น ไดด้ งั น้ี 1. ยุคแรก 2. ยุคเฟ่อื งฟู 3. ยคุ เปลย่ี นแปลง 4. ยุคอนุรกั ษ์ ยุคแรก มวยไทยสายไชยา ยคุ แรกเริม่ ตัง้ แต่รชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 3 พ.ศ.2367-2394 ถึงรัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พ.ศ.2394- 2411 ซ่งึ มีรายละเอียดดงั นี้ “มวยไทยสายไชยา” หมายถงึ ศิลปะมวยไทยประจาถ่ินของอาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทเ่ี คยมชี อ่ื เสียงมาแตอ่ ดีตและมีชื่อเสยี งโด่งดังทส่ี ุดในสมยั รัชกาลท่ี 5-6 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ถึงขนาด ไดช้ กถวายหน้าพระทนี่ ่งั จนนกั มวยได้รับพระราชทานบรรดาศักดเ์ิ ป็น “หม่นื ” ความมีชื่อเสียงของมวยไทยสายไชยานั้น เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายจนเป็นท่ียอมรับกันท่ัวไป มีหลักฐานปรากฏอยใู่ นวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ เช่น มเี พลงนาบทหน่ึงของจังหวัดชุมพร กล่าวไว้ว่า “มวยดีไชยา เพลงนาชุมพร ข้ึนชื่อลือกระฉ่อนมานานหนักนา” (ทวี เช้ือเอี่ยม. 2529 : 2716) หรือ ในเรอ่ื ง “พลายจาเริญ” วรรณกรรมท้องถ่ินของจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งแต่งข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 6 ได้กล่าวถึงมวยไทยสายไชยา ไว้ว่า “คนหน่ึงชื่อคล้าย รูปร่างคมคายบ้านอยู่สงขลา คนหน่ึงช่ือลิบ ขนุ ทพิ ย์นามามนั อยูไ่ ชยา เข้ามาบงั คม”และ“แขกตกี ลองชนะ สองเข้าปะทะ สู้กันทั้งสอง ลิบมวยไทย ไชยา ทที า่ ไววอ่ ง ตนี เท้าศอกถอง คลา้ ยหยองทกุ ที” (กวี บวั ทองและคณะ. 2526 : 3) มวยไทยสายไชยา เริ่มมีเป็นแบบแผนที่ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย “พ่อทา่ นมา” ซึ่งเปน็ คนกรุงเทพฯ ได้มาบวช และเป็นสมภารท่ีวัดทุ่งจับช้าง ท่านเป็นผู้มีวิทยาคุณสูง และมคี วามรอบรู้เรอื่ งหมดั มวย จงึ ฝกึ ซ้อมศิลปะมวยไทยให้ชาวไชยา

48 ภาพท่ี 3 สถูปและรปู เหมือน พอ่ ทา่ นมา ครูมวยไทยสายไชยาคนแรก ณ วัดทงุ่ จบั ช้า ตาบลพมุ เรยี ง อาเภอไชยา จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ประวัติของท่านนน้ั ไม่มกี ารกลา่ วหรือบันทึกไว้มากนัก ทราบเพียงว่า พ่อท่านมาเป็นครูมวยใหญ่ ที่เดินทางมายังเมืองไชยา (บ้างก็ว่าท่านเป็นขุนศึกหรือแม่ทัพ ออกบวช และธุดงค์มาจากกรุงเทพฯ) เม่ือราว 165 ปี มาแล้ว สมัยรัชกาลที่ 3 ตอนปลาย ท่านเชี่ยวชาญวิชาการต่อสู้และมีวิชาอาคม แก่กล้า เคยมเี รอื่ งเล่าวา่ มีชา้ งตกมันอาละวาด ไมม่ ผี ใู้ ดปราบไปได้ พ่อท่านมาได้บริกรรมคาถาแล้วใช้ กะลามะพร้าวครอบจับช้างเชือกนั้นไว้ ชาวบ้านจึงได้สร้างวัดข้ึนท่ีท้องทุ่งแห่งน้ัน ขนานนามว่า “วดั ท่งุ จบั ช้าง” ศิลปะมวยของทา่ นได้รับการถ่ายทอดสืบต่อ สู่ชาวเมืองไชยาและครูมวยต่อมาอีกหลาย ๆ ท่าน นับแต่พระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรียาภัย) ปฐมศิษย์เบ้ืองต้นผู้เป็นครูมวยของหมื่นมวยมีช่ือ (ปรง จานงทอง) ครนู ลิ ปกั ษี ครูอนิ ทร์ ศักดเิ์ ดช โดยเฉพาะ “หมื่นมวยมีชื่อ” ท่ีได้รับพระราชทานนามนี้ จากล้นเกล้าในรัชกาลที่ 5 นับเป็นเกียรติแก่เมืองไชยาย่ิงนัก แม้ทุกวันนี้ยังมีนักมวย นักศึกษาและ ประชาชนเดินทางไปกราบไหว้และรามวยถวาย หน้าเจดีย์บรรจุอัฐิพ่อท่านมา วัดทุ่งจับช้าง ตาบล พมุ เรยี ง อาเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี อยเู่ สมอ ช่วงปี พ.ศ.2544 หลวงพอ่ ไสว อนิ ทะวงั โส ได้มา อยจู่ าพรรษาท่วี ัดและดแู ลพฒั นาบริเวณวัด สร้างหลังคากันแดดฝนคลุมรักษาสถูปบรรจุอัฐิพ่อท่านมา ไว้ โดยมีชาวบ้านและคุณยายท่านหนึ่งซ่ึงมีศักดิ์เป็นหลานสาวของท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ได้ร่วมกันบารุงรักษาวัดอยู่ ต้นปี พ.ศ. 2545 หลวงพ่อไสวเดินทางไปจาวัดอยู่ที่จังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นที่น่าเสียดายวัดทุ่งจับช้าง จึงเป็น วัดร้างไร้การดูแลอีกครั้ง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2547 หลวงพ่อไสว อินทะวังโส ได้กลับมาจาพรรษาอีกครั้งหน่ึง ชาวบ้านได้ร่วมแรงร่วมใจ จัดสร้างพระรูปเหมือนของพ่อท่านมา บริเวณด้านหน้าองค์สถูปของท่าน เป็นรูปเหมือนขนาด เทา่ องค์จริง แตไ่ ม่มใี ครเคยเห็นท่านมาก่อน จึงได้ใช้พิธีกรรมแบบโบราณ โดยให้ช่างผู้ป้ันรูปเหมือน ได้อธิฐานจิต ถ้าขณะที่ป้ันรูปเหมือนพ่อท่านมาจริงให้มือท่ีป้ันไหลลื่นไปเร่ือยๆแต่ถ้าไม่เหมือน

49 องค์ทา่ น ใหม้ ือหยุด การป้ันรูปเหมือนพ่อท่านมาสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ชาวบ้านต่างชื่นชมศรัทธาและ ในพิธนี ้ไี ดม้ ีการจดั สร้างรูปหลอ่ ของพอ่ ทา่ นมาขนาดเล็กประมาณ 1 น้ิว ไว้เป็นท่ีระลึกเพ่ือนาไปกราบ ไหว้บชู าต่อไป (หลวงพอ่ ปรชั ญา ปริสุทโธ. สัมภาษณ์ 26 พฤศจกิ ายน 2555) ภาพท่ี 4 ทีมวจิ ัยถา่ ยภาพบริเวณหนา้ สถูปและรูปเหมือนพ่อท่านมา ณ วัดทงุ่ จับช้าง ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ดังน้นั มวยไทยสายไชยายคุ แรก เร่ิมตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ถึงสมัยรัชกาลท่ี 4 โดยพ่อท่านมา ซึ่งเป็นคนกรุงเทพฯเป็นครูมวยอดีตขุนศึก สมัยรัชกาลท่ี 3 ตอนปลาย ท่านออกบวชและธุดงค์มาที่ ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา ท่านเป็นผู้มีวิชาการต่อสู้ พร้อมคาถาอาคม ได้ช่วยชาวบ้านในการล่าช้าง ที่มาอาละวาด ทาให้พืชไร่เสียหาย ด้วยคาถาอาคมจนช้างไม่มารบกวนอีก ชาวบ้านจึงสร้างวัด เรียกวา่ วัดทุง่ จับชา้ ง ท่านได้สอนมวยไทยให้กับพระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรียาภัย) ซึ่งเป็นปฐมศิษย์ และสอนมวย ให้กับคนในท้องถิน่ ปัจจบุ ันวัดทุ่งจับช้าง มหี ลวงพ่อปรัชญา ปริสุทโธ เป็นเจ้าอาวาส บริเวณวัดจะมี สถูปพ่อท่านมา และรูปเหมือนขนาดเท่าองค์จริงของพ่อท่านมาซึ่งสร้างข้ึนภายหลังในปี พ.ศ.2547 จากการร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้าน บุคคลใดท่ีผ่านไปสักการบูชามักจะรามวยถวายพ่อท่านมาเพ่ือ เปน็ สริ มิ งคลต่อตนเอง และครอบครวั ยุคเฟือ่ งฟู มวยไทยไชยายุคเฟ่ืองฟูจัดอยู่ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 พุทธศักราช 2411-2453 และรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 พทุ ธศกั ราช 2455-2468 มวยไทยสายไชยาในยุคนี้มีความเฟ่ืองฟูสูงสุด เป็นมวยโบราณท่ีจาต้องบันทึกไว้ใน ประวัติศาสตร์ของชาติไทยในเรื่องมวยคาดเชือกหรือมวยหมัดถักทอ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 5 พระองคท์ ่านได้ทรงฝกึ มวยจากสานักมวยหลวงมาตั้งแต่คร้ังยัง ทรงพระเยาว์ โดยมีปรมาจารย์ ช่ือหลวงพลโยธานุโยค ตาแหน่งครูมวยหลวงเป็นผู้ถวายการสอน

50 ทาใหพ้ ระองคท์ รงโปรดกีฬามวยไทยเปน็ อย่างมาก เสดจ็ ทอดพระเนตรการชกมวยหน้าพระท่ีน่ังหลาย ครา ดังเชน่ ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระเจ้านอ้ งนางเธอพระองค์เจ้าบุษบงเบิกบาน พระราชธิดา ในรัชกาลที่ 4 ในเจ้าจอมมารดาสาลี ส้ินพระชนม์เม่ือวันอังคารที่ 16 มิถุนายน 2419 พระชันษา 17 มีการพระเมรุที่วัดมหาธาตุ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ โปรดให้หลวงพลโยธานุโยค หลวงชัยโชคชกชนะจัดมวยอดพระเนตร ครั้นชกกันเสร็จแล้ว พระราชทานเงินตราฝ่ายชนะได้ ตาลงึ ครง่ึ ฝา่ ยแพ้ได้ 1 ตาลงึ ภาพที่ 5 การแขง่ ขันชกมวยหน้าพระทนี่ ่ังสมยั รัชกาลที่ 5 ที่มา : หนังสือ ART OF MUAYTHAI (BORAN) ศลิ ปะมวยไทยโบราณ ในการแข่งขันกีฬาประจาปีท่ีท้องทุ่งพระเมรุ เม่ือวันท่ี 28 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 5 ธันวาคม ปพี ุทธศกั ราช 2450 มกี ารแขง่ ขันมหรสพตา่ งๆ เชน่ มวยและโม่งค่มุ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จ ณ ท่ีประทับรัตนสิงหาศน์ ทอดพระเนตรมวยซ่ึงพระองค์ได้ทรงโปรดให้ข้าหลวง หัวเมืองต่าง ๆ คัดนักมวยฝีมือดีมาชกท่ีหน้าพระท่ีน่ัง เพ่ือหานักมวยที่เก่งท่ีสุดเข้าเป็นทหารรักษา พระองค์ สังกัดกรมมวยหลวงและได้ทรงเห็นคุณค่าของกีฬาประจาชาติ จึงตรัสให้มีการแข่งขันมวย ไทยข้นึ ทัว่ ประเทศ เพื่อให้เกิดความนยิ มกีฬามวยไทยและไมใ่ หม้ วยไทยเสือ่ มสญู ไป นอกจากนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มี “มวยหลวง” ตามหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อเข้าทาหน้าท่ี ฝกึ สอนควบคุมการแขง่ ขัน และเม่ือมีงานพระราชพิธีต่าง ๆ เพ่ือทาหน้าที่ฝึกสอนควบคุมการแข่งขัน งานโสกันต์ งานพระเมรุ สานักพระราชวังก็จะออกหมายเรียกให้มวยหลวงนาคณะนักมวย คณะป่ี กลอง มาร่วมแสดงในงานด้วย ในปี พ.ศ. 2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้มีมหรสพในงานพระราชทานเพลิงศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภช (ซ่งึ เป็นผบู้ ญั ชาการกรมมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ซ่ึงพระองค์ประสูติวันอาทิตย์ท่ี 15 ตุลาคม พ.ศ. 2436 ปีมะเส็งในลาดับที่ 2 ในเจ้าจอมมารดาเลื่อน สิ้นพระชนม์ 20 กันยายน พ.ศ.2452 พระชันษา 16) (กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์. สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอเจ้าฟ้า. 2548 : 34) ระหว่างวนั ที่ 19 - 22 มนี าคม พ.ศ. 2452 (สมยั น้นั นับเดือนเมษายนเป็นต้นปีใหม่) และ ต่อเน่ืองถึงงานพระราชทาน เพลิงศพเจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม เมื่อวันที่ 1-5 เมษายน พ.ศ.2453 ณ มณฑลพธิ ีพระเมรสุ วนมิสกวัน

51 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีมหรสพหน้าพระที่ประทับพลับพลาทรงธรรม เช่น มวย ไมล้ อย ยวนหก ไต่ลวด เป็นต้น และในงานมหรสพน้มี ีนักมวยฝมี อื ดีจากหลายเมอื งหลายมณฑล เขา้ แข่งขนั ในจานวนนกั มวยทเ่ี ข้าแขง่ ขันในครงั้ นี้ เจ้าเมอื งไชยา พระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรียาภัย) ได้นานักมวยเข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้ด้วย ชื่อนายปรง (ได้รับพระราชทานนามสกุล สมัยรัชกาล ท่ี 6 ว่า จานงทอง) แห่งบ้านพุมเรียง เมืองไชยา มณฑลชุมพรในสมัยน้ัน แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่า นายปรงชกกบั ใคร ทราบแต่เพียงวา่ ชกกบั นักมวยโคราช พวกเดยี วกบั นายแดง ไทยประเสริฐ (ต่อมา ได้เปน็ หมน่ื ชงัดเชงิ ชก) กอ่ นท่ีจะขา้ มสายเขา้ ไปต่อสู้กัน พระยาวจสี ตั ยารกั ษ์ เจา้ เมอื งไชยา (ผู้ว่าราชการ) ปรารภเป็นเชิงปลุกใจว่า “ปรงเอ๋ย หาก ข้าฯ ไม่พาแกมาลาพังแกคนเดียวถึงจะมีฝีมือ (มวย) ดีเพียงใดก็ตามคงไม่มีปัญญาจะได้เข้ามาเมือง หลวง แสดงฝีมอื มวยหนนีต้ ่อหน้าคนนับพนั ๆ (รถไฟยังไมม่ ี ค่าเรอื เมล์พร้อมด้วยอาหาร 2 วัน 2 คืน เป็นเงนิ 10 บาท) ข้าฯ จงึ ขอเตอื นแกใหพ้ ยายามต้ังใจต่อสู้ อย่างไว้ลายของมวยไทยไชยา อย่าให้อาย เขา ถ้าแกชนะ ข้าฯ เองก็จะมีหน้ามีตายิ่งขึ้น คนไชยาท้ังเมืองจะนับถือแกจนตายลูกหลานชาวบ้าน หัวววั จะดีอกดีใจอวดกนั เตม็ ปาก ตลอดไป แกจงราถวายใหด้ ีท่ีสดุ และขอให้สวัสดีมีชัย” นายปรง จานงทอง คงจะตั้งใจจริง ก้มหน้ากัดฟันจนเห็นเป็นแนวนูน แล้วกราบลงที่เท้า พระยาวจสี ัตยารกั ษ์ ก้าวหย่ง ๆ ด้วยปลายเท้าเข้าไปยืนในสนาม ผินหน้าสู่ที่ประทับประชาชนคนดู ตา่ งพึมพาจนไมไ่ ด้ศัพท์ เมอื่ มสี ญั ญาณกลองให้เริ่มชกกันได้ นักมวยชาวโคราชดูเหมือนจะคึกคะนองอย่างเช่ือม่ันใน ฝีมือ นายปรง ทรุดตัวลงน่ังยอง ๆ แบบกราบถวายบังคมพระเจ้าอยู่หัวแล้วค่อย ๆ คลานถอยหลัง ออกมาราว 5 ก้าว ยืดตัวขึ้นยืนตรงหันหน้าสู่ทิศบูรพาอันเป็นที่สถิตของครู หางตาชาเลืองดูคู่ปรับ เหน็ กาลังคึกคะนอง หาจุดจบ นายปรง จานงทอง ยกหมัดขวาข้ึนช้า ๆ ใช้น้ิวชี้แตะจมูกเพื่อสบปราณ อาราธนาคุณผ้า ประเจียด รดั แขน ของพระอาจารยห์ ลวงพอ่ ปลดั ชุ่ม เจา้ อาวาสวัดอุบ (ปัจจุบันเป็นวัดร้าง แต่มีวิหาร และหลุมฝังศพท่านพ่อปลัดชุ่ม) และหลวงพ่อมา เจ้าอาวาสวัดทุ่งจับช้างนัยว่าเป็นครูมวยใหญ่หลบ ไปจากกรงุ เทพฯ และบวชจนเป็นเจ้าอาวาส (ปจั จบุ ันเปน็ วดั รา้ ง) อยูร่ ะหว่างทางไปอาเภอไชยา ขณะที่นายปรง จานงทอง กาลังร่ายราท่าชักช้าอยู่นั้น นักมวยชาวโคราชถือว่ามีสัญญาณ ให้ชกต่อยกันได้แล้ว จึงก้าวพรวด ๆ ตวัดด้วยตีนขวาตามถนัด แม้นายปรง จะไหวตัวผงะหงายหน้า ออกหา่ งกไ็ มส่ าเรจ็ ปลายตนี ปฏปิ กั ษป์ ะเขา้ เหนอื ขมับ นายปรงมือตกตาลอย หงายหลังด้ินเล่าๆ อยู่ กับพ้ืนสนาม นักมวยโคราชกระโดดตัวลอยด้วยความดีใจ ถอยออกราเยาะเย้ยอยู่ห่าง ๆ ประชาชน บางคนตะโกนเชิงคัดค้าน แต่บางคนก็เห็นสมควรเพราะกรรมการได้ล่ันกลองสัญญาณ ให้คู่ต่อสู้ตีกัน ได้แล้ว มวยไชยา อยากเซ่อซ่า เองต่างหาก นายปรง จานงทอง ถูกประครองเข้าพุ่ม (ความจริงไม่มี พุ่ม แตเ่ ปน็ คาเรียกทีพ่ ักให้นา้ นักมวยสมยั โบราณ) การต่อสู้ต้องชะงักลงชั่วคราว โดยให้นักมวยคู่อ่ืน ชกต่อยกันแทน นายปรง ได้รับการปัดเป่านวดเฟ้นจนรู้สึกตัวและลืมตา พระยาวจีสัตยารักษ์ ซ่ึง มีสีหน้าเต็มไปด้วยความทุกข์ร้อน ตลอดเวลา เข้ากระซิบถามนายปรง จานงทอง ว่าจะยอมแพ้หรือ จะสู้เขาต่อไป นายปรง ตอบทันควันว่าส้จู นตายคาตนี (เขตร ศรียาภัย. 2517)

52 พระยาวจีสัตยารกั ษ์ ยมิ้ ออกเม่ือไดย้ ินคาว่า “สจู้ นตายคาตนี ” เอ้อื มมือลูบก้านคอลูกศิษย์คน โปรด เป็นนัยช้ีจุดมรณะ พลางปลอบใจท่ีไม่เสียแรงเกิดใกล้แดนน้าเค็ม ต่อจากนั้นได้แนบหน้าเข้า กระซิบขา้ งหใู ห้ “จบั หกั ” อันเป็นกระบวนแมไ่ มก้ ลในสาขาวชิ ามวยไทย (พาหุยทุ ธ์) เมื่อนายปรง จานงทอง ได้พักฟื้นตัวพร้อมที่จะออกเผชิญหน้ากับปฏิปักษ์ ประชาชนคนดู ก็ป้องปากโห่ร้องต้อนรับเพราะจะได้ดูการพันตูระหว่างมวยคู่สาคัญของเมืองโคราชและเมืองไชยาให้ จุใจ นายปรง จอ้ งเขม็งไปยงั ร่างคูป่ รับอยา่ งไมก่ ระพริบตา ยกหมัดครู (สองหมัดแตะหน้าผาก เหนือ อณุ าโลมเปน็ สัญลักษณ์ของการไหวค้ รูอย่างย่อของมวยใต้) ด้วยความระมัดระวังเพื่อมิให้เสียทีซ้าสอง บรรจงย่างสามขุมคลุมแดนยักษ์ เร่ิมการต่อสู้แบบ “ยอมตายคาตีน” ย่อตัวลงต่า สั่นหัวดิก ๆ ทาที ตปุ ดั ตเุ ป๋ คลา้ ยกบั คนทเ่ี พง่ิ สรา่ งเมา นกั มวยโคราชมองเขม้นดูลักษณะอาการมวยไทยสายไชยาท่ียังฮึดสู้ มั่นใจและแปลกใจระคน กัน นายปรง จานงทอง ย่อตัวต่าลง ๆ งอศอกพันซ้ายขวาสลับป้องกันตัวด้านหน้าตลอดถึงชายโครง ค่อย ๆ กระดึบ ๆ ด้วยปลายน้ิวตีนเข้าหาปฏิปักษ์ในแดนอันตราย ก่อความสนเท่ห์ลังเลใจให้แก่ นักมวยโคราช ซ่ึงรอจังหวะพิฆาตคู่ปรับ ด้วยไม้มวยสาคัญของชาวที่ราบสูง ตีนที่เขย่งสลับ สบั เปลยี่ น พร้อมทีจ่ ะฟาดเปรย้ี งทุกขณะ จาตอ้ งรอจังหวะเพื่อผลทีเดยี วอยู่ นายปรงเองกไ็ ดย้ นิ เสียงเตือน อย่าย่อต่า ! อย่าย่อต่า ! แต่ไม่ฟังเสียงเพราะได้ตั้งใจยอมตาย คาตีน ย่ิงประชิดเข้าไป ตาจ้องจับอยบู่ รเิ วณท้องนอ้ ย ตรงจดุ หนึง่ ในสามทเ่ี รียกว่า “สุมนา” ตามตารา หมอนวด กล้ามเน้ือแขนขาของนายปรงดิน้ ยุบยิบ พรอ้ มท่จี ะปฏบิ ัตงิ านสาคัญทนั ทีทันใด ปฏิปักษ์ชาว โคราชยิ่งสงสัยเชิงของคู่ต่อสู้ย่ิงขึ้น รัวแขนไขว้ป้องกัน ตีวงในพร้อมจะดีดขาแข้งหากถูกจู่โจม นายปรงคงชันเขา่ ซ้าย เคลื่อนตนเขา้ แดนอันตรายหรือระยะตีนสว่ นขาขวาเหยียดยาวทอดไปด้านหลัง ทานอง “เสอื ลากหาง” ก่อนตะครบุ เหยือ่ คตู่ อ่ ส้ยู ังไม่เตะทั้ง ๆ ท่ีน่าเตะได้ ประชาชนคนดูโห่เท่าไร ก็โห่ไป เมื่อไม่ได้ช่องเหมาะก็ยังไม่ทา ซึ่งเป็นคาสั่งสอนของครูบาอาจารย์ ขณะน้ีหน้าของนายปรง จานงทอง อยู่ในระดับเข่าของปฏิปักษ์ในระยะห่างจากตีนไม่ถึง 2 ศอก กัดฟันตัดสินใจครั้งสุดท้าย พลาดทา่ กห็ าม นายปรงรบี เออ้ื มมอื ขวาปัดป้ายขาซ้ายด้านนอกของคู่ต่อสู้ คนดูน่ิงเงียบด้วยตกตะลึง ท่ีเห็นมวยไชยากลา้ เสี่ยงอยา่ งบ้าบิ่น ทันทีทันใดน้ัน ตีนขวามหาประลัยก็ผลุดจากแหล่ง สมคาพังเพย “ตีนดีโคราช” ซ่ึงยังความคร่นั ครา้ มไวแ้ ก่นักมวยต่างถิ่นทัว่ ๆ ไป ในพริบตาเดียวกนั น้นั เอง นายปรง จานงทอง นักมวยไทยสายไชยา รีบเสือกขาขวาพรวดไป ข้างหน้าใต้หว่างขาปฏิปักษ์ งอศอกขวาเข้าแนบปลายคางจนหมัดขวาพาดปิดขมับเหนือหูซ้ายทะล่ึง พลกิ เหลยี่ ม กระชากขาผู้เตะเข้ามาประชิดตัวจนปฏิปักษ์เสียศูนย์ พร้อมกันน้ันก็กดหัวปฏิปักษ์ทิ่มลง กบั พื้นแบบ “หิรญั ยักษ์ม้วนแผน่ ดนิ ” ก้านคอดา้ นหลังของนักมวยชาวโคราชสัมผัสพ้ืน โดยมีร่างกายา นาด้วยศอกประกบเข่าของมวยไทยสายไชยาทับลงไปบนหน้าอกและท้องน้อย ท่ามกลางเสียงโห่ร้อง กอ้ งบรเิ วณโดยไม่ทราบว่าใครโหใ่ ห้ฝ่ายไหน ไม่มีกรรมการหรือผู้ทรงเกียรติท่ีถูกคัดเลือกเป็นผู้ตัดสิน ชว่ ยรับดงั ท่เี คยเห็น ๆ กันอยู่บ่อย ๆ ในปัจจุบัน เพราะโบราณถือว่ากรรมการต้องเป็นกลางและเท่ียง ธรรม จะชว่ ยเหลือหรอื เขา้ ข้างฝา่ ยใดไมไ่ ดเ้ ปน็ อันขาด เมื่อการต่อสู้ชะงักลงช่ัวคราวตามประเพณี เพราะนักมวยทั้งคู่ล้มติดพันกันลงไป ปรากฏว่า นายปรง เป็นฝ่ายลุกข้ึนได้ก่อน ส่วนปฏิปักษ์ยังคงนอนหงายหลังหลับตาพร้ิม จนพวกพ่ีเล้ียงต้อง

53 ช่วยกนั หามเขา้ พมุ่ (ทพี่ ักให้น้า) พยายามนวดเฟ้นแก้ไขด้วยความห่วงใย แต่นักมวยฝ่ายถูก “จับหัก” นอนคอเอียง ไม่อาจลุกขึ้นชกแก้ตัว จนกระทั่งเวลาค่ามวยเลกิ นายปรง จานงทอง เป็นนักมวยไทยสายไชยา ท่ีมีความรวดเร็วและว่องไว ถนัดท่าเสือลาก หาง เข้าทุ่มทับจับหักคู่ปรปักษ์อย่างสวยงาม ด้วยชัยชนะอันเฉียบพลันเหนือคู่ต่อสู้และพระราช ปรารภในหมู่ ข้าราชบริพารใกลช้ ดิ ว่า “อา้ ยน่สี าคญั ” (เขตร ศรียาภยั . 2518) จากความสามารถของนายปรง จานงทอง จึงทาให้กรมพระยาดารงราชานุภาพ เสนาบดี กระทรวง มหาดไทย ในรัชกาลที่ 5 ได้ทาหนังสือกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว วันที่ 20 พฤษภาคม รัตนโกสินทร์ศก 129 เรื่อง ขอพระราชทานบรรดาศักดิ์ ให้นักมวยท่ี ชกถวายและได้รับชัยชนะในงานพระเมรุ เพื่อขอพระราชดาริเห็นชอบจากพระเจ้าอยู่หัว และขอ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ออกประทวนตราพระราชสีห์ต้ัง นายปรง จานงทอง และนักมวย อ่ืนอีก 2 คน เพ่ือให้ปรากฏช่ือเสียงในท้องถิ่นและเป็นการบารุงวิชามวยตามหัวเมืองไม่ให้สูญหายไป อีกด้วย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้กระทรวงมหาดไทย ทาประทวนตราพระราชสีห์ ต้ังเป็นครูมวยตามหัวเมือง โดยมีบรรดาศักด์ิเป็น “หม่ืนมวยมีชื่อ” ซ่ึงเป็นบรรดาศักด์ิ สาหรับข้าราชการชั้นประทวนในสมัยน้ัน และดารงตาแหนง่ กรมการพิเศษเมอื งไชยา ถอื ศักดินา 300 เปน็ การแจ้งความจากกระทรวงมหาดไทย วนั ท่ี 10 มิถุนายน รัตนโกสินทร์ศก 129 และในคราวเดียวกันนักมวยอีก 2 คน ก็ได้รับพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้กระทรวงมหาดไทยทาประทวน ตราพระราชสีห์ต้ังครูมวยตามหัวเมือง คือ นายกลึง โตสะอาด เป็นหมื่นมือแม่นหมัด ตาแหน่งกรมการพิเศษเมืองลพบุรี ถือศักดินา 300 และ นายแดง ไทยประเสริฐ เป็นหมื่นชงัดเชิงชก ตาแหน่งกรมการพิเศษเมืองนครราชสีมา ถือศักดินา 300 (ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 27 รัตนโกสินทรศ์ ก 129 หนา้ 489) ภาพท่ี 6 อนสุ าวรยี ์ หม่ืนมวยมชี อื่ (นายปรง จานงทอง) บรเิ วณทา่ โพธิ์ อาเภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

54 บุคคลสาคัญของมวยไทยสายไชยายคุ เฟ่ืองฟู 1. พระยาวจสี ตั ยารักษ์ ภาพที่ 7 พระยาวจีสตั ยารักษ์ หน้าสถปู บรรจุอฐั ติ ระกูลศรยี าภยั “ศรียาภยั อนสุ รณ์” พระยาวจีสัตยารักษ์ เดิมช่ือ “ขา” เกิดเม่ือวันพฤหัสบดี เดือน 11 แรม 12 ค่า ปีมะโรง พ.ศ. 2387 ตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 นายขา มีบุตร 5 คน คือ ช่นื ศรียาภยั พระยาประชุมพลขันธ์ นายจอน นายเขตร และนางเฉลมิ นายขา ศรียาภัย ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในรัชกาลท่ี 4 ได้ฝึกหัดราชการอยู่ในสานักของ สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรีสรุ ิยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) สมหุ พระกลาโหม นายขาเป็นผู้มีอัธยาศัยโอบ ออ้ มอารี และ เปน็ ผู้มคี วามรู้ความชานาญหลายดา้ น เช่น การคา้ ขาย การจบั และฝึกหดั ช้างและยังมี ความสามารถในการพูดภาษาจีน ซึ่งเป็นประโยชน์ในการติดต่อค้าขายเป็นอย่างมาก จนได้รับ บรรดาศักดิ์ เป็นหลวงราชานชุ ิต ผชู้ ่วยราชการเมอื งไชยา ในรัชกาลท่ี 4 พ.ศ.2421 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ท่านได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีราชสงคราม ปลัดเมืองไชยา และดารงตาแหน่งน้ีเป็นเวลา 10 ปี มีความชอบจากการไปปราบจลาจลชาวจีนท่ีเมืองภูเก็ต จึงได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ทพิ ยาภรณช์ า้ งเผือก ช้นั ที่ 5 พ.ศ. 2422 ได้เลื่อนบรรดาศักด์ิเป็นพระยาวิชิตภักดี ผู้ว่าราชการเมืองไชยา ทาความดี ความชอบจนได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มัณฑยาภรณ์มงกุฏสยาม ช้ันท่ี 3 นิภาภรณ์ ชา้ งเผอื ก ช้นั ท่ี 3 เหรียญดุษฎมี าลา พ.ศ. 2422 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบมณฑล พระยาวิชิตภักดี ได้เล่ือน บรรดาศักด์เิ ปน็ พระยาไวยวฒุ วิ ิเศษฤทธิ์ จางวางเมอื งไชยา พ.ศ. 2449 ได้เล่ือนบรรดาศกั ดเ์ิ ปน็ พระยาวจีสตั ยารกั ษ์ และได้รับเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์

55 จุลสุราภรณ์ มงกุฏสยาม ช้ันที่ 2 และเหรียญจักรพรรดิมาลาเป็นเกยี รติยศ พระยาวชิ ิตภักดศี รีพิชยั สงคราม เจ้าเมอื งกาญจนดษิ ฐ์ (สุราษฎร์) ตอ่ มาเป็นเจ้าเมืองไชยา (คร้ังหัวเมืองขน้ึ อยกู่ บั กระทรวงกลาโหม) คอื พระยาไวยวุฒวิ ิเศษฤทธิ์ (ขา ศรียาภัย) ซึ่งต่อมาได้เล่ือน บรรดาศกั ดเิ์ ปน็ พระยาวจีสตั ยารกั ษ์และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ให้ข้ารับราชการในตาแหนง่ ผู้กากับการถอื นา้ พพิ ัฒน์สตั ยาในกรุงเทพฯ ทีก่ ลา่ วมาน้ันเป็นเพียงประวัติโดยย่อของพระยาไชยา ผู้อยู่เบื้องหลังความสาเร็จและความมี ชอื่ เสียงของมวยไทยสายไชยา โดยเริ่มจากการที่ได้สร้างศาลาเก้าห้อง และจัดให้เป็นท่ีแข่งขันมวยอัน เป็นการบุกเบิกวงการมวย จนไชยาได้เป็นเมืองมวย นอกจากจะเป็นเจ้าเมืองไชยาแล้ว พระยาไชยา ผู้นีย้ ังเป็นครูมวยโดยทา่ นมีศษิ ยเ์ อกถงึ 2 คน คอื นายปรง จานงทอง และนายนิล ปักษี วงการมวยไทย สายไชยา ถา้ ขาดเสียซ่งึ เจ้าเมืองไชยาคนน้ี “หมื่นมวย” คงไมต่ กอยู่ในมอื ของชาวไชยา เน่ืองจากพระยาวจีสัตยารักษ์ เป็นผู้ชานาญเกี่ยวกับหัวเมืองชายทะเลปักษ์ใต้ ดังน้ันเม่ือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ได้เสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ พระยาวจีสัตยารักษ์จึงได้ ทาหน้าทเี่ ป็นมคั คเุ ทศก็นาเสด็จ และเมื่อมีทางรถไฟสายใต้ ไดเ้ ป็นผ้นู าตรวจทางรถไฟสายใต้เป็นครั้งแรก ต้ังแตม่ ณฑลปตั ตานถี งึ เมอื งเพชรบรุ ี นอกจากน้ียังไดส้ ร้างคุณงามความดีอันเป็นประโยชนอ์ ีกมากมาย พระยาวจีสัตยารักษ์ ต้ังบ้านเรือนอยู่ท่ีตาบลพุมเรียง ดังปรากฏอยู่ในราชหัตถเลขา ของ ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 ดังน้ี (เขตร ศรียาภัย “สุราษฎร์เมืองมวย” อนุสรณ์ที่ระลึกวันเปิดสนามมวย เพชรตาปี เป็นสาขาสภามวยอาชีพแห่งประเทศไทย ประจาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ไม่ปรากฏหน้าปก : พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั พระราชหัตถเลขาเร่อื งเสดจ็ ประพาสแหลมมลายู. หน้า 64-65) ตะพานที่ข้ึนนั้นอยู่ตรงกับบ้านพระยาไชยา ริมคลองเป็นท่ีลุ่มน้าทะเลท่วม ถนนต้องถม สงู ขนึ้ ประมาณสองศอกตีกระดานก้ันไว้ ข้างซ้ายมือเป็นสวนมะพร้าวของพระยาไชยา ปลูกดูยอดใบ ก็งามดี มีมะพร้าวมากทาอย่างเกาะสมุย ที่ดอนริมตะพานมีบ้างก็ปลูกโรงเรือนโรงงานข้ึนประมาณ 2 เส้นเศษ หรือ 3 เส้น ถึงสนามหญ้าหน้าบ้านพระยาไชยา ถมดินสูงพ้นน้าทะเลท่วมกว้างขวางและ ปลูกต้นมะลิแตรขนาดใหญ่ ต้นสายหยุด ต้นกระดังงา รายรอบ มีดอกดกเต็มต้นทั้งสามอย่าง จนส่ง กล่นิ หอมในบรเิ วณน้ันได้ ฟากสนามดา้ นรมิ คลองมเี รอื นห้าหอ้ งเฉลียงรอบใหญ่หลังหนึ่ง มีเรือนสาม ห้องสกัดหัวท้ายด้านละหลัง ชานกว้างปูกระดานเป็นท่ีซึ่งพระยาไชยาเรียกว่า สเตชั่นสาหรับรับ ผู้ใหญ่หรือขุนนางผู้ใหญ่ไปมา ในเรือนหลังใหญ่มีห้องนอนสองห้องตั้งเตียงมีมุ้งม่านพร้อม คร้ังนี้ จัดเป็นที่รับเจ้านาย มีโต๊ะยาวต้ังเครื่องกับข้าวของฝรั่งอย่างเลี้ยงโต๊ะเครื่องประดับห้องมีเฟอร์นิเจอร์ อยา่ งฝรง่ั คือเก้าอีน้ งั่ เกา้ อีน้ อนและเครือ่ งประดับฝาดูพรักพร้อมบริบูรณ์ตามสมควรแก่ตัวเรือน เป็นที่ พออยู่สบายได้ ที่สเตช่ันตรงข้ามเป็นบ้าน พระยาไชยาตีระเนียดกระดานเรือนข้างในเป็นเรือน ฝากระดานอยา่ งฝรัง่ บ้าง เรือนฝากระแชงอ่อนบ้าง ที่ปลายสนามอีกด้านหน่ึง ปลูกพลับพลาสามห้อง เฉลียงรอบ ก้ันเป็นข้างนอกข้างในข้างในมีเรือนย่อม ๆ อีกหลังหน่ึงตกแต่งปูลาดดาดหุ้มด้วยผ้าแดง ผ้าขาวผ้าลายหมดจดเรียบร้อยมีเครื่องประดับอย่างฝร่ัง โต๊ะ เก้าอี้ เคร่ืองติดเสาพอสมควรแก่ที่คาด ประรากระแซงกว้าง ตลอดด้านหน้ากั้นรั้วทางมะพร้าวมีกล้วยไม้ต่าง ๆ ห้อยอยู่ตามชายปะรา ปูพ้ืน กระดานและพน้ื เกา้ อี้ไม่มีทพี่ งิ อยา่ งจีน เปน็ ท่ีข้าราชการเฝา้ เกยี่ วกับตัวพระยาไชยา ล้นเกล้าฯ รัชกาล ที่ 5 ไดเ้ ขยี นไว้ดงั น้ี

56 พระยาไชยาเองเป็นคนคล่องแคล่ว มีความคิดอยากจะจัดการให้บ้านเมืองอยู่ดีและพระยาไช ยาสันทัดในการค้าขายไม้เคียมมาก สาหรับทาเรือนพลูที่เข้าไปในกรุงเทพฯ ปีหน่ึง 300-400 ลา ดูก็ ขันอยู่คนช่างใช้เรือในกรุงเทพฯ มากเสียจริง ๆ แต่เมืองไชยาเมืองเดียวยังเท่าน้ี ปีหน่ึงจะมีเรือใหม่ เกิดข้ึนสกั ก่ีรอ้ ยลา (พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชหัตถเลขา เรื่องเสด็จประพาส แหลมมลายู หน้า 67-69) พระยาไชยา ก็ตั้งโรงต่อเรือเอี้ยมจุ๊นขาย ดันไปดูท่ีโรงงานนั้นว่าลงทุนเบ็ดเสร็จอยู่ 280 บาท ขายได้ลาหน่ึงส่ีร้อยแปดสิบบ้าง ห้าร้อยบ้าง กระดานไม้เคียมเกิดขายกันในหมู่บ้านแพง เพราะ พระยาไชยาแนะนา แต่ราษฎรยังชอบใจทาติดต่อมา เดี๋ยวนี้ได้ออกจากเมืองอยู่ในปีละ 2000 แผ่น สินค้าที่เป็นพื้นอยู่นอกนั้นคือ หวาย ไต้ กระแซง เป็นอย่างมาก และพระยาไชยา ช้ีแจงว่าได้คิดชัก นา้ ให้ทาตาลก็ไดน้ ้าตาลดกี วา่ เมอื งยหิ รงิ แต่สนู้ ้าตาลเมอื งเพชรไม่ได้ จะเห็นได้ว่า พระยาไชยาผู้นี้ นอกจากจะมีความสนใจความเป็นอยู่ของราษฎรแล้ว ยังมีหัว ในทางการคา้ ซึ่งเก่ยี วกับการค้าแล้ว นอกจากเอกสารดังกล่าว ยังมีเอกสารที่เช่ือได้ว่าท่านเจ้าเมือง ผู้นี้นิยมทาง การค้าขายหารายได้ เช่น พระยาไชยาเป็นคนมีพวกพ้องมาก จึงเข้าใจในการทาภาษี อากรและการค้าขายเป็นรายไดม้ าซอ้ื บา้ นเรือนไวใ้ นกรงุ เทพฯ เพราะต้องมากรุงเทพฯ ในราชการบ้าง ธุระส่วนตัวบ้างอยู่เสมอ ๆ และจากการค้านี่เอง ท่ีทาให้ท่านต้องประสบการขาดทุนเป็นอย่างมาก ดังข้อความท่ีกล่าว “คุณพ่อต้อง ไป ๆ มา ๆ ระหว่างไชยากับกรุงเทพฯ โดยมีเรือเดินทะเลเพราะมี การค้ารังนกรวมอยู่ด้วย โดยมีหุ้นอยู่กับพระยาบริบูรณ์ราชสมบัติ ซึ่งภายหลังต่อมาได้เป็นท่ีพระ ยาโชฎีราชเศรษฐี แตท่ วา่ การค้ารังนกของคณุ พอ่ ในทีส่ ดุ ก็ขาดทุนอย่างย่อยยับ ถึงขนาดไม่สามารถ ชาระค่าภาษีรังนกให้กับกระทรวงพระคลังมหาสมบัติของรัฐบาลได้เพียงพอ จึงต้องขายบ้านนั้นและ ท่ีดินเป็นการทดแทนค่าภาษีไป และย้ายไปอยู่ที่บ้านถนนสีลม คือบ้านไชยา อันเป็นที่ตั้งของ ห้างเซ็นทรัลทุกวันน้ี แม้กระน้ันก็ยังไม่พอชาระภาษีให้แก่รัฐบาล จึงต้องขายหมดแม้กระทั่งช้า ง เรือใบ 15 ลา เรือเดินทะเลและก็ยังไม่พออีก ยังขาดอยู่ถึง 25 หม่ืน ซ่ึงเป็นเงินมิใช่น้อยในสมัยน้ัน” พระยาวจีสัตยารกั ษ์ ภายหลังจากเขา้ รับราชการในกระทรวงมหาดไทยแล้วเกษียณราชการออกมารับ บานาญ พระยาวจีสัตยารักษ์ และบุตรหลานได้สร้างคุณงามความดีเป็นท่ีประจักษ์ มิใช่เฉพาะแต่ใน จังหวดั สุราษฎรธ์ านี เทา่ นั้น หากแต่ได้สร้างคุณงามความดีให้กับประเทศชาติโดยรวมอีกด้วย พระยา วจีสัตยารักษ์ เป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรงมาโดยตลอด ท่านถึงแก่กรรมด้วยโรคลมปัจจุบัน เมื่อวันท่ี 29 มีนาคม พ.ศ.2457 รวมอายุได้ 70 ปี ปัจจุบันมีสถูปซึ่งบรรจุอัฐิของท่านและบุตรหลานในตระกูล ศรียาภัย ณ เมืองไชยา (เกา่ ) ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

57 ภาพที่ 8 ทมี งานวิจยั ถ่ายภาพหนา้ สถูปบรรจอุ ฐั ิตระกลู ศรียาภัย ณ เมืองไชยา (เก่า) ตาบลพมุ เรียง อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี 2. ปา้ ชน่ื ศรียาภยั ภาพท่ี 9 ปา้ ช่ืน ศรยี าภัย หนา้ สถูปบรรจุอัฐติ ระกลู ศรยี าภัย “ศรยี าภยั อนสุ รณ์” เกิดที่เมืองไชยา บิดาช่ือพระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรียาภัย) บิดาเป็นคนเมืองไชยา มารดา เป็นคนกรุงเทพฯ คุณแม่เสียตั้งแต่ป้าช่ืนยังเล็ก บิดาได้ซื้อบ้านไว้ท่ีกรุงเทพฯ เพราะต้องมากรุงเทพฯ ในทางราชการหรือธุระสว่ นตวั ป้าชื่นไดม้ ากรุงเทพฯ ครั้งแรกเมอ่ื คราวพระเมรุพระศพสมเด็จพระนาง สุนันทา ป้าชื่นมีพี่น้องร่วมบิดาสี่คน ป้าช่ืนเป็นพ่ีคนโต คนรองคือพระยาประชุมพลขันธ์ (ขัน ศรียาภัย) บ้านเรอื นอยใู่ นซอยตง้ั ง่วนสว่ ย คนที่สองจอน ศรยี าภยั ออกจากราชการกรมราชทัณฑ์ แล้วก็กลับไป อยู่บ้านเดิมท่ีอาเภอไชยา คนท่ีสามชื่อเฉลิม ได้สามีนามสกุลฤทธาภัย ตั้งบ้านเรือนอยู่ท่ีจังหวัด สุราษฎร์ธานี คนทีส่ ช่ี อ่ื เขตร ศรียาภยั เพ่อื นฝูงเรยี กกันว่า “อ้ายแบค๊ ” รบั ราชการอยู่ท่ีเทศบาล ชอบ

58 กีฬาต่าง ๆ เหมือนป้าช่ืน มีครอบครัวอยู่กรุงเทพฯ ป้าชื่นกาพร้าแม่แต่ยังเล็ก จึงตามคุณพ่อไปทุก ๆ แห่ง ชอบข่มี า้ ข่คี วาย ชกั ว่าว เล่นไมห้ ่ึง เตะตะกร้อ ชกมวย กัดจิ้งหรีด กัดปลา (ฟ้าเมืองไทย ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 287 วนั พฤหัสบดที ่ี 19 กนั ยายน พ.ศ. 2517) หรือ (เขตร ศรียาภยั . 2550 : 410 - 411) งานวันเกิดครั้งหลังสุดของ “ป้าชื่น” หนังสือพิมพ์ “กีฬามวย” ฉบับประจาวันท่ี 14 กันยายน พ.ศ.2495 ได้ตีพิมพ์เรื่องวันเกิดของ “ป้าช่ืน” ครบรอบ 80 ปี อันเป็นงานวันเกิดครั้ง หลังสุดในชีวิตของท่านไว้ดังนี้ “ในงานวันเกิดครบรอบ 80 ปี ของคุณป้าชื่น ศรียาภัย ที่บ้านไชยา ตาบลถนนสีลม จัดอย่างเงียบ ๆ แต่ท่านที่เคารพนับถือและชอบพอ ต่างพากันไปให้ศีลให้พรคุณป้า ช่ืนตลอดวัน” งานวันเกิดปีน้ีคุณป้าช่ืนรู้สึกมีความปลาบปลื้มปรีดาปราโมทย์เป็นอย่างยิ่ง ที่ได้เห็น บรรดาหัวหน้าคณะนักมวยพากันนากระเช้าดอกไม้ไปมอบให้เป็นของขวัญ ยังให้ศีลไห้พร ให้มีอายุ ยนื นานเป็นขวญั ใจของพวกเราตอ่ ไปถงึ 100 ปี ความจริงในเช้าวันน้ัน คุณป้าชื่นมีอาการไม่สู้จะปกตินัก แพทย์ต้องมาตรวจอาการและฉีด ยาให้ 1 เขม็ คุณป้าช่ืนนอนอยู่ลุกไม่ขึ้น เพราะไม่สบายมาหลายวัน แต่พอคุณเขตร ศรียาภัย ผู้เป็น น้องชายบอกว่าวนั นี้จะมีหัวหน้าคณะนกั มวยและบรรดานักมวยพากันให้ศีลให้พรวันเกิดคุณป้าชื่นพอ ได้ทราบกลับลุกขึน้ ได้ทันที รู้สกึ มแี รงกระปร้กี ระเปร่าข้ึน คุณป้าช่ืนพูดกับน้องชายว่าถ้าอย่างนั้นพี่ก็ หาย ออกไปรบั รองพวกนกั มวย ยิ่งเมอ่ื ได้อยูใ่ นระหวา่ งห้อมลอ้ มของบรรดาหัวหน้าคณะและนักมวย ด้วยแล้ว ปา้ ชน่ื มคี วามสขุ ทาให้ทกุ คนทีเ่ ห็นต่างพากันรู้สึกแปลกใจ ในวันเกิดท่านได้สละเงินทาบุญ กอ้ นหนึ่งเปน็ จานวน 1,222 บาท แกม่ หามงกุฎวิทยาลยั วิทย์ คีรีขันธ์ ในฐานะผู้แทนหัวหน้าคณะนักมวยของเวทีราชดาเนิน นากระเช้าดอกไม้สด 1 กระเช้า มอบให้ป้าชื่น สุดใจ สรวลสาเริง พร้อมด้วยสมศรี เทียมกาแหง ได้นากระเช้าดอกไม้ 1 กระเช้า เป็นของขวัญ และกิตยา อัชวณิช หัวหน้าคณะทรงกิตติรัตน์ด้วยอีก 1 กระเช้า นอกน้ันก็มีนายตันกี้ ธเนตรกิจ มนู สมพันธ์ แนบ ชมศรีเมฆ จารัส ภู่พุ่มพวง สมจิตต์ นฤภัย พูน พระขรรค์ชัย อุไร ชินนคร สุชาติ วิถชี ยั หัวหน้าคณะนักมวยอกี มากมาย คณุ ป้าช่ืนไดแ้ จกหนังสอื แกแ่ ขกผู้ทีไ่ ปงานนั้นทกุ คน (หนังสอื ทแี่ จกเปน็ หนังสือท่ีป้าช่ืน เขียน ไว้เอง พมิ พข์ นึ้ เป็นอภินันทนาการแก่บรรดาผู้นับถือคุ้นเคยในหนังสือมีรูปป้าชื่นอยู่ถึง 4 ภาพ ขนาด หนังสือ 16 หน้ายก ปกอ่อน หนา 144 หน้า พิมพ์ พ.ศ.2461 ด้วยกระดาษปรู้ฟธรรมดา) ป้าช่ืน ได้รับเกียรติจากเวทีมวยราชดาเนินเป็นผู้ชานาญการมวย ในการแข่งขันชกมวยเก็บเงินสะสมเป็น มูลนิธชิ ว่ ยเหลือนกั มวย ในวนั ท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ.2495 โดยคูเ่ อกได้แก่ สมเดช ยนตรกิจ ซึ่งเคยแพ้ สมศรี เทียมกาแหง ไดช้ กแกม้ อื ในวันน้ันท่ีประชุมตกลงให้เชิญผู้มีเกียรติและชานาญการมวยมีดังนี้ นายสุนทร (กิมเส็ง) ทวีสิทธิ์ หลวงพิพัฒน์พลกาย ม.ล.ย่ิงศักดิ์ อิศราเสนา นายมาลัย ชูพินิจ นายฉัตร ศรียานนท์ นายวิชิต ทรัพย์สุนทร เจ้ากรมสวัสดิการ ท.บ. น.อ.สวัสด์ิ จันทรมณี ร.น. พล.ต.ต.หลวงสัมฤทธ์ิ สุขุมวาท พ.ต.อ.พิชัย กุลละวณิชย์ นายพล เซียวซองขิม ศรี บุญเรือง คุณช่ืน ศรียาภัย นายนิยม ทองชิต นบั ว่าเปน็ เกียรตปิ ระวัตแิ กป่ ้าชนื่ เปน็ อย่างยิง่ ป้าช่นื ยงั ชอบชว่ ยเหลอื นกั มวยทีต่ กทุกข์ได้ยากท้ังท่ีรู้จักและไม่รู้จักอย่างเงียบ ๆ เป็นประจา อยู่เสมอมา แม้ว่าครูบัว วัดอิ่ม ชกกับครูอินทร์ ศิลารักษ์ เพ่ือเอาเงินบวชลูกชายทั้งๆท่ีตนเองมีอายุ

59 มากแล้ว ปรากฏว่าครูบัวขอยอมแพ้ครูอินทร์ เพียงยกที่ 3 เพราะเหน่ือยมาก เมื่อป้าช่ืนทราบเร่ืองก็ เหน็ ใจถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างพ่อกับลกู จึงได้มอบเงนิ ใหก้ ับครูบวั เปน็ พเิ ศษร่วมกบั คนอืน่ ๆ ดว้ ย เม่อื ครง้ั นายนบ ชมศรเี มฆ สมยั สวนสนุก ล่องใต้ไปชกกับนายแผลด หรือบุญส่งนักมวยไทย สาย ไชยาชกคว่าในยกที่ 1 จนทาให้นายนบ กลายเป็นคนประสาทเสีย ชกไม่ได้ งานไม่มีทา ป้าชื่น ก็สงสารได้มอบเงินให้นายนบสัปดาห์ละ 30 บาทตลอดมา 3 หรือ 4 ปี จนนายนบถึงแก่กรรม โดย ป้าช่นื ไม่ได้รจู้ ดั มกั คนุ้ กบั นายนบมาก่อนเลย อน่ึง เม่ือคร้ังวงการมวยมีมติให้มี “วันนักมวย” ขึ้นเพื่อหาเงินเป็นสวัสดิการแก่บรรดา นักมวย ป้าช่ืนก็สมทบทุนช่วยด้วยแสดงให้เห็นถึงความปรารถนาดีของป้าชื่นที่มีต่อวงการมวยไทย และนักมวยไทยอย่างมากมาย ด้วยเหตุน้ีเองนักมวยไทยไชยาหรือนักมวยอ่ืน ๆ ตลอดจนบุคคลใน วงการมวยไทยจึงเรียกท่านว่า คุณป้าช่ืนบ้าง คุณแม่ชื่นบ้างตามแต่ถนัด(ฟ้าเมืองไทยปีที่ 6 ฉบับวันท่ี 29 วันพฤหสั บดีท่ี 24 ตลุ าคม พ.ศ. 2517) หรอื (เขตร ศรยี าภยั . 2550 : 429 - 432) ป้าช่ืน ศรียาภัย ได้เขียนหนังสือไว้แจกจ่ายให้กับผู้นับถือและคุ้นเคย โดยที่หน้าปกเขียนว่า อภนิ ันทนาการ ล่วงหน้า แด่ท่านที่นับถือ ญาติและมิตรท้ังปวง ก่อนจะถึงวันที่จาต้องลาจากกันไปชั่ว นิรันดรและต่อมากไ็ ด้ถงึ วันที่จาต้องลาจากกนั ไปช่ัวนิรันดร เมื่อวันท่ี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2497 ท่านมี อายุได้ 80 ปี ได้มกี ารฌาปนกจิ ศพของท่าน ณ วดั แกว้ แจ่มฟ้าส่ีพระยา กรงุ เทพฯ ในการจากไปของท่าน นักมวยไทยไชยาหรือบุคคลในวงการมวยไทยได้ระลึกถึงท่านมาโดย ตลอด นับว่าเป็นปาจารีย์ท่านหนึ่งที่เป็นผู้ท่ีอยู่เบื้องหลัง หรืออุปถัมภ์มวยไทยไชยามาตั้งแต่สมัย รชั กาลที่ 5 - 6 จนทาให้มวยไทยสายไชยา มีประวตั ิศาสตรอ์ ันดงี ามและโด่งดังมาถึงทุกวันน้ี นกั มวยไทยสายไชยายุคเฟือ่ งฟู มีดังน้ี 1. หม่ืนมวยมีชื่อ (นายปรง จานงทอง) นายปรง จานงทอง เป็นลูกศษิ ย์ (มวย) เจ้าเมอื งไชยา (ครงั้ หวั เมืองข้ึนกับกระทรวงกลาโหม) คือ พระยาวยั วฒุ วิ ิเศษฤทธิ์ (ขา ศรยี าภยั ) ซึ่งต่อมาได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระยาวจีสัตยารักษ์ และ นายปรง จานงทอง ต่อมาไดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระปิยมหาราช รัชกาล ท่ี 5 ให้เป็นหมื่นมวยมีชื่อเพราะได้เป็นผู้พิชิต มวยฝีมือดี ลูกศิษย์พระเหมสมาหาร เจ้าเมืองโคราช โดยทาการต่อสกู้ ันงานพระเมรุสมเดจ็ พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองค์เจ้าอรุ ุพงศร์ ัชสมโภช รัชกาลท่ี 5 ก็โปรดเกล้าฯ ให้นักมวยฝีไม้ลายมือดี ชกชนะได้รับการแต่งต้ังให้เป็นที่ (ขา้ ราชการประทวน) “หมืน่ มวยมีชื่อ” (ปรง จานงทอง) เป็นนักมวยไทยสายไชยา และหม่ืนมือแม่น หมัด (กลึง โตสะอาด) แห่งบ้านทะเลชุบศร จังหวัดลพบุรี กับอีกผู้หนึ่งได้เป็น “หมื่นชงัดเชิงชก” (แดง ไทยประเสริฐ) แห่งเมืองโคราชหรือนครราชสีมา ข้าราชการประทวนท้ังสามท่านนี้ ได้รับพระ มหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ ไม่ต้องเสียภาษีอากร แม้กระทั่งทาความผิดก็ให้กรมการบ้านเมือง พิจารณาลดหยอ่ นผ่อนโทษ ตามสมควร (เขตร ศรียาภัย. 2517 : 9) นับเป็นความภาคภูมิใจของคน ทง้ั เมืองไชยา และไดน้ าเกยี รติประวตั อิ นั สงู ส่งมาส่เู มอื งไชยาอันเปน็ บา้ นเกิด นายปรง จานงทอง เป็นคนบ้านหัววัว ตาบลเสม็ด โดยกาเนิดเป็นที่น่าเสียดายเป็นอย่าง ย่ิงท่ีไม่สามารถหารูปถ่ายของท่านผู้นี้ได้ แต่สรุปจากปากคาของวิทยากรหลายท่าน พอสรุปได้ว่า ลักษณะของท่านเป็นคนสันทัด หน้ากว้าง คางเรียว จมูกแหลมงุ้ม ผมหยักศกเล็กน้อย แผงอกใหญ่ แขนใหญข่ ้อมือเล็ก น่องเลก็ ผวิ คอ่ นข้างขาว แต่น่าเกรงขาม ไม่ดุแต่คนกลัว ดูรูปร่างแล้วไม่น่าเช่ือว่า

60 จะเป็นคนทม่ี ีความรวดเร็วว่องไว เพราะในการฝกึ หัดศษิ ยท์ ่านมีความรวดเร็วเหนือลักษณะรูปร่างเป็น อันมาก ไม่ว่าลูกศิษย์จะทาอะไร ลูกไม้มวยแบบไหน ท่านสามารถท่ีจะปิดป้องได้จนหมดสิ้น ลักษณะนิสัยเป็นคนพูดน้อย แต่พูดจริงทาจริง เกลียดการทาตัวเป็นนักเลง โดยเฉพาะพวกลักขโมย เคยมผี ูน้ าเน้ือควายส่งไปใหท้ ่าน ทา่ นเพียงแต่ถามว่า เอามาจากไหน คนที่นามาต้องนาเน้ือความกลับ บ้าน เพราะรู้ตัวเองดีและเคยเห็นมาก่อนว่าท่านผู้น้ีจะไม่กินหรือใช้ของที่ได้มาจากการลักขโมย และ คนผู้นัน้ ต้องกลบั ตวั ไม่ลกั ขโมยอกี จนสน้ิ ชีวติ ทา่ น ลูกศิษย์ของท่านทุกคนห้ามพกอาวุธซึ่งจะเป็นอันตรายแก่ผู้อื่นนอกจากเครื่องมือใน การประกอบอาชีพเท่าน้ัน แต่พวกที่ฝึกมวยกับท่าน ถ้าผู้ใดพกมีดหรือของแหลมคมมาด้วย ท่าน จะต้องเกบ็ ไวเ้ สยี เองและจะคนื ใหก้ ต็ อ่ เมอ่ื เสรจ็ การฝึกซ้อมตอนกลับบ้าน นอกจากน้ันท่านเป็นผู้มีเมตตาแม้แต่ในการต่อสู้ เคยมีคร้ังหน่ึงลูกศิษย์ของท่านขึ้นชกมวย โดยมีท่านเป็นกรรมการห้ามมวย ลูกศิษย์ของท่านคือวิทยากรผู้ให้ความรู้น้ียืนยันว่า นอกจากความ ยุติธรรมแล้ว เมตตาธรรมของท่านสูงส่งยิ่งนัก เพราะตอนที่ตัวเขาเพลี่ยงพล้าคู่ต่อสู้ ท่านเฉยได้ แต่ ครัน้ เมอ่ื คตู่ ่อสู้เพลี่ยงพล้าบ้างและเป็นโอกาสทองของเขาในการที่จะซ้าเติมคู่ต่อสู้ ด้วยการท่ีท่านเป็น ผ้มู คี วามรวดเร็ว ทา่ นสามารถจบั ขา (ถาวร จานงทอง สมั ภาษณ์ 26 พฤศจิกายน 2555) แล้วตะคอก ใส่หน้าว่า มวยมิใช่ผู้ทาลายชีวิตแต่เป็นการต่อสู้ด้วยฝีมือ จนผลการชกคร้ังน้ันต้องเสมอกัน ทั้ง ๆ ที่ โอกาสที่จะชนะก็มีมาก ท่านเป็นคนสมถะ ประกอบอาชีพท่ีไม่เอาเปรียบผู้อ่ืน ท่านไม่เคยเอาตาแหน่งข้าราชการ ประทวน “หมื่น” ของท่านในการหาผลประโยชน์เข้าสู่ตัวเอง ท่านประกอบอาชีพทานาของท่าน จะมี ก็เพียงลูกศิษย์ลูกหาของท่านเท่านั้นท่ีไปช่วยเหลือท่านในบางคร้ัง ว่างจากการทานาส่ิงท่ีท่านชอบ มากที่สุดก็คือ การวางแร้วปูและการดักซ่อน โดยเฉพาะการวางแร้วปูและการมัดปูดานั้นท่านทาเร็ว มาก ถึงขนาดว่าผู้หญิงท่ีมัดข้าวต้มท่ีว่าเก่ง กับท่านผูกปู (มัดปู) ข้าวต้มหนึ่งลูกกับปูหนึ่งตัวท่าน สามารถผูกปไู ดเ้ สร็จก่อน การฝึกมวยให้กับลูกศิษย์ของท่าน ส่วนใหญ่ท่านจะคอยน่ังดูและแนะนาให้นอกจากจะไม่ พอใจเท่านัน้ ทา่ นจงึ จะลงมาสวมนวมซ้อมให้เอง แต่ไม่ค่อยมีใครกล้าซ้อมกับท่านเพราะการซ้อมกับ ท่านต้องทาจริง โดยท่านจะเป็นผู้แสดงวิธีแก้ลูกไม้มวยแต่ละอย่างให้พร้อมท้ังการจู่โจมเข้าทา เน่ืองจากท่านเป็นผู้ที่มีความรวดเร็วในการเข้าออกในการต่อสู้ รวมท้ังเข้ามวยได้ทั้งซ้ายและขวา ลูกศิษย์ของท่านทุกคนจะต้องเข้ามวยได้ทั้งสองข้าง ถ้าใครเข้ามวยเพียงด้านเดียวแล้ว ส่วนใหญ่จะ ได้รับการฝึกเป็นพิเศษ จนบางครั้งต้องเป็นอันตรายก็มี เช่น นายอุ้ย อักษรช่ืน เป็นแผลเป็นที่ หน้าแข้งข้างซ้ายยาวเกอื บ 2 นิ้ว มาจนถึงทุกวันนี้ นายรับ เมืองคล้าย หน้าแข้งยังคงบวมปูดอยู่จน ทกุ วนั น้เี พราะลูก “ฉดั ” (การใชน้ ้วิ เทา้ เตะตรงไปทีห่ นา้ แขง้ ) จากการฝึกหัดที่อาจจะเจ็บตวั กว่าการชกจริง ทาใหไ้ มค่ ่อยมีใครท่ีจะกล้าลงนวมซ้อมกับท่าน ศษิ ยม์ วยของท่านบางคนถึงกับกลัวมาก อยา่ งเช่น หลานชายของท่านผู้หนึ่ง ซ่ึงเป็นนักมวยฝีมือเย่ียม และเคยเดินทางไปชกมวยที่กรุงเทพฯ จนได้รับรางวัลหน้าเสือกลับบ้าน ก็ไม่กล้าท่ีจะลงนวมกับท่าน เคยมคี รง้ั หน่งึ ทา่ นไม่พอใจในการฝึก ก็ลงมาสวมนวมเพื่อซ้อมให้ ปรากฏว่าหลายชายต้องกระโดดน้า หนี ทั้ง ๆ ที่ยังสวมนวมซ้อมอยู่ แต่เมื่อท่านไม่อยู่ผู้ที่ควบคุมการฝึกซ้อม ได้แก่ นางอาบลูกสาวคนโต

61 ถึงแม้ลูก ๆ ของท่านจะเป็นผู้หญิงเกือบท้ังหมด แต่ท่านก็ยังฝึกมวยให้สาหรับลูกคนที่สนใจ อยา่ งเชน่ นางอาบ และนางปราง เปน็ ตน้ หม่ืนมวยผู้น้ีมีนิสัยอีกอย่างหน่ึงคือเป็นคนค่อนข้างจะเจ้าชู้เพราะนอกจากภรรยาท้ังสามคน แล้วการไปไหนโดยเฉพาะการนามวยไปชกท่ีงานเฉลิมฯที่บ้านดอนทุกครั้งจะต้องมีลูกสาวคนโต ติดตามไปด้วยเพ่ือเป็นการป้องกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามเมื่อท่านเสียชีวิตแล้วก็มีลูก ๆ จากในบาง (อาเภอเมือง) ตดิ ตามมาหาพอ่ ก็หลายคน ความเป็นยอดมวยของท่านผู้นี้มีอยู่ 2 ส่ิงที่ท่านกลัวเป็นชีวิตจิตใจ ส่ิงนั้นคือ ปลิงกับช้าง กลา่ วกนั ว่าตอนรว่ มกันทาคอกช้างกับเพ่ือน ๆ ท่านได้รับยกเว้นภาษีเม่ือได้ช้างท่านมีสิทธ์ิได้ฟรี 1 ตัว แตท่ า่ นกไ็ มเ่ อาเพราะความกลัวช้าง แต่ท่ีทาไปก็เพ่ือเป็นการช่วยเหลือเพ่ือนๆเท่าน้ันเอง สาหรับปลิง นัน้ ถึงแม้ทา่ นจะมีอาชพี ทานา ท่านก็ไม่ยอมให้ปลิงเกาะตัวท่าน การแต่งข้างคันนาท่านก็ไม่ยอมลงน้า ท่านจะยืนแต่งบนคันนาเท่าน้ันแต่ถ้าจาเป็นต้องลงไปในนาและถูกปลิงเกาะ ท่านจะออกวิ่งเร่ือยไป จนกวา่ ปลิงจะหลดุ ไปเอง นอกจากน้ันกล่าวกันว่าท่านเป็นคนเน้ือดี (หนังเหนียว) คร้ังชกมวยหน้าพระท่ีนั่งและได้ ตาแหน่งหม่ืนกลับมาน้ัน ท่านถูกคู่ชก ชกถูกใบหน้าบริเวณใต้ตาซ้าย มีอาการเขียวคล้าอย่างมากแต่ ไม่แตก จากความเป็นคนสู้คนกรรมการและพรรคพวกบอกให้ยอมแพ้ แต่ท่านกลับคิดว่าถ้าแพ้ก็ขอ ตายหนา้ พระที่น่งั จนการตอ่ สู้จบลงดว้ ยชยั ชนะ และการต่อสู้ในคร้ังนี้เองท่ีทาให้ท่านมีรอยเขียวซ้าจน ตลอดชีวิตแม้ตอนที่เสียชีวิตรอยเขียวซ้าน้ันจะจางหายไปบ้างแล้วก็ตามนอกจากการต่อสู้ในคร้ังน้ัน แล้วมอี ยู่ครั้งหนงึ่ คอื ตอนที่ท่านนานักมวยไปชกในการรับเสด็จรัชกาลที่ 6 ที่บ้านควนท่าข้าม อาเภอพุนพิน ตอนกลับท่านได้รับอุบัติเหตุคือเรือใบถูกลมพัดจัดเสาใบหักลงตีศีรษะทุกคนในเรือคิดว่าศีรษะของ ท่านจะต้องแตก แต่เม่ือท่านเปิดมือท่ีกุมหัวให้ดูทุกคนก็เห็นว่าไม่มีเลือดไหลออกมาเลยนอกจากจะ เหน็ ศรี ษะของทา่ นเป็นรอยบ๋มุ ลงและจากอุบัตเิ หตุครงั้ นเ้ี องท่ีทาให้ทา่ นกลายเป็นคนท่ีหูค่อนข้างตึงไป เลก็ น้อย หม่ืนมวยมชี อ่ื ทา่ นไดเ้ สียชีวติ อยา่ งสงบท่บี ้านของท่านเอง เมื่ออายไุ ด้ 60 ปีเศษ มีการจัดงาน ศพถงึ 9 คืน ซ่งึ นบั ได้วา่ เป็นศพแรกของไชยากว็ า่ ไดท้ ่ีทาบุญงานศพนานถึงเพียงนั้นและในวันเผาศพก็ มีการชกมวยของบรรดาศษิ ยเ์ ปน็ การบูชาครเู ป็นคร้ังสดุ ท้ายอยา่ งมากมาย

62 ภาพที่ 10 อนุสาวรียห์ มื่นมวยมีช่ือ (นายปรง จานงทอง) บรเิ วณท่าโพธ์ิ อาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี 2. นายนิล ปักษี นายนิล ปกั ษี นับไดว้ า่ เปน็ ตระกูลมวยในบ้านพมุ เรียง พ่อของนายนิล ช่ือนายเพชร ก็เป็น นักมวยไทยสายไชยาช่ือดัง ได้เคยชกมวยกับนักมวยแขกตรังกานู และแขกปัตตานี คร้ังฉลองตรา พระยาวจสี ตั ยารกั ษ์ นายนลิ กาพร้าพอ่ ซ่ึงเปน็ นกั มวยฝีมอื ดีหาตัวจับยาก นายนิลได้ฝึกหัดท่าร่ายรา มาบ้างเล็กน้อย แต่เมื่อนายนิลเติบโตเป็นหนุ่มขึ้น ภายใต้ความอุปการะของแม่และปู่ ได้ฝึกหัดมวย เพม่ิ เตมิ จากครนู นิ (บงั เอญิ ช่อื พอ้ งกัน แต่ครูนินสะกดด้วย น.) ซึ่งเคยเป็นครูมวยของพ่อคือนายเพชร อีกทหี นง่ึ นายนิล ปักษี เมื่อเป็นเด็กหนุ่มเต็มตัว ได้เร่ิมชกมวยคร้ังแรกท่ีศาลาเก้าห้อง ตาบลพุมเรียง ครั้งนั้นเป็นงานลากพระประจาปี (ทานองงานชักพระวัดนางชี ท่ีธนบุรี) นายนิลได้คู่ชกกับนายแพน ชาวบ้านปากท่อ ซึ่งเคยเข้ามาชกกับนักมวยจากนครราชสีมาถึงในกรุงเทพฯ รูปร่างนักมวยท้ังสอง ฝ่ายคือนายนิล กับนายแพน พอฟัดพอเหว่ียงกัน และเป็นการชกคร้ังแรกด้วยกันท้ังคู่ การต่อสู้ เป็นไปอย่างที่เรียกว่าถึงพริกถึงขิง เป็นท่ีสบอารมณ์ของคนดูอย่างย่ิง ผลสุดท้ายปรากฏว่าเสมอกัน แต่เพ่ือนฝูงต่างต้องประคองกันกลับบ้าน (เขตร ศรียาภัย “มวยไทยปริทัศน์” ฟ้าเมืองไทย. 6 (280) สิงหาคม 2517 หน้า 9, 51) นายนิล ปักษี มีฝีมือทัดเทียมกับนาปรง จานงทอง แต่พระยาวจีสัตยารักษ์มิได้นานายนิล ปักษี เขา้ กรงุ เทพฯ พร้อมกบั พร้อมกบั นายปรง จานงทอง ด้วยเหตุทข่ี าข้างหนึ่งของนายนิล ลีบเล็ก พระยาวจีสัตยารักษ์เกรงจะถูกตาหนิว่าคนร่างกายสมประกอบท้ังเมืองไชยา ไม่มีแล้วหรือ จึงนา นักมวยขาพิการมาชกหน้าพระท่ีน่ัง เหตุน้ีทาให้นายนิล ปักษี น้อยเน้ือต่าใจ และพยายามจะเข้า กรุงเทพฯ เพ่อื ชกมวยเฉพาะพระพกั ตร์พระเจา้ แผน่ ดินด้วยตนเอง แต่ทว่าเงิน 5 บาท ค่าโดยสารเรือ เมลไ์ ปกลบั (รวมค่าอาหาร 2 วนั 2 คนื ) ไม่ไดจ้ งึ พลาดโอกาสท่จี ะเป็นหม่ืนเยี่ยงเพื่อนนักมวยซ่ึงมีฝีมือ ทัดเทยี มกัน

63 บันทึกจากสมเด็จพุทธาจารย์ (สม ฉนโน) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศน์เทพวราราม กล่าวว่า นายนิล ครูมวยไทยไชยา ประแป้งนวลหน้าขาว ขั่งขัดสมาธิบนครก (ตาข้าว) แล้วให้ลูกศิษย์เข้าซ้อม ชกพร้อมกันสามคน โดยครูนิลสามารถปิดป้องมิให้หมัดลูกศิษย์โดนหน้า และไม่เสียหลักถึงตกจาก ครก (จากหนงั แจกในงานพระราชทานเพลิงศพของสมเดจ็ องคน์ ั้น) 3. นายเนียม ปักษี ในสมัยสนามมวยสวนสนุก เป็นสนามสัมปทาน 10 ปี ของพระยาคทาธรบดี ป้าชื่นก็ได้ สนับสนุนเพ่ือความครื้นเครงแก่วงการมวย โดยเรียกตัวนายเนียม ปักษี ลูกชายครูมวยรุ่นเก่า รุ่นเดียวกันกับหมื่นมวยมีชื่อมา นายเนียม ได้มาพักอยู่ท่ีบ้านไชยาและขึ้นชกที่สนามมวยสวนสนุก 2-3 คร้ัง เป็นท่ีพออกพอใจของประชาชนที่ได้มาชมฝีมือมวยไทยสายไชยาขนานแท้และด้ังเดิม แต่นายเนียม มีโรคประจาตัวอันเกิดจากไข้มาลาเรีย (ปักษ์ใต้เรียกว่า ไข้ป้าง) ถึงขนาดม้ามย้อย เวลาชกต่อยรู้สึกเหน่ือยและหอบเร็วผิดปกติ จึงต้องรีบกลับไชยา ท้ัง ๆ ท่ีฝีมือของเขายังฝังใจแฟน มวยทว่ั ไปของสนามมวยสวนสนุกครงั้ น้ัน 4. นายอินทร์ ศักดเ์ิ ดช การต่อสู้ระหว่างสุวรรณ นิวาสะวัต นักชกผู้เดียวที่สามารถพิชิตยอดมวยไชยานามว่า อนิ ทร์ ศกั ดเ์ิ ดช ได้ ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังนี้ (เขตร ศรียาภัย “ปริทัศน์มวยไทย” ฟ้าเมืองไทย. 6 (279) กรกฎาคม 2517 หน้า 9,49) 6(272) กรกฎาคม 2517 หน้า 10,15) เม่ือสัญญาณหมดยกแห่งการ แลกหมัดกันเต็มอ่ิม ท่ามกลางเสียงโห่ร้องของประชาชน สุวรรณ สิวาสะวัต ยืนหลับตาอยู่ครู่หนึ่ง แล้วจึงค่อย ๆ ก้าวลงจากเวที ส่วนอินทร์ ศักดิ์เดช นั้นเห็นกันว่าเหน่ือยมาก เกี่ยวด้วยสังขารท่ีแก่ กว่า สุวรรณ นวิ าสะวตั หลายขวบ พี่เลี้ยงต่างกุลีกุจอให้น้าเป็นการใหญ่ แต่เมื่อสัญญาณเริ่มยกท่ี 4 มีสุวรรณ นิวาสะวัต เดินขึ้นเวทีเพียงคนเดียว แว่วเสียงค่อย ๆ ของบุรุษผู้หน่ึงรูปร่างสันทัดก้าว พรวด ๆ ผ่านหน้าไปและบอกกับเพื่อนของเขาว่า เสร็จแล้ว จาได้ว่าเจ้าของเสียงเป็นนักดนตรีที่เคย เป่าปี่ฝรั่งในกระโจมคราวมีงานปีที่สนามหญ้าหน้ากองเรือกลช้ัน 4 (บริเวณท่าราชวรดิษฐ์) ต่อจากนั้น กม็ ีเสียงโจษขานพึมพาอย่างไม่ได้ศัพท์ออกมา อินทร์ ศักดิ์เดช เป็นลมลุกขึ้นไม่ไหว จึงตกเป็นผู้แพ้ แล้วตามกติกา พวกสนับสนุน สุวรรณ นิวาสะวัต ต่างกระโดดโลดเต้นโห่ร้อง นักการพนันมือไม้ส่ัน ล้วงกระเป๋าไม่ค่อยลง เพราะรู้สึกว่ากระเป๋าแคบไมสะดวกแก่การล้วง บางคนถกเถียงกันตาม ความรูส้ กึ คลางแคลง สว่ นครแู ก้วผทู้ รงวิทยาคณุ ทาหน้าละห้อย และไม่พดู ไม่จา รุ่งขึ้น ณ บ้านไชยา ถนนสีลม (ตรงข้ามห้างเซ็นทรัลปัจจุบัน) อันเป็นสถานท่ีพักพิงได้ของ ชาวปักษ์ใต้ท่ีตกทุกข์ ครูแก้ว พร้อมด้วยอินทร์ ศักด์ิเดช ได้ไปเย่ียมลาเจ้าของบ้านตามขนปนิยม เมื่อเจรจาและสอบถามกันตามอัธยาศัย ได้ความว่าเมื่ออินทร์ ศักดิ์เดช กลับลงจากเวที ภายหลัง ยกท่ีสามนั้น รู้สึกเหน็ดเหน่ือยมากเหมือนกันแต่กระน้ันก็ยังม่ันใจว่า ไม่น่าจะเกิดเหตุถึงพ่ายแพ้ ง่าย ๆ เพราะน้าหนักหมัดขวาของ สุวรรณ นิวาสะวัต ไม่หนักเกินกว่าอินทร์ ศักด์ิเดช จะทนได้ เพราะเคยต่อยมวยมามาก และเคยเจอคูช่ กหมดั หนัก ๆ กว่าสุวรรณ ก็เคยมีต่อเมื่อมีผู้อ้างความหวังดี เอาสาลีมาจ่อจมูกแล้วว่าเป็นยาแก้ลม อินทร์ ศักด์ิเดช จึงรู้สึกว่า “มีอะไรคล้ายแมงผีเสื้อบิน พรวดพราดเขา้ มาในเพดานปาก” ถงึ กับต้องผงะและปัดมือ สักครู่จึงรู้สึกหน้ามืด มือเท้าอ่อนลุกไม่ขึ้น ครูแก้วต้นหยวก หรือ นายโรงหนังตะลุงมีชื่อ ปรารภด้วยความผิดหวังว่า “เพราะมันมากหน้าหลาย ตาจงึ แพร้ ้เู ขา” นายอินทร์ ศกั ดเ์ิ ดช ผนู้ ้ีเองท่ีเคยเป็นครูฝกึ มวยอกี คนหน่งึ ของนายจ้อย เหลก็ แท้

64 5 นายสอน ศกั ดิเ์ พชร นายสอน ศักดิ์เพชร นักมวยดีคนหน่ึงของไชยา ที่เคยต่อสู้ไม่แพ้ไม่ชนะกับนายตู้ ไทย ประเสรฐิ ชาวบ้านพาไล จังหวัดนครราชสีมา น้องชายของ “หมื่นชงัดเชิงชก” (แดง ไทยประเสริฐ) ท่ีสนามมวยสวนกุหลาบ จากบันทึกคาบอกเลา่ ของนายบุญเทือก หรือบุญ ณ ไชยา ว่า นายสอน ศักด์ิเพชร เกิดท่ี ตาบลบ้านเวียง ได้เริ่มฝึกหัดมวยตัง้ แต่ยังเปน็ เด็ก เชน่ เดียวกบั เดก็ อืน่ ๆ ของเมอื งไชยา โดยเฉพาะท่ี บา้ นเวียงน้ขี ้ึนช่อื ว่าเป็นตาบลบ้านมวยย่งิ กว่าบ้านอื่น ๆ นายสอนมีนิสัยซุกซนคึกคะนองโลดโผนโจน ทะยาน ในชั้นแรกกไ็ ม่ไดฝ้ ึกหัดกับครู แต่ตาบลบ้านเวียงในสมัยน้ันมีนักมวยชั้นดีอยู่หลายคน นักมวย ฝีมือเย่ียมสมัยโน้นอาจเทียบได้กับหัวหน้าคณะ ซึ่งผิดกับสมัยปัจจุบันตรงท่ีว่า หัวหน้าคณะต้องเป็น มวยจัดเจนด้วย มักเรียกกันว่า นายกองมวย เตรียมตัวเป็นทหารป้องกันเขตแดน และรักษาความ สงบเรียบร้อยของบา้ นเมอื ง หรอื อยา่ งนอ้ ยกใ็ นอาเภอหรอื ตาบลทต่ี นอยู่ เมื่อนายสอนรุน่ หนุ่ม และได้ฝกึ หดั วิชามวยจรงิ จงั กับนายกองมวยจนฝีมือเข้าข้ันแล้ว ก็ได้เร่ิม ชกมวยแบบคาดเชือกตามประเพณี คร้ังหน่ึงในชีวิตนายสอน ศักด์ิเพชร น้ัน ได้เป็นเหตุบังเอิญให้ เด็กหนุ่มรุ่นราวคราวเดียวกัน แต่อยู่ตาบลใกล้เคียงกันต้องท้ิงบ้านเพื่อหลบหน้าเพราะความอับอาย แต่กลับไปได้ดีมีหน้ามีตาในเมืองอ่ืน (เขตร ศรียาภัย “ปริทัศน์มวยไทย” ฟ้าเมืองไทย. 6(299) ธนั วาคม 2517 หน้า 14, 50 -51) เรอ่ื งราวมวี า่ เมอ่ื นายสอนอายปุ ระมาณ 18-19 ปี ไดเ้ ปรียบคู่ชกมวยกับหนุ่มรุ่นเดียวกัน ใน งานประจาปี ผลลัพท์ของการชกต่อยในวันนั้น คู่ชกของนายสอน ต้องพ่ายแพ้ฝีมืออย่างยับเยินท่ีสุด ทาให้ผู้แพ้ไม่อยากอยู่ดูหน้าใครในอาเภอไชยาต่อไป นี่ก็แสดงถึงอติมานของลูกผู้ชายท่ีได้รับการ ฝกึ หดั มวยอันเปน็ มรดกล้าค่าของไทย เจ้าหนุ่มที่แพ้จึงตัดสินใจเดินทางไปจังหวัดสงขลา เมืองดอกไม้ งามของปักษ์ใต้ เด็กหนุ่มผู้เต็มไปด้วยเกียรติภูมิ ได้พยายามเข้ารับราชการเริ่มต้ังแต่ ตาแหน่งเล็ก ๆ จนกระทง่ั ไดร้ ับพระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็นขุนในเวลาต่อมา จึงนับไว้ว่านายสอน ศักด์ิเพชร นักมวย ไชยา ได้มีส่วนสง่ เสริม ท่านขุนสหภูมเิ ดยี วกันอยูบ่ า้ งเหมอื นกนั เมื่อนายสอน ศักดิ์เพชร เติบโตข้ึนความคึกคะนองก็เติบโตตามตัว ไปเท่ียวราวีมวยดีตาม ตาบลและอาเภอต่าง ๆ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เกือบทุกแห่งท่ีจัดชกมวยและปราบใครต่อใครจน เป็นทลี่ ือเล่อื งและครั่นครา้ มแกน่ ักมวยด้วยกันทางปกั ษ์ใต้ จนหาค่ชู กยากเข้าทุกที คร้ันทางกรุงเทพฯ จดั ใหช้ กมวย โดยสรรหานักมวยจากหัวเมืองปกั ษ์ใต้ฝา่ ยเหนอื เพือ่ เกบ็ เงินซ้อื ปืนให้กองเสือป่า ภายใต้ การควบคุมของพระยานนทิเสนสุเรนภักดี (แม๊ก เศียรเสวี) ที่สนามบริเวณโรงเรียนสวนกุหลาบ วทิ ยาลยั นายสอนก็เป็นอีกผูห้ น่ึงซ่งึ ได้ถกู คัดเลือกให้เดินทางเขา้ กรงุ เทพฯ พรอ้ มนักมวยไทยสายไชยา พุมเรียงและสุราษฎร์ ขณะน้ันนายสอน ศักดิ์เพชร มีอายุประมาณ 30 ปี (พ.ศ.2464) พึงสังเกตว่า สมัยนัน้ นักมวยอายุ 18-19 ปี เรยี กว่า มวยเดก็ กว่าจะหาประสบการณ์ได้มากเพียงพอเข้ามาตรฐานก็ อายุ 25 -30 ปี ไดเ้ ปรยี บคคู่ รงั้ แรกทีบ่ ริเวณสนามเสือป่า สวนดุสิต และได้คู่กับนายดา นักมวยจาก ลพบุรี ซ่ึงดูเหมือนจะม่ันใจในชัยชนะเกินไปสักหน่อย เพราะลักษณะท่าทางของมวยไทยสายไชยา ดูออกจะหงอย ๆ ไมน่ า่ กลวั เหมอื นนักมวยจากทรี่ าบสูง

65 ในการพนั ตูคร้งั นั้น นายดาราวนเวียน เตรียมปล่อยหมัดตรงตามแบบฉบับ มวยลพบุรีเขยิบ เข้าหานายสอน ซ่ึงยกตีนซ้าย ทาให้คู่ชกเข้าใจว่าจะถีบ แต่กลับเหว่ียงหมัดถูกแก้มนายดาอย่าง ถนดั ถนี่ ถึงเซแซด ๆ แตน่ ายดามไิ ด้แสดงอาการเจ็บแสบแต่ประการใด พอตั้งตัวก็ขะยิกเข้าหาอีกเพื่อ แกล้ า ทาความแปลกใจให้นายสอนไมน่ ้อย เพราะหมัดขวาของนายสอนท่ีเหว่ียงออกไปเคยศักดิ์สิทธ์ิ จึงนับได้ว่านายดาทรหดอดทนเอาการ ในขณะเดยี วกนั นัน้ นายสอนก็มิได้ประมาท และไม่ละทิ้งนาที ทอง กัดฟนั เตรียมจดจ้อง คอยเกง็ หมัดซ้ายขวาและตีนหน้าหลังตามอุปเท่ห์ “จะฉะสับพัง” ซ่ึงครูบา อาจารย์ได้ส่ังสอนมา หมายมั่นที่สาคัญตรงเบ้าตาใต้โหนกแก้มซ้าย “ฉะ” ฉาดเข้าตรงเป้าหมายพอ ดบิ พอดี เปน็ เหตุใหน้ ายดาเซถลาอีกครั้งหน่ึง ฉับพลันทันใด นายสอนก็ขยับเท้าก้าวหน้าป่ายแข้งซ้าย เข้าก้านคอ ยังผลให้นายดาถึงซ่ึงอาการงอก่อลงกับพ้ืนในครึ่งยกแรกนั่นเอง สร้างความตกตะลึงพรึง เพรดิ ให้แกผ่ ดู้ ูในสมัยนนั้ ขนาดกลา่ วขวัญกนั อยหู่ ลายวัน เม่ือนายสอน ศักดิ์เพชร ได้รับเหรียญตราหัวเสือและสายสร้อยเงินคล้องคอเป็นที่ระลึก แลว้ กช็ กั มันเข้ยี ว เพราะการต่อสไู้ ดย้ ตุ ิภายในเวลาอนั รวดเร็วเกินไปยงั ไมท่ ันเหง่ือซึม กรรมการเปรียบ คู่มวยก็ตื่นเต้น ท่ีไม่คาดคิดว่ามวยไทยสายไชยาที่มีท่าทางหงอย ๆ หัวส่ัน ๆ ซึมเชื่อง จะมีฝีมือ ร้ายกาจถงึ ปานน้นั และดว้ ยเจตนารมณท์ จี่ ะเรยี กคนจึงกาหนดให้นายสอนได้คู่กับมวยดีจากที่ราบสูง คอื นายตู้ ไทยประเสรฐิ ซ่งึ เคยหา้ หัน่ คู่ตอ่ สเู้ ปน็ ที่ประจักษม์ าแลว้ กอ่ นน้ันเช่นกัน การพันตูระหว่างนายตู้ ไทยประเสริฐ กับนายสอน ศักดิ์เพชร ในครั้งนั้นยังมีผู้จดจาติดหู ติดตาอยู่หลายคน นายสอนค่อนข้างเสียเปรียบนายตู้เล็กน้อย แต่นายสอนก็มิได้แยแส คอยใช้ศอก โต้ตีนนายตู้ จนกระท่ังตัวเองศอกแตกเป็นแผลท้ังสองข้าง (มีแผลติดตัวจนกระทั่งตาย) ส่วนนายตู้ ก็มไิ ด้เสียเลอื ดเนอ้ื ให้แก่นายสอนแม้แต่ยกเดียว เม่ือได้ห้าหั่น (ดูเหมือน 9 ยก) จนต่างคนต่างอ่อนลง แล้ว กรรมการตัดสินให้เสมอกัน นายตู้รีบมากอดคอนายสอน พร้อมกับอุทานว่า “เต็มก๋ึน” ฝ่าย นายสอนก็มองสารวจตัวนายตอู้ ย่างแปลกใจ ทไ่ี ม่มรี อยแตกเลย คร้ังน้ันเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ ซ่ึงได้ประทับทอดพระเนตรการต่อสู้ระหว่าง มวยดเี มอื งเหนือและเมืองใต้ ด้วยความพอพระทัยอย่างย่ิง ได้ทรงเมตตาประทานผ้าห่มเพลาะให้แก่ นายสอนและนายตู้คนละผืน นอกจากผ้าห่มเพลาะแล้ว นายสอนยังได้รับหนังสือคุ้มครองที่ได้ ประทานแก่นายนิล ปักษี และนายสอนได้เก็บรักษาไว้ซึ่งของประทานทั้งสองส่ิงไว้จนกระท่ังเป่ือย เพราะกนิ ตวั นายสอน ศักด์ิเพชร ได้แต่งงานกับนางปราง ศักดิ์เพชร ซ่ึงเป็นลูกสาวคนท่ี 3 ของหมื่น มวยมีชื่อ (ปรง จานงทอง) มีทายาทสืบทอดกีฬามวยมาหลายคน โดยเฉพาะนายนาค นายปรีดา และนายอารมณ์ 6. นายคล่อง กัณหา

66 ภาพที่ 11 นายคลอ่ ง กณั หา ที่มา : หนงั สอื ปรทิ ัศนม์ วยไทย หนา้ 368 คล่อง กัณหา นักชกผู้มีฉายาประจาหมู่บ้านพุมเรียงว่า “นักชกผู้ชกเจ๊กตาย” ดังข้อความ ที่ว่า ได้มีข่าวการชกมวยคร้ังสาคัญลงในหน้าหนังสือพิมพ์กรุงเทพฯ เดลิเมล์ (เก่า) สมัยนายหลุยส์ คีรีวัต เป็นบรรณาธิการ ข่าวหนึ่งเป็นข่าวการชกระหว่างนายคล่อง กัณหา นักมวยชาวไชยา กับ นักมวยจนี แคระซ่ึงเป็นกุลีหาบแร่อยู่ในเหมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดชุมพร หัวข่าวมีว่า “ไปตายรัง” เน้ือ เรื่องดาเนินว่า กุลีจีนคนนั้นมีกาลังมาก ตามปกติหาบแร่ได้หนักกว่าเพื่อนกุลีธรรมดาอื่น ๆ ประมาณ 2 เท่า หรือแบกข้าวสาร 2 กระสอบ นอกจากความแข็งแรงผิดธรรมดาแล้ว และเป็นผู้มี ฝีมือทางมวยจีนอยดู่ ว้ ย (เขตร ศรยี าภยั . 2518 : 14) กุลคี นสาคญั ของเหมืองใกล้เคียงต่างคร่ันคร้าม พวกเศรษฐีนายเหมืองเหมืองจึงคิดหาเงินอย่างง่าย ๆ โดยจะให้ชกกับนายคล่อง กัณหา ซึ่งขณะนั้น กาลังเปน็ นกั มวยทีม่ ีช่อื เสยี งโด่งดงั อย่ทู ี่จงั หวดั ชุมพร การชกระหว่างมวยไทยกับมวยจีนครั้งน้ัน พอเร่ิมการต่อสู้ข้ึนนายคล่องก็ถอยหนีและเตะไป เรอื่ ย ๆ มวยจีนจึงรุกไล่เขา้ ทาอะไรนายคล่อง ไม่ไดถ้ นัด จนในทส่ี ดุ นักมวยจนี เดือดดาล ได้ใช้วิธีพุ่งหัว เข้าชกหน้าอก (สมยั นน้ั ยงั ไมม่ ีกตกิ าหา้ ม) นายคล่อง การใช้ไม้สาคัญของมวยไทยจึงเกิดขึ้น ทาให้มวย จีนต้องร่วงลงกับพื้นและต้องหาม ข่าวหนังสือพิพม์กรุงเทพฯ เดลิเมล์ กล่าวว่า ในคืนวันนั้น หรือ วนั รุ่งขนึ้ นกั มวยจนี คนนนั้ ก็ถึงแก่กรรม ครั้งหน่ึง คล่อง กัณหา ได้ชกกับนักมวยเพชรบุรี ช่ือ ฮิม เป็นไทยอิสลามและได้รับชัยชนะ คลอ่ ง กณั หา และพวกเมื่อไดเ้ ดินทางกลับพุมเรยี ง พรอ้ มกบั เงินรางวัลในกระเป๋ากางเกงหน่ึงช่ังท้ัง ๆ ทีจ่ มูกและปากบวมพดู ไม่คอ่ ยชดั คล่อง กัณหา กส็ นกุ เฮฮากบั เพือ่ นตลอดทางนับแต่วันนั้นเป็นต้นมา ช่อื เสยี งของคลอ่ ง กณั หา กต็ ดิ อยูร่ ิมฝปี ากของคนพมุ เรียง ไชยา ในชุมนุมสนทนาตามโรงน้าชา กาแฟ ทุกแหง่ แตค่ ล่อง กัณหา มไิ ด้ขน้ึ ชกมวยกับใครอีกเลย

67 7. นายเต็ม กัณหา สาหรบั เตม็ กณั หา น้องชายผูซ้ งึ่ ติดตามผู้พี่ครงั้ สนามมวยสวนกุหลาบ ก็มีชื่อเสียง เพราะ เต็ม กัณหา ชกต่อยดุเดือดยิ่งกว่าพ่ีชายมาก คร้ังแรกที่ เต็ม กัณหา ขึ้นชกมวยท่ีสนามสวนกุหลาบ และเป็นที่ติดหูติดตาต้องใจคนไปทั่ว ก็เพราะเหตุว่า วันที่คล่อง กัณหา ได้คู่ชกกับนักมวยฝีมือดีชาว เพชรบุรี ช่ือ ฮิม เป็นไทยอิสลาม เต็ม กัณหา เพิ่งจะสึกออกมาจากเพศบรรชิต และเดินทางตาม พี่ชายเขา้ มาพักทบ่ี า้ นไชยา ถนนสีลม ผมบนหัวของเต็ม ยาวขนาดท่ีเรียกว่า “มดแดงชะเง้อ” ขณะที่ เต็ม กัณหา ดูพี่ชายชกต่อย ปรากฏว่าคนดูรอบ ๆ ตัวเขาเป็นแฟนของนายฮิมแทบท้ังสิ้น เสียงหนุน ฝ่ายนายฮิม ค่อนข้างจะหยาบคาย และบางทีก็เกินเลยถึงขนาดด่าพ่อล่อแม่ เป็นเหตุให้เต็ม กัณหา เกดิ โทสะ ถึงขนาดเห็นช้างเท่าหมู ท้ัง ๆ ที่ตัวคนเดียวในหมู่ฝ่ายตรงกันข้าม ซึ่งมากมาย เต็ม กัณหา ก็กลน้ั โทสะไว้ไม่อยู่ ได้ด่าตอบในภาษาแปร่ง ๆ ของชาวใต้โดยไม่ได้หวั่นเกรง เม่ือแรงต่อแรงแข็งข้อ เข้าหากัน เหตกุ ารณอ์ ันรนุ แรงกเ็ กดิ ขึ้น มีคนหนึง่ ทางฝา่ ยสนับสนุนนายฮมิ เปน็ ชายหนุ่มรปู ร่างล่าสัน แหวกเพ่ือนเข้ามาหา เต็ม กัณหา พูดจาท้าทายชวนตี ฝ่ายเต็ม กัณหา เข้าใจว่าจะต้องชกกันเด๋ียว นัน้ แบบมงี านในชนบท จึงเตรยี มตัวและร้องบอกกล่าววา่ ขออย่าให้รุมกัน บุคคลภายนอกประสบเหตุ จึงได้ห้ามปรามและช้ีแจงว่า ถ้าหากเกิดการชกต่อยกันแบบไม่มีกรรมการจะต้องตกเป็นผู้ต้องหา ก่อการวิวาท อาจถูกตารวจจับ เสียค่าปรับหรืออาจติดคุกติดตะราง หากตกลงปลงใจจะชกต่อยกัน จริง กค็ วรอดใจรอไว้ไปเปรียบกันทีส่ นามเสอื ปา่ จะไดท้ ั้งเงินและความสมใจ คู่กรณีจึงตกลงนัดหมาย ให้ไปพบกันท่ีสนามเสอื ปา่ ในวันเปรยี บมวย เตม็ กณั หา กบั คอู่ ริ ซง่ึ ปรากฏวา่ เปน็ ชาวมนี บุรี ได้ถูกจัดเข้ารายการในนัด ต่อมา เต็ม กัณหา น้ันมีความเคียดแค้นคู่ชกอยู่มาก จึงหมายม่ันปั้นมือที่จะล้างแค้นให้สมใจที่ถูกด่า พ่อล้อแม่ อีกประการหน่ึง เต็ม กัณหา รู้ตัวว่าถึงแม้จะมีฝีมือในเชิงมวยก็มิได้ฝึกซ้อมถึงขนาด เพราะ ไปบวชเป็นภิกษุเสีย ฉะนั้นทางที่ดีจึงต้องรีบเผด็จศึกภายในเวลาอันรวดเร็วท่ีสุดเท่าที่จะทาได้ เมื่อ กลองสัญญาณได้เร่ิมดังขึ้น คู่ต่อสู้ของเต็ม กัณหา มิได้แสดงท่าทางว่าถนัดหมัดมวยเลย ขณะเหยาะ ย่างปรากฏว่าขาสั่นไม่มั่นคง เต็ม กัณหา ไหว้ครูเสร็จแล้ว ยืนกัดกรามจ้องไปยังคู่ต่อสู้ เพ่ือเก็งฝีมือ ตอ่ จากนัน้ เต็ม กณั หา ก็มไิ ด้รอชา้ มงุ่ มัน่ หมายล้างแค้นทถี่ กู คู่ปฏิปักษด์ า่ ท้าทาย เตม็ กณั หา ย่างสามขุม เอียงตัวไปมา หลอกล่อทาทีให้หลงกล พอเข้าใกล้ได้จังหวะเหมาะสมก็เหว่ียงด้วยตีนซ้ายให้ปฏิปักษ์ งอแขนรับ พอตีนตกถึงพ้ืนหมัดขวาของ เต็ม กัณหา ก็เหวี่ยงเข้าที่กกหู และตามด้วยหมัดซ้ายเข้าท่ี ใบหน้าคู่ต่อสู้ก้นกระแทกพ้ืน พอลุกข้ึนทั้ง ๆ ที่ยังมึนงง เต็ม กัณหา ก็ไม่ปล่อยให้นาทีทองผ่านไป เพราะเห็นได้ชัดว่า คู่ต่อสู้ไม่มีพิษ ชกต่อยโต้ตอบสะเปะสะปะ หลับหูหลับตา เต็ม กัณหา เข้าตะลุย ชกท้ังหมัดซ้ายหมัดขวา จนคู่ต่อสู้เลือดกระฉูดเปรอะไปท้ังหน้า ต้องร่นถอยไปยืนเกาะเชือก ไม่ยอม ออกมากลางเวที ผ้ตู ัดสินจงึ ยุติการชกโดยให้เต็ม ชนะ เตม็ กัณหา มีชื่อเสียงโด่งดังก็เพราะ ต่อมาได้คู่ชกเป็นครูพลศึกษา ศิษย์เอกของปรมาจารย์ หลวงพิพัฒน์พลกาย (กระจ่าง วิโรจน์เพชร) และเป็นฝ่ายชนะคะแนนเหนือศิษย์เอกของปรมาจารย์ หลวงพิพัฒน์พลกาย คร้ังน้ันได้เป็นเหตุให้มีการล้างแค้นกันในหลายปีต่อมา เม่ือพวกมวยพุมเรียง ไชยา เดินทางกลับบ้านเดิมแล้ว เต็ม กัณหา ยังหลงใหลกล่ินไอของกรุงเทพฯ ต่อไปอีก เพียงไป ๆ มา ๆ พักพิงเป็นครั้งคราว ได้มีโอกาสเที่ยวชกมวยตามสนามต่าง ๆ เช่น สนามท่าช้าง วังหน้า และ สนามสวนสนกุ มีชอื่ เสยี งและมีเงนิ ตดิ กระเป๋าพอใชส้ อย แต่เงนิ ทองกับการปล่อยใจไม่ยับย้ังคิดทาให้

68 เตม็ กัณหา เปล่ียนนิสัย จากชาวพุมเรียงธรรมดา มาเป็นนักมวยเร่ร่อนที่มีความสุขจอมปลอมอยู่ใน พระนคร เต็ม กัณหา ยังคงเร่ร่อนกรีดกรายอยู่ในกรุงเทพฯ ปล่อยตัวและหลงเพลิดเพลินกับ สิ่งแวดล้อมเย้ายวนจนร่างกายและสุขภาพทรุดโทรม นัยน์ตาข้างหน่ึงได้รับเช้ือจากโรคร้ายจนเกือบ จะบอด นึกขยาดหวาดเกรงจนไม่กล้าโผล่หน้าไปบ้านไชยา ถนนสีลม ซ่ึงเป็นแหล่งพ่ึงพานักของ ชาวปักษ์ใต้โดยมาก เตม็ กัณหา ต้องทรมานจนเหลือทนจึงจาต้องหันหน้าเข้าพ่ึงพาอาศัย เติม มีบุญ ผู้เป็นสหภูมชิ าวใตด้ ้วยกันดว้ ยความจาเป็นบังคับ จนไม่มที างหลกี เล่ียง เต็ม กัณหา จึงถกู พาตัวทเี่ หี่ยวย่น ร่วงโรยซดี เซียว จนเหน็ ได้ ขึ้นพบกับทองอยู่ นิลสุวรรณ “ซ้ายฟ้าผ่า” อีกครั้งหนึ่งที่สนามมวยสวนสนุก ทองอยู่ นิลสุวรรณ ขณะน้ันกาลังโด่งดังเหมือนพลุ มองดู เต็ม กัณหา เหมือนฟ้าดูดินท่ีร่วงโรย ไม่มีเหลือแม้แต่เงาของเต็มคนเดิม พอระฆังให้เร่ิมการ ต่อสู้ดังขึ้น และต่างฝ่ายต่างไหว้ครูตามประเพณีแล้ว ทองอยู่ นิลสุวรรณ เข้าใช้ซ้ายฟ้าผ่าอย่างไม่ ปราณี ประชาชนคนดมู องดู เต็ม กณั หา นักมวยมีชอ่ื แหง่ เมอื งไชยา เหมือนกระสอบขี้เลื่อยเคลื่อนที่ ให้ทองอยตู่ อ่ ยดว้ ยหมัดซ้าย มหาประลยั ต่อยจน เตม็ กณั หา เซอย่างที่เรียกว่า ล้มไม่ลง เพราะมีหัวใจ อย่างเดียวท่ีครองความเปน็ เสือ การชกที่ดุเดือดและลวดลายน่าตื่นเต้นชวนชมไม่มีเบ่ือแม้แต่นิดเดียว แม้ความทรหดมีอยู่บ้างแต่ก็จะอดทนไปได้สักก่ีน้า เต็ม กัณหา ต้องหมุนคว้างเหมือนลูกข่างใหญ่ บรรดาประชาชนคนดูท่ีเคยนิยมชมชอบต่างพากันสมเพชเวทนา เต็ม กัณหา นักมวยมีช่ือแห่งไชยา ต้องจบชวี ิตบนสงั เวยี นเพราะเหตุหลงเมามัวกับสิ่งเย้ายวนในเมืองกรุง ปัจจบุ นั นกั ชกทีม่ สี ายเลือด กัณหา เต็มตวั ได้แก่ จรรยา ลูกกัณหา ซึ่งเป็นหลานชายของนาย คลอ่ ง และนายเตม็ และได้กลายเป็นนักมวยท่มี ชี ่ือเสยี งของพมุ เรยี งมาระยะหน่ึง 8. นายพร้อม อนิ ทรอ์ กั ษร ต้ังแต่เย็นเวลามวยเลิกจนกระท่ังค่าคืน ตลอดเวลาที่มีการกินอยู่และเฮฮาสนุกสนาน ตามประสาหมู่คนท่ีพบความสาเร็จ มีชัยชนะในการต่อสู้แบบลูกผู้ชาย โดยเฉพาะนายพร้อม อินทร์อักษร นัยน์ตายังคงเป็นสีแดงเลื่อนลอย ทั้งน้ีจะเป็นด้วยความเหน็ดเหน่ือยมาก หรือต่ืนเต้นใน ชัยชนะครั้งสาคัญก็เหลือเดา แต่นายพร้อม ก็ย้ิมรับคาสัพยอกจากบรรดาหมู่มิตรตลอดเวลา ประมาณ 5 ทุ่ม จึงเลิกการชุมนุม เข้าพักผ่อนในเรือนแถวซึ่งปลูกอยู่ในบริเวณสวนหลังบ้านไชยา นนั้ เอง สามวันต่อมาทุกคนในบ้านไชยาก็ได้เป็นสักขีพยานในการร่วมทาบุญตักบาตรตอนเช้ากับนาย พร้อม อินทร์อักษรและนางสาวต่วน บุญชู หญิงรับใช้ของป้าชื่นซ่ึงได้เลี้ยงได้เป็นบุตรบุญธรรมมา ตัง้ แต่อายุ 12 ปี จนถึง 30 ปี ตอนเย็นวันน้ันทบ่ี ้านไชยาได้มกี ารกนิ เลี้ยงอย่างอ่ิมหนาสาราญอีกวาระ หน่ึง เป็นการกินเลี้ยงในพิธีแต่งงานของนักมวยไทยสายไชยาท่ี นายพร้อม อินทร์อักษร ผู้พิชิต นายถวิล มวยดีของคณะ ศรไขว้ โดยความอุปการะของป้าชื่นตามท่ี ออกปากตกรางวัลไว้ก่อนชก นายพร้อม อนิ ทรอ์ กั ษร ได้พานางต่วน ภรรยาชาวกรุงเทพฯ ไปอวดคน (เขตร ศรียาภัย. “ปริทัศน์ มวยไทย” ฟา้ เมืองไทย 6(314) มีนาคม 2518 หน้า 22) เมืองไชยา ท้ังสองครองรักกันจนได้ทราบว่า เกิดทายาท 1 คน แต่น่าเสียดายที่นายพร้อมอายุไมย่ ืน 9. นายบญุ ส่ง (แผลด) เทพพิมล

69 นักชกท่านนี้เป็นหัวหน้าคณะมวย ณ ศรีวิชัย ซ่ึงสืบสายเลือดนักมวยมาจากคุณพ่อเต็ง เทพพิมล และเป็นหลานปู่ของนายนชุ เทพพิมล นักมวยมีช่ือของเมืองไชยา รวมทั้งเป็นหลานตาของ นายเริก อดีตนายกองมวยบ้านเวียง นักชกผู้น้ีเคยต่อกรกับไอ้ยางตัน ทองใบ ยนตรกิจ มาแล้วและ เคยพิชติ ไอ้ลิงดา นบ ชมศรเี มฆ ดงั รายละเอยี ดท่อี าจารยเ์ ขตร ศรียาภยั ไดเ้ ขียนไวด้ ังนี้ นายบุญส่ง ได้รับลูกไม้ลูกลับอย่างสาคัญพอตัว และนายบุญส่ง เทพพิมล คนเดียวเท่านั้นท่ี สามารถคว่านายลงิ ดา เปน็ ประวตั ิการณ์เพียงยกแรก และหมัดแรกท่ามกลางความตกตะลึงพรึงเพริด ของบรรดาผู้ไม่เคยคาดคิด นายนบ หรือลิงดา โซเซลุกขึ้นได้ ขณะที่ผู้ตัดสินนับยังไม่ถึงแปด แต่เขา ลุกขึน้ มามใิ ช่เพอ่ื ตอ่ สูก้ ับนายบุญส่ง เขาลกุ ขนึ้ มายนื ดว้ ยขาสน่ั เทา หมัดห้อยอยู่ข้างตัว ตาลอย แสยะ ปากเห็นฟันขาว เพ่ือรับหมัดเหวี่ยงควายเข้าปุ่มแอก แล้วล้มตึงคว่าหน้าไม่ไหวติงอีกเลย นายนบ ชมศรเี มฆ อ้ายลงิ ดาจอมทรหด ซ่ึงมวยไทยและมวยเทศ สมัยสวนสนุกไม่เคยมีใครทาให้หมอบได้เลย ต้องหมอบด้วยฝีมอื นายแผลด หรอื บุญสง่ เทพพมิ ล (เขตร ศรียาภยั . 2517 : 14) เมอื่ กลับสกู่ รุงเทพฯ นายนบ ชมศรเี มฆ ต้องผละจากอาชีพการชกต่อยเพราะเสียคนด้วยโรค เมาหมัดและอายุสั้น เป็นท่ีอัศจรรย์ใจในหมู่บุคคลซ่ึงเช่ือเครื่องรางของขลัง นอกจากนั้นนายบุญส่ง เทพพิมล ยังเคยชนะ แก้ว เลือดเมืองกาญจน์, ปฐม บุญยเกียรติ เคยเสมอกับอุดม สุขเลิศ และผลัด กันแพ้ผลัดกันชนะกับ อารีย์ แม่นดี แห่งเมืองสงขลา ถึง 6 ครั้ง นักชกผู้นี้เป็นบุตรของแม่เอียด เทพพิมล ท่ีบ้านเวียง ตาบลตลาด เคยฝึกมวยตั้งแต่อายุประมาณ 16 - 17 ปี เคยชกมาไม่น้อยกว่า 90 ครง้ั โดยตระเวนชกตง้ั แต่ชุมพร ตลอดภาคใต้ 10. นายนุย้ อกั ษรชน่ื นายนยุ้ ชัยภิรมย์ เปน็ ศษิ ย์ของหมืน่ มวยมีชอื่ เปน็ นกั ชกช้ันดี ชน้ั ครูบาอาจารย์สามารถ ถ่ายทอดความร้วู ชิ ามวยไทยไดเ้ ปน็ เยยี่ ม ศษิ ยฝ์ ีมอื เยีย่ มของนายนุ้ย จึงมีอย่างมากมาย เพราะตนเอง มีประสบการณ์การต่อสู้มามาก และส่วนใหญ่ผลการต่อสู้ก็มีเสมอกับชนะ เม่ือมาตั้งคณะมวย “ชัย ภิรมย์” จึงสามารถถ่ายทอดวิชามวยไทยให้แก่ศิษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น นักมวยเอกของค่าย “ชัย ภิรมย์” นอกจากน้ันศิษย์ ช้ันเย่ียมยอดอีกผู้หน่ึงของนายนุ้ย คือ นายสม เวชวิสุทธ์ิ อดีต นายกเทศมนตรเี มอื งสรุ าษฎร์ธานี 11. นายจ้อย เหลก็ แท้ (เนียม วงศ์ไชยา) นักชกผู้นี้ เป็นผู้ต้ังค่ายมวย “วงศ์ไชยา” ประวัติการชกโดยเร่ิมต้นชกท่ีอาเภอไชยา บ้านเกิดก่อน เพราะฝึกหัดมวยตั้งแต่เด็ก หลังจากบวชเรียนก็เดินทางไปทาการประมงในเขตชุมพร เมื่อมีรายการชกมวย จึงขึ้นประลองกับเขาบ้าง ได้รับชัยชนะ 4 คร้ัง ติดต่อกัน พอดีกับคุณนายช่ืน ศรียาภัย ลงมาจากกรุงเทพฯ มาธุระที่เมืองชุมพร และได้ให้คุณหลวงศรี (เป็นผู้แทนสมัยนั้น) เรียก ตัวนักมวยเมอื งชมุ พรเขา้ พบ นายจอ้ ยถกู กานนั ทีน่ ้นั เรียกตัวเข้าพบด้วย เมื่อคุณนายชื่น ทราบประวัติ การชกที่เมืองชุมพร รวมท้ังทราบว่าเป็นนักมวยจากไชยาบ้านเกิด จึงนาตัวนายจ้อย เข้ากรุงเทพฯ เพียงผเู้ ดยี ว และเปลี่ยนชอื่ ในการชกมวยมาเป็น “เนียม วงศ์ไชยา” ครน้ั วันเปรียบคู่มวยคร้ังแรก ได้คู่ กับนายแก้ว นักมวยอุตรดิตถ์ แต่ถูกสบประมาท (เขตร ศรียาภัย. 2518 : 14) จากนายวร พระประแดง จึงจับเอานายวรด้วย โดยขอชกคนละอาทิตย์ ซ่ึงทางสนามก็ยอกตกลงผลการชกท้ัง สองครั้ง ไดร้ บั ชยั ชนะ

70 ในช่วงน้ันมีการชกมวยเพ่ือที่จะนาเงินไปบารุงกองทัพ จึงเสนอตัวเข้าทาการชกโดยไม่ขอ เงินรางวัล จนเพ่ือนนักมวยด้วยกันต้องออกปากถามว่า ชกทาไมไม่เอาเงิน นายจ้อย จะตอบอย่าง ภาคภูมิใจเสมอว่า “นายเนียม วงศ์ไชยา เป็นเด็กของแม่ชื่น เม่ือแม่ชื่นให้กินให้ใช้ ให้ท่ีอยู่เงินรางวัล จึงไม่จาเป็น โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นการชกเพ่ือนาเงินบารุงกองทัพ” รางวัลทุกคร้ังท่ีได้รับเมื่อขึ้นชก เพ่อื เปน็ เกียรติ จะได้เหรียญหรือเข็มเชิดชูเกียรติเท่านั้นเอง นายจ้อยอยู่ตระเวณชกในกรุงเทพฯ เป็น เวลา 3 ปี 5 เดือน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ค่อยเพล่ียงพล้า มีอยู่ครั้งหนึ่งท่ีถูกตัดสินให้แพ้ฟาล์ว เพราะใช้ หวั ขวิดคูต่ อ่ สจู้ นเปน็ แผลแตกฉกรรจแ์ ตม่ กี ารโตเ้ ถยี งกันเกิดข้ึน จนปรมาจารย์กิมเส็ง ทวีสิทธิ์ ต้องข้ึนมา ตัดสนิ เอง หลงั จากไดพ้ ดู เรอื่ งแม่ไม้มวยไทยกนั จนเพยี งพอกไ็ ด้กลับคาตัดสนิ ให้นายจ้อยเปน็ ผู้ชนะได้ ครงั้ น้ันกลบั มาบ้านเกดิ เมอื งไชยากไ็ ดต้ ้งั คณะมวย “วงศ์ไชยา” ฝึกหัดศิษย์ให้รู้ถึงแม่ไม้มวยไทย เป็นต้นมา ปจั จุบนั นายจ้อย วงศ์ไชยา เสยี ชีวติ แล้ว 12. นายจว้ น หิรญั กาญจน์ นายจว้ น หิรญั กาญจน์ เป็นนักมวยคาดเชือก (ทางใต้เรียกมวยหมัดถัก) คนสุดท้ายของ เมอื งไทยที่ยงั มีชวี ติ อย่ใู นปัจจบุ ันน้ี เป็นมรดกทางปญั ญา เปน็ ผสู้ งู อายุที่เป็นวัฒนธรรมทางปัญญาให้ ลกู หลาน ไดส้ บื ทอดมาจนถึงทุกวันน้ี เป็นมวยไทยไชยาท่ีไม่เหมือนคนอื่น ๆ เมื่อตอนเด็ก ๆ สุขภาพ ไม่ค่อยแข็งแรง หายใจไม่สะดวก สาเหตุเพราะจมูกเป็นริดสีดวง จึงได้ไปฝึกซ้อมมวยกับเพื่อน ๆ ครู มวยคือนายนา้ ว ทาให้รา่ งกายแขง็ แรงขนึ้ และความเป็นมวยเริ่มดีข้ึน มวยไทยสายไชยา มีการฝึกหัด เน้นหนักการหลบหลีกฝึกสายตา วิธีการฝึกก็คือให้น่ังบนครกตาข้าว เป็นครกไม้ขนาดใหญ่ กว้าง ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ให้เพื่อนร่วมค่ายชกมาที่บริเวณใบหน้า แล้วคอยหลบหลีกให้พ้นหมัด สร้างความคล่องแคล่วว่องไวในการหลบหลีกได้เป็นอย่างดี ได้ข้ึนชกที่เมืองไชยาและเข้ามาชกใน กรงุ เทพฯ ด้วย ชกมวยหลายครงั้ แต่จาไมไ่ ดว้ ่ากีค่ ร้งั มีแพ้ 2 ครั้ง คอื แพ้แตกทั้ง 2 คร้ัง มีอยู่คร้ังหน่ึง ชกเพื่อนถึงตาย แต่ตายหลังจากชกเสร็จบนเวทีแล้ว เป็นการชกแบบมวยคาดเชือก หรือมวยหมัด ถักทอ คนตายชื่อนายมา ไม่ทราบนามสกุล แต่เป็นคนหลังสวน จังหวัดชุมพร สิ่งที่ภาคภูมิใจมาก ที่สุดที่ชกมวยมาคือ ได้รับพระราชทานหน้าเสือคราวข้ึนมาชกที่กรุงเทพฯ และนักมวยเส้ือสามารถ ทว่ี ดั บรมธาตไุ ชยา ยุคสวมนวม เลกิ ชกมวยประมาณ ปี พ.ศ. 2480 เศษ ๆ หลงั จากนนั้ ได้ตงั้ คา่ ยมวยที่บ้านโพธิ์ เพือ่ ฝึกเด็กหนุ่มให้เป็นมวยและสมัยเวทีมวยวัดบรมธาตุไชยา นักมวยที่จะขึ้นชกต้องมีค่ายมวยที่สังกัดจึงจะอนุญาตให้ข้ึนชก ใช้ช่ือค่ายว่า “บารุงหิรัญ” และได้มี ลูกศิษย์มากมาย รวมท้ังลูกชายที่ชกมวยชื่อ จิรัญ บารุงหิรัญ เป็นนายดาบตารวจปัจจุบันเป็น ข้าราชการบานาญ

71 ภาพที่ 12 นายจว้ น หริ ญั กาญจน์ นักมวยคาดเชอื ก สนามมวยวดั บรมธาตุไชยา ท่มี า : ภวู ศักดิ์ สุขศิรอิ ารี ดังน้ัน มวยไทยสายไชยา ยุคเฟ่อื งฟูเร่มิ ตัง้ แต่สมยั ท่ี 5 ถงึ รัชกาลท่ี 6 โดยพระยาวจีสัตยารักษ์ (ขา ศรียาภัย) เจ้าเมืองไชยา ได้สอนศิษย์มวยไทยสายไชยา เพื่อเป็นครูมวยสอนมวยให้กับคนใน ท้องถ่นิ จนมศี ิษย์ที่เก่งกล้าสามารถอยู่ 2 คน คือ นายปรง จานงทอง กับนายนิล ปักษี เป็นศิษย์เอก ในการแขง่ ขันชกมวย ทีส่ นามมวยศาลาเก้าห้อง ต่อมาได้ส่งนักมวยเข้าแข่งขันในกรุงเทพมหานคร ใน งานพระเมรุของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภช ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชากรม มหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ในเจ้าจอมมารดาเลื่อน สิ้นพระชนม์ 20 กันยายน พ.ศ. 2452 พระชันษา 16 ณ มณฑลพธิ พี ระเมรุสวนมิสกวัน พระเจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีมวยหน้าพระที่นั่ง ในงานน้ีมีมวยจากหลายเมืองเข้าแข่งขัน นายปรง จานงทอง เป็นหน่ึงท่ีเข้า แข่งขันจนได้รับชนะเลิศโดยชนะมวยดังจากโคราชแต่ไม่ทราบชื่อ ต่อมากรมพระยาดารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ในขณะน้ัน ได้กราบบังคมทูลพระเจ้าอยู่หัวฯ วันท่ี 20 พฤษภาคม รัตนโกสินทรศ์ ก 129 เร่ืองขอพระราชทานบรรดาศกั ด์ิให้นักมวยคือ นายปรง จานงทอง และนักมวย อีก 2 คน เพื่อให้ปรากฏช่ือและให้บารุงรักษามวยในหัวเมือง ตั้งเป็นครูมวยตามหัวเมือง โดยมี บรรดาศักดิ์เป็น “หม่ืนมวยมีช่ือ” ซึ่งเป็นบรรดาศักด์ิสาหรับข้าราชการประทวน และดารงตาแหน่ง กรมการพิเศษเมืองไชยา ถือศักดินา 300 เป็นการแจ้งความจากกระทรวงมหาดไทย ในวันท่ี 20 มิถุนายน รัตนโกสินทร์ศก 129 และในคราวเดียวกันกับนักมวย 2 คน ก็ได้รับพระราชทานด้วยคือ นายกลึง โตสะอาด เป็น “หม่ืนมือแม่นหมัด” ตาแหน่งกรมการพิเศษ เมืองลพบุรี ถือศักดินา 300 และนายแดง ไทยประเสริฐ เป็น “หมื่นชงัดเชิงชก” ตาแหน่งกรมการพิเศษเมืองนครราชสีมา ถือศกั ดนิ า 300 ต่อมาคุณช่ืน ศรียาภัย บุตรีของพระยาวจีสัตยารักษ์ ก็ดาเนินรอยตามบิดาเป็นบุตรีคนโต แต่ชอบมวยไทยสายไชยาเป็นชีวิตจิตใจได้สานงานต่อ โดยนานักมวยช่ือดังของเมืองไชยา เช่น นายสอน ศักดิ์เพชร นายจ้อย เหล็กแท้ ฯลฯ ข้ึนมาชกท่ีกรุงเทพฯ ประสบความสาเร็จเป็น

72 อย่างมาก ทาให้คนภาคกลางหรือ ทั่วไทย ได้รู้จักมวยไทยสายไชยา ทาให้มวยทางภาคใต้ หรือ มวยไทยสายไชยา มชี ื่อเสียงมาจนถึงทกุ วนั นี้ ยุคเปลย่ี นแปลง มวยไทยสายไชยา เข้าสยู่ คุ เปลย่ี นแปลง รัชสมัยของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ 7 (พ.ศ.2468 - 2477) ถงึ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดชฯ รัชกาล ท่ี 9 (พ.ศ.2489) มวยไทยสมัยนี้ได้มีการเปล่ียนแปลงพัฒนาให้ทันสมัยและทันเหตุการณ์ในสถานการณ์ของ โลกที่พัฒนาข้ึน เช่น มีการเปลี่ยนจากการชกมวยแบบคาดเชือก หรือมวยไทยสายไชยาแบบหมัดถัก กเ็ ปล่ียน มาเปน็ ชกแบบสวมนวม ให้ทันสมัยหรือทันเหตุการณ์ เพราะชาวต่างประเทศ มีการใช้นวม เพือ่ ลดการบาดเจบ็ หรอื ลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ประกอบกับรัฐบาลในสมัยน้ัน ได้เล็งเห็น ความปลอดภัย จากการกีฬาเป็นเร่ืองสาคัญ การกีฬาไม่ควรต้องถึงกับบาดเจ็บหนัก หรืออันตราย รา้ ยแรงถงึ ขนั้ เสียชวี ิต โดยเฉพาะกีฬามวยไทย จงึ ควรมวี ิธีปอ้ งกันท่ดี กี ว่า ถึงยุคน้ีการเปลี่ยนแปลง จึงเร่ิมมีขึ้น เช่น ในปี พ.ศ.2466 – พ.ศ.2472 พลโทพระยาเทพ หัสดนิ ไดส้ รา้ งสนามมวยหลกั เมืองท่าชา้ ง ขน้ึ บริเวณโรงละครแหง่ ชาติในปัจจบุ ัน และในปี พ.ศ.2472 น้เี องท่ีเกดิ การเปลี่ยนแปลงอย่างย่ิงใหญ่ โดยรัฐบาลได้มีคาส่ังให้การแข่งขันมวยไทย ท่ัวประเทศต้อง สวมนวมชกเทา่ นั้น โดยได้ตวั อย่างจากการสวมนวมชก จากนักมวยฟิลิปปินส์ที่เข้ามาชกมวยสากลใน ประเทศ และอีกสาเหตุสาคัญของการเปลี่ยนแปลงก็เนื่องมาจาก นายแพ เลี้ยงประเสริฐ 5 ใบเถา แห่งอุตรดิตถ์ศิษย์ร่วมสานักพระยาพิชัยดาบหัก (ทหารเสือพระเจ้าตาก) พี่น้องทั้ง 5 คน แห่งตระกูล เล้ียงประเสริฐ คือ นายโต๊ะ นายโพล้ง นายฤทธ์ิ นายแพ นายพลอย และเม่ือย้อนหลังไปในอดีต เร่อื งของ “ครูเมฆ” แหง่ บ้านทา่ เสาซึ่งเปน็ ที่เชื่อกันสบื มาวา่ เป็นครูมวยของพระยาพิชัยดาบหัก และ เป็นปรมาจารย์มวยไทย ที่มีลูกศิษย์มากมาย เป็นครูมวยเก่าแก่ชาวบ้านท่าเสา เมืองพิชัย และได้ ถ่ายทอดวิชาสืบเชื่อสายต่อมาครูเอ่ียม ผู้สืบต่อจากครูเอ่ียม คือ ครูเอม และผู้สืบวิชาต่อจากครูเอม ก็คือ 5 พ่ีน้องตระกูลเล้ียงประเสริฐ หลานตาแท้ ๆ ของครูเอม น่ันเอง เพราะฉะน้ันจึงเป็นประเพณี ของศิษย์ในสายน้ี เมอื่ ข้ึนเวทีชก ก่อนร่ายราไหว้ครู ต้องแสดงนิมิตถึงครู นั่นคือจะต้องหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออกแล้วแหงนหน้าข้ึนดูเมฆ เป็นนิมิต ราลึกถึงนามครูเมฆ บรมครูเฒ่าเสียก่อน (เวที สมยั ก่อนเปน็ เวทกี ลางแจง้ ) นายแพ เกิดราวปี 2477 เป็นผู้ที่มีฝีมือเชิงชกเป็นที่เล่ืองลือรู้จักกันในระดับยอดมวย เคย ปราบ บังสะเล็บ ศรไขว้ ลงได้ คร้ังหน่ึงมีมวยเขมรเป็นแขกครัว ช่ือนายเจียร์ พระตะบอง เข้ามาท้า นักมวยไทยชกคาดเชือกกันตามแบบฉบับของมวยไทยนายเจียร์ ผู้นี้เป็นนักมวยเอกฝีมือดีของเขมร รูปล่างล่าสัน ใหญ่โต ผิวดา ลือชื่อในเรื่องคงกระพันชาตรี ว่านยาอาคมตามแบบเขมรโบราณ และมี กิตติศัพท์ว่าเคยชกคนตายมาแล้ว คุณพระชลัมภ์พิสัยเสนีย์ ผู้ดูแลนักมวยในสังกัดวังเปรมประชากร ของกรมหลวงชมุ พรเขตอุดมศักด์ิ และเป็นผู้ช่วยนายสนามมวยหลักเมือง จึงได้ประกาศหาผู้อาสาขึ้น ลองฝีมอื กับนายเจยี ร์ เมือ่ ยังไม่มีผู้ใดอาสา นายโพล้งจึงอาสาข้ึนชกแต่พระชลัมภ์พิสัยเสนีย์ ได้ขอให้ นายแพ ข้ึนชกลองดูก่อน ถ้าหากว่า นายเจียร์สามารถเอาชนะนายแพได้แล้ว จึงค่อยจัดให้พบกับ นายโพลง้ ในรายการตอ่ ไป ตกลงนายแพก็ได้ข้ึนชกกับนายเจียร์แบบคาดเชือก ที่สนามมวยหลักเมือง (ซ่ืงมพี ระยาเทพหัสดนิ ทรเ์ ปน็ นายสนาม)

73 ในการชกคร้ังน้ีนายแพเป็นฝ่ายเสียเปรียบมากมายทั้งรูปร่างและน้าหนัก จึงเป็นรองคู่ชกอยู่ มาก และเมอื่ ชกกนั ในยกแรก ๆ นายแพก็มีท่าทีจะเพล่ียงพล้าแก่นักมวยชาวเขมร การต่อสู้ดาเนินไป จนถึงยกท่ี 3 นายโพล้งซึ่งทาหน้าที่พีเ่ ลีย้ งนายแพ เหน็ นายเจยี รร์ ุกไล่นายแพไปจนติดเชือกกั้นสังเวียน จึงตะโกนบอกให้นายแพใช้ท่าแม่ไม้ “หนุมานถวายแหวน” อันเป็นไม้สาคัญจองสานักบ้านท่าเสา นายแพเมื่อได้ยินนายโพล้งบอกมาดังกล่าวก็พอดีกับจังหวะที่นายเจียร์ รุกถลาเข้ามา จึงชกหมัดคู่ใน ท่าหนุมานถวายแหวนทันที ถูกเข้าท่ีลูกกระเดือกของนายเจียร์ถึงกับชะงักงันอยู่กับท่ี นายแพเห็น วินาทีทองเป็นของตนเช่นน้ันก็ไม่ปล่อยให้ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ ตรงเข้าชกซ้ายขวา จนหมัด นายเจียร์ตกลงข้างลาตัว แล้วก็ใช้แขนซ้ายโน้มคอนายเจียร์ลงมา พร้อมกับอัดหมัดขวาเข้าที่ลิ้นป่ี นายเจียร์สุดแรง นายเจียร์ถึงกับทรุดลงกองกับพ้ืนเวทีตรงนั้นเอง กรรมการจึงกันนายแพออกและ นับจนกระทั่งครบ 10 นายเจียร์ก็ยังไม่ฟ้ืนคืนสติ กรรมการจึงตัดสินใจให้นายแพเป็นฝ่ายชนะน็อกไป ในยกท่ี 3 ส่วนนายเจียร์แพทย์ได้เข้าแก้ไขเท่าไหร่ก็ไม่ฟ้ืน จึงต้องนาตัวส่งโรงพยาบาล แต่ปรากฏว่า นายเจยี รไ์ ดส้ นิ้ ใจระหว่างเดินทาง การที่นายเจียร์ต้องกับสิ้นใจนี้ ได้กลายเป็นข่าวใหญ่เมื่อตารวจกรมการเมืองได้เข้าจับกุม นายแพ ในข้อหาฆ่าคนตาย และได้ควบคุมไว้เพ่ือรอการพิจารณา นายแพถูกคุมขังอยู่ 2 - 3 วัน นายสนามมวย พระยาเทพหัสดินทร์ ได้พยายามช่วยเหลือแก้ไขตามกระบวนการยุติธรรมเพราะเป็น การชกมวยกันตามกฎหมายเดิมคุ้มครองอยู่แล้ว ดังได้มีบทบัญญัติไว้ในกฎหมายตราสามดวงใน พระอัยการเบด็ เสร็จมาตรา 117 ว่า “มาตราหนึ่ง ชนท้ังสองมีเอกจิตร เอกฉันทร์ มาตีมวยด้วยกันก็ดี แลปล้ากันก็ดี และผู้หนึ่งต้องเจ็บปวดก็ดี คนหักถึงแก่มรณภาพก็ดี ท่านว่าหาโทษมิได้ อนึ่งผู้ยุยงตก รางวัลก็ดี ให้ปลา้ กันนน้ั ผู้ยุยงหาโทษมไิ ด้ เพราะเหตุผูย้ ุยงน้ันจะดเู ลน่ เปน็ จะไดม้ จี ิตเจตนาท่ีจะใคร่ให้ สิน้ ชีวติ หามไิ ด้ แตใ่ คร่ผาสุกภาพ เป็นกรรมแก่ผ้มู รณภาพเองแล” จากกฎหมายข้อนี้เอง ทาให้กรมการเมืองปล่อยตัวนายแพเป็นอิสระ ไม่ถือเอาความผิดใน ขอ้ หาฆ่าคนตาย จากกรณที นี่ ายแพชกนายเจียร์ตายน้ีเอง ทางกระทรวงมหาดไทย ก็ได้พิจารณาเห็น วา่ การชกมวยแบบคาดเชอื ก เป็นการทารณุ โหดรา้ ยเกนิ ไป อาจเกดิ กรณดี งั กล่าวข้ึนอีกก็เป็นได้ จึงได้ มีการประกาศห้ามมิให้มีการชกมวยแบบคาดเชือกอีกต่อไป โดยกาหนดให้มีการสวมนวมแบบมวย ฝรั่ง (ซง่ึ ขณะนน้ั การชกมวยแบบฝรง่ั ในเมืองไทย เร่ิมจะเปน็ ทน่ี ิยมกันแลว้ ) และก็ได้เป็นข้อท่ียึดถือกัน มาจนถึงปัจจุบัน นับได้ว่านายแพ เลี้ยงประเสริฐ ได้สร้างประวัติศาสตร์สาคัญ ไว้แก่วงการมวย เมืองไทยไว้อย่างหน่ึงทีเดียว นายแพ เลี้ยงประเสริฐ ถึงแก่กรรมเมื่อปี พ.ศ.2520 มีอายุได้ 73 ปี (สมพงษ์ แจ้งเร็ว. 2527 : 45 - 51)

74 ภาพที่ 13 คูม่ วยประวตั ิศาสตรย์ ุคเปลยี่ นแปลง นายแพ เลี้ยงประเสริฐ (ซา้ ย) นายเจียร์ พระตะบอง (ขวา) ทม่ี า : muaythai the king of all martial arts dec., 1984 ภาพท่ี 14 สุวรรณ นิวาสะวตั ภาพที่ 15 สมาน ดิลกวลิ าส การต้ังทา่ จดมวยของยอดมวยเอกสมัยสนามมวยสนวนสนกุ รชั กาลท่ี 7 พ.ศ.2473 ทมี่ า : หนังสอื มวยไทยยอดศลิ ปะการตอ่ สู้ ปี พ.ศ.2524 หน้า 82 , 84 การเปลี่ยนแปลงจากการคาดเชือกมาเป็นสวมนวมได้เร่ิมข้ึนในช่วงน้ี และยังมีการเปล่ียนแปลง จากในเรื่องของเวทีและอุปกรณ์อ่ืน ๆ อีกด้วย เช่น เม่ือวันเสาร์ท่ี 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2472 เจ้าคุณ คธาธรบดี ได้เริ่มจัดการแข่งขันชกมวยไทยข้ึนที่สวนสนุก ภายในบริเวณสวนลุมพินีร่วมกับมหรสพ อื่น ๆ มีการชกกันทุกวันเสาร์ เวทีมาตรฐานเชือก 3 เส้น มีมุมแดงและมุมน้าเงิน มีผู้ตัดสินข้างเวที 2 คน ผู้ช้ีขาดทาหน้าท่ีบนเวที 1 คน สัญญาณเปล่ียนจากการตีกลองหันมาใช้ระฆังเป็นคร้ังแรก และ ในวันเสาร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2472 ตรงกับวันสิ้นปี เพื่อต้อนรับปีใหม่ การแข่งขันได้จัดให้มีมวย คูเ่ อก คือ สมาน ดิลกวิลาส พบกับ เดช ภู่ภิญโญ มวยประกอบรายการ ประกอบด้วยนายแอ ม่วงดี กับนายสุวรรณ นิวาสะวัตร ซึ่งในคร้ังน้ีนายแอ ม่วงดี ได้นาเอากระจับเหล็กมาใช้ในการป้องกัน อวัยวะสาคญั จงึ ทาให้นักมวยคนอืน่ หนั มานิยมใช้กระจับเหล็กต้ังแตน่ นั้ เป็นตน้ มา

75 เม่ือถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลท่ี 8 (พ.ศ.2477 - 2489) ระหว่างปี พ.ศ.2478 - 2484 คณบดีผู้มีช่ือเสียงสมัยนั้น ได้สร้างเวทีมวยข้ึนบริเวณที่ดินของ สวนเจ้าเชต ช่ือสนามมวยสวนเจา้ เชต ปัจจุบันคือท่ีต้ังกรมรักษาดินแดน ต่อมาได้เลิกกิจการไปเพราะ เกิดสงครามโลกครั้งท่ี 2 ขึ้น กองทัพญี่ปุ่นบุกไทย ตั้งแต่วันท่ี 8 ธันวาคม พ.ศ.2484 ต่อมาในปี พ.ศ. 2485-2487 สงครามกาลังจะสงบ การจัดการแข่งขันหรือชกมวยไทยจาเป็นต้องจัดแข่งหรือชกตาม โรงภาพยนตรต์ ่าง ๆ ในเวลากลางวัน เช่น สนามมวยพัฒนาการ สนามมวยท่าพระจันทร์ สนามมวย วงเวียนใหญ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2488 สนามมวยราชดาเนิน ได้เปิดการแข่งขันเป็นคร้ังแรกแต่ยังไม่มี หลังคาคลมุ โดยมนี ายปราโมทย์ พ่งึ สุนทร เป็นนายสนามคนแรก ทาการแขง่ ขนั หรอื ชกทุกวันอาทิตย์ เวลา 16.00 – 17.00 น. โดยใช้กติกาของกรมพลศึกษา ปี 2480 ชก 5 ยก ยกละ 5 นาที พักระหว่าง ยก 2 นาที ท่ีอาเภอไชยาหลังจากหมดยุคเฟื่องฟูเข้าสู่ยุคเปล่ียนแปลง เวทีมวยไทยสายไชยา ศาลา เก้าห้องท่ีโด่งดังในอดีตท่ีสร้างข้ึนโดยพระยาวจีสัตยารักษ์ ก็ได้ถูกร้ือถอนไปตามกาลเวลา เน่ืองจาก ศาลากลางถูกยา้ ย ไปอยูท่ ี่บ้านดอน พระยาไชยาก็ไปเปน็ เจ้าเมืองที่บ้านดอน ย้ายที่ทาการอาเภอมาที่ อาเภอไชยา ในปัจจุบัน จึงทาให้เกิดมีสนามมวยแห่งใหม่ข้ึนบริเวณสนามของวัดพระบรมธาตุไชยา ที่วัดพระบรมธาตุไชยา มีงานประจาปีในเดือน 6 ของทุกปี จะมีการจัดชกมวยข้ึนท่ีสนามแห่งนี้ใน ทุก ๆ ปี ทาให้มวยไทยสายไชยายุคเปล่ียนแปลงท่ีกฎหมายบังคับให้สวมนวมกลับมาโด่งดัง อีกครั้งหนึ่ง แต่เดิมใช้หมัดถักต้องเปล่ียนมาสวม นวมชก ในยุคน้ีมีนักมวยไทยสายไชยา ท่ีสร้าง ชอ่ื เสยี งใหก้ ับอาเภอไชยามากมาย เช่น นายนุกูล บุญรักษา นายชาย เผอื กสวสั ดิ์ (นา้ ให้) ตอ่ มาพระครโู สภณเจตสิการาม (เอ่ยี ม) เจา้ อาวาสวดั พระบรมธาตุไชยา มรณภาพลงมวยไทย สายไชยาสมัยนกี้ ็สิ้นสดุ ลงดว้ ย ทา่ นเจา้ คุณพทุ ธทาส (สมยั นน้ั ) ก็ใหย้ กเลกิ งานมหรสพและการชกมวย ประจาปี คงรักษาไว้แต่พิธีทางศาสนาเท่าน้ัน เป็นตานานเวทีมวยไทยสายไชยาวัดพระบรมธาตุไชยา ซึง่ สรา้ งขนึ้ เมื่อปี พ.ศ.2474 รวมระยะเวลาของเวทีมวยแห่งน้ีเป็นเวลา 50 ปี เป็นการสร้างชื่อเสียง ให้กับมวยไทยสายไชยา ชาวเมืองไชยามาตราบเท่าทุกวันน้ี เป็นอดีตแห่งความทรงจาให้ลูกหลานได้ ระลกึ ถงึ ตลอดไป (กวี บวั ทอง และคณะ. 2525 : 21 - 23)

76 ภาพท่ี 16 เวทีมวยไทยสายไชยา “ศาลาเก้าห้อง” สร้างโดยพระยาวจสี ัตยารักษ์ นักมวยไทยสายไชยายุคเปล่ียนแปลงจากหมัดถัก มาสวมนวมที่มีช่ือเสียงเป็นเกียรติแก่เมือง ไชยา มดี ังน้ี 1. นายพรหม ราชอักษร ผู้เคยปะทะนักชกฝีมือเยี่ยมจากเมืองกรุง เช่น สวย จุฑาเพชร ไสว แสงจันทร์ เล่อื น ภู่ประเสริฐ และทองอยู่ ทวสี ทิ ธ์ิ (กวี บวั ทอง และคณะ. 2525 : 23) 2. นายหนเู คลอื บ พนั ธุมาศ เคยเดนิ ทางมาชกที่กรุงเทพฯ โดยใช้ช่อื วา่ สมจติ ฉววี งศ์ (เทง่ ) อยทู่ ว่ี ดั หน้าเมือง ตาบลเสม็ด อาเภอไชยา 3. นายพร้งิ จุลกลั ป์ อยบู่ ้านปากท่อ ตาบลเสม็ด อาเภอไชยา 4. นายเพื่อม จลุ กัลป์ อยูบ่ ้านปากท่อ ตาบลเสม็ด อาเภอไชยา 5. นายเขอื ม สาลี อยบู่ า้ นปากท่อ ตาบลเสมด็ อาเภอไชยา 6. นายถาวร จานงทอง ผู้เป็นหลานตาของหมน่ื มวยมีชอ่ื และไดร้ บั คาบอกเล่าจากหลาย คนวา่ มลี กั ษณะรปู รา่ งคล้ายหม่ืนมวยมีชื่อมากท่ีสดุ อยู่บา้ นเสมด็ ตาบลเสม็ด อาเภอไชยา 7. นายสม เวชวสิ ทุ ธ์ิ อดีตนายยกเทศมนตรี เมอื งสุราษฎรธ์ านี 8. นายปรีชา แหง่ บ้านขนอน ตาบลทงุ่ อาเภอไชยา 9. นายจว้ น หิรญั กาญจน์ ถือวา่ เป็นนกั มวย 2 ยุค ท่ีคาดเชือกและสวมนวม 10. นายทักษนิ บารุงหิรัญ (เพชรสวุ รรณ) เสยี ชีวิตแล้ว 11. นายเช่ บารุงหริ ัญ (อินทจกั ร) เสียชีวติ แล้ว 12. นายย้ี บารุงหริ ัญ (อนิ ทจักร) ภูมลิ าเนาอยู่ทอี่ าเภอบางสะพาน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ 13. นายเท่ียง บารุงหริ ัญ (อินทจักร) ภมู ลิ าเนาอย่ทู ่จี งั หวัดตรัง 14. นายปลอด บารุงหิรัญ (มณรี ตั น์) เจ้าของฉายาไอ้มนษุ ย์รถถัง อยู่บ้านเลขที่ 24 หม่ทู ี่ 3 ตาบลเสมด็ อาเภอไชยา 15. นายประยงค์ บารงุ หริ ัญ (ศรสี ุวรรณ) จอมทรหด อยูบ่ า้ นทุ่ง ตาบลทุ่ง อาเภอไชยา 16. นายวชั ระ บารุงหิรัญ (สนิ ธวาชวี ะ) อยู่บา้ นปากท่อ ตาบลเสมด็ อาเภอไชยา

77 17. นายวีระ ณ ศรีวิชยั (ให้ บุญเหมือน) นักชกหมดั หนกั เมือ่ คร้งั ทีช่ กกับสุวรรณ (ริม) 18. ศ. ยอดใจเพชร นกั ชกจอมทรหด ของบา้ นพมุ เรียง ประชาชนกล่าวถงึ เปน็ คู่ต่อสูท้ ่ชี ก สนกุ ดุเดือด อยทู่ ี่บา้ นเวียง อาเภอไชยา 19. นายชิงชยั ณ ศรวี ชิ ยั (เขียน คงทอง) ผเู้ คยชกกับศกั ดิ์ชัย นาคพยคั ฆ์ รับราชการเป็น ตารวจ อยู่ทีจ่ งั หวัดภเู กต็ 20. นายคลอ่ ง ณ ศรวี ชิ ยั (คล่อง เช้ือกลับ) ดาราศอกกลบั เคยชกกับชาญ เลือดเมอื งใตอ้ ยู่ หน้าวัดธารนา้ ไหล อาเภอไชยา 21. นายเพชรนอ้ ย (ยก) ณ ศรวี ิชัย 22. นายเทวนิ (ไว้) ณ ศรีวชิ ยั 23. นายชาย (ให้) เผือกสวัสดิ์ หรือ ชาย ณ ศรวี ิชัย นายชาย (ให้) เผือกสวัสด์ิ นักชกจอมทรหดสามพ่ีน้องตระกูลเผือกสวัสด์ิ มีพ่ีชายที่ชกมวย คือ เพชรน้อย (ยก) ณ ศรีวิชัย , เทวิน (ไว้) ณ ศรีวิชัย ครูมวยคืออาจารย์บุญส่ง (นายแผลด) เทพพิมล ชกมวยที่เวทีมวยวัดพระบรมธาตุไชยา ครั้งแรกเม่ืออายุ 16 ปี กับ ชุมพล ศ.เพชรน้อย มวยจากกรุงเทพฯ ชนะคะแนน เมื่อ พ.ศ.2491 ไชยามีค่ายมวยมาก หมู่บ้านห่างกันไม่เกิน 2 กิโลเมตร ก็มีค่ายมวย กีฬามวยไทยไชยายุคนี้ มีมวยชกกันมาก ไม่ว่าจะงานประจาปีของวัดพระ บรมธาตุไชยา หรือ งานอ่ืน ๆ เช่น ฉลองอาคารเรียน เขาจะจัดชกมวยเป็นประจา เม่ือมีการจัดชก มวย นักมวยก็ต้องไปเปรียบมวยท่ีสถานีรถไฟไชยา เพราะมีเครื่องชั่งน้าหนักอยู่ 1 เคร่ือง เป็น เคร่ืองชั่งของการรถไฟ การเปรียบมวยก่อนชกประมาณ 1-2 อาทิตย์ หากมีงานประจาปีที่จังหวัด (บ้านดอน - สุราษฎร์ธานี) ทางสนามจะส่งมวยกรุงเทพฯ มาชกแล้วส่งมวยไชยามารับมวยที่อาเภอ อ่ืน ๆ หรือจังหวัดไม่มีมวยรับก็ส่งมวยไชยารับแทน เช่น บุญธรรม วิถีชัย, วีระ ณ ศรีวิชัย (เมฆิน เกศสงคราม) ชาย (ให้) ณ ศรีวิชัย ชกมวยมาประมาณ 76 ครั้ง แพ้ 2 ครั้ง (เสมอ 19 คร้ัง, ชนะ คะแนน 24 ครั้ง, ชนะน็อก 31 คร้ัง, แพ้ 2 ครั้ง คือ แพ้ เฉลิมศักด์ิ ศ.เฉลิมชัย ยกที่ 2 เพราะถูก ศอกกลบั แพ้ มาลา ศ.สมานจติ ยกที่ 3 เพราะเดนิ ลงจากเวที) 24. นายนาค ณ ศรวี ชิ ัย (ศักดิ์เพชร) 25. นายปรีดา ณ ศรีวิชัย (ศักดิ์เพชร) สองพี่น้องลูกชายยอดมวยของไชยา คือ นายสอน ศักดิ์เพชร โดยนายนาค มีฉายาไอ้เป๋ เพราะขาพิการแต่ด้วยเลือดของมวยไชยา จึงขึ้นชกทั้งขาเป๋ และได้รับชัยชนะเป็นส่วนใหญ่ ส่วนน้องชาย คือ นายปรีดา เป็นนักชกจอมมุทะลุ นายนาคมีอาชีพ เป็นลูกจ้างประจาตาแหน่งนักการภารโรงโรงเรียนไชยาวิทยา นายปรีดา ดาเนินธุรกิจส่วนตัวอยู่ที่ บ้านสะพานจนั ทร์ หมทู่ ่ี 3 ตาบลเวียง อาเภอไชยา (กวี บวั ทอง และคณะ. 2525 : 26) 26. นายนุกลู บุญรักษา หรือ นกุ ูล ณ ศรีวชิ ยั นุกลู บญุ รักษา หรือ นุกูล ณ ศรวี ชิ ัย อดีตเสอื หมดั ซ้ายทเ่ี คยต่อส้กู บั สมใจ ลูกสรุ นิ ทร์ เป็นลูกศิษย์อาจารย์บุญส่ง เทพพิมล หรือ ชอ่ื มวยคือ “บุญส่ง ศรีวิชัย” เริ่มชกมวยเมื่ออายุ 16 ปี ชกในงาน วดั พระบรมธาตุไชยา เป็นงานประจาปี ส่วนมากจะชกกับค่ายมวยบารงุ หริ ัญ ซึ่งเปน็ คา่ ย มวยของนายจ้วน หริ ัญกาญจน์ นอกจากนี้ คณะมวยอ่ืนอีก เช่น ชัยประดิษฐ์ ศ.ยอดใจเพชร หลังจากเวทีมวยวัดพระบรม ธาตุสิ้นสุดลง วงการมวยไทยไชยาก็เร่ิมเส่ือมลง มวยดังไชยาก็ลดน้อยลงไป เพราะขาดผู้สนับสนุนท่ี

78 แท้จริง ท้ัง ๆ ที่คนไชยายังคงมีสายเลือดนักสู้อยู่เต็มตัว ความเป็นเมืองมวยกาลังจะสูญไป เพราะ ขาดผู้นาท่ีจริงจัง รวมทั้งปัญหาท่ีสาคัญที่ทาให้วงการมวยเสื่อมลง ทุกวันนี้ที่เห็นได้เด่นชัดคือการ พนัน การตอ่ สผู้ ลปรากฏจะอยู่ท่ีการพนันเป็นส่วนใหญ่ ไม่ได้อยู่ที่ฝีมือนักมวยไทยสายไชยาเสื่อมลง จึงน่าที่จะปลุกวิญญาณของความเป็นนักสู้ของเมืองมวยในอดีตออกมาให้เป็นที่ประจักษ์เหมือนท่ี “หมืน่ มวยมชี ่ือ” เคยทาไว้ในอดตี (กวี บวั ทอง และคณะ. 2525 : 23 : 27) ดังนั้น มวยไทยยุคเปลี่ยนแปลงตรงกับสมัยรัชกาลท่ี 7 และรัชกาลท่ี 9 มวยไทยสายไชยา สมัยนี้เกิดการเปล่ยี นแปลงจากมวยหมัดถัก หรือมวยคาดเชือกแบบโบราณมาเป็นสวมนวม เน่ืองจาก เกิดเหตุสาคัญทางประวัติศาสตร์ของมวยไทย กล่าวคือ นายแพ เลี้ยงประเสริฐ มวยดังท่าเสา จังหวัดอุตรดิตถ์ ชกนายเจียร์ พระตะบอง ซ่ึงเป็นครัวแขกเขมรถึงตาย ทางการจึงประกาศให้ การแข่งขันกีฬามวยไทยทั่วไทย จาเป็นต้องสวมนวมต้ังแต่นั้นเป็นต้นมา และที่เวทีมวยวัดพระบรม ธาตไุ ชยา กเ็ รมิ่ มีช่อื เสยี งอีกครั้ง มวยไทยสายไชยาเร่ิมโดง่ ดังในยคุ สวมนวม มวยดังมีช่ือท่ียังมีชีวิตอยู่ คอื นายจ้วน หริ ญั กาญจน์ เป็นมวยดัง 2 ยคุ กอ่ นนั้นยคุ คาดเชอื ก และยคุ สวมนวม ยคุ อนุรักษ์ มวยไทยสายไชยายุคอนุรักษ์ แบง่ เป็น 2 ตอน ดังนี้ 1. ตอนต้น ตรงกบั สมยั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดลุ ยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ตงั้ แต่ พ.ศ.2489 – พ.ศ.2524 2. ตอนปลาย ตรงกบั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ตง้ั แต่ พ.ศ.2525 – พ.ศ.2550 1. มวยไทยสายไชยายุคอนรุ ักษ์ตอนตน้ พ.ศ.2489 – พ.ศ.2524 มวยไทยสายไชยา เมือ่ หมดยุคเปล่ียนแปลง ดว้ ยการสวมนวมชกกันในสมัยรัชกาลที่ 7 ถึง สมัยรัชกาลท่ี 8 ก็เริ่มเสื่อมลงจวบจนแทบจะหายจากไป กระทั่งมีผู้สืบสานมรดกภูมิปัญญาทาง วฒั นธรรมของภมู ิแผน่ ดนิ ไทย คอื ทา่ นปรมาจารยเ์ ขตร ศรียาภัย ซ่ึงท่านก็เป็นมวยไทยสายไชยาอยู่ แล้วโดยกาเนิดเปน็ ผูส้ บื ทอดมาจากตระกูลมวยไทยสายไชยา เพราะบิดาของท่านคือ พระยาวจีสัตยารักษ์ อดีตเจ้าเมืองไชยา ท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ผู้ท่ีรักและหวงแหนศิลปะมวยไทยมิย่ิงหย่อนไป กว่าคนไทยด้วยกัน ท่านก็พยายามสืบทอดศิลปะมวยไทยสายไชยา อันเป็นมรดกอันย่ิงใหญ่ เพื่อให้ คงอยู่คู่กับคนไทยตลอดไป จากการท่ีท่านได้เพียรพยายามอนุรักษ์มวยไทยสายไชยาให้คงอยู่ ท่านก็ ไดศ้ กึ ษาค้นควา้ ศาสตรแ์ ละศลิ ปข์ องแผน่ ดินจากปรมาจารยห์ ลาย ๆ ทา่ น เพ่อื นาไปประยุกต์ใช้ พร้อม ท้ังอบรมส่ังสอนศิษย์ให้ได้รับวิทยาการอันแก่กล้าต่อไปในภาคหน้า ในท่ีน้ีจะได้กล่าวถึงประวัติของ ท่านปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสิทธ์ิ ซึ่งเป็นหนึ่งใน 12 พระอาจารย์ของท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย รวมท้ังกัลยาณมิตรท่ีมีอุดมการณ์ในเรื่องมวยไทยด้วยกัน การฝึกมวยไทยสายไชยามาจาก พระอาจารย์ทางสายใต้ มวยไทยสาย ไชยา ก็คือ นายเจือ จักษุรักษ์ ยักษ์ใหญ่แห่งวงการมวยไทย ท่านหน่ึง รวมท้ังประวัติของท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย ที่ท่านได้อนุรักษ์มวยไทยสายไชยา ให้ คงอยู่เป็นสมบัติของลูกหลานไทย เป็นมรดกของชาติไทย และเป็นที่เผยแพร่สู่ชุมชนมวลมนุษย์ชาติ ท่วั โลกตอ่ ไปในอนาคต

79 มวยไทยสายไชยายุคอนรุ ักษ์ตอนต้น ผู้วิจัยขอนาประวตั ิปรมาจารยม์ วยไทยสายไชยา ทั้ง 3 ทา่ น ดงั น้ี 1. ปรมาจารย์สนุ ทร (กิมเสง็ ) ทวสี ิทธิ์ 2. ปรมาจารย์เขตร ศรยี าภัย 3. ปรมาจารย์เจอื จักษรุ ักษ์ 1. ปรมาจารย์สุนทร (กิมเส็ง) ทวีสทิ ธิ์ ภาพที่ 17 ปรมาจารย์สนุ ทร ทวีสทิ ธ์ิ ทม่ี า : คู่มือการฝึกกีฬามวยไทย หนา้ 40 ปรมาจารย์สนทร (กมิ เสง็ ) ทวสี ทิ ธ์ิ เป็นครูใหญ่ของท่านปรมาจารย์เขตร ศรียาภัย เพราะ อบรม ส่ังสอนกันยาวนานถึง 40 ปี หากจะกล่าวถึงมวยไทยสายไชยาแล้วไม่กล่าวถึงอาจารย์สุนทร ทวีสิทธ์ิ ก็จะทาให้ประวัติมวยไทยสายไชยา ขาดหายไปบางส่วน อาจารย์สุนทร เกิดเม่ือวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2433 เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ช่วงอายุ 41 ปี ท่านได้เดินทางไปศึกษาที่สิงคโปร์และ เร่ิมเรียนยูโด ฟันดาบ มวยสากลที่น่ัน จนได้พบกันนายเบเกอร์ เจ้าของร้านขนมปังซ่ึงเป็นครูมวย สากลฝมี อื ดี ได้สอนด้านทฤษฎแี ละปฏิบัตขิ อง N.S. Rule จนทาให้อาจารย์มีความรู้ ความชานาญใน มวยสากลเป็นอย่างมาก อาจารย์ ท่านยังได้เรียนวิชามวยไทย ดาบไทย จากครูเขียว ในป่าเขตแดน สระบุรีกับอยุธยาอยู่ 2 ปี จึงทาให้อาจารย์เช่ียวชาญวิชาการต่อสู้ของไทยมากขึ้น นอกจากวิชาท่ี กล่าวมาแลว้ อาจารย์ยงั มคี วามรู้ในวิชา มวยชวาของชาวอินโดนีเซีย ท่ีเรียกว่า “เพนต์จ๊าก” มวยจีน “เกง่ คงุ้ ” และ ยยู ิตสู การจับหกั ของชาวญ่ปี ุน่ อกี ดว้ ย จากขอ้ เขียนของอาจารย์เขตร ชว่ งอายุ 25 ปี จึงได้เริ่มชกมวยไทย หลังจากนั้นไม่นานอาจารย์ก็เร่ิมสอนมวยไทยและมวยสากลท่ีบ้านข้างวัดดอน ยานนาวา มีลูกศิษย์มากมายชกชนะมากกว่าแพ้ ลูกศิษย์ ท่านได้เป็นทั้งแชมป์มวยไทย มวยสากลก็ มากจนเกิดเป็น “คณะทวีสิทธิ์” พ.ศ.2472 – 2482 พระยาคทาธรบดี ได้เร่ิมจัดสนามมวยสวนสนุกข้ึน ภายในบริเวณสวม ลุมพินีและไดช้ ักชวนให้อาจารย์สอนวิชามวยท่ีโรงเรียนของกระทรวง แต่งต้ังเป็นอาจารย์ของกรมพล ศึกษากลาง มีลูกศิษย์มากมายกระจายอยู่ทั่วประเทศ และเปิดค่ายมวยก็มาก จึงทาให้ “ท่าราพรหม สี่หน้า” กับ “ท่าย่างสุขเกษม” แพร่หลายกลายเป็นมรดกท่ีเห็นนักมวยไทยใช้ราบนเวทีกันอยู่จนทุก