Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย

Description: การจัดการความรู้มวยไทย 5 สาย.

Search

Read the Text Version

280 ผูกเชือกเสมอหน้าแล้วชกและศอกให้แกว่งไปมา โดยเด็กชายจ้อยจะคอยหลบหลีกหรือปิดป้องด้วย ศอกและแขนเพ่ือมิให้ลูกมะนาวถูกหน้า ในข้ันแรกใช้มะนาวเพียง 2 ลูก หลังจากน้ันก็เพิ่มเป็น 3 ลูก และ 4 ลูก ตามลาดับเด็กชายจ้อยก็สามารถหลบหลีกและปิดป้องมิให้ลูกมะนาวถูกหน้าได้เลย เด็กชายจ้อยยังมีโอกาสเรียนรู้วิชามวยจากการตั้งอกตั้งใจดูมวยและลักจาเชิงมวยที่ต่อยกันท่ีวัด มหาธาตุเมืองพิชัยหรือวัดใกล้เคียงในโอกาสงานฉลองต่าง ๆ ตามความนิยมในสมัยนั้น ในบรรดา นักมวยท่ีเคยมาต่อยที่เมืองพิชัย เด็กชายจ้อยชอบเชิงมวยบ้านท่าเสามากที่สุด เพราะมวยท่าเสามี ความสามารถในการใช้ไม้เตะ ถีบและศอกเป็นพิเศษ ท้ังยังมีวิธีการเคล่ือนไหว อย่างสวยงามในเวลา ตอ่ ยมวย เด็กชายจ้อยถึงกบั ปฏิญาณกบั ตวั เองว่าจะต้องไปขอเรยี นมวยกับสานกั มวยท่าเสาให้จงได้ เกือบจะทุกวัดในอดีตที่มีพระท่ีรู้หนังสือและทาการสอนอ่านเขียนให้แก่เด็ก ๆ จะมีบิดา มารดานาเด็กมาฝากเป็นลูกศิษย์เพื่อเรียนหนังสือที่วัดใหญ่ ๆ เช่น วัดมหาธาตุ ซ่ึงเป็นวัดประจาเมือง คงจะมีเด็กวัดจานวนไม่น้อยที่บิดามารดานาตัวมาฝากเป็นศิษย์วัดและเรียนหนังสือเช่น เดียวกับ เดก็ ชายจอ้ ย เด็ก ๆ ยอ่ มจะทะเลาะวิวาทและชกต่อยกันเป็นประจาเน่ืองจากมีการกระทบกระทั่งกัน เป็นปกติ มีการแย่งข้าวและขนมกันกิน และมีการเบ่งอวดอิทธิฤทธิ์ของเด็กท่ีโตกว่า เด็กชายจ้อยก็ คงถูกกล่ันแกล้งในช่วงแรก ๆ แต่เมื่อเด็กชายจ้อยซึ่งสนใจและฝึกซ้อมมวยอยู่เสมอสามารถชกต่อย และปราบเด็กวัดอื่น ๆ ไดห้ มด เดก็ วดั ทัง้ หลายกม็ กิ ลา้ มากล่ันแกลง้ เด็กชายจ้อยอีกเลยแต่ก็คงไม่ค่อย จะพอใจในความสามารถของเด็กชายจ้อยเท่าใดนัก เผอิญเจ้าเมืองพิชัยได้นาบุตรชื่อคุณเฉิดมาฝาก ท่านพระครูเพ่ือเรียนหนังสือ เด็กวัดทุกคนเกรงกลัวในอานาจวาสนาของเจ้าเมืองพิชัยและคุณเฉิด จึงขอฝากตวั เป็นพวกของคณุ เฉิดทกุ คนซึง่ รวมทง้ั เด็กชายจ้อยดว้ ย พระยาศรีสชั นาลยั บดี กล่าวว่า คณุ เฉิดถูกเดก็ วัดอ่ืน ๆ ยุแหย่ให้รังเกียจเด็กชายจ้อย โดย ได้กล่าวหาวา่ เด็กชายจ้อยเปน็ นักเลงโตไม่กลัวใครแม้แต่คุณเฉิด คุณเฉิดจึงรวบรวมเด็กวัดเพื่อส่ังสอน เด็กชายจ้อยแต่ต่อมาคุณเฉิดเห็นว่าเด็กชายจ้อยเป็นคนดี และไม่ได้เป็นนักเลงโตตามที่ถูกกล่าวหา จึงได้คบหาสมาคมด้วยและพาเด็กชายจ้อยไปที่จวนเจ้าเมืองพิชัยบ่อยครั้ง เจ้าเมืองพิชัยเห็นว่า เด็กชายจ้อยเป็นคนดีมีความสามารถในการต่อสู้และเอาการเอางาน จึงจัดให้อาศัยอยู่ในเมืองพิชัย เด็กชายจ้อยรับใช้ช่วยเหลือการงานเจ้าเมืองพิชัยอยู่หลายปีจนเด็กชายจ้อยอายุได้ 14 ปี เจ้าเมือง พิชัยจึงต้ังช่ือให้เด็กชายจ้อยว่า “ทองดี”แต่เนื่องจากเด็กชายจ้อยไม่ได้กินหมากและฟันไม่ดา คน ท่ัวไปจึงมักเรียกเด็กชายจ้อยว่า “ทองดี ฟันขาว” ต่อมาเด็กชายจ้อยได้ขออนุญาตเจ้าเมืองพิชัยไป ฝึกหดั วชิ ามวยกับครูมวยทลี่ อื ชื่อคนหนึ่งที่บ้านแก่ง (ปัจจุบันเป็นตาบลบ้านแก่ง อาเภอตรอน จังหวัด อุตรดิตถ)์ คอื ครเู ทย่ี ง เพราะเดก็ ชายจ้อยมีใจรักการชกมวยเป็นชีวติ จิตใจ ครูเที่ยงรักนายทองดี ฟันขาวมาก เพราะเป็นคนสุภาพเรียบร้อย เอาใจใส่การฝึกหัดมวย และช่วยทางานบ้านครูเที่ยงด้วยดีเสมอมา นายทองดี ฟันขาว มีทักษะในการชกมวยอยู่แล้ว จึงได้ เรยี นรู้ชั้นเชงิ หมัดมวยไดอ้ ยา่ งรวดเร็วจนลูกศษิ ย์และลูกหลานของครูเที่ยง 4 คน ซึ่งหัดมวยอยู่กับครู เที่ยงก่อนแล้วเกิดความอิจฉาริษยาเป็นอย่างมาก ทั้ง 4 คน ได้หาช่องทางท่ีจะกลั่นแกล้งทาร้ายนาย ทองดี ฟันขาว ให้ได้รับบาดเจ็บเวลาฝึกซ้อมมวยด้วยลูกไม้ต่าง ๆ นานา นายทองดี ฟันขาว ได้แต่ ปัดป้องและตอบโต้ไปบ้างเล็กน้อย แต่ในที่สุดทั้งสองฝ่ายก็เกิดการปะทะต่อสู้กันข้ึน ลูกศิษย์และ ลูกหลานทั้ง 4 คน ของครูเท่ียงสู้กับนายทองดี ไม่ได้และได้รับความบอบช้าไปตาม ๆ กัน จึงไปฟ้อง ครเู ทย่ี งวา่ นายทองดี รงั แกชกตอ่ ย แต่ครเู ทยี่ งรู้มาก่อนแล้ววา่ ลกู ศษิ ย์ทั้ง 4 ชอบพาลหาเร่ืองและกล่ัน

281 แกล้งนายทองดี อยู่เสมอจึงสั่งสอนว่าการที่ 4 คนสู้หนึ่งคนไม่ได้ควรจะปกปิดเร่ืองน้ีไว้มิให้อาย ชาวบา้ น และทั้ง 4 คน ควรประพฤตติ วั ให้ดีกวา่ น้ี ภาพท่ี 192 วดั บ้านแกง่ สถานทท่ี นี่ ายทองดี เคยฝึกมวยกับครูเที่ยง หลังจากท่ีได้มีการปะทะกันระหว่างนายทองดี และลูกศิษย์ทั้ง 4 ของครูเที่ยง นายทองดี ก็เกิดความรู้สึกว่าการเรียนมวยกับครูเท่ียงต่อไปคงจะยุ่งยากลาบากใจยิ่งข้ึนแน่ อีกประการหน่ึงเชิง มวยและไมต้ ่าง ๆ ของครูเท่ยี งก็ได้ถ่ายทอดให้ตนจนหมดสนิ้ แล้วเนอ่ื งจากนายทองดี ตง้ั อกต้ังใจเรียน และมีพรสวรรค์ในวิชาหมัดมวยอยู่แล้ว จึงคิดอยากจะเดินทางต่อไปยังบ้านท่าเสาตามท่ีเคยตั้งใจไว้ วันหนึ่งนายทองดี ทราบว่าพระสงฆ์ท่ีวัดบ้านแก่ง จะเดินทางไปนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ ซึ่งเป็น เส้นทางเดยี วกันกบั บา้ นท่าเสาเพียงแตแ่ ยกกันทีบ่ างโพ (ตัวเมืองอุตรดิตถ์ปัจจุบัน) นายทองดีจึงไปขอ ลาครูเท่ียง เพื่อเดินทางไปพร้อมกับพระสงฆ์รูปนั้น ครูเท่ียงมีความอาลัยรักนายทองดีมากแต่ก็จา ยอมอนุญาตใหน้ ายทองดเี ดินทางไปตามความประสงค์นายทองดี และพระสงฆ์จึงเดินทางขึ้นเหนือมา พักท่วี ดั ช่ือวดั วังเตาหม้อ (ปจั จุบัน คือวดั ทา่ ถนนในเมืองอตุ รดิตถ์) เม่ือทั้งสองได้ไปนมัสการพระแท่น ศิลาอาสน์แล้ว พระรูปน้ันก็เดินทางกลับวัดบ้านแก่งและได้ฝากนายทองดีไว้กับพระท่ีวัดวังเตาหม้อ เพราะนายทองดี ยังไม่เดนิ ทางต่อไปยังบา้ นท่าเสา แต่จะอยรู่ อดงู ้ิวประจาปที ่ีศาลเจ้าบางโพก่อน การดูงิ้วของนายทองดีทั้งเจ็ดวันเจ็ดคืน มีลักษณะพิเศษกว่าคนอ่ืน คือ นายทองดีเห็นง้ิว กระโดดโลดเต้นตีหลังกา หกคะเมนและกระโดดข้ามหัวก็รู้สึกสนใจตั้งอกตั้งใจจดจาท่า ต่าง ๆ เหล่าน้ันอย่างจริงจังทั้งเจ็ดวันเจ็ดคืนพอง้ิวเลิกก็เข้าไปขอเรียนกับพวกงิ้วเหล่าน้ัน เม่ือนายทองดี ได้รับคาแนะนานายทองดีก็พยายามฝึกหัดการหกคะเมนตีลังกาห้อยโหน และกระโดดบนหาดทราย หนา้ วัดวงั เตาหม้ออยู่คนเดยี ว พระสงฆ์และเดก็ วัดต่างหวั เราะเยาะในความซุกซนของนายทองดี นาย ทองดีพยายามฝึกหัดจนทาให้เกิดความคล่องแคล่วว่องไวและสามารถกระโดดข้ามหัวคนอ่ืนได้อย่าง สบายรวมเวลาทีฝ่ ึกหดั ท่ากระโดดโลดเต้น และตลี งั กาแบบงวิ้ เปน็ เวลาประมาณ 1 เดือน

282 ภาพที่ 193 วดั ทา่ ถนน (เดมิ วดั วงั เตาหม้อ ที่นายทองดีเคยดงู ้ิวและฝกึ การหกคะเมนตลี ังกา) หลังจากน้ัน นายทองดีก็ลาพระสงฆ์ท่ีวัดวังเตาหม้อ เพื่อไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์ของครูเมฆ ที่บ้านท่าเสา ครูเมฆซ่ึงมีบ้านอยู่ใกล้วัดใหญ่ท่าเสาและใช้ลานวัดใหญ่ท่าเสาเป็นท่ีฝึกหัดให้ลูกศิษย์ ได้รบั นาย ทองดเี ป็นลูกศษิ ย์ เพือ่ ฝึกหดั มวยโดยให้พกั อยทู่ ่บี า้ นครูเมฆและช่วยทางานบ้านต่าง ๆ เป็น เวลาปีกว่า ครูเมฆก็ถ่ายทอดวิชามวยไทยให้อย่างจริงจัง ครูเมฆเป็นครูมวยที่มีช่ือเสียงมากรักใคร่ นายทองดีและเห็นว่านายทองดีสามารถสืบทอดวิชามวยไทยจากตนได้ จึงสอนวิชามวยให้อย่างไม่มี การปดิ บังจนนายทองดีอายไุ ด้ 18 ปี วันหนึ่งได้มีคนร้าย 2 คนมาลักขโมยควายของครูเมฆไป 2 ตัว ครูเมฆและนายทองดีพร้อม เพ่ือนบ้านได้พากันออกแกะรอยติดตามไปทันในกลางป่า คนร้ายคนหน่ึงถือปืนและอีกคนถือดาบ กระโดดลงจากหลังควายและว่ิงหนี โดยมีครูเมฆและพวกวิ่งติดตามไป นายทองดี วิ่งเร็วกว่าเพื่อน และไปทนั คนร้ายแต่ผเู้ ดียวนายทองดี มดี าบตดิ มือไปดว้ ย หมอบหลบลกู กระสุนปืนทีค่ นร้ายยิงมาแล้ว ลุกขึ้นวิ่งเข้าฟันคนร้าย นายทองดี ต่อสู้อย่างคล่องแคล่วเพียงไม่ก่ีอึดใจนายทองดี ก็สามารถฟัน คนร้ายคนหน่ึงข้อมือขาดแล้วฟันซ้าท่ีแก้มจากคนร้ายคนแรกฟุบลง คนร้ายอีกคนข้ามาช่วยเพ่ือนแต่ พลาดท่าถูกนายทองดีฟนั คอขาดกระเด็นตายคาท่ี พอครูเมฆและเพื่อนบ้านมาถึงก็พากันไปดูคนร้ายท่ี ได้รับบาดเจ็บและตาย หลังจากน้ันก็ช่วยกันหามผู้ร้ายท่ีบาดเจ็บไปมอบให้แก่กรมการตาบลท่าอิด นายทองดีไดร้ ับคาชมเชยจากเจ้าหน้าท่ีและได้รับเงนิ รางวลั 5 ตาลึง ทาให้นายทองดีโด่งดังในละแวก ท่าเสา ชาวบ้านรักใคร่นายทองดีมาก เพราะเป็นคนพูดจริงทาจริง มีใจโอบอ้อมอารี มีฝีมือมวยไทย ยอดเยี่ยมและมคี วามกลา้ หาญ

283 ภาพท่ี 194 วัดใหญท่ ่าเสา บริเวณทนี่ ายทองดี เรยี นมวยกับครเู มฆ หลงั จากนายทองดีไดเ้ ล่าเรยี นมวยและไดค้ รอบครูแลว้ ครูเมฆจงึ นานายทองดไี ปเปรียบมวย เพื่อชกในงานมหรสพฉลองพระแท่นศิลาอาสน์ นายทองดีดีใจมากท่ีจะได้มีโอกาสชกมวยอวดฝีมือ และตรวจสอบ ความกา้ วหนา้ ของตนเองอย่างแท้จริง ส่วนครเู มฆกม็ น่ั ใจว่าลูกศิษย์ของตนจะไม่ทาให้ ตนและสานักมวยขายหน้า เมื่อทาการเปรียบมวยซึ่งเป็นการถามความสมัครใจของท้ังสองฝ่าย นายทองดีไดเ้ ปรียบกับนายถึกลูกศิษย์เอกของครูนิลแห่งเมืองทุ่งย้ัง นายถึกเป็นนักมวยชื่อดังร่างใหญ่ แต่ครูเมฆก็ม่ันใจว่า นายทองดีสามารถหลบหลีกและเอาชนะได้แน่ เพราะนายทองดีมีฝีมือยอดเย่ียม เมือ่ ถึงเวลาชกครูเมฆก็จูงนายทองดอี อกไปกลางสนาม และทาพิธีเสกดินโรยศีรษะ เพื่อขอพรจากพระ แม่ธรณี หลังจากไหว้ครูแล้วนักมวยต่างก็ย่างสามขุมเข้าหากัน นายทองดีย่างเข้าหาอย่างระมัดระวัง พอนายถึกเตะหลอกมาแตะเท้าลงกับพื้นนายทองดีก็กระโดดเหยียบเข่าด้วยไม้หนุมานเหยียบลงกา แลว้ กระโจนข้ามหัวนายถึก พร้อมกับเอาสน้ เท้าโขกทา้ ยทอยของนายถกึ เมื่อกระโดดลงไปข้างหลังก็ รีบหันกลับมาอย่างรวดเร็ว พอนายถึกเหลียวหาก็ถูกเตะท่ีก้านคออย่างแรง นายถึกล้มทั้งยืนสลบ แน่น่ิงอยูก่ ลางสนามและหมดสตไิ ปประมาณ 10 นาที คนดูตบมือแสดงความพอใจและสรรเสริญนาย ทองดลี น่ั สนาม ครนู ลิ ซึ่งเป็นอาจารย์ของนายถกึ รูส้ ึกอับอายและโกรธแค้นเป็นอย่างย่ิง เพราะครูนิลและครู เมฆเป็นคู่ต่อสู้กันมาหลายคร้ังและไม่มีใครเอาชนะใครได้ ต่างฝึกหัดศิษย์ให้มาต่อสู่กันเสมอ แต่ก็ไม่ เคยมีใครแพ้หลุดลุ่ยเช่นนี้มาก่อนซ้าเห็นท่าทางดีอกดีใจของครูเมฆ ครูนิลก็ย่ิงอับอายและบันดาล โทสะถึงกับท้าชกให้ครูเมฆชกกับตน ครูเมฆรับปากจะชกด้วยและจะเดินไปหานายสนามเพ่ือขอ เปรยี บมวยแตน่ ายทองดขี อชกแทนครูเมฆโดยให้เหตุผลว่าตนเป็นคนชนะลูกศิษย์ของครูนิล ถ้าครูนิล ต้องการจะแก้แค้นกต็ อ้ งชกกับตนมากกวา่ อกี ประการหน่งึ ตนเองมากับครูเมฆ จะปล่อยให้ครูของตน ตอ่ สยู้ ่อมผิดลักษณะของลูกผชู้ ายและเม่อื ออกปากขอชกกับครูนิลตนก็ต้องรักษาคาพูดของตน แล้วจึง รีบชวนครูนิลไปหานายสนามเพ่ือขอเปรียบมวย ครูเมฆก็ยอมตามใจนายทองดีแต่ก็ตักเตือนให้ ระวังตวั เพราะครูนลิ มฝี ีมอื เยยี่ มและเป็นมวยรุกทัง้ ยงั ได้เปรยี บทั้งร่างกายและอายุ

284 คร้ันไดเ้ วลาชกครเู มฆก็จูงนายทองดีไปกลางสนามทาพิธีขอพรจากพระแม่ธรณี โดยเสกดิน โรยศีรษะหลังจากไหว้ครแู ล้วท้งั สองฝา่ ยกร็ ามวยและย่างสามขุมเขา้ หากนั ครนู ิลขยับหลอกและเข้าชก เตะพันลา(ชกและเตะอย่างต่อเน่ือง) นายทองดีหลบหลีกและปิดป้องปัดเท้าและหมัดของครูนิล จนกระทงั่ หมดอนั แรก (อนั แรกคือยกแรกน่ันเอง หน่ึงอันคือกะลามะพร้าวเจาะรูวางในน้า เม่ือกะลา จมลงก็หมดหนึ่งอันหรือหนึ่งยก นักมวยจะออกจากเวทีและให้คู่ต่อไปชกอันท่ีหน่ึงจนครบทุกคู่ หลังจากนั้นคู่แรกจะเข้ามาชกอันที่ 2 ต่อไปจนครบทุกคู่ ทาเช่นนี้ต่อไปเร่ือยจนครบทุกอัน คู่ใดแพ้ ชนะก็จัดออกไป) หมัดและเท้าของครูนิลไม่สามารถทาอันตรายแก่นายทองดีได้เลยตลอดทั้งอัน ระหว่างนัง่ พกั อันแรก ครูเมฆถามนายทองดีว่าหนักอกหนักใจอะไรหรือเปล่า นายทองดีกลับหัวเราะ แล้วบอกวา่ อันท่ี 1 เป็นการดูเชิงครูนิลก่อนว่ามีฝีไม้ลายมือแค่ไหน และหาช่องทางเข้าทาในอันต่อไป ตอนนร้ี แู้ ล้ววา่ ฝีมือครูนิลมีแค่ไหนและเห็นจุดอ่อนของครูนิลแล้วจึงไม่ค่อยหนักใจอะไรนัก พอเร่ิมอัน ท่ี 2 ครูนิลก็เร่ิมรุกไล่อีก นายทองดีเห็นได้ทีรีบชกและศอกกกแขน (ต้นแขน) ทั้งซ้ายและขวาของครู นลิ ในท่าปลดดาบจนครูนิลแขนขดั ไปท้งั สองขา้ งและไม่สามารถจะยกแขนทั้งสองข้างได้ดีนัก ครูนิลจึง ได้แต่เตะซ้ายขวานายทองดีได้จังหวะย่างเข้าหาโดยใช้ศอกขวารับการเตะขวาและแขนซ้ายจับเท้าครู นลิ กระชากเข้าหาตวั พร้อมทง้ั แทงเขา่ ขวาเขา้ ที่ท้อง ตามดว้ ยศอกขวาปลายคางและหมัดซ้ายเข้าปาก คร่ึงจมูกคร่ึง ครูนิลล้มหงายหลังสลบคาที่ฟันหลุดออกมา 4 ซี่ แก้ไขอยู่เป็นนานกว่าจะฟ้ืนได้ แต่ก็ เดนิ ไม่ไหวตอ้ งหามกลบั ทงุ่ ย้ังคนดูตา่ งโหร่ ้องว่านายทองดเี ปน็ มวยเทวดา ชกแบบน้ีหาคนสู้ไมไ่ ดอ้ ีก เมื่อครูเมฆและนายทองดกี ลับมาถงึ บ้านครูเมฆอดสงสัยไม่ได้จึงถามนายทองดีว่าไม้กระโดด ขา้ มหวั แล้วหนั มาเตะกา้ นคอน้ันหัดมาจากไหน นายทองดีจึงเล่าให้ฟังว่าได้ดูงิ้วที่ศาลบางโพ เห็นเขา กระโดดข้ามหัวก็เลยลองหัดกระโดดดูจนทาได้เหมือนง้ิว เม่ือขึ้นชกกับนายถึกเห็นนายถึกเป็นคน แขง็ แรงแต่ไมค่ อ่ ยจะฉลาดและกระบวนการมวยก็ไม่ค่อยจะรวดเร็วนัก จึงลองผสมท่ากระโดดข้ามหัว เขา้ กบั ไมห้ นุมานเหยียบลงกากไ็ ด้ผลสาเร็จด้วยดี เม่ือเตะก้านคอนายถึกตามแบบฉบับของมวยท่าเสา ครูเมฆหัวเราะชอบใจและชมเชยนายทองดีว่า รู้จักใช้สมองอย่างนี้ต่อไปไม่มีใครกล้ามาท้าสู้อย่าง เด็ดขาด และกเ็ ปน็ จรงิ อยา่ งครูเมฆกล่าวคือไม่มีนักมวยคนใดในเมืองพิชัย ลับแล ทุ่งย้ัง เมืองพระฝาง และเมืองใกลเ้ คยี งกลา้ มาขอเปรยี บมวยกบั นายทองดอี ีกเลย ภาพท่ี 195 ภาพฝาผนังโบสถ์วัดพระแท่นศิลาอาสน์ทีแ่ สดงถงึ การชกมวยของพระยาพิชยั ดาบหัก

285 เมือ่ นายทองดีอยู่กบั ครเู มฆได้ประมาณ 2 ปี คือ มอี ายยุ ่าง 19 ปี ได้มีพระสงฆ์รูปหนึ่งจาก สวรรคโลก ได้มาพักอยู่ที่วัดใหญ่ท่าเสาระหว่างที่พักอยู่ที่วัดน้ีนายทองดีได้มีโอกาสสนทนาพูดคุยกับ พระรูปนั้นจนสนิทสนมชอบพอกัน พระรูปน้ันจะเดินทางกลับสวรรคโลกและชักชวนให้นายทองดี เดินทางไปเที่ยวด้วย ย่ิงเมื่อทราบว่านายทองดีมีความต้องการจะเรียนดาบอย่างจริงจัง พระรูปนั้นได้ บอกแก่นายทองดีว่า อาของท่านเป็นครูดาบที่มีช่ือลือล่ันของเมืองสวรรคโลก เจ้าเมืองสวรรคโลก ได้รับเอาตัวไปเป็นครูฝึกดาบให้แก่บุตรชายของท่าน ถ้านายทองดีอยากเรียนดาบจริง ๆ พระรูปน้ัน รบั รองจะฝากนายทองดใี หเ้ รยี นดาบกบั ครูดาบนน้ั ได้อย่างไม่มปี ัญหา นายทองดีได้ทราบก็มีความยินดี เป็นอย่างยิ่งและรับปากจะเดินทางไปกับพระสงฆ์รูปน้ัน พอได้โอกาสนายทองดีไปลาครูเมฆและเล่า ความประสงค์ที่จะไปเรียนดาบเพ่ิมเติมให้ ครูเมฆฟัง ครูเมฆมีความรักและอาลัยนายทองดีมาก แต่ก็ จาใจอนุญาตให้ไปตามความประสงค์ นายทองดีได้เดินทางไปสวรรคโลกกับพระสงฆ์รูปนั้นและเข้าพักที่วัดพระปรางค์ เมื่อได้ ทราบวา่ ครเู หลอื ไดฝ้ ึกหัดบตุ รชายเจา้ เมืองสวรรคโลกจนสาเรจ็ และไดก้ ลับมาบ้านแลว้ พระสงฆ์รูปน้ัน ก็พานายทองดีไปฝากกับอาของท่านเพ่ือเรียนวิชาดาบ ครูเหลือก็ยินดีรับนายทองดีเป็นลูกศิษย์เรียน เพลงดาบอยู่ที่บ้าน นายทองดีต้ังอกต้ังใจเรียนวิชาดาบเสือของครูเหลือ และช่วยทางานบ้านอย่างไม่ เกียจคร้านจึงเป็นท่ีรักใคร่ของครูเหลือเป็นอย่างย่ิง นายทองดีอยู่บ้านครูเหลือและฝึกหัดฟันดาบอยู่ ประมาณ 3 เดือน นายทองดีกส็ ามารถฟันดาบได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ สามารถเรยี นรทู้ ุกกระบวนท่าและ พลิกแพลงท่าต่าง ๆ ได้ตามท่ีครูเหลือสอนทุกประการ ครูเหลือไม่เคยคิดเลยว่าจะมีใครเรียนดาบได้ รวดเรว็ เหมือนลูกศษิ ย์คนนีข้ องท่านและฟนั ดาบได้ถูกตอ้ งสวยงามดอี ย่างนายทองดี เพราะนายทองดี เป็นคนมไี หวพรบิ มพี ื้นฐานเป็นนักมวยที่เก่งกล้าสามารถอยู่แล้ว และเป็นคนทาอะไรจริงจัง การเรียน ดาบของนายทองดีจึงประสบความสาเร็จอย่างรวดเร็ว ครูเหลือจึงได้ทาพิธีครอบครูให้แก่นายทองดี เพอื่ แสดงวา่ นายทองดีได้เรียนวิชาดาบจบแล้วมีศักด์ิและสิทธ์ิในการสอนวิชาดาบเสือต่อไป ได้ความ ทราบถึงลูกชายเจ้าเมืองสวรรคโลกซึ่งเป็นศิษย์รุ่นพี่ จึงได้ตามตัวนายทองดีให้ไปซ้อมฟันดาบกันอยู่ เสมอ ฝีมือดาบของลูกชายเจ้าเมืองสวรรคโลกด้อยกว่านายทองดีแต่นายทองดีก็อ่อนข้อให้ด้วยเกรง อานาจของลกู เจ้าเมือง ทาใหท้ ้งั สองเสมอสูสกี ันและทาใหล้ กู เจา้ เมอื ง มีความพอใจเป็นอย่างย่ิงเพราะ คดิ ว่าตนเองมฝี ีมือใกลเ้ คยี งกับนายทองดี ต่อมาพระสงฆ์รูปนั้นได้ชวนนายทองดีไปเที่ยวเมืองสุโขทัยธานี ท้ังสองได้ร่วมเดินทางและ เข้าพักที่วัดธานี (สุโขทัยธานีคือตัวจังหวัดปัจจุบันของสุโขทัย ซ่ึงห่างจากเมืองเก่าสุโขทัยมาทาง ตะวันออกประมาณ 12 กโิ ลเมตร รัชกาลที่ 1 แห่งกรงุ รตั นโกสินทร์ไดโ้ ปรดให้ย้ายสุโขทยั จากเมืองเก่า มาอยู่สุโขทยั ธานีซึ่งอยู่บนฝัง่ แม่น้ายม) ทส่ี โุ ขทัยธานีน้ีมชี าวจีนแต้จว๋ิ คนหนงึ่ ชานาญมวยจีนมาก ได้ต้ัง สานกั สอนมวยจนี แกเ่ ด็กลูกคนจีนท่ีปากคลองเวจ็ ข้ี นายทองดไี ปดูเขาฝึกหดั มวยจีนเห็นท่าจับหักต่าง ๆ เชน่ หกั ไหปลารา้ หักแขน ฯลฯ ก็ชอบใจ เพราะกระบวนท่าต่าง ๆ ไม่เหมือนมวยไทย และต้องใช้ ไหวพริบบวกกับความรวดเร็ว และคิดว่าจะสามารถนามาประยุกต์รวมกับท่าจับหักทุ่มทับของมวย ไทยได้เช่นเดียวกับมวยง้ิวท่ีตนเคยฝึกหัดมาอย่างแน่นอน จึงเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์และขอเรียนวิชา มวยจีนกับครูจีนผู้นั้น ครูจีนก็รับนายทองดีเข้าเป็นศิษย์โดยมิรังเกียจและฝึกสอนมวยให้โดยไม่ อาพรางวิชานายทองดีสุภาพอ่อนน้อมและต้ังอกต้ังใจฝึกฝนอย่างจริงจัง เพียงเดือนเดียวเท่านั้นนาย

286 ทองดีก็เรียนวิชามวยจีนสาเร็จ ครูหมดวิชาท่ีจะถ่ายทอดให้และแปลกใจมากที่ศิษย์คนน้ีสามารถ เรียนได้อย่างรวดเร็วผิดปกติ ครูจีนถึงกับออกปากชมว่านายทองดีเป็นเซียนกลับชาติมาเกิดแน่ ๆ ช่ือเสียงของนายทองดีจึงแพร่กระจายออกไปทั่วสุโขทัยธานีและเมืองใกล้เคียง และได้มีเด็กชาวบ้าน มาขอเป็นศิษย์ฝึกหัดมวยไทยบ้าง มวยจีนบ้าง และฟันดาบบ้าง นายทองดีจึงได้ตั้งตัวเป็นครูสอน ศิลปะป้องกันตัวอยู่ท่ีวัดธานี (ปัจจุบันคือวัดราชธานี) โดยมีเด็กชายบุญเกิดซ่ึงเป็นเด็กกาพร้าอายุ 13 ปี มาขอเป็นศิษย์ติดตามปรนนิบัติรับใช้นายทองดี ติดสอยห้อยตามไปทุกแห่งหน โดยไม่ยอมอยู่ หา่ งจากนายทองดเี ลยเพราะนิยมชมชอบและศรัทธาในตัวนายทองดมี ากเปน็ พิเศษ นายทองดไี ดส้ อนลกู ศิษย์อยทู่ วี่ ดั ธานีเปน็ เวลา 6 เดอื น ได้พบว่าพ่อค้าจีน ที่เกิดในเมืองไทย คนหนง่ึ เดนิ ทางจากเมอื งตากมาค้าขายทีส่ โุ ขทัยธานี และกาลงั จะเดินทางกลับเมืองตาก โดยต้องการ เพื่อนร่วมเดินทางกลับด้วย เน่ืองจากเส้นทางไปเมืองตากนั้นต้องผ่านป่าซึ่งมีเสือชุกชุม การเดินทาง คนเดียวย่อมไม่ปลอดภัยอย่างแน่นอน วันหน่ึงพ่อค้าจีนผู้น้ันเห็นนายทองดีกาลังฝึกหัดมวยไทยให้ ลูกศิษย์อยู่ที่ลานวัด พ่อค้าจีนจึงนั่งดูการฝึกสอนมวยจนเลิกและได้มีโอกาสพูดคุยกับนายทองดี พ่อคา้ จนี คนน้ันไดเ้ ลา่ ใหน้ ายทองดีฟังว่า พระยาตากโปรดปรานการชกมวยเป็นอย่างยิ่งได้จัดให้มีการ ชกมวยเป็นประจาและพระยาตากเองก็เป็นนักมวย ฝึกหัดมวยและสนับสนุนกีฬามวยอย่างเต็มท่ี ชาวเมืองตากพากันฝึกหัดมวยไทยเป็นจานวนมากและมีครูมวยมีชื่อเสียงหลายคนสอนมวยไทยที่ เมืองตาก นายทองดีได้ยินก็มีความสนใจท่ีจะได้มีโอกาสเรียนรู้วิชามวยไทยเพิ่มเติม พ่อค้าจีน จึง ชักชวนนายทองดีใหไ้ ปเทยี่ วดมู วยท่เี มืองตาก นายทองดีตกลงรับปากไปเมืองตากกับพ่อค้าจีน โดยมี เด็กชายบุญเกิดเดนิ ทางไปด้วยทง้ั 3 คนออกเดนิ ทางจากสุโขทัยธานี มีพ่อค้าจีนนาทางไปการเดินทาง ต้องผ่านป่าและค้างคืนในป่า ทั้ง 3 พากันพักผ่อนใต้ต้นไม้ริมทางและก่อไฟไว้รอบที่นอนโดยผลัดกัน น่ังยามเติมฟืนเข้ากองไฟ เพ่ือป้องกันเสือมิให้เข้ามาทาอันตราย เม่ือเด็กชายบุญเกิดน่ังยามและ ง่วงหลับไปไฟมอดลงเสือถือโอกาสย่องเข้ามากัดขาเด็กชายบุญเกิดและลากเด็กชายบุญเกิดเข้าไป ในป่า เด็กชายบุญเกิดร้องลั่นให้คนช่วยนายทองดีตกใจตื่นขึ้นและเห็นเสือกาลังลากเด็กชายบุญเกิด เข้าป่าไป จึงคว้าได้มีดซุยยาวประมาณ 1 คืบ วิ่งไล่ตามเสือไป เม่ือว่ิงไปทันก็กระโดดเข้ารัดคอเสือ อย่างสดุ แรงเกิด เพ่ือใหเ้ สอื ปล่อยเด็กชายบุญเกิด เสอื ปล่อยเด็กชายบุญเกิดแล้วหนั มาอา้ ปากจะกัด นายทองดี นายทองดจี ึงจ้วงแทงด้วยมดี ซยุ ไปในปากเสือจนมดิ ดา้ ม แขนอีกขา้ งหนึ่งก็รัดคอเสือไว้แน่น เท้าสองข้างยันพื้น เพื่อมิให้เสือทรงตัวได้ เม่ือเสือทาอะไรนายทองดีไม่ได้และบังเกิดความเจ็บปวด อยา่ งรุนแรง จึงสะบัดตัวหลุดจากการรัดคอของนายทองดีพร้อมทั้งกระโจนหนีไปโดยมีมีดซุยคาปาก ติดไป เมื่อพ่อค้าจีนวิ่งมาทันก็ช่วยนายทองดีหามเด็กชายบุญเกิดกลับไปยังที่พักนอน ช่วยกันปฐม พยาบาลและเอาผา้ พนั แผลที่สาหัส และที่ทะลอกปอกเปิกเท่าท่ีสามารถจะกระทาได้ ตลอดท้ังคืนนั้น ท้ัง 3 ไม่กล้าหลับนอนอีกจนกระท่ังเช้า นายทองดีและพ่อค้าจีนทาแคร่หามเด็กชายบุญเกิดได้ออก เดินทางต่อ ใชเ้ วลา 2 วันจึงไปถึงเมืองตากและเข้าไปขออาศัยอยู่ที่วัดใหญ่ เพ่ือขอความกรุณาจาก ท่านพระครูเจ้าอาวาสซ่ึงเป็นหมอให้ช่วยรักษาเด็กชายบุญเกิด ท่านพระครูได้เมตตารักษาให้เกือบ 2 เดือน เด็กชายบุญเกิดก็หายเป็นปกติส่วนเสือตัวน้ัน นายทองดีได้ข่าวหลังจากที่ได้มาอาศัยอยู่ท่ี วดั ได้ 4 - 5 วัน วา่ เสือได้ตายไปแล้ว เกวียนชาวนาเมืองสุโขทัย 13-14 เล่ม บรรทุกปลาย่างและปลา เกลือมาขายที่เมืองตากได้หยุดพักแรมตรงที่เสือกัดเด็กชายบุญเกิด ชาวเกวียนเห็นเลือดติดอยู่ตาม พื้นดินและใบไม้ใต้ต้นไม้ใหญ่ เมื่อเข้าไปเก็บฟืนก็พบเลือดกองใหญ่กับมีดซุยเล่มหน่ึงตกอยู่ จึงได้

287 เดินตามรอยเลือดไปด้วยความสงสัยก็พบเสือนอนอ้าปากตาย โดยล้ินใจและหลอดคอเสือขาดกระจุย กระจาย คาดว่าเสอื ตวั นน้ั กระอกั เลอื ดและมดี ซุยออกมาก่อนเดนิ ไปขาดไปใจตาย วันหน่ึงพระยาตากได้จดั ให้มีการถือน้าพิพัฒน์สัตยาประจาปีท่ีวัดใหญ่ และให้มีมวยฉลอง ตามประเพณี นายทองดรี ู้สึกดใี จที่จะได้มีโอกาสชกมวยและเรียนรู้วิชามวยเพิ่มเติมจึงเข้าไปในสนาม เพอ่ื ขอเปรยี บมวย ครมู วยทั้งหลายก็พาลูกศิษย์มาเปรียบมวย เพื่อหาประสบการณ์และทดสอบฝีมือ ครูห้าวเป็นครูมวยลือชื่อของเมืองตากได้จูงมือลูกศิษย์คนหน่ึงมาเปรียบกับนายทองดี แต่นายทองดี เหน็ ว่าการชกมวยกบั มวยเพงิ่ หัดใหม่ ไม่เปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรวู้ ิชามวยของตน จึงปฏิเสธเปรียบ ด้วยแตข่ อเปรียบกบั ครูหา้ วแทน ครูห้าวคิดว่านายทองดีพูดเล่นแต่เม่ือนายทองดีย้าอีกว่าต้องการจะ เปรียบมวยกับครูห้าว เพราะจะได้เรียนศิลปะมวยไทยจากครูห้าว และถึงแม้แพ้ครูห้าว ก็ไม่เสียช่ือ อะไรคือมีแต่ได้กับเสมอตัว ครูห้าวซึ่งรูปร่างสูงใหญ่ล่าสันอายุ 36 ปี เมื่อเทียบกับนายทองดีที่มีอายุ เพียง 20 ปีเท่านั้น ครูห้าวมีภาษีมากกว่ามากมายท้ังยังมีฝีไม้ลายมือท่ีเป็นน่าเกรงขามจนมีลูกศิษย์ ลูกหาเต็มเมืองมาขอฝึกหัดมวยด้วยจึงตกลงยอมเปรียบมวยด้วย เมื่อนายสนามและผู้เกี่ยวข้องกับ การจัดมวยตักเตือนนายทองดี เพราะไม่ต้องการเห็นนายทองดีเจ็บตัว นายทองดีก็ยืนยันตามเดิมและ ขอรอ้ งใหน้ ายสนามจัดการเปรียบมวยให้ตนชกกบั ครหู ้าว นายสนามจึงเปรียบมวยให้ ระหว่างรอการชกน้ัน นายทองดีข้ึนไปบนกุฏิของท่านพระครูเจ้าอาวาสและบอกเรื่องราว การเปรียบมวยแก่ท่านพระครู ท่านพระครูได้ทราบก็ตกใจและห้ามมิให้นายทองดีชกมวยกับครูห้าว โดยให้เหตุผลว่า (1) ครูห้าวเป็นคนมีฝีมือท้ังแขวงเมืองตากไม่มีใครสู้ได้ท้ังยังมีรูปร่างใหญ่โตกว่านาย ทองดีมากอายกุ ็มากกวา่ นายทองดจี ะทานกาลังของครูห้าวไม่ได้ (2) ถ้านายทองดีชนะหรือแพ้ก็ตาม ลูกศิษยล์ ูกหาของครหู ้าวคงจะไมย่ อมและอบั อายท่ีครหู ้าวแพห้ รือแคน้ ใจท่ีนายทองดีดูหมิ่นครูของเขา ถ้าครูห้าวชนะ ลูกศิษย์ของครูห้าวคงจะพยายามทาอันตรายนายทองดีอย่างแน่นอน (3) นายทองดี เป็นคนตา่ งถิ่นและคงจะหาคนช่วยเหลือไม่ได้ ถ้าลูกศิษย์ครูห้าวมาหาเรื่องทาร้ายนายทองดี แม้แต่ ตวั พระครเู องกช็ ว่ ยอะไรไม่ได้ นายทองดีก็ได้ฟังคาเตือนก็เริ่มเห็นจริงด้วยและเกิดอาการร้อนใจอยู่ พอสมควร เมื่อได้ยินนายสนามเรียกชื่อให้ไปเตรียมตัวเข้าชกก็น่ังนิ่งเฉยอยู่บนกุฏิ เพราะคิดไม่ตกว่า ควรจะทาอยา่ งไรดี ภาพที่ 196 คณะวจิ ัย ถา่ ยภาพภายในโบสถว์ ดั พระแท่นศิลาอาสน์

288 พระยาตากและพวกกรมการเมืองได้ทาพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยาเสร็จ ได้มาดูการชกมวย ทราบว่าได้มีหนุ่มต่างเมอื งขอเปรียบมวยกับครหู ้าวก็สนใจเป็นพิเศษและเม่ือทราบว่านายทองดีอยู่บน กุฏทิ า่ นพระครูเจ้าอาวาสโดยไมม่ าเตรียมตวั เขา้ ชกเหมือนนกั มวยคนอืน่ ๆ พระยาตากจงึ ให้นายสนาม ไปตามตัวมาให้ได้ นายสนามและคนของพระยาตากได้ขึ้นไปบนกุฎีท่านพระครูเห็นนายทองดีนั่งอยู่ กับทา่ นจงึ ขออนญุ าตตอ่ ท่านพระครใู หน้ ายทองดเี ข้าชกมวยตามท่ีได้เปรียบไว้ ท่านพระครูไม่ยินยอม และขอไปพบพระยาตากเพื่อช้ีแจงเหตุผลต่าง ๆ ท่ีท่านเห็นว่านายทองดีอาจมีอันตรายเม่ือชกกับ ครูห้าว เม่ือพระยาตากทราบปัญหาท่ีอาจจะเกิดขึ้น พระยาตากได้รับรองว่าลูกศิษย์ของครูห้าวจะไม่ ทาอันตรายแก่นายทองดีเป็นอันขาด ใครทาอันตรายแก่นายทองดีท่านจะลงโทษอย่างรุนแรง ท้ังน้ี เพราะพระยาตากทราบข่าวว่านายทองดีเป็นผู้ท่ีต่อสู้กับเสือและฆ่าเสือตาย ทั้งยังข้ึนสู้กับครูห้าวซ่ึงมี รูปร่างได้เปรียบมากกว่า คงจะต้องมีฝีมือไม้ลายมือพอตัว พระยาตากจึงอยากดูการชกระหว่างครู ห้าวและนายทองดีเป็นอย่างยิ่ง ท่านพระครูได้รับคารับรองเช่นน้ันก็เบาใจ ส่วนนายทองดีซึ่งอยาก ชกอยู่แล้วก็ตกลงเข้าชกกบั ครูหา้ วตามที่ได้เปรียบไว้ นายสนามเร่งใหน้ ายทองดไี ปคาดเชือกเพ่ือเตรียมตัวชก แต่นายทองดีบอกว่าไม่ต้องคาดพอ ถงึ เวลาชกทงั้ 2 ก็เขา้ ไปกลางสนามนายทองดีเสกดินโรยศีรษะขอพรจากพระแม่ธรณี คารวะพระยาตาก 3 ครั้ง จากนั้นก็ราไหว้ครูตามแบบฉบับของสานักท่าเสาบวกกับท่าย่างเสือลากหางของสานักดาบ พระร่วงของครูเหลือ เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณครูทั้งสองท่ีได้ถ่ายทอดวิชาและครอบครูให้ท่ารามวย และท่าย่างของนายทองดีงามสง่ามีอานาจดุจพระยาราชสีห์ เม่ือครูห้าวและนายทองดี ไหว้ครูเสร็จ เรียบร้อย ต่างก็ย่าง สามขุมเข้าหากัน ส่วนครูห้าวเตะและชกเป็นกระบวนการติดต่อกันเพ่ือมิให้ นายทองดีต้ังตัวติด ส่วนนายทองดีได้แต่ใช้ท่าย่างแปดทิศหลบหลีกและปิดป้องปัดหมัดและเท้าของ ครูห้าวอย่างรวดเร็วแต่ก็ต้องถอย จนติดเชือก ครูห้าวตามติดด้วยหมัดและเท้า เมื่อนายทองดีไม่ สามารถใช้ท่าย่างแปดทิศเพ่ือหลบหลีกได้อย่างถนัด จึงแกล้งทาเป็นล้มลงเพ่ือมิให้ครูห้าวใช้อาวุธ ต่อไป พอดีหมดอันท่ี 1 คนดูมีความวิตกแทนนายทองดีว่าครูห้าวคงจะเล่นงานนายทองดีตายแน่ ๆ พระยาตากถึงกับถามนายทองดีว่าจะสู้ต่อไปหรือจะยอมแพ้ นายทองดีตอบว่าขอสู้ต่ออีกสักหน่ึงอัน พอข้ึนอันท่ี 2 นายทองดีถีบจิกสกัดเข้ากลางลาตัวตามแบบฉบับของท่าเสาตามด้วยหมัดเข้าที่ตา อย่างหนักหน่วง พอครูห้าวหน้าหงายนายทองดีใช้ไม้หนุมานเหยียบลงกาเหยียบชายพกครูห้าวข้ึนไป ฟันศอกคลู่ งบนศีรษะ พร้อมกับตีลังกาข้ามศีรษะครูห้าวไปทางด้านหลังพอถึงพื้นก็หันมาเตะซ้ายปาก ครง่ึ จมูกคร่งึ ทาใหค้ รหู า้ วเอียงไปทางซ้ายของครูห้าว นายทองดีก็เตะขวาตามเข้าขากรรไกรอีกทีหนึ่ง ครูห้าวล้มลงสลบคาที่โดยมีแผลที่ศีรษะท่ีโดนศอก 2 แผล ฟันหัก 2 ซ่ี จมูกฉีก โดยมีเลือดไหลออก จากปาก จมูก หู และศีรษะ พอแก้ไขฟ้ืนขึ้นมาครูห้าวก็ขอยอมแพ้แต่โดยดี พระยาตาก และคนดูยัง กังขาในความสามารถของนายทองดีและคิดว่าอาจจะเป็นโชคช่วยมากกว่าประกอบกับ พระยาตาก อยากจะดูฝีมือชกมวยของนายทองดีอีก พระยาตากจึงถามนายทองดีว่าจะสามารถชกกับคนอ่ืนอีกได้ หรอื ไมน่ ายทองดตี อบยืนยนั วา่ ได้ พระยาตากจงึ เรยี กครูมวยที่ตดิ ตามตวั ท่านและสอนมวยให้แก่ทหาร ในจวนเจ้าเมืองช่ือครูหมึกมาให้นายทองดีเปรียบดูครูหมึกอายุประมาณ 40 ปี ผิวเน้ือดาสนิทสมช่ือ รูปร่างสูงใหญ่และหนาบึกบึนหน้าตาน่ากลัวตัวโต กว่านายทองดีมากมาย นายทองดีก็แสดงความ พร้อมจะชกกับครหู มึกทนั ทีโดยไมล่ ังเลใจ เม่อื ถึงเวลาชกมวยนายทองดีก็เสกดินโรยศีรษะขอพระจาก

289 พระแม่ธรณคี ารวะเจา้ เมืองตาก 3 หน และไหวค้ รูตามแบบฉบบั ของครเู มฆบวกกับท่าย่างเสือลากหาง ของครูเหลือเหมือนครั้งที่แล้ว เมื่อท้ังคู่ไหว้ครูเรียบร้อยต่างก็ย่างเข้าหากัน ครูหมึกชกซ้ายขวามา นายทองดีก็ปัดหมัดออกไปได้ ครูหมึกเตะขวาตามนายทองดีก็รับด้วยศอกซ้ายแล้วเตะขวาสวนเข้า ขากรรไกรซา้ ยตามแบบฉบับของสานักทา่ เสา (ไม้น้เี รยี กว่านาคาสะบัดหางหรือนาคาฟาดหางเพราะมี การเอียงตัวไปทางซ้าย เมื่อเตะขวาทาให้มีลักษณะเหมือนการสะบัดหางของนาคาศิษย์สานักท่าเสา สามารถใช้ไม้นี้ได้อย่างสวยงาม รวดเร็วและมีประสิทธิผล จึงเป็นไม้เด็ดไม้หนึ่งของสานักท่าเสา) เม่ือ ครูหมึกเซไปทางขวาของตนนายทองดีก็เตะซ้ายเข้ากรรไกรอีกข้างหนึ่ง หลังจากนั้นนายทองดีก็เตะ เลี้ยงซ้ายขวาเหมือนที่เคยฝึกหัดเตะเลี้ยงต้นกล้วยมิให้ล้มลง ครูหมึกถูกเตะเล้ียงอยู่หลายทีจนสลบ แนน่ ง่ิ อยกู่ บั ที่ พระยาตากตบขาด้วยความพอใจและชมเชยว่านายทองดีมีฝีมือมวยไทยท่ีล้าเลิศหาตัว จับยากคงไม่มีใครกล้ามาขอสู้อีกแล้วให้รางวัลการชก 5 ตาลึง พร้อมกับชักชวนให้อยู่ทาราชการด้วย นายทองดีก็ตกลงอยู่กับพระยาตาก ตั้งแต่วันน้ันเป็นต้นมานายทองดีเป็นคนขยันขันแข็งติดตาม พระยาตากไปทุกแห่งหน พระยาตากโปรดปรานนายทองดีมากเวลาว่างจากราชการพระยาตากให้ นายทองดีรามวยราดาบใหช้ มอยู่เนอื ง ๆ และชมว่าสวยงามทกุ ท่วงท่าดเู ท่าไรกไ็ ม่เบอ่ื เลย เม่ือนายทองดีอายุครบ 21 ปี พระยาตากก็จัดงานบวชให้นายทองดี นายทองดีบวชเป็น พระภิกษุสงฆ์อยู่ 1 พรรษา ก็สึกออกมาอยู่กับพระยาตากต่อไป พระยาตากแต่งต้ังให้นายทองดี เป็นหลวงพิชัยอาสาทาหน้าท่ีองครักษ์ติดตามตัวพระยาตากรับใช้ใกล้ชิดและฝึกทหารภายในจวน พระยาตากโปรดปรานหลวงพิชยั อาสามากและจัดให้หลวงพิชยั อาสาแต่งงานกับนางสาวรายงคนสนิท ของคุณหญิงเจ้าเมืองตาก ส่วนเด็กชายบุญเกิดซึ่งติดสอยห้อยตามมาจากสุโขทัยก็ยังเป็นลูกศิษย์ คู่ทกุ ข์คูย่ ากของหลวงพิชัยอาสาต่อไปและหลวงพิชยั อาสากร็ ักใคร่ไวเ้ น้อื เช่อื ใจมาก พระเจา้ ตาก เสด็จเถลิงถวลั ย์ราชสมบตั ิเป็นบรมกษัตริย์ ตง้ั กรุงธนบุรีเปน็ ราชธานี ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง “หลวงพิชัยอาสา เป็นเจ้าหม่ืนไวยวรนาถ” มีตาแหน่งเป็น นายทหารเอกราชองครกั ษ์ สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงกรีฑาทัพเข้าตีเมืองพิมาย ซึ่งกรมหมื่นเทพพิพิธตั้งตัวเป็นใหญ่ ครองอยู่ โปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้งให้ “เจา้ หม่นื ไวยวรนาถ”เป็นแมท่ ัพหนา้ เข้าตีข้าศึกแตกกระจายพ่ายไป โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ “เจ้าหมื่นไวยวรนาถ” เป็นพระยาสีหราชเดโช มีตาแหน่งเป็น นายทหารเอกราชองครกั ษต์ ามเดิม พ.ศ.2312 จลุ ศักราช 1131 สมเดจ็ พระเจ้าตากสินเสด็จยกกองทัพไปตีเมืองนครศรีธรรมราช โปรดเกล้าฯ ให้ “พระยาสีหราชเดโช” เปน็ ทัพหน้าเขา้ โจมตี เม่ือสมเด็จพระเจ้าตากสินใช้พิชิตพระเจ้าฝาง ยึดได้เมืองพิษณุโลกและเมืองสวางคบุรี ทรงจัดการ บ้านเมืองเสร็จเรียบร้อยแล้ว เสด็จประทับเมืองพิษณุโลก โปรดต้ังข้าหลวงเดิม ซึ่งทา ความชอบในราชการสงครามครองเมืองฝา่ ยเหนือที่เป็นเมอื งใหญ่ โปรดเกล้าฯ ให้ “พระยาสีหราชเดโช เป็น “พระยาพิชัย” มีตาแหน่งเป็นผู้สาเร็จราชการ ครองเมืองพิชัย พระยาพิชัยได้ข้ึนครองเมืองพิชัยเม่ืออายุ 29 ปี พระยาพิชัยรีบถามถึงบิดามารดา ของท่านก็ได้ทราบว่าบิดาถึงแก่กรรมแล้วเหลือแต่มารดาจึงให้ทนายไปตามหาและรับตัวมาท่ีจวน มารดาพระยาพิชัยไม่ทราบว่าเป็นลูกได้แต่คลานเข้าไปกราบด้วยความกลัว พระยาพิชัยจึงเข้าไปจับ

290 มือมารดาไว้และก้มกราบเท้ามารดา แล้วบอกว่าตนคืออ้ายจ้อยลูกของนางที่ได้ซัดเซพเนจรหายไป ต้ังแต่อายุ 14 ปี เมื่อมารดาพระยาพิชัยทราบเร่ืองก็ร้องไห้ดีใจอย่างสุดปลื้มท่ีลูกชาย ที่หายไปเป็น เวลานานได้กลับมาและยังได้เป็นเจ้าเมืองพิชัยอีกด้วย ตั้งแต่นั้นมาชาวเมืองพิชัยจึงเรียกมารดาของ พระยาพชิ ยั ว่าแม่คณุ ใหญ่ในจวนไปตามกนั พระยาพิชัยได้ถามข่าวคราวของครูเท่ียงบ้านแก่งและครูเมฆบ้านท่าเสาซึ่งเป็นครูมวยของ ท่านและเคยรับอุปการะเลี้ยงดูท่านมาก่อน ทราบว่าทั้งสองยังมีชีวิตอยู่จึงเดินทางไปหาและกราบ คารวะครทู ้งั 2 เหมอื นดง่ั เป็นศิษย์อย่ทู าให้ครูท้ัง 2 ปราบปล้ืมภูมิใจมาก พระยาพิชัยจึงได้ตั้งให้ครูท้ัง 2 เปน็ กานันบ้านแกง่ และทา่ อิด เพื่อปกครองราษฎรในตาบลท่ีครูทั้ง 2 อยู่ต่อไป พ.ศ.2313 จลุ ศกั ราช 1134 โปสุพลาแมท่ พั พม่า ซ่งึ รกั ษาเมืองเชียงใหม่อยู่ ยกทัพมาตีเมือง ลับแล แล้วเลยมาตีเมอื งพิชยั สามารถปอ้ งกันเมอื งพชิ ัยไว้ได้ พ.ศ.2316 จุลศักราช 1137 ตรงกับวันอังคาร แรมเจ็ดค่า เดือนย่ี ปีมะเส็ง โปสุพา ยกทัพ มาตีเมอื งพชิ ัยอกี พระยาพิชัย ถือดาบสองมือนาทหารออกตะลุยฟันทหารพม่าจนดาบหักไปข้างหนึ่ง ทหาร พมา่ ล้มตายแตกพ่ายหนีไป การสรู้ บในคร้ังนี้พระยาพชิ ัยจงึ ไดร้ บั สมญานามว่า “พระยาพิชัยดาบหัก” ต้งั แต่น้ันมา พ.ศ.2317 จุลศักราช 1138 สมเด็จพระเจา้ ตากสินโปรดเกล้า ฯ ให้เกณฑ์กองทัพกรุงธนบุรี และหวั เมืองฝ่ายเหนือยกไปตีเมืองเชียงใหม่ โปรดเกล้าฯ ให้ “พระยาพิชัยดาบหัก” เป็นทัพหน้าของ ทัพหลวงตีเมืองเชียงใหม่ได้ ทรงพระกรุณาธิคุณพระราชทานเสื้อเข้มขาบหนึ่งผืน ปืนคาบศิลา 1 กระบอก ปนื ใหญ่หน้าเรือชนิดกินดินปืน รวม 4 กระบอก และอื่นอีกมากมาย ต่อมาเมื่อสิ้นแผ่นดินพระเจ้าตากสินสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้เสด็จข้ึนเถลิงถวัล ย์ ราชสมบัติ ณ กรุงเทพมหานคร โปรดเกล้าให้เรียกตัวพระยาพิชัยดาบหักมาสอบถามความสมัครใจว่า จะยอมอยูท่ าราชการด้วยหรือไม่ พระยาพิชัยดาบหักเหน็ ว่าตนเป็นข้าหลวงเก่าติดตามพระยาตากมา ตง้ั แต่คร้งั เมอื งตากจงรกั ภกั ดตี ่อพระเจ้าตากสินและโศกเศร้าอาลัยในองค์พระเจ้าตาก ไม่สามารถทา ใจลืมคาสัตย์ปฏิญาณท่ีตนเองเคยมีต่อพระยาตาก และไม่สามารถจะอยู่ปฏิบัติราชการต่อไปได้ จึง กราบทูลขอตายตามเสด็จพระยาตาก ขอฝากบุตรชายให้ทาราชการฉลองพระเดชพระคุณเพ่ือสืบ สกุลต่อไป จึงโปรดเกล้าให้ประหารชีวิตพระยาพิชัยดาบหัก เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2325 รวมอายุได้ 41 ปี และโปรดให้บุตรชายของพระยาพิชัยดาบหักเข้ารับราชการ พระยาพิชัยดาบหักจึงมีผู้สืบสกุล และได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 แห่ง กรุงรตั นโกสินทร์ว่า “วิชัยขัทคะ” “วิชัยลักขณา” “ศรีศรากร” “พิชัยกุล” “ดิฐานนท์” (ต้นสกุลวิชัย ขัทคะ. 2538, หน้า 2–5) “เชาวนปรีชา”และ “กุสุมภ์” เป็นผู้สืบสกุลของพระยาพิชัยดาบหักด้วย เช่นกัน (สมพร แสงชยั 2545,หน้า 20) หนังสือศรีศรัทธา งานพระราชทานเพลิงศพของพระครูเกษมธรรมานุกูลทาญาติชั้นท่ี 8 ของพระยาพิชยั ดาบหัก ซึ่งได้รับจากนายวิชยั วิชยั ขัทคะ ผู้ใหญ่บ้านเตาไห ตาบลท่าสัก อาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ รายละเอียดในหนังสือดังกล่าวเขียนไว้ว่า พระยาพิชัยดาบหัก นามเดิม จ้อย เกิด เมื่อ พ.ศ.2284 ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ (รัชกาลท่ี 31) แห่งรัชสมัยของกรุงศรีอยุธยาตอน ปลาย ณ บ้านห้วยคา เมืองพิชัย บิดามารดามิปรากฏนาม ประกอบอาชีพเกษตรกรทานาทาไร่

291 มี พี่น้อง 4 คน เป็นไข้ทรพิษเสียชีวิตคราวเดียวกัน 3 คน เมื่ออายุได้ 8 ขวบ บิดามารดาได้นาไป ฝากทา่ นพระครูวัดมหาธาตุในเมืองพิชัย เพ่ือเล่าเรียนอักษรสมัยจนสามารถรู้หนังสือได้เป็นอย่างดีใน สมยั นน้ั ก่อนจะไปเรียนหนังสือที่วัดมหาธาตุ ณ เมืองพิชัยนั้น บิดามารดาให้เลี้ยงควาย มีนิสัย องอาจกลา้ หาญ ชอบการชกมวยยิง่ นกั พอบดิ าจะนาไปฝากพระครใู หเ้ รียนหนังสือ ก็ขัดขืนจะไม่ยอม ไปเรยี นท่าเดียว บิดาจึงให้โอวาทวา่ “ไมว่ ่าวชิ าสิ่งใดทง้ั หมดมีอยู่ในหนังสือทั้งส้ินลูกเอ๋ย เจ้าชอบการ ชกมวย พ่อก็ไม่ขัดขืนตามใจเจ้าแต่ถ้าเจ้าไม่เรียนหนังสือเสียก่อน จะเรียนชกมวยทีเดียวจะเป็น ผลสาเรจ็ ก็นานปีนกั เพราะครูเขาคงไม่ตั้งท่าตั้งทางสอนให้เจ้าวันยังค่าหรอกเขาสอนเป็นเวลาวันละ คร้ังอย่างมากก็สองครั้งเท่าน้ัน แล้วครูเขาก็จะให้เจ้าดูตาราการชกมวยในหนังสือ ซึ่งจะบอกท่าเตะ ชก ปัด ปิด เอาไว้ ก็ถ้าเจ้าไม่รู้หนังสือ ดูตาราไม่ออก จะอาศัยนึกเอาเช่นนั้น ถึงจะสาเร็จก็ไม่ดีได้ใน ชัน้ เชงิ มวยเชือ่ พ่อเถอะ” เม่ือได้ฟังโอวาทของบิดาดังนั้นโดยอยากเป็นนักมวยนั้นเอง จึงยอมไปอยู่วัด เพ่อื เรียนหนังสอื ทนั ที พ.ศ.2298 อายุได้ 14 ปี เกิดมีเร่ืองชกต่อยกับลูกเจ้าเมืองพิชัย ชื่อคุณเฉิด ด้วยความกลัว อาญาเมือง ที่ไปชกต่อยกับลูกเจ้าเมือง จึงหนีออกจากวัดมหาธาตุ โดยมิล่าลาใครเดินทางข้ึนไปทาง เหนือตามลาน้าน่าน พักแรมท่ีวัดท่าดินแดงกับพระสงฆ์คืนหน่ึง พระถามว่าจะเดินทางไปไหนตอบ พระว่าจะเดินทางไปหาอาที่บ้านเต่าไหหลงทางจึงไปไม่ถึง รุ่งเช้าเดินทางต่อไปถึงวัดบ้านแก่งเปลี่ยน ชื่อตนเองจากจ้อยเป็นทองดี แต่คนที่รู้จักคุ้นเคยมักจะเรียกว่า ทองดีฟันขาว (ด้วยไม่ชอบกินหมาก จงึ ยม้ิ ฟันขาว) ณ วดั บ้านแกง่ ใต้นเี้ องไดพ้ บครมู วยช่ือ ครเู ท่ียง ฝากตัวเป็นศิษย์ ร่าเรียนวิชามวยไทย ป้องกันตัวจนเจนจบ อยู่รับใช้ในสานักครูเที่ยง จนเป็นท่ีไว้วางใจของครูถึง 2 ปีเศษจึงอาลาครูเท่ียง จะไปไหว้พระแท่นศิลาอาสน์กับพระสงฆ์ที่คุ้นเคยกันรูปหน่ึง เม่ือเลิกงานไหว้พระแท่นศิลาอาสน์แล้ว ไดไ้ ปขออาศัยทีว่ ัดวงั เตาหม้อ (วดั ทา่ ถนนในปัจจุบัน) ได้ดูงิ้ว 7 วัน 7 คืน ท่ีศาลบางโพ ชอบท่าแสดง ของนักแสดงง้ิว จึงกาหนดจดจาอย่างจริงจัง แล้วกลับมาฝึกหัดด้วยตนเอง หกคะเมนตีลังกาจน ชานาญ พระเณรในวัดต่างหัวเราะชอบใจ ว่าเจ้าทองดีฟันขาวนี้ซุกซน จากท่าทางของนักแสดงง้ิว ดุจดังวิชามวยจีน ที่เรียนแบบครูพักลักจาในโรงงิ้วนี้เอง ทองดีฟันขาว ได้นามาประกอบใช้กับวิชา มวยไทยของตน เมื่อ ปี 2302 อายุ 17 ปีเศษ ไปฝากตัวเป็นศิษย์ครูมวยบ้านท่าเสาชื่อครูเมฆ อน่ึงครูเมฆนี้ ได้เคยพบเหน็ จารจาวสิ าสะขอฝากตวั กับครเู มฆก่อนแล้ว เมื่อคร้ังเป็นเด็กวัดอยู่วัดมหาธาตุ เมืองพิชัย ครเู มฆเคยนาลูกศิษย์ไปชกมวยในงานถือน้าพิพัฒน์สัตยา ณ เมืองพิชัย เรียนมวยกับครูเมฆจนช่าชอง ได้ช่วยงานครูเมฆและได้ไปชกมวยชนะแทบทุกงาน ตามเวทีต่าง ๆ ในแถบน้ัน โดยเฉพาะงานที่วัด พระแท่นศลิ าอาสน์ ไดเ้ ปรยี บชกมวยกับครูถึกและครนู ลิ ครูมวยอันมีชื่อแห่งเมืองทุ่งยั้ง ในการชกคร้ัง สาคญั นี้เอง นายทองดี จึงมีชื่อกระฉ่อนไปท่ัวทั้งเมืองพิชัย เมืองทุ่งยั้ง เมืองลับแลถึงเมืองฝางสวางค บุรี ชาวบ้านต่างขานนามว่า “ทองดี ฟันขาว ศิษย์เอกครูเมฆแห่งบ้านท่าเสานั้นเป็นมวยเทวดาไม่มี ใครสู้ได้แล้ว” ระหว่างอยู่กับครูเมฆได้สร้างชื่อเสียง ทาความดีความชอบได้ช่วยจับคนร้ายท่ีไปขโมย ควายครเู มฆได้นาส่งกรมการตาบลท่าเสา ไดร้ ับเงินบาเหน็จ 5 ตาลึง พ.ศ. 2304 อายุย่างเข้า 20 ปี เป็นหนุ่มฉกรรจ์ ได้ลาครูเมฆไปเรียนดาบที่เมืองสวรรคโลก โดยพานกั อยู่ที่วัดพระปรางค์ ได้เรียนจบวชิ าดาบภายในเวลา 3 เดือน เป็นท่ีรักและช่ืนชมของครูดาบ

292 ยิ่งนัก ด้วยฝีมือการชกมวยและฟันดาบจนมีชื่อลือชา จึงได้รับเชิญไปเป็นครูมวยและครูดาบ ท่ีเมือง สุโขทัย และได้เรียนวิชามวยจีนอย่างจริงจังจากครูมวยจีนแต้จ๋ิว จนได้รับคายกย่องจากครูมวยจีนว่า “ลอื้ เป็นเซียน ไม่ใช่มนุษย์ธรรมดา” เพราะเรียนมวยจีนได้อย่างช่าชองในเวลาไม่นาน และท่ีสุโขทัยนี้ ได้รับเด็กชายบุญเกิดเด็กกาพร้าอายุ 13 ปี มาเป็นลูกศิษย์ เด็กชายบุญเกิดน้ี จึงเป็นทั้งศิษย์และน้อง บุญธรรม ทีเ่ ป็นเพือ่ นคู่ทุกข์ คยู่ ากเดินทางผจญภัยไปเมืองตากดว้ ยกนั ตามคาชักชวนของชาวจีนเมือง ตากผหู้ วงั ดที ี่ไดเ้ ฝ้าแอบมองความสามารถในการชกมวยของนายทองดี เพอื่ หวงั จะให้ได้พบคนดีมีฝีมือ ที่เมืองตาก คือ พระยาตาก ระหว่างทางเสือได้ทาร้ายบุญเกิดบาดเจ็บนายทองดี ฟันขาว ได้ฆ่าเสือ ตายและได้นาทองดีไปให้พระครูวัดใหญ่เมืองตากรักษา ขณะที่อยู่ที่วัดนั้นได้มีการจัดงานพิธีถือน้า พพิ ัฒนส์ ตั ยาของเมอื งตาก มกี ารเปรยี บชกมวยไดม้ โี อกาสชกมวยกับครูห้าว ครูมวยเมืองตากสามารถ เอาชนะครูห้าวได้เป็นท่ีช่ืนชมของพระยาตากมากได้รับรางวัล 5 ตาลึงและได้ชักชวนให้อยู่ด้วย นายทองดี ฟันขาว จึงได้ถวายตัวเป็นทหารองครักษ์ของพระยาตาก ณ วัดใหญ่เมืองตากนี้พระยา ตากได้บวชเรียนให้ 1 พรรษา และคุณหญิงได้หาภรรยาให้ช่ือ แม่รายง ต่อมาไม่นานได้บรรดาศักดิ์ เป็น “หลวงพิชัยอาสา” กรมการเมืองตากนั้นเอง หลังจากท่ีช่วย พระยาตากกอบกู้เอกราชจนเป็น ผลสาเร็จ พระยาตากไดเ้ สดจ็ เถลงิ ถวลั ยร์ าชสมบัติเป็นบรมกษัตริย์ เปน็ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ ตง้ั กรงุ ธนบรุ เี ป็นราชธานี ได้รบั พระราชทานโปรดเกลา้ ฯ เปน็ จมน่ื ไวยวรนาถและพระยาสหี ราชเดโช โดยลาดับ พ.ศ.2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงยกทัพไปปราบ ก๊กเจ้าพระฝางที่เมืองพิษณุโลกและ เมืองสวางคบุรีได้สาเร็จ ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาสีหราชเดโชเป็นพระยาพิชัย มีตาแหน่งเป็น ผู้สาเร็จราชการครองเมืองพิชัย เม่ืออายุ 29 ปี โดยให้ถือไพร่พล 9000 และพระราชทานเคร่ืองยศ เสมอเจ้าพระยาสุรสีห์ เจ้าเมืองพิษณุโลก ส่วนน้องบุญเกิดน้องบุญธรรมท่ีช่วยกอบกู้เอกราชได้ทรง พระราชทานบรรดาศักด์ิเป็น หมน่ื หาญณรงค์ ทหารคนสนิทของพระยาพชิ ยั เมื่อพระยาพิชัยได้ครอง เมืองพิชัยตามพระราชประสงค์แล้ว ได้ทราบว่าบิดาเสียชีวิตไปแล้วจึงได้ไปกราบเท้ามารดาและเชิญ มาอยู่ในจวนเมืองพิชัยด้วยกัน เมื่อมารดาได้มาอยู่ที่จวนเจ้าเมืองแล้วต่างเรียกขานมารดาท่านด้วย ความเคารพว่า “คุณแม่ใหญ่ในจวน” ส่วนครูเท่ียงบ้านแก่งและครูเมฆท่าเสาครูมวยทั้งสองได้รับ แต่งตงั้ ให้เป็น ขุนเท่ียงและขนุ เมฆ ปกครองราษฎรในท้องทต่ี าบลของตนต่อไป พ.ศ.2316 จุลศักราช 1137 ตรงกับวันอังคาร แรมเจ็ดค่า เดือนยี่ ปีมะเส็ง โปสุพา ยกทัพ มาตีเมืองพิชัยอีกครั้ง พระยาพิชัยถือดาบสองมือนาทหารออกตะลุยฟันทหารพม่า จนดาบหักไปข้าง หน่ึงทหารพม่าล้มตายแตกพ่ายหนีไป การสู้รบในครั้งนี้พระยาพิชัย จึงได้รับสมญานามว่า “พระยา พิชัยดาบหัก” ตั้งแต่นัน้ มา ต่อมาเมื่อสิ้นแผ่นดินพระเจ้าตากสินสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้เสด็จขึ้นเถลิงถวัล ย์ ราชสมบัติ ณ กรุงเทพมหานคร โปรดเกล้าให้เรียกตัวพระยาพิชัยดาบหักมาสอบถามความสมัครใจ ว่าจะยอมอยทู่ าราชการด้วยหรอื ไม่ พระยาพิชยั ดาบหักเห็นว่าตนเป็นข้าหลวงเก่าติดตามพระยาตาก มาตัง้ แตค่ รั้งเมืองตากจงรักภกั ดีต่อพระเจ้าตากสินและโศกเศร้าอาลัยในองค์พระเจ้าตาก ไม่สามารถ ทาใจลมื คาสตั ย์ปฏิญาณที่ตนเองเคยมีตอ่ พระยาตาก และไมส่ ามารถจะอยู่ปฏิบัติราชการต่อไปได้ จึง กราบทูลขอตายตามเสด็จพระยาตาก ขอฝากบุตรชายให้ทาราชการฉลองพระเดชพระคุณเพื่อสืบ

293 สกุลต่อไป จึงโปรดเกล้าให้ประหารชีวิตพระยาพิชัยดาบหัก เม่ือวันท่ี 7 เมษายน 2325 รวมอายุได้ 41 ปี และโปรดให้บุตรชายของพระยาพิชัยดาบหักเข้ารับราชการ พระยาพิชัยดาบหักจึงมีผู้สืบสกุล และได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ว่า “วิชัย ขัทคะ”“วิชัยลักขณา”“ศรีศรากร” “ดฐิ านนท์” (ตน้ สกลุ วิชยั ขทั คะ.2538, หนา้ 2 – 5) 1.2 การสังเคราะห์จากกลมุ่ ครมู วย ข้าพเจ้านายวิชัย วิชัยขัทคะ ซ่ึงเป็นทาญาติของท่านปู่ทวดพระยาพิชัยดาบหัก ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 บา้ นเตา่ ไห ตาบลท่าสกั อาเภอพชิ ัย จังหวัดอุตรดติ ถ์ ได้รับร้เู กี่ยวกับประวัติพระยาพิชัยดาบหัก จากพระครูเกษมธรรมานุกูลทาญาติช้ันท่ี 8 ของพระยาพิชัยดาบหัก ซึ่งท่านได้เล่าให้ลูกหลานชนรุ่นหลัง ฟังว่า พระยาพิชัยดาบหักนามเดิม “จ้อย” เกิดเมื่อ พ.ศ. 2284 ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ (รัชกาลท่ี 31) แห่งกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ณ บ้านห้วยคา เมืองพิชัย บิดามารดามิปรากฏนาม ประกอบอาชพี ทานาทาไร่ มีพน่ี อ้ ง 4 คน เป็นไขท้ รพิษเสียชีวติ คราวเดียวกนั 3 คน เมื่ออายุได้ 8 ขวบ บิดามารดาได้นาไปฝากท่านพระครูวัดมหาธาตุในเมืองพิชัย เพ่ือเล่าเรียนอักษรสมัยจนสามารถรู้ หนังสอื ไดเ้ ป็นอย่างดี เจ้าเมอื งพิชัยได้นาบตุ รชอื่ คุณเฉิดมาฝากท่านพระครูเพื่อเรียนหนังสือที่วัดมหาธาตุ เด็กวัด ทกุ คนเกรงกลวั ในอานาจวาสนาของเจา้ เมืองพิชยั และคณุ เฉิด จงึ ขอฝากตัวเป็นพวกของคุณเฉิดทุกคน ซ่งึ รวมทัง้ เดก็ ชายจ้อยด้วย ต่อมาเดก็ ชายจ้อยได้เกิดมีเรื่องกับลูกเจ้าเมือง จึงหนีออกจากวัดมหาธาตุ เดินทางข้ึนเหนือไปพักอาศัยอยู่ท่ีวัดท่าไม้แดงกับอาที่เป็นพระสงฆ์ แต่กลัวว่าเจ้าเมืองจะตามมาอีก เลยหนีขึ้นเหนือตามแม่น้าต่อไปถึงบ้านแก่ง ได้ขอเรียนมวยกับครูเท่ียงและบอกว่าตนเองช่ือทองดี เพราะกลัวเจ้าเมืองจับได้ต่อมาครูเที่ยงได้เรียกว่า “ทองดี ฟันขาว” เพราะไม่กินหมากทาให้ฟันขาว จากนั้นได้เดินทางไปกับพระรูปหนึ่งมุ่งหน้าข้ึนเหนือตามลาน้าน่านหวังจะไปเรียนมวยกับครูเมฆท่ี บ้านท่าเสา (เพราะชอบมวยของครูเมฆมากตอนท่ีครูเมฆนามวยไปชกท่ีงานวัดมหาธาตุเมืองพิชัย) และได้ไปพักค้างแรมท่ีวัดวังเตาหม้อดูง้ิวแสดงถึง 7 วัน 7 คืน ได้ฝึกกระโดดตีลังกาเรียนแบบง้ิว จากน้นั จึงได้เดินทางต่อไปท่ีบ้านท่าเสา ไปฝากตัวเป็นศิษย์ครูเมฆได้เรียนมวยกับครูเมฆ ครูเมฆได้พา ไปชกมวยท่ีวัดพระแท่นศิลาอาสน์ได้เปรียบมวยชกกับนายถึกและครูนิล ครูมวยอันมีช่ือของเมืองทุ่ง ย้ัง ชนะท้ังครูและศิษย์ ในการชกมวยในครั้งสาคัญน้ี นายทองดี ฟันขาว จึงมีช่ือกระฉ่อนท่ัวไปท่ัว เมืองพิชัย เมืองทุ่งยั้ง เมืองลับแลถึงเมืองฝางสวางคบุรี ชาวบ้านต่างกล่าวขานกันว่า”ทองดี ฟันขาว ศิษย์เอกครูเมฆแห่งบ้านท่าเสานั้นเป็นมวยเทวดาไม่มีใครสู้ได้” ระหว่างที่อาศัยอยู่กับครูเมฆ ได้ทา ความดีความชอบให้กับครูเมฆนานัปการ และครั้งที่สาคัญได้ช่วยจับคนร้ายที่เข้าไปขโมยควายของครู เมฆได้นาส่งกรมการตาบลบางโพท่าอิฐ ได้รับเงินเป็นบาเหน็จ 5 ตาลึง อายุย่างเข้า 20 ปี เป็นหนุ่ม ฉกรรจ์ ลาครเู มฆไปเรียนวิชาดาบตามคาแนะนาของพระสงฆ์ ท่ีสานักดาบเมืองสวรรคโลก โดยพานัก อยู่ท่ีวัดพระปรางค์ ได้เรียนจบวิชาดาบภายในระยะเวลา 3 เดือน เป็นท่ีรักและช่ืนชอบของครูดาบ ยง่ิ นัก ดว้ ยฝมี อื ชกมวยและฟนั ดาบจนมีช่ือลอื ชา จึงได้รับเชิญไปเป็นครูมวยและครูดาบท่ีเมืองสุโขทัย ได้พานักอยู่ท่ีวัดราชธานี และในช่วงนี้ได้เรียนวิชามวยจีนอย่างจริงจังจากครูมวยจีนแต้จ๋ิว จนได้รับ การยกย่องจากครูมวยจีนว่า“ลื้อเป็นเซียน ไม่ใช่มนุษย์” เพราะเรียนวิชามวยจีนได้อย่างรวดเร็วและ ช่าชองในระยะเวลาไม่นาน และได้เดินทางต่อไปยังเมืองตากกับน้องบุญธรรมช่ือบุญเกิดตาม คาชักชวนของชาวจีนเมืองตากคนหนึ่ง ผู้หวังดีท่ีเฝ้าแอบมองความสามารถในชั้นเชิงมวยและเพลง

294 ดาบของนายทองดี ฟันขาว มาโดยตลอดด้วยหวังจะให้ได้พบพระยาตาก ระหว่างเดินทางได้มี เหตุการณ์ คอื เสอื ได้ทารา้ ยบุญเกดิ จงึ ไดฆ้ ่าเสือตายด้วยมีดซุย เม่ือถึงเมืองตากได้อาศัยอยู่กับพระครู วดั ใหญ่เมอื งตาก หลงั จากรักษาบาดแผลของน้องบุญเกดหายดีแล้ว ได้ข้ึนชกมวยในงานถือน้าพิพัฒน์ สัตยา ปราบครูมวยชื่อห้าวได้ พระยาตากเห็นแล้วช่ืนชมยินดีได้ให้รางวัล 5 ตาลึง และได้ชักชวนให้ อยู่ด้วย จึงได้ถวายตัวเป็นทหารองครักษ์นับแต่น้ันเป็นต้นมา พระยาตากได้บวชให้หน่ึงพรรษาและ คุณหญิงเมืองตากหาภรรยาให้ชื่อแม่รายง ต่อมาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น“หลวงพิชัยอาสา” กรมการ เมอื งตาก เมื่อกรุงศรอี ยุธยาแตกพ่ายให้กบั พมา่ ได้ช่วยพระยาตากกอบกู้เอกราชจนเป็นผลสาเร็จ เม่ือ ทรงสถาปนาเมืองธนบุรีเป็นราชธานีแล้ว ได้รับพระราชทานบรรดาศักด์ิเล่ือนเป็น จม่ืนไวยวรนาถ และเป็นพระยาสีหราชเดโช โดยลาดับ เม่ือครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสิน ทรงยกทัพไปปราบก๊กเจ้าพระ ฝางที่เมืองพิษณุโลกและเมืองสวางคบุรีได้สาเร็จจากผลงานที่ไปร่วมปราบได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง ให้พระยาสีหราชเดโช เป็น พระยาพิชัย มีตาแหน่งเป็นผู้สาเร็จราชการเมืองพิชัย ให้ถือไพร่พล 9000 และพระราชทานเคร่ืองยศเสมอเจ้าพระยาสุรสีห์ เจ้าเมืองพิษณุโลก ส่วนน้องบุญเกิดได้ทรง พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหมื่นหาญณรงค์ ทหารคนสนิทของพระยาพิชัยเมื่อพระยาพิชัยได้ครอง เมืองพิชัยตามพระราชประสงค์แล้ว ได้ทราบว่าบิดาเสียชีวิตแล้วจึงได้ไปกราบเท้ามารดาและเชิญมา อยใู่ นจวนเมอื งพชิ ัยดว้ ยกนั เมื่อมารดาได้มาอยู่ท่ีจวนเจ้าเมืองแล้วต่างเรียกขานมารดาท่านด้วยความ เคารพว่า “คุณแม่ใหญ่ในจวน” ส่วนครูเท่ียงบ้านแก่งและ ครูเมฆท่าเสาครูมวยทั้งสองได้รับแต่งต้ัง ให้เปน็ ขนุ เท่ียงและขุนเมฆ ปกครองราษฎรในทอ้ งทีต่ าบลของตนตอ่ ไป เม่ือ พ.ศ.2316 ขณะน้ันมีอายุได้ 32 ปี โปสุพา แม่ทัพพม่าได้มาตีเมืองพิชัยท่านได้นา ทหารออก รบและต่อสู้กับโปสุพาจนดาบหักไปข้างหน่ึง ทหารพม่าแตกพ่ายหนีไป ในการสู้รบคร้ังน้ี ท่านไดส้ มญานามว่า “พระยาพิชัยดาบหกั ” ต้งั แตน่ ั้นมา ตรงกับวนั อังคาร แรม 7 คา่ เดือนย่ี ปีมะเส็ง (วันที่7 มกราคม 2316) จากการศึกครั้งนั้น หม่ืนหาญณรงค์ ได้เสียชีวิตจากปืนคาบศิลาของพม่า ขณะท่ีเข้าไปต้ังรับช่วยพระยาพิชัย ท่ีกาลังเสียท่าต่อพม่า หมื่นหาญณรงค์ได้แลกชีวิตพลีชีพเพื่อนาย ของตน เมอื่ สน้ิ สมเดจ็ พระเจ้าตากสินแลว้ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงเสด็จข้ึนเถลิงถวัลย์ ราชสมบตั ิ ณ กรงุ เทพมหานคร เมอ่ื วันที่ 7 เมษายน 2325 พระยาพิชัยดาบหัก ท่านไม่ยอมอยู่เป็นข้า สองเจ้าบ่าวสองนาย กราบบังคมทูล สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกบรมกษัตริย์ ขอถวายความ จงรักภักดีถวายชีวิตตาม สมเด็จพระเจ้าตากสิน แต่ขอฝากบุตรชายให้รับราชการสนองพระเดช พระคุณสืบไปภายหน้า จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ประหารชีวิต (วิชัย วิชัยขัทคะ 2556, 4 มีนาคม 2556) สมั ภาษณโ์ ดยประกาศ เพียสามารถ ท่บี ้านของผู้ใหส้ มั ภาษณ์ พูดถึงประวัติความเป็นมาของพระยาพิชัยดาบหัก ตามที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาไม่ปรากฏ หลักฐาน พงศาวดารหรือจดหมายเหตุอื่นใด ในสมัยกรุงธนบุรีหรือหลังจากน้ัน นอกจากเรื่อง “ประวัติพระยาพิชัยดาบหัก” ซึ่งเรียบเรียงโดยพระยาศรีสัชนาลัยบดี (เลี้ยง ศิริปาละกะ) พิมพ์ เผยแพรเ่ ปน็ ครง้ั แรกในหนังสือเสนาศกึ ษา เมื่อประมาณปี พ.ศ.2469 โดยพระยาศรีสัชนาลัยบดี เป็น ชาวพิชัยโดยกาเนิด ท้ังสายตระกูลสืบเช้ือสายมาจากพระยาพิชัยดาบหัก ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า เรียบเรียง จึงได้มาจากการสืบค้นบอกเล่าจากพรรพบุรุษในตระกูลและชาวเมืองอื่น ๆ ท่ีได้รับรู้ เก่ยี วกบั วรี กรรมของวรี ะบรุ ุษชาวพชิ ยั โดยอาตมาไดศ้ กึ ษามดี ังน้ี พระยาศรสี ัชนาลัยบดี ได้เรยี บเรียงชีวิตในวยั เยาว์ของพระยาพิชยั ดาบหกั เดิมชอ่ื “จ้อย”

295 เช่อื ว่าเสยี ชีวติ เมื่ออายไุ ด้ 41 ปี ในแผ่นดนิ พระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ ทีบ่ ้านหว้ ยคาอยู่ทางตะวันออกของ เมืองพิชัยประมาณ ร้อยเส้นเศษ (5 กิโลเมตร) ปัจจุบันเมืองพิชัยคืออาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ บิดามารดาทาไร่ทานา พระยาพิชัยดาบหัก มีพ่ีน้องร่วมกัน 4 คน อีก 3 คนเป็นไข้ทรพิษตาย บิดา ของเดก็ ชายจอ้ ยไดใ้ หเ้ ด็กชายจ้อยไปเลี้ยงควาย เดก็ ชายจ้อยก็จะมีเรื่องทะเลาะวิวาทกับเพื่อนๆ เป็น ประจาทาให้เด็กชายจ้อยไดเ้ รยี นรู้การต่อสู้และชอบการชกมวยเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาเมื่อเด็กชายจ้อย มีอายุได้ 8 ขวบ บิดาต้องการให้ไปอยู่วัดเพื่อเรียนหนังสือเพราะการเรียนหนังสือในขณะน้ันมีแต่ พระสงฆ์เท่าน้ันท่ีทาการสอนและยังไม่มีโรงเรียนเช่นในปัจจุบันเลย เด็กชายจ้อยสนใจวิชาหมัดมวย มากกว่าและไม่ต้องการจะเรียนหนังสือแต่ประการใด บิดาจึงได้ส่ังสอนให้เด็กชายจ้อยรู้ว่าการเรียน หนังสือสามารถช่วยในการเรียนมวยได้เพราะตาราต่าง ๆ มีความรู้เกี่ยวกับหมัดมวยมากมายและ สามารถใชป้ ระกอบการเรยี นจากครูมวยได้เป็นอย่างดี ถ้าอ่านหนังสือไม่ออกก็ไม่อาจเข้าใจและเรียน มวยระดับสูงๆ ได้ การเรียนมวยก็จะไม่ประสบความสาเร็จหรือเก่งขึ้นมาได้ เด็กชายจ้อยจึงยอมไป เรยี นหนงั สือและบดิ าไดน้ าตวั ไปฝากเปน็ ศิษย์วดั กบั พระครูวัดมหาธาตุเมอื งพชิ ัย เดก็ ชายจอ้ ยยงั มโี อกาสเรียนรู้วิชามวย จากการต้ังอกต้ังใจดูมวยและลักจาเชิงมวยที่ชกกัน ที่วดั พระธาตุเมืองพิชัยในโอกาสงานฉลองต่างๆ เป็นประจาตามความนยิ มในสมัยน้ันในบรรดานักมวย ท่ีเคยมาชกท่ีเมอื งพชิ ัย เด็กชายจ้อยชอบเชงิ มวยบา้ นท่าเสามาก เด็กชายจ้อยถึงกับปฏิญาณกับตัวเอง ว่าจะต้องไปขอเรียนมวยกับสานักมวยท่าเสาให้จงได้ หลังจากมีเรื่องกับลูกเจ้าเมืองจึงได้หนีออกจาก วัดไป หลังจากที่ได้เป็นเจ้าเมืองพิชัยแล้วพระยาพิชัยดาบหักได้มาทานุบารุงวัดเป็นอย่างดีทาให้ ประชาชนรักใคร่ในตัวท่านมาก และประชาชนจึงได้ช่วยกันสร้างอนุสรณ์สถานให้กับท่านตรงหน้าวัด มหาธาตุพิชัย (พระครูวิมลธรรมานุยุต. 4 มีนาคม 2556) สัมภาษณ์โดยประกาศ เพียสามารถ ท่ีวัด มหาธาตุพิชยั ผมเองเป็นลูกหลานของชาวบ้านแก่งมีความศรัทธาในความสามารถของครูเที่ยงท่ีมี ความเช่ือวา่ ท่านเป็นครมู วยของทา่ นพอ่ พระยาพิชัยดาบหัก จึงทาให้ผมรักในวิชามวยไทยพยามศึกษา หาความรู้เรื่องมวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก ได้อ่านหนังสือตาราเก่ียวกับประวัติพระยาพิชัยดาบ หักย่ิงทาให้ผมชื่นชอบท่านมากข้ึนและต่อมาได้เข้าอบรมครูมวยไทย มรดกไทยมรดกโลก เมื่อปี 2544 ซงึ่ ในคร้งั น้นั ทางฝา่ ยฝกึ อบรมได้เชญิ ครูฉลอง เลยี้ งประเสริฐ ครมู วยสายท่าเสาของครูเมฆ ซ่ึง คนจังหวัดอตุ รดิตถ์เชื่อว่าเป็นสายมวยเดียวกับพระยาพิชัยดาบหัก จึงทาให้ผมพอได้มีความรู้เก่ียวกับ ประวัตพระยาพชิ ยั ดาบหักมากขึน้ และในบางตอนได้กล่าวถึงครูเที่ยงว่า ครูเท่ียงรักนายทองดี ฟันขาว มากเพราะเป็นลูกศิษย์ท่ีเป็นคนสุภาพเรียบร้อยเอาใจใส่การฝึกหัดมวยและช่วยทางานบ้านครูเที่ยง ดว้ ยดเี สมอมา นายทองดี ฟันขาว มีทักษะในการชกมวยอยู่แล้ว จึงได้เรียนรู้ช้ันเชิงหมัดมวยได้อย่าง รวดเร็วจนครูเท่ียงไม่มีอะไรจะสอนอีก หลังจากนั้นได้ลาครูเท่ียงเพ่ือจะไปเรียนมวยที่บ้านท่าเสาของ ครูเมฆ (ปัจจุบันอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์) เพราะชื่นชอบฝีมือมวยของสานักมวยท่าเสา มากต้ังแต่ดูมวยท่ีวัดมหาธาตุเมืองพิชัย ขณะที่เดินทางไปท่าเสาได้แวะพักข้างแรมที่วัดวังเตาหม้อ (วัดท่าถนนปัจจุบนั ) ไดด้ งู วิ้ แสดงในทา่ กระโดดหกคะเมนตลี งั กา ได้จดจาท่าเหลา่ น้ีไปผสมผสานกับท่า มวยเม่ือได้ไปเรียนมวยกับครูเมฆท่าเสาและครูเมฆได้พาไปเปรียบมวยท่ีงานวัดพระแท่นศิลาอาสน์ เอาชนะครูนิลและครูหมึกศิษย์ครูนิลอย่างราบคาบ จนได้ฉายาจากคนท่ัวไปว่า “มวยเทวดา”จากน้ัน ได้ไปเรียนดาบที่เมืองสวรรคโลก เรียนมวยจีนหักกระดูกที่สุโขทัยธานีและได้ไปเมืองตากเพ่ือจะได้มี

296 โอกาสเป็นทหารของพระยาตากได้ชกมวยชนะครูห้าว ครูมวยดังแห่งเมืองตากจึงเป็นท่ีโปรดปราณ พระยาตากมาก พระยาตากจึงได้ชักชวนให้อยู่รับราชการด้วย แต่งตั้งให้เป็น“หลวงพิชัยอาสา” คือ ทหารคนสนิทของพระยาตาก ช่วยพระยาตากกอบกู้เอกราชจากพม่าได้สาเร็จหลังจากท่ีพระยาตาก ได้เสดจ็ เถลิงถวลั ย์ราชสมบัติเป็นบรมกษัตริย์ ต้ังกรุงธนบุรีเป็นราชธานี ทรงโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังเป็น เจา้ หมืน่ ไวยวรนาถ”” เป็น “พระยาสหี ราชเดโช” ตามลาดบั พ.ศ.2312 จุลศักราช 1131 สมเด็จพระ เจา้ ตากสินใหพ้ ิชติ พระเจา้ ฝางท่ีเมอื งพิษณโุ ลกและเมอื งสวางคบุรี ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย เสด็จประทับเมืองพิษณุโลก โปรดตั้งข้าหลวงเดิมซ่ึงทาความชอบในราชการสงครามครองเมืองฝ่าย เหนอื ที่เป็นเมืองใหญ่ โปรดเกล้า ฯ ตั้งให้ “พระยาสีหราชเดโช” เป็น “พระยาพิชัย” ครองเมืองพิชัย มีไพร่พล 9,000 มีอานาจประหารชีวิตผู้มีความผิด และพระราชทานเครื่องยศแก่ “พระยาพิชัย” เสมอด้วยเจ้าพระยาสุรสีห์ พ.ศ.2513 จุลศักราช 1134 โปสุพาแม่ทัพพม่า ยกทัพมาตีเมืองลับแล แล้วเลยมาตีเมืองพิชัยพระยาพิชัยถือดาบสองมือนาทหารออกตะลุยฟันพม่า จนดาบหักไปข้างหน่ึง ทหารพม่าล้มตายพ่ายหนีไป การสู้รบครั้งนี้ได้รับสมญานามว่า “พระยาพิชัยดาบหัก” เม่ือได้เป็น เจ้าเมืองพิชัยแล้ว จึงแต่งต้ังให้ครูเท่ียงเป็นกานันตาบลบ้านแก่ง และปัจจุบันชาวบ้านแก่งได้สร้าง อนุสาวรีย์ของพระยาพิชัยดาบหักไว้หน้าศาลาการเปรียญวัดบ้านแก่ง และสร้างสนามมวยครูเท่ียง เพอื่ เป็นอนสุ รณส์ ถานให้กับครูเที่ยงท่ีนาช่อื เสียงมาใหต้ าบลบ้านแก่ง จากเรอ่ื งท่กี ลา่ วมาทาให้ข้าพเจ้า ได้จัดต้ังชมรมมวยไทยในสถานศึกษาได้รับแต่งต้ังให้เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทยของจังหวัดอุตรดิตถ์ และ ประชาชนชาวบ้านแก่งได้ไว้วางใจมอบหมายให้เป็นนายสนามมวยครูเที่ยงท่ีบ้านแก่งนี้ (ไพรัตน์ สขุ โรจน์. 2555, 24 เมษายน) สัมภาษณโ์ ดย ประกาศ เพียสามารถ ทบี่ ้านของผใู้ ห้สัมภาษณ์ จากรุน่ สู่รนุ่ เล่าตอ่ กันมาครูเทีย่ งเป็นครูมวยแห่งบ้านแก่งไดส้ อนมวยไทยท่ีลานวัดบ้านแก่ง ให้กับพระยาพิชัยดาบหักสมัยท่ียังเป็นนายทองดี ฟันขาว อาตมาเช่ือว่าสิ่งเหล่าน้ีเป็นความจริงท่ีไม่มี หลักฐานบันทกึ ไว้ เพราะคนสมยั ก่อนน้ีไมช่ อบบันทึกอะไรไวเ้ ป็นลายลักษณ์อักษร แม้แต่การสอนมวย ก็ไม่มีการบันทึก มีแต่คาถาบทสวดมนต์ท่ีเป็นภาษาบาลี จากหลักฐานทางประเพณีที่สืบต่อกันมา ยาวนาน เรื่องของการจัดการแข่งขันมวยไทย เพ่ือถวายดวงวิญญาณของพระยาพิชัยดาบหัก ทาให้ ชาวบ้านแกง่ ไดจ้ ดั งานประจาปสี บื ต่อกนั มาตั้งแตโ่ บราณกาล เพราะเชื่อว่าพระยาพิชัยดาบหัก ซึ่งเป็น เจ้าเมืองพิชัยเคยมาศึกษาเล่าเรียนวิชามวยท่ีวัดบ้านแก่งแห่งนี้และจึงได้สร้างอนุสาวรีย์เพื่อเป็นที่ เคารพสักการบชู าดวงวิญญาณของทา่ น และยังเป็นท่ยี ดึ เหนีย่ วจิตใจให้กับชาวบ้านแก่ง เม่ือชาวบ้าน ต้องการความสาเร็จในเรื่องใดแล้วก็จะจุดธูปบอกกล่าวเพื่อเป็นการบนบานศาลกล่าวแล้วจะประสบ ผลสาเร็จ จากนั้นก็จะจัดมวยไทยชกเพ่ือเป็นการแก้บน ส่วนงานประจาปีนั้นก็จะจัดให้มีการแข่งขัน มวยไทยเป็นการสมโภชทุก ๆ ปี และชาวบ้านแก่งยังร่วมกันสร้างสนามมวยครูเท่ียงเพ่ือเป็นอนุสรณ์ สถาน ในการระลึกถึงบุญคุณท่ีครูเที่ยงได้นาช่ือเสียงมาสู่ชาวตาบลบ้านแก่ง (พระครูปัญญาวัชรกิจ. 2555, 24 เมษายน) สัมภาษณ์โดยประกาศ เพียสามารถ ท่ีวัดบ้านแก่งใต้ อาเภอตรอน จังหวัด อตุ รดติ ถ์ อาตมาภาพเป็นเจ้าอาวาสที่วัดท่าถนนแห่งน้ีมาเป็นเวลานานพอสมควรก่อนหน้าน้ีก็เป็ลู กวัดมาก่อน วัดท่าถนน เดิมชื่อ “วัดวังเตาหม้อ” อยู่ตรงข้ามสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ มีวิหารสาหรับ ประดิษฐานหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์ 1 หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ท้ังองค์ และต่อมา เม่ือ พ.ศ.2474 ได้สร้างเป็นโรงเรียนปริยัติธรรมและภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณร มีลักษณะ

297 สถาปัตยกรรมสวยงาม และอุโบสถ ซึ่งมีภาพจิตรกรรมฝาผนังซึ่งได้รับยกย่องว่าสวยงามท่ีสุดใน จังหวัดอุตรดิตถ์ จากการเล่าขานของคนเฒ่าคนแก่ติดต่อกันมานานว่าสมัยก่อนมีโรงงิ้วอยู่หน้าวัดติด กบั แมน่ ้าน่านมชี าวจนี อาศัยอยู่เป็นจานวนมากทุก ๆ ปี ชาวจีนเหล่าน้ีก็จะจัดงานประจาปีจัดให้มีงิ้ว แสดง ได้มีเด็กชายคนหน่ึงชื่อทองดี ฟันขาว เดินทางมาจาก บ้านแก่งกับพระรูปหน่ึงเพื่อจะไป นมัสการพระแท่นศิลาอาสน์แต่ได้มาพักอาศัยจาวัดที่วัดท่าถนน แห่งนี้ หลังจากน้ันพระรูปนั้นได้ เดนิ ทางกลับบ้านแก่งแต่เด็กชายทองดีไม่ได้เดินทางกลับและได้บอกว่าเม่ืองิ้วเลิกโรงจะเดินทางต่อไป ที่บ้านท่าเสาเพ่ือเรียนมวยกับครูเมฆ ระหว่างท่ีพักอยู่ท่ีวัดแห่งนี้ได้ฝึกท่าทางกระโดด หกคะเมนตี ลังกาเรียนแบบง้ิวท่ีริมน่านต่อมาได้ทราบว่าได้เป็นเจ้าเมืองพิชัยได้รบกับพม่าจนชนะได้รับสมญา นามวา่ “พระยาพิชัยดาบหัก” (วนิ ัย จาปาอ่อน. 2556. สัมภาษณ์) อาตมามาอยู่วัดใหญ่ท่าเสาตั้งแต่บวชเณร ได้ศึกษาประวัติวัดใหญ่ท่าเสาว่า มีมาพร้อมกับ หมู่บ้านท่าเสา ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายหรือเม่ือประมาณ 400 กว่าปีมาแล้วสันนิษฐานว่าใน สมัยน้ันมีเจ้าอาวาสคือพระครูสวางคบุรี มีพระอุโบสถและหอไตรเป็นไม้สักโบราณเก่าแกมากดูจาก สถาปัตยกรรมแล้ว เจ้าอาวาสองค์ที่ผ่านมาได้เล่าให้ฟังว่าได้ยินคนเฒ่าคนแก่เล่าต่อกันมาว่าวัดนี้ พระยาพิชัยดาบหักเคยมาเล่าเรียนมวยไทยกับครูเมฆบ้านท่าเสา สมัยโบราณการเรียนมวยจะใช้ ลานวัด อยา่ งหน่ึงก็คอื ครูมวยส่วนมากเดิมจะเคยบวชเรียนมาก่อนจะมีวิชาอาคมติดตัว มีความรู้เรื่อง การตอ่ สูป้ ้องกันตัวเรื่องดาบ เร่อื งมวยแลว้ แต่จะเก่งในด้านใด ครูเมฆแห่งบ้านท่าเสาน้ีเก่งในเรื่องมวย จึงได้ตั้งสานักมวยขึ้นมาแล้วใช้ลานวัดเป็นท่ีสอนมวย จากความเชื่อของคนในชุมชนท่าเสาว่าพระยา พิชัยดาบหักมาเรียนมวยไทยกับครูเมฆท่ีวัดใหญ่ท่าเสา สมัยท่ียังเป็นนายทองดี ฟันขาวอยู่และได้นา ช่ือเสียงมาสู่ตาบลท่าเสาช่วยปราบโจรผู้ร้าย เมื่อได้เป็นเจ้าเมืองพิชัยแล้วยังได้แต่งตั้งให้ครูเมฆเป็น กานันตาบลท่าเสา ด้วยความเคารพและความศรัทธาต่อนายทอง ดีฟันขาว คณะกรรมการวัดจะ ร่วมกนั สร้างอนุสรณ์ให้กับนายทองดฟี นั ขาวในปี 2556 (ประกาศ เพยี สามารถ. 2556. สัมภาษณ์) อาตมาได้มาอยู่ทีว่ ดั แห่งน้ี เม่ือปี พ.ศ.2538 ได้เร่ิมพัฒนาวัดหากให้มีการพัฒนาให้มากกว่าน้ี ต่อมาได้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างและได้ยกระดับให้เป็นพระอารามหลวง จากที่ได้มาอยู่ท่ีวัดนี้ได้ศึกษา ความเป็นมาของ ไดท้ ราบว่าวดั น้ีมีมาก่อนสุโขทัย วัดนี้ตามตานานโบราณกล่าวว่า ครูเมฆครูมวยแห่ง บ้านท่าเสาได้นานักมวยคือนายทองดี ฟันขาว มาเปรียบชกมวยกับครูนิลครูมวยแห่งเมืองทุ่งยั้งใน งานเทศกาลนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ การชกมวยในครั้งนี้นายทองดีได้นาเอาการฝึกง้ิวมา ผสมผสานกับท่ามวยของครูเมฆท่าเสาทาให้สามารถเอาชนะคู่ต่อสู้ได้อย่างง่ายดาย นับเป็นเรื่องเล่า ขานสืบต่อกันมาในช่วงน้ันไม่มีนักมวยคนใด ในแถบเมืองพิชัย เมืองทุ่งยั้ง เมืองลับแลและเมือง สวางคบรุ ี มาสู้กบั นายทองดี ฟนั ขาวได้ (ประกาศ เพียสามารถ. 2556. สัมภาษณ์) หลังจากน้ัน นายทองดีก็ลาพระสงฆ์ที่วัดวังเตาหม้อ เพื่อไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์ของครูเมฆ ท่ีบ้านท่าเสา ครูเมฆซึ่งมีบ้านอยู่ใกล้วัดใหญ่ท่าเสาและใช้ลานวัดใหญ่ท่าเสาเป็นท่ีฝึกหัดให้ลูกศิษย์ ไดร้ ับนายทองดเี ปน็ ลูกศษิ ย์ เพอ่ื ฝกึ หัดมวยโดยให้พกั อยูท่ ่ีบ้านครูเมฆและช่วยทางานบ้านต่าง ๆ เป็น เวลาปีกว่า ครูเมฆก็ถ่ายทอดวิชามวยไทยให้อย่างจริงจัง ครูเมฆเป็นครูมวยที่มีชื่อเสียงมากรักใคร่ นายทองดีและเห็นว่านายทองดีสามารถสืบทอดวิชามวยไทยจากตนได้ จึงสอนวิชามวยให้อย่างไม่มี การปดิ บังจนนายทองดอี ายไุ ด้ 18 ปี

298 เมือ่ ได้วชิ ามวยจากครชู ้ันเยีย่ ม จนเปน็ เลิศแล้วนายทองดี ฟนั ขาว(พระยาพิชัยดาบหัก) ก็ได้ ออกเดินทางจากบ้านท่าเสาไปเรียนวิชาดาบที่เมืองสวรรคโลก (ปัจจุบันคืออาเภอสวรรคโลก จังหวัด สุโขทัย) พักอยู่วัดพระปรางค์ ริมแม่น้ายม ฝึกฝนวิชาดาบกับครูดาบช่ือดังจนเก่งภายในเวลารวดเร็ว ครูเหลือจึงได้ทาพิธีครอบครูให้แก่นายทองดี เพ่ือแสดงว่านายทองดีได้เรียนวิชาดาบจบแล้ว มีศักด์ิ และสิทธ์ใิ นการสอนวชิ าดาบเสอื ต่อไป ที่สุโขทัยธานีนี้มีชาวจีนแต้จิ๋วคนหน่ึงชานาญมวยจีนมาก ได้ตั้งสานักสอนมวยจีนแก่เด็ก ลูกคนจนี ทปี่ ากคลองเว็จขี้ (คลองแม่ลาพนั หรอื แม่น้าสัมพันธ์ทไ่ี หลผ่านทางเหนือของเมืองเก่าสุโขทัย มาออกแม่น้ายม ที่หลังวัดคูหาสุวรรณ) นายทองดีไปดูเขาฝึกหัดมวยจีนเห็นท่าจับหักต่างๆ เช่น หัก ไหปลาร้า หกั แขน ฯลฯ ก็ชอบใจ เพราะกระบวนท่าต่างๆ ไม่เหมือนมวยไทยและต้องใช้ไหวพริบบวก กับความรวดเร็ว และคิดว่าจะสามารถนามาประยุกต์รวมกับท่าจับหักทุ้มทับของมวยไทยได้ เช่นเดียวกับมวยง้ิวที่ตนเคยฝึกหัดมาอย่างแน่นอน จึงเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์และขอเรียนวิชามวยจีน กับครูจีนผู้น้ัน ครูจีนก็รับนายทองดีเข้าเป็นศิษย์โดยมิรังเกียจและฝึกสอนมวยให้โดยไม่อาพรางวิชา นายทองดีสุภาพอ่อนน้อมและตั้งอกต้ังใจฝึกฝนอย่างจริงจัง เพียงเดือนเดียวเท่าน้ันนายทองดีก็เรียน วชิ ามวยจีนสาเรจ็ วันหน่ึงมีพ่อค้าจีนจากเมืองตากน่ังดูการฝึกสอนมวยของนายทองดีจนเลิกและได้มีโอกาส พูดคุยกับนายทองดี พ่อค้าจีนคนน้ันได้เล่าให้นายทองดีฟังว่า พระยาตากโปรดปรานการชกมวยเป็น อย่างยิ่งได้จัดให้มีการชกมวยเป็นประจาและพระยาตากเองก็เป็นนักมวย ฝึกหัดมวยและสนับสนุน กีฬามวยอย่างเต็มที่ ชาวเมืองตากพากันฝึกหัดมวยไทยเป็นจานวนมากและมีครูมวยมีชื่อเสียงหลาย คนสอนมวยไทยท่ีเมอื งตาก นายทองดไี ดย้ ินกม็ ีความสนใจทีจ่ ะได้มโี อกาสเรียนรู้วิชามวยไทยเพ่ิมเติม พ่อค้าจีนชวนนายทองดีให้ไปเท่ียวดูมวยที่เมืองตากนายทองดีตกลงรับปากไปเมืองตากกับพ่อค้าจีน โดยมีเดก็ ชายบุญเกดิ เดินทางไปดว้ ย ทีเ่ มอื งตากพระยาตากไดจ้ ัดให้มีการถือน้าพพิ ฒั นส์ ัตยาประจาปที ่วี ดั ใหญ่และให้มีมวยฉลอง ตามประเพณี นายทองดีรสู้ กึ ดีใจที่จะได้มีโอกาสชกมวยและเรียนรู้วิชามวยเพ่ิมเติมจึงเข้าไปในสนาม เพือ่ ขอ เปรียบมวย ครูมวยท้ังหลายก็พาลูกศิษย์มาเปรียบมวย เพ่ือหาประสบการณ์และทดสอบฝีมือ ครูหา้ วเปน็ ครูมวยลือชื่อของเมอื งตากไดจ้ ูงมอื ลูกศษิ ย์คนหน่ึงมาเปรียบกับนายทองดี แต่นายทองดี เห็นว่าการชกมวยกับมวยเพิ่งหัดใหม่ ไม่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้วิชามวยของตนจึงปฏิเสธจะ เปรียบด้วยแต่ขอเปรียบกับครูห้าวแทน ครูห้าวคิดว่านายทองดีพูดเล่นแต่เมื่อนายทองดีย้าอีกว่า ต้องการจะเปรียบมวยกับครูห้าว เพราะจะได้เรียนศิลปะมวยไทยจากครูห้าว ผลการชกนายทองดี ชนะครูห้าวพร้อมยังเอาชนะครูถึกได้อีก เป็นท่ีประทับใจพระยาตากมาก พร้อมกับชักชวนให้อยู่ทา ราชการด้วย นายทองดีกต็ กลงอย่กู ับพระยาตาก นายทองดเี ป็นคนขยนั ขนั แข็งติดตามพระยาตากไป ทกุ แหง่ หน พระยาตากโปรดปรานนายทองดมี ากเวลาว่างจากราชการพระยาตากให้นายทองดีรามวย ราดาบให้ชมอยู่เนือง ๆ และชมว่าสวยงามทุกท่วงท่าดูเท่าไรก็ไม่เบื่อเลย และได้แต่งตั้งเป็น“หลวง พิชยั อาสา” คอื ทหารคนสนิทของพระยาตาก หลังจากท่ีพระยาตากได้เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นบรมกษัตริย์ ตั้งกรุงธนบุรีเป็น ราชธานี ทรงโปรดเกลา้ แต่งต้ัง “หลวงพิชยั อาสา เปน็ เจ้าหมน่ื ไวยวรนาถ” มีตาแหน่งเป็นนายทหาร เอกราชองครักษ์ เม่ือสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงกรีฑาทัพเข้าตีเมืองพิมาย ซึ่งกรมหลวงหม่ืนเทพพิพิธ

299 ต้ังตัวเป็นกษัตริย์ครองอยู่ โปรดเกล้าฯ ต้ังให้ “เจ้าหม่ืนไวยวรนาถ” เป็นแม่ทัพเข้าโจมตีพ่ายไป โปรดเกล้าฯ ตั้งให้ “เจ้าหมื่นไวยวรนาถ” เป็น “พระยาสีหราชเดโช” มีตาแหน่งเป็นนายทหาร เอกราชองครักษ์ตามเดิม พ.ศ.2312 จุลศักราช 1131 ไปตีเมืองนครศรีธรรมราชโปรดเกล้าฯ ต้ังให้ “พระยาสีหราชเดโช” เป็นทพั หน้าเขา้ โจมตี จากนน้ั ใหพ้ ชิ ิตพระเจา้ ฝาง ยึดได้เมอื งพษิ ณุโลกและเมือง สวางคบุรี ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย เสด็จประทับเมืองพิษณุโลกโปรดเกล้าฯ ต้ังข้าหลวง เดมิ ซง่ึ ทาความชอบในราชการสงครามครองเมืองฝ่ายเหนือท่ีเป็นเมืองใหญ่ ได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ “พระยาสีหราชเดโช” เป็น “พระยาพิชัย”เป็นเจ้าเมืองพิชัย มีไพร่พล 9,000 มีอานาจประหารชีวิต ผูม้ คี วามผดิ และพระราชทานเคร่อื งยศแก่ “พระยาพิชยั ” เสมอด้วยเจ้าพระยาสรุ สหี ์ พ.ศ. 2513 จุลศักราช 1134 โปสุพาแม่ทัพพม่า ยกทัพมาตีเมืองลับแลแล้วเลยมาตีเมือง พชิ ัย พระยาพิชัยถือดาบสองมือนาทหารออกตะลุยฟันพม่า จนดาบหักไปข้างหน่ึงทหารพม่าล้มตาย พา่ ยหนไี ป การสูร้ บครั้งนไี้ ดร้ บั สมญานามวา่ “พระยาพิชยั ดาบหัก” พ.ศ.2317 จุลศกั ราช 1136 สมเด็จพระเจ้าตากสินโปรดเกล้าฯ โปรดเกล้าให้เกณฑ์กองทัพ ในกรุงธนบุรีและหัวเมืองฝ่ายเหนือ ยกไปตีเมืองเชียงใหม่ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิชัยดาบหักเป็นทัพ หน้าของทัพหลวง ทรงพระกรุณาธิคุณพระราชทานเสื้อเข้มขาบ 1 ผืน ปืนคาบศิลา 1 กระบอก ปืน ใหญ่หน้าเรือชนิด กินดินปืน 15 ช่ัง 14 ช่ัง 12 ชั่ง และ 10 ช่ัง รวม 4 กระบอก ปืนคาบศิลาแบบ อังกฤษสาหรับทหารในกองทพั 280 กระบอก และอนื่ ๆ อีกมาก พ.ศ.2325 สิ้นแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสิน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เสดจ็ ขนึ้ เถลงิ ถวัลยร์ าชสมบตั ิ ณ กรงุ เทพมหานครอมรรตั นโกสินทร์ ฯลฯ เมื่อพระเจ้าตากสินเสด็จสวรรคต พระยาพิชัยดาบหัก ไม่ยอมเป็นข้าสองเจ้าบ่าวสองนาย กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกบรมกษัตริย์ ขอถวายความจงรักภักดีถวาย ชวี ิตตามสมเด็จพระเจา้ ตากสินอยา่ งเดด็ เดย่ี วสมชายชาติทหาร แต่ขอฝากบุตรชายใหร้ บั ราชการสนอง พระเดชพระคณุ สืบไปภายหน้า จึงโปรดเกล้าฯ ให้ประหารชีวิต “พระยาพิชัยดาบหัก” เมื่อวันท่ี 7 เมษายน 2325 พระยา พชิ ัยดาบหัก เป็นตน้ สกลุ “วิชัยขัทคะ” วิชยั ลักขณา” “ศรศี รากร” “พิชัยกุล” “ดิฐานนด์” (ต้นสกุล วิชัยขัทคะ. 2538 : 2 – 5) ส่วนสกุล “เชาวนปรีชา” เม่ือพระศรีพัฒนากร (ท้าย วิชัยขัทคะ) ที่เป็นลูกหลานของสกุล วิชัยขัทคะได้สืบสาวต้นสกุลแล้ว จึงได้ออกหนังสือรับรองให้ว่าเป็นลูกหลานของพระยาพิชัยดาบหัก (หัสดินทร์ เชาวนปรีชา. 2555, 6 มิถุนายน) สัมภาษณ์โดยประกาศ เพียสามารถ ท่ีบ้านของผู้ให้ สัมภาษณ์

300 ภาพที่ 197 ทมี งานวิจยั ถ่ายภาพทีบ่ ริเวณอนุสาวรยี พ์ ระยาพชิ ยั ดาบหกั ดงั น้นั ประวัตคิ วามเปน็ มาของมวยไทยสายพระยาพชิ ัยดาบหกั มีที่มา 5 ตอน คือ ตอนที่ 1 ความเปน็ มาแหง่ การศกึ ษาเลา่ เรียนทวี่ ัดมหาธาตุ เพอ่ื ให้อา่ นออกเขียนได้สามารถ อ่านมูลกรรจจายณ์ โดยจะมีวิชาอาคมประกอบอยู่ด้วย และได้เรียนมวยด้วยวิธีธรรมชาติ ได้แก่ การฝึกชก ลูกมะนาวท่ีแขวนไว้ การเตะต้นกล้วย เป็นต้น ประกอบกับการชอบชกมวยมาตั้งแต่แรก แล้วจึงทาให้ มีครพู ักลักจาจากนกั มวยของสายครูเมฆท่าเสา ท่ีไปชกในงานพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยาของ เมืองพชิ ยั ตอนท่ี 2 การได้เรียนมวยกับครูเท่ียงบ้านแก่ง ได้ตั้งอกต้ังใจฝึกซ้อมมวยกับครูเที่ยงเป็น เวลา 2 ปี กส็ าเร็จเป็นทีร่ กั ใครข่ องครเู ที่ยงมากและไดก้ ราบลาครูเท่ียงเดนิ ทางตอ่ ไปตามความต้ังใจไว้ ตอนที่ 3 ความท่ีเป็นคนท่ีไม่น่ิงเฉยมีความสนใจในเร่ืองของมวยและการต่อสู้ได้เห็นง้ิว แสดงการตอ่ สู้กนั ด้วยท่ากระโดดหกคะเมน ตีลังกา ได้นามาฝึกซ้อมอย่างต้ังอกตั้งใจก็สามารถทาได้ เหมอื นกบั ง้ิวแสดง เม่อื ไปอยกู่ ับครเู มฆท่าเสาก็ต้ังใจฝึกซ้อมอย่างจริงจังพร้อมนาเอาท่ามวยที่เรียนมา และท่างิ้วแสดงบูรณาการเข้าด้วยกันทาให้สามารถชกชนะครูนิลและนายถึกศิษย์ครูนิล ครูมวยแห่ง เมืองทุ่งย้ังจึงได้รับการขนานนามว่า “ทองดี ฟันขาว ศิษย์เอกครูเมฆแห่งบ้านท่าเสาน้ันเป็นมวย เทวดา” ตอนที่ 4 ได้เรียนดาบท่ีเมืองสวรรคโลกและมวยจีนที่เมืองสุโขทัย ได้นาท่ามวยจากสานัก ตา่ ง ๆ ที่เรียนมาฝึกผสมผสานกันกับท่าดาบและท่ามวยจีน และเมื่อมีโอกาสได้ข้ึนชกมวยท่ีเมืองตาก ในงานพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยาของเมืองตาก ขณะที่ชกมวยกับครูห้าว ครูมวยดังแห่งเมืองตากได้ใช้ ไม้มวยที่ผสมผสานกันปราบครูห้าว ได้อย่างราบคาบ จึงเป็นที่โปรดปราณของพระยาตากเป็นยิ่งนัก และไดร้ บั บรรดาศกั ด์เิ ปน็ “หลวงพชิ ัยอาสา” ตอนท่ี 5 ดว้ ยความเป็นนักมวยและนักดาบท่านได้ใช้วิชามวยและวิชาดาบช่วยพระยาตาก กอบกู้เอกราชได้สาเร็จ จนพระยาตากได้เสด็จข้ึนเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นบรมกษัตริย์ เป็นสมเด็จ พระเจ้าตากสิน ต้ังกรุงธนบุรีเป็นราชธานี ทรงได้โปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังให้เป็น “หมื่นไวยวรนาถ” เป็น “พระยาสีหราชเดโช” เป็น “พระยาพิชัย”ครองเมืองพิชัยและพระราชทานเคร่ืองยศแก่ “พระยา

301 พิชัย” เสมอด้วยเจ้าพระยาสุรสีห์ ได้ต่อสู้กับโปสุพาแม่ทัพพม่าที่ยกทัพมาตี เมืองลับแลแล้วเลยมาตี เมืองพิชัย พระยาพิชัยถือดาบสองมือนาทหารออกตะลุยฟันพม่าจนดาบหัก ไปข้างหน่ึงทหารพม่า ล้มตายพ่ายหนีไป การสู้รบครั้งน้ีพระยาพิชัยได้รับสมญานามว่า “พระยาพิชัยดาบหัก” จึงถือได้ว่า เปน็ ทมี่ าของมวยไทยสายพระยาพิชยั ดาบหกั อยา่ งแทจ้ รงิ บุคคลสาคญั ของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย ในปจั จุบัน ครูมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย ท่ีช่วยกันสืบสานและอนุรักษ์มวยไทยสายท่าเสาและ พระยาพิชัย ให้คงอยู่และพัฒนาไปในอนาคต ผู้สืบทอดมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย ในยุคนี้ มีดงั ตอ่ ไปน้ี ครูสมพร แสงชยั นายพรี ชั สิทธ์ิ เจรญิ รตั น์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย ดร. อดศิ ร ไกรว่อง ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. วินัย จาปาออ่ น นายวรมัน วนันทศานติ นายโอภาส พรหมเนาว์ นายพนม แพทยค์ ุณ และอาจารย์ประกาศ เพยี สามารถ 1. อาจารยส์ มพร แสงชัย ภาพที่ 198 รองศาสตราจารย์ ดร. สมพร แสงชยั ครมู วยไทยทา่ เสาและพระยาพชิ ัย ประวตั กิ ารทางาน (กอ่ นเกษียณอายรุ าชการ) อาจารย์และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะรฐั ประศาสนศาสตร์ NIDA รองอธกิ ารบดี วทิ ยาลัยการปกครอง กระทรวงมหาดไทย นายอาเภอเมืองอุตรดติ ถ์ เมอื งสโุ ขทัย และเมอื งฉะเชงิ เทรา วทิ ยากร ระดับ 7 และ เจ้าหนา้ ท่วี เิ คราะห์งานบุคคล ระดบั 8 สานกั งานขา้ ราชการพลเรือน รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 สานักฝึกอบรม NIDA ผ้อู านวยการสานักฝกึ อบรม NIDA ผู้อานวยการหลกั สูตรบัณฑิตศกึ ษาการจัดการสิง่ แวดล้อม NIDA ผลงานการเขยี น หนังสอื มากกว่า 10 เล่ม และบทความประมาณ 50 เร่อื ง เกย่ี วกับการเมืองและ การปกครอง

302 การปกครองท้องถ่ิน การพฒั นา การพฒั นาชนบท การบรหิ ารโครงการ การวางแผน การประเมินผล อนาคตวทิ ยา การจัดการสิง่ แวดล้อม ผ้ทู รงคณุ วุฒิสมาคมครมู วยไทย อาจารยว์ ิทยาลัยมวยไทยศึกษาและการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ ้าน จอมบึง จงั หวดั ราชบรุ ี ผทู้ รงคณุ วุฒิสานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม 2. นายพีรชั สิทธ์ เจรญิ รตั น์ สายดาไทยทุ ธ์ ระดับ 9 เจ้าสานักไทยุทธ์ รุ่นที่ 2 ครอบมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย พ.ศ.2536 (มงคล 8) 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ร ไกรวอ่ ง ภาพท่ี 199 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ร ไกรว่อง ครูมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชัย ท่มี า : www.thaiyuth.blogspot.com มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ูลสงคราม ครอบมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั พ.ศ.2549 (มงคล 8) 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วนิ ยั จาปาอ่อน

303 ภาพท่ี 200 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วินยั จาปาอ่อน ครูมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย ทม่ี า : www.thaiyuth.blogspot.com มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี ครอบมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ัย พ.ศ.2549 (มงคล 7) 5. นายวรมนั วนันทศานติ สายดาไทยุทธ์ ระดบั 5 ครอบมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ยั พ.ศ.2552 (มงคล 6) 6. นายโอภาส พรหมเนาว์ สายดาไทยุทธ์ ระดบั 5 ครอบมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ยั พ.ศ.2552 (มงคล 6) 7. นายพนม แพทยค์ ุณ สายดาไทยทุ ธ์ ระดับ 4 ครอบมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย พ.ศ.2552 (มงคล 6) 8. นายประกาศ เพียสามารถ

304 ภาพที่ 201 อาจารย์ประกาศ เพยี สามารถ วัน เดือน ปเี กิด วันที่ 21 กรกฎาคม 2504 ภูมลิ าเนาเดิม อาเภอแก้งคร้อ จังหวัดชยั ภูมิ สถานทอ่ี ยู่ปัจจุบนั 206/15 หมู่ท1ี่ 0 ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวดั อุตรดติ ถ์ ตาแหน่งปจั จบุ ัน ครูวทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ สถานทท่ี างานปัจจุบนั โรงเรียนอนุบาลอุตรดิตถ์ อาเภอเมือง จังหวดั อุตรดติ ถ์ ประวตั ิการศกึ ษา พ.ศ.2518 ประถมศึกษาปีท่ี 7 โรงเรยี นบา้ นซามูลนาค อาเภอแกง้ คร้อ จงั หวดั ชัยภูมิ พ.ศ.2521 มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนแก้งคร้อวทิ ยา อาเภอแกง้ ครอ้ จังหวัดชัยภมู ิ พ.ศ.2523 มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนวทิ ยานกุ ูลนารี อาเภอเมอื ง จงั หวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ.2525 ประกาศนียบัตรการศกึ ษา ขั้นสูง วทิ ยาลยั ครูเพชรบูรณ์ สาขาพลศึกษา อาเภอเมือง จงั หวัดเพชรบรู ณ์ พ.ศ.2534 ครุศาสตรบัณฑิต สาขาพลศึกษา วิทยาลัยครูนครราชสมี า อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2544 โครงการอบรมแม่ไม้มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหกั ของสานักงาน การประถมศึกษาจงั หวดั อุตรดิตถ์ โดยครูฉลอง เลย้ี งประเสริฐ พ.ศ.2555 ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขามวยไทยศกึ ษา วิทยาลยั มวยไทยศึกษา และการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี 2. เอกลักษณ์ มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั 2.1 การสงั เคราะหจ์ ากเอกสาร

305 เอกลกั ษณ์ มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย หมายถงึ ส่ิงท่ีนักมวยสายทา่ เสาและพระยา พิชัยต้องปฏบิ ัตใิ หเ้ หมอื นกัน แต่ไมเ่ หมอื นกับมวยสายอ่นื ซ่ึงมเี อกลักษณเ์ ดน่ ดงั น้ี 2.1.1 เอกลกั ษณ์การยนื มวยหรอื จดมวย ยืนน้าหนักอย่เู ท้าหลัง ภาพที่ 202 ครฉู ลอง เล้ยี งประเสริฐ จดมวยหลงั ชกชนะทเี่ วทีมวยราชดาเนนิ ที่มา : สมพร แสงชยั การจดมวยของสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก คือ การเตรียมตัวท่ีระมัดระวัง และพร้อมที่จะสามารถออกอาวุธได้ทุกเมื่อ น้าหนักตัวอยู่ท่ีเท้าหลัง สามารถสืบถอยหลังได้อย่าง รวดเร็ว พร้อมทัง้ เตะด้วยเทา้ หนา้ ไดอ้ ย่างรวดเร็วโดยคู่ต่อสู้ยังไม่ทันรู้ตัว หมัดหน้าอยู่ต่ากว่าหมัดหลัง สามารถชกหมดั หน้า ได้อย่างรวดเรว็ ตามดว้ ยหมัดหลังและหมัดหลังสามารถใช้ป้องกันอาวุธคู่ต่อสู้ได้ นอกจากนีม้ วยสายน้จี ะใชเ้ ท้าไดด้ ีกว่าหมดั ขณะทีใ่ ช้เทา้ หมัดทั้งสองจะไมต่ ก 2.1.2 เอกลักษณ์การร่ายราไหว้ครู มวยไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลปะที่ผ่านการค้นคว้า กล่ันกรองมาเป็นระยะเวลาที่ ยาวนานนบั เนื่องมาต้ังแต่ชนชาตไิ ทยเริ่มกอ่ รา่ งสรา้ งตวั การร่ายราไหว้ครมู วยไทย จงึ เป็นวิธีคารวะครู บาอาจารย์ผู้มีพระคุณประสิทธ์ิประสาทวิชามวยไทยให้ของแต่ละครูแต่ละท้องถิ่น เพ่ือแสดงออกถึง วัฒนธรรมและจรรยามารยาทของนักมวย ดงั น้นั ลลี าทา่ ทางการรา่ ยราไหว้ครูจึงแตกตา่ งกนั ออกไป

306 ภาพที่ 203 ครฉู ลอง เล้ียงประเสริฐ สาธติ การรา่ ยราไหว้ครู ทม่ี า : สมพร แสงชัย การร่ายราไหวค้ รแู ตกตา่ งกันออกไปเพ่ือบ่งบอกถึงเอกลักษณข์ องค่ายมวยหรอื ครูมวย มวยไทยสายทา่ เสาหรือมวยไทยสายพระยาพชิ ยั ดาบหักก่อนรา่ ยราไหวค้ รู ตอ้ งแสดงนิมิตถึงครู นั่นคือ จะต้องยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แล้วแหงนหน้าขึ้นดูเมฆเป็นนิมิตราลึกถึงนามครูเมฆบรมครู เฒ่าเสียก่อนแล้วจึงน่ังหันหน้าไปทางทิศตะวันออกกราบ 3 คร้ัง โดยลงด้วยมือซ้ายตามด้วยมือขวา และตามด้วยศีรษะจรดพ้ืนระหว่างมือทั้งสอง แล้วตามด้วยท่าราท่าส่องเมฆ 3 ครั้ง ก่อนลุกขึ้นยืนรา ในท่ายนื 2.1.3 เอกลักษณ์มงคลและประเจียด มงคลและผ้าประเจียด คือ เคร่ืองรางของขลังท่ีครูมวยแต่ละสายมีไว้ เพ่ือเป็นเคร่ืองยึด เหนี่ยวจิตใจให้กบั นกั มวย มงคลใช้สวมศรี ษะส่วนผา้ ประเจยี ดผูกที่แขนด้านซ้าย สวมก่อนขึ้นเวทีก่อน ทาการแข่งขันหรือการต่อสู้ เมื่อราร่ายไหว้ครูแล้วจะถอดมงคลออกเหลือไว้แต่ผ้าประเจียดที่ผูกไว้ที่ แขน มงคลและผ้าประเจียดของมวยสายท่าเสาจะทาด้วยด้ายดิบสีแดง ถักให้มีลวดลายเพ่ือความ สวยงามดา้ นหนา้ มงคลจะมแี ผน่ ยันต์ทาด้วยแผ่นทองบาง ๆ ลงยันต์ไว้อยู่ด้านหน้ามงคลลูกหลานของ มวยไทยสายท่าเสาจะเกบ็ รกั ษาไวน้ านเท่านาน และผ้าประเจียดก็จะถักด้วยด้ายดิบสีแดงลงยันต์ด้วย แผ่นทองติดพันรอบอยตู่ รงกลาง และจะมีเพียงข้างเดียว (มวยสายอ่ืน ๆ จะมีประเจียด 2 ข้าง) ถือว่า เปน็ เอกลกั ษณ์ของสายมวยนี้

307 ภาพท่ี 204 มงคลและประเจียดของมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชัย (ตระกูลเลี้ยงประเสรฐิ ) ท่มี า : สมพร แสงชยั 2.1.4 เอกลักษณ์พธิ กี รรม การขนึ้ ครหู รือยกครู จะกระทาต่อเม่ือครูไดท้ ดสอบศษิ ยแ์ ลว้ การไหว้ครจู ะทาในวันขึน้ สูงสดุ ของเดอื นสามหรือเดือนส่ี (ปีท่ีมอี ธิกมาส) การครอบครจู ะกระทาเมอ่ื ครูเห็นสมควรเทา่ นน้ั สาหรับมวยไทยสายท่าเสาและมวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหักครูมวยจะไม่สวมมงคล ให้แก่ลูกศิษย์เม่ือมายกครูหรือขึ้นครู แต่จะสวมให้ในพิธีครอบครูเท่าน้ัน เพราะการสวมมงคลตามจะ แสดงว่ามีศักดแิ์ ละสทิ ธิเ์ ป็นครูมวยแล้ว จะได้เรียนรู้ศิลปะมวยไทยจนครูพอใจแล้ว ก่อนร่ายราไหว้ครู ต้องแสดงนิมิตถึงครู นั่นคือจะต้องยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออกแล้วแหงนหน้าข้ึนดูเมฆเป็นนิมิต ราลึกถึงครูเมฆบรมครูเฒ่าเสียก่อนแล้วจึงนั่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออกกราบ 3 ครั้ง แล้วตามด้วย ท่าสอ่ งเมฆ 3 ครง้ั 2.1.5 เอกลกั ษณ์ไมม้ วยไทยสายท่าเสา เป็นไม้มวยทีม่ ีท้งั อ่อนและแข็งในเวลาเดียวกันใช้เท้าได้ดี จนได้ฉายา “มวยตีนไว”สอดคล้อง กบั คากล่าวทวี่ ่า “หมัดหนกั โคราช ฉลาดลพบุรี ทา่ ดไี ชยา ไวกวา่ ทา่ เสา” แต่ก่อนท่ีจะเริ่มกล่าวถึงการ ใช้และการตอบโต้ไม้มอื ของมวยไทยสายพระยาพิชยั ดาบหกั สมพร แสงชัย (2545, หนา้ 70 - 72) กล่าวถงึ ลักษณะและเอกลกั ษณบ์ างประการของมวย สายอุตรดติ ถ์ไว้ดังน้ี 1. มวยไทยสายอตุ รดติ ถก์ ็เนน้ การใชเ้ ท้ามากกวา่ มวยสายอื่น ๆ จึงสามารถเตะได้อย่างรุนแรง และรวดเรว็ ท้ังสองข้างโดยมือไม่ตก หรือเปดิ โอกาสใหค้ ่ตู ่อส้เู ข้ามาทาอันตรายไดเ้ ลย 2. เนื่องจากมวยไทยสายอุตรดิตถ์ก็ถนัดในการเตะเป็นพิเศษการจับขาคู่ต่อสู้เมื่ออีกฝ่ายหนึ่ง เตะมาจงึ ไดร้ ับการเน้นเป็นพิเศษเช่นกัน มวยสายอุตรดิตถ์ก็จะชักเหลี่ยมเข้าหาคู่ต่อสู้เมื่ออีกฝ่ายหน่ึง

308 เตะโดยไม่มีการถอยหลังหรือโดดหนีเป็นอันขาด เมื่อจับขาได้แล้วโอกาสของการตอบโต้ย่อมเป็นของ ฝ่ายจบั ขาได้ 3. มวยไทยสายอุตรดิตถ์จะเน้นทั้งไม้รับและไม้แก้ กับไม้รุกหรือไม่ทาควบคู่กันไป แต่จะให้ ความสาคัญกับไม้รับหรือไม่แก้ก่อนไม้รุก เพ่ือให้มวยไทยเป็นศิลปะป้องกันตัวอย่างแท้จริง ในยุคน้ี นักมวยไทยป้องกันตนเองหรือแก้มวยฝ่ายตรงข้ามไม่เป็นบางคนเพียงแต่ถอยกรูด ๆ หรือเหยียดแขน ยันซึง่ ไมถ่ ูกตอ้ งตามแบบฉบบั ของมวยไทยอย่างแทจ้ ริงเลย 4. มวยไทยสายอุตรดิตถ์เน้นการรุกเข้าหาคู่ต่อสู้ตามจุดต่าง ๆ ของร่างกาย เพ่ือเผด็จศึกเม่ือ มีโอกาสจะไม่ออกอาวุธโดยไม่มีเป้าหมายเป็นอันขาดและทุกจุดที่กล่าวถึงนี้เป็นจุดที่สามารถทาให้คู่ ต่อสหู้ มอบราบหรือหมดความสามารถในการตอ่ สตู้ ่อไปได้อกี 5. แม่ไม้ของมวยไทยสายอุตรดิตถ์จะมีเอกลักษณ์ของตนเอง โดยเป็นการใช้อาวุธที่ค่อนข้าง จะรุนแรงและรวดเรว็ บางคร้ังอาจจะไมส่ วยงามแตไ่ ดผ้ ล ซึ่งตรงตามเป้าหมายของมวยสายอุตรดิตถ์ที่ ย้าประสทิ ธิผลอยา่ งแทจ้ รงิ 6. แม่ไม้ต่าง ๆ จะถูกเพ่ิมเติมเสริมแต่งด้วยลูกไม้และเกร็ดไม้ซึ่งเป็นการปรับปรุงแม่ไม้ให้ เหมาะสมกับโอกาสและความสามารถส่วนตัวของแต่ละนักมวย หรือนาจุดอ่อนของคู่ต่อสู้มาเป็น หลักเกณฑ์ในการปรับปรุงแม่ไม้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ลูกไม้และเกร็ดไม้เหล่าน้ี อาจจะพสิ ดารหรอื แพรวพราว แต่ควรรวดเร็ว รนุ แรง และได้ผลเช่นเดียวกับแม่ไม้จึงจะเป็นลูกไม้และ เกร็ดไม้ทด่ี ีได้ อยา่ งไรกด็ ี เกร็ดไมอ้ าจจะไดผ้ ลดเี ชน่ เดียวกับแมไ่ ม้ก็ได้ 7. นักมวยไทยสายอุตรดิตถ์ จะต้องมีสัญชาตญาณในการเผด็จศึกอย่างรวดเร็ว และต้อง สามารถใช้อาวุธทุกชนิดได้อย่างถูกต้องตามสถานการณ์และอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อใช้ไม้รับหรือไม้ แกก้ ต็ อ้ งสามารถโตต้ อบและเขา้ ทาได้ โดยรับไม่เกิน 2 ไม้ เพราะการรับแต่เพียงอย่างเดียว โอกาสจะ เพลย่ี งพลา้ ย่อมมมี ากขึ้น และเมือ่ มีโอกาสก็ตอ้ งรบี เผด็จศึกในระยะเวลาทสี่ น้ั ท่สี ุด 8. นกั มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหกั ในกรงุ เทพฯท่สี ืบทอดจากครูแสง อุตรดิตถ์ส่วนใหญ่จะ ได้ประโยชน์จากธนูเงิน-ธนูทองและสามารถสร้างชื่อเสียงจากการใช้หมัด เช่น ทวี ใจมีบุญ ถวัลย์ วงศ์เทเวศ อุสมาน ศรแดง เป็นต้น นักมวยเหล่านี้ส่วนใหญ่ถนัดในการใช้มือมากกว่าการใช้เท้าท้ัง ๆ ท่คี รแู สงเองมคี วามสามารถในการใช้เท้าตามแบบฉบบั ของมวยไทยสายทา่ เสา 9. อาวุธยอดนิยมของมวยไทยสายอุตรดิตถ์ และเป็นเอกลักษณ์ของมวยสายนี้คือ การต่อย ด้วยครง่ึ หมดั ครงึ่ ศอก การใช้ศอกเฉียงและศอกจาม การเตะเฉียงด้วยการเตะสะบัด การถีบด้วยการ ถีบจกิ ถีบกระทุ้งและถบี แกมเตะ การเข่าด้วยเขา่ โทนและเขา่ เก่ียว อน่ึงมวยสายอุตรดิตถ์จะไม่นิยม ตีเข่าสวนแต่จะตีเข่าโทน เม่ือผลักคู่ต่อสู้ให้หงายหลังออกไป หรือเม่ือตีศอกไปแล้ว หรือเมื่อกระชาก คอคตู่ ่อสู้กจ็ ะเหวี่ยงไปทางซ้ายหรอื ทางขวาเพ่อื มิใหต้ นเองไดร้ บั อันตรายจากอาวุธคู่ต่อสู้ แล้วจึงตีเข่า เฉียงตามไปทชี่ ายโครงหรอื ล้ินป่ีของคู่ต่อสมู้ ากกว่าจะตเี ขา่ สวน 10. มวยสายพระยาพิชัยดาบหักต้องการให้นักมวยพัฒนาตัวเอง ปรับปรุงมวยของตนเองให้ ก้าวหน้าต่อไป นาความรู้และจุดอ่อนของคูต่อสู้มาใช้ให้เป็นประโยชน์ และนาศิลปะป้องกันตัวอ่ืน ๆ มาประยุกตใ์ ชใ้ นมวยไทย ด่งั เช่นท่พี ระยาพิชยั ดาบหักได้ประยุกต์มวยงิ้วและมวยจีนเข้าไปในมวยไทย สายทา่ เสาของครูเมฆและสายบ้านแก่งของครูเที่ยงท่ีท่านได้ฝึกหัดมา โดยไม่ได้ทาให้แก่นแท้ของมวย

309 ไทยเสียหายไปผู้สืบทอดมวยสายนี้จึงต้องขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติม และพัฒนาทักษะมวยไทยให้ เปน็ ศลิ ปะป้องกนั ตัวที่เป็นทย่ี อมรับนบั ถอื ของท่ัวโลกตอ่ ไป 11. มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก เป็นได้ทั้งมวยอ่อนและมวยแข็ง ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับ สถานการณ์และโอกาส ท่าย่างแปดทิศ และท่ามือสี่ทิศเป็นท่าพื้นฐานของมวยสายน้ี พื้นฐานท้ังสอง อยา่ งนสี้ ามารถใช้เพ่อื มวยแขง็ หรือมวยอ่อนก็ได้ ในการต่อสู้กับครูนิลและครูห้าว พระยาพิชัยดาบหัก ใชม้ วยอ่อนในการต่อสู้จนมีโอกาสเผด็จศึก แต่ในการต่อสู้กับนายถึกและครูหมึก พระยาพิชัยดาบหัก ใช้มวยแขง็ เข้าต่อส้แู ละเผดจ็ ศกึ ในเวลาอันรวดเร็ว 12. มวยสายพระยาพิชยั ดาบหกั จะมไี มส้ าคัญหรือไม้ครูเป็นแม่ไม้ นักมวยที่ได้รับการครอบ ครูจะต้องเรียนรู้ เข้าใจและชานาญในการใช้แม่ไม้เหล่านี้ ในแม่ไม้เหล่านี้ต้องมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลที่รวดเร็ว รุนแรง และเด็ดขาด อย่างไรก็ดี ในบางกรณีเส้นทางการใช้แม่ไม้อาจจะไม่ สะดวกก็อาจใช้ลกู ไมห้ รอื ทางอ้อมแทนเส้นทางการใช้แม่ไม้หรอื อาจใช้ลูกไม้หรือทางอ้อมแทนเส้นทาง ตรง เพื่อนาไปสู่เป้าหมายของแม่ไม้น้ันๆ ก็ได้ เช่น พระยาพิชัยดาบหักใช้การกระโดดข้ามหัวเป็น ลูกไม้เพื่อนาไปสู่การเตะก้านคอหรือขากรรไกรนายถึก หรือใช้บางส่วนของไม้หนุมานเหยียบลงกา โดยตศี อกคูบ่ นศรี ษะครหู า้ วกอ่ นตลี งั กาไปด้านหลัง และจึงเตะปากครึ่งจมูกครึ่งและขากรรไกรครูห้าว การกระโดดขา้ มศรี ษะหรือการตีลังกาขา้ มศีรษะจึงเป็นลูกไม้ซึ่งนาไปสู่การเตะที่เผด็จศึกในที่สุดได้ ใน ขณะเดียวกัน หากนักมวยนาบางส่วนของแม่ไม้หรือลูกไม้ไปประยุกต์ใช้ แต่ได้ผลไม่ทัดเทียมแม่ไม้ หรือลูกไม้เหล่านั้นซ่ึงไม่มีความสมบูรณ์ไม่มีประสิทธิผลและไม่สามารถนาไปสู่การเผด็จศึกก็จะถูก จัดเป็นเกร็ดไม้ ของแม่ไม้หรือลูกไม้ดังกล่าว ท่ีกล่าวมาทั้งหมดเป็นลักษณะเด่นหรือเอกลักษณ์ของ มวยไทยสายพระยาพชิ ยั ดา้ นทกั ษะไมม้ วย พระครูวิมลธรรมานุยุต (2556) ได้กล่าวไว้ว่า อาตมาดูการชกมวยของมวยไทยสายท่าเสา สมยั ท่หี ลวงพอ่ เป็นหนุ่มได้เห็นครูฉลอง เล้ียงประเสริฐชกมวยน้ัน ไม่ว่าจะเป็นการยืน การร่ายราไหว้ ครู ครูฉลอง จะไม่เหมือนมวยตัวอื่น คือ การยืนมวยหรือจดมวย ยืนน้าหนักอยู่เท้าหลัง ดูไม่สวย เหมือนคนไม่เคยชกมวย การรา่ ยราไหวค้ รทู า่ น่ังครฉู ลองจะแหงนหนา้ ขึ้นลอดใต้แขนมารู้อีกทีเขาบอก ว่าเป็นท่าส่องเมฆเพื่อเป็นการระลึกถึงครูเมฆก่อนยืนไหว้ครูในท่ายืน ใส่มงคลสีแดงและประเจียดสี แดงทม่ี ีขา้ งเดียว สว่ นคตู่ อ่ สู้มปี ระเจยี ด 2 ขา้ ง (พระครูวมิ ลธรรมานุยตุ . 4 มนี าคม 2556. สัมภาษณ์) มงคลและผ้าประเจียด คือ เคร่ืองรางของขลังท่ีครูมวยแต่ละสายมีไว้เพื่อเป็นเคร่ืองยึด เหนี่ยว จิตใจให้กับนักมวย มงคลใช้สวมศีรษะส่วนผ้าประเจียดผูกท่ีแขนด้านซ้าย สวมก่อนข้ึนเวที กอ่ นทาการแข่งขันหรือการต่อสู้ เม่ือราร่ายไว้ครูแล้วจะถอดมงคลออกเหลือไว้แต่ผ้าประเจียดท่ีผูกไว้ ที่แขน มงคลและผ้าประเจียดของมวยสายท่าเสาจะทาด้วยด้ายสีแดง ถักให้มีลวดลายเพ่ือความ สวยงามด้านหลังมงคลจะมีแผ่นยันต์ทาด้วยแผ่นทองเหลืองบาง ๆ และผ้าประเจียดด้านหน้า นอกจากนม้ี งคลยังมีไหว้สาหรับครอบครูให้กับศิษย์เม่ือศิษย์เรียนมวยจากครูเป็นท่ีสาเร็จแล้ว โดยครู จะเป็นผู้ถักมงคลให้ ปัจจุบันศิษย์จะเป็นผู้ถักมงคลเองแล้วครูมวยจะเป็นผู้ลงนะให้ (ลงนะคือบทสวด คาถาอาคมลงให้มีความขลัง) ส่วนของค่ายท่าเสาของพ่อจะเป็นมงคลสีแดงและประเจียดสีแดงพ่อ บอกวา่ เป็นของปทู่ วดให้เก็บรักษาไหว้บนหิ้งพระอยู่บนบ้านจะเอาลงจากหิ้งเมื่อถึงวันไหว้ครูประจาปี เทา่ น้นั ส่วนมงคลทผ่ี มเคยใส่ตอนชกมวยพ่อจะเป็นคนถกั ให้พร้อมประเจียด พอ่ จะสวดทาพิธีหลังจาก

310 ถักเสร็จแล้ว จึงนาไปใส่ใบบาตรพระตอนบวชพระใหม่ท่ีโบสถ์วัดใหญ่ท่าเสา (ฉลาด เล้ียงประเสริฐ. สมั ภาษณ์. 5 มีนาคม 2556) ตามทีพ่ ่ีได้ศึกษาประวตั มิ วยสายพระยาพชิ ัยดาบหกั นนั้ มีเอกลักษณ์เด่น คือ การยืนหรือ การจดมวย ยืนให้น้าหนักอยู่เท้าหลัง สามารถออกอาวุธได้เร็วและหลบหลีกได้เร็ว การร่ายราไหว้ครู แตกต่างกนั ออกไป มวยท่าเสาหรอื มวยสายพระยาพชิ ัยกอ่ นรา่ ยราไหว้ครู ต้องแสดงนิมิตถึงครู นั่นคือ จะต้องยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แล้วแหงนหน้าขึ้นดูเมฆเป็นนิมิตราลึกถึงนามครูเมฆบรมครู เฒา่ เสยี ก่อนแล้วจึงนัง่ หันหน้าไปทางทิศตะวันออกกราบ 3 คร้ัง แล้วตามด้วยท่าส่องเมฆ 3 ครั้ง ก่อน ลุกข้ึนยืนราในท่ายืนใส่มงคลและประเจียดสีแดงมีข้างเดียว ส่วนสานักอื่นจะมีประเจียด 2 ข้าง การเตะเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของมวยท่าเสาเพราะเตะได้รวดเร็วและรุนแรง สอคล้องกับคากล่าว ขานที่ว่าไว้ “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา ไวกว่าท่าเสา” (วรพันธ์ สุวรรณช่ืน. สมั ภาษณ์. 5 มีนาคม 2556) ตามที่ผมได้ศึกษาประวัติมวยสายพระยาพิชัยดาบหักน้ันมีเอกลักษณ์เด่นคือ การยืนหรือ การจดมวย ยืนให้น้าหนักอยู่เท้าหลัง สามารถมารถออกอาวุธได้เร็วและหลบหลีกได้เร็ว การร่ายรา ไหว้ครูแตกต่างกันออกไป มวยท่าเสาหรือมวยสายพระยาพิชัยดาบหักก่อนร่ายราไหว้ครู ต้องแสดง นมิ ิตถึงครู นั่นคอื จะตอ้ งยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แลว้ แหงนหนา้ ขึ้นดูเมฆเป็นนิมิตราลึกถึงนาม ครูเมฆบรมครูเฒ่าเสียก่อนแล้วจึงน่ังหันหน้าไปทางทิศตะวันออกกราบ 3 คร้ัง แล้วตามด้วยท่าส่อง เมฆ 3 คร้ัง ก่อนลุกขึ้นยืนราในท่ายืน มงคลท่ีใส่เป็นสีแดงด้านหน้ามีแผ่นทองลงยันต์และประเจียดสี แดงมีข้างเดียว การตะเป็นเอกลักษณ์อย่างหน่ึงของมวยท่าเสาเพราะเตะได้รวดเร็วและรุนแรง สอดคล้องกบั คากล่าวขานท่วี ่าไว้ “หมดั หนักโคราช ฉลาดลพบุรี ทา่ ดีไชยา ไวกว่าท่าเสา” (ประเทือง หร่งั ศริ ิ. สมั ภาษณ์. 5 มีนาคม 2556) ตอนท่ีพ่อได้เรียนรู้จากที่ครูฉลอง เลี้ยงประเสริฐ เมื่อคร้ังได้พานักศึกษาไปฝึกอบรม มวยไทย เมื่อหลายปีที่ผา่ นมา การชกมวยน้ันไม่ว่าจะเป็นการยืนหรือจดมวยยืนให้น้าหนักอยู่เท้าหลัง ดูไมส่ วยเหมอื นคนไม่เคยชกมวยมาก่อนแต่สามารถมารถออกอาวุธได้เร็วและหลบหลีกได้เร็ว การรา ไหวค้ รู กจ็ ะแตกตา่ งกันออกไปเพ่อื บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของค่ายมวยหรือครูมวย มวยท่าเสาหรือมวย สาย พระยาพิชัยดาบหักก่อนร่ายราไหว้ครูต้องแสดงนิมิตถึงครู คือจะต้องยืนหันหน้าไปทางทิศ ตะวนั ออก แลว้ แหงนหน้าขึ้นดูเมฆเป็นนิมิตราลึกถึงนามครูเมฆบรมครูเฒ่าเสียก่อนแล้วจึงน่ังหันหน้า ไปทางทิศตะวันออกกราบ 3 คร้ัง แล้วตามด้วยท่าส่องเมฆ 3 คร้ัง ก่อนลุกขึ้นยืนราในท่ายืนใส่มงคล มงคลจะมี สีแดงด้านหน้าจะพันรอบด้วยแผนทองลงยันต์และประเจียดสีแดงมีข้างเดียว การตะเป็น เอกลักษณ์อย่างหน่ึงของมวยท่าเสาเพราะเตะได้รวดเร็วและรุนแรง คนรุ่นเก่าชอบพูดเสมอว่า “ค่าย มวยท่าเสาตีนไหวเหมือนมา” และครูฉลองยังบอกว่าการฝึกเตะอย่างเดียวไม่ได้ต้องฝึกสมาธิ สวด มนต์สวดคาถาอาคมด้วย การชกที่ครูฉลองชนะน็อกคู่ต่อสู้ จะน็อกด้วยการเตะก้านคอเป็นส่วนใหญ่ (วัชระ รอยวริ ัตน์. สมั ภาษณ์. 5 มีนาคม 2556) ผมไดเ้ รยี นร้จู ากท่คี รูฉลอง เล้ียงประเสรฐิ กล่าวไวเ้ มื่อครัง้ ฝึกอบรมครมู วยไทย ปี 2544 วา่ การชกมวยนั้นไม่ว่าจะเป็นการยืนหรือจดมวยยืนให้น้าหนักอยู่เท้าหลัง ดูไม่สวยเหมือนคนไม่เคยชก มวยมาก่อนแต่สามารถมารถออกอาวุธได้เร็วและหลบหลีกได้เร็ว การร่ายราไหว้ครูก็จะแตกต่างกัน ออกไปเพือ่ บง่ บอกถงึ เอกลักษณ์ของค่ายมวยหรือครูมวย มวยท่าเสาหรือมวยสายพระยาพิชัยดาบหัก

311 ก่อนร่ายราไหว้ครู ต้องแสดงนิมิตถึงครู น่ันคือจะต้องยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แล้วแหงนหน้า ข้ึนดเู มฆเปน็ นมิ ิตราลึกถึงนามครูเมฆบรมครูเฒ่าเสียก่อนแล้วจึงน่ังหันหน้าไปทางทิศตะวันออกกราบ 3 ครงั้ แล้วตามดว้ ยท่าส่องเมฆ 3 ครง้ั ก่อนลุกขึ้นยืนราในท่ายืนใส่มงคล มงคลจะมีสีแดงด้านหน้าจะ พันรอบด้วยแผนทองลงยันต์และประเจียดสีแดงมีข้างเดียว การตะเป็นเอกลักษณ์อย่างหน่ึงของมวย ท่าเสาเพราะเตะได้รวดเร็วและรุนแรง คนรุ่นเก่าชอบพูดเสมอว่า “ค่ายมวยท่าเสาตีนไหวเหมือน หมา” และครูฉลองยังบอกว่าการฝึกเตะอย่างเดียวไม่ได้ต้องฝึกสมาธิ สวดมนต์สวดคาถาอาคมด้วย วชิ าอาคมของแต่ละ คา่ ยมวยจะแตกต่างกนั ออกไป (วริ ชั ถนอมวงศ.์ สัมภาษณ์. 5 มนี าคม 2556) ผมได้เรียนรู้มวยไทยสายน้ีมาจากคุณพ่อของผม คุณพ่อของผมเรียนมาจากคุณปู่ ผมจึงได้ เรียนรู้มาบ้างพอสมควร เพ่ือให้การศึกษาเก่ียวกับมวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหักเป็นระบบมากขึ้น แบ่งไม้มวยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มไม้มือ(หมัดและศอก)ในบทนี้ และกลุ่มไม้เท้า(เตะ ถีบ และเข่า) ในบทต่อไป อย่างไรกด็ ี การแบ่งดงั กลา่ วมไิ ด้หมายความว่า การใช้หรือการตอบโต้ไม้มือหรือไม้เท้าจะ จากัดอยเู่ พียงแต่มือหรือเทา้ เทา่ นั้น เพราะมีอยู่หลายกรณีด้วยกันท่ีแนวการต่อสู้แบบลิงพันหลักทาให้ ต้องใชไ้ มเ้ ท้าเขา้ ผสมผสานกบั ไมม้ อื ด้วย หรือในการตอบโต้ไม้มือก็ไม่จาเป็นจะต้องใช้เฉพาะหมัดหรือ ศอกเทา่ นัน้ นกั มวยอาจจะเห็นวา่ การเตะ ถีบ หรอื เข่า อาจจะได้ผลมากกวา่ ก็ได้ เปน็ ตน้ แต่กอ่ นทจี่ ะเร่ิมกลา่ วถึงการใชแ้ ละการตอบโต้ไม้มอื ของมวยไทยสายพระยาพชิ ยั จะขอ กลา่ วถงึ ลักษณะและเอกลักษณ์บางประการของมวยสายอุตรดิตถ์ 1. มวยไทยสายอุตรดิตถ์ก็เน้นการใช้เท้ามากกว่ามวยสายอ่ืน ๆ จึงสามารถเตะได้อย่าง รุนแรงและรวดเรว็ ทงั้ สองข้างโดยมอื ไม่ตก หรือเปดิ โอกาสใหค้ ู่ต่อสู้เขา้ มาทาอันตรายได้เลย 2. เนื่องจากมวยไทยสายอุตรดิตถ์ก็ถนัดในการเตะเป็นพิเศษ การจับขาคู่ต่อสู้เมื่ออีกฝ่าย หนงึ่ เตะมาจึงไดร้ ับการเน้นเป็นพิเศษเช่นกัน มวยสายอุตรดิตถ์ก็จะชักเหลี่ยมเข้าหาคู่ต่อสู้เมื่ออีกฝ่าย หนง่ึ เตะโดยไม่มกี ารถอยหลังหรือโดดหนีเป็นอันขาด เมื่อจับขาได้แล้วโอกาสของการตอบโต้ย่อมเป็น ของฝา่ ยจับขาได้ 3. มวยไทยสายอุตรดิตถ์จะเน้นท้ังไม้รับและไม้แก้ กับไม้รุกหรือไม่ทาควบคู่กันไป แต่จะให้ ความสาคัญกับไม้รับหรือไม่แก้ก่อนไม้รุก เพ่ือให้มวยไทยเป็นศิลปะป้องกันตัวอย่างแท้จริง ยุคน้ี นกั มวยไทย ปอ้ งกันตนเองหรือแกม้ วยฝ่ายตรงขา้ มไม่เป็นบางคนเพียงแต่ถอยกรูด ๆ หรือเหยียดแขน ยันซ่งึ ไม่ถูกต้องตามแบบฉบบั ของมวยไทยอย่างแทจ้ ริงเลย 4. มวยไทยสายอตุ รดิตถ์เนน้ การรกุ เขา้ หาคู่ต่อสู้ตามจุดต่างๆของร่างกาย เพ่ือเผด็จศึกเมื่อมี โอกาสจะไม่ออกอาวุธโดยไม่มีเป้าหมายเป็นอันขาดและทุกจุดท่ีกล่าวถึงนี้เป็นจุดที่สามารถทาให้คู่ ต่อสูห้ มอบราบหรือหมดความสามารถในการต่อสตู้ ่อไปไดอ้ กี 5. แม่ไม้ของมวยสายอุตรดิตถ์จะมีเอกลักษณ์ของตนเอง โดยเป็นการใช้อาวุธที่ค่อนข้างจะ รนุ แรงและรวดเรว็ บางคร้ังอาจจะไมส่ วยงามแตไ่ ด้ผล ซึ่งตรงตามเป้าหมายของมวยไทยสายอุตรดิตถ์ ท่ยี า้ ประสิทธิผลอยา่ งแท้จรงิ 6. แม่ไม้ต่างๆจะถูกเพิ่มเติมเสริมแต่งด้วยลูกไม้และเกร็ดไม้ ซึ่งเป็นการปรับปรุงแม่ไม้ให้ เหมาะสมกับโอกาสและความสามารถส่วนตัวของแต่ละนักมวย หรือนาจุดอ่อนของคู่ต่อสู้มาเป็น หลักเกณฑ์ในการปรับปรุงแม่ไม้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ลูกไม้และเกร็ดไม้เหล่านี้

312 อาจจะพิสดารหรือแพรวพราว แต่ควรรวดเร็วรุนแรงและได้ผลเช่นเดียวกับแม่ไม้จึงจะเป็นลูกไม้และ เกรด็ ไมท้ ดี่ ไี ด้ อย่างไรกด็ ีเกร็ดไม้ อาจจะได้ผลดีเชน่ เดียวกบั แมไ่ ม้กไ็ ด้ 7. นักมวยไทยสายอุตรดิตถ์ จะต้องมีสัญชาตญาณในการเผด็จศึกอย่างรวดเร็ว และต้อง สามารถใช้ อาวุธทุกชนิดได้อยา่ งถูกต้องตามสถานการณ์และอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อใช้ไม้รับหรือไม้ แก้ก็ต้องสามารถโต้ตอบและเข้าทาได้ โดยรับไม่เกิน 2 ไม้ เพราะการรับแต่เพียงอย่างเดียว โอกาส จะเพลย่ี งพล้ายอ่ มมีมากข้ึน และเมื่อมีโอกาสก็ต้องรีบเผด็จศึกในระยะเวลาท่สี ัน้ ท่สี ดุ 8. นักมวยไทยสายพระยาพชิ ัยดาบหกั ในกรุงเทพฯทีส่ บื ทอดจากครแู สง อุตรดิตถ์สว่ นใหญ่ จะได้ประโยชนจ์ ากธนูเงิน-ธนูทองและสามารถสร้างช่ือเสียงจากการใช้หมดั เช่น ทวี ใจมีบุญ ถวัลย์ วงศเ์ ทเวศ อุสมาน ศรแดง เป็นต้น นกั มวยเหล่าน้ีส่วนใหญถ่ นดั ในการใชม้ อื มากกว่าการใชเ้ ทา้ ทง้ั ๆ ท่คี รแู สงและลกู ศิษย์ครแู สงเองมคี วามสามารถในการใช้เทา้ ตามแบบฉบบั ของมวยไทยสายทา่ เสา 9. อาวุธยอดนิยมของมวยไทยสายอุตรดิตถ์ และเป็นเอกลักษณ์ของมวยสายน้ีคือ การต่อย ด้วยครึ่งหมดั คร่งึ ศอก การใช้ศอกเฉียงและศอกจาม การเตะเฉียงด้วยการเตะสะบัด การถีบด้วยการ ถีบจกิ ถบี กระท้งุ และถีบแกมเตะ การเข่าด้วยเขา่ โทนและเขา่ เกี่ยว 10. มวยสายพระยาพชิ ัยดาบหักต้องการให้นักมวยพัฒนาตัวเอง ปรับปรุงมวยของตนเองให้ ก้าวหน้าต่อไป นาความรู้และจุดอ่อนของคู่ต่อสู้มาใช้ให้เป็นประโยชน์และนาศิลปะป้องกันตัวอ่ืน ๆ มาประยุกต์ใช้ในมวยไทย โดยไม่ได้ทาให้แก่นแท้ของมวยไทยเสียหายไปผู้สืบทอดมวยสายนี้จึงต้อง ขวนขวายหาความรู้เพ่ิมเติม และพัฒนาทักษะมวยไทยให้เป็นศิลปะป้องกันตัวที่เป็นที่ยอมรับนับถือ ของท่ัวโลกตอ่ ไป 11. มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก เป็นได้ท้ังมวยอ่อนและมวยแข็ง ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับ สถานการณ์และโอกาส ท่าย่างแปดทิศ และท่ามือสี่ทิศเป็นท่าพ้ืนฐานของมวยสายนี้ พื้นฐานทั้งสอง อยา่ งน้สี ามารถใชเ้ พอ่ื มวยแขง็ หรือมวยอ่อนก็ได้ ในการต่อสู้กับครูนิลและครูห้าว พระยาพิชัยดาบหัก ใชม้ วยออ่ นในการตอ่ สจู้ นมีโอกาสเผด็จศกึ แต่ในการต่อสู้กับนายถึกและครูหมึก พระยาพิชัยดาบหัก ใชม้ วยแขง็ เข้าต่อสแู้ ละเผด็จศกึ ในเวลาอนั รวดเรว็ 12. มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก จะมีไม้สาคัญหรือไม้ครูเป็นแม่ไม้ นักมวยท่ีได้รับการ ครอบครูจะต้องเรียนรู้ เข้าใจและชานาญในการใช้แม่ไม้เหล่านี้ ในแม่ไม้เหล่าน้ีต้องมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลทรี่ วดเร็ว รุนแรง และเดด็ ขาด อย่างไรก็ดี ในบางกรณีเส้นทางการใช้แม่ไม้อาจจะ ไม่สะดวกก็อาจใช้ลูกไม้หรือทางอ้อมแทนเส้นทางการใช้แม่ไม้หรืออาจใช้ลูกไม้หรือทางอ้อมแทน เส้นทางตรง เพื่อนา ไปสู่เปา้ หมายของแม่ไมน้ ั้น ๆ ก็ได้ (ประกาศ เพยี สามารถ สัมภาษณ์. 5 มีนาคม 2556) จึงอาจกล่าวได้ว่า มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย มีลักษณะเด่นหรือเอกลักษณ์ คือ การยืน หรือจดมวยยืนให้น้าหนักอยู่เท้าหลัง ดูไม่สวยเหมือนคนไม่เคยชกมวยมาก่อนแต่สามารถมา รถออกอาวุธได้เร็วและหลบหลีกได้เร็ว การร่ายราไหว้ครูมวยท่าเสาหรือมวยสายพระยาพิชัยดาบหัก กอ่ นร่ายราไหวค้ รู ต้องแสดงนมิ ิตถึงครู คือจะต้องยืนหันหน้าไปทางทิศตะวันออก แล้วแหงนหน้าขึ้นดู เมฆเป็นนิมิตราลึกถึงนามครูเมฆบรมครูเฒ่าเสียก่อนแล้วจึงนั่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออ กกราบ 3 คร้ัง แล้วตามด้วยท่าส่องเมฆ 3 ครั้ง ก่อนลุกข้ึนยืนราในท่ายืน การสวมมงคล มงคลจะมีสีแดง ด้านหน้าจะพันรอบด้วยแผนทองลงยันต์และประเจียดสีแดงมีข้างเดียว การตะเป็นเอกลักษณ์อย่าง

313 หนง่ึ ของมวยท่าเสาเพราะเตะได้รวดเร็วและรนุ แรง คนรุน่ เกา่ ชอบพดู เสมอวา่ “ค่ายมวยท่าเสาตีนไหว เหมือนมา” และครูฉลองยังบอกว่าการฝึกเตะอย่างเดียวไม่ได้ต้องฝึกสมาธิ สวดมนต์สวดคาถาอาคม ดว้ ย นอกจากน้ี ยงั มีเอกลกั ษณ์ของไมม้ วย การแบ่งไม้มวยแบ่งเป็นแม่ไม้และลูกไม้ คือ แบ่งแม่ไม้เป็น ลกู ไม้และลกู ไมแ้ บ่งเป็นเกรด็ ไม้อกี ช้นั หน่งึ โดยมีแม่ไมบ้ น 12 ไม้ และแม่ไม้ล่าง 12 ไม้ แต่ละแม่ไม้จะ มีลูกไม้และเกร็ดไม้อีกมากมายตามมาและนักมวยจะได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้คิดค้นลูกไม้และ เกร็ดไม้เพ่ิมเติมตามความถนัดของแตล่ ะนักมวยสามารถตามแตจ่ ุดอ่อนนของคู่ต่อสู้ ลูกไม้และเกร็ดไม้ จึงสามารถเพิม่ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งมากมายตามแต่ความสามารถของนักมวยเองในการจดจาและฝึกหัดจากครู และในการคิดค้นเพ่มิ เติมดว้ ยตนเองต้องขอทาความเข้าใจกันก่อนว่ามวยแต่ละสายมีแม่ไม้ของตนเอง และไม่จาเป็นต้องเหมือนแม่ไม้ของมวยสายอ่ืน ๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีบางไม้ที่ครูบาอาจารย์แต่ด้ังเดิมมี ความเห็นตรงกันว่าเป็นไม้สาคัญหรือไม้ครูแต่ทุกสายจะมีแม่ไม้และลูกไม้ประจาสานักหรือสายของ ตนเอง แม่ไม้ท่ีเป็นกลางหรือแม่ไม้ซึ่งเป็นของทุกสายหรือทุกสานักจึงไม่เคยมีในประวัติมวยไทย ทั้งน้ีเพราะแม่ไม้ต่างๆ มาจากพื้นฐานท่ีแตกต่างกัน เช่น สรีระของร่างกาย วัฒนธรรม ประเพณี หรือสภาพแวดล้อมอ่ืน ๆ ดังจะเห็นได้ว่านักมวยภาคอีสานซึ่งปกติจะมีรูปร่างมะขามข้อเดียว การใช้ แม่ไม้และใช้อาวุธจะเน้นวงในมากกว่าวงนอก คือ การใช้หมัด ศอก และเข่ามากกว่าการเตะ นักมวย ภาคไดโ้ ดยปกติจะมีชว่ งยาวแม่ไมจ้ ะเนน้ การเตะและเข่ามากกวา่ การใช้มอื นักมวยภาคเหนือจะมีแม่ไม้ จากความสามารถเปน็ พเิ ศษในการใช้ศอกโค้งและเข่าโค้ง เนอื่ งจากวฒั นธรรมหรือมีการใช้เข่าโค้งและ ศอกโคง้ ในการตกี ลองสะบดั ชยั (หากใชเ้ ข่าหรอื ศอกอย่างอ่ืนกลองอาจทะลุได้ ) มวยอุตรดิตถ์เน้นเตะ เฉียง ศอกเฉียง หรืออาวุธซ่ึงสามารถเผด็จศึกได้โดยรวดเร็วเพราะเป็นเมืองหน้าด่านที่ต้องทาการ ต่อสจู้ ึงเป็นแม่ไม้โดยเฉพาะของมวยไทยสายอุตรดติ ถ์ สว่ นมวยไทยภาคกลางหรือมวยไทยอยุธยาจะ เน้นความสวยงาม ความแพรวพราว และความครบเครื่องเป็นแม่ไม้ เป็นต้น แม่ไม้ของแต่ละครู หรือแตล่ ะสายจึงไม่จาเป็น ต้องเหมือนกัน ถึงแม้บางไม้อาจจะคล้ายคลึงกันบ้างก็ตามมวยไทยจึงไม่มี แมไ่ ม้มวยไทย มวยไทยจึงมีแต่แมไ่ มข้ องแตล่ ะสายหรือของครูเทา่ นั้น 3. กระบวนท่ามวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั สมพร แสงชยั (2545) พระยาพิชัยดาบหกั ไดเ้ รียนมวยสายท่าเสาของครเู มฆ ดาบไทยจาก ครเู หลือสวรรคโลก มวยจีนและหกั กระดกู จากครูงิว้ สุโขทัย ได้บูรณาการศาสตร์ทั้ง 3 เข้าด้วยกัน ทา ให้มวยของพระยาพชิ ยั ดาบหกั มีเอกลักษณพ์ ิเศษกว่ามวยไทยสายอื่นๆ อย่างไรก็ดีพระยาพิชัยดาบหัก ยังรักษาแก่นแท้ดั้งเดมิ ของมวยไทยไว้ โดยมิไดน้ าศลิ ปะอย่างอ่ืนเข้ามาเป็นลูกไม้และเกร็ดไม้ของมวย ไทยเท่านน้ั แตล่ ูกไมแ้ ละเกรด็ ไม้เหล่านีอ้ าจจะเป็นส่วนหนึ่งของไม้เด็ด ไม้ตาย หรือไม้กลท่ีรุนแรงและ เปน็ อันตรายถึงตายได้ เม่ือผสมผสานกับแก่นของมวยไทย ทั้งนี้เพราะศิลปะมวยไทยในอดีตมีวิธีการ ชกทีผ่ ดิ แปลกไปจากปจั จบุ นั มาก จนทาให้บางคนเขา้ ใจผิด คดิ ว่ามวยไทยปัจจุบันไม่มีพิษสงอะไรเลย ครูเขตร ศรียาภัย ได้ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์ไทยรัฐเมื่อปี พ.ศ.2515 ว่า มวยไทยต้องฝึกสอนเป็น ขั้น ๆ ข้ันแรกจะต้องเรยี น ปดั -ป้อง-ปิด-เปิด ใหค้ ล่องเสียกอ่ น เสร็จแล้วจึงเรียนขั้นท่ี 2 คือ จับ-หัก- ทุ่ม-ทับ ซึ่งไม่แตกต่างจากระบบของยูโด ยิวยิตสู หรือไอกีโด้ และข้ันสุดท้ายก็เรียนทีเด็ดในการ ประกบประกับจบั ร้ังเข้าข้างหลงั เตะตดั ก้านคอ ดังนั้น จบั -หกั -ทมุ่ -ทบั จึงเป็นศิลปะมวยไทยแต่ดั้งเดิม ก่อนท่ียูโดจะเป็นท่ีรู้จักกันทั่วโลกเสียอีก แต่กรรมการนอกจากจะเห็นว่าการคาดเชือกเป็นอันตราย

314 แล้ว ไม่ให้ จับ-หัก-ทุ่ม-ทับ หรือเตะตัดปัดขา ท้ังๆท่ีส่ิงเหล่านั้นเป็นแม่บทของมวยไทยโดยแท้ ตา่ งชาตจิ ึงดูถูกมวยไทยว่าไม่ดเุ ดือดหรอื รนุ แรงเหมือนศลิ ปะป้องกนั ตัวของชาติอ่ืน ๆ การที่มวยไทยเริ่มต้นฝึกหัดด้วยการ ปัด - ป้อง – ปิด - เปิด ก็เพราะมวยไทยเป็นศิลปะ ป้องกันตวั อยา่ งแทจ้ ริง มิใชเ่ ป็นการทาอันตรายคู่ต่อสู้โดยไม่ห่วงอันตรายที่จะเกิดข้ึนแก่ตนเอง ดังนั้น การฝึกฝนมิให้ตนเองเป็นอันตรายจึงเป็นเป้าหมายแรกของมวยไทย พระยาพิชัยดาบหักก็มีปรัชญา การชกมวยเช่นนนั้ เหมอื นกัน ดงั นั้นจะเห็นว่าเมื่อพระยาพิชัยดาบหักชกกับครูนิล แห่งเมืองทุ่งยั้งและ ครูห้าว เมืองตาก ท้ัง 2 ไม่สามารถทาอันตรายนายทองดีเลย เพราะนายทองดีใช้ท่ายางแปดทิศและ ปัด-ปอ้ ง-ปดิ หมดั และเท้าของคูต่ ่อส้ไู ดห้ มดสน้ิ ขณะดเู ชงิ คู่ตอ่ สู้ ตอ่ เม่อื ขึ้นอันท่ี 2 แล้วจึงได้เผด็จศึกท้ัง ครนู ลิ และครหู ้าวอย่างงา่ ยดาย และเมอ่ื พระยาพิชัยดาบหักได้ถ่ายทอดวิชามวยของท่านให้แก่ลูกศิษย์ และลูกหลานผู้สืบทอดสกุลของท่าน พื้นฐานแรกในการเรียนมวยสายพระยาพิชัยดาบหักก็คือท่าย่าง แปดทิศและท่าการใชม้ ือในการ ปดั – ปอ้ ง – ปิด – เปิด เพือ่ ป้องกนั อันตรายที่อาจจะเกดิ ขึ้นก่อนอน่ื สมพร แสงชยั (2545) ผู้เรยี นและผูฝ้ กึ หัดมวยสายพระยาพิชัยดาบหัก นอกจากจะต้องเรียน ท่าย่างแปดทิศและท่ามือสี่ทิศเป็นพื้นฐานสาคัญแล้ว จะต้องเรียนพ้ืนไม้ของมวยไทยให้ครบถ้วนด้วย พ้ืนไม้ของมวยไทย คือ นวอาวุธ ได้แก่ ศีรษะ มือ 2 ข้าง ศอก 2 ข้าง เข่า 2 ข้าง ปัจจุบันศีรษะถูก ห้ามใช้ไปแล้วเพราะมีอันตรายมากเกินไป และยิ่งกวา่ น้นั มวยบางสายไม่นิยมสอนให้ผู้ฝึกเรียนมวยใช้ อาวุธทั้งหมด เช่น พวกถนัดมือขวาก็ใช้เป็นแต่มือและเท้า พวกถนัดซ้ายก็ใช้เฉพาะมือซ้ายและเท้า ซา้ ย ทาใหอ้ าวธุ มวยไทยหายไปเกินกว่าคร่ึงหนึง่ แล้ว บางครั้งนักมวยถนัดแต่อาวุธบางชนิด เช่น หมัด หรือเท้า ก็ใช้เป็นแต่หมัดหรือเท้าเท่าน้ัน นักมวยเหล่าน้ันจึงไม่ครบเคร่ืองและทาให้มวยไทยซ่ึงเป็น มรดกของประเทศขาดหายไปหรือได้รับการสืบทอดแบบไม่ครบถ้วนพื้นไม้ของมวยไทยยังมีการ แยกแยะแนวการใช้ในแต่ละพ้นื ไมอ้ อกไปอีกยอดธงทับทิวไม้ ได้เคยเขียนไว้ว่า หมัดหรือมือมีวิธีใช้ 24 วิธี ศีรษะ 6 วธิ ี ศอก 30 วิธี เข่า 12 วิธี และเท้า 36 วิธี รวมท้ังหมัด 108 วิธี แนวการใช้ท้ังหมดน้ี นักมวยต้องฝกึ ฝนจนเกดิ เปน็ สัญชาตญาณข้นึ มาเอง เมือ่ ข้นึ ชกมวยหลังจากได้มีการฝึกฝนจนครบถ้วน ความเคยชนิ จะเปน็ สญั ชาตญาณสัง่ งานให้ใช้อาวุธทเ่ี หมาะสม นักมวยปจั จุบันฝึกฝนกันมาอย่างสุกเอา เผากินและไม่ถูกต้อง ไม่มีหลักวิชาท่ีได้กล่ันกรองและ สืบทอดกันมา นวอาวุธถูกใช้เพียง 2-3 อย่าง เท่าน้ันและในอาวุธหนึ่งก็งัดออกมาใช้เพียง 2-3 แนว และใช้ได้อย่างเก้ ๆ กัง ๆ เท่าน้ัน ยอดธง ทับ ทิวไม้ จึงสรุปว่า การมีครูไม่ได้หมายความว่าราไหว้ครูเป็นเท่านั้น แต่ต้องเรียนรู้และสามารถปฏิบัติ ตามหลักวชิ าทท่ี ่านไดว้ างไว้ให้และถ่ายทอดกันมา ถ้าทาไม่ได้หรือทาได้แค่ครึ่ง ๆ กลาง ๆ แล้วเอาไป ใช้เป็นที่อับอายขายหน้าแก่ครูอาจารย์ ท่านสาปแช่งให้ถึงความวิบัติ และเนื่องจากมวยไทยเป็น ประเพณีและวัฒนธรรมอันเก่าแก่ของประเทศไทย คนไทยจึงควรรื้อฟื้นและศึกษาเล่าเรียนกันให้ ถูกหลักวิชาจริง ๆ และควรเร่ิมสนใจมวยไทยอย่างจริงจังเสียที คนไทยไม่ควรทิ้งวัฒนธรรมไทย ชาตอิ ืน่ ๆ ไมม่ ใี ครเขาท้งิ วัฒนธรรมดง้ั เดิมของเขาเลยสกั ชาติเดียว สาหรับพื้นไม้ของมวยสายพระยาพิชัยดาบหักนั้นอาจแยกการใช้อาวุธออกเป็นหลายแนว ด้วยกันในแต่ละพื้นไม้ ส่วนวิธีการใช้น้ันจะเป็นรายะเอียดของส่วนหน่ึงของแม่ไม้ ลูกไม้ หรือเกร็ดไม้ มากกวา่ แนวการใชน้ วอาวธุ ซึง่ ตามที่ข้าพเจ้าได้รับการฝกึ สอนจากครูสมพร แสงชัย มดี ังน้ี 3.1. การชก ส่วนใหญจ่ ะคงแนวการใชไ้ วพ้ อสมควร เพราะความนิยมในมวยสากล อยา่ งไร ก็ดีการใช้หมัดในมวยไทยก็ยงั มนี อกเหนือจากมวยสากลอีกหลายแนว โดยทวั่ ไปอาจแบง่ เปน็

315 1) หมัดตรง ซ่งึ ในสมยั โบราณ มวยไทยจะไม่นยิ มใชห้ มดั ตรง เพราะผู้ใชอ้ าจถกู หักแขน ไดง้ ่ายๆ 2) หมัดครึ่งศอก เป็นวิธีการชกโดยให้งอศอกไว้เพ่ือป้องกันมิให้ถูกหักแขน และใน ขณะเดียวกนั สามารถใชศ้ อกแกมหมดั ไปในตวั กลายเปน็ ครึง่ หมัดครง่ึ ศอกได้ 3) หมัดเหวี่ยงหรือหมัดขว้าง เป็นวิธีการชกระยะยาว โดยงอศอกให้หมัดโค้งขนานพ้ืน เข้าหาคู่ตอ่ สู้ ให้สันหมัดถูกเป้าหมายที่ต้องการ ในสมัยโบราณ หมัดเหวี่ยงควายทาช่ือเสียงให้แก่มวย โคราชมามากมายเพราะเปน็ การใช้ไหลแ่ ละลาตวั เพมิ่ นา้ หนักแก่หมดั ได้ดว้ ย 4) หมัดตบหรอื หมดั เหวีย่ งสั้น มีลกั ษณะเดยี วกบั หมดั เหวยี่ ง แตค่ ู่ต่อสู้มรี ะยะหา่ งไม่ มากนัก โดยใชน้ ้าหนักไหลแ่ ละตัวเขา้ ชว่ ยและใช้สันหมัดเข้าเป้าท่ตี อ้ งการ 5) หมัดตบหรือหมดั เฉยี งส้ัน มลี กั ษณะเป็นหมดั เหวีย่ งทเี่ ฉยี งขนึ้ อาจจะใกลเ้ คยี งกับหมัด เสยหรือหมัดสอยดาว หมดั เฉียงนสี้ ามารถงัดข้ึนได้เช่นเดยี วกับหมดั เสย 6) หมัดเหวย่ี งข้นึ ตรง ซึ่งมีลักษณะคลา้ ยหมัดโปโลของมวยสากล คือเปน็ หมัดเหว่ียง ระยะยาว เพราะต้องลดหมัดลงมาขา้ งขาก่อนเหว่ยี งข้นึ จึงจะทาให้มนี ้าหนกั เพ่ิมขึน้ 7) หมัดเหวยี่ งกลับยาว เป็นการเหว่ียงหมัดกลับหลังในระยะยาว หมดั เชน่ นี้อาจจะไมม่ ี ประสทิ ธผิ ลเท่าที่ควร เพยี งแตท่ าให้คู่ต่อสู้เสียรปู มวยมากกว่าเท่านน้ั ขณะเดียวกันอาจเปน็ อันตราย ต่อตัวนักมวยเองเพราะต้องหันหลังหรือหันข้างแกค่ ู่ต่อสูซ้ ่ึงเปน็ การเปิดชอ่ งว่างใหแ้ ก่คตู่ ่อสูเ้ ข้าทาร้าย 8) หมัดเหวี่ยงกลับส้ัน เป็นการเหว่ียงกลับในระยะสั้น หมัดชนิดนี้อาจจะมีประสิทธิผล เหนือกว่าหมัดเหวี่ยงยาวเพราะใช้ในระยะประชิดและเป้าหมายไม่มีเวลาพอจะหลบหลีกได้ทัน หมัด เหว่ียงกลับส้ันน้ีใช้ได้ดีกับการเหว่ียงขนานพื้นและเหวี่ยงเฉียงข้ึน และอาจไม่จาเป็นต้องหันหลังหรือ หันขา้ งใหแ้ ก่คู่ต่อสู้ก็ได้ 9) หมดั งัด หมดั เสย หมัดสอยดาว เป็นการงอแขนและเกร็งข้อศอกชกขึ้นตรงจาก เบือ้ งล่าง เปา้ หมายอยู่คางและใบหนา้ 10) หมัดหงาย มีลกั ษณะการใช้คลา้ ยกับหมดั เสยหรอื หมดั งดั คอื งอแขนเกร็งข้อศอกแต่ หงายหมดั ออกและใช้สันมอื เป็นอาวุธแทนหมัด เป้าหมายอยู่ที่คางและใบหน้าเป็นหลัก ไม้น้ีใช้แก้การ จับคอตีเข่าได้ผลดมี าก สามารถน็อกคตู่ ่อส้ไู ดอ้ ย่างงา่ ยดาย 11) หมัดเหวี่ยงบนยาว เป็นการเหวี่ยงหมัดจากบนลงล่าง หรือจากบนเฉียงลงล่าง โดย อาศัยแรงไหล่และแขนผสมผสานกับแรงดึงดูดของโลกให้สันหมัดเข้าสู่เป้าหมายท่ีศีรษะ ท้ายทอย หน้า หู คาง คอ เป็นตน้ หมัดนใี้ กล้เคียงกบั หมดั โอเวอรเ์ ฮดของมวยสากล 12) หมดั เหว่ียงบนส้ัน มีลักษณะการชกเช่นเดียวกับหมัดเหว่ียงบนยาว แต่งอข้อศอกให้ หมัดชิดตัวมากขึ้น ใช้กับเป้าหมายท่ีอยู่ประชิดตัวและสามารถต่อยข้ามแขนของคู่ต่อสู้ที่ต่อยมาก่อน โดยนกั มวยได้หลบหลกี ใหพ้ น้ ใบหนา้ ของตนเองแล้ว หมดั ชนดิ น้ี ไมค์ ไทสนั ชอบใช้น็อคคูต่ อ่ สเู้ สมอๆ 13) หมัดจิกหรือหมัดฉก เป็นการชกหมัดอย่างรวดเร็ว (โดยปกติจะใช้หมัดหน้า) เพ่ือ ทาลายจังหวะของคู่ต่อสู้ หรือเพ่ือป้องกันมิให้คู่ต่อสู้เข้าใกล้ตัว ประสิทธิผลอาจจะน้อยแต่ถ้าโดน บอ่ ย ๆ กส็ ามารถดับชวาลาของคู่ตอ่ ส้หู รอื ทาให้เลือดกาเดาไหลได้ 14) หมัดเสอื หรอื หมดั มะเหงก คือการใช้มะเหงกแทนสันหมัดเพื่อใช้ต่อยเข้าจุดท่ีอาจทา ให้คตู่ อ่ สูเ้ กดิ อันตรายได้ เชน่ ตา จมูก ปาก ขมับ ทา้ ยทอย กลางกระหม่อม คอ กระเดือก ล้ินปี่ หัวใจ

316 ขัว้ ปอด ซี่โครง รกั แร้ ไหล่ ต้นแขน แขน ฯลฯ อย่างไรกด็ ี หมัดชนิดนี้คงจะใช้ไม่ได้แล้วเพราะการสวม นวมชกมวย ในอดตี หมัดชนดิ นีเ้ คยทาชอื่ เสยี งใหแ้ ก่มวยบางสายมามากพอสมควร 15) หมัดคู่ เป็นการชกโดยใช้หมัดทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน โดยปกติจะเป็นท่าหนุมานถวาย แหวนโดยมีเป้าหมายอยู่ท่ีคอและคาง เป็นการชกเสยขึ้นมากกว่าจากมุมอื่น ปัจจุบันไม่นิยมใช้เพราะ นักมวยใช้ไม่เปน็ จงึ ไมม่ ปี ระสิทธผิ ลเท่าทีค่ วร 16) หมัดอัด จะเป็นหมัดช่วงสั้นโดยนักมวยจะเกร็งแขนและข้อศอก และลดหมัดลงเพ่ือ ชกเข้าบรเิ วณลาตัว เชน่ ท้อง ล้ินป่ี หน้าอก ฯลฯ เป็นหมัดที่รุนแรงและได้ผลในระยะประชิด บางทีก็ เรียกหมดั นีว้ า่ หมดั ลว้ งทอ้ ง 17) หมัดอัดลง เป็นการชกหมัดตรงระยะยาวลงล่าง เป้าหมายอยู่ที่กระเพาะปัสสาวะ หรือท้องน้อย จะใช้แก้การจับคอตีเข่า ในอดีตนักมวยทุ่งยั้งนิยมใช้ไม้น้ีมาก จึงเรียกว่า “หมัดทุ่งย้ัง” ในบางครง้ั 18) หมัดคู่บน-ล่าง เป็นการชกโดยใช้หมัดทั้งสองข้างพร้อมกัน โดยหมัดไม่อยู่ในระดับ เดียวกันเหมือนหนุมานถวายแหวน เช่น ข้างหนึ่งมุ่งเข้าที่หน้าและอีกข้างหนึ่งมุ่งที่ท้อง เป็นต้น การชกจะเป็นการพุ่งเข้าหาคู่ต่อสู้ด้วยหมัด 2 ข้างพร้อมกับต่อยออกไปในขณะเดียวกัน ใช้ได้ดีเม่ือ ค่ตู ่อสไู้ ม่ระมดั ระวังตัว 19) หมัดตวัด เป็นการตวัดหรือตบด้วยหลังหมัดและสันมืออย่างรวดเร็ว อาจจะเป็นท้ัง ระยะส้ันและระยะยาว ท้ังน้ีอาจใช้เมื่อชกผิดเป้าไปแล้วหรือตวัดออกมาโดยตรงก็ได้ ประสิทธิผล ค่อนข้างน้อย แต่สามารถทาลายจังหวะของคู่ต่อสู้ได้ และถ้าถูกตาของคู่ต่อสู้ก็สามารถเป็นประโยชน์ ตอ่ การต่อสู้ หมดั ตวดั นไ้ี ม่สามารถใช้ได้ในการชกมวยสากลสมัครเล่น 3.2. การเตะ มวยท่าเสามีชื่อเสียงมากในการเตะท่ีสวยงามและมีประสิทธิผลมาต้ังแต่ครั้งครู เมฆสอนมวยทีบ่ า้ นทา่ เสา แมก้ ระทั่งผสู้ บื สายของสานักท่าเสาก็มีชื่อเสียงในการเตะ เช่น ครูโพล้ง ครู ฤทธ์ิ ครแู พ ครูพลอย และครฉู ลอง เลย้ี งประเสรฐิ ตัวพระยาพิชัยดาบหักเองก็ได้เรียนจากครูเมฆและ ได้ใช้วิชาความรู้จากสานักมวยเท่าเสาในการต่อสู้ทุกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้ใช้ไม้เตะในการชกกับ นายถกึ ครหู ้าว และครหู มกึ จนคูต่ อ่ สูส้ ลบคาเวที ความรใู้ นการเตะจึงได้สืบทอดมาจนปัจจุบันนี้ 1) เตะตรงต่า เป็นการเตะผ่าหมากด้วยแข้ง สว่ นใหญจ่ ะมีเปา้ หมายท่ีทวารหนกั อวัยวะเพศ ท้องน้อย 2) เตะตรงสูง เป็นการใช้จมกู เท้าหรือส้นเท้าเตะเข้าเป้าหมายบริเวณล้ินป่ี หน้าอก คาง ใบหนา้ และถ้าค่ตู ่อสูเ้ สยี หลักหรอื ก้มตัวลงมา การเตะตรงด้วยแข้งจะเขา้ ที่หนา้ คอ ปาก คาง หนา้ อก ท้อง ฯลฯ ท้งั น้ีข้นึ อยู่กับจงั หวะและโอกาส 3) เตะเฉียง เป็นการเตะท่ีมวยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหักนิยมและชานาญ เป้าหมายอยู่ที่ชายโครงและปลายคางหรือก้านคอของคู่ต่อสู้ในการจดมวยซึ่งหน้า แต่ถ้าอยู่ด้านข้าง ของคตู่ ่อสู้ เปา้ หมายจะอยู่ท่ีท้อง ชายโครง หนา้ อก คาง และหนา้ หือแม้กระท่ังก้านคอด้านหลังของคู่ ต่อสู้ การเตะเลี้ยงต้องใช้การเตะเฉยี งเปน็ หลกั เท่าน้ัน 4) เตะเหวี่ยงหรือเตะตัด เป็นการเตะเป็นวงโค้งข้ึนแล้วจึงขนานกับพื้น ปัจจุบันนิยม การเตะตัดหรือเตะเหว่ียงเพราะการฝึกซ้อมกับกระสอบทรายทาให้การเตะเฉียงเจ็บแสบหน้าแข้ง จนเกินไป แต่การเตะเหว่ียงกระสอบทรายทาได้สะดวกมากกว่าและได้น้าหนักดีด้วย มวยไทยปัจจุบัน

317 จึงเป็นแต่การเตะเหว่ียงหรือเตะตัดแต่อย่างเดียว จนต่างชาติเข้าใจว่าการเตะในมวยไทยคือการเตะ เหวี่ยงเท่านั้น การเตะเหว่ียงหรือเตะตัดสามารถกระทาได้ในระดับต่างๆกัน คือ (ก) บน โดยมี เป้าหมายที่ใบหน้า ศีรษะ คอ ปลายคาง หน้าอก เป็นต้น (ข) กลาง โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ท้อง สีข้าง และโคนขา และ (ค) ลา่ ง โดยมเี ป้าหมายทีข่ าพบั และนอ่ งขาของคตู่ ่อสู้ 5) เตะสะบัด เป็นวิธีการเตะท่ียกเข่าข้ึนก่อนแล้วจึงสะบัดหรือดีดปลายเท้าออกอย่าง รวดเรว็ ถ้าไดฝ้ ึกหัดอยา่ งชานาญแล้วการเตะน้ีจะมีประสิทธิภาพมากและไม้เตะท่ีมวยท่าเสาใช้พิชิตคู่ ต่อสู้เป็นประจา อีกทั้งมวั ไปคดิ ว่าไม้เตะอยา่ งน้ีไม่มีพิษสง แต่แท้ที่จริงกลับจะเป็นอาวุธลับที่คาดไม่ถึง และมีความรวดเรว็ และฟาดเขา้ เป้าหมายอย่างรุนแรง ซึง่ เป้าหมายส่วนใหญ่จะอยู่ตั้งแต่สีข้างและท้อง ขึน้ ไปจนถงึ ก้านคอ การเตะสะบดั มจี ดุ แขง็ อกี อยา่ งหนง่ึ คอื การใชแ้ รงน้อยกว่าการเตะด้วยขาทงั้ ท่อน 6) เตะหลังเท้า เป็นการเตะเป็นวงออกไปด้านข้าง คือเท้าขวาวงออกด้านขวา เท้าซ้าย วงออกทางซ้าย โดยอาจเป็นการเตะทั้งขาหรือเป็นการเตะสะบัดก็ได้ จุดประสงค์หลักของการเตะ หลังเท้าก็เพ่ือเปิดการ์ดของคู่ต่อสู้ออกและสามารถเข้าทาได้สะดวกขึ้น หรืออาจจะเป็นการตบหน้าคู่ ตอ่ สูด้ ้วยหลังเทา้ ก็ได้ ถ้าผู้เตะมคี วามชานาญ การเตะอาจจะรนุ แรงกไ็ ด้ 7) เตะกลบั หลัง ซ่ึงปัจจบุ ันเรยี กวา่ จระเข้ฟาดหาง เป็นการหมุนตัวอย่างรวดเร็วและใช้ สันเท้าฟาดเข้าที่ คาง คอ ท้อง อก ฯลฯ ของคู่ต่อสู้ มวยไทยในอดีตจะไม่นิยมใช้ไม้นี้เพราะเป็นการ หันหลังให้คูต่ ่อสู้และเปิดจุดอ่อนให้คู่ต่อสู้ และไม่ถือว่าไม้น้ีเป็นของมวยพม่า มวยพระยาพิชัยดาบหัก จงึ ได้ถา่ ยทอดวธิ ีปอ้ งกนั ไมน้ ี้ไว้สาหรบั ต่อสกู้ บั พม่าโดยเฉพาะ 8) เตะครึง่ แขง้ หรือคร่งึ เขา่ เปน็ การเตะโดยงอเข่าเล็กนอ้ ยทาใหส้ ามารถเตะด้วยเข่าไปใน ตัวหากคู่ต่อสู้อยู่ประชิดตัวมากเกินไป การเตะคร่ึงแข้งคร่ึงเข่าปกติจะเข้าเป้าที่ท้องหรืออก เป็นการ สกดั คตู่ อ่ สูท้ ่ีพุ่งเขา้ มาและใช้เขา่ กันไว้ในตวั ด้วย 9) เตะเจาะ เป็นการเตะโดยการใช้จมูกเท้าเข้าหาเป้าหมายที่ท้อง หน้าอก กลางหลัง และชายโครงเป็นส่วนใหญ่ หากเตะเข้าปลายคางหรือใบหน้าก็อาจกลายเป็นการเตะสูงก็ได้ การเตะ เจาะนี้มีประสทิ ธิภาพมาก แต่นกั มวยไทยปจั จบุ นั ใช้ไม้เตะนี้ไมเ่ ป็นแลว้ 10) เตะตวดั กลบั ปกติเปน็ การเตะไปแลว้ ตวัดสน้ เท้ากลับเข้าหาคู่ต่อสู้ เป้าหมายจะอยู่ที่ ใบหน้า ซอกคอ อก ท้อง กลางหลัง ชายโครง และโคนขา นักมวยบางคนจะเตะตวัดกลับเข้าโคนขา หลังของคตู่ ่อสูเ้ วลาเข้ากอด ทาให้คตู่ ่อส้เู กดิ การขัดยอกท่ตี ้นขาและไม่สามารถใชข้ าไดอ้ ย่างเตม็ ที่ 11) เตะโขกและเตะตบ เป็นการเตะตรงสูงให้ผ่านหน้าคู่ต่อสู้ขึ้นไปแล้วโขกส้นเท้าลงบน หน้า ซอกคอ หรือไหปลาร้าของคู่ต่อสู้ สาหรับการเตะโขกบางคร้ังเป้าหมายอาจจะอยู่ที่อกหรือลิ้นปี่ ของคู่ต่อสู้ก็ได้ แต่ถ้าเป็นการเตะตบก็ใช้ฝ่าเท้าตบลงบนหน้า ซอกคอ และไหปลาร้าของคู่ต่อสู้แทน การโขกด้วยสน้ เท้า 12) เตะโค้ง คือการเตะโค้งขน้ึ สงู แล้งโค้งลงด้วยการกดเท้าลงอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดแรง กดกระแทกลงที่ก้านคอ ท้ายทอย ขมับ ฯลฯ บางคร้ังคู่ต่อสู้จะถูกกดลงมาพร้อมกับแข้ง จึงเรียกไม้ เตะนว้ี า่ เตะกด หรือ นาคาขนดหาง ดว้ ย 13) ตลี ังกาเตะ เปน็ การใชม้ ือยันพ้ืนและหกคะเมนตีลงั กาให้สน้ เท้า ข้อเท้า หรือแข้ง เข้า เป้าหมายท่ีหน้า ปลายคาง กกหู ซอกคอ หรือศีรษะของคู่ต่อสู้ ไม้นี้ใช้ได้ดีเม่ือคู่ต่อสู้ไม่ระมัดระวังตัว ตอ่ ผู้ใช้อาจไดร้ บั อันตรายได้ง่ายเชน่ กนั

318 14) กระโดดเตะ อาจจะเป็นการเตะเทา้ เดยี วหรอื สลับขาเตะทีละขาก็ได้ โดยขาท้ัง2 ข้าง อยู่บนพน้ื ดิน (ครูประสิทธ์ิ เลยี้ งประเสรฐิ มีช่อื เสียงในการกระโดดเตะสลับขา) การเตะน้ีเป้าหมายอยู่ ต้ังแต่ชายโครงและลาตวั ขน้ึ ไป 15) หมุนเตะตัวหรือเตะกงจักร เป็นการหมุนตัวเตะติดต่อกันหลายๆ ครั้ง โดยปกติ จะตอ้ งกระโดดข้ึนดว้ ย เพ่ือการหมุนตัวรวดเรว็ ย่ิงข้นึ 16) เหยียบเตะ โดยการเหยียบเข่า หน้าขา อก หรือชายพก ของคู่ต่อสู้เป็นฐานแล้ว กระโดดข้ึนเตะที่ก้านคอ ท้ายทอย ใบหน้า ปลายคาง ชายโครงหรือท้องของคู่ต่อสู้ พระยาพิชัยดาบ หกั ใชว้ ิธกี ารเหยียบคอต่อสู้เพื่อกระโดดข้ามศีรษะแล้วจึงเตะก้านคอของคู่ต่อสู้เม่ือลงมาถึงพ้ืนแล้วอีก ทีหนงึ่ ซึ่งเปน็ การประยุกต์ไม้เหยียบของสายท่าเสา 17) เตะเชลย คือเมื่อเตะไปแล้วถูกจับขาไว้แน่น ให้ใช้การถูกจับเป็นฐานแล้วกระโดด เตะด้วยเท้าอกี ขา้ งหน่ึง เปา้ หมายคือ ก้านคอ ท้ายทอย กกหู หน้า เปน็ ส่วนใหญ่ เมื่อเตะแล้วต้องคอย ระมดั ระวงั ตวั เพราะตัวอาจจะตกลงมาสพู้ ้ืนได้ 18) เตะคร่ึงท่อน มีลักษณะคล้ายกับการเตะสะบัด คือ เมื่อนักมวยยกเข่าค้างอยู่ก่อน แล้วสามารถเตะสะบัดหรือเตะดีดออกไป การเตะครึ่งท่อนน้ีไม่ค่อยมีประสิทธิผลเท่าที่ควร เพราะไม่ รนุ แรง แต่มีความรวดเรว็ เปา้ หมายส่วนใหญ่จะอยทู่ ใี่ บหน้า คาง กา้ นคอ ชายโครง ฯลฯ 3.3. การถีบ ไม้ถีบเป็นไมพ้ ื้นอกี ชนดิ หน่งึ ซึ่งมวยสายทา่ เสาและมวยสายพระยาพิชัย มีความ ถนดั เปน็ อยา่ งย่ิง แตไ่ ม่มกี ารบันทึกเป็นไม้เผด็จศึกเพราะโดยปกติจะถูกใช้นาไม้อ่ืนการเข้าคู่ต่อสู้ เช่น เตะ เข่า หรือต่อยตาม ทาให้คิดว่าไม้ถีบไม่มีความสาคัญแต่อย่างใด แต่ลูกศิษย์ของครูสงวน แสงชัย คนหน่ึงซง่ึ ฝึกมวยได้ไม่นานนักและถนัดการถีบแต่เพียงอย่างเดียว คือ สามารถถีบซ้าย-ขวาอย่าง คลอ่ งแคล่วและสามารถนอ็ กคตู่ อ่ สู้ดว้ ยลกู ถบี ได้ดังน้นั การฝกึ มวยของสายพระยาพิชัยดาบหักจึงเน้น ใชล้ ูกถีบในแนวทางตา่ ง ๆ ไดค้ รบถ้วน เพอื่ ให้เกดิ เป็นสญั ชาตญาณในการใช้ลูกถบี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิผล ทั้งใน กรณีการรุกและการรับ ไม้ถีบกลายเป็นไม้รับมากกว่าไม่รุก แต่นักมวยจะต้องฝึกท้ังรุกและรับด้วยไม้ ถีบใหจ้ งได้ การถบี สามารถแบง่ เป็นแนวทางตา่ ง ๆ ได้ ดังนี้ 1) ถบี จกิ คอื การถีบด้วยปลายเท้า (จมูกเท้า) ถ้าถีบเท้าหน้าจะไม่รุนแรง แต่จะทาให้คู่ ต่อสู้เสียจังหวะ ถ้าถีบด้วยเท้าหลังจะรุนแรงมากกว่า เป้าหมายส่วนใหญ่จะอยู่ที่โคนขา ท้องน้อย ทอ้ งอก และอาจสูงขึน้ ถงึ คอและหน้าได้ ไม้นี้สามารถใช้แก้ลูกเตะ ต่อย ศอก และเข่าของคู่ต่อสู้ได้ ด้วยเพราะสามารถทาได้อย่างรวดเร็วนั่นเอง 2) ถีบกระทุ้ง เป็นการถีบด้วยส้นซึ่งจะรุนแรงมาก โดยปกติจะใช้ส้นเท้าหลัง ในการถีบ ชนิดนี้ เป้าหมายจะอยู่ที่ท้องน้อย อก และปลายคาง ไม้ถีบกระทุ้งสามารถใช้ได้ท้ังในการรุกและการ รับ ทงั้ ยังมีประสทิ ธภิ าพสูงอีกด้วย 3) ถีบอัด เป็นการถีบด้วยส้นแต่มีเป้าหมายต่าลงจนบางครั้งดูเป็นการกระทืบไปเลย เปา้ หมาย ส่วนใหญ่จะอยู่ทข่ี า เขา่ ข้ึนมาจนถึงบริเวณท้องของคู่ต่อสู้ บางคร้ังการถีบลงสามารถใช้ฝ่า เทา้ และจมูกเทา้ ด้วย แต่ตอ้ งขึ้นอย่กู ับโอกาสและจงั หวะทใ่ี หก้ ารถีบนน้ั ได้ผลตามตอ้ งการ 4) ถีบข้าง เป็นการถีบออกไปข้างหน้าพร้อมกับพลิกตัวไปด้านข้างเพ่ือให้อาวุธยาวขึ้น และตัวนกั มวยอยหู่ า่ งจากคตู่ ่อส้มู ากข้ึน การถีบนี้จะเป็นการถีบโดยการใช้สันเท้าด้านนอกเข้ากระทบ

319 เป้าหมายและขนานไปกับพื้นไม้นี้มีประสิทธิภาพรุนแรง เพราะโดยปกติถีบโดยเท้าหลังมากกว่า ไม้น้ี สามารถถีบเข้าท่ีใบหน้า คาง คอ หน้าอก ลิ้นปี่ ท้อง และขา แต่ถ้าใช้เท้าหน้าถีบซึ่งเป็นการแก้มวย ส่วนใหญ่จะถีบตา่ กว่าเท้าหลัง เชน่ ท้อง หน้าอกและขา เปน็ ต้น 5) ถบี ตบ เป็นการถีบสงู แลว้ ใชฝ้ า้ เท้าตบลงมายงั ใบหนา้ ซอกคอ หรอื ไหปลาร้าของคู่ ต่อสู้ โดยปกตินยิ มตบลงตรงๆมากกว่าตบเฉยี งๆเพราะได้น้าหนักมากกว่า 6) ถีบแกมเตะ เป็นวิธกี ารถีบโดยเฉพาะของสายพระยาพิชยั ดาบหัก คือ การเตะออกไป เข้าหาเป้าหมายทอ่ี ยหู่ ่างเกินระยะการเตะเลก็ น้อย เมอื่ เกอื บถึงเป้าหมายใหถ้ บี ออกไปจากการเตะใน ขณะเดียวกัน การถีบจากการเตะน้ีจงึ รวดเรว็ รนุ แรง มีประสทิ ธผิ ลสูง เพราะได้ท้ังแรงเตะและแรงถีบ ในตวั มนั เอง 7) ถีบต่อเขา่ คือ นกั มวยได้ตีเขา่ ไปแลว้ และยังไมไ่ ด้เอาเข่าลง นักมวยสามารถถีบต่อได้ ทันที เช่น เมื่อคู่ต่อส้ถู อยออกไปพ้นระยะประชิด การถบี ชนดิ น้ีควรใช้สปริงของขาหลงั ช่วยด้วยจึงจะ ได้ผลดีข้ึน 8) การถีบตอ่ เตะ คือ การท่ีได้เตะไปแลว้ และไดเ้ อาขาลง (ข้างหนา้ ) มาบา้ งแล้ว นกั มวย กส็ ามารถใช้ขาขา้ งเดยี วกนั นั้นถีบติดต่อไปไดท้ ันที เพื่อทาลายจงั หวะของค่ตู ่อสู้ซึง่ พยายามเขา้ ประชดิ ตัวและควรใชส้ ปรงิ ขาหลังชว่ ยในการถบี คร้งั น้ีด้วย 9) ถีบกลับหลัง หรือม้าดีด หรือ กวางเหลียวหลัง เป็นการถีบด้วยสันเท้าหรือส้นเท้า ออกไปข้างหลัง และเม่ือถีบต้องมองคู่ต่อสู้ด้วยเพื่อมิให้ถีบพลาด ลูกถีบนี้ผู้ถีบจะต้องฝึกความรวดเร็ว ในการหนั หลังและถบี กลบั หลงั โดยอาจยนื ถบี ปกติ หรือมือท้งั สองข้างยันพื้นแล้วถีบด้วยขาข้างใดข้าง หนึ่งท่ถี นัด และหนา้ ต้องหนั เข้าหาคู่ตอ่ สู้เสมอ 10) โดดถีบ เป็นการกระโดดเหยียดขาเข้าถีบคู่ต่อสู้ด้วยจมูกเท้า ส้นเท้า หรือสันเท้า เพ่ือให้ถูกเป้าหมายท่ีคาง คอ หน้าอก ล้ินปี่ ท้อง ฯลฯ ไม้น้ีจะมีความรุนแรงมากย่ิงข้ึนถ้าคู่ต่อสู้ติด เชอื กหรือไม่มีทางกระเด็นไปตามแรงถีบ 11) ถีบคู่ เป็นการกระโดดเหยียดขาท้ังสองข้างเข้าหาคู่ต่อสู้ โดยมีเป้าหมายที่หน้า คอ อก และท้องของคู่ต่อสู้ แต่นักมวยต้องฝึกหัดการลงให้ดี เพราะอาจตกลงมาสู้พ้ืนด้วยท่าที่ไม่งดงาม และเกิดการบาดเจ็บข้ึนมาได้ อย่างไรก็ดี การถีบคู่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมกันนักในการฝึกมวยไทย ทาให้ บางคนคดิ ว่ามีแต่มวยปลา้ เท่านัน้ ทจ่ี ะใชว้ ิธกี ารถีบคใู่ นการตอ่ สู้ 12) ถีบหลอก เป็นการยกเทา้ ข้นึ ทาท่าจะถีบแต่ไม่ถีบ ต่อเม่ือคตู่ ่อสไู้ มร่ ะมดั ระวงั กร็ บี ถบี เข้าไปทันที นักมวยบางคนชานาญในการถบี สามารถยกเทา้ ขวาขน้ึ วนเวียนหลอกล่อกอ่ นเลอื กจุดที่ ตอ้ งการจะถีบด้วยซ้าไป ท้ังน้ีนกั มวยน้นั จะต้องมี “ชัน้ ” สูงกวา่ อีกฝา่ ยหนงึ่ มาก 13) ถีบยัน เป็นการใชฝ้ า่ เท้าหรือปลายเท้าดันหรือยันคู่ต่อสู้ให้ออกไปจากระยะประชิด เป็นการทาลายจังหวะและป้องกันมากกว่าเข้าทา นักมวยบางคนจะเอาฝ่าเท้าวางไว้บนตัวคู่ต่อสู้ซ่ึง ชอบชกวงใน เพ่ือมิใหเ้ ข้าใกล้ เมื่อคู่ต่อสู้จะบุกเข้ามาก็ถีบยันหรือถีบดันให้ออกไปเสีย เม่ือคู่ต่อสู้เผลอ กส็ ามารถเขา้ ทาไดท้ นั ที 14) เดินถีบ คือการเข้าถีบคู่ต่อสู้ด้วยเทาข้างหนึ่งจนคู่ต่อสู้ถอยไปหรือกระเด็นออกไป นักมวยก็วางเท้าท่ีถีบลงข้างหน้าแล้วตามถีบด้วยเท้าอีกข้างหนึ่งต่อไป เป็นการเดินหน้าถีบอย่าง ต่อเนือ่ งจนคู่ตอ่ สู้หมดทางสู้ หากถีบหนัก ๆ และรวดเร็วเปน็ จักรผนั คูต่ อ่ สู้อาจถกู น็อกไดเ้ สมอ

320 3.4. การตีเข่า นักมวยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก หลายคนในอดีตมีเช่ือเสียง มากในการใชเ้ ขา่ แต่เน่ืองจากมชี ่อื เสียงโดง่ ดงั ในการเตะ ถีบ ศอก หรอื หมดั อยูแ่ ล้ว จึงทาให้ชื่อเสียง ในการใช้เข่าถูกบดบังไป อย่างไรก็ดี นักมวยสายพระยาพิชัยดาบหักทุกคนจะต้องฝึกฝนทุกอย่างจน ครบถว้ นเสียกอ่ น มฉิ ะนั้น ครูอาจารย์จะไม่ประกอบพิธีครอบครูให้ จึงไม่เป็นที่ประหลาดใจเท่าใดนัก ท่ีมวยสายพระยาพิชัยดาบหักไม่ค่อยได้ครอบครูลูกศิษย์มากมายนัก เพราะครูอาจารย์ยังเห็นว่ายัง เรียนได้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์นั่นเอง ย่ิงกว่าน้ันผู้ฝึกมวยจะต้องฝึกหัดและเรียนแนวทางการใช้อาวุธให้ มากที่สุดเท่าที่จะเปน็ ไปได้ ดังเชน่ พ้ืนไมเ้ ขา่ ซง่ึ มแี นวการใชม้ ากมายหลายแนวดังนี้ 1) เข่าตรงหรือเข่าโทน เป็นการตีเข่าในแนวตรงขึ้นมาหาเป้าหมายซึ่งอยู่ในระยะ “มือ ถึง เข้าถึง” เป้าหมายอยู่ท่ีท้องน้อย ท้อง ล้ินปี่ หน้าอก และคาง หากคู่ต่อสู้อยู่ใกล้ตัวมากเกินไป ให้ ชกั ขาหลังออกไปดา้ นหลังซักครึ่งก้าวก่อนกระชากเข่าตีข้ึนตรงไปยังเป้าหมาย เข้าตรงหรือเข่าโทนจะ มีน้าหนกั มากเพราะใชน้ ้าหนักตวั โยกไปข้างหลังเลก็ น้อยเปน็ การเพิ่มแรงใหแ้ ก่เขา่ 2) เขา่ เฉยี ง เป็นการตีเข่าในแนวเฉยี ง เชน่ เข่าขวาเฉยี งไปทางซ้าย และเข่าซ้ายเฉยี งไป ทางขวา เป้าหมายเชน่ เดียวกับเข่าโทน แตเ่ พิ่มสขี ้างเข้าไปในเปา้ หมายอีกอย่างหนงึ่ นักมวยสามารถตี เขา่ เฉยี งจากตาแหน่งตง้ั มวยหรือจากการย่างออกข้างแลว้ ตีเข่าเฉียงเข้าหาค่ตู ่อสู้ก็ได้ 3) เขา่ โคง้ เป็นการตีเข่า โดยการบดิ สะโพกให้เข่าลอยโค้งข้ึนแล้วโค้งลงปะทะเป้าหมาย ที่ชายโครง ท้อง ล้ินป่ี หน้าอก และคาง นักมวยเมืองเหนือจะถนัดในการใช้เข่าโค้ง เพราะสอดคล้อง กับวัฒนธรรมของการใช้เข่าตีกลองสะบัดชัย และสามารถน็อกคู่ต่อสู้ด้วยเข่าโค้งจนเป็นที่ยอมรับกัน ท่วั ไป 4) เข่าเหว่ียงหรือเข่าตัด เป็นการตีเข่าขนานพ้ืนโดยเข่า ขา และเท้าเป็นเส้นตรงขนาน พ้ืนและเข่าสู่เป้าหมายท่ีท้อง สีข้าง ลิ้นป่ี และหน้าอกเป็นส่วนใหญ่ อาจกล่าวได้ว่าการใช้เข่าเหว่ียง ก็คือการเตะเหวี่ยงด้วยเข่านั่นเอง ผู้ที่ชานาญการใช้เข่าเหว่ียงจึงสามารถใช้อาวุธชนิดนี้อย่างมี ประสทิ ธิภาพและไดผ้ ลเป็นอยา่ งดี 5) เข่าเหน็บหรือเข่าหยอกนาง เป็นการใช้ข้างเข่าตีชายโครง ลาตัว หรือหลังของคู่ต่อสู้ เขา่ ชนิดนี้ไม่ค่อยมีประสิทธภิ าพและเป็นการแสดงรปู มวยมากกวา่ มงุ่ ประสทิ ธผิ ล 6) เข้าซอย คอื การเอาส่วนแหลมของเข่าตีขาหรือท้องหลายๆที เป็นการรบกวนคู่ต่อสู้ แต่ในบางกรณกี ็สามารถทาให้กลา้ มเน้อื ขาเคลด็ ยอกไดเ้ หมือนกนั 7) คร่ึงเขา่ คร่งึ แขง้ คอื เปน็ การตีเขา่ ทไี่ มง่ อเขา่ มากเกนิ ไป โดยต้ังใจตะตีเข่าหรือเตะก็ได้ หากเข้าชดิ กจ็ ะโดนเข่าหรือหากอยู่ห่างก็จะโดนแข้ง ครึ่งเข่าครึ่งแข้งหรือครึ่งแข้งคร่ึงเข่านี้รุนแรงและ สามารถพิชติ ค่ตู ่อสู้ได้เช่นกนั 8) เข่ากด คือ การยกเข่าข้ึนสูงและกระแทกเข่าลงสู่เบ้ืองล่างโดยมีเป้าหมายอยู่ท่ี หนา้ อก ลน้ิ ปแี่ ละทอ้ ง การกดอกและเฉยี งลงจะไดผ้ ลรุนแรง แตป่ ัจจบุ นั นักมวยไทยใช้ไม้นไ้ี มเ่ ป็นแลว้ 9) เข่าฉุด เป็นการใช้มือกระชากคอ ไหล่ หรือศีรษะลงมาหรือกระชากแขนหรือขาเข้า มาพร้อมกับตีเข่าสวนข้ึนไปหรือออกไป แต่บางคร้ังก็เป็นเพียงแต่ใช้มือโหนไว้แล้วตีขึ้นไป ซ่ึงเป็นการ อาศัยแรงเพียงเล็กนอ้ ยในการโหนและป้องกนั มิให้เป้าหมายเคลื่อนที่ เช่นน้ีเรยี กว่า เขา่ โหน 10) เข่ายอหรือเข่าเด้ง เป็นการกดหรือการแตะคู่ต่อสู้เอาไว้เล็กน้อยเพ่ือใช้เป็นหลักใน การเด้งตัวขึ้นตีเข่า การกดหรือแตะที่ไหล่จะได้ผลมากกว่าการกดหรือแตะท่ีส่วนอื่นของร่างกาย

321 นกั มวยบางคนถนดั งานการกดเข่าแล้วเอียงตวั ลงตีเข่าข้ึนสูง โดยมเี ปา้ หมายท่ีหน้า คอ หรือคาง การตี เข่าเชน่ น้เี รียกว่า เข่าคว่าหรอื เขา่ ผัน 11) เข่าโจน เป็นการกระโดดขนึ้ ตีเข่าเข้าปลายคาง หน้าอกหรือท้องของคู่ต่อสู้ เข่านี้จะ ได้ผลเม่ือคู่ต่อสู้ไม่ระมัดระวังตัว เข่าโจนส่วนใหญ่จะเกิดเมื่อคู่ต่อสู้เสียหลักและอยู่ในระยะห่าง นกั มวยจะว่ิงแล้วกระโดดเขา้ ตีเขา่ จงึ มีนา้ หนักตัวและความเร็วเพม่ิ เขา้ ไปในเขา่ น้ี 12) เข่าลอย มีลักษณะคล้ายเข่าโดด แต่ไม่มีการวิ่งเข้าหาคู่ต่อสู้ ส่วนใหญ่จะเกิดใน ระยะการตั้งมวยปกติ นักมวยจะเด้งตัวลอยขึ้นตามแนวตรง โดยมีเป้าหมายของเข่าลอยอยู่ที่คางและ หน้าอกมากกว่าท้อง เข่าลอยและเข่าโดดจะต่างกันท่ีมุมของการตีเข่า คือ เม่ือโดดพุ่งไปข้างหน้าก็จะ เป็นเข่าโดดหรือเข่าโจน แต่ถ้าโดดข้ึนตีตรง ๆ ก็จะเป็นเข่าลอย ปัจจุบันเข่าทั้ง 2 ชนิดเกิดสับสน ปนเปและอาจเรยี กสลบั กันไปมาจนว่นุ วาย 13) เข่าพุ่ง เป็นการตีเข่าโดยการงอเข่าให้แหลมและเอนตัวไปทางหลังเพื่อให้เข่าแหลม ขนึ้ และยาวขึ้น เขา่ พุ่งนีใ้ ช้สาหรบั คูต่ อ่ สทู้ ีพ่ ุ่งเขา้ มาอย่างรวดเรว็ หรือเมื่อตัวนักมวยพุ่งเข้าหาคู่ต่อสู้ก็ได้ โดยปกตเิ ป้าหมายของเข่าพงุ่ คือ หนา้ อกและท้อง แต่อาจจะสูงถงึ คางกไ็ ด้ 14) เข่าเหยียบ เป็นการเหยียบคู่ต่อสู้และตีเข่าที่หน้า ศีรษะ คอ กกหู ปลายคาง และ หน้าอกเป็นส่วนใหญ่ แต่บางคร้ังอาจจะเหยียบตีเข่าได้แค่ท้องหรือสีข้างเท่าน้ัน อวัยวะของคู่ต่อสู้ท่ี อาจจะใช้เป็นฐานของการเหยียบคือ เข่า ต้นขา และชายพก บางครั้งอาจเหยียบถึงไหล่ก็ได้ อย่างไร กด็ ี การเหยยี บนี้มใิ ชเ่ ป็นการเหยียบดว้ ยน้าหนักตวั ท้ังหมด แต่เป็นการกระโดดข้ึนสะกิดเพียงเล็กน้อย เทา่ นัน้ และเป็นการเหยยี บอยา่ งรวดเร็วและไม่เตม็ เท้า 15) เข่าคู่ เป็นการตีเข่าท้ังสองข้างพร้อมกัน โดยอาจจะวิ่งกระโดดลอยตัวโดยเข่าทั้งคู่ เข้าหาคู่ต่อสู้ หรืออาจโหนคู่ต่อสู้แล้วกระโดดตีด้วยเข่าคู่ หรืออาจกดหรือแตะคู่ต่อสู้แล้วเด้งตัวขึ้นตี เขา่ คู่ บางคนสามารถตีเข่าลอยด้วยเข่าคู่ด้วยซ้าไป เป้าหมายของเข่าคู่ท่ีอยู่ที่ท้อง หน้าอก หรือปลาย คางของคู่ต่อสู้ ปัจจุบันนักมวยไทยไม่นิยมใช้เข่าคู่เพราะการกระโดดข้ึนทั้งสองขาจะทาให้ขาด หลักการยืน และการไม่ได้ฝึกฝนเข่าคู่ทาให้ขาดความชานาญและทาให้การใช้ไม้เข่าคู่ขาด ประสิทธิภาพอย่างน่าเสียดาย 16) เข่าเก่ียว เป็นการตีเข่าออกทางข้างตัว เช่น เม่ือคู่ต่อสู้บุกเข้ามา ตัวนักมวยย่าง เปลี่ยนเหล่ียมไปทางขวาพร้อมกับตีเข่าซ้ายเก่ียวคู่ต่อสู้เอาไว้ โดยมีเป้าหมายอยู่บริเวณท้อง หน้าอก หรือคาง บางครั้งอาจเรียกเข่าเกี่ยวนี้ว่า เข่าซุ่ม (ตีทัพ) เพราะเป็นการทาให้คู่ต่อสู้หลงเข้ามาติดกับ แล้วดักตี 3.5. การศอก นักมวยไทยสายท่าเสาและสายพระยาพิชัยดาบหัก มีช่ือเสียงนอกจากการ เตะและการถีบแล้ว ยังมีชื่อเสียงเก่ียวกับการใช้ศอก นักมวยในสมัยก่อนปี 2500 ต่างระมัดระวังเท้า และศอกของนักมวยจากอตุ รดิตถ์ เพราะความรวดเร็วในการใช้เท้าและศอกของนักมวยเหล่านี้ ซึ่งถ้า ไม่ถูกเตะสลบคาเท้าก็ต้องเลือดแดงท้ังตัวเพราะฤทธ์ิ “ศอกอุตรดิตถ์” แต่เน่ืองจากการเตะมี ประสิทธิผลมาก ชือ่ เสียงของการเตะจึงบดบังช่ือเสียงของพื้นไม้อ่ืน ๆ เช่น การถีบ การศอก การต่อย หรือเข่าไปจนหมดสิ้น ในอดีตนักมวยท่ัวไปจะรู้จักศอกอุตรดิตถ์และยกย่องมวยไทยสายท่าเสาและ มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหักว่ามีความชานาญในการใช้ศอกท่ีมีประสิทธิภาพและไม่เหมือนใคร

322 อย่างไรก็ดี นักมวยสายพระยาพิชัยดาบหักต้องฝึกหัดไม้ศอกทุกชนิดเพื่อให้เกิดความชานาญจน สามารถใชไ้ ม้ศอกตามสญั ชาตญิ าณในทกุ สถานการณ์ ศอกเหลา่ น้ีได้แก่ 1) ศอกตัด เป็นการตีในลักษณะขนานพ้ืน และถ้าใช้พลังไหล่ลาตัวเข้าช่วยด้วยแล้ว ศอกชนิดนี้จะมีความหนักหน่วงมาก เป้าหมายของศอกอาจอยู่ที่ใบหน้า คาง คอ หน้าอก ชายโครง ลิ้นป่ี ฯลฯ ในอดีต นกั มวยจากโคราชใช้ศอกชนดิ นี้อย่างได้ผล จึงเรยี กศอกชนิดน้วี ่า “ศอกโคราช” 2) ศอกเฉียง เป็นการตีขึ้นแนวเฉียงประมาณ 80 องศา โดยปลายน้ิวไปทางขมับอีก ด้านหนึ่ง และท่อนแขนจะปิดหน้าในขณะเดียวกัน การตีศอกเฉียงจะเป็นไปตามแนวการแกว่งแขน ตามธรรมชาตขิ องคน แต่ตอ้ งเพมิ่ แรงกระตุกเข้าไปท่ีศอก เพ่ือให้เกิดความรวดเร็วและหนักหน่วงมาก ขึ้น นักมวยไทยสายอุตรดิตถ์สามารถใช้ศอกชนิดน้ีได้ดีกว่าที่อ่ืนๆมากจึงเรียกศอกชนิดนี้ว่า “ศอกอุตรดติ ถ”์ 3) ศอกโคง้ เปน็ การตศี อกในแนวโคง้ ขึ้นและโคง้ ลงอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่มีเป้าหมาย อยู่ที่ ศีรษะ ใบหน้า กกหู คาง ฯลฯ บางคร้ังเมื่อศอกโค้งลงอย่างเร็วและหนักหน่วง ทาให้เกิดความ เขา้ ใจคดิ ว่าเปน็ ศอกเฉียงลง (ศอกเฉียงลงจะไมม่ ีการตลี งอย่างเด็ดขาดเพราะเป็นการเปิดช่องให้คู่ต่อสู้ โจมตไี ด้ อนั เปน็ การขดั ต่อหลักของศอกเฉียง) นักมวยเมอื งเหนือสามารถใชศ้ อกน้ีได้อย่างสวยงามและ ได้ผล เพราะวัฒนธรรมเหนือมีการตีกลองสะบัดชัยด้วยศอกโค้ง ศอกชนิดนี้ในอดีตจึงถูกเรียกว่า “ศอกเหนอื ” 4) ศอกเสยหรือศอกงัด บางคร้ังจะเรียกว่าศอกทัดดอกไม้ หรือศอกทัดมาลา เป็นการตี ข้ึนตามแนวตรงโดยปลายนิ้วจะมุ่งไปใกล้หูข้างเดียวกับแขนท่ีใช้ศอกตี เป้าหมายของศอกชนิดนี้ส่วน ใหญ่อยู่ที่ใบหน้า คาง และล้ินป่ี เนื่องจากนักมวยจากภาคกลางสามารถใช้ศอกชนิดน้ีดีกว่านักมวย จากภาคอ่นื ๆ และกลา่ วกันวา่ เปน็ ไปตามตารามวยของอยธุ ยา ศอกชนดิ น้ี จึงเรยี กวา่ “ศอกอยธุ ยา” 5) ศอกกดหรอื ศอกล่าง เป็นการใช้ศอกในระยะประชิดเม่ือคู่ต่อสู้กอดเอว ให้ใช้ศอกกด ลงแล้วตีจากซา้ ยไปขวาหรือขวาไปซา้ ยหลายๆ ครั้ง เปา้ หมายอยบู่ ริเวณ คอ หัวไหล่และหลัง บางครั้ง เมื่อไม่สามารถขยบั ตไี ด้ให้ใชค้ วามแหลมของศอกกดลงบนหัวไหล่ ไหปลาร้า หรือคอแรง ๆ กไ็ ด้ 6) ศอกถอง คือการตีศอกในลักษณะศอกต้ังตรงลงมาสู้เป้าหมายเบ้ืองล่าง นักมวย จะตอ้ งยกศอกขน้ึ สงู กอ่ นกระแทกศอกลงมา โดยศอกจะงอเกิน 90 องศาไม่ได้ หากศอกงอมากเกินไป กระดูกท่ีศอกจะบดบังด้วยกล้ามเน้ือ ทาให้กระดูกไม่ถูกเป้าหมายซึ่งมีศีรษะ ใบหน้า ไหปลาร้า และ ไหลเ่ ปน็ เป้าหมายสาคญั บางคร้ังจะใช้กบั ขา อก หลัง หรอื ชายโครงของคูต่ อ่ สู้ด้วยเมือ่ โอกาสเปดิ ให้ 7) ศอกจามหรอื ศอกสบั เปน็ การฟาดท่อนแขนท่ีใกล้กับศอกลงไปยังคู่ต่อสู้ที่อยู่ต่าลงไป หรอื เฉยี งลง เชน่ เมอื่ ตีศอกเฉยี งไปแลว้ สามารถใช้ศอกจามกลับมาอีกทีหนึ่ง ศอกจามน้ีสามารถใช้กับ เปา้ หมายทท่ี า้ ยทอย กกหู คอ ใบหนา้ ไหล่ ต้นแขน แขน ขา ชายโครง ฯลฯ ศอกชนิดนี้ได้หายไปจาก วงการมวยไทยปัจจุบัน แตม่ วยสายพระยาพชิ ยั ดาบหกั เคยใชศ้ อกนไี้ ดผ้ ลมาแลว้ จึงควรอนุรักษ์เอาไว้ 8) ศอกตงั้ เปน็ การต้ังศอกในแนวตรงแล้วเกร็งแขนไว้ พร้อมกับใช้นา้ หนักตัวพงุ่ เข้าหาคู่ ตอ่ สู้ โดยปกตจิ ะเปน็ การแก้ไมม้ วยมากกวา่ การเขา้ ทา แต่เมื่อศอกกระทบตัวคู่ต่อสู้แลว้ อาจใชไ้ ม้อ่นื ตามไปกไ็ ด้เม่อื คู่ต่อสเู้ สยี หลกั หรือเปดิ ชอ่ งวา่ งให้

323 9) ศอกพุ่ง คือ เป็นการงอศอกหรือหักศอกให้แหลมอย่างรวดเร็วแล้วใช้น้าหนักตัวพุ่ง เข้าหาคู่ต่อสู้ เป็นไม้รุกและรับได้ท้ังนั้น เป้าหมายของศอกน้ีอยู่ท่ีใบหน้า คาง อก คอ ไหล่ เป็นส่วน ใหญ่ โดยปกตศิ อกนจ้ี ะใช้กับศอกหลัง 10) ศอกปลาหมอแถกเหงือก เป็นการยกศอกให้สูงกว่าหมัดของคู่ต่อสู้ในแนวขนาน หรอื ศอกสูงกวา่ ไหลเ่ ลก็ น้อย แลว้ กดศอกเขา้ สู่เปา้ หมายในระยะประชิดอย่างรุนแรง การแถกทีละข้าง โดยปกตศิ อกหลงั จะได้ผลมากกวา่ ศอกหน้า เพราะมรี ะยะใหศ้ อกเรง่ ความเร็วเข้าหาเป้าหมายได้ ปกติ เป้าหมายจะอยู่ที่ คาง ใบหน้า กกหู คอ เป็นส่วนใหญ่ ศอกชนิดน้ีนักมวยสายไชยามีความถนัดใน การใช้ ในอดีตจงึ เรียกศอกน้วี ่า “ศอกไชยา” 11) ศอกเข็ม มีลักษณะคล้ายปลาหมอแถกเหงือก แต่ไม่ยอกศอกขึ้นสูง เพียงแต่กาง ศอกออกเล็กน้อยข้างลาตัวและตีคู่ต่อสู้ในระยะประชิด เป้าหมายอยู่ท่ีชายโครง รักแร้ ล้ินปี่ หรือ หน้าอก แต่การตีต้องพยายามเอาจุดแหลมของศอกเข้าเป้าหมายให้มากที่สุดเท่าที่จะกระทาได้ บางครัง้ เป้าหมายอาจอยู่ท่แี ขนของคตู่ ่อสู้กไ็ ด้ ถา้ สามารถใชน้ า้ หนักตัวเขา้ ชว่ ยด้วย 12) ศอกกระแทก เป็นศอกระยะประชิดอีกชนิดหน่ึง แต่ไม่ใช้ความแหลมของศอกเข้า เป้าหมาย คือ เพียงแต่ใช้ท่อนแขนและศอกด้านบนกระแทกคู่ต่อสู้ โดยเป้าหมายอยู่ที่ท้อง หน้าอก และชายโครงเปน็ หลัก ศอกชนดิ นีอ้ าจจะไมร่ ุนแรง แตถ่ ้าใช้นา้ หนักตัวเข้าชว่ ยคตู่ อ่ สู้อาจจกุ 13) ศอกเฉือน เป็นการตีศอกแล้วกระชากศอกไปมาคล้ายกับการเลื่อยไม้ เพ่ือเปิด บาดแผลของคู่ตอ่ สหู้ รอื เพอ่ื ให้คู่เกดิ ความเจบ็ ปวด เช่น เฉือนศอกที่บริเวณลาคอไปมาอาจทาให้คู่ต่อสู้ บาดเจบ็ และหมดแรงได้ ถ้าเฉอื นถกู ลกู กระเดอื ก อนั ตรายก็ยงิ่ เพิ่มข้นึ 14) ศอกเช็ด เปน็ การตีศอกโดยให้หมัดหงายออก ใชใ้ นลกั ษณะเดยี วกบั ศอกเฉอื น 15) ศอกกลับ เป็นการตีกลับจากทิศทางปกติของศอก ศอกกลับสามารถใช้กับใน แนวทางของศอกโค้ง ศอกเฉียง ศอกเหว่ยี ง ศอกเสย ศอกกด ศอกปลาหมอแถกเหงือก (เรียกว่า ศอก เงี่ยงปลาดุก) ศอกเข็ม รวม 7 แนวเป็นอย่างน้อย ถ้ามีการหมุนตัวเพ่ือตีศอกกลับจะได้น้าหนักและ ความรุนแรงเพ่ิมขึ้น ในอดีตศอกกลับจะใช้เม่ือนักมวยต่อหรือเตะพลาดไปแล้วและคู่ต่อสู้อยู่ข้างตัว จึงรบี ใช้ศอกกลบั และเอนเข้าไปหาคตู่ ่อสู้ จึงเรียกไม้ศอกกลบั วา่ “ไม้พงิ ” 16) ศอกคู่ เป็นการตีศอกสองข้างพร้อมกัน อาจจะตีขึ้นหรือลงก็ได้ ศอกคู่ข้ึนใช้ได้ดีใน ลกั ษณะศอกเฉียงและศอกเสย สว่ นศอกคลู่ งจะใช้ในลักษณะของศอกถอง ศอกเฉียง และศอกสับหรือ ศอกจาม พระยาพิชัยดาบหักได้เคยใช้ศอกคู่ในการต่อสู้กับครูห้าวท่ีเมืองตาก โดยการเหยียบชายพก ครูห้าวข้ึนไปตีศอกคู่ที่ศีรษะครูห้าวก่อนตีลังกาข้ามศีรษะไปทางด้านหลังครูห้าว เม่ือถึงพ้ืนก็เตะซ้าย ขวาเข้าปากครึ่งจมูกและขากรรไกรครูห้าวจนสลบคาที่ นอกจากจมูกจะฉีกและฟันหัก 2 ซี่แล้วจาก การถูกเตะแลว้ ครูหา้ วยงั ไดแ้ ผลบนศรี ษะอกี 1 แหง่ จากศอกคู่ของพระยาพิชัยดาบหักอีกด้วย หากนับ แนวทางการใชศ้ อกคทู่ ีไ่ ดก้ ลา่ วไปแล้วก็จะมกี ารใชศ้ อกคูอ่ ยา่ งไดผ้ ลอยปู่ ระมาณ 5 แนว มีข้อสังเกตอยู่หลายประการเก่ียวกับการใช้ศอก คือ (1) ถ้านับแนวทางการใช้ศอกกลับและ ศอกคู่ท่ีได้เขียนไว้ในแต่ละแนวเป็นหน่ึงอย่าง ศอกที่ได้เขียนถึงจะมีถึง 26 อย่างหรือแนวด้วยกัน (2) มวยสายพระยาพชิ ยั ดาบหักจะคลายหมดั ออก คือ ไม่กาหมัดแน่นเวลาใช้ศอก เพราะการกาหมัดแน่น จะทาใหก้ ล้ามเน้ือใหญข่ ้นึ มาบดบังกระดกู ศอก ทงั้ ยังทาให้ระยะการตศี อกสั้นลงและน้าหนักของการตี ศอกลดลงอีกด้วย (3) การตีศอกเป็นเอกลักษณ์พิเศษของมวยไทย ไม่มีศิลปะป้องกันตัวของชาติใดท่ี

324 ให้ความสาคญั หรือมีความชานาญในการใช้ศอกเท่ามวยไทย (4) ศอกเป็นพื้นไม้ท่ีมีอันตรายมาก หาก ฝึกหัดให้เชี่ยวชาญในทุกแนวทางท่ีได้เขียนไว้ นักมวยสามารถจะเรียกเลือดและพิชิตคู่ต่อสู้ได้เสมอ ปจั จุบันนกั มวยใช้ศอกไม่เป็นและไม่มีประสิทธิภาพ นักมวยส่วนใหญ่จะใช้แต่ “ศอกโคราช” และ (5) ศอกเฉียง เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของมวยอุตรดิตถ์ นักมวย สายอุตรดิตถ์จึงควรหัดพื้นไม้นี้ให้ชานาญ แตต่ อ้ งหดั การใชศ้ อกในแนวอืน่ ๆ ด้วย 3.6. การใช้ศีรษะ เพ่อื มใิ ห้นวอาวุธขาดหายไป จึงจาเป็นต้องกล่าวถึงการใช้ศีรษะเป็นพื้นไม้ ในการต่อสอู้ กี ชนิดหนึ่ง ปัจจบุ นั ได้มกี ารห้ามใช้ศีรษะในการชกมวยไทย แต่ในแง่ของศิลปะป้องกันตัว แล้วนักมวยไทยควรจะได้เรียนรู้เอาไว้บ้างและคนไทยควรจะเข้าใจว่า สิ่งน้ีเคยเป็นส่วนหน่ึงของมวย ไทย มิฉะน้ัน ในอนาคตการใช้ศีรษะอาจถูกอ้างว่าเป็นศิลปะป้องกันตัวของชนชาติอื่น ทั้งท่ีสิ่งเหล่านี้ เปน็ ไทยแทแ้ ต่โบราณเลยทีเดียว ผู้เขยี นต้องการจะอนุรกั ษส์ ่งิ เหลา้ นี้ไว้ จงึ ขอเขียนแนวทาง การใช้พ้ืน ไมน้ ้ี ดงั นี้ 1) หวั พุ่งหรือตอร์ปิโดบก หรือ ไม้ฤๅษีมุดสระ เป็นการวิ่งเข้าหาและกระโจนเอาหัวพุ่งใส่ ท้องหรือลิ้นป่ีเพ่ือให้คู่ต่อสู้จุกและหมดสภาพไป ท้ังนี้เพราะคู่ต่อสู้ไม่ระมัดระวังตัวหรือคาดไม่ถึง การพงุ่ เขา้ ชนลาตวั นี้ ลาตวั ตอ้ งขนานพ้นื และหนา้ อยู่ด้านลา่ ง เพ่อื จะสามารถใชข้ าและแขนยันพ้ืนเม่ือ ตกลงสู่พื้นดิน ไม้หัวพุ่งนี้นักมวยพม่านิยมใช้มากกว่านักมวยไทย มวยสายพระยาพิชัยดาบหักจึงต้อง เรียนรแู้ ละสามารถแกไ้ ขไม้นไี้ ด้ เพราะพระยาพิชัยดาบหักเคยต่อสู้กบั อาวุธชนิดนมี้ ากอ่ น 2) โขกยาว คือจากการยืนจดมวยในท่าปกติ นักมวยสามารถย่างเข้าไปพร้อมกับโน้ม หนา้ ผากโขกเข้าไปยัง ตา จมูก ปาก คาง ขมบั หู ขากรรไกร ของคู่ต่อสู้ เมื่อค่ตู อ่ ส้เู ปดิ ชอ่ งว่างให้ 3) โขกสั้น คือ เมื่อนักมวยเข้ากอด นักมวยสามารถผงกหัวไปด้านหลังแล้วใช้หน้าผาก โขกที่ ตา จมกู ปาก คาง ขมบั หู ขากรรไกร ของคูต่ อ่ สู้ 4) โขกสะบัด เป็นการเอนหัวไปทางซ้ายหรือขวา แล้วใช้คอสะบัดหัวให้หน้าผากเข้า กระแทก คู่ตอ่ สใู้ นระยะประชิด ในลักษณะเดียวกับการโขกสะบัดลูกตระกร้อ เป้าหมายก็คงคล้ายกับ หัวโขกยาวและหัวโขกสน้ั แตผ่ ลทไ่ี ดอ้ าจรุนแรงกว่าหัวโขกสัน้ 5). โขกเสย คอื การยอ่ ตัวลงต่าเม่ือเขา้ ประชิดคู่ต่อสู้หรือเข้ากอดแล้วทะล่ึงขึ้นมา โดยใช้ หนา้ ผากเสยคาง ขากรรไกร หรอื กกหูของคตู่ ่อสู้ สามารถน็อกคตู่ อ่ สู้ไดเ้ พราะมีแรงสง่ จากขาขนึ้ มา 6) โขกหลงั เมื่อคู่ต่อสู้เข้ากอดรัดอยู่ข้างหลัง นักมวยอาจโน้มตัวไปข้างหน้าแล้วโขกด้วย ท้ายทอยเข้าตา จมูก ปาก หู หรอื ขากรรไกรคู่ต่อสู้ได้ โขกหลังยาวมีความรุนแรงกว่า แต่ก็มีผลเสียคือ อาจจะเกิดความผิดพลาดหรือนักมวยอาจจะเจ็บท้ายทอยได้ ท้ังยังอาจถูกศอกตีเข้าต้นคอได้โขกหลัง สั้นจึงมปี ระโยชน์มากกวา่ ถงึ แม้ผลอาจจะนอ้ ยกว่าโขกหลงั ยาว แตอ่ ันตรายกน็ ้อยกวา่ มากด้วย 7) โขกเสยหลัง คือ เม่ือเมื่อคู่ต่อสู้อยู่ด้านหลังและอยู่สูงกว่า การทะล่ึงข้ึนมาเสยด้วยหัว เข้าคางย่อมจะเป็นประโยชน์ต่อตัวนักมวยเอง แต่นักมวยจะต้องระวังมิให้เสยด้วยกลางกระหม่อม เพราะจะเปน็ อันตรายตอ่ ตัวนกั มวยเอง 8) โขกย้าหรือโขกซอย เม่ือคู่ต่อสู้มีบาดแผลแตกบนใบหน้า นักมวยที่เข้ากอดหรือเข้า ประชิดตัว ต้องการจะเปิดแผลให้ใหญ่ข้ึนหรือสร้างความเจ็บปวดให้แก่คู่ต่อสู้ ก็สามารถโขกสั้น ๆ หลาย ๆ ที ดว้ ยหน้าผากเข้าทีบ่ าดแผล เช่น แผลทีต่ า ค้ิว จมูก ปาก ฯลฯ

325 9) โขกเช็ดหรือโขกถู เม่ือคู่ต่อสู้มีบาดแผลแตกบนใบหน้า นักมวยที่เข้ากอดต้องการจะ เปิดแผลหรือสรา้ งความเจบ็ ปวดเพ่ิมขึน้ กส็ ามารถใชห้ น้าผากสะบัดไปมาเพื่อเช็ดหรือถูบาดแผลนั้นให้ กว้างขน้ึ หรือเจ็บปวดมากขึ้น บางคร้งั เพ่อื ให้เลอื ดไหลมากขน้ึ จนค่ตู ่อสู้มองอะไรไม่เห็น 10) โขกสา่ ย คือ การส่ายหัวไปมาซา้ ย-ขวาในระหวา่ การต่อสู้ แรงส่ายนีจ้ ะสามารถชนให้ คู่ต่อสู้แตกบริเวณตา คิ้ว โหนกแก้ม ปาก จมูก ได้ บางคร้ังดูเหมือนการขวิดคู่ต่อสู้ จึงเรียกการโขก ชนิดน้ีว่า “โขกขวดิ ” ไดด้ ว้ ย 3.7. แนวทางการฝึกมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ัย โดยหลักการแล้ว การป้องกันตัวต้องเป็นหลักการแรกของการฝึกหัดมวย เพราะนักมวย จะต้องปลอดภยั กอ่ นอื่น การเข้าไปแลกอาวุธเพื่อเอาชนะคู่ต่อสู้ไม่สมควรจะเกิดขึ้น เนื่องจากนักมวย อาจจะได้รับอนั ตรายและบาดเจ็บท้งั ในระสั้นและระยะยาวได้ มวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหักจะต้อง พยายามหลบหลีกปิดป้องอันตรายท้ังหลาย ถ้าไม่สามารถทาเช่นน้ันได้ นักมวยจะต้องลดอันตราย “หนกั ใหเ้ ป็นเบา และเบาให้เป็นหาย” ให้ได้ มวยไทยจึงเป็นศิลปะป้องกันตัวอย่างแท้จริง คือเป็นการ ป้องกันมิให้ตนเองเกิดอันตรายเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นจึงค่อยคิดหาทางเข้าทาอันตรายคู่ต่อสู้ นักมวยจงึ ตอ้ งเรยี นวธิ ีปอ้ งกนั ตัวกอ่ นหดั เขา้ ทาคู่ตอ่ สดู้ งั นี้ 1) การหดั ต้ังมวยหรอื จดมวยใหถ้ กู ต้องตามท่ีครสู ่งั สอนไว้ 2) เม่ือต้ังมวยแล้ว ให้หัดย่างแปดทิศโดยย่างแต่ละทิศให้ชานาญแลเป็นสัญชาตญาณ ใน การหลบหลีกอาวุธของคู่ต่อสู้ หลังจากน้ัน อาจฝึกย่างแปดทิศ ในรูปแบบต่างๆเพื่อให้เกิดความ ชานาญโดยเม่ือชักเหลี่ยมใหม่หรือเปลี่ยนเหล่ียมทุกคร้ังจะต้องเปลี่ยนการต้ังมวยหรือจดมวยให้ ถูกต้องด้วย เช่น เคยจดมือซ้ายนาและสูงกว่ามือขวา เม่ือเปล่ียนเหล่ียม มือขวาจะต้องนาและสูงกว่า มือซ้ายซ่ึงได้กลายเป็นมือหลังและอยู่ต่ากว่า การชักเหลี่ยมอย่างรวดเร็วก็ต้องสลับมือในการตั้งมวย อยา่ งรวดเรว็ เช่นกัน เพือ่ มิใหต้ นเองเกิดชอ่ งว่างและได้รบั อนั ตรายจากอาวุธของค่ตู ่อสู้ 3) เมือ่ ต้ังมวยได้ถกู ต้องและยา่ งแปดทิศได้อย่างคล่องแคล่วแล้ว นักมวยจะต้องฝึกหัดท่า มือสี่ทิศพร้อมๆกับการจดมวยและการย่างแปดทิศ ท่ามือจะต้องสามรารถใช้ออก โดยสัญชาตญาณ เพือ่ ใหเ้ กดิ การ “หลบ – หลีก – ปัด – ป้อง - ปิด” ในการป้องกนั ตวั เบื้องตน้ หากนักมวยจะมีคู่ฝึกหัด พรอ้ มกนั สักคนหนึง่ กจ็ ะเปน็ ประโยชน์มาก เพราะจะทาให้การย่างและการใชม้ อื เป็นจรงิ เป็นจงั มาก 4) นักมวยเริ่มฝึกหัดการใช้พ้ืนไม้ต่างๆโดยค่อยๆฝึกไม้หมัด ไม้เตะ ไม้ถีบ ไม้เข่า และไม้ ศอก ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะครบถ้วนและชานาญ สามารถเลือกใช้ไม้ต่างๆเมื่อโอกาสเปิดให้ โดยต้อง ระลึกอยู่เสมอดั่งคาสอนของครูสงวน แสงชัย ท่ีว่า “ไม้ตายของเราคือจุดว่างของคู่ต่อสู้ที่เกิดขึ้นใน ขณะน้ัน มิใช่ความถนัดของเรา ดังน้ัน นักมวยไทยโดยเฉพาะนักมวยไทยสายพระยาพิชัยดายหัก จะต้องรอบตัว” ในขณะท่ีฝึกหัดใช้ไม้พ้ืนต่าง ๆ อยู่นี้ นักมวยจะต้องตั้งมวยและย่างเท้าหรือใช้มือ อย่างถูกต้องตลอดเวลา เช่น เวลาใช้ไม้เตะ มือท่ีต้ังไว้จะตกไม่ได้เลย การแกว่งแขนเพื่อให้การเตะมี น้าหนัก ไม่สมควรจะถูกฝึก เพราะเปิดช่องว่างให้คู่ต่อสู้มากเกินไป หรือนักมวยอาจต้องใช้ท่ามือ อย่างใดอย่างหนงึ่ กอ่ นเขา้ หาคตู่ ่อสู้ หรอื เมอ่ื เตะใช้ไม้เตะ ถีบ หรือ เข่าไปแล้ว เท้าท่ีใช้แล้วจะต้องวาง ลงขา้ งหนา้ เสมอ นกั มวยจะต้องเปลี่ยนเหลยี่ มของตนเองทนั ทโี ดยอัตโนมตั ิ 5) นักมวยไทยทุกคนจะต้องฝึกหัดใช้อาวุธทุกชนิดท้ังซ้ายและขวา เพราะเม่ือเปลี่ยน เหล่ียมหรือชักเหล่ียมก็ต้องสามารถใช้อาวุธจากอีกเหลี่ยมหน่ึงได้ มิฉะนั้นมวยไทยจะเหลือเพียง

326 เหล่ียมเดียวเหมอื นมวยไทยในปัจจบุ นั ซึ่งมีอาวุธไม่ถึงคร่ึงของนวอาวุธ และยิ่งถนัดและฝึกแต่ไม้ใดไม้ หนง่ึ เทา่ นน้ั แล้วนวอาวธุ อาจเหลอื แค่หนึง่ หรือสองอย่างเท่าน้ัน ยง่ิ กวา่ นน้ั แนวทางใช้อาวุธก็อาจเหลือ แคห่ นง่ึ หรอื สองแนวอีกเชน่ เดียวกนั เชน่ การใช้ศอกเหลือแค่ศอกเหว่ียงเป็นส่วนใหญ่ นาน ๆ จะเห็น ศอกงัดหรือทัดดอกไม้หรือศอกเหว่ียงกลับสักหนท้ัง ๆ ที่มีการตีศอกอีกหลายสิบแนวด้วยกัน การฝึก พน้ื ไมจ้ งึ ต้องฝึกทกุ แนวท้งั ซ้ายและขวาเพอ่ื ให้มพี ิษสงรอบตวั ตามแบบฉบับของมวยไทย 6) เมื่อได้ฝึกหัดพื้นไม้ต่าง ๆ จนเกิดความชานาญในแนวการใช้ไม้พื้นเหล่านั้น พร้อม กับการย่างแปดทิศและการใช้ท่ามือส่ีทิศแล้ว นักมวยจะต้องหัดไม้พ้ืนต่าง ๆ ผสมปนเปกัน โดย พยายามหัดเปน็ ชดุ ๆ คือฝึกหัดให้มีการใช้ไมอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองจนมีลักษณะท่ีเรียกว่า “การชกเตะพันลา” หรือแบบ “ลงิ พันหลกั ” ซ่ึงหมายถึงคตู่ ่อส้เู ปน็ หลกั หรอื ลาไม้ท่ปี ักเอาไว้ เราเคล่อื นไหวอยู่รอบ ๆ หลัก และใช้ไม้ต่าง ๆ ประเคนเข้าหาหลักจนกว่าหลักหรือลาจะล้มลงมา นักมวยจึงต้องฝึกหัดการใช้อาวุธ หรือไม้อยา่ งตอ่ เน่ืองและจู่โจมเข้าจุดว่างหรือช่องว่างของคู่ต่อสู้จนกว่าคู่ต่อสู้จะล้มลง ดังจะเห็นได้ว่า พระยาพิชยั ดาบหักไมเ่ คยพิชิตคู่ต่อสู้ด้วยการใช้ไม้เพียงไม้เดียว เม่ือชกกับนายถึกก็ได้กระโดดข้ามหัว เอาส้นเท่าโขกท้ายทอยนายถึกก่อนแล้วจึงเตะก้านคอนายถึกถึงสลบคาเท้า เมื่อชกกับครูนิลก็ปราบ ครนู ิลดว้ ยการชกและศอกซ้าย-ขวาท่ีตน้ แขนครูนิล จนครนู ิลยกแขนไมข่ นึ้ หลังจากนั้นก็จับขาครูนิลท่ี เตะมากระชากเข้าหาตัว ตีเข่าสวนท่ีท้อง ตามด้วยศอกชวาเข้าปลายคางและหมัดซ้ายเข้าปากครึ่ง จมูกคร่ึง เม่ือชกกับครูก้าวก็เหยียบชายพกครูห้าวข้ึนตีศอกคู่บนศีรษะแล้วตีลังกาข้ามศีรษะไป ดา้ นหลัง แลว้ เตะซา้ ยเข้าปากครึง่ จมูกคร่ึงและเตะขวาเข้ากรรไกร และเมื่อชกกับครูหมึกก็เตะขวาเข้า ขากรรไกรซ้าย ตามด้วยเตะเข้าขากรรไกรขวา แล้วเตะเลยี้ งซ้าย-ขวาเหมือนเตะเล้ียงต้นกล้วย จึงเห็น ได้ว่าพระยาพชิ ยั ดาบหกั ไดผ้ สมไมต้ า่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั และใช้เมอ่ื คู่ตอ่ สู้เปดิ ช่องให้จนกว่า จะล้มลง ทั้งนี้ เพราะนายห้าวไม่ค่อยฉลาดจึงไม่ทันลูกไม้กระโดดข้ามหัวและหันกลับมาเตะ ครูนิลถูกปลดดาบแล้ว เปิดช่องว่างลาตัวและด้านบนไว้ จึงถูกตีเข่าสวนตามด้วยศอกและหมัดเข้าบริเวณใบหน้าและคาง ครู ห้าวคงจะถูกตีศอกคู่บนศีรษะจนมึนงง เมื่อหันกลับมาทางด้านหลังจึงถูกเตะเข้าบริเวณหน้าและ ขากรรไกร ส่วนครูหมึกซ่ึงสูงใหญ่กว่าพระยาพิชัยดาบหัก การจดมวยจึงไม่ค่อยสูงนักและเม่ือเตะมา มืออาจตกลงมาบ้าง ทาให้เปิดช่องว่างท่ีบริเวณขากรรไกรและก้านคอ จึงถูกพระยาพิชัยดาบหักเตะ เลี้ยงซ้ายขวาจนสลบคาท่ี ทั้งน้ี การเตะก้านคอ ขากรรไกร หรือปากครึ่งจมูกครึ่งต้องกระทาอย่าง รวดเร็วเมอื่ ชอ่ งว่างนัน้ เปิดให้และอตั ราความสาเร็จค่อนข้างสูง เพราะตามปกติการเตะสูงเส่ียงต่อการ ถกู จบั ขาซึ่งเกดิ ขน้ึ ได้ง่ายมาก 7) หลกั การป้องกันตัวยงั ต้องนาหน้าอย่เู ช่นเคย คือ เมื่อจะเข้าทาก็ต้องดูว่าคู่ต่อสู้ทาหรือ ตอบโต้อย่างไร เพ่ือนักมวยจะป้องกันตัวเองในขณะเดียวกัน ซ่ึงหมายความว่านักมวยจะต้องหัดทา และแก้ในขณะเดียวกัน ถ้าเราใช้ไม้ไปแล้วคู่ต่อสู้สามารถแก้ได้ เราจะต้องรีบแก้หรือเปล่ียนไม้ทันที โดยการเปล่ียนเหล่ียมหรือชักเหลี่ยมใหม่ ความสาคัญของมวยไทยจึงอยู่ที่ความชานาญในการแก้ไม้ ของกนั และกัน ผู้ที่สามารถแก้ไขหรือป้องกันไม้มวยของคู่ต่อสู้โดยไม่มีอันตรายเกิดขึ้นแก่ตนเอง ย่อม มโี อกาสทาอันตรายคตู่ อ่ สไู้ ดเ้ สมอ 8) นักมวยต้องเรียนรู้หลักสรีระของร่างกายตามแบบฉบับของมวยไทยเดิมด้วย คือ การ เรียนรู้จุดอันตรายบนร่างกาย เริ่มต้นจากกลางกระหม่อมแล้ววัดคืบลงมาทีละคืบ ซึ่งได้แก่ จมูก ลูกกระเดือก ล้ินปี่ ท้องน้อย อวัยวะเพศ เมื่อวัดคืบออกไปด้านข้างของจุดอันตรายเหล่าน้ีจะได้จุด

327 เพิม่ ขึ้น คือ ขากรรไกรและกกหู กา้ นคอ รักแร้ ชายโครง เมอื่ วัดคบื ไปทางด้านหลังจะได้จุดที่ท้ายทอย กระดูกสันหลังกลางหลัง กระดูกสันหลังท่ีเอว และก้นกบ อย่างไรก็ดี จุดอันตรายด้านหน้าอาจจะ เข้าถึงได้ง่ายกว่าและมีอันตรายมากกว่า นักมวยทุกคนจึงต้องปิดป้องจุดอันตรายต่างๆ ของตนเอง และมองหาจุดอนั ตรายท่วี า่ งของคูต่ ่อสู้ การชกต่อยโดยไร้จุดหมายนอกจากจะเสียพละกาลังแล้ว การ ต่อสจู้ ะไรผ้ ลและอาจประสบกับความพ่ายแพ้กไ็ ดอ้ ย่างไรกด็ จี ดุ ต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นเพียงจุดเร่ิมต้นหรือ ครา่ ว ๆ เท่านน้ั ปจั จุบันเราสามารถรู้ถึงจุดอันตรายอ่ืน ๆ เพ่ิมข้ึนอีกมากมายหลายจุด เช่น ปลายคาง ตา ขั้วปอด หัวใจ ไต ฯลฯ นกั มวยจึงตอ้ งเรียนรจู้ ดุ อ่อนและจดุ อันตรายตา่ ง ๆ ของร่างกาย และฝึกให้ คล่องแคลว่ ว่องไวกอ่ นการรกุ เขา้ หาจดุ อนั ตรายของคู่ตอ่ สู้ตอ่ ไป 9) นกั มวยทุกคนต้องใชเ้ วลาในการฝกึ หัดร่ายราไหวค้ รูให้ถูกต้อง ตามแบบฉบับท่ีครูสอน ให้หรือครอบให้ พรอ้ มทงั้ ท่องบทคาถาอาคมประจาสายมวยให้ถกู ตอ้ งและคลอ่ งแคล่วดว้ ย 10) นกั มวยควรจะเรียนให้ครบจบกระบวนการก่อนขึ้นชกมวย การเรียนรู้เพียงเล็กน้อย จะทาใหผ้ ู้ฝึกรู้ไม่จริงและทาให้มวยไทยหายไปเร่ือย ๆ อย่างน่าเสียดาย ผู้ฝึกมวยจึงต้องมีความมานะ อดทนและใฝ่รู้ ท้งั ยังไมค่ วรใจรอ้ นจนเกนิ ควรอีกดว้ ย ภาพวาดทักษะการใชไ้ ม้มวยของมวยไทยสายพระยาพชิ ัยดาบหกั ในพพิ ิธภัณฑ์พระยาพิชยั ดาบหกั ภาพท่ี 205 การชกที่หวั ไหล่ การต่อยหมดั ซ้ายหรอื ขวาเข้าท่ีหวั ไหล่ ของค่ตู ่อสู้ เพ่ือให้ค่ตู อ่ สู้ยกแขนไม่ขึ้น ทีม่ า : พิพิธภณั ฑ์พระยาพิชัยดาบหัก บา้ นเกดิ พระยาพิชัยดาบหัก

328 ภาพท่ี 206 การชกที่คาง การต่อยหมัดซา้ ยขวาเข้าทีป่ ลายคาง และชกเขา้ ที่เบ้าตา ท่มี า : พพิ ธิ ภณั ฑ์พระยาพิชัยดาบหัก บา้ นเกดิ พระยาพิชัยดาบหัก ภาพที่ 207 การชกท่ีคางโดยยอ่ ตัวชกขณะท่คี ตู่ ่อสชู้ กซา้ ยตรง การตอ่ ยหมดั ซ้ายหรอื ขวาเขา้ ทป่ี ลายคาง ทมี่ า : พิพิธภัณฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บา้ นเกดิ พระยาพิชัยดาบหัก

329 ภาพที่ 208 การชกหมดั คทู่ ค่ี างโดยย่อตัวชกขณะที่คตู่ ่อสูช้ กซ้ายตรง ที่มา : พิพิธภณั ฑ์พระยาพชิ ัยดาบหกั บ้านเกดิ พระยาพชิ ัยดาบหัก ภาพท่ี 209 การถ่อยปัดหมดั คูต่ ่อสู้ ตอนทช่ี กกับครนู ิลนายทองดี ฟันขาวถอยพลางปิดเทา้ พลาง ครนู ิลรกุ ตลอดแต่ทาอะไรนายทองดี ฟันขาวไม่ได้เลย ที่มา : พพิ ธิ ภัณฑ์พระยาพิชัยดาบหกั บ้านเกิดพระยาพิชัยดาบหกั