230 มหี น้าที่อย่างไรให้เกิดความรอบคอบมีไหวพริบทางดีไม่หละหลวม เกิดความคึกคะนองเพลิดเพลินไม่ หวั่นไหวในการโต้ตอบทุก ๆ อย่างแล้วก็จึงค่อยเล่นเป็นเชิงไหวพริบกัน การเล่นต่อสู้น้ีและจะเป็น เคร่ืองวัดในหลักวิชาเบ้ืองต้น ถ้าผู้ที่ศึกษายังหละหลวมเฉ่ือยชาขาดความรอบคอบ ไม่มีความถนัด และว่องไวดีก็จะกลายเป็นเป้า แห่งคู่ต่อสู้ หาโอกาสเป็นต่อหรือเอาชนะได้ยาก ถ้าหลักเบื้องต้นดี รู้เท่าถึงการ ถนัดหลาย ๆ ทาง ว่องไว ไหวพริบดี สามารถรับรองป้องกัน และตอบแทนใช้ลูกติดลูก ตาม ลูกซ้าเติมได้ทันท่วงทีเหมาะกับท่ีหมายสาคัญของคู่ต่อสู้ โดยคู่ต่อสู้รับรองป้องกันไม่ทันแล้ว อาจจะเป็นคนมีชื่อเสียงโด่งดงั ในวิชานี้ ในสมัยกอ่ น มวยไทยเปน็ มวยทม่ี ีเกยี รตสิ ูง เจ้านายโปรดปราน เราจะเคยได้ยินได้ฟังในครั้ง พระพุทธเจ้าหลวงเคยเสด็จทอดพระเนตรมวยไทยหน้าพระที่นั่ง ณ สนามหลวงบ่อยๆ และทรงชุบ เลี้ยงมวยทมี่ ชี อื่ เสยี งไว้เป็นอันมาก ทรงโปรดปรานพระราชทานให้ยศถาบรรดาศักด์ิ ดังมีนามปรากฏ อย่เู ท่าทกุ วนั นีค้ อื หลวงชัยโชคชกชนะ หม่ืนมวยมีช่ือ หม่ืนมวยแม่นหมัด หม่ืนชงัดเชิงชก 4 ท่านนี้ เปน็ มวยทเี่ ก่งมาก การตอ่ สสู้ มัยก่อนกบั เด๋ยี วนตี้ ่างกนั การแตง่ มวย การให้น้ามวย สถานที่ ชกมวย กาหนดเวลาชกของคูแ่ ข่งขันมวย พี่เล้ยี งนักมวย มีคณะกรรมการปรับปรุงในเร่ืองเกี่ยวกับการแข่งขัน ให้ลดความทารณุ ร้ายกาจลงไปมากดังเราจะได้เห็นสนามมวยเวทีราชดาเนินเป็นตัวอย่าง ใช้การสวม นวม พืน้ เวทีมเี บาะรอง เป็นสี่เหลี่ยมสูงประมาณ 1 เมตร กว้างประมาณ 6 เมตร มีเชือกผ้าพันขึง โดยรอบ 1 – 2 – 3 – 4 ชน้ั ระเบยี บกตกิ าขอ้ ห้ามไวม้ ากหลาย ฯลฯ พดู ถงึ สมยั แต่กอ่ นแล้ว การแต่ง มวยโลดโผนมากคู่แข่งขันคาดเชือกท่ีหลังหมัดถักแข็งจนเป็นท่ีพอใจของพี่เล้ียงมีเครื่องรางผูกท่ีแขน ทั้ง 2 ขา้ ง พ่ีเลย้ี งไมจ่ ากดั เอาแพ้ชนะกันเป็นเดิมพัน ต่อสู้กันจนหน้าบวมตาปิดหรือแตกจนเลือดไหล อาบ แต่ไมย่ อมแพ้ยังตอ่ สไู้ ด้อีกต่อไป เมอื่ ถึงที่สุดนายสนามและคนดูมวยให้เสมอกัน ไว้ชกกันใหม่ แพ้ ต้องลุกไม่ข้ึน หรือผู้ชกออกปากยอมแพ้ไม่สู้จึงจะเป็นการเด็ดขาด สนามแข่งไม่โอ่โถงจะที่ไหนก็ได้ ขอให้เปน็ สนามหญา้ หรือลานวดั เปน็ ท่ตี ้ังมเี ชอื กขงึ 1เสน้ ก็พอ การต่อสู้ไม่จากัดเวลา มีกรรมการห้าม ล้มลงไปหา้ มซ้า ผ้หู ้ามจับลุกขึ้นชกต่อไป ครบ 5 ยก ไมแ่ พ้ ไมช่ นะ ตอ้ งเป็นเสมอกันไป ไมม้ วยไทยสายโคราช วิธกี ารฝกึ มวยไทยโคราชมีแนวการฝึกอยู่ 3 ขัน้ ตอน รวมทั้งสิ้น 47 ท่า ดว้ ยกนั คือ 1. ฝึกทา่ การใชอ้ าวุธเบ้ืองต้น ได้แก่ ก. ท่าอยู่กับท่ี 5 ท่า ได้แก่ ท่าต่อยตรงอยู่กับท่ี ท่าต่อยเหวี่ยงอยู่กับที่ ท่าต่อย ขึ้นอย่กู ับท่ี ท่าตอ่ ยด้วยศอกอย่กู ับท่ี และท่าถองลงอยกู่ บั ท่ี ข. ทา่ เคลื่อนที่ 5 ท่า ได้แก่ ท่าต่อยตรงสลับกันเคลื่อนที่ ท่าเตะเหว่ียงกลับด้วยศอก เคลอื่ นที่ ท่าต่อยดว้ ยเขา่ และศอกเคลอื่ นท่ี ทา่ เตะสลบั กนั เคลื่อนท่ี ทา่ เตะแลว้ ตอ่ ยตามพลิกตัวไปกนั 2. ฝึกลูกไม้แก้ทางมวย 11 ท่า ได้แก่ ท่ารับต่อยตรงด้วยการใช้เท้าถีบรับ ท่ารับต่อย เหวย่ี ง ใช้หมดั ตรงตอบรับ ท่าตอ่ ยเหว่ยี งแลว้ เตะตามใช้หมัดตรงชกแก้ ท่ารับลูกเตะ ท่าเตะแลกเปล่ียน อยกู่ บั ที่ ทา่ เตะฝากหนึ่ง ท่าเตะฝากสอง ท่ารับลูกเตะฝากหนึ่ง ท่าเตะปัด ท่าทัศมาลาแก้ ลูกเตะสูง ทา่ ลกู ตอแหล 3. ฝึกท่าแม่ไม้สาคัญ ได้แก่ท่าแม่ไม้ครู 5 ท่า ประกอบด้วย ชักหมัดมาเตะตีนหน้า พรอ้ มหมัดชกั ชักปิดปกดว้ ยศอก ชกหา้ มไหล่เมื่อเขา้ ให้ชกนอกเม่ือออกให้ชกใน ชกช้างประสานงา
231 4. ท่าแม่ไม้สาคัญแบบโบราณ 21 ท่า ประกอบด้วย ทัศมาลา กาฉีกรังหนุมานถวาย แหวนล้มพลอยอาย ลิงชิงลูกไม้กุมกัณฑ์หักหอก ฤๅษีมุดสระ ทศกัณฑ์โศก ตะเพียนแฝงตอ นกคุ้มเข้า รัง ลิงพล้ิว คชสารกวาดหญ้า หักหลักเพชร คชสารแทงโรง หนุมานแหวกฟอง กาลอดบ่วง หนุ มานแบกพระ ตลบนก หนไู ต่ราว หนุมานถอนตอ โกหก รวม 47 ท่า ในการฝึก ต้องฝึกจากท่า เริ่มต้นไปตามลาดับ จนเกิดความคล่องแคล่วว่องไว ไหวพริบดี จึงจะมีสิทธิ์ฝึกท่าท่ีสูงขึ้นไป ตามลาดับจะไม่มีการฝึกข้ามขั้นตอนโดยเด็ดขาด จึงทาให้พื้นฐานของมวยไทยสายโคราชมีความ เกง่ กล้าสามารถในเวลาแข่งขนั จนมชี ื่อเสียงไปท่วั ประเทศ 4. ระเบียบประเพณขี องมวยไทยสายโคราช ระเบียบแบบแผนของมวยไทยสายโคราช หมายถึง ข้อปฏิบัติท่ีครูมวยไทยสายโคราช กาหนดไว้ (ตารามวยของพระเหมสมาหาร) จากการศึกษาและค้นพบในรายละเอียดเกี่ยวกับ ระเบียบแบบแผนของมวยไทยโคราชของผู้วจิ ัย พบว่ามีรายละเอยี ดมากมายหลายประการ ประกอบ ไปด้วย 1. ข้อปฏิบัติของครูมวยไทยโคราชท่ีกาหนดไว้สาหรับผู้ท่ีจะฝึกมวยปฏิบัติตาม 2. วิธีฝึกหัด มวยไทยสายโคราช 3.คาแนะนาเตือนสติของผู้ท่ีจะฝึกหัดมวยไทยสายโคราช (ตาราของพระเหม สมาหาร) 4. คาอนุญาตของครูมวย (ตาราของพระเหมสมาหาร) 5. ประเพณีปฏิบัติการฝากตัวเป็น ศิษย์ การไหว้ครู การยกครู 6. พิธียกครู ข้ึนครู 7. การเปรียบมวย 8. วิธีการจัดชกมวยของชาว โคราชในสมัยรชั กาลท่ี 5 รชั กาลที่ 6 4.1. ข้อปฏิบัติท่ีครูมวยโคราชกาหนดไว้สาหรับผู้ท่ีจะฝึกมวยไทยโคราชปฏิบัติตาม คาอธิบาย (ตาราของพระเหมสมาหาร) (อานาจ พุกศรีสุข และ ประจวบ นิลอาชา. 2530 : 61) คาอธิบายขยายความ ตามข้าพเจ้าผู้มีช่ือท้ายหนังสือน้ี ได้พิจารณาสังเกต มาช้านานหลายสิบปี มาแล้ว เห็นว่าคนมวยเก่าแต่ก่อน ๆ มา ถ้าจะเปรียบดูมวยเวลาใด พอนายสนามล่ันฆ้องร้องเรียกว่า ใครจะชกมวยให้เข้ามา คนซ่ึงจะชกมวยก็มายืนสะพรั่งขึ้นพร้อมกันตามหมู่ มวยเก่า มวยใหม่ มวยใหญ่ มวยน้อย นายสนามจึงจัดคู่ให้สอบซ้อมดูฝีมือพอทัดเทียมกัน ลงบาญชีรายช่ือไว้ส่ังให้ไป แต่งตัว กาหนดเวลาแลเอาเสียงฆอ้ งเปนสญั ญา เมอื่ เวลาชกกนั กช็ กเปนไม้ แลแก้ไขตัดรอนกันต่าง ๆ พอผู้ดูมีสตไิ ด้ ดังน้ี ก็เห็นไดว้ ่ามวยแตก่ อ่ นได้ฝกึ หดั ตอ่ ครู จึงตั้งใจเขา้ มาชกครัน้ สังเกตดูนานหลายปี มาจนกาละบดั นี้ เวลานายสนามให้ลน่ั ฆ้องร้องเรียกเปรียบคู่มวย ก็ไม่เข้ามายืนกลางสนามเหมือนแต่ ก่อน ๆ มายืนแอบอยู่ บ้างน่ัง น่ังอยู่บ้าง พนักงานเปรียบต้องจับมือย้ือชักขึ้นมาเปรียบคู่ ดู ประหน่ึงขัดไม่ได้จาใจชก เมื่อเวลาชกลงน่ังพักก็หอบอยู่เปล่า ๆ เมื่อลุกข้ึนก็ทาท่าอยู่เดน ๆ ทาดังน้ี ก็พอเห็นได้ว่าไม่ใคร่จะฝึกหัดต่อครูจึงครั่นคร้ามขามขยาด ไม่อาดลุกขึ้นมายืนเหมือนแต่ก่อนเก่า เพราะฉน้ีข้าพเจ้าจะคิดบารุงมวยให้เจริญถาวรย่ิง ๆ ขึ้นไป ตามท่ีข้าพเจ้าได้ฝึกหัดมาต่อครูได้ สั่ง สอนมาแต่อายุขา้ พเจ้าได้ 11 ปี ไดส้ อบซอ้ มมาเนอื ง ๆ ไดเ้ หน็ คณุ แล้ว 4.2. วิธฝี ึกหัดมวยไทยโคราช (ตาราของพระเหมสมาหาร คัดลอกโดยไมไ่ ด้ตดั ทอน) วิธีฝึกหัดมวยดังได้ฝึกสอนมาแต่ก่อน ดังจะกล่าวมาต่อไปน้ี แรกเร่ิมเดิมผู้ใด จะหัด มวย อานาจ พุกศรสี ขุ และ ประจวบ นิลอาชา (2530 : 61 – 62)
232 1. เมอ่ื เวลาลุกข้ึนจากนอนไม่ว่าเวลาใด ให้นอนหงายเหยียดตีนตรงไปทั้งสองข้าง ให้ ชกสองมือสุ่มขึ้นไปท้ังสองมือจนตั้งตัวตรงข้ึน วิธีทาดังน้ีหวังว่าให้เส้นสายบริบูรณ์แลให้มือสันทัด ทงั้ สองข้าง 2. เมื่อเวลาจะล้างหน้าให้เอามือวักน้ามารอหน้า อย่าให้เอามือถูหน้าให้เอาหน้าถูมือ กลอกไปจนล้างหน้าแล้ว วิธีอันนี้ทาให้ตาเราดีไม่วิงเวียน เม่ือจะลอดหลบหลีกแลให้เส้นสายคอของ เราเคยดว้ ย 3. เมอ่ื ตวนั ขึ้นให้น่ังผินหน้าไปทางตวัน เพ่งดูตวันแต่เช้าไปจนสายพอได้ วิธีอันน้ีทาให้ แสงตากล้า ถงึ เขาจะชกหรอื เตะมา ตาเราก็ไมห่ ลบั เพ่งดูเห็นอยู่ได้ ไมต่ ้องหลบั ตา 4. เมื่อเวลาอาบนา้ ใหม้ ดุ ลมื ตาในนา้ ทกุ ที วิธีอันน้ที าใหแ้ สงตากล้าข้ึนได้ 5. แล้วให้ลงไปในน้าเพียงคอ ให้ถองน้าท้ังสองศอกชุลมุนจนลอยตัวขึ้นได้ วิธีอันนี้ทา ให้คล่องแคลว่ กระบวนศอก แลบารงุ เสน้ สายด้วย 6. เมื่อเวลาเช้าเย็นหรือกลางคืนให้ชกลมเตะลมถีบลม แลโดดเข้าโดดออกเล่นตัวให้ คล่องแคลว่ ทัง้ ศอกทง้ั เข่าเสมอทุกวนั วธิ ีอนั นแี้ ลเปนทปี่ ระเสริฐจริงๆ หมดวชิ าฝกึ หัดตัวเองเทา่ น้ี เม่ือครูเห็นว่า มือแลเท้าชกเตะถีบคล่องแคล่วดีแล้ว จะบอกไม้แลยกครูเสียก่อน กรวย 6 กรวย เงิน 6 สลึง ผ้าขาว 6 ศอก ดอกไม้ธูปเทียนยกครู จุดธูปเทียนบูชาครู ๆ จึงให้ยืนตรงข้ึนตีน เรยี ง ชดิ กนั ครูจึงจบั มอื ทั้ง 2 ยกจดหนา้ ผาก แลประสทิ ธ์ใิ หว้ ่า สิทธิกจิ จงั สทิ ธกิ ามงั สทิ ธกิ าละ ตะถาคะโต สทิ ธิเตโชไชยโยนจิ จัง สทิ ธกิ ามงั ประ สิทธเิ ม แล้วหัดใหย้ ่างสาม 3 ขุมแล้วบอกไม้ต่อไป 1. ไม้หน่ึงมาชกั ตีตีนนา่ ขนึ้ พร้อมชัก 2. ไม้สองปดิ ปกชกด้วยศอก 3. ไม้สามชกหา้ มไหล่ 4. ไมส้ ่ีชกนอกเม่ือชกั ออกให้ชกใน 5. ไม้ห้าชกชา้ งประสานงา 6. ไม้นแี้ ลเป็นไมข้ องครู แล้วมไี ม้เบ็ดเตลด็ ตอ่ ไป ไมท้ ัดมาลา 1 ไมก้ าฉีกรงั 1 ไมห้ นมุ านถวายแหวน 1 ไมล้ ม้ พลอยอาย 1 ไมล้ งิ ชิงลกู ไม้ 1 ไม้กุมภกรรณ์หักหอก1 ไม้ฤๅษีมุดสระ 1 ไม้ทศกรรณ์โสก 1 ไมต้ าเพียนแฝงตอ 1 ไม้นกคมุ่ เขา้ รัง 1 ไมค้ ชสารกวาดหญ้า 1 ไมห้ กั หลักเพ็ชร์ 1 ไมค้ ชสารแทงโรง 1 ไม้หนมุ านแหวกฟอง 1 ไม้ลงิ พล้วิ 1 ไม้ กาลอดบว่ ง 1 ไม้หนุมานแบกพระ 1 ไมห้ นุมานถอนตอ 1 ไม้หนูไต่ราว 1ไมต้ ะหลบนก 1 ไมต้ อแหล 1 บอกไวแ้ ตเ่ พยี ง 21 ไมเ้ ทา่ นี้ก่อน แต่ไม้เบ็ดเตล็ดยังมีมากสุดจะพรรณา โคลงมวยต่อไป (ตาราของพระเหมสมาหาร คดั ลอกโดยไมไ่ ด้ตดั ทอน) อานาจ พกุ ศรีสุข และ ประจวบ นิลอาชา (2530 : 64) เขายาวเราพ่ึง ฝากซึ่งชวี า ยาวเขาเราแบ่ง อยา่ แคลงเลยนา ได้ช่องมรคา ได้บนปนไป แลเม่ือเวลาเข้าชกกราบลงกับธรณีให้ระฦกถึงคุณพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆเจ้าแลคุณ บิดามารดา คุณครูบาอาจารย์ แลคุณพระมหากระบัตริย์ เปนท่ีพึ่งแล้วภาวณาว่า พระพุทธัง อนจิ จงั อนตั ตา ธรรมมงั อนจิ จงั อนตั ตา สังฆังอนิจจงั อนตั ตา สรรพไภยาวินาสสนั ติ
233 แล้วลุกขึ้นยืนตรงเข้าแบบ ให้เอาน้ิวมือมารอดูท่ีรูจมูก ดูลมสูนย์กะลาจันทร์กะลา ทางใดคลอ่ งแคลว่ ให้ก้าวเทา้ นัน้ ไปกอ่ น ย่าง 3 ขุมให้ว่าพระคาถาบทน้ี พระพุทธังชักหนังปกตัว พระธรรมมังชักหนังปกตัว พระสังฆังชักหนังปกตัว พระพุทธเจ้าอยูห่ ัวชะนะมะอะอุ แล้วตรงเข้าไปแต่อย่าให้มีความประมาท แล้วอย่าให้มีความโทโสโมโห ให้ตั้งใจระฦ กถงึ ครูบาอาจารย์บอกสอนไว้เถดิ 4.3. คาแนะนาเตือนสติของผู้ทีจ่ ะฝึกหัดมวยไทยโคราช(ตาราของพระเหมสมาหาร คัดลอกโดยไมไ่ ดต้ ดั ทอน) (อานาจ พกุ ศรสี ขุ และ ประจวบ นิลอาชา. 2530 : 63–64) กล่าวไว้ว่า ถ้าผู้ใดจะเข้าชกมวย ให้มีสติระฦกนึกเสียว่า เวลานายสนามท่านเห็นว่าเรากับคู่เรา เท่ากัน กาลังแลฝีมือพอสู้กันได้จึงให้ชกกัน อีกประการหนึ่งเขาก็ไม่มีอาวุธอันใด มีแต่มือเปล่า ด้วยกันไม่ควรจะกลัวเขา ๆ ทาไมไม่กลัวเรา ๆ ก็มีมือเท้าสองข้างเหมือนกัน มิใช่ว่าเขามีมือสี่มือ เม่ือไรไม่ควรจะกลัวเขา อีกประการหนึ่งเราก็ได้ฝึกหัดต่อครู ก็หวังว่าจะเปนนักเลงชกมวยจึงได้ ฝึกหัดต่อครู อีกประการหนึ่งเราก็เคยได้ยินได้ฟังได้เห็นเขาชกกันมาแต่ก่อนก็ไม่เห็นว่าผู้ใดชกมวย ตายเลยทเี ดียวสักคนก็ไม่มี เปนแต่พอฟกช้าดาเขียวอย่างท่ีสุดก็เพียงสลบหรือแตกเท่าน้ัน เหตุเท่านี้ เรากช็ าตชิ าย ไมค่ วรจะหวาดหว่ันพรนั่ ใจเลย แลอีก ประการหน่ึง ถ้าเปนเวลาเคราะห์แล้ว ถึงเราจะ อยู่ในบ้านในเรือนของเราก็คงจะได้ความเจ็บไข้อยู่เอง เราเปนชาติชายไม่ควรจะทาใจขลาดเหมือน สตรีให้เพ่ือนฝูงเขาหัวเราะเยาะเล่นได้ แลอนึ่งเราก็ได้ฝึกหัดต่อครูได้คล่องแคล่ว ในการหลบหลี ก รับรองป้องกนั แลว้ ถึงมาทแม้นวา่ ตวั ต่อตัว เขาจะมีอาวุธหอกดาบกระบองหรือมีดปลายแหลมตรงเข้า มาทาร้ายร่างกายเรา ๆ ก็คงจะหลบหลีกปัดป้องสู้รบ นี้ก็แต่มือเปล่าด้วยกันตัวต่อตัว ไม่ควรจะคิด กลัวอย่างหน่ึงอยา่ งใดเลย เราก็ได้ราเรียนต่อครูบาอาจารย์ไม่ควรจะคิดย่อท้อใจให้เพื่อนฝูงดูถูกได้ ให้ นักเลงมวยระฦกคาเตือนสตดิ งั นแี้ ล อน่งึ เม่ือเวลาชกลงหยุดพักน่ังก็อย่าให้นั่งอยู่เปล่า ๆ ให้นึกว่าเรา ทาท่าอย่างนี้เสียเปรียบเขา เราลุกขึ้นเราจะเปลี่ยนท่าชกอย่างนี้ จึงนับว่าเปนมวยมีสติปัญญาเป นมวยจริงๆ ฝูงประชาชนได้ดรู ้เู ห็นจะได้มคี วามชนื่ ชมยนิ ดีสรรเสรญิ แลความ เกรงฝีมือก็จะปรากฏไป ภายนา่ จะมชี ่ือเสยี งไปชั่วลูกแลหลานให้นกั เลงมวยทไี่ ดฝ้ ึกหดั ระฦกถึงคาเตอื นสตดิ ังน้ที กุ ประการ 4.4. คาอนญุ าตของครมู วย (พระเหมสมาหาร หาร คดั ลอกโดยไมไ่ ด้ตัดทอน) ถา้ ผู้ใดไดร้ ับสมดุ วิธีฝกึ หดั ไปแลว้ ในคาอธิบาย หรือคาเตือนสติพอจะประพฤติตลอดไป ได้แต่ไม้ 1-2-3-4-5 น้ี ต้องมีครูแนะนาสั่งสอนหรือไม้เบ็ดเตล็ด 21 ไม้นี้ จึงจะตลอดไปได้ ถ้าผู้ใด อยากจะเป็นมวยจริง ๆ ก็ให้มาหาท่ีข้าพเจ้าเซ็นช่ือไว้ในท้ายหนังสือนี้ จะชี้แจงบอกเล่าให้เข้าใจ ทุกประการ จนตลอดเรอื่ งฝกึ หดั อยา่ ได้คิดเกรงกลัวใจส่ิงหน่ึงสง่ิ ใดเลย พระเหมสมาหาร 4.5. ประเพณปี ฏิบัติ การฝากตัวเปน็ ศิษย์ การไหวค้ รู การยกครู หรือการขน้ึ ครู ต่อไปนี้ ผู้วิจัยขอนาเสนอตาราไหว้ครูมวยไทยโคราช ของครูบัว นิลอาชา (วัดอ่ิม) ซึ่งได้รับการถ่ายทอดตารามวยไทยโคราชจากพระเหมสมาหาร (อานาจ พุกศรีสุข และ ประจวบ นลิ อาชา. 2530 : 39 – 41) ดงั นี้ ไหวค้ รคู ากลอน จากต้นฉบบั ลายมือครบู วั นลิ อาชา (วัดอิ่ม)
234 แนบสนทิ ดีถนดั ไมข่ ัดขวาง ไม่ระคางขดั ตาเวลาแล ท่านครูเฒ่าเจ้าตาราเห็นว่าศิษย์ บูชาพระครนู ามตามกระแส ทง้ั คลอ่ งแคล่ววอ่ งไวจะไว้วาง กรวย 6 ใหย้ กครู จงึ ให้จดั เครอ่ื งบชู าคารวะ เทยี นดอกไม้ธปู เสร็จสาเร็จอู๋ เงินบาท 12 อัฐชัดแน่ไม่เชือนแช เข้าเทียบดลู กุ ขน้ึ ยืนตัวตรง ทาท่าทางครูสอนโดยประสงค์ อกี ผ้าขาว 6 ศอก ทา่ นบอกไว้ เอาข้นึ คงจดหน้าผากปากให้พร ยกขึ้นจบเกศาบูชาครู จงประสิทธหิ น๊ะจงจาเอาคาสอน เทา้ ทงั้ สองชดิ แนบเขา้ แบบอย่าง จงึ กล่าวกลอนกะระตะถาคะโต ครูจงึ จบั มือทง้ั สองจอ้ งประจง หวงั เป็นที่พึง่ พงิ ได้อะโข จงสุขโขเป็นนจิ สทิ ธิเต วา่ สิทธิกจิ จงั สาเรจ็ กิจ เปน็ ขอ้ ความตามกนั ไมห่ ันเห สิทธกิ ามงั ขอให้สถาพร บอกไมเ้ อ เอก โท ตรีจัตวา อกี สิทธิเตโชชัยโยนิจจงั บอกสมทบไว้ถว้ นกระบวนหนา อกี สทิ ธิกามังตงั้ นะโม เตะ๊ เท้าหน้าพร้อมชกั ให้ยักตาม ไม้สามบอกชกหา้ มไหล่คอื ไม้สาม สอนใหว้ ่าถว้ นครบคารพสาม ชกั ออกตามชกในไขวาที ย่างสามขุมสอนสั่งดงั อปุ เทห์ ตามนสิ ยั ครสู อนแตก่ ่อนก้ี ไม้ปญั จะบอกให้พอได้ครบ ยงั ไม้มีเบด็ ตะเลต็ ไม่เสร็จการ ไมห้ น่งึ หมดั ที่ย่ืนชกั คืนมา เอามือแบกปดิ หดู สู งสาร ต้องใชเ้ ท้าเข้าประสานทว่ี า่ งอยู่ ไมส้ องใหป้ ดิ ปกชกด้วยศอก เอามือฉวยข้อศอกทากลอกหู ไมส้ ใี่ หช้ กนอกท่านบอกความ พเิ คราะห์ดูทา่ ล้มกส็ มควร ประสานงาไม้หา้ ท่านว่าไว้ ทาทที ่าว่องไวหนา้ ใคร่สวล จบไม้ครหู า้ ไม้ไวพ้ อดี ฤๅษสี วนมทุ สระปะทะปะทัง ตะเพยี รฟกั แฝงตอไม่รอรัง้ จะกลา่ วไม้ทัสะมาลาทาท่าแปลก ทา่ นแต่งตงั้ เตมิ ไวเ้ ปน็ ไม้มวย อีกไมก้ าฉีกรังไมย่ ้ังนาน หกั หลกั เพ็ชร์เกล็ดชยั บอกไว้สวย หณุมารถวายแหวนนน้ั แสนสวย ต้องพุ่งพวยโยกคลอนถอนหลักไป อกี ไม้อายพลอยลม้ ลงจมพรู อีกสาเหนียกลงิ พลิ้วต้องเผลอไผล ท่านขานไขคอยหลบประจบประแจง ยังไมล้ งิ ชิงลกู ไม้พิไรวา่ ก็เคลอื บคลา้ ยถอนตอพอรูแ้ จ้ง ไมก้ ุมภกรรณ์หกั หอกบอกกระบวน ตลบนกยกแวง้ กลับศอกมา อีกไม้ทศกรรฐ์โศกวโิ ยคยักษ์ หลอกจะเหวี่ยงติดตลกชกหมัดหนา้ ยงั อกี ไมแ้ ฝงคลมุ คุ้มเข้ารงั จาวาจาใหแ้ จง้ อยา่ แคลงใจ คชสารกวาดหญ้าทา่ นวา่ ไว้ คชสารแทงโลงตะโกงกวย หณุมารแหวกฟองทา่ นร้องเรียก ท้ังไม้กาลอดบ่วงทะลวงไป ไมห้ ณุมารแบกพระท่านวา่ ไว้ อกี ไม้หนูไต่ราวตอ้ งยาวแทง ยังอกี ไมต้ อแหลไมแ่ ทเ้ ท่ยี ง เบ็ดตะเล็ตเสรจ็ แท้แน่อรุ า
235 ย่สี บิ เอด็ เสร็จสน้ิ บอกไวก้ ่อน ทีค่ รูสอนเหลือจะจาเอาคาไข สุดทจี่ ะพรรณนาท่านวา่ ไว้ ที่จาได้ฉนั จึงบอกไม่หลอกลวง ยังโคลงมวยตอ่ ไปให้สาเหนียก ท่านชี้เรียกโคลงตามไม่ห้ามหวง จะชี้แจงแต่งออกเปน็ ดอกดวง ไมล่ ่อลวงครูสอนแต่กอ่ นมา ถา้ เขายาวเราพึ่งฝากชวี ิตร์ อยา่ ควรคดิ คาดคงเข้าตรงหน้า เราตอ้ งคอยแบ่งแย่งรอมอระคา พอได้ทา่ ลา่ งบนปนกันไป น่ีแหละโคลงเปรยี บเทยี บทาเนียบแนะ จงแค้นแคะตรึกหาดังปราศัย ผู้ใดมีปรีชาปัญญาไว คงคดิ ได้มน่ั คงอย่าสงกา 4.6. พิธียกครู, ขึน้ ครู (อานาจ พุกศรี และ ประจวบ นลิ อาชา. 2530 : 41 – 43) พธิ ีการยกครูหรอื ขึน้ ครูนั้นเหมือนกัน ใช้เครอ่ื งสาหรบั ทาพิธี ดังนี้ 1. ใช้เงนิ บาทใสพ่ านคนละ 12 บาท 2. เทียนขาวหนกั บาทหน่งึ เล่ม 3. กรวยก้นแหลมทาดว้ ยใบตองกลว้ ยสดคนละ 3 กรวย 4. ธูป 3 ดอก 5. ดอกไม้ 3 สี 3 ดอก ใส่ลงไปในกรวย ปักธูปลงไปในกรวย ๆ ละดอก ทั้งหมดใส่พานพร้อมด้วยเงินบาทและเทียน หากจะมี ผูป้ กครองพาไปฝากเพอ่ื ร้จู กั ครูและสถานที่ฝึกได้ด้วยกย็ ิง่ ดี การยกครหู รอื การขึ้นครูนี้ไม่จากัด วันและ เวลาทาได้เสมอ เงินบาทท่ีครูได้รับนั้น ครูจะได้จัดซื้ออาหารคาวหวานใส่บาตรให้แก่คุณครูและ คณาจารยท์ ี่ลว่ งลบั ไปแล้ว สว่ นงานพิธีไหว้ครูนั้นเป็นงานพิธใี หญต่ อ้ งใช้สิ่งของเครื่องบริการมากหลาย และตามธรรมเนียมที่ได้สืบทอดกันมา ซ่ึงในปีหน่ึง ๆ ท่านได้กาหนดไว้ว่า จะต้องทาพิธีไหว้ครูในวัน พฤหัสบดไี ด้เพยี งหนึง่ ครงั้ จะเป็นปีใด เดือนใด ก็ทาได้แล้วแต่ครูจะนัดหมาย เม่ือตกลงพร้อมเพียง กนั แลว้ กจ็ ะเริ่มงาน ดังนี้ ในเย็นวันพุธ นิมนต์พระ 5 รูป หรือ 7 รูป หรือ 9 รูป มาสวดพระพุทธคุณ (สวดมนต์เย็น) ณ สถานที่ท่ีได้กาหนดไว้ เช้าวันพฤหัสบดีเลี้ยงพระเช้า เม่ือพระฉันท์เสร็จและถวายของแล้ว ให้จัด เครื่องบวงสรวงขนึ้ นอกชายคาเรือน วางโตะ๊ ปูด้วยผ้าขาว จดั เครื่องสังเวยขึ้นวาง ดงั น้ี 1. ผ้าขาว 6 ศอก หนง่ึ ผืน 2. เงนิ บาท 12 บาท 3. ธปู เทยี น ดอกไม้ ใหม้ ากสักหนอ่ ยเผอื่ แจกศษิ ย์ 4. หัวหมูเคร่ืองพร้อม 2 หัว ต้มให้สุกก่อน 5. เหลา้ โรง 2 ขวด 6. ไก่ตม้ สกุ แล้ว 2 ตวั 7. ขนมตม้ แดง 1 คู่ 8. ขมต้มขาว 1 คู่ 9. กล้วยน้าหว้าสกุ 2 หวี
236 10. มะพร้าวอ่อน 1 คู่ 11. บายศรีปากชาม 5 ชนั้ 1 คู่ พรอ้ มไขต่ ้มปลอกเปลอื กออกแลว้ 2 ใบ วางอยูใ่ น กลางบายศรปี ากชาม 12. แป้งหอม น้ามนั หอม สาหรับเจมิ หน้าศษิ ย์ 1 ถว้ ย 13. ขันนา้ ล้างหนา้ 1 ใบ ให้ลูกศิษย์นั่งคุกเข่าท่ีหน้าโต๊ะเครื่องบูชาและเครื่องสังเวยที่จัดตั้งข้ึนน้ัน พร้อมเชิญ พระพทุ ธรูป 1 องค์ มาวางอยู่เหนอื เครือ่ งสงั เวยดว้ ย ครแู จกธปู เทียน ดอกไม้ ครูจุดธูป เทียน นาสักการบูชาคุณพระพุทธ พระธรรม คุณพระสงฆ์ และคุณครู คุณอาจารย์ท่ีล่วงลับไปแล้วนา เคร่อื งบชู าไปปักตามเครอ่ื งสังเวยหรอื ท่ีปกั ธูป ต่อไปครูนาสวดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ จบแล้วนง่ั ลงกราบ 3 คร้ัง แล้วลุกขึ้นยืนทุกคน พนมมืออา่ นประกาศคาบวงสรวง ดงั นี้ : - ข้าพเจ้า..............(ออกชื่อตัวของทุกคน) ขอนอบน้อมกระทาการ สักการบูชาคุณพระ ศรีรัตนตรัย อีกทั้งคุณครูและคุณอาจารย์ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ พระเหมสมาหาร ครูอ่ิม ครูทน ครูรุ่ง หม่ืนชงัดเชิงชก ครูบัว ข้าพเจ้าท้ังหลาย พร้อมด้วยกาย วาจา ใจ ผู้มีความกตัญญูกตเวที ขอ อญั เชิญดวงวิญญาณของทา่ น หากจะสถิตอยู่ในภพภูมิสถานท่ีแห่งใด หรือวิมานอันใด ขอจงได้มารับ เครือ่ งบวงสรวง และของที่ได้จัดหามาเซ่นสังเวยนี้โดยพร้อมเพียงกัน ข้าพเจ้าท้ังหลาย ขอให้คาสัตย์ ปฏิญาณตอ่ หน้าดวงวิญญาณของคุณครูท้ังหลาย ณ ที่น้ีว่า วิชามวยไทยท่ีพวกข้าพเจ้าจะได้ร่าเรียน ศกึ ษาน้ี พวกข้าพเจ้าท้ังหลาย จะนาไปใช้เพื่อป้องกันตนเอง เพ่ือประโยชน์สุขแก่คนอ่ืน และเพ่ือให้ เกิดประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง จะไม่ใช้ไปเที่ยวรังแกหรือข่มเหงผู้อ่ืน ขอความมุ่งหมายของพวก ข้าพเจ้าจงทาให้ ข้าพเจ้าทั้งหลายมีสุขภาพพลานามัยท่ีแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ได้ศึกษาใน วชิ ามวยไทยไดโ้ ดยตลอด สมเจตนารมณ์ของพวกข้าพเจา้ ทัง้ หลายเทอญ สทิ ธิกจิ จัง สิทธิกามัง สิทธิ กาละ ตะถาคะโต สิทธิเตโช ไชยโยนจิ จงั สทิ ธิกามัง ขอจงประสทิ ธเิ ม เมื่อกล่าวจบ ครูผู้ฝึกมวยก็จะให้ผู้เป็นศิษย์ทุกคนน่ังคุกเข่าพนมมือ ทาพิธีเจิมหน้าศิษย์ด้วย แป้งและน้ามันหอมท่ีเตรียมไว้แล้ว ว่าพระคาถาเป่าท่ีหน้าลูกศิษย์เม่ือเวลาเจิม (นะ วิ เว) เมื่อจบพิธี ไหว้ครูแล้ว ก็ทาการลาเครื่องเซ่นเคร่ืองสังเวย จัดเลี้ยงอาหารแก่ศิษย์เพ่ือความสุข ความสามัคคี และความผูกพนั ในฐานะเจา้ ภาพ ครูนั้นเปรียบได้เสมือนบิดาคนท่ีสองของศิษย์ ที่จะให้ความรักความ เมตตาอบรมส่งั สอนในศลิ ปะวทิ ยาการตอ่ ไป ดงั นัน้ ประเพณีของมวยไทยสายโคราช จาแนกออกเป็นประเพณีปฏิบัติ การฝากตัวเป็นศิษย์ การไหว้ครู การยกครูหรือขึ้นครู การเปรียบมวย และวิธีการจัดชกมวยของชาวโคราชในสมัยรัชกาล ท่ี 5 รัชกาลท่ี 6 โดยเนอ้ื ในของแต่ละอย่างล้วนเปน็ กุศโลบายท่ีครมู วยโคราชวางไว้ให้ลูกศิษย์เป็นคนดี ท้ังทางกาย วาจา จิต ใจ มีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณเป็นท่ีต้ัง เป็นที่ยึดเหนี่ยว ทางด้าน จติ ใจ ไม่หวัน่ ไหวครั่นครา้ มหรือกลัวคู่ตอ่ สู้ และนาวิชาการมวยไปใช้ให้เกิดประโยชน์สุขแก่คนอื่น แก่ ชาติบา้ นเมอื ง ไมข่ ม่ เหงรงั แกคนอนื่ ดังนั้น ประเพณีของมวยไทยโคราช จึงเป็นสิ่งที่ครูมวยโคราชได้ปลูกฝังให้แก่ลูกศิษย์ ได้ ปฏิบตั ติ าม สมควรท่จี ะเอาเปน็ แบบอยา่ งในการดารงชีวติ ประจาวันไดเ้ ปน็ อย่างดี โคลงคาถาและจรรยามวยคากลอน จากตน้ ฉบับลายมือครบู วั นิลอาชา (วดั อิ่ม)
237 อานาจ พกุ รีสุข และ ประจวบ นิลอาชา (2530 : 44 – 46) เม่ือเวลากราบลงกับธรณี อย่าได้มีน้าจิตรคิดกังขา ให้ระลึกถึงคณุ พระพุทธา พระธรรมาสังฆาเป็นอาจิณ คุณบดิ ามารดาพาบงั เกิด สดุ ประเสรฐิ ตรองตรึกระฤกถึง อกี ครูบาอาจารยป์ ระทานพณิ ขอให้พณิ โยย่งิ ทุกสง่ิ ไป ระฤกถึงคุณพระมหากษตั รยิ ์ ช่วยบาบตั ร์อยา่ ให้ปราชยั แล้วลกุ ต้งั ตวั ตรงดารงค์ใจ ห้ามอยา่ ให้โมโหและโกรธา เอาน้ิวมอื รอดรู ูจมูก อยา่ ดูถูกหน๊ะจงจาเอาคาหนา สังเกตดรู ู้ลมสูนจันทร์กลา คลอ่ งทางขวาหรอื ทางซา้ ยให้ยา้ ยตาม จงยกเท้าก้าวย่างทางคล่องก่อน ตามสนุ ทรบอกเสร็จอยา่ เขด็ ขาม จงึ ยกเท้าก้าวหนา้ สงา่ งาม ใหย้ ่างตามสามขมุ เขา้ คุมเชิง พระพทุ ธังธรรมงั สงั ฆังนี้ ให้เปน็ ทชี่ เู ลศิ ประเสริฐเหลิง จงตั้งใจในอรุ าให้ร่าเรงิ คอยทีเ่ ชงิ ชิงชยั ในทานอง เมอ่ื หยดุ ยง้ั นง่ั พักอยา่ หนักจติ ต์ จงตรกึ คดิ แกไ้ ขอยา่ ได้หมอง คดิ แก้ไขให้ดีทีทานอง ขะเมน่ มองหาอบุ ายใส่กายตน นั่งกาหนดจิตภาวนาก่อนยา่ งสามขุม พุทธัง อนิจจัง อนัตตา ธรรมัง อนจิ จัง อนัตตา สงั ฆงั อนิจจัง อะนตั ตา ศัพะภัยวนิ าศสนั ติ ฯลฯ แล้วยนื ขึ้นยา่ ง 3 ขุม ดงั มีพระคาถาประกอบอยู่แล้ว แล้วใหค้ ดิ จิตรราพงึ คะนึงนกึ จงระลกึ และสังเกตดูเหตุผล เขากับเราเทา่ กันประจัญประจญ นายสนามตามตนท่านเปรยี บมา เห็นเท่ากนั ทา่ นจึงสรรให้เราชก อยา่ ตื่นตกใจจติ รคิดกังขา เรากเ็ รยี นรอบรู้จากครบู า อย่ารอราหวาดหวน่ั ประพร้ันใจ จะแสนสดุ เชย่ี วชาญสักปานไหน ประการหนึ่งเขาก็ไม่มีซง่ึ อาวุธ เขาทาไมจึงไม่เกรงฝีมอื เรา มสี องมือด้วยกนั จะพรน้ั ใย เราก็จัดสองมอื คอื กบั เขา มใิ ชว่ ่าเขาจะมีมาสีห่ ัตถ์ หวงั จะเขา้ ชกมวยจึงหัดมา ไดฝ้ กึ หดั มาต่อครูอยา่ ดูเบา ในการเชน่ ชกมวยมาหนักหนา อยา่ งสาหสั ก็แตกสลบไป อน่งึ เรากเ็ ข้าใจไดร้ เู้ หน็ ประจวบจบแน่ลงท่ตี รงไหน กเ็ หน็ แต่ฟกช้าเป็นธรรมดา จะหวาดหวน่ั พรั้นใจไม่สมควร ท่ชี กมวยตายเลยไม่เคยเหน็ ประจวบเจาะจงจติ รย่อมผดิ ผวน เรากช็ าตชิ ายแทแ้ น่วา่ ไทย ประจวบจวนเคราะห์เห็นคงเป็นจริง ไมค่ วรคิดขลาดเคลื่อนเหมือนผู้หญงิ ประการหนึง่ ถ้าวา่ เวลาเคราะห์ อยา่ ประวิงโอ้เอ้เปลืองเวลา ถึงอย่ใู นบา้ นเรอื นไมเ่ ชือนชวน จงตัง้ ใจนกึ ดตู ามครหู นา เราก็เชอื้ ชายชาติฉกาจจติ ร ต้องต่อสดู้ สู ักคราไม่ขลาดกลวั ด้วยความตายติดตนไม่พ้นจรงิ ให้เพอื่ นฝูงเขาหวั เราะเยาะเล่นได้ ทง้ั แคลว่ คล่องปอ้ งปดั ก็หดั มา
238 มาดว่าเขาจะมซี ึง่ อาวธุ หอก แหลน ดาบ ทวน งา้ ว ยาวที่สุด จะทารา้ ยร่างกายเรามว้ ยมุด คงตง้ั ท่ารับรุดไม่ถอยเลย ตัวตอ่ ตัวเขา้ ตา้ นกนั เฉยๆ น่กี ็แต่มือเปลา่ ๆเขา้ หกั หาญ เราก็เคยฝึกหดั สนั ทดั ทาง ไมค่ วรจะหว่ันไหวน้าใจเลย ใหเ้ พ่อื นฝูงเหน็ ขลาดจะหมองหมาง อยา่ ได้ทาน้าจติ รคิดขยาด จะลบลา้ งฤๅชาเวลาแล จะดูหมิ่นยินร้ายระคายคาง อยา่ นง่ั เร่ือยเปล่าว่างทาหา่ งเห ให้คิดแก้ด้วยอุบายในกายตน หนง่ึ เมอ่ื หยดุ สานกั พักหายเหน่ือย คิดหลบลอดหลีกรัดอยา่ ขดั สน คิดผันผ่อนรอนตัดระคดั ระแค ประชาชนชมชน่ื จะลือชา จะเปล่ยี นแปลงแย่งเยาเอาท่ีปลอด จะฟงุ้ เฟ่ืองสืบสายไปภายหนา้ ให้ตรึกตรองปองทาตามยบุ ล ชาวประชาชมซึ่งฝมี ือเรา เป็นมวยดมี ีฝีมือเขาลอื เลื่อง ตลอดจนบุตรหลานพาลระอา ในการไหว้ครูนักมวยจะแสดงการเหยาะย่างอย่างสง่างามน่าเกรงขามมาก ท่าย่างสามขุมทา ให้เห็นกลา้ มเปน็ มัด ๆ ของนักมวยบางคนข่มขวญั ค่ตู ่อสเู้ ป็นอันมาก เม่อื ไหว้ครูเสร็จเขานิยมเอาทราย มาโรยศีรษะเป็นการเรียกสมาธิ เพ่ือให้เห็นว่าร่างกายเป็นของไม่เที่ยง เพราะฉะนั้นจึงไม่ควรหวง สังขาร ไม่ควรกลัวตาย ไม่ช้าไม่นานก็จะกลายเป็นดินเป็นทรายไปตามวาระ เขาสอนธรรมกันตรงน้ี และปลุกใจใหน้ กั มวยสู้ 4.7. การเปรยี บมวย ใช้ฆ้องใหญ่เป็นสัญญาณเรียกนักมวย เช่นวัดใดจะมีงานก็มีการตีฆ้องสัญญาณ เมื่อพวก นักมวยได้ยินก็จะทยอยกันมาเปรียบมวย สมัยน้ันยังไม่มีคณะนักมวย ไม่มีการฝึกซ้อม ไม่มีเป็นค่าย เช่นทุกวันน้ีใครอยากชกก็ไปสมัคร บ่อยครั้งท่ีพบว่าบางคนชกมวยไม่เป็นแต่ไปสมัครชกด้วยอารมณ์ สนุก จึงขึ้นชกกันอย่างไม่มีชั้นเชิง เรียกว่ามวยวัด การเปรียบมวยก็ไม่มีอะไรมาก กรรมการผู้เปรียบ มวยจะถามดูขนาดของรา่ งกาย ดคู วามสูง แล้วกถ็ ามความสมัครใจ เมื่อทั้งสองยินดีชกกัน ก็นัดวันมา ชก เม่ือมีการเปรียบมวยขึ้นชกในสมัยนั้นมักจะมอบให้พระเหมสมาหารเป็นประธานหรือนายสนาม ทุกครั้ง การป่าวประกาศให้ผู้คนได้รู้ใช้วิธีแบบโบราณ คือให้คนตีฆ้องร้องป่าวไปตามหมู่บ้านต่าง ๆ และอยู่ไม่ห่างไกลจากตัวเมืองมากนัก พร้อมท้ังนาประกาศการชกมวยไปปิดไว้ท่ีประตูเมืองท้ัง 4 ทิศ เพ่ือให้ผู้ท่ีอยหู่ ่างไกลจากตัวเมืองมากๆได้รับทราบเวลาเข้ามาทาการค้าขายหรือธุรกิจติดต่อกับคนใน เมืองก็จะบอกต่อ ๆ กันไป พวกตีฆ้องก็จะพากันร้องว่า “ใครจะมาชกมวยให้มาเปรียบเน้อ “ถึง หมู่บ้านใดก็ร้องไปจนรู้กันทั่ว นักมวยเมื่อทราบจะพากันมาเปรียบที่บ้านคุณพระเหมสมาหารทุกครั้ง สมัยก่อนไม่มีนวมซ้อมหรือเครื่องชั่งน้าหนักตัว จับตัวเข้าเปรียบเทียบกันดู เห็นสูงต่าล่าสันพอกันก็ ถามวา่ ชกกันไหม ถ้าคู่ต่อสู้บอกเอาท่านก็ให้ลองปะมือกันดูก่อน เห็นว่าพอทัดเทียมกันแต่ละคู่เป็นที่ พอใจก็ให้ลงช่ือตามลาดับ ต้ังแต่คู่ท่ี 1 ถึงคู่ท่ี 7 หรือ 8 ตามความต้องการของเจ้าภาพ แล้วนักมวย เวลาชก ท่ีไหน ตาบลใด เวลาเท่าใด เป็นต้น พวกนักมวยทั้งหลายท่ีมาเปรียบได้คู่ชกแล้ว ก็จะพากัน กลับบ้านหาเชือกด้ายดิบตลอดจนเครื่องรางของขลัง ท่ีตนนับถือติดตัวไปพร้อมครูผู้แต่งมวย คร้ันได้
239 เวลาชกจริงประธานหรือนายสนามก็ตีฆ้องเป็นสัญญาณเรียกนักมวยที่ได้คู่ชกพร้อมพี่เล้ียงแ ละครู ผูแ้ ต่งมวยพากันเขา้ มาในสนาม 4.8. วิธกี ารจดั ชกมวยของชาวโคราชในสมยั รัชกาลที่ 5 รชั กาลท่ี 6 การแข่งขันชกมวยในสมัยนี้ นิยมจัดในงานวัด ในงานศพของคนระดับเศรษฐี แฟนมวย มักจะพูดกันว่าคนอย่างเรา ๆ อย่าไปคิดอยากตายกันเลยให้คนใหญ่คนโตเขาตายกันดีกว่า เราจะได้ ดูมวย สมยั นั้นไมม่ กี ารเผาศพกนั ในกาแพงเมอื ง วดั ที่มมี วยต่อยกนั บ่อยในงานศพคือวัดหนองบัวรอง และวัดสะแก ส่วนวัดโพธ์ินาน ๆ ครั้งแต่ที่วัดพลับหรือวัดอินทรารามหากมีมวยนักมวยไม่ชอบไปต่อย เพราะพื้นดนิ เปน็ ดนิ เหนียวแน่นมาก ลม้ แล้วเจ็บตวั มาก วัดอื่น ๆ พน้ื เป็นดินทรายจึงดีกว่า พูดอย่าง นี้จะเห็นว่ามวยสมัยก่อนไม่ได้ชกกันบนเวทียกพ้ืน แต่ชกกันบนพ้ืนดิน ใช้เชือกมะนิลาขนาดใหญ่ กั้นเป็นเวทีส่ีเหลี่ยมมีเชือก 3 เส้น เวลามวยยังไม่ต่อยก็เรียบร้อยดี พอเริ่มต่อยผู้คนก็เบียดเสียด จนเสาเวทีรวนเร ผลักกันไป ดันกันมาทาให้ขาดระเบียบ ผู้จัดต้องจ้างคนถือไม้เรียวไว้ตีไล่คนท่ี ลา้ เวทีเชือกเขา้ ไป พวกเดก็ ๆ มักถกู ตถี กู เฆี่ยนกนั เปน็ ประจา ครั้นได้เวลาชกจริงประธานในพิธีหรือนายสนามตีฆ้องเป็นสัญญาณเรียกนักมวยท่ีได้ คู่ชก พรอ้ ม พี่เล้ยี งและครูผู้แต่งมวยเข้ามาในสนาม น่ังอยู่คนละพวกรอบ ๆ สนามด้านในโดยใช้เชือกขึงไว้ เป็นเขต ดา้ นนอกกเ็ ป็นพรรคพวกญาติพี่น้องของนักมวยและคนดู ต่างขนกันมาเชียร์และเล่นต่อรอง กันเป็นที่สนุกสนาน เมื่อพร้อมแล้วนายสนามก็จะเรียกคู่มวยตามลาดับ มีกรรมการห้ามมวยเพียง 1 คน ไมม่ ีกรรมการให้แต้มเหมือนสมัยนี้ การตัดสินแพ้ชนะนั้นเป็นหน้าท่ีของประธานกรรมการหรือ นายสนามจะพิจารณาร่วมกัน การต่อสู้ในสมัยก่อนต่อสู้กัน 3 รอบของนักมวยที่เปรียบได้ในวันน้ัน เช่น คู่ท่ี 1 เมือ่ ตอ่ สกู้ ันประมาณ 3 นาที ไมม่ ีฝา่ ยใดเพลยี่ งพล้า ผู้ห้ามบนเวทีก็จะจับแยกออกไปพัก คู่ที่ 2 เร่ิมเข้าชกต่อไป เมื่อครบทุกคู่แล้วก็นับเป็น 1 รอบ แล้วให้คู่ท่ี 1 คู่ท่ี 2 และคู่ที่ 3 ข้ึนชก ตามลาดับเร่อื ย ๆ ไปจนครบคู่ละ 3 รอบ ถ้ารอบไหนไม่มีการน็อค ผู้ห้ามมวยก็นาเข้าไปรับเงินรางวัล จากผู้เป็นประธาน จะมาก จะน้อยแค่ไหนแล้วแต่ประธานจะให้ (แต่ก่อนใช้เงินบาทแจก) ปรกติคน แพไ้ ด้ 8 บาท ผ้ชู นะไดป้ ระมาณ 12 บาท ถ้าคู่ใดชกไดด้ ุเดอื ดก็จะได้เงินรางวัลเพ่ิมขึ้นแล้วแต่กรณีย์ ผู้เขา้ ชมจะทราบได้ทุกครั้งว่าฝ่ายชนะได้เท่าไร ฝ่ายแพ้ได้เท่าไร ถ้าคู่ชกรายใดชกไปถึง 3 รอบ หรือ เท่ากับ 3 ยก ไม่แพ้ไม่ชนะกัน แม้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะบอบช้ามากน้อยสักเพียงใดหรือเป็นต่อสัก เท่าไร ท่านประธานกรรมการก็ตัดสินให้เสมอกัน ฝ่ายบอบช้ากว่าจะได้ไม่ต้องเสียกาลังใจและหา โอกาสฟิตตัวให้ดี ให้เข้มแข็ง ไว้ขึ้นสู้ในงานครั้งต่อไป และเม่ือคู่น้ีได้ข้ึนชกกันใหม่อีกครั้ง คนดูก็ยิ่ง มากและสนกุ คิดว่าเป็นมวยคู่อาฆาตหรือแก้เผ็ดกัน การชกมวยในสมัยนั้นไม่มีนวมใช้เช่นปัจจุบันใช้ ด้ายดิบพันไว้ท่ีมือเรียกว่า “คาดเชือก” และใช้ผ้าขาวม้าม้วนผูกเป็นนวมป้องกันลูกอัณฑะ ซ่ึงต่อมา ไดท้ าเปน็ เบาะรูป 3 เหลย่ี ม ใชเ้ ชอื กผกู ชายมมุ ท้ัง 3 มมุ ใช้แทนกระจบั (สมัยโบราณยังไมม่ กี ระจบั ) การชกแต่ละคร้ัง มักไม่เกิน 5 คู่ ผู้เป็นประธานในการชกคือสมุหเทศาภิบาล หรือเจ้าเมือง ซึ่งถือกันว่าเป็นประธานแทนองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นักมวยทุกคนต้องถวายบังคมแล้ว ไหว้ครูก่อนชกเสมอ กล่าวกันว่าท่าร่ายราไหว้ครูเป็นส่วนหนึ่งของการถวายบังคมน่ันเองสมควรจะ บันทึกไว้ด้วยวา่ เมื่อชกมวยกันบนพื้นดิน คนดูก็รุมล้อมเฮฮาเหมือนดูปาหี่ จึงมีคนอีกจานวนหน่ึงนิยม ดมู วยฟรดี ว้ ยการปนี ข้ึนไปดูบนต้นไม้เตม็ ไปหมดโดยเฉพาะพวกเด็ก ๆ
240 ระยะเวลาต่อมา ความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองได้มารวมตัวกันอยู่ท่ีหน้าประตูชุมพล ซึ่ง เป็นสถานท่ีต้ังอนุสาวรีย์ของท่านท้าวสุรนารี เพื่อให้สนามมวยเหมาะสมอยู่ในย่านชุมนุมชน ท่านได้ ยา้ ยมาสรา้ งเวทีมวยประจาข้นึ ทสี่ วนรกั หนา้ รา้ นโพธิท์ องทศิ เหนือของอนสุ าวรียท์ ้าวสุรนารี มวยโคราชเริ่มมีกลุ่มชนสมองใสได้ร่วมกันสร้างสนามมวย หรือเวทีมวยประจาขึ้นเป็น คร้ังแรกท่ีส่ีแยกสวนหมาก เริ่มมีแบบแผนเป็นสากล คือ สวมนวม มีเวทียกพื้น และมีสนามมวยเป็น การถาวร ใน พ.ศ.2485 คือ เวทมี วยวิกนา่ แช ตอ่ มาคอื ที่ตั้งโรงภาพยนตร์ราชสีมาภาพยนตร์ และใน สมัยปัจจุบัน คือบริเวณห้างสรรพสินค้าคลังพลาซ่า ถนนจักรี (ชาวโคราชเรียกว่าคลังพลาซ่าเก่า) และเป็นที่ต้งั ของโรงแรมจอมสุรางคป์ ัจจุบนั นี้ ใกลก้ ับบรเิ วณตึกดินอันเป็นสถานที่ท่ีรับรู้กันทั่วไปของ ชาวโคราชในสมัยน้นั เหมอื นกับสถานท่สี าราญจติ หรือส่แี ยกหนองบวั รองท่ชี าวโคราชทราบกนั ดี พ.ศ.2488 ก็ได้มีการสร้างสนามมวยขึ้นในบริเวณใกล้คูเมืองหน้าวัดสะแก ถนนราชดาเนิน ต่อมาคือตลาดเทศบาล 1 และได้เลิกไปแล้วในปัจจุบัน ชื่อสนามมวยสุรนารี จากนั้นย้ายไปอยู่ท่ีถนน จอมสุรางค์ยาตร (ปัจจุบันคือบริเวณไนท์คลับ)นายสนามคือพันเอกพระยาฤทธิรงค์รณเฉท ท่านเป็น บุคคลสาคญั ท่ีมีส่วนสง่ เสรมิ ศิลปะมวยไทยของโคราชเปน็ อย่างมาก ในช่วงน้ีมีคณะนักมวยที่มีช่ือเสียง ที่สมควรบันทึกไว้คือ คณะเทียมกาแหง คณะแขวงมีชัย คณะอุดมศักดิ์ คณะกฤษณสุวรรณ คณะ สรุ พรหม คณะลูกสรุ ินทร์ คณะสินประเสรฐิ คณะมวยสงิ หพัลลภฯลฯ ในการจัดใหม้ ีสนามมวยประจาข้ึน ณ สถานทแ่ี หง่ นี้ ทาให้วงการมวยของโคราชเจรญิ ข้ึน ตามลาดับ และคกึ คักมาก การชกมวยคาดเชือกของเมืองโคราชในสมัยรัชกาลท่ี 5 รัชกาลท่ี 6 นิยมจัดในงานศพของ คนระดับเศรษฐี โดยจัดทีว่ ัดหนองบัวรอง วัดสระแก วัดโพธิ์ ส่วนที่วัดพลับหรือวัดอินทาราม นักมวย ไม่นยิ ม ไปชกเพราะพ้นื เปน็ ดินเหนียวทีแ่ หง้ เวลาล้มแล้วเจ็บ ชกกันบนพ้ืนดิน เอาเชือกมะนิลา 3 เส้น ขนาดใหญ่ ก้ันเป็นเวทีสี่เหลี่ยม ข้อเสียคือเวลามวยชกคนดูจะเบียดกันและรุมล้อมขาดระเบียบ เม่ือ ถึงเวลาชก ประธานหรือนายสนามจะตีฆ้องเป็นสัญญาณเรียก นักมวยที่จะชกพร้อมพ่ีเล้ียงและครู ผู้แต่งมวยเข้าไปในสนาม มีกรรมการห้าม 1 คน ไม่มีการให้แต้ม ก่อนแข่งขันนักมวยต้องถวายบังคม และไหว้ครูเพ่ือแสดงความเคารพพระเจ้าแผ่นดิน หรือผู้แทนพระองค์ และแสดงความเคารพครู อาจารย์ การตัดสินแพ้ชนะเป็นหน้าที่ของประธานหรือนายสนามต่อสู้กัน 3 รอบ (คนละ 1 ยก) หมนุ เวยี นกนั ไปเมื่อครบทุกคูแ่ ล้วกเ็ วียนเขา้ ชกอกี หากครบ 3 รอบ (ยก) ไม่แพ้ไม่ชนะกัน ประธานจะ ตัดสินให้เสมอกัน นักมวยพันมือด้วยด้ายดิบจากมือข้ึนไปถึง ข้อศอก เอาผ้าขาวม้าพับเป็น สามเหลี่ยมผูกมุมทั้งสามมัดท่ีเอวป้องกันอวัยวะเพศแทนกระจับ การชกแต่ละครั้งไม่เกิน 5 คู่ เงิน รางวัลแล้วแต่ประธานจะให้ หากคู่ใดชกดุเดือดจะได้รางวัลเพ่ิมข้ึน ต่อมาทางการได้สร้างเวทียกพ้ืน แบบถาวรขน้ึ ท่หี น้าประตชู ุมพล แต่กไ็ ด้ย้ายไปสร้างอีกหลายสถานทีด่ ว้ ยเหตผุ ลหลายประการ การจัดการความร้มู วยไทยสายลพบุรี ในการวจิ ยั เรื่อง การจดั การความรู้มวยไทยสายลพบุรี แบ่งผลการวิจยั เปน็ 4 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 ประวัติความเปน็ มาของมวยไทยสายลพบรุ ี ตอนท่ี 2 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายลพบุรี
241 ตอนที่ 3 กระบวนท่าของมวยไทยสายลพบุรี ตอนที่ 4 ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายลพบรุ ี 1. ประวตั ิความเปน็ มาของมวยไทยสายลพบรุ ี การวิจัยเรื่องการจัดการความรู้มวยไทยสายลพบุรี ผู้วิจัยได้ศึกษา เอกสาร ราชกิจจา นเุ บกษา หนังสือ แผ่นไมโครฟีล์ม และสัมภาษณ์กลุ่มผู้อาวุโสในวงการมวยของจังหวัดลพบุรี โดยใช้ Focus-group เก่ียวกับความเป็นมาของมวยไทยสายลพบุรี ย้อนอดีตราลึกถึงมวยไทยสายลพบุรี ใน สมัยท่ีผ่านมา จากนั้น ได้นาข้อมูลที่ได้ศึกษามาสรุป พบว่า มวยไทยสายลพบุรีที่มีประวัติความ เป็นมาและววิ ฒั นาการ ตกทอดตดิ ต่อมายาวนานหลายชัว่ อายุคน นับต้ังแต่เร่ิมสร้างอาณาจักรทวาร วดี จนมาถงึ ชว่ งเวลาท่ีมวยไทยสายลพบรุ ีเร่ิมกาเนิดขึ้นมา มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ มากมาย ทั้งในด้านตัวบุคคล สถานท่ี ความสาคัญและโอกาสในการชกมวย เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการศึกษา ง่ายข้ึนและเนื้อหาสาระมีความต่อเนื่องกับเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ของมวยไทยสายลพบุรี จึงแบ่งขั้นตอนในการนาเสนอเรื่องประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายลพบุรีออกเป็น 4 ช่วงเวลา ตามลาดบั เหตุการณด์ งั มีรายละเอียดดงั น้ี ยคุ ที่ 1 ระหว่างปีพทุ ธศักราช 1200-2198 ช่วงเริม่ ต้นของมวยไทยสายลพบรุ ี (วรวิทย์ วงษ์ สุวรรณ์ ทีน่ ี่เมืองลพบรุ ี 2547 : 7) ยุคที่ 2 ระหว่างปีพุทธศักราช 2199 - 2410 ช่วงสืบทอดของมวยไทยสายลพบุรี (ชัชชัย โกมารทัต, ฟอง เกิดแก้ว บทความเรื่อง วิวัฒนาการกีฬามวยไทย โครงการไทยศึกษา, ฝ่ายวิชาการ, จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. 2525 : 3) ยุคท่ี 3 ระหว่างปีพุทธศักราช 2411-2487 ช่วงพัฒนาของมวยไทยสายลพบุรี (ชัชชัย โกมารทัต ฟอง เกิดแก้ว บทความเรื่อง วิวัฒนาการกีฬามวยไทย โครงการไทยศึกษา,ฝ่ายวิชาการ,จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . 2525 : 3) ยุคที่ 4 ระหว่างปีพุทธศักราช 2488 ถึงปัจจุบัน ช่วงสมัยใหม่ของมวยไทยสายลพบุรี (ชัชชัย โกมารทัต, ฟอง เกิดแก้ว บทความเร่ือง วิวัฒนาการกีฬามวยไทย โครงการไทยศึกษา,ฝ่ายวิชาการ, จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. 2525 : 3) ยคุ ท่ี 1 ระหวา่ งปพี ุทธศักราช 1200 - 2198 ชว่ งเรมิ่ ต้นของมวยไทยสายลพบุรี มวยไทยสายลพบุรี เริ่มมีความเก่ียวพันกับกาเนิดอาณาจักรทวารวดีลพบุรี ที่ได้ช่ือว่า เป็นปฐมบทของปรมาจารย์วิทยายุทธ์แห่งสานักเขาสมอคอน อันเป็นท่ีมาของมวยไทยสายลพบุรีใน ปจั จุบัน ดังความว่า สานักเขาสมอคอนเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรทวารวดีลพบุรี สร้างโดยพระยา กาฬวรรณดิศ โอรสของพระยากากะพัตรแห่งเมืองตักศิลา โดยทรงสร้างเมือง “ละโว้” หรือเมือง “ลวปุระ” ขึ้น เม่ือจุลศักราชท่ี 10 หรือปีศักราชที่ 1191 ในราวพุทธศตวรรษที่ 12 โดยได้ทรงต้ัง ราชธานีอยู่บนฝั่งท่ีราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง ไกลออกไปด้านทิศตะวันออก ปรากฏเทือกเขา สมอคอน อาเภอท่าวุ้ง จังหวัด ลพบุรี ในอดีตกาลเขาสมอคอนคือสถานท่ีต้ังสานักศิลปวิทยา ที่มี ช่ือเสียงโด่งดังเกรียงไกร มาต้ังแต่ปีพุทธศักราชปี 1200 ที่ผู้คนท่ัวทุกสารทิศได้หลั่งไหลมาเรียน ศิลปะวิทยาการและชื่อเสียงสุกะทันตะฤๅษี เจ้าสานักแห่งเทือกเขาสมอคอน ได้แพร่สะพัดไปทั่วทุก แว่นแคว้นของชาวไทย เม่ือ 1,300 ที่ผ่านมา อันเป็นเวลาหลังจากพระยากาฬวรรณดิศ ได้ตั้งเมือง
242 ลพบุรีลว่ งได้ 90 ปี โดยกอ่ นปีพุทธศักราช 1,200 ได้มีโอรสของพระยาวองติฟองโพธิญาณ แห่งกรุงวิ เทหราช (อาจเป็นหนองแสในจีน) 2 พระองค์ ช่ือ วาสุเทพ และ สุกะทันตะได้ชักชวนกัน เดินทางลง มาทางทิศใต้ โดยพระโอรสวาสุเทพ ได้หยดุ พานักท่ีดอยสุเทพ ส่วนพระโอรสสุกะทันตะได้ตั้งสานักอยู่ ท่ีภเู ขาด้านทิศตะวนั ออกของเมอื งละโว้ ซงึ่ มีชื่อเรียกว่า “เขาสมอคอน” สภาพของเทือกเขาสมอคอน เมื่อราวปีพุทธศกั ราช 1,200 มีสภาพเป็นป่าที่เหมาะสมแก่การต้ังสานัก เพ่ือเป็นแหล่งให้ผู้คนได้เดิน ทางเข้ามาเรียนศิลปวิทยาแขนงต่าง ๆ ที่เจ้าสานักมีความรู้พอที่จะส่ังสอนวิชาให้กับผู้ที่เป็นศิษย์ได้ รวมท้ังการฝึกวทิ ยายุทธข์ องเหล่าผู้กล้าทั้งหลายในยุคน้ันด้วย ท้ังที่เป็นพระโอรสของกษัตริย์ในเมือง หรือแว่นแคว้นต่าง ๆ ในยุคน้ัน เมื่อสุกะทันตะได้ก่อตั้งสานักฝึกวิทยายุทธ์ที่เขาสมอคอน ในคร้ัง กระโน้น จึงได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งเขาสมอคอน (วรวิทย์ วงษ์สุวรรษ์ 2545 : 29) แต่นิยม เรียกกันโดยท่ัว ๆ ไปว่า “สุกะทันตะฤๅษี” ความเจริญรุ่งเรืองของสานักเขาสมอคอนของสุกะทันตะ ฤๅษี ได้มีการผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนเจ้าสานักมาหลายช่ัวอายุคน โดยทอดระยะเวลาที่ยาวนานจาก ปลายพุทธศตวรรษท่ี 12 มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ทาให้มีอายุยืนนานถึงประมาณ 600 ปี และ คาดการณ์ว่ามีการผลัดเปลี่ยน หมนุ เวียนเจา้ สานักเป็นจานวน 15 คน และยังได้ช่ือว่าเป็นสานักวิทยา ยุทธ์ที่มีชื่อเสียงมากในยุคนั้น จนอาจนาไปเปรียบได้กับ สานักตักศิลาทิศาปาโมกข์ของประเทศ อินเดยี คร้งั กระนั้นเมืองละโวห้ รือลพบรุ ี มคี วามเจริญร่งุ เรืองในศิลปวัฒนธรรมจนถึงขีดสุดไม่มีสานัก ใดจะมาเทยี บไดก้ บั สานกั ของสกุ ะทันตะฤๅษีแห่งเขาสมอคอน ดังหลักฐานในพงศาวดารเมืองเงินยาง เชียงแสน ไดก้ ล่าวถงึ พระราชโอรส 2 พระองค์ของเจ้าเมืองทางตอนเหนือของไทย คือ “พ่อขุนราม” กับ “พ่อขุนงาเมือง” ว่าได้เคยเสด็จมาศึกษาศิลปะวิทยา ณ สานักเขาสมอคอนก่อนท่ีจะกลับไป บ้านเมืองเพ่ือเตรียมตัวเป็นกษัตริย์ในอนาคตต่อไป หนังสือพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสนมี ข้อความตอนหนึ่งว่า “ท้าวงาเมือง ประสูติจากครรภ์มารดาเมื่อศักราชได้ 600 ปีจอ ทศศก เดือน 4 ถึงอายุได้ 16 ปี ไปเรียนด้วยสุกะทันตะฤๅษี ที่ภูเขาเมืองละโว้ ได้จบบริบูรณ์มนต์ทั้งปวงสององค์ ด้วยกัน พระรว่ งครูเดียวกนั งาเมืองอยพู่ ะเยา พระรว่ งอยู่สโุ ขทยั \" จากหนังสือพงศาวดารนี้ บอกให้ รู้ว่าท้าวงาเมืองหรือพ่อขุนงาเมืองโอรสเจ้าเมืองพะเยา ได้บุกป่าฝ่าดงจากเหนือลงสู่ใต้มาเรียน ศิลปวิทยาที่สานักของ สะกะทันตะฤๅษีและเป็นศิษย์ครูเดียวกันกับ “พระร่วง” หรือ “พ่อขุน รามคาแหง” ซ่ึงในพงศาวดารไดก้ ล่าวอกี วา่ พอ่ ขุนรามคาแหงเกิดเมอ่ื จลุ ศกั ราช 591 หรือปีพุทธศักราช 1772 ส่วนพ่อขุนงาเมืองเกิดเมื่อ จุลศักราช 600 หรือปีพุทธศักราช 1781 ดังน้ันพ่อขุนงาเมืองจึงมีอายุอ่อนกว่าพ่อขุนรามคาแหงถึง 9 ปี แต่ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จไปทรงศึกษาศิลปะวิทยา ที่เทือกเขาสมอคอน ด้วยพระชนมายุ 16 พรรษาเหมือนกัน โดยพ่อขุนรามเสด็จไปทรงศึกษาและเป็นศิษย์ในสานักสุกะทันตะฤๅษี แห่ง เทือกเขาสมอคอนเมืองละโว้ เม่ือปีพุทธศักราช 1788 เป็นระยะเวลาหลังจากน้ันอีก 9 ปี พ่อขุนงา เมืองจึงได้เสด็จไปศึกษาท่ีสานักสุกะทันตะฤๅษี เมื่อปีพุทธศักราช 1797 และหลังจากนั้นอีก 1 ปี พอ่ ขุนรามได้เรียนจบหลักสูตรและเสด็จกลับอาณาจักรสุโขทัย อีก 3 ปีต่อมาพ่อขุนรามคาแหงได้ทา สงครามกบั ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด โดยรบชนะในสงครามครั้งนั้น ด้วยพระชนมายุเพียง 19 พรรษา ซงึ่ ไดน้ าหลักการรบท่ีเรียนมาจากสานักวิทยายุทธเ์ ขาสมอคอนเมืองลพบรุ ี มาใช้ในการรบจนสามารถ รบชนะเจ้าขุนสามชน เจา้ เมอื งฉอด พระราชบิดาจึงได้พระราชทานนามให้ใหม่ว่า “รามคาแหง”
243 ภาพท่ี 166 เทือกเขาสมอคอน อาเภอท่าวงุ้ จังหวดั ลพบุรี สานักศึกษาศิลปะศาสตร์ของสุกะทันตะฤๅษีท่ีเทือกเขาสมอคอน เมืองลพบุรี นับตั้งแต่แรก ต้งั จนมาถงึ ศิษยผ์ ู้โด่งดงั คือพอ่ ขุนรามคาแหง กับพ่อขนุ งาเมือง ต้องใช้ระยะยาวนานกว่า 600 ปี จึงมี ช่ือเสียงโด่งดังไปทั่วอาณาจักรสยาม ดังนั้นท้ังสองพระองค์จึงนับเป็นกษัตริย์ 2 พระองค์แรกท่ีเป็น ศิษย์ สานกั เทอื กเขาสมอคอนแห่งเมืองลพบรุ ี ทไ่ี ด้ทรงทาคุณประโยชน์ใหแ้ ก่อาณาจกั รทวาราวดี หรือ เรียกว่า สยามประเทศในเวลาต่อมา ประมาณว่าศิษย์ของสานักเขาสมอคอนท้ังสองพระองค์นี้ จะเป็นศิษย์ชุดสุดท้ายของสานักวิทยายุทธ์แห่งเทือกเขาสมอคอนด้วย เนื่องจากในภายหลังนับจาก ท่ีกล่าวถึงกษัตริย์ทั้งสองพระองค์นี้แล้ว ไม่ปรากฏว่ามีพงศาวดารเล่มใดกล่าวถึงสานักเขาสมอคอน อีกเลย แต่ก็ถือได้ว่าในช่วงนี้เป็นช่วงแห่งการใช้ศิลปะการต่อสู้แบบไทยและเป็นต้นแบบที่ใช้ จุดประกายการต่อสู้ป้องกันตัว เพื่อเอาชีวิตรอดและป้องกันอาณาจักรโดยการนาเอาศิลปะการต่อสู้ ปอ้ งกนั ตัวดงั กลา่ วมาใชใ้ นเวลาต่อมา ยคุ ท่ี 2 ระหวา่ งปีพุทธศกั ราช 2199 - 2410 ช่วงสบื ทอดของมวยไทยสายลพบุรี มวยลพบุรีในช่วงน้ีเร่ิมข้ึนในปีพุทธศักราช 2199 เม่ือสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อัครมหากษัตริย์ไทยได้ทรงข้ึนครองราชย์ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี 27 แห่งอาณาจักรกรุงศรี อยุธยา ในขณะทีพ่ ระองคอ์ ายุ 24 พรรษา ในยุคนี้เป็นยุคที่รุ่งเรืองสุดขีดของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และอาณาจักรลพบุรี ด้วยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชไม่โปรดท่ีจะประทับอยู่ในอาณาจักรกรุงศรี อยธุ ยา ทเ่ี ปน็ เมืองหลวงแตพ่ ระองค์ทรงโปรดให้สร้างและฟืน้ ฟอู าณาจกั รลพบรุ ใี ห้เป็นเมืองเมืองหลวง แห่งที่ 2 ของกรุงศรีอยุธยา โดยในปีพุทธศักราช 2208 ได้สร้างพระราชวังข้ึนเป็นจานวนหลาย พระท่ีน่ัง ในพระนารายณร์ าชนเิ วศน์ ได้แก่ พระทนี่ ่งั สุทธาสวรรค์ พระท่ีน่ังจันทรพิศาล พระที่นั่ง ดสุ ิตสวรรคธ์ ัญญามหาปราสาทและพระที่น่ังไกรสรสีหราชหรือพระท่ีนั่งเย็น สาหรับใช้เป็นที่พักผ่อน พระอิรยิ าบท นอกจากน้ี สมเด็จพระนารายณ์ ฯ ยังได้ทรงศึกษาศิลปะวิทยากับพระมหาราชครูและ พระครูพรหมมนุ ขี ณะทรงประทับทพี่ ระนารายณพ์ ระราชนิเวศนเ์ ป็นระยะเวลานานถึง 6 ปี โดยได้ทรง ศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยาทุกแขนงที่เหมาะสมกับการเป็นกษัตริย์ ได้แก่ พระไตรปิฎก กฎหมาย การแต่งโครงฉันท์ กาพย์ กลอน พระเวท วชิ าเวทมนตค์ าถา ตารบั พชิ ยั สงคราม การข่ีช้าง การขี่
244 ม้า การแลน่ เรอื และการตอ่ สู้ป้องกันตวั (พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน) โดยพระองค์ทรงโปรด ปรานการชกมวยมากและโปรดให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการกีฬาอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ มวยไทยนั้น ไดร้ ับความนยิ มมากจนกลายเป็นกีฬาอาชีพ ในครั้งนั้น กรุงศรีอยุธยาและลพบุรีได้เข้า สู่ยุคท่ีเจริญรุ่งเรืองสุดขีดอีกสมัยหน่ึง ทาให้มวยไทยในยุคน้ีได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางไปด้วย เนอื่ งจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงสนับสนุนการฝึกมวยเป็นอย่างดี ปัญญา ไกรทัศน์ ประวัติ มวยไทย (2524 : 4) กลา่ วว่า ในชว่ งน้ีมีสานกั มวยเกิดขน้ึ เป็นจานวนมาก จึงมีการแข่งขันชกมวยอยู่ บ่อยครั้งทั้งในเมืองลพบุรี อยุธยาและหัวเมืองใกล้เคียงและในสมัยนี้อีกเช่นกัน ได้เริ่มมีการทา ขอบเขตของสังเวียน โดยนาเชือกมาขึงเป็นรูปส่ีเหลี่ยม นับเป็นเวทีมวยในสมัยแรก ๆ ของไทยที่ นักมวยจะใช้ด้ายดิบชุบแป้งหรือน้ามันดินจนแข็งมาพันมือ เรียกว่า คาดเชือก หรือมวยคาดเชือก และยงั นยิ มสวมมงคลไวท้ ศ่ี ีรษะและผกู ผ้าประเจยี ดไวท้ ีต่ น้ แขนตลอดการแขง่ ขัน รวมท้ังการเปรียบคู่ ชกมวยในสมยั นตี้ อ้ งเป็นไปดว้ ยความสมคั รใจทงั้ สองฝา่ ย ไม่มีการคานึงถึงขนาดของร่างกายและอายุ มีกติกาการชกงา่ ย ๆ เพียงว่า ชกจนกว่าฝา่ ยหน่ึงฝา่ ยใดจะยอมแพ้ ดังนนั้ จึงพบวา่ ในงานเทศกาล ต่าง ๆ มีการจัดแข่งขันชกมวยอยู่ด้วยเสมอ ๆ รวมทั้งมีการพนันกันระหว่างนักมวยที่เก่งจากหมู่บ้าน หนึ่งกับนกั มวยท่ีเกง่ จากอกี หมบู่ ้านหนงึ่ นอกจากในรชั สมัยของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชแล้ว ยัง มีผู้สืบสานมวยไทยสายลพบุรีอีกท่านหนึ่ง คือ พระพุทธเจ้าเสือ ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์ในช่วงสืบ ทอดของมวยลพบุรี ท่ีทาให้มวยลพบุรีเป็นท่ีกล่าวขวัญเลืองลือไปทั่ว พระพุทธเจ้าเสือหรือพระ สรรเพชญที่ 8 พระองค์ทรงครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 29 แห่งกรุงศรีอยุธยา ระหว่าง พุทธศักราช 2240–2249 รวม 9 ปี พระองค์ประสูติ ณ ตาบลโพธ์ิประทับช้าง แขวงเมืองพิจิตร พระบดิ าถือเอานิมติ นาม บัญญัติชื่อ เจ้าเด่อื เพราะได้ฝังรกเจ้าเดื่อไว้ท่ีต้นอุทุมพร (มะเดื่อ) กับต้น โพธ์ิ เม่ือปีขาล พุทธศักราช 2205 และข้ึนเสวยราชสมบัติพระชนม์ได้ 36 พรรษา ดารงอยู่ในราช สมบัติได้ 9 ปี และได้สวรรคต ณ พระที่นั่งสุริยาอมรินทร์ ในปีพุทธศักราช 2249 พระชนมายุ 49 พรรษา ในขณะท่ีพระองค์ข้ึนครองราชย์ในปี พ.ศ.2246 มวยไทยสายลพบุรีก็ได้กาเนิดข้ึนมาในช่วงนี้ น่ีเอง นับเป็นต้นตารับมวยไทยสายลพบุรีโดยแท้จริง “มวยไทยสายลพบุรี” นับแต่อดีตกาลมาไม่มี ผู้ใดเขียนไว้โดยชัดเจน แต่ประวัติศาสตร์พงศาวดารไทยได้จารึกไว้ว่า ขุนหลวงสรศักดิ์ หรือสมเด็จ พระพทุ ธเจา้ เสอื เปน็ พระมหากษัตริย์พระองคห์ นง่ึ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่ได้รับการกล่าวขวัญมากใน เรื่องฝีมือชั้นเชิงมวยไทย เพราะพระองค์ทรงเร่ิมฝึกมวยไทยต้ังแต่ทรงพระเยาว์ โดยมีครูดั้ง ตาแดง เปน็ ครูฝึกมวยให้ ณ โรงเลี้ยงช้าง จังหวัดลพบุรี ซ่ึงพระองค์ได้เจริญเติบโตที่เมืองลพบุรีมาต้ังแต่ยัง ทรงพระเยาว์และอาศัยอยู่ในเมืองลพบุรีมาจนถึงวัยหนุ่ม และได้ฝึกฝนจนเชี่ยวชาญและมีฝีมือมาก และชอบการชกมวยมากถึงขนาดปลอมพระองค์ไปชกมวยกับประชาชนในสถานที่ต่าง ๆ ใน ประวัตศิ าสตร์ตอนหน่ึงกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเสือเสด็จทางชลมารคพร้อมเรือตามเสด็จ เม่ือไปจอดที่ ตลาดกรวดซึ่งกาลังมีงานวัดอยู่ พระองค์ทรงแต่งกายแบบชาวบ้านพร้อมกับมหาดเล็ก เสด็จไปยัง สนามมวย แล้วให้นายสนามมวยจัดหาคู่ชกให้ ทางสนามมวยได้ประกาศให้ประชาชนทราบว่า พระองค์เป็นนักมวยท่ีเดินทางมาจากเมืองกรุง ในครั้งนั้นนายสนามมวยได้จัดนักมวยฝีมือดีมาให้ชก กับพระพุทธเจ้าเสือถึง 3 คน คือ นายกลาง หมัดตาย นายใหญ่ หมัดเหล็กและนายเล็ก หมัดหนัก ซง่ึ แตล่ ะคนจดั วา่ เป็นยอดมวย ในทอ้ งถิ่นทง้ั ส้ิน แตใ่ นที่สุดพระพุทธเจ้าเสือก็สามารถเอาชนะนักมวย ทัง้ สามคนได้
245 ยคุ ท่ี 3 ระหวา่ งปีพทุ ธศกั ราช 2411 - 2487 ช่วงพัฒนาของมวยไทยสายลพบรุ ี มวยไทยสายลพบุรีในช่วงนี้ถือว่าเป็นช่วงพัฒนาจนมีความเฟื่องฟูจนถึงขีดสุดเร่ิมต้นข้ึนใน สมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มจากปีพุทธศักราช 2411 – 2453 ในรัชสมัยของสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 ได้ช่ือว่าเป็นช่วงที่เฟื่องฟูท่ีสุดของมวยไทยสายลพบุรีและของมวยไทย อาณาจักรสยามก็ว่าได้ กล่าวคือในรัชสมัยน้ี พระเจ้าแผ่นดินได้ทรงฝึกมวยจากสานักมวยหลวงมา ต้ังแต่คร้ังยังทรงพระเยาว์ โดยมีปรมาจารย์มวยช่ือ หลวงพลโยธานุโยค ตาแหน่งครูมวยหลวงเป็นผู้ ถวายการสอน ทาให้พระองค์ทรงโปรดกฬี ามวยไทยมาก เสด็จทอดพระเนตรการชกมวยหน้าพระท่ีนั่ง บ่อยคร้ัง ดังเช่นในงานการพระเมรุพระเจ้าน้องนางเธอพระองค์เจ้าบุษบงเบิกบาน พระราชธิดาใน รัชกาลที่ 4 ในเจ้าจอมมารดาสาลี ส้ินพระชนม์เมื่อวันอังคารท่ี 16 มิถุนายน 2419 พระชันษา 17 พรรษา มีการพระเมรุที่วัดมหาธาตุและมีการชกมวยโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 5 โปรดใหห้ ลวงมลโยธานโุ ยค หลวงไชยโชคชนะ จดั มวยมาทอดพระเนตร คร้ันชกกันเสร็จ แล้วพระราชทานเงินตรา ฝา่ ยชนะได้ตาลงึ ครง่ึ ฝ่ายแพไ้ ด้ 1 ตาลงึ และในการแข่งขันกีฬาประจาปีที่ ท้องทุ่งพระสุเมรุ เม่ือวนั ท่ี 30 พฤศจิกายน ถึงวนั ท่ี 2 ธนั วาคม ปพี ุทธศักราช 2450 มีมหรสพต่าง ๆ เชน่ มวยและโมงครุ่ม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จ ณ พลับพลาท่ีประทับรัตนสิง หาศน์ทอดพระเนตรมวย ซ่ึงพระองค์ได้โปรดให้ข้าหลวงหัวเมืองต่าง ๆ คัดนักมวยฝีมือดีมาชกท่ีหน้า พระที่นั่ง เพื่อหานักมวยที่เก่งที่สุดเข้าเป็นทหารรักษาพระองค์สังกัดกรมมวยหลวงและได้ทรงเห็น คณุ ค่าของกฬี าประจาชาติ จึงตรัสใหม้ ีการแข่งขนั มวยไทยข้นึ ทั่วประเทศ เพื่อเกิดความนิยมกีฬามวย ไทยและไมใ่ ห้วิชามวยไทยเสอ่ื มสูญไป นอกจากนีท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มี “มวยหลวง” ตาม หวั เมืองต่าง ๆ เพ่ือทาหน้าท่ีฝึกสอน จัดการแข่งขันและควบคุมการแข่งขันมวยไทย ด้วยเหตุน้ีเม่ือมี งานพระราชพิธตี า่ ง ๆ เชน่ งานโสกนั ต์ งานพระเมรุ หรืองานรับแขกเมือง สานักพระราชวังก็จะออก หมายเรียกให้มวยหลวงนาคณะนักมวย คณะป่ีกลองมาร่วมแสดงในงานด้วย ดังเช่นในงาน พระราชทานเพลิงพระศพของพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภชซ่ึงเป็นผู้บัญชากรกรม มหาดเล็กในพระบรมมหาราชวงั เม่ือวันท่ี 19–22 มีนาคม พุทธศักราช 2452 ณ พระเมรุสวนมิสก วันและต่อเน่ืองงานพระราชเพลิงศพของเจ้าคุณจอมารดาเป่ียม ในวันท่ี 1–5 เมษายน พุทธศักราช 2453 ณ เมรูสวนมิสกวัน ในงานน้ีพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการจัดแข่งขันมวยไทยหน้า พระท่ีน่ัง มีนักมวยฝีมือดีจากต่างจังหวัดหลายคนมาเข้าร่วมการแข่งขัน หนึ่งในจานวนน้ีมีนายกลึง โตสะอาด แห่งบา้ นหัวสาโรง ชาวเมืองลพบุรเี ข้าแข่งขนั ดว้ ย แตไ่ ม่ปรากฏนามคู่แข่งขัน มีบันทึกเพียง ว่า นายกลึง ได้แข่งขันกับคู่ชกหลายคนและได้รับชัยชนะมาตลอดด้วยฝีมือท่ีคล่องแคล่วว่องไวมีการ รุกรับรวดเร็ว มีการออกหมัดที่ฉลาดและแหลมคม มีจุดเด่นที่เป็นนักมวยเน้นหมัดตรง ลักษณะการ ชกจะชกแบบหงายหมัด ตอ่ ยได้รวดเร็วสามารถแหวกการควบคุมป่องกันใบหน้าได้ดีกว่ามวยจากถิ่น อ่นื และจากความสามารถของนายกลึง โตสะอาดน้ีเอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานบรมราชานุญาตให้กระทรวงมหาดไทยทาประทานตรา พระราชสีห์ ตั้งเป็นขุนหม่ืนครูมวยตามหัวเมือง โดยมีบรรดาศักดิ์เป็น “หมื่นมือแม่นหมัด” ซึ่งเป็น บรรดาศักดิ์สาหรับข้าราชการชั้นประทวนในสมัยน้ัน นายกลึง โตสะอาด จึงได้ช่ือเรียกตาม บรรดาศกั ดท์ิ ่ไี ดร้ บั วา่ หมน่ื มือแม่นหมดั และดารงตาแหน่งกรรมการพเิ ศษเมอื งลพบุรี ถือศักดินา 300 ทาหนา้ ทดี่ แู ลการจดั การแขง่ ขันชกมวยให้กบั สานักมวยหลวง นับได้ว่าหม่ืนมือแม่นหมัดเป็นวีระบุรุษ
246 ของมวยไทยสายลพบุรีและเป็นเจ้าของฉายา \"ฉลาดลพบุรี” โดยแท้จริงรวมท้ังยังเป็นเจ้าตารับมวย ภาคกลางอีกตาแหน่งหนึ่งด้วย จึงอาจกล่าวได้ว่า ในช่วงนี้ถือเป็นช่วงรุ่งโรจน์ของมวยไทยสายลพบุรี เป็นอยา่ งมาก ดังเอกสารจดหมายเหตุ ท่ีกรมพระยาดารงราชานุภาพเสนาบดีว่าการกระทรวงมหาดไทยใน สมยั นนั้ ไดท้ าหนังสือจดหมายเหตุของกระทรวงมหาดไทยท่ี 46/1803 กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือวันที่ 20 พฤษภาคม รัตนโกสินทรศก 129 เรื่องขอพระราชทาน บรรดาศักด์ิให้นักมวยที่ชกถวายและได้ชัยชนะในงานพระเมรุคราวท่ีแล้ว เพื่อขอพระราชดาริ เห็นชอบจากพระเจ้าอยู่หัวและขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตออกประทานตราพระราชสีห์ตั้ง นายกลึง โตสะอาด และนักมวยอ่ืน ๆ อีก 2 คน เพ่ือให้ปรากฏช่ือเสียงในท้องถิ่นและเป็นการบารุง วิชามวยตามหัวเมืองไม่ให้สูญหายไปอีกด้วย โดยนักมวยท่ีกล่าวถึง คือหมื่นมือแม่นหมัด เดิมชื่อ นายกลึง โตสะอาด เกิดเมื่อปี พ.ศ.2414 บิดาช่ือนายทัต มารดาช่ือนางแฟง มีพี่ชายช่ือนายกล้ิง โตสะอาด บา้ นอยู่หวั สาโรง เลขท่ี 27 หมู่ 1 ตาบลหัวสาโรง อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี ในสมัยนั้น ยังไม่มีนามสกุล นามสกุลเพิ่งเร่ิมต้ังขึ้นในปี พ.ศ.2456 ในสมัยรัชกาลท่ี 6 เน่ืองจากพ่อ–แม่ มีอาชีพ ตามบรรพบรุ ษุ คอื เป็นชาวนา แตน่ ายกลงึ ซ่ึงขณะนั้นเริ่มโตเป็นวัยรุ่นไม่ชอบที่จะเป็นชาวนา จึงออก จากบ้านมาหางานทาในเมืองคือบริเวณเมืองเก่า บ้านทะเลชุบศร อาศัยนอนบ้านคนรู้จักหลัง วดั ตองปุ นายกลึงทางานทุกอย่างเท่าที่มีคนว่าจ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นการยกของขึ้นจากเรือ โดยจะมา ทางานแถววัดพรหมาสตร์ ที่อยู่ติดกับแม่น้าลพบุรี มีท่าเทียบเรือยนต์ส่งสินค้าอยู่ พอมีเวลาว่าง นายกลึงมักจะมาดูเขาซ้อมมวยที่วัดพรหมาสตร์ซึ่งมีวัยรุ่นหลายคนมาซ้อม มีครูมวยคอยดูแลการ ฝึกซอ้ ม อยู่เสมอ นานเข้านายกลึงซ่ึงชอบทางหมัดมวยอยู่แล้ว จึงสมัครเป็นลูกศิษย์ครูมวยและขอ ฝึกซอ้ มดว้ ย ซ้อมอยู่นานอย่างจริงจังด้วยความขยันขันแข็งและมีใจรักจึงทาให้มีฝีมือรุดหน้ามากกว่า นักมวยคนอื่นๆ ประกอบกับมีพรสวรรค์ในตัวจึงมีฝีมือเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ มีความถนัดในการใช้หมัดตรง ทัง้ ซ้ายและขวา เนือ่ งจากยกของข้นึ ลงเรอื บ่อย ๆ ข้อมือและแขนจึงแข็งแรงและสามารถต่อยหมัดได้ อยา่ งคลอ่ งแคลว่ ว่องไว จนนกั มวยคนอ่ืน ๆ ไม่สามารถสู้ได้ ในละแวกนั้นมักมีวานสมโภชและงานวัด อยู่บ่อย ๆ และในงานนั้นก็จะมีการแข่งขันชกมวยอยู่ด้วยเสมอ เจ้าเมืองลพบุรีในสมัยนั้น คือพระยา พิสุทธิ์ธรรมธาดา จะมาดูและมอบรางวัลให้นักมวยด้วย นายกลึงก็เคยต่อยในงานวัด หลาย ๆ งาน จนมีฝมี ือกล้าแข็งจนคนร่าลอื ไปทัว่ นายกลงึ เดนิ สายตอ่ ยมวยในละแวกภาคกลางบ่อยคร้ัง ทั้งสิงห์บุรี อ่างทอง สระบุรี อยธุ ยา นครสวรรค์ นาย กลึงชนะหมดในทุก ๆ เมืองและทุกรายการที่แข่งขัน ใน ปี พ.ศ.2452 ทนายเลือกในกรุงเทพฯ ได้มีใบบอกไปตามหัวเมืองต่างๆ ให้คัดเลือกนักมวยที่เก่งท่ีสุด ในมณฑลต่าง ๆ เข้ามาชกมวยหน้าพระที่นั่ง ในงานพระราชทานเพลิงพระศพพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภช เม่ือวันที่ 19–22 มีนาคม พุทธศักราช 2452 ณ พระเมรุสวนมิสกวัน (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 27 หน้า 25 วันที่ 10 เมษายน รศ 129) และต่อเน่ืองงานพระราชเพลิงศพ ของเจ้าคณุ จอมารดาเปี่ยม ในวันท่ี 1–5 เมษายน พทุ ธศกั ราช 2453 ณ เมรุสวนมิสกวัน (ราชกิจจา นุเบกษา เล่ม 27 หน้า 70 วนั ที่ 17 เมษายน รศ 120) นายกลึงคนหน่งึ ทสี่ มัครเข้าคัดเลือกและได้เป็น ตัวแทนเมืองลพบุรีเข้ามาต่อยที่กรุงเทพฯ ในงานพระราชทานเพลิงศพดังกล่าว การแข่งขันในคราว นั้น จัดการแขง่ ขันเป็นแบบแบง่ สายและใหน้ กั มวยในกลุ่มต่อยกันเพอ่ื หาคู่ชนะเลิศ นายกลึงขณะนั้น อายไุ ด้ 39 ปีแล้ว แต่กย็ ังแข็งแรงมปี ระสบการณ์ในการตอ่ ยมวยมานานและเป็นมวยหมัดจึงไม่ต้องใช้ แรงมาก นายกลึงอาศัยชั้นเชิงแพรวพราวรุก–รับ ที่ปราดเปรียว ใช้หมัดดักชกคู่ต่อสู้ได้อย่าง
247 คล่องแคล่ว ว่องไว ลีลาไหวพล้ิวจนคู่ต่อสู้ไม่สามารถทาอะไรได้ ใช้หมัดตรงหลอกล่อต่อยคู่ต่อสู้จน เข้าไม่ติด เวลาพระชิดวงในก็ต่อยหมัดเสยไปท่ีปลายคางคู่ต่อสู้จนคู่ต่อสู้ขยาดไม่กล้าเข้าใกล้และใน ท่ีสุดนายกลึงก็ชนะเลิศในกลุ่มเป็นที่ 1 ใน 3 คนท่ีมาต่อยคราวนั้น ซึ่งมีเพียง 3 คน และ 3 เมือง เทา่ นั้น นบั เปน็ ยอดมวยในสมยั น้ัน จนมคี นกลา่ วคาพูดสรรเสรญิ ไวว้ ่า “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทอดพระเนตรเห็นลีลาท่าทาง การชกมวยของนายกลึง ก็รู้สึกพอพระทัยและชอบใจในความสามารถในเชิงชกของนายกลึงมาก จึง โปรดเกล้าฯ ใหน้ ายกลงึ และนกั มวยอีก 2 คน เข้ามารบั ราชการในกรมมวยหลวง ในตาแหน่งกรมการ พิเศษให้บรรดาศักดิ์เป็นขุนหมื่นครูครูในช่ือว่า หมื่นมือแม่นหมัด (ประกาศแจ้งความ กระทรวงมหาดไทย เรื่อง แต่งตั้ง ขุนหมื่นครูมวย ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 27 หน้า 489 วันท่ี 19 มิถุนายน รศ 129) มศี ักดนิ า 300 ไร่ ใหม้ ีหน้าที่จัดการแข่งขันและดูแลมวยในหัวเมืองภาคกลางที่นา ท่ีได้รับพระราชทานน้ัน อยู่ในตาบลหัวสาโรงที่บ้านสะแกงาม อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี หม่ืนมือ แม่นหมัด มีภรรยาช่ือ นางตาบ เป็นคนบ้านไทร มีบุตรธิดาด้วยกัน 6 คน คือนางเพียร แต่งงานกับ นายผล อ้นสกุล นางวัน โตสะอาด นางวอน แต่งงานกับนายม่ิง ม่ังคั่ง นายแบน โตสะอาด นางวิง แก้วกระจ่าง นางวัง ทองสัมฤทธ์ิ ปัจจุบันน้ีทั้ง 6 คน ได้เสียชีวิตไปหมดแล้วคงมีหลานอยู่ 2 คน ท่ีเปน็ คนเล่าเรื่องของนายกลึง และจาได้ดีถึงรูปร่างและบุคลิกหน้าตาของหม่ืนมือแม่นหมัด ทั้งสอง คนคือ นายผัน อ้นสกุล ซ่ึงเป็นลูกชายของนายผลและนางเพียร อ้นสกุล ขณะน้ีมีอายุ 69 ปี และ นายละออง มั่งคั่ง ซ่ึงเป็นลูกชายของนายม่ิง และนางวอน ม่ังคั่ง อายุ 72 ปี ท้ังสองคนเล่าว่า เม่ือ ตอนเป็นเด็กอายุ 6 ขวบและ 9 ขวบ คุณตาหม่ืน ได้เอาเหรียญตราราชสีห์มาคล้องคอให้แต่หายไป แล้ว ไม่รู้หายไปตอนไหน หม่ืนมือแม่นหมัดในบ้ันปลายชีวิตไม่ค่อยอยู่ดีมีสุขนัก เน่ืองจากเป็นคนท่ี ชอบท่องเท่ียวและเล่นมวยเป็นชีวิตจิตใจ จึงทาให้เงินทองท่ีได้จากการชกมวยหมดไปจากการพนัน มวยแม้แต่ที่นาพระราชทานก็ทยอยขายไปเร่ือยๆ จนเหลือเพียงส่วนน้อยท่ีเอาไว้ทานา แต่ลูกหลาน ก็ยังพอมีท่ีทากินอยู่ถ่ินอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากที่พระราชทานก็คือ ท่ีหมู่ 1 ตาบลหัวสาโรงที่ลูกหลาน ส่วนใหญ่ยังอยู่กันหลายๆ ครอบครัว ในวัยชราหมื่นมือแม่นหมัด ไม่ค่อยอยู่สุขสบายนักต้องด้ินรน ไปหางานทาในตัวเมืองลพบุรีในวัยเกือบ 70 ปี แต่ลูกหลานก็ไปตามกลับมาอยู่ด้วยที่บ้านเลขที่ 27 หมู่ที่ 1 ตาบลหัวสาโรงซ่งึ เป็นบ้านของนายผนั อ้นสกลุ และนางขานทอง อน้ สกลุ ซง่ึ มีศักด์ิเป็นหลาน ตาของ หม่ืนมือแม่นหมัดน่ันเอง หมื่นมือแม่นหมัดมีอายุได้ 72 ปี ก็เสียชีวิตลงในปี พ.ศ.2486 ด้วย โรคชรา ณ บ้านของหลานคือนายผันนั่นเอง ญาติพ่ีน้องในเวลานั้นก็ล้วนมีฐานะไม่ค่อยดีก็จัดงานศพ ไปตามมีตามเกิด ใช้ฝาบ้านมาต่อเป็นโลงศพแล้วแบกไปเผาท่ีวัดคงคาราม (เดิมช่ือวัด คงคาไหล) ซึ่ง อยู่ห่างจากบ้านประมาณ 1 กิโลเมตร โดยนายผันและนางละอองเล่าว่า ทางท่ีเดินไปเป็นทาง รมิ คลองข้างคนั นาบา้ งตอ้ งชว่ ยกันแบกโลงคนละหลายๆ ผลัดกว่าจะถึงวัด หม่ืนมือแม่นหมัด มีพ่ีชาย ชอื่ นายกลิ้ง ซึ่งมีภรรยาชอื่ นางเผือด ก็เป็นนักมวยเหมอื นกัน แตเ่ กง่ สู้น้องชายไม่ได้ แต่มีลูกหลาน หลายคนทเ่ี ปน็ นกั มวยช่ือ นายโส โตสะอาด นายสขุ โตสะอาด นายสงิ ห์ เพิ่มทรัพย์ นายพร จันทริน ซึ่งเป็นนักมวยที่ไหว้ครูมวยได้สวยมาก นายผ่อง สายสุ่ม ต่อยมวยเก่งมากและนายผวน สายสุ่ม หลานชายของหม่ืนมือแมน่ หมดั ส่วนมากจะมีลกู หลานเป็นผู้หญิงเป็นส่วนใหญ่ คงมีแต่เหลนชายคน หนึ่งซึ่งเป็นลูกชายของนายผัน อ้นสกุล คือ นายวิโรจน์ อ้นสกุล ก็เคยหัดมวยและต่อยมวยตอนเป็น หนมุ่ แต่ไมค่ ่อยดงั เท่าไหร่ ตอ่ มาได้รับเลือกตงั้ เปน็ สมาชกิ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหัวสาโรงหมู่ที่ 1
248 จึงเลิกต่อยมวยไป ชีวิตของนักมวยคนหน่ึงท่ีชะตาชีวิตพลิกผันจนได้รับบรรดาศักดิ์เป็นหมื่นมือแม่น หมัด นักมวยดงั ในสมัยรัชกาลท่ี 5 นับได้วา่ หมื่นมือแมน่ หมดั เปน็ ผูจ้ ุดประกายมวยไทยสายลพบุรีให้ ยิ่งใหญ่เกรียงไกรในสมัยนั้น สมควรท่ีลูกหลานชาวมวยชาวลพบุรีทั้งหลายจะได้ระลึกถึงและรื้อฟ้ืน อดีตความเก่งกาจและมีชื่อเสียงของมวยไทยสายลพบุรีในอดีตให้กลับมาโด่งดังข้ึนอีก เพื่อรักษา เอกลกั ษณ์และวัฒนธรรมประเพณศี ลิ ปะของมวยไทยสายลพบุรีให้คงอยูค่ เู่ มืองลพบรุ ีสบื ต่อไป ต่อมาในรัชสมยั รัชกาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.2453– 246) ได้โปรดให้พระยานนทิเสนสุเรนทรภักดี นายพลเสือป่า จัดการแข่งขันชกมวยการกุศลเพ่ือหาเงินซ้ือ ปืนให้กองเสอื ปา่ เมือ่ วนั ที่ 23 กรกฎาคม - 8 สิหาคม พ.ศ. 2464 และมีเงินเหลือจากค่าใช้จ่ายในการ ชกมวยเป็นจานวนเงนิ มากถึง 30 บาท รวมกับเงินทีม่ ผี ู้บรจิ าคสมทบอกี 20 บาท รวมเป็นเงินที่นาไป ซ้ือปืนจานวน 50 บาท ให้กองเสือป่าและในกลุ่มนักมวยที่ข้ึนชกดังกล่าว มีนักมวยจากลพบุรีอยู่ 3 คน คอื ครูนวล ลพบรุ ี นายซิว อกเพชร และนายแอ ประจาการ นับเป็นนักมวยลพบุรีฝีมือดีอีก รุ่นหนึง่ หลังจากน้นั มวยไทยสายลพบุรไี ดม้ ผี ู้สืบทอดต่อกันมาอย่างสม่าเสมอมิได้ขาด แต่ในช่วงต่อมา มวยไทยสายลพบุรีก็ซบเซาลงไปอีกในช่วงระยะเวลาหน่ึงนับจากปีพุทธศักราช 2468 จนในปี พุทธศักราช 2477 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 7เม่ือรัฐบาลได้มี คาสั่งให้การแข่งขันชกมวยไทยทั่วประเทศต้องสวมนวม เน่ืองจากนายเจียร์ แขกเขมร ถูกนายแพ เล้ียงประเสริฐ นักมวยฝีมือดีจากบ้านท่าเสา จังหวัดอุตรดิตถ์ต่อยจนถึงแก่ความตายด้วยหมัดคาด เชือก (เดลิเมล์ 2471) จงึ ทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงกติกาของมวยไทยจากการชกด้วยมือเปล่ามาเป็น การชกโดยสวมนวมเพื่อป้องกันอันตรายให้แก่นักมวยระหว่างการชกมวยเพ่ือป้องกันอันตรายให้แก่ นักมวยระหว่างการชกมวย ตอ่ มาในวนั ที่ 30 ธันวาคม พุทธศกั ราช 2472 ไดม้ ผี ู้นาเอากระจับเหล็กมา ใช้ปอ้ งกนั อวัยวะสาคัญของนักมวยแทนกระจับท่ที าดว้ ยผ้าเพ่อื ให้มีความปลอดภัยระหว่างการชกมาก ขึ้น เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 คณะราษฎร นาโดยพระยาพระหลพลพยุหเสนากับ พวกได้ทาการยึดอานาจการปกครองโดยใช้กาลังทหาร ทาให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงประกาศสละราชย์สมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2477 ทาให้ในช่วงน้ีวงการมวยไทยใน ประเทศและมวยไทยสายลพบุรีซบเซาลงไป เนื่องจากเหตกุ ารณ์บา้ นเมืองไมปกติ แต่ก็ยังมีการแข่งขัน อยบู่ า้ ง ในชว่ งนี้มวยไทยสายลพบุรีกย็ ังมผี ู้สบื ทอดอยู่โดยมีนักมวยท่ีมีความสามารถใกล้เคียงหม่ืนมือ แมน่ หมดั คอื นายจนั ทร์ บวั ทอง หรอื จันทร์ เครือศรี ช่ือจริง คือ นายสงัด บัวทอง เกิดเม่ือวันเสาร์ ท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ.2457 ในช่วงสงครามโลกครั้งท่ี 1 เป็นชาวอาเภอเสนา มีพ่ีน้องร่วมสายโลหิต 3 คน นายจันทรเ์ ป็นบุตรคนแรก มีน้องชายชื่อ นายสงดั บัวทองและน้องสาวช่ือนางประเสริฐ บัวทอง ซงึ่ เสียชีวิตแล้วทั้งหมด นายจันทรบ์ ัวทองสมรสกบั นางสมชิต บัวทองเมื่ออายุได้ 27 ปี มีบุตร ธิดารวม 8 คน เป็นชาน 5 คนและหญิง 3 คน จากการที่นายจันทร์เป็นคนท่ีรักศิลปวัฒนธรรมไทยมาก โดยเฉพาะศิลปะมวยไทย โดยไดเ้ ร่ิมฝกึ มวยไทยทคี่ า่ ยอิสระเสนา ฝึกซ้อมจนคนในค่ายมวยหลายคน สู้ไม่ได้ จึงได้ข้ึนชกมวยตามวัดและงานต่าง ๆ จนมีช่ือเสียง เมื่ออายุ 17 ปี ในปีพ.ศ.2467 เป็นที่ ชื่นชอบแก่ผู้ชมลีลาการชกและลีลาการไหว้ครูและร่ายราท่ีสวยงามของจันทร์ บัวทอง นายจันทร์ บัวทอง ตะเวนชกอยู่ในละแวกภาคกลางตลอด โดยมากจะปักหลักชกอยู่ท่ีลพบุรี จนถือได้ว่าเป็น นักมวยลพบุรีคนหน่ึงทีเดียว เน่ืองจากพักอาศัยอยู่ที่บ้านครูมวยในเมืองลพบุรีนั่นเอง และได้เป็น
249 ตัวแทนของมวยไทยสายลพบุรี เข้าแข่งขันในงานประจาปีที่ท้องสนามหลวง การชกท่ีนับเป็นคร้ังท่ี โดเด่นที่สุดของจันทร์ บัวทองในช่วงนั้นคือ การชกกับนายแก้ว พิณปรุ นักมวยจากเมือง นครราชสีมา วันน้ัน จันทร์ชกเป็นคู่ท่ี 6 ท่ีเวทีมวยสวนมิสกวันเม่ือปี พ.ศ.2477 อายุได้ 20 ปีพอดี อาศัยที่จันทร์ได้เปรียบไนด้านร่างกายท่ีหนุ่มแน่นและมีฝีมือที่คล่องแคล่วว่องไวกว่าในเชิงมวย จงึ เปน็ ฝา่ ยรุกไลต่ อ่ ยนายแกว้ เสียจนสู้ไมไ่ ดย้ อมแพไ้ ปในท่สี ุด ภาพที่ 167 การตอ่ ส้รู ะหว่างนายจันทร์ บวั ทอง และนายแกว้ พณิ ปุรุ ทเ่ี วทสี วนมิสกวนั ท่ีมา : หนงั สือศิลปะมวยไทยโบราณ จันทร์ บัวทอง เป็นนักมวยที่มีลีลาไหว้ครูได้สวยงามที่สุดในยุคน้ันคนหนึ่ง นอกจากนั้น จันทร์ ยังเป็นแชมป์มวยไทยคาดเชือกอีกด้วย จันทร์ต่อยมวยได้ไม่นานเนื่องจากเป็นผู้ท่ีมี ความสามารถในเร่ืองมวย ทั้งมวยไทย มวยคาดเชือกและมวยสากล ทางกรมตารวจจึงรับจันทร์เข้า รับราชการที่กรมตารวจและประจาอยู่ท่ีกองตรวจคนเข้าเมือง ปฏิบัติหน้าท่ีตารวจได้ประมาณ 15 ปี จงึ ลาออกจากราชการเน่ืองจากมีนิสัยซ่ือสัตย์ไม่สามารถร่วมทีม กับกลุ่มเพื่อนที่ทางานได้ จึงลาออก มาทาสวนที่บ้านตาบลบางคอแหลมที่จันทร์ได้เก็บหอมรอมริบเงินจานวนหน่ึงซื้อที่ดินไว้ประกอบ อาชีพ แม้จะเป็นชาวสวนแต่จันทร์ก็ไม่ได้หยุดการซ้อมมวยแต่อย่างใด ยังคงฝึกซ้อมและฝึกหัดการ ไหว้ครูและร่ายราอยู่ตลอด จนเมื่อครั้งที่จัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ในปี พ.ศ.2525 คณะกรรมการฝา่ ยจดั มวยไทยได้เชิญ จนั ทร์ บัวทอง ในวัย 68 ปี ไปโชว์การไหว้ครูและร่ายราให้แก่ ผู้ชมไดพ้ บเห็นลีลาทา่ ทางการไหวค้ รทู สี่ วยงามในงานทอ้ งสนามหลวง เพื่อนร่วมรุ่นของจันทร์ บัวทอง ที่ต่อยมวยในสมัยนั้น คือ ธงกล้า หน้าศึก (บุญมา เสนานันท์) และจันทร์ บัวทอง ยังได้ไปชกมวย สากลด้วย ค่ชู กคนสดุ ท้าย คือ ชิดหลี ศรีกาพุฒ ซึ่งจันทร์ก็ชนะได้อย่างสบาย จันทร์ใช้ชีวิตนักมวย อย่นู านจนกระท่ังเลกิ ต่อยและเป็นชาวสวนจนอายไุ ด้ 80 ปีกถ็ ึงแก่กรรมเมื่อวันท่ี 13 มิถุนายน 2537 นับเปน็ การสูญเสียคร้งั ย่ิงใหญ่ของนักมวยชาวลพบุรีคนหนง่ึ ยคุ ท่ี 4 ระหวา่ งปีพุทธศกั ราช 2488 ถึงปัจจบุ ัน ช่วงยุคใหม่มวยไทยสายลพบุรี มวยไทยสายลพบรุ ี ช่วงนี้เร่ิมขึ้นอีกคร้ังหนึ่งในปีพุทธศักราช 2488 ตรงกับปลายปีใน รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลท่ี 8 ที่เรื่องราวเก่ียวกับมวยไทยสาย ลพบุรี เงียบหายไประยะหนึ่ง ก็เริ่มฟ้ืนฟูในปี พุทธศักราช 2489 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
250 พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มวยไทยสายลพบุรีเริ่มฟ้ืนฟูข้ึนมาอย่างจริงจังอีกวาระ หน่ึงเมื่อมีการจัดงานวันพระนารายณ์ (งานวัง) เพ่ือบวงสรวงดวงพระวิญญาณของสมเด็จ พระนารายณม์ หาราช ในงานน้ไี ด้จดั ข้ึนเปน็ ระยะเวลา 7 วัน 7 คนื ระหวา่ งงานมีการละเล่นต่างๆ มี มหรสพและศิลปะการต่อสู้แบบต่าง ๆ มากมายตลอดจนมีการรามวยถวายทุกคร้ังที่มีการทาพิธี บวงสรวง รวมทง้ั มีการแสดงกระบ่กี ระบอง การแข่งขนั ชกมวย โดยสร้างเวทีมวยขา้ งพระที่น่ังพุทธา สวรรค์ มีการเปรียบมวยทุกคืน ซึ่งนายพหล นนทอาสา ได้เล่าให้ผู้วิจัยฟังว่า เมื่ออายุได้ 10 ขวบ เป็นคนชอบดมู วยมาก ได้เล่าว่า มมี วยเทศกาลในงานวังนารายณ์ ในช่วงนี้ นักมวยลพบุรีที่มีช่ือเสียง และโด่งดังคือ ประกายแก้ว ลูก ส.ก. และมีค่างมวยที่โด่งดังในสมัยนั้นหลายค่าย ได้แก่ ค่าย ส.ก. ซ่ึงค่ายมวยส่วนใหญ่จะอยู่ท่ีบริเวณนอกเมือง เช่น ค่ายมวยที่ชุมชนท่าโพธิ์และสระเสวย ส่วนใน บริเวณอาเภอเมืองลพบุรีมีค่ายลูกละโว้ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนช่ือเป็น ค่ายลูก ส.ก. มีสถานท่ีสาหรับให้ นกั มวยซ้อมอยู่ใกลเ้ นินทา่ โพธ์ิ และยังมคี ่ายลกู เจ้าพอ่ ศาลพระกาฬอีกค่ายหน่ึง ประกายแก้ว ลูก ส.ก. เปน็ นักมวยรุ่นเดียวกันกับ อภิเดช ศิษย์หิรัญ และอดุลย์ ศรีโสธร ในการต่อยที่สนามมวยลุมพินีใน กรุงเทพฯ ประกายแก้ว ลกู ส.ก. ถูกอภิเดช ศิษย์หิรัญเตะจนแขนพิการ ต่อมาประกายแก้ว ลูก ส.ก. ได้เลกิ ต่อยมวยแต่มาต้ังคา่ ยมวยช่อื คา่ ยมวยทรงวทิ ย์ ประกายแก้ว ลูก ส.ก. มีช่ือจริงว่านายสมทรง แก้วเกิด นอกจากนี้ยังมีค่ายมวยจากโคกสาโรงชื่อค่ายอุดมฤทธิ์ มีท่ีตั้งของค่ายมวยอยู่หลังโรงฆ่า สัตว์ มนี ักมวย มาฝึกซ้อมเป็นจานวนค่อนข้างมาก ส่วนมากการชกมวยที่โคกสาโรงน้ีจะจัดชกมวย กันที่วัด นอกจากนี้มีค่ายชัยบาดาล ซ่ึงมีนักมวยเอกชื่อ ชัยบาดาล ลูกชัยบาดาลเคยมาฝึกมวยท่ี วัดจนั ทราราม จากน้นั ได้ไปฝึกมวยต่อที่กรุงเทพฯ ที่ค่ายมวยสวนมิสกวันซ่ึงนักมวยส่วนใหญ่ในค่าย สวมมิสกวันล้วนเคยอยู่ค่ายชัยบาดาลมาก่อน เมื่อเข้ามาชกมวยในกรุงเทพฯ จะมาอยู่ท่ีค่ายสวน มิสกวัน ในช่วงนั้นนักมวยดังของค่ายสวนมิสกวันมี ชัยบาดาล สวนมิสกวัน (เสน่ห์ จิตการ)และ อินทรยี ์ สวนมสิ กวัน (ปจั จุบันเสยี ชวี ติ แล้ว) ซึง่ อนิ ทรยี ์ สวนมิสกวัน เคยชกมวยกับนาขบวนหนองกี่ พาหุยุทธ์ด้วย รวมทั้งนพเก้า สวนมิสกวัน (มีช่ือจริงว่า สมคิด พลเดชรังสี) เป็นกรรมการบริหาร ขององค์การบริหารส่วนตาบลชัยบาดาล นอกจากนี้มีนักมวยระดับแชมป์ของประเทศอีกคนหน่ึงช่ือ ขุนพลใบ้ สมานชยั เปน็ แชมป์มวยไวท๊อปทีน่ บั ว่ายง่ิ ใหญ่มาก ในสมัยนนั้ ปัจจบุ นั ขนุ พลใบ้อาศัยอยู่ท่ี ตาบลนาโสม อาเภอบัวชุม จังหวัดลพบุรี และได้ชื่อว่าเป็นนักมวยจากชัยบาดาลโดยแท้จ ริง รวมทั้งได้รับการยอมรับให้เป็นแม่ทัพนานักมวยคนอื่น ๆ ไปชกมวยที่กรุงเทพฯ ในรุ่นน้ีมีนักมวยที่มี ชื่อเสยี งหลายคน เช่น อภิเดช ศิษย์หริ ัญ ทองใบ เจริญเมืองและกตญั ญชู ยั ขวญั ใจชนบททเ่ี ป็นนักมวย จากอาเภอ ชยั บาดาล จงั หวัดลพบุรี แม้ว่าที่อาเภอชยั บาดาลจะไมม่ คี ่ายมวยเป็นหลักแหล่งแต่นักมวย ชัยบาดาลอาศัยซ้อมมวยในวัด เม่ือเร่ิมมีฝีมือข้ึนจนนับว่าเก่งพอตัวแล้วจะส่งข้ึนชกที่เวทีมวยค่าย นารายณ์ สาหรับชัยบาดาล สวนมิสกวัน หลังจากเลิกชกมวยแล้วได้ไปสอนมวยไทยท่ีประเทศญ่ีปุ่น ปจั จบุ ันได้กลบั มาอยทู่ ี่ประเทศไทยแล้วและยงั มชี ีวติ อยู่ สว่ นราวี 2 สวนมสิ กวัน นับเป็นนักมวยอีกคน หน่ึงของอาเภอชัยบาดาล มีบ้านอยู่ใกล้วัดโสมรวมท้ังเกาะแก้วน้อย ลูกชัยบาดาล ที่มีชื่อจริงว่า ประทีป มกี าลัง มสี ถิตกิ ารชกมากกว่า 30 คร้งั แต่ปจั จบุ นั เลิกชกมวยแล้ว มีอายุ 57 ปี เดิมเคยเป็น ทหารและได้ชกมวยในรุ่น 54 กิโลกรัม (เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า รุ่นแบนต้ัมเวท) ขณะน้ีมีอาชีพเล้ียง ววั อนั เปน็ ผลได้จากน้าพักน้าแรงในการชกมวยของประทีปเอง นอกจากนี้ นอกจากนี้ยังนักมวยอีกคน ชื่อ สกลน้อย ศิษย์วัดท่า มีน้องชายเป็นครูมวยลพบุรี ท่ีได้สืบสานและอนุรักษ์ศิลปะมวยไทยใน
251 ปัจจุบัน ชื่อครูประดิษฐ์ เล็กคง ที่ยังคงเป็นครูสอมวยในสถานศึกษาต่างๆ ทั้งในจังหวัดลพบุรีและ จังหวัดใกล้เคียง และเป็นผู้ให้ข้อมูลคนสาคัญเก่ียวกับมวยไทยสายลพบุรีด้วย ในเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี มีพิธีบวงสรวงประจาปีในงานวงั นารายณ์ เช่น เมื่อประมาณปี พ.ศ.2490 ได้จัดพิธีบวงสรวง ดวงพระวิญญาณของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชข้ึนในวังนารายณ์ เมื่อถึงเวลาบ่าย 4 โมงเย็น จะเริ่มมีการชกมวยบนเวทีซ่ึงเป็นเวทีกึ่งถาวรโดยมีนายปัญจาง สุวรรณปกรณ์ เป็นนายสนามมวย ในสมัยน้ัน การชกมวยจะชกทุกวันเสาร์เวลา 4 โมงเย็นเป็นต้นไป ในสมันนั้นค่ายมวยนารายณ์ล้อม ดว้ ยสงั กะสี ด้านหลังปักไม้รวกไม่มีหลังคา เก็บค่าผ่านประตูคนละ 5 บาทและ 10 บาท โดยมีค่าย มวยทส่ี ง่ นักมวยเข้าแข่งขันชกมวยหลายค่าย เช่น ค่ายลูกลพ ค่ายประจาการ ค่ายศิลาชัย แต่ละ ค่ายมวยมีนักมวยที่มีช่ือเสียงหลายตน เช่น วัยแท้ ชาญเทียนทอง เมฆดา ช่อฟ้า วรชิต ลูกลพ (ศรแดง) และสมคิด ลูกลพ ซึ่งมีบ้านอยูในตังเมืองลพบุรี ได้ไปชกมวยที่กรุงเทพฯ บ่อยครั้ง รวมท้ัง สดุ ใจ ศลิ าชยั พันธ์ทพิ ย์ ฟา้ หม่นและวลั ลภ ศรแดง นักมวยร่นุ นี้ปัจจุบันมีอายุมากกว่า 80 ปีข้ึนไป ทุกคน ส่วนนักมวยในรุ่นหลังมี ประกายแก้ว ลูก ส.ก. ศรนารายณ์ ลูกมหาโลก และช่วงชัย ศรแดง ทม่ี ชี ือ่ เสียงโดง่ ดังที่สดุ พุทธศกั ราช 2500–2503 เป็นชว่ งเวลาแห่งความซบเซาของมวยไทยสายลพบุรี ในช่วงหนึ่ง เน่ืองจากไม่มีนักมวยท่ีเป็นแม่เหล็กดึงดูดผู้เข้าชกมวย ประจวบกับการชกมวยในช่วงน้ี ไมไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากผู้เก่ียวข้องและผู้เข้าชม เนื่องจากมีการพนันมวยของผู้เข้าชมและมีการล้ม มวยเกิดขึ้นบ่อยคร้ังจนเป็นข่าวเล่าขานอยู่เนืองๆ รวมท้ังเศรษฐกิจของพระเทศในยุคน้ันได้ตกต่าลง แม้แต่โปรโมเตอร์ที่เป็นผู้จัดรายการแข่งขันก็หลีกหนีจากวงการหลังจากประสบภาวะขาดทุนใน การจัดชกมวย และผู้เข้าชมมวยเองก็ไม่ได้สนับสนุนการจัดชกมวยในเวทีของจังหวัดลพบุรี จึงนับว่า ในช่วงเวลานี้เป็นช่วงการตกต่าของมวยไทยสายลพบุรีก็ว่าได้ ผลที่ตามมาคือ ช่ือของนักมวยจาก ลพบุรีได้เงียบหายไปจากวงการมวยในเวทีนครบาล จนผู้คนในวงการมวยอาจลืมเลือนมวยไทย สายลพบุรี เป็นระยะเวลาท่ีสั้นเพียง 3–4 ปี เท่านั้น ต่อมาในช่วงปีพุทธศักราช 2504 มีนายสนาม มวยหลายคนท่ีหมุนเวียนมาดูแล ค่ายมวยศรนารายณ์ตามตาแหน่งทางทหารท่ีเก่ียวข้องกับมวยของ ค่ายมวยนารายณ์ อาทิ พันเอกเฉลย วีระบูลย์ ได้มาบริหารและพัฒนาค่ายมวยนารายณ์จนมีความ เจรญิ ร่งุ เรอื งขนึ้ อกี ครงั้ ซึ่งช่วงนี้เปน็ ชว่ งรงุ่ โรจนส์ ุดขีดของมวยไทยสายลพบุรีสมัยใหม่ มีเวทีและค่าย มวยตา่ ง ๆ มีนักมวยที่มีช่ือเสียงเกิดขึ้นอย่างมากมาย ตลอดจนมีการนานักมวยจากกรุงเทพฯ มาชก ท่ีลพบุรีเป็นประจาทุกวันพุธ ในเวลาบ่ายสี่โมง นักมวยดังสมัยน้ัน ได้แก่ ชูชัย ศิลปะชัย ประลอง ลูกมาตุลี วิทยา ราชวัตร หลาว เลิศฤทธิ์ ศักดา ยนตรกิจ อิสระชัย พันท้ายนรสิงห์ ศรศักดิ์ พันท้ายนรสิงห์ และสายเพชร ยนตรกิจ และยังมีนักมวยจากค่ายอ่ืน ๆ อีก ได้แก่ ค่ายลูกละโว้ คา่ ยจกั รนารายณ์ ค่ายศรีนารายณ์ ค่ายลูกพลูหลวง และคา่ ยลูก ส.ก. ในสมัยน้ี ได้มีการจัดตั้งค่ายมวยข้ึนที่ศูนย์การทหารราบ ซึ่งบริหารโดยศูนย์สงครามพิเศษ โดยให้มีเวทีมวยที่ศูนย์สงครามพิเศษ เนื่องจากศูนย์สงครามพิเศษได้ย้ายจากลพบุรีไปอยู่ท่ีอาเภอ ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงนับเป็นการเร่ิมต้นสมัยใหม่ของมวยไทยสายลพบุรีอีกครั้ง เนื่องจากไดม้ ี นายสนามมวยมาดาเนินการจดั การบริหารสนามมวยอีกหลายคน เช่น พันเอกอภิไทย นอบไทย พันเอกบุญช่วย แช่มสุวรรณ พันเอกอภิชัย พันธ์เกล้า พันโทมนัส บุญหนู และพันเอก ประสงค์ เจริญชัย เมื่อปี พุทธศักราช 2510 มีค่ายมวยท่ีมีชื่อเสียงโด่งดังและมีนักมวยในสังกัดที่มี ชือ่ เสยี งเกดิ ขน้ึ อีกหลายค่าย เช่น ค่ายลูกพระบาท เร่ิมมีนักมวยดังเกิดขึ้นหลายคนและในช่วงนี้ก็มี
252 โปรโมเตอรเ์ กดิ ขน้ึ อีกหลายค่าย เช่น เฉลมิ สุทธิพงษ์ เทยี มบุญ อนิ ทรบตุ ร จาลอง บริพัฒน์ และ วิเชียร แสงแก้ว ส่วนค่ายมวยเก่าที่มีมาก่อน ได้หยุดกิจการเนื่องจากไม่มีนักมวยในสังกัดข้ึนชกมวย ในเวทีมวย จึงต้องเลิกล้มค่ายมวยไปโดยปริยาย คนทาค่ายมวยคนใหม่ได้เปล่ียนช่ือค่ายเป็นช่ือใหม่ เช่น ค่าย ลกู ส.ก. เปลีย่ นชื่อเป็นคา่ ยทรงฤทธ์ิ นายสนามมวยท่ีมีช่ือเสียงอีกผู้หนึ่ง คือพันเอกพยับ ประจันตะเสน (ยศในขณะนั้น) ต่อมา ได้เกษียณอายุราชการในยศพลตรี และปัจจุบันได้ถึงแก่กรรมแล้ว ต่อมามีนายสนามมวยคนใหม่ คือ พันเอกรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์ ค่ายมวยที่มีในสมัยน้ี ได้แก่ ค่ายลูกแม่ดาบทอง ค่ายเจ้าพ่อดาบทอง (ของกานนั รณุ ) ค่ายศกั ด์มิ นชู ัย คา่ ยลูกพระบาท ค่ายสิงหเ์ มอื งลพ ค่ายอุดมฤทธิ์ ค่าย อ. เมืองสิงห์ และค่ายลูกบัวหลวง นักมวยในค่ายรุ่นนี้มีช่ือเสียงโด่งดังหลายคน เช่น เห้งเจีย บขส. ผาเรือง จักร นารายณ์ หยกฟา้ อดุ มฤทธ์ิ ใจแก้ว ลูก ส.ก. ใบหยก บขส. พรทพิ ย์ ลกู ละโว้ สกลน้อย ศิษย์วัดท่า ฤทธิเดช ลูกละโว้ และจักรเทพ ลูกบัวหลวง ส่วนใบหยก บขส. พรทิพย์ ลูกละโว้ และฤทธิเดช ลูกละโว้ ได้ชื่อว่าเป็นนักมวยแนวหน้าของลพบุรีที่ไปชกมวยในกรุงเทพฯ บ่อยคร้ัง ซ่ึงเวทีมวย ดังกล่าวจะจัดมวยตามสะดวกละตามเหตกุ ารณ์ คือ จัดได้บ้างจัดไม่ได้บ้าง ส่วนโปรโมเตอร์ถาวรไม่มี แต่ก็เกิดมีดาวรุ่งขึ้นมากมายเช่น วังจ่ันน้อย ส พลังชัย นพเดช นฤมล สายชล พิชิตศึก แพรดา ลกู พระบาท ตอ่ ลูกพระบาท ต๊ิก ลกู พระบาท อ๊อดน้อย ลูกพระบาท สด ลูกหนองยางทอย เอกชัย อ.ชยั บาดาล ชิน ลกู พระบาท จงรกั ลกู พระบาทและแดงนอ้ ย ลูกพระบาท ตง้ั แต่ปี 2518 ผา่ นมา มนี ายสนามมวยค่ายนารายณ์หลายคนจนถงึ ปจั จุบนั นี้ นายสนามมวย ค่ายนารายณ์ ได้แก่ พันเอกศกั ดา เพช็ รจนิ ดา โดยได้มอบหมายให้สิบเอกสุรฤทธิ์ ใจทน เป็นผู้ดูแล สนาม และมีนายพหล นนทอาสา เป็นโปรโมเตอร์ประจา นอกจากนี้ยังมีโปรโมเตอร์อ่ืน ๆ อีก หลายคน ได้แก่ กิ่งทอง ลูกพระบาท ร้อยเอกสมรส คาสิงห์ และโพธ์ิทอง เกียรตินาชัย ปัจจุบัน จังหวดั ลพบุรี มีชมรมมวยไทยสมัครเล่น โดยมี พนั ตารวจโทณัฐพล สายสขุ เปน็ ประธานชมรมมวย ไทยสมัครเล่นของจังหวัดลพบุรี ส่วนผู้สืบสานและถ่ายทอดไม้มวยไทยและศิลปะการไหว้ครูในช่วง ปัจจุบันคือ ครูประดิษฐ์ เล็กคง ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางโดยได้รับเชิญไปสอนและ ถ่ายทอดวิชามวยไทยให้แก่เยาวชน ในโรงเรียนต่าง ๆ ตลอดจนเป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชามวยไทย ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี และค่ายทหารพระนารายณ์ นอกจากน้ียังเป็นครูมวยแต่เพียงผู้เดียวในจังหวัดลพบุรีท่ีเน้นศิลปวัฒนธรรมของมวยไทยสายลพบุรี โดยเฉพาะ และได้ส่งนักมวยไทยสมัครเล่นเข้าร่วมการแข่งขันกับหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ จนมี ผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชนจนได้รับการประกาศให้เป็นครูมวยดีเด่นของจังหวัดลพบุรีมา หลายสมัย ความหวงั ใหม่ของมวยไทยสายลพบุรี โดยเฉพาะนักมวยลพบุรี 2 คน ท่ีทาให้วงการมวย ลพบุรีเป็นทเ่ี ฝา้ มองวา่ อาจเป็นทายาทของหมน่ื มือแม่นหมัดและนายจนั ทร์ บัวทอง ก็เป็นได้ เขาผู้น้ัน คอื นายทวศี กั ด์ิ สิงห์คลองสี่ ที่เป็นคนลพบุรีและเป็นนักมวยลพบุรี ท่ีมีลีลาการต่อยคล้ายหม่ืนมือ แม่นหมัด คือเก่งในการใช้หมัดตรง จนผู้จัดการค่ายได้นาไปต่อยมวยสากลอาชีพจนถึงขั้นได้เป็น แชมปโ์ ลกพาบ้า ในรุ่นฟลายเวท ซึ่งนับว่าทวีศักด์ินั้นเจริญรอยตามบรรพบุรุษมวยไทยสายลพบุรีได้ เป็นอย่างดี โดยเฉพาะการใช้หมัดต่อยแบบฉาบฉวย แล้วพลิ้วหลบไปมาจนคู่ต่อสู่ต่อยไม่ถูก และ อีกหนึ่งคนก็เป็นนกั มวยลพบรุ ีเหมือนกนั คือ นายอังคาร ชมพูพวง ซึง่ มีความสามารถในการใช้หมัดได้ คล้ายกับหม่ืนมือแม่นหมัดอีกผู้หนึ่ง โดยถนัดการใช้หมัดชกแล้ววนหนี จนเมื่อเลิกชกมวยไทยแล้ว
253 หันไปชกมวยสากลสมัครเลน่ จนได้แชมป์คิงส์คัพ คร้ังล่าสุด ในรุ่นเฟเธอร์เวท และยังไปชกมวยวูซู จนได้แชมป์โลกวูซูในกีฬาเอเซียนเกมส์ครั้งท่ีผ่านมาอีกด้วย ซ่ึงท้ัง 2 คนน้ีเป็นเลือดเน้ือเชื้อไขของ ชาวลพบุรี ซ่ึงนับเป็นความหวังใหม่ของชาวลพบุรีที่จะช่วยกระตุ้นและร้ือฟื้นมวยไทยสายลพบุรี ใหย้ ่งิ ใหญ่เกรียงไกรมชี ่ือเสียงโดง่ ดงั ไปทัว่ ประเทศดังเช่นในอดีตท่ีผ่านมา 2. เอกลกั ษณ์มวยไทยสายลพบรุ ี เอกลักษณ์ของมวยไทยสายลพบุรี พบว่ามี 7 หัวข้อ ได้แก่ 1) เอกลักษณ์โดยรวมของมวย ไทยสายลพบุรี 2) เอกลักษณ์ด้านการแต่งกายของมวยไทยสายลพบุรี 3) เอกลักษณ์ด้านการพันมือ ของมวยไทยสายลพบุรี 4) เอกลักษณ์ด้านการพันคาดข้อเท้าของมวยไทยสายลพบุรี 5) เอกลักษณ์ ด้านยืนและการวางเท้าของมวยไทยสายลพบุรี 6) เอกลักษณ์ด้านการจดมวยและท่าจดมวยของ มวยไทยสายลพบุรี 7) เอกลักษณ์ด้านลักษณะการต่อยหมัดของมวยไทยสายลพบุรี ดังรายละเอียด ตอ่ ไปน้ี 2.1 เอกลักษณโ์ ดยรวมของมวยไทยสายลพบุรี ผลการศกึ ษาเอกลกั ษณโ์ ดยรวมของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า มวยไทยสายลพบุรีจะมี เอกลักษณ์เป็นของตนเองคือ ไม่เป็นมวยหลักแต่จะเป็นลักษณะมวยเก้ียว กล่าวคือ เป็นมวยท่ีใช้ อาวุธมวยได้รวดเร็ว หลบหลีกอย่างว่องไว ส่วนมากจะนิยมใช้หมัด โดยเน้นท่ีการออกหมัดอย่าง ฉลาดและแหลมคม จุดเดน่ ของมวยไทยสายลพบุรีอยู่ที่เปน็ มวยทเี่ นน้ หมดั ตรง การชกแบบหงายหมัด ทาให้มวยไทยสายลพบรุ มี ีช่ือเสียงว่าเป็นมวยหมัด ชอบตอ่ ยตรงตามแบบฉบับของมวยไทยสายลพบุรี ไม่นิยมใช้มอื ปอ้ งกันการเตะ จงึ มลี ักษณะที่แตกต่างจากมวยอื่น ๆ คือ ต่อยได้แม่นยามากจนได้ชื่อว่า เป็นมวยท่ีแม่นหรือมีหมัดแม่น โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้หมัดในเวลาเข้าคลุกวงในของนักมวยลพบุรี จะใชก้ ารตอ่ ยสวนเขา้ สู่ปลายคางของคตู่ ่อสู้ และไดเ้ รยี กช่ือท่าต่อยมวยน้ีว่า เอราวัณเสยงา แต่ถ้าใช้ สองมือต่อยคู่ จะเรียกชื่อว่า หนุมานถวายแหวน จนมีคากล่าวที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของการชกมวย ของนักมวยลพบุรีไว้ว่า ฉลาดลพบุรี หมายถึงการชกมวยของบรรพบุรุษมวยลพบุรีว่า เป็นมวยแม่น หมัด จดั เปน็ มวยเชิง ที่มีลลี าการชกที่ฉลาด ทั้งการรกุ รับ หลบหลีกได้อย่างว่องไว สามารถแหวกการ ปอ้ งกนั ใบหน้าคู่ตอ่ ส้ไู ดอ้ ยา่ งแม่นฉมงั และแม่นยาเหมือนกับจับวาง ซ่ึงหมายความว่า ถ้าจะต่อยตรง ส่วนใดจะถูกตรงสว่ นนั้นไมม่ ีการพลาด ซ่ึงโดยทวั่ ไปมวยไทยในสมยั โบราณเปน็ “ศาสตร์แห่งการต่อสู้ ทั้งท่ีใช้อาวุธและมือเปล่า” มวยไทยแต่ละภาคในสมัยก่อนจะมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน ไป ดังเช่นมวยลพบุรี เป็นต้น 2.2 เอกลกั ษณด์ ้านการแต่งกายของมวยไทยสายลพบุรี
254 ภาพท่ี 168 เอกลักษณ์การแต่งกายของมวยไทยสายลพบรุ ี ผลการศึกษาเอกลักษณ์ด้านการแต่งกายของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า มวยไทยสายลพบุรี ในสมัยโบราณ จะแต่งกายเช่นเดียวกบั นกั มวยทวั่ ๆ ไป กล่าวคือ นุง่ กางเกงขาส้ัน ซ่ึงส่วนมากจะเป็น ผ้าฝ้ายสีกรมท่า มีการตัดเย็บอย่างง่ายๆ ขากว้างเล็กน้อย โดยจะมีการนาผ้าขาวม้ามาพันกับ ผ้าหนาๆ ทาเป็นกระจับเพื่อหุ้มอวัยวะเพศไว้เรียกว่า กระจับผ้า แล้วพันปลายผ้าขาวไว้ท่ีเอว ที่หัวจะ สวมมงคลและทแ่ี ขนจะผกู ผ้าประเจยี ดไว้ทง้ั สองขา้ ง 2.3 เอกลักษณด์ ้านการพันมือของมวยไทยสายลพบุรี เอกลักษณ์ด้านการพันมือของมวยไทยสายลพบุรี พบว่ามีความแตกต่างจากมวยใน ทอ้ งถ่ินอื่น กลา่ วคือ มวยไทยสายลพบุรี จะนิยมการใช้ผ้าพันคาดข้อมือแค่ครึ่งแขน โดยทาให้เป็น เส้นคล้ายเชือก ไม่นิยมถักหรือตกแต่งให้เป็นรูปก้นหอยแต่อย่างใด เพราะมวยไทยสายลพบุรีจะใช้ หมัดในการต่อยอย่างเดียวไม่ใช้ในการป้องกันการเตะ แต่จะใช้วิธีฉากหลบพลิ้วไปมา จึงไม่พันคาด ขอ้ มอื เตม็ แขนเหมอื นมวยโคราช ภาพที่ 169 - 170 การพนั มอื ของมวยไทยสายลพบรุ ี 2.4 เอกลักษณ์ด้านการพนั คาดข้อเทา้ ของมวยไทยสายลพบรุ ี
255 ผลการศกึ ษาเอกลักษณเ์ ฉพาะตวั ดา้ นการพันคาดขอ้ เท้าของมวยไทยสายลพบรุ ี พบวา่ มวยไทย สายลพบุรี มีการพันคาดข้อเท้าที่ไม่เหมือนใคร ในส่วนการพันคาดข้อเท้านี้ ครูมวยของ ลพบุรไี ดเ้ ล่าใหฟ้ งั ว่า ได้รบั การบอกเลา่ จากครูมวยรุ่นเก่าและคนเฒ่าคนแก่ต้ังแต่คร้ังยังอยู่ในวัยหนุ่ม ว่า ท่ีข้อเท้าทั้งสองข้างของมวยไทยสายลพบุรี จะพันคาดด้วยด้ายที่ขวั้นจนเป็นเส้นใหญ่พอๆ กับ ไส้ตะเกียงพันคาดไว้ท่ีข้อเท้า เพ่ือใช้ป้องกันตัวและใช้ในการเตะคู่ต่อสู่ให้ถากๆ เพ่ือให้คู่ต่อสู้ได้รับ บากเจบ็ จากแผลทเี่ กิดข้ึน ภาพท่ี 171 - 172 เอกลักษณ์การพนั คาดทบั ข้อเท้า 2.5 เอกลกั ษณ์ด้านการยืนและการวางเท้าของมวยไทยสายลพบุรี ผลการศกึ ษาเอกลักษณ์ดา้ นยนื และการวางเท้าของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า มวยไทย สายลพบุรี จะมีลักษณะการยืนหน้าตรงหันหน้าเข้าหาคู่ต่อสู้ ขายืนในลักษณะหันหลัง ขาหน้างอเข่า เพียงเล็กน้อย ถ้าผู้ต่อยถนัดมือขวาจะยืนโดยให้เท้าซ้ายอยู่ข้างหน้า ปลายเท้าตรงไปข้างหน้า ส่วนเท้าขวาจะอยู่ข้างหลังห่างจากเท้าซ้ายเล็กน้อยและให้ปลายเท้าขวาเฉียงไปทางขวา โดยให้ น้าหนักศูนยถ์ ่วงของรา่ งกายถ่ายเทลงตามแนวก่งึ กลางของร่างกายจากบนลงสู่ล่าง ต้ังแต่แนวสันจมูก จนถึงปลายองคชาติ ให้ศีรษะ หัวไหล่และสะโพกอยู่ในแนวเดียวกันทั้งสามส่วน ซ่ึงเป็นอาการท่ี พร้อมจะเคลือ่ นไหวไปอย่างรวดเร็วในทันทีทนั ใดของนักมวยลพบุรี ภาพที่ 173 การยนื และการวางเทา้ ของมวยไทยสายลพบรุ ี
256 2.6 เอกลักษณด์ า้ นการจดมวยและทา่ จดมวยของมวยไทยสายลพบรุ ี ผลการศึกษาเอกลักษณ์ด้านการจดมวยและท่าจดมวยของมวยไทยสายลพบุรี ซึ่งมี ลักษณะเป็นการตั้งท่าเตรียมต่อสู้หรือการคุมมวยหรือท่าเริ่มต้น พบว่า สาหรับมวยลพบุรี จะเร่ิม จดมวยด้วยท่าพระกาฬเปิดโลกและท่าจดมวยของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า มวยไทยสายลพบุรี มีลักษณะการจดมวยเหมือนกับนักมวยหลาย ๆ คนในสมัยโบราณ กล่าวคือ นิยมการจดมวยในท่า หงายมือและยืนหน้าตรงไม่เอียงข้างเหมือนมวยในปัจจุบัน ซึ่งในท่าจดมวยน้ีจะมีท้ังเหล่ียมและวง ซึ่งเหล่ียมหมายถึง การยืนโดยมีเท้าใดเท้าหนึ่งก้าวเย้ืองนาอยู่ข้างหน้าข้างหนึ่งอยู่ข้างหลัง หาก นักมวยคนใดถนัดมือขวาก็จะจดเหล่ียมขวา หรือถ้านักมวยคนใดถนัดมือซ้ายก็จะจดเหลี่ยมซ้าย ส่วนวงหมายถึง ลักษณะท่ีนักมวยมีการตั้งแขนวางหมัด โดยกระชับแขนให้ม่ันคงและวางห่างลาตัว เลก็ นอ้ ย เพ่อื ใหก้ ารเตรียมตวั ตอ่ สู้เปน็ ไปอย่างรวดเร็ว ลักษณะน้ีเรียกว่า วงกว้าง ซึ่งท่าจดมวยไทย สายลพบุรี มีลักษณะที่หมัดหน้าหงายโดยมือย่ืนออกไปข้างหน้าและตั้งหมัดสูงเสมอคางหรือหัวไหล่ เพ่ือคอยแหย่หรือลองเชิงคู่ต่อสู้ รวมท้ังคอยปิดป้องเมื่อคู่ต่อสู้ออกอาวุธมา ส่วนหมัดหลังจะมี ลักษณะการหงายมือแต่ตะแคงเล็กน้อย โดยการงอแขนตั้งฉากให้แขนท่อนบนขนานกับลาตัว การยกหมัดนจ้ี ะยกสงู เพียงแค่ราวนมเป็นลักษณะหมัดสวนคอยรุกตีโต้ตอบแทนการป้องกันและจะใช้ การฉากหลบแล้วเข้าประชิดวงในด้วยความคล่องแคล่วว่องไวแล้วต่อยคู่ต่อสู้ด้วยหมัดหงายอย่าง รวดเร็วเขา้ ทป่ี ลายคาง เรยี กท่าตอ่ ยน้ีวา่ เอราวณั เสยงา ภาพที่ 174 การจดมวยและท่าจดมวยของมวยไทยสายลพบรุ ี ทา่ จดมวย “นาคาพน่ ไฟกาฬ” 2.7 เอกลักษณ์ดา้ นลกั ษณะการตอ่ ยหมดั ของมวยไทยสายลพบรุ ี ผลการศึกษาเอกลักษณ์ด้านลักษณะการชกมวยโดยการต่อยหมัดของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า ลกั ษณะของการต่อยหมดั ของบรรพบุรุษมวยไทยสายลพบุรีจะเป็นมวยเก้ียว กล่าวคือ มีวิธีการ ต่อส้ทู ่ีใช้ชั้นเชงิ แพรวพราว การเข้าทาค่ตู อ่ สจู้ ะใช้กลลวงมากมาย นักมวยจะเคล่ือนตัวอยู่เสมอ จะไม่ หยุดน่ิง โดยเคล่ือนตัวไปมาทั้งด้านซ้ายและด้านขวาสลับกันทาให้คู่ต่อสู้จับทางมวยยาก จะมีลีลา ท่าทางคล่องแคล่วว่องไว หลอกล่อหลบหลีกได้ดี มีสายตาดี รุกรับและออกอาวุธหมัด เท้า เข่า
257 และศอกได้อย่างรวดเร็ว แต่จะเน้นการใช้หมัด ส่วนอาวุธอ่ืน ๆ ซึ่งส่วนใหญ่การต่อยหมัดของ มวยไทยสายลพบุรีมักจะใช้หมัดท่ีรวดเร็วและประกอบกับลีลาท่าทางท่ีพล้ิวไป มาเพื่อหลอกล่อและ ต่อยคู่ต่อสู้พร้อมกับหลบหลีก แล้วหาจังหวะเข้าต่อยใหม่ มีลักษณะเข้าตอดเล็กตอดน้อยของปลา เปน็ ลักษณะการจดมวยต่าระดับราวนม อันเป็นลักษณะของหมัดรุก ซึ่งประกอบด้วยกาลังจากท่อน แขนและหัวไหล่เป็นฐานสนับสนุน การตั้งหมัดตามลักษณะนี้จะเป็นการเปิดเกมรุกอย่างต่อเนื่องหรือ รุกแล้วถอยหนีอย่างฉาบฉวยได้ เพราะหมดั สามารถเปลย่ี นเปน็ การยันหรือผลักได้ ในลักษณะท่ีหมัด ไดถ้ กู ต้ังใหต้ ่าและไกลลาตัวของมวยลพบุรี ลักษณะแบบนเี้ รยี กว่า หมดั ประ 3. กระบวนท่าของมวยไทยสายลพบุรี ไม้มวยไทยลพบรุ ีถอื เปน็ กระบวนทา่ ศลิ ปะมวยไทยสายลพบรุ ี ที่ครมู วยไทยสายลพบรุ ไี ด้สง่ั สอนลูกศิษย์ในคา่ ยมวยต่างๆ ตามแนวทางของมวยไทยสายลพบรุ ี แบง่ เปน็ ประเภทได้ 2 ประเภทดังน้ี 1. แม่ไม้มวยไทยสายลพบุรี ที่มีมาแต่โบราณท่ีครูมวยไทยสายลพบุรีนามาสอนลูกศิษย์ ท่ียัง พอเหน็ ในการชกมวยไทยอยใู่ นขณะนี้ และเปน็ ท่ามาตรฐานแมไ่ ม้มวยไทย ประกอบดว้ ย กระบวนท่าท่ี 1 ยอเขาพระสุเมรุ : เป็นท่าที่ใช้ต่อยคางด้วยหมัด ไม้นี้ใช้สาหรับรับหมัด ตรงของคตู่ ่อสู้ โดยผูต้ อ่ ยก้าวเท้าสบื เข้าวงใน แล้วต่อยปลาคางของฝา่ ยรกุ ด้วยหมัด ภาพที่ 175 กระบวนทา่ ยอเขาพระสเุ มรุ กระบวนท่าท่ี 2 หักงวงไอยรา : เป็นท่าที่ใช้การกระแทกศอกลงที่โคนขา ใช้สาหรับแก้การ เตะของคู่ต่อสู้ โดยการัดกาลังขาให้คู่ต่อสู้แพ้เร็วข้ึน เม่ือคู่ต่อสู้เตะมา ผู้ถูกเตะจะใช้แขนรับโดย การผ่อนแรงและจับไว้ จากน้ันจึงใชศ้ อกอีกขา้ งหน่ึงกระแทกลงไปท่ีโคนขาของคูต่ ่อสู้
258 ภาพท่ี 176 กระบวนทา่ หักงวงไอยรา กระบวนท่าท่ี 3 ขุนยักษ์จับลิง : เป็นท่ารับ ต่อย เตะ และถอง เป็นท่าไม้มวยที่สาคัญ เนอื่ งจากเปน็ ท่าทีใ่ ชแ้ กก้ ารต่อย เตะ และถอง เมื่อคู่ต่อสู้ต่อยมาท่ีใบหน้า ให้ผู้ถูกต่อยสืบเท้าเข้าหาคู่ ต่อสู้แล้วหมุนตัวถอยเท้าไปด้านใช้แขนปัดหมัดคู่ต่อสู้ หรือเมื่อคู่ต่อสู้เตะกราดบริเวณชายโครง ให้ ผู้ถูกเตะหมุนตัวถอยเท้าไปด้านข้าง แล้วย่อตัวและใช้ศอกขวาถองท่ีขาขวาท่อนบนของคู่ต่อสู้ และ เม่ือคู่ต่อสู้ใช้ศอกจะตีท่ีซอกคอ หรือศีรษะ ให้หมุนตัวออกไปด้านข้างแล้วใช้ท่อนบนปะทะแขนท่อน บนของฝา่ ยตรงข้ามไว้ ภาพที่ 177 - 178 กระบวนท่าขนุ ยกั ษจ์ ับลิง
259 กระบวนทา่ ที่ 4 หกั คอเอราวัณ : เป็นท่าโน้มคอตีเข่า ไม้มวยนี้ใช้รับการต่อยด้วยหมัดขวา ตรงและซ้ายตรงของคู่ต่อสู้ โดยสอดแขนเข้าวงในเพื่อโน้มคอคู่ต่อสู้เหน่ียวลงมาตีเข่าที่คางหรือ ใบหนา้ ภาพที่ 179 กระบวนทา่ หักคอเอราวณั 2. ลูกไม้มวยไทยสายลพบุรี นอกจากแม่ไม้แล้ว ยังมีลูกไม้ของมวยไทยสายลพบุรี ซึ่ง นับเป็นอีกหลาย ๆ ท่า ท่ียังพอเห็นในปัจจุบัน ซ่ึงลูกไม้ของมวยไทยสายลพบุรีจากการศึกษาวิจัย พบวา่ มี 2 ท่า ประกอบด้วย ทา่ หลัก 6 ทา่ และทา่ ไม้เกล็ด 6 ท่า ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ 2.1 ทา่ ลูกไมห้ ลักมวยไทยสายลพบรุ ี ประกอบดว้ ย กระบวนท่าที่ 1 : ท่าเอราวัณเสยงา เป็นท่าไม้มวยท่ีใช้รับและต่อยเสยปลายคาง ของคู่ตอ่ สู้ โดยเวลาชกจะเสยเพ่ือให้ปิดปลายหมัดที่ชกเสย พร้อมทั้งหมุนตัวเบนให้หัวไหล่ปะทะอก คูต่ ่อสู้ ภาพที่ 180 กระบวนทา่ เอราวัณเสยงา
260 กระบวนท่าท่ี 2 : ท่าขุนยักษ์พานาง เป็นกระบวนท่าที่มีลักษณะการแหวกหมัด จับทุ่ม ไม้น้ีใช้เวลาเข้าประชิดตัวคู่ต่อสู้ ใช้กาลังแขนและจับเอวและเหว่ียงคู่ต่อสู้ ให้ล้มหลังฟาดพ้ืน เปน็ การตัดกาลงั ไมน้ ต้ี อ้ งอาศัยความไวเปน็ พเิ ศษ อย่าใหค้ ่ตู อ่ สู้ตั้งตัวทัน ภาพท่ี 181 - 182 กระบวนทา่ ขนุ ยกั ษพ์ านาง กระบวนทา่ ที่ 3 : ท่าพระรามน้าวศร เป็นทา่ ไมม้ วยทมี่ ลี กั ษณะการปิดศอกต่อย เสยปลายคาง ไม้น้ีใช้แก้การตีศอกคู่ของคู่ต่อสู้ โดยการยกแขนท่อนล่างขึ้นขวางรับศอก แล้วใช้หมัด ตอ่ ยเสยปลายคางคู่ตอ่ สู้ ภาพท่ี 183 กระบวนท่าพระรามน้าวศร กระบวนท่าที่ 4 : ท่ากวางเหลียวหลัง เป็นท่าไม้มวยท่ีมีลักษณะการตามเตะ และถีบด้วย ส้นเท้า ไม้น้ีใช้กระทาแก่คู่ต่อสู้ท่ีถอยหนีการเตะไปข้างหลัง ไม้น้ีต้องกระทาอย่าง รวดเร็วไม่ให้คู่ต่อส้ตู ้งั ตวั ไดท้ ัน
261 ภาพท่ี 184 กระบวนทา่ กวางเหลียวหลงั กระบวนท่าท่ี 5 : ท่าหิรัญม้วนแผ่นดิน เป็นท่าไม้มวยที่มีลักษณะการรับเตะ ม้วนตัวและตีศอกกลับ ไม้น้ีเป็นไม้สาคัญอันหน่ึง ในจานวนลูกไม้มวยทั้งหลาย เป็นไม้ใช้แก้ลูกเตะ ของคตู่ ่อสู้ โดยหมนุ ตัวเขา้ หาและใช้ศอกกลับกระแทกบรเิ วณคางหรอื หน้าคตู่ ่อสู้ ภาพท่ี 185 กระบวนทา่ หริ ัญม้วนแผน่ ดนิ กระบวนท่าท่ี 6 : ท่าหนุมานถวายแหวน เป็นท่าไม้มวยที่มีลักษณะการ แหวก วงในเสยคางดว้ ยหมดั คู่ ไม้นีใ้ ชร้ บั การต่อย โดยเอาการเสือกหมัดคู่ไปยังปลายคางของคู่ต่อสู้ โดยหัน ติดชดิ อกของค่ตู อ่ สู้
262 ภาพท่ี 186 กระบวนทา่ หนุมานถวายแหวน 2.2 ท่าลกู ไมเ้ กลด็ มวยไทยสายลพบรุ ี ประกอบดว้ ย นอกจาก 6 ท่าหลักแล้ว ยังมีกระบวนท่าลูกไม้ย่อยออกไปอีกหลายท่า ซึ่งเรียก กันวา่ “ไม้เกรด็ มวยไทยสายลพบุรี” นบั เปน็ ทา่ มวยลพบรุ ีโบราณอกี 6 ท่า ประกอบด้วย กระบวนท่าที่ 1 : ท่าล้มพลอยอาย ใช้เม่ือเวลาคุมเชิงกันของนักมวย ถ้าคู่ต่อสู้ ถอยหลังและล้มลง ฝ่ายท่ีไม่ล้มจะล้มทับลงไปโดยเอาศอกถองกดลงที่หน้าอกหรือท่ีใดก็ตามท่ีพอจะ ทาให้สามารถขัดขวางคู่ต่อสู้ได้ หรือกลิ้งเข้าใส่คู่ต่อสู้ โดยทิ้งตัวล้มลงเอาศอกกดลงที่หลังเท้าคู่ต่อสู้ ซึ่งนักมวยต้องอาศัยความไวจริง ๆ จึงจะทาสาเร็จได้ ถ้าทาได้ย่อมได้ผลมาก และคู่ต่อสู้จะสู้ไม่ได้ ทเี ดยี วเนือ่ งจากยนื ไมถ่ นดั กระบวนท่าที่ 2 ท่าลิงชิงลูกไม้ ใช้เม่ือเขาเตะเราจะเป็นเท้าใดก็ตาม ให้ปัดเท้าท่ี เตะน้ัน ให้พ้นตัว แล้วให้ต่อยสวนเท้าข้ึนไปทันที ให้ถูกตรงหน้าอกหรือคาง อาการต่อยน้ันให้เสือก หมดั ขน้ึ ไปตรง ๆ ท้งั 2 หมดั หมัดต้องติดกันหงายมือขึ้นในขณะที่เสือกหมัดข้ึนไปให้ก้มศีรษะแนบอยู่ กบั แขนทง้ั 2 ขา้ ง แลว้ เอยี งตัวตามมือท่ีอยูห่ น้า เช่น ถ้ามือขวาอยู่หน้าให้เอียงตัวไปทางขวา หรือซ้าย อยู่หน้าให้เอียงตัวไปทางซ้าย กระบวนทา่ ที่ 3 ทา่ คชสารถอนหญา้ ใช้เวลาคุมเชิงกับคู่ต่อสู้ ให้ใช้วิธีหลอกในเชิง หมดั การตอ่ ยวงกว้างแตไ่ ม่ตอ่ ยจรงิ เม่อื คตู่ ่อสยู้ กมอื จะปดั ให้ใช้มือท่ีหลอกจะต่อยคู่ต่อสู้น้ันรวบหมัด ท้ัง 2 ข้างกระหวดั ไว้ใต้รกั แรข้ องตนเอง แล้วจึงใช้มืออีกข้างหน่ึงท่ียังเหลืออยู่นั้น ต่อยปากหรือต่อย จมูกคู่ต่อสู้ โดยต่อยเข้าไปคร้ังเดียว เม่ือจะถอยตัวออกไป ให้ใช้ศอกที่รวบหมัดคู่ต่อสู้ไว้น้ัน กระทุ้ง หน้าอกใหก้ ระเด็นไป จงึ จะกระโดดออกมาตั้งหลกั คมุ เชงิ ต่อไป กระบวนท่าท่ี 4 ท่าคชสารแทงงา ใช้ในขณะท่ีคุมเชิงกันกับคู่ต่อสู้ ให้ใช้การหลอก ด้วยการกระโดดไปกระโดดมา พอได้ท่าก็กระโดดเข้าถีบหน้าอก แล้วพุ่งหมัดท้ัง 2 หมัด ไปตรงปากคู่ ตอ่ สู้ พรอ้ มกับใช้เท้าถบี กระบวนท่าที่ 5 ท่าลงิ พลิ้ว ใชเ้ มือ่ คมุ เชิงกันอยู่กับคตู่ ่อสู้ ให้ใช้การหลอกต่อยหมัด ด้วยมือขา้ งหน่ึง จะใชม้ อื ขวาหรอื มอื ซา้ ยกต็ ามหมายต่อยหนา้ ที่เอยี ง ใหต้ อ่ ยด้วยอาการพุ่งมือ (ไม่ใช่
263 ต่อยด้วยอาการเหวี่ยงแขนไปข้างหลัง) ถ้าต่อยด้วยมือซ้ายต้องหมายต่อยแก้มซ้ายของคู่ต่อสู้ ถ้าต่อย มือขวาก็ให้ถูกแก้มของคู่ต่อสู้ ในขณะที่ ต่อยคู่ต่อสู้นี้ ให้ทะล่ึงตัวตามหมัดไป แล้วพลิกตัวกลับหลัง หันไปศอกถองหน้าทันที พร้อมกบั การหันตัวกลบั กระบวนท่าที่ 6 ท่าหนุมานถอนตอ ใช้เมื่อถูกคู่ต่อสู้เตะมา ให้จับขาไว้แล้วยกข้ึน ให้สูงเสมอไหลแ่ ล้วดงึ มาหาตัว เมื่อคู่ต่อสู้ทะลึ่งเข้ามาจะต่อยให้ใช้เท้าท่ีอยู่หน้าถีบตรงหัวหน่าวพร้อม กับพุ่งเท้าออกไปใส่คู่ต่อสู้พร้อมกันกับการถีบ อาจทาให้กระเพาะปัสสาวะของคู่ต่อสู้แตกจนไหลไม่ หยุดได้ ไม้มวยไทยสายลพบุรี นับเป็นไม้มวยที่ครูมวยในจังหวัดลพบุรีได้นามาสอนลูกศิษย์ ท้ังในโรงเรียนและค่ายมวยต่าง ๆ บางท่านที่เป็นผู้รู้ในมวยไทยสายลพบุรีก็บอกว่า เป็นตาหรับของ มวยไทยสายลพบุรี ในสมัยโบราณท่ีบรรพบุรุษได้คิดค้นไว้ แต่บางท่านก็ว่าเป็นท่ามาตรฐานจากมวย ไทยภาคกลางที่ครูมวยในเมืองลพบุรีนามาใช้สอนนักมวย โดยคิดว่าท่าทางต่างๆ เหล่าน้ีสมควรท่ี จานามาสอนลูกหลานชาวลพบรุ ี เพราะเป็นกระบวนที่ท่ีเก่ียวกับลิง ช้าง และตานานการสร้างเมือง ลพบุรที เ่ี ป็นเอกลักษณข์ องเมอื งลพบรุ ีในอดตี ท่ีผา่ นมา ครมู วยและนักมวยลพบรุ ี หม่ืนมือแม่นหมัด เดิมชื่อ นายกลึง โตสะอาด เกิดเมื่อปี พ.ศ.2414 บิดาช่ือ นายทัต มารดา ชือ่ นางแฟง มพี ี่ชาย 1 คน ช่ือนายกล้ิง โตสะอาด บ้านอยู่หัวสาโรง เลขที่ 27 หมู่ 1 ตาบล หัวสาโรง อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี ในสมัยน้ันยังไม่มีนามสกุล นามสกุลเพ่ิงเร่ิมต้ังข้ึนในปี พ.ศ. 2456 ใน สมัยรัชกาลที่ 6 เนื่องจากพ่อแม่มีอาชีพตามบรรพบุรุษคือเป็นชาวนา แต่นายกลึงซึ่งขณะน้ันเร่ิมโต เปน็ วยั รุ่นไม่ชอบที่จะเป็นชาวนา จึงออกจากบ้านมาหางานทาในเมืองคือบริเวณเมืองเก่า บ้านทะเล ชุบศร อาศัยนอนบา้ นคนรู้จกั หลังวดั ตองปุ นายกลึงทางานทุกอย่างเท่าท่ีมีคนว่าจา้ ง ส่วนใหญ่จะเป็น การยกของข้ึนจากเรือ โดยจะมาทางานแถววัดพรหมาสตร์ ท่ีอยู่ติดกับแม่น้าลพบุรี มีท่าเทียบเรือ ยนตส์ ่งสินคา้ อยู่ พอมีเวลาวา่ งนายกลึงมักจะมาดูเขาซ้อมมวยท่ีวัดพรหมาสตร์ซึ่งมีวัยรุ่นหลายคนมา ซ้อม มคี รมู วยคอยดูแลการฝึกซอ้ มอย่เู สมอ นานเข้า นายกลึงซ่ึงชอบทางหมัดมวยอยู่แล้ว จึงสมัคร เป็นลูกศิษย์ครูมวยและขอฝึกซ้อมด้วย ซ้อมอยู่นานอย่างจริงจังด้วยความขยันขันแข็งและมีใจรักจึง ทาให้มีฝีมือรุดหน้ามากกว่านักมวยคนอื่นๆ ประกอบกับมีพรสวรรค์ในตัวจึงมีฝีมือเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ มี ความถนัดในการใช้หมัดตรงท้ังซ้ายและขวา เน่ืองจากยกของข้ึนลงเรือบ่อย ๆ ข้อมือและแขนจึง แข็งแรงและสามารถต่อยหมดั ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ ว่องไว จนนักมวยคนอ่ืนๆ ไม่สามารถสู้ได้ ในละแวก น้ันมักมีวานสมโภชและงานวัดอยู่บ่อย ๆ และในงานน้ันก็จะมีการแข่งขันชกมวยอยู่ด้วยเสมอ เจา้ เมืองลพบรุ ใี นสมยั นั้น คือ พระยาพิสุทธิ์ธรรมธาดา จะมาดูและมอบรางวัลให้นักมวยด้วย นายก ลึงกเ็ คยต่อยในงานวัดหลาย ๆ งาน จนมีฝีมือกล้าแข็งจนคนร่าลือไปทั่ว นายกลึงเดินสายต่อยมวยใน ละแวกภาคกลางบ่อยครั้ง ทัง้ สงิ หบ์ รุ ี อ่างทอง สระบุรี อยุธยา นครสวรรค์ นายกลึงชนะหมดในทุก ๆ เมืองและทุกรายการท่ีแข่งขัน ในปี พ.ศ. 2452 ทนายเลือกในกรุงเทพฯ ได้มีใบบอกไปตามหัวเมือง ต่าง ๆ ให้คัดเลือกนักมวยท่ีเก่งที่สุดในมณฑลต่างๆ เข้ามาชกมวยหน้าพระท่ีนั่ง ในงาพระราชทาน เพลิงพระศพพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภช เมื่อวันที่ 19–22 มีนาคม พุทธศักราช 2452 ณ พระเมรุสวนมิสกวัน (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 27 หน้า 25 วันที่ 10 เมษายน รศ.129) และ ต่อเนอื่ งงานพระราชเพลิงศพของเจ้าคุณจอมารดาเปี่ยม ในวันท่ี 1–5 เมษายน พุทธศักราช 2453 ณ
264 เมรุสวนมิสกวัน (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 27 หน้า70 วันที่ 17 เมษายน รศ.120) นายกลึงคนหน่ึงที่ สมัครเข้าคัดเลือกและได้เป็นตัวแทนเมืองลพบุรีเข้ามาต่อยท่ีกรุงเทพฯ ในงานพระราชทานเพลิงศพ ดงั กล่าว การแขง่ ขันในคราวน้ัน จัดการแข่งขันเป็นแบบแบ่งสายและให้นักมวยในกลุ่มต่อยกันเพ่ือหา คูช่ นะเลิศ นายกลงึ ขณะน้ันอายุได้ 39 ปีแล้ว แต่ก็ยังแข็งแรงมีประสบการณ์ในการต่อยมวยมานาน และเป็นมวยหมัดจึงไมต่ ้องใช้แรงมาก นายกลึงอาศัยช้ันเชิงแพรวพราวรุก–รับที่ปราดเปรียว ใช้หมัด ดักชกคู่ต่อสู้ได้อย่างคล่องแคล่ว ว่องไว ลีลาไหวพล้ิวจนคู่ต่อสู้ไม่สามารถทาอะไรได้ ใช้หมัดตรง หลอกล่อต่อยคู่ต่อสู้จนเข้าไม่ติด เวลาพระชิดวงในก็ต่อยหมัดเสยไปท่ีปลายคางคู่ต่อสู้จนคู่ต่อสู้ขยาด ไม่กล้าเข้าใกล้ และในท่ีสุดนายกลึงก็ชนะเลิศในกลุ่มเป็นท่ี 1 ใน 3 คนที่มาต่อยคราวน้ัน ซ่ึงมีเพียง 3 คนและ 3 เมืองเท่าน้ันนับเป็นยอดมวยในสมัยน้ัน จนมีคนกล่าวคาพูดสรรเสริญไว้ว่า “หมัดหนัก โคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ ทอดพระเนตรเห็นลีลาท่าทางการชกมวยของนายกลึง ก็รู้สึกพอพระทัยและชอบใจในความสามารถ ในเชิงชกของนายกลึงมาก จึงโปรดเกล้า ให้นายกลึงและนักมวยอีก 2 คน เข้ามารับราชการในกรม มวยหลวง ในตาแหน่งกรมการพิเศษให้บรรดาศักด์ิเป็นขุนหม่ืนครูครูในช่ือว่า หม่ืนมือแม่นหมัด (ประกาศแจง้ ความกระทรวงมหาดไทย เร่ือง แตง่ ตัง้ ขุนหม่ืนครูมวย ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 27 หน้า 489 วนั ท่ี 19 มถิ ุนายน รศ.129) มศี กั ดนิ า 300 ไร่ ให้มีหน้าท่ีจัดการแข่งขันและดูแลมวยในหัวเมือง ภาคกลาง ท่ีนาท่ีได้รับพระราชทานน้ัน อยู่ในตาบลหัวสาโรงที่บ้านสะแกงาม อาเภอท่าวุ้ง จังหวัด ลพบรุ ี หมนื่ มอื แมน่ หมัด มภี รรยาช่อื นางตาบ เป็นคนบ้านไทร มบี ุตรธดิ าด้วยกนั 6 คน คือนางเพียร แตง่ งานกบั นายผล อน้ สกลุ นางวัน โตสะอาด นางวอน แต่งงานกับนายม่ิง ม่ังค่ัง นายแบน โตสะอาด นางวิง แก้วกระจ่าง นางวัง ทองสัมฤทธ์ิ ปัจจุบันนี้ท้ัง 6 คน ได้เสียชีวิตไปหมดแล้วคงมีหลานอยู่ 2 คน ที่เป็นคนเล่าเรื่องของนายกลึง และจาได้ดีถึงรูปร่างและบุคลิกหน้าตาของหมื่นมือแม่นหมัด ท้งั สองคนคือ นายผนั อน้ สกุล ซงึ่ เป็นลกู ชายของนายผลและนางเพียร อน้ สกุล ขณะนี้มีอายุ 69 ปี และนายละออง มั่งค่ัง ซึ่งเป็นลูกชายของนายมิ่ง และนางวอน ม่ังค่ัง อายุ 72 ปี ท้ังสองคนเล่าว่า เมื่อตอนเป็นเด็กอายุ 6 ขวบและ 9 ขวบ คุณตาหมื่น ได้เอาเหรียญตราราชสีห์มาคล้องคอให้ แตห่ ายไปแลว้ ไม่รู้หายไปตอนไหน หมื่นมือแม่นหมัดในบั้นปลายชีวิตไม่ค่อยอยู่ดีมีสุขนัก เน่ืองจาก เป็นคนที่ชอบท่องเที่ยวและเล่นมวยเป็นชีวิตจิตใจจึงทาให้เงินทองท่ีได้จากการชกมวยหมดไปจาก การพนันมวย แม้แต่ท่ีนาที่ได้รับพระราชทานก็ทยอยขายไปเรื่อย ๆ จนเหลือเพียงส่วนน้อยท่ีเอาไว้ ทานา แต่ลูกหลานก็ยังพอมีท่ีทากินอยู่ถิ่นอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากท่ีพระราชทานก็คือ ท่ีหมู่ 1 ตาบล หัวสาโรงท่ีลูกหลานส่วนใหญ่ยังอยู่กันหลายๆ ครอบครัว ในวัยชรา หม่ืนมือแม่นหมัด ไม่ค่อยอยู่ สุขสบายนัก ต้องด้ินรนไปหางานทาในตัวเมืองลพบุรีในวัยเกือบ 70 ปี แต่ลูกหลานก็ไปตามกลับมา อยู่ด้วยท่ีบ้านเลขท่ี 27 หมู่ 1 ตาบลหัวสาโรงซ่ึงเป็นที่อยู่ของนายผัน อ้นสกุลและนางขานทอง อ้นสกลุ ซงึ่ เปน็ หลานตาของหมน่ื มือแมน่ หมดั นัน่ เอง หมื่นมือแม่นหมัดมีอายุได้ 72 ปี ก็เสียชีวิตลงใน ปี พ.ศ.2486 ดว้ ยโรคชรา ณ บา้ นของหลานคือนายผันนั่นเอง ญาติพน่ี ้องในเวลาน้ันก็ล้วนมีฐานะไม่ ค่อยดีก็จัดงานศพไปตามมีตามเกิด ใช้ฝาบ้านมาต่อเป็นโลงศพแล้วแบกไปเผาท่ีวัดคงคาราม (เดิมช่ือ วดั คงคาไหล) ซึง่ อย่หู ่างจากบ้านประมาณ 1 กโิ ลเมตร โดยนายผันและนางละออง เล่าว่า ทางท่ีเดิน ไปเป็นทางริมคลองข้างคันนาบ้างต้องช่วยกันแบกโลงคนละหลายๆ ผลัดกว่าจะถึง วัด หมื่นมือแม่น หมัด มีพี่ชายชื่อ นายกลิ้ง ซึ่งมีภรรยาช่ือ นางเผือด ก็เป็นนักมวยเหมือนกัน แต่เก่งสู้น้องชายไม่ได้
265 แต่มีลูกหลานหลายคนที่เป็นนักมวยชื่อ นายโส โตสะอาด นายสุข โตสะอาด นายสิงห์ เพ่ิมทรัพย์ นายพร จันทริน ซ่ึงเป็นนักมวยที่ไหว้ครูมวยได้สวยมาก นายผ่อง สายสุ่ม ต่อยมวยเก่งมากและ นายผวน สายสุ่ม หลานชายของหมื่นมือ แม่นหมัด ส่วนมากจะมีลูกหลานเป็นผู้หญิงเป็นส่วนใหญ่ คงมีแต่เหลนชายคนหนึ่งซ่ึงเป็นผลูชายของนายผัน อ้นสกุล คือนายวิโรจน์ อ้นสกุล ก็เคยหัดมวย และต่อยมวยตอนเป็นหนุ่ม แต่ไม่ค่อยดังเท่าไหร่ ต่อมาได้รีบเลือกตั้งเป็น สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนตาบล ตาบลหัวสาโรง หมู่ 1 จึงเลิกต่อยมวยไป ชีวิตของนักมวยคนหนึ่งท่ีชะตาชีวิตพลิกผัน จนได้รับบรรดาศักด์ิเป็นหม่ืนมือแม่นหมัด ในสมัยรัชกาลท่ี 5 นับได้ว่า หมื่นมือแม่นหมัด เป็น ผูจ้ ุดประกายมวยไทยสายลพบุรีให้ย่ิงใหญ่เกรียงไกรในสมัยนั้น สมควรท่ีลูกหลานชาวมวยชาวลพบุรี ทั้งหลายจะได้ระลึกถึงและร้ือฟ้ืนอดีตความเก่งกาจและมีช่ือเสียงของมวยไทยสายลพบุ รีในอดีต ให้กลับมาโด่งดังขึ้นอีก เพื่อรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมประเพณีศิลปะของมวยไทยสายลพบุรี ให้คงอยู่ค่เู มืองลพบรุ ีสืบตอ่ ไป เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยของหมื่นมือแม่นหมัด จากการเล่าสู่กันฟังของชาวบ้านตาบล หัวสาโรงท่ีวัดโพธ์ิเกษตรในวันอาสาฬหบูชาปี 2545 ว่า เกือบจะลืมเร่ืองนี้ไปแล้ว แต่บังเอิญเมื่อวัน อาสาฬหบูชา ปี 2545 ฉันได้ไปทาบุญที่วัดโพธ์ิเกษตร ตาบลหัวสาโรง เมื่อทาบุญเสร็จแล้วก็ร่วมวง รับประทานอาหารกัน รับประทานอาหารกันไปคยุ กันไป โดยฉันเป็นผู้เปิดประเด็นขึ้นก่อน โดยคุยถึง เรื่อง “เพิกแหย” ซ่ึงเป็นนักมวยที่ขึ้นช่ือลือนามมากที่สุดของตาบลหัวลาโพง รวมไปถึงของจังหวัด ลพบุรใี นสมยั ทท่ี ่านพระยาพิษณุโลกบรุ เี ป็นผู้ว่าราชการจงั หวัดลพบุรีด้วย ต่อจากนั้นคุณลุงโนรี มีลาภ อายุ 87 ปี ได้เอย่ ถึงตากงิ่ โตสะอาด อดตี นกั มวยช่อื ดงั จากของตาบลหัวสาโรงอีกคนหนึ่ง ตาก่ิงคนนี้ แกเป็นน้องชายของตากลิ้ง โตสะอาด นักมวยช่ือดังอีกเหมือนกัน เรียกว่า เป็นนักมวยกันท้ังตระกูล ว่างั้นเถอะ ตากลึงแกมีช่ือเล่นว่า “ก่ิง” สาเหตุที่ชาวบ้านเราเรียกแกว่า “กิ่ง” นั้นก็เพราะเมื่อตอน เป็นเด็ก เจ๊กคนอยู่บ้านใกล้กัน เรียกตากลึงว่า “อากิง” ชาวบ้านก็นึกขาพากันเรียกตาม แต่เพี้ยน เป็นกง่ิ ไป กต็ ้องขออนญุ าตกลา่ วย้าอีกครัง้ หนึง่ วา่ ช่ือจริงๆ ของแกท่ีเป็นทางการนั้น แกช่ือ “นายกลึง โตสะอาด” ภรรยาแกช่ือ “ตาบ” เป็นยายของนายผัน อ้นสกุล อยู่บ้านหมู่ท่ี 1 ตาบลหัวลาโพงของ เราน่แี หละ เมอ่ื นายกลึงโตเป็นหนุ่มขึ้นมาได้ถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารและก็เพราะเคยเป็นนักมวยฝีมือดี มาก่อน จึงถูกคัดเลือกให้เข้าไปอยู่ในสังกัดของ “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดม ศักด์ิ” และอยู่ต่อมาจนได้รับพระราชทานบรรดาศักด์ิ จกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้เป็น “หมื่นมือแม่นหมัด” เป็นเกียรติประวัติแก่ชุมชนคนหัวลาโพงเป็นอย่างย่ิง “แจ้งความ กระทรวงมหาดไทย เร่ืองท่ี 52 ด้วยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้กระทรวงมหาดไทย ทาประทวนตราพระราชสีห์ ตั้งครูมวยตามหัวเมือง ดังมีรายการต่อไปนี้คือ นายปรง เปน หมื่นมวยมีชื่อ ตาแหน่ง กรมการพิเศษเมืองไชยา ถือศักดินา 300 นายกลึง เปน หม่ืน มือแม่นหมัด ตาแหน่งกรมการพิเศษเมืองลพบุรี ถือศักดินา 300 นายแดง เปนหมื่นชงัดเชิงชก ตาแหน่ง กรมการพิเศษเมืองนครราชสีมา ถือศักดินา 300 แจ้งความมา ณ วันท่ี 10 มิถุนายน รัตนโกสินทรศก 129” และอีกเรอ่ื งเทือ่ วันพระขึ้น 9 ค่า เดือน 10 พ.ศ.2545 ฉันกับนายผัน อ้นสกุล ได้ไปรักษาอุโอสถศีลอยู่ด้วยกันที่วัดโพธิ์เกษตร พร้อมกับอุบาสกอุบาสิกา ชาวบ้านโพธิ์เกษตร อีก 70 คน นายผัน อ้นสกุล ซ่ึงเป็นหลานของนายกลึง (นายกลึงเป็นตา) เล่าให้ฟังว่า เม่ือตอนที่ นายผันยังเป็นเด็ก คือเมื่อ 60 ปีเศษมาแล้ว นายกลึงได้เอาราชสีห์ทาด้วยเงิน มีลงยาสีแดงด้วย
266 เอาเชือกผูกคล้องคอให้ แต่ได้ทาหายเสียแล้ว นายละออง มั่งค่ัง หลานอีกคนหนึ่งของนายกลึงและ มีอายุ รุ่นราวคราวเดียวกับนายผัน ก็เล่าเสริมว่า ตนเองก็เคยเอาราชสีห์ดังกล่าวไปคล้องคอ เหมอื นกนั แต่จาไม่ไดใ้ ครเป็นคนทาหายกันแน่ ส่วนนาที่ได้รับพระราชทานนั้น ก็ได้ตกทอดไปเป็น ของหลานเหลนคนละ 20–30 ไร่ ได้อาศัย ทามาหากินกันมาจนถึงปัจจุบันน้ี นับเป็นพระมหา กรุณาธิคุณอันหาที่เปรียบมิได้ “ลูกพ่อแต้ม - แม่สังข์ กล่อมสกุล ค้นคว้าเรียบเรียง (ครูสะอาด กล่อมสกุล) จากหนังสือ กรณีตัวอย่างประชาคมตาบลหัวลาโพง ฉบับปรับปรุงใหม่พิมพ์ครั้งที่ 2 (2547 : 306–308) เล่มแรกของเมืองไทย คานาโดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี นายจันทร์ บัวทองหรือ จันทร์ เครือศรี ช่ือจรงิ คอื นายสงัด บัวทอง เกิดเมื่อวันเสาร์ ที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ.2457 ในช่วงสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 เป็นชาวอาเภอเสนา มพี ่นี ้องร่วมสายโลหติ 3 คน นายจันทร์เป็นบุตรคนแรก มีน้องชายช่ือ นายสงัด บัวทองและน้องสาวชื่อนางประเสริฐ บัวทอง ซ่ึงเสียชีวิตแล้วท้ังหมด นายจันทร์ บัวทอง สมรสกับนางสมชิต บัวทอง เมื่ออายุได้ 27 ปี มีบุตร ธิดารวม 8 คน เป็นชาย 5 คนและหญิง 3 คน จากการที่นายจันทร์เป็นคนท่ีรักศิลปวัฒนธรรมไทย มาก โดยเฉพาะ ศิลปะมวยไทย โดยได้เร่ิมฝึกมวยไทยท่ีค่ายอิสระเสนา ฝึกซ้อมจนคนในค่ายมวย หลายคนสูไ้ มไ่ ด้ จึงได้ขนึ้ ชกมวยตามวัดและงานต่าง ๆ จนมีช่ือเสียง เมื่ออายุ 17 ปี ในปี พ.ศ.2467 เป็นที่ชื่นชอบแก่ผู้ชมลีลาการชกและลีลาการไหว้ครูและร่ายราที่สวยงามของจันทร์ บัวทอง นาย จนั ทร์ บวั ทองตะเวนชกอย่ใู นละแวกภาคกลางตลอด โดยมากจะปักหลักชกอยู่ท่ีลพบุรี จนถือได้ว่า เปน็ นักมวยลพบุรีคนหนึ่งทีเดียว เน่ืองจากพักอาศัยอยู่ที่บ้านครูมวยในเมืองลพบุรีนั่นเองและได้เป็น ตัวแทนของมวยไทยสายลพบรุ ี เขา้ แข่งขนั ในงานประจาปีทที่ อ้ งสนามหลวง การชกที่นับเป็นคร้ังท่ีโด เดน่ ที่สุดของจนั ทร์ บัวทองในช่วงน้ันคือ การชกกับนายแก้ว พิณปรุ นักมวยจากเมืองนครราชสีมา วันน้ันชกเป็นคู่ที่ 6 ท่ีเวทีมวยสวนมิสกวัน เมื่อปี พ.ศ.2477 อายุได้ 20 ปีพอดี อาศัยท่ีจันทร์ ไดเ้ ปรยี บไนดา้ นรา่ งกายทห่ี นมุ่ แนน่ และมฝี มี อื ทคี่ ล่องแคลว่ ว่องไวกว่าในเชงิ มวย จึงเป็นฝ่ายรุกไล่ต่อย นายแกว้ เสียจนสไู้ ม่ได้ยอมแพ้ไปในที่สุด จันทร์ บัวทอง เป็นนักมวยท่ีมีลีลาไหว้ครูได้สวยงามท่ีสุดใน ยคุ นน้ั คนหน่งึ นอกจากน้ัน จนั ทร์ บัวทอง ยงั เป็นแชมปม์ วยไทยคาดเชือกอีกด้วย จันทร์ต่อยมวยได้ ไม่นานเนอ่ื งจากเป็นผู้ที่มีความสามารถในเร่ืองมวยไทย มวยคาดเชือกและมวยสากล ทางกรมตารวจ จึงรบั จันทรเ์ ข้ารับราชการท่ีกรมตารวจและประจาอยู่ท่ีกองตรวจคน เข้าเมือง ปฏิบัติหน้าท่ีตารวจได้ ประมาณ 15 ปี จึงลาออกจากราชการเน่ืองจากมีนสิ ยั ซื่อสัตยไ์ มส่ ามารถร่วมทมี กับกลุ่มเพื่อนที่ทางาน ได้ จงึ ลาออกมาทาสวนท่ีบ้านตาบลบางคอแหลมทีจ่ นั ทร์ได้เกบ็ หอมรอมริบเงินจานวนหนึ่งซ้ือท่ีดินไว้ ประกอบอาชีพ แม้จะเป็นชาวสวนแต่จันทร์ก็ไม่ได้หยุดการซ้อมมวยแต่อย่างใด ยังคงฝึกซ้อมและ ฝกึ หดั การไหว้ครแู ละร่ายราอยู่ตลอด จนเมื่อครั้งที่จัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ในปี พ.ศ. 2525 คณะกรรมการฝ่ายจัดมวยไทยได้เชิญจันทร์ บัวทอง ในวัย 68 ปี ไปโชว์การไหว้ครูและ ร่ายราให้แก่ผู้ชมได้พบเห็นลีลาท่าทางการไหว้ครูท่ีสวยงามในงานท้องสนามหลวง เพื่อนร่วมรุ่นของ จันทร์ บัวทอง ที่ต่อยมวยในสมัยนั้น คือ ธงกล้า หน้าศึก (บุญมา เสนานันท์) และจันทร์ยังได้ไป ชกมวยสากลดว้ ย คู่ชกคนสุดท้าย คือ ชิดหลี ศรีกาพุฒ ซึ่งจันทร์ก็ชนะได้อย่างสบาย จันทร์ใช้ชีวิต นักมวยอยู่นานจนกระทั่งเลิกต่อยและเป็นชาวสวนจนอายุได้ 80 ปีก็ถึงแก่กรรมเม่ือวันที่ 13 มถิ นุ ายน 2537 นับเป็นการสูญเสยี ครัง้ ย่ิงใหญข่ องนักมวยชาวลพบรุ ีคนหน่งึ
267 เพิกแหย ชื่อจริงคือ นายเพิก ฮวบสกุล เป็นนักมวยชาวหัวลาโพงคนหน่ึงท่ีเป็นวีรชนร่วม สมัยกับวีรชนคนกล้า ที่ต่อสู้กับพม่าอย่างห้าวหาญดังเช่นพ่อใหญ่สิงขร ทิดวอนหัวล้าน นายขวัญ ปานแดง นายแจ้งตีเหล็กและนายเล็กตีนโตแล้ว ก็ยังมีวีรชนท่ีมีฝีมือยอดเยี่ยมในเชิงหมัดมวย อีกหลายคน แต่ท่ีเด่นท่ีสุดคือ นายเพิก ฮวบสกุล ดังมีรายละเดียดดังน้ี ในปี พ.ศ.2462 พระยา พษิ ณุโลกลพบุรี ผวู้ ่าราชการจังหวดั ลพบุรี ทา่ นได้จดั งานขึน้ ทีศ่ าลากลางจังหวัด ในงานน้ีนอกจากจะ มีการละเลน่ ต่าง ๆ แล้ว ก็ยังจัดให้มีการชกมวยเพ่ือชิงรางวัลของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดด้วย โดยให้ ทุกอาเภอคัดเลือกนักมวยฝีมือดีส่งเข้าไป ในขณะน้ัน นายอาเภอท่าวุ้งช่ือ “หลวงพิทักษ์ลพนิกร” (ป่ัน นิยมจันทร์) ท่านได้คัดเลือกเอานายเพิก ฮวบสกุล ซ่ึงมีฉายาว่า “เพิกแหย” เป็นคนบ้านช่อง นา้ ไหล ตาบลหวั สาโรง สง่ เข้าไปชกชิงรางวัลดงั กลา่ ว คาว่า “เพิกแหย” น้ีเป็นสมญานามของบุรุษ ผู้หน่งึ ซึง่ มีชือ่ เป็นทางการวา่ นายเพกิ ฮวบสกุล เป็นบุตรคนท่ี 2 ของตาทอง ยายแก้ว ผู้เป็นลูกเขย และลูกสาวของเจ้าอ่อน ซ่ึงเป็นบรรพบุรุษคนบ้านช่องน้าไหลน่ันเอง การที่แกได้รับสมญานามว่า “เพิกแหย” ก็เพราะบคุ ลิกของแกเป็นคนเงียบ ๆ เฉย ๆ ขรึม ๆ ไม่ค่อยพูดค่อยจากับใคร ถ้ามีใครทัก ด้วยพูดด้วย แกก็จะทาหน้าแหยหัวเราะหึ หึ อยู่ตลอดเวลา แต่หัวใจของแกสิ ชาวบ้านย่านช่อง น้าไหล โคกป่านและสะแกงาม ต่างก็รู้กันดีว่าแกเป็นคนที่มีหัวใจเด็ดนัก แถมยังมีฝีมือในการต่อย มวยเป็นท่ขี ้ึนช่อื ลอื ชามาก เคยปราบมวยดงั ๆ ในสมัยนน้ั มาหลายต่อหลายคนมาแล้ว ยังเหลือมวยดัง อยอู่ ีกเพยี งคนเดียวที่ยงั ไมเ่ คยได้เจอกนั ได้ยินแตช่ ่อื คอื นายยวง บ้านเช่า ซ่ึงมีฉายาว่า “ยวงยักษ์” อยู่แถว ๆ อาเภอบ้านหม่ีนั่นแหละ จนมาอยคู่ ราวหนง่ึ เม่ือปี พ.ศ.2462 ได้มีการจัดงานข้ึนที่บริเวณ ศาลากลางจังหวัดลพบุรี ในงานน้ีนอกจากจะมีการละเล่นต่าง ๆ แล้ว ก็ยังจัดให้มีการชกมวยเพ่ือชิง รางวัลของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดด้วย โดยให้ทุกอาเภอคัดเลือกนักมวยฝีมือดีส่งเข้าไป แม่สังข์ กล่อมสกุล เล่าให้ฟังว่า ในขณะน้ัน นายอาเภอท่าวุ้งชื่อ “หลวงพิทักษ์ลพนิกร” (ป่ัน นิยมจันทร์) ได้ว่าอ้อนวอนให้เพิกแหยรับเป็นตัวแทนเข้าไปต่อยมวยในรายการดังกล่าว เมื่อเพิกแหยรับคาท้า นายอาเภอแล้ว วันรุ่งข้ึนท่านายอาเภอก็ใช้ให้ “ขุนทวี” กานันตาบลท่าวุ้ง จัดม้ามารับเพิกแหยไป เขา้ คา่ ยฝกึ ซ้อมที่อาเภอต่อไป การท่แี ม่สังข์ กลอ่ มสกุล รู้รายละเอียดของเรื่องน้ีก็เพราะแม่สังข์เป็น น้องสาวคนเดียวของเพิกแหยและอยู่ครอบครัวเดียวกัน เมื่อถึงกาหนดวันชกจริง ในตอนเย็นคนใน ตาบลหัวสาโรงได้พากันเดินทางเพ่ือจะไปดูเพิกแหยต่อยมวยเป็นจานวนหลายสิบคน พากันเดินลัด ตดั ทุ่งจากหวั สาโรง ผา่ นลาดสาล่ี ศาลาแดง ศาลาขาวและศาลเจ้าฟ้าโรงมันไปข้ามเรือจ้างที่ท่ายาย ตูบเข้าสู่ตัวเมืองลพบุรี เป็นระยะทางไปกลับประมาณ 25 กิโลเมตรเศษ โดยทุกคนต่างก็มีความ เช่ือมน่ั วา่ ศึกครงั้ นเี้ พกิ แหยตอ้ งคว้ารางวลั ได้แน่ ซึ่งอะไรจะขนาดนั้น เรือ่ งจรงิ ไม่ใช่อิงนิทาน การจัด คู่ชกในรอบแรกปรากฏว่าเพิกแหยไดค้ ูก่ บั ยวงยักษเ์ ขา้ จริงๆ เล่นเอากองเชยี ร์จากบ้านหัวลาโพงใจเต้น ระทึกไปตาม ๆ กัน แต่ก็ยังใจดีสู้เสือ เช่ือในฝีมือเพิกแหยของเราอย่างเต็มท่ี เอาเหอะน่า ไม่ลองไม่รู้ ซ่ึงก็จริง ๆ นั่นแหละ พอการชกผ่านไปได้เพียงยกเดียวเท่านั้น กองเชียร์จากบ้านหัวลาโพงก็ดัง กระหึ่ม แม้แต่ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี คือ พระยา พิษณุโลกลพบุรี ก็ยังตบมือหัวร่อก๊าก ๆ ชอบ อกชอบใจในฝมี ือการชกมวยของเพกิ แหยเป็นอย่างย่ิง ส่วนท่านหลวงพิทักษ์ลพนิกร ท่านนายอาเภอ ท่าวุ้งของเราน้ัน ท่านถึงกับกระโดเข้าไปพ่ีเลี้ยงให้น้านักมวยด้วยตนเองเลยทีเดียว เม่ือการชกครบ หา้ ยก กรรมการก็ชูมอื ใหเ้ พิกแหยเปน็ ผู้ชนะเด็ดขาด แมส่ งั ข์ กล่อมสกุล เล่าว่า ยวงยักษ์เป็นนักมวย ที่มีความทรหดอดทนเป็นอย่างย่ิง มิฉะนั้นแล้วละก้อ จะไม่สามารถยืนหยัดอยู่ได้จนครบห้ายก
268 แน่นอน เพราะเพิกแหยนั้น คล่องแคล่ว ว่องไว ปราดเปรียวเหนือกว่ายวงยักษ์มากเป็นต่อกันอยู่ หลายขมุ พวกนกั มวยทเ่ี ป็นตวั แทนของอาเภอต่าง ๆ เมื่อไห้เห็นการชกของมวยคู่แรกแล้วก็พากันยก ธงขาวยอมแพไ้ ปหมดเลย ออ้ ! ลมื เลา่ ไปวา่ เพิกแหยน้นั เป็นนกั มวยสงั กัดคา่ ย “ลุงโฮ” ซ่ึงเป็นคนไทย เชื้อสายญวน เมียแกช่ือยายมัด บ้านอยู่ที่ช่องน้าไหลใกล้ ๆ กับต้นยางใหญ่ ซึ่งชาวบ้านเรียกกันว่า “ยางญวน” มาจนถึงปัจจุบันน้ี นักมวยที่สังกัดค่ายลุงโฮ จาได้มีลุงเจิม ลุงปลิว (ไปเป็นตารวจอยู่ท่ี กรุงเทพฯ) และลุงโหร่ง เมียแกช่ือยายอินอยู่บ้านโคกหว้า ฉันเกิดมาทันได้รู้จักแกและยังจารูปร่าง ของแกได้ คดิ วา่ จะจบซะที แต่ก็ยังเสียดายเพราะยังมีเร่ืองของคนเก่งที่ชาวตาบลหัวสาโรงอยู่อีกคน หน่ึง ท่ีพวกเราชาวหัวสาโรงน่าจะจาได้รับรู้ไว้คือ “ลุงเจิม” นักมวยสังกัดค่ายลุงโฮ แต่เป็นรุ่นพ่ี ของเพิกแหยหลายปี ลงุ เจิมคนน้แี กเป็นคนทม่ี นี สิ ยั มุทะลุดดุ นั หา้ วหาญ ไม่เกรงกลัวใคร เมื่อปีพ.ศ. 2445 ลุงเจิมแกไปเป็นทหารและถกู เกณฑ์ให้ไปกองทพั ที่ยกไปปราบเงี้ยวท่ีเป็นกบฏเมืองแพร่ โดยมี พระยาสุรศักด์ิมนตรี (เจิม แสงชูโต) เป็นแม่ทัพ ลุงเจิมได้รับอาสาท่านแม่ทัพเพื่อไปจับเงี้ยวคน สาคัญชื่อไอ้ตื้อ ได้เกิดการต่อสู้กัน จนในที่สุดลุงเจิมได้ฟันไอ้ต้ือตาย ตัดศีรษะดองน้าผ้ึงเอามาให้ ท่านแมท่ ัพดู ลงุ เจิมจงึ ได้รบั ปนู บาเหนจ็ เปน็ จานวนมากนี่คอื วิถีของคนที่ทาคุณงามความดีได้แต่งงาน กับป้าทับ มีบุตรด้วยกัน 3 คน อยู่มาวันหนึ่งลุงเจิมแกน่ังลับมีดอยู่ตามลาพัง บังเอิญป้าทับแก ถึงคราวเคราะห์เดินมาใกล้ ๆ ลุงเจิมก็เอามีดฟันศีรษะป้าทับจนเลือดโชก พร้อมกับพูดแบบหน้าตา เฉยว่า “กูลองมีดว่ะ” ฟังแกพูดเข้าซี มันจะเก่งเกินไปละกระมัง ที่บ้านช่องน้าไหลในสมัยน้ันคนท่ี ฐานะค่อนข้างจะดหี น่อย เขาจะเลี้ยงม้าไวบ้ ้านละตัวสองตวั เอาไว้ข่ีไปไหนมาไหนไวกว่าเดิน บางคน กข็ ีไ่ ปเทยี วหาน้าตาลเมากนิ บางคร้ังเมามากหน่อยกลับบ้านไม่ถูก ก็ได้อาศัยม้าน่ันแหละพาเจ้าของ กลับบ้าน วันหน่ึง ลุงเจิมแกข่ีม้าออกไปหาน้าตาลเมากินอย่างว่า บังเอิญไปเจอตายวงคู่อริเก่าข่ีม้า สวนทางมา โดยไม่พูดพร่าทาเพลง ลุงเจิมแกกระตุกโผเข้าหาตายวง ชักดาบท่ีสะพายอยู่ข้างหลัง แต่ก็ยังไม่พ้น ยังโดนคมดาบเฉียวเข้าไปที่ไหปลาร้าจนเลือดทะลัก ลุงเจิมคนเก่งก็เลยต้องเข้า “เข้า คุก” ไปตามระเบียบและมันจะเป็นไปด้วยเหตุผลกลใดก็ไม่อาจรู้ได้ กาลต่อมาปรากฏว่า ลุงเจิมแก ตายอยู่ในคุกน่ันเอง เม่ือตอนท่ีฟันไอ้ต้ือตาย ลุงเจิมก็มีความดีความชอบ ได้รับปูนบาเหน็จมากมาย แตต่ อ่ มาฟนั เอาตายวงเข้าไมถ่ งึ กับตายก็กลับไดค้ ุกเป็นบาเหน็จรางวัลใช่ใครที่ไหนกันหรอก ลุงเจิมแก เป็นพี่เขยแม่ฉันเอง แต่แกเก่งไม่เลือกท่ีพอไปอยู่ในคุกไม่นานก็เสียชีวิต เมื่อลุงเจิมตายไปแล้ว ทางเรือนจาเขาก็แจ้งให้ญาติไปรับศพ แต่ป้าทับแกไม่ยอมบอกใคร แกไปของแกคนเดียว เม่ือศพซึ่ง มีแต่กระดูกเป็นชิ้น ๆ มาแล้ว แกก็เอาผ้าขาวห่อกระดูก เอาไม้ตะพดคอนห่อกระดูกเดินทางกลับ บ้าน ในระหว่างการเดินทางซึ่งเป็นเวลามืดค่า ป้าแกเล่าให้ญาติๆ ฟังว่า ในห่อกระดูกของลุงเจิมท่ี แกคอนมามันเหมือนกับมีสงิ่ มีชวี ิตกระโดดโลดเต้นอยู่ในห่อน้ัน บางทีก็รู้สึกเหมือนมีใครเอามือมาลูบ ต้งั แต่หลังลงไปถงึ ส้นเทา้ ลบู ขึ้นลูบลงอย่หู ลายเทยี่ ว ปา้ ทบั แกเป็นคนไม่กลัวผี แกก็เลยพูดขู่ออกไป ดงั ๆ วา่ “ถา้ ไม่หยุดอาละวาด เด๋ียวแม่จะโยนห่อกระดูกท้ิงลงไปในบ่อน้าจริงๆ ด้วย” เท่าน้ันทุกสิ่ง ทุกอย่างก็หายเงียบกริบ ลุงเจิมเอ๊ยลุงเจิม เหลือแต่กระดูกแล้วยังจะกลัวจมน้าตายอีกเร้อ ทุด ! ไม่ เกง่ จริง ปัจจุบันคนท่ีรู้เร่ืองน้ียังมีชีวิตอยู่อีกหลายคน และทุกคนก็ตระหนักดีว่า ป้าทับแกเป็นคนที่ อยู่ในศีลในธรรม แกจะมาโกหกหาอะไร ขนาดลุงเจิมแกเอามีดฟันศีรษะจนเลือดโชก แกยังเฉยได้ คนอยา่ งนีห้ ายากนา”
269 ชาญ เทียนทอง ชอ่ื จริงคือ นายชาญ ศิวลักษณ์ ปัจจบุ ันอายุ 89 ปี เป็นนักมวยมีชีวิต อยู่จนถึงบัดน้ีด้วยวัยชราและชีวิตที่พอจะสุขสบายเพราะเม่ือราว 4–5 เดือน ก่อนครูสะอาดเห็นเดิน มาดื่มกาแฟที่ร้านดัชให้ดี ในตลาดลพบุรีอยู่เลยและยังพูดคุยได้ปกติ ในวัยอายุขนาด 89 ปี ชาญ เทียนทอง สามารถเดินไป-กลับ จากบ้านมาตลาด ซ่ึงมีระยะทางประมาณ 500 เมตร ได้อย่าง สบาย ผู้วิจยั ไดไ้ ปทีบ่ า้ นเลขที่ 44 ซอยหลังวัดพรหมมาสตร์ สัมภาษณ์ชาญ เทียนทอง เม่ือวันท่ี 25 กนั ยายน 2549 เวลาประมาณ 6.00 ดังน้ี ชาญ เทยี นทอง มีช่ือจริงว่า ชาญ ศิวลักษณ์ เกิดเมื่อปี พ.ศ.2460 ขณะนี้อายุ 89 ปี มีภรรยาชื่อ นางบุญสม ในวันน้ี มีลูกชาย-หญิง จานวน 4 คน เป็น ชาย 3 คน หญิง 1 คน เริ่มป่วยด้วยโรคชรา เดินไปไหนมาไหนไม่ได้ ได้แต่น่ังๆ นอนๆ อยู่บนเตียง นอนใต้ถุนบ้าน ในสมัยก่อนเมื่อตอนเป็นเด็กเคยเห็นหมื่นมือแม่นหมัดต่อยมวยด้วย หม่ืนมือแม่น หมัดก็เคยอยู่แถวนี้เหมือนกัน ตนเองก็หัดมวยจากวัดพรมาสตร์นี่แหละ ในชีวิตเคยต่อยมวยมากถึง 112 ครั้ง และไปต่อยที่กรุงเทพฯ 26 ครั้ง เคยต่อยกับจาเริญ ทรงกิตรัตน์และแพ้คะแนน เคยต่อย กับสินสมทุ ร เกศสงคราม ผลัดกันแพ้ชนะคนละ 1 คร้ัง ลูกหลานมีหลายคนแต่ไม่มีใครต่อยมวยเลย ชาญ เทียนทอง ในอดีตจัดว่าเป็นนักมวยรูปหล่อ ผอมสูง ผิวขาว หน้าตาจัดว่าหล่อเหลาเอาการ แม้ว่าในขณะน้ีอายุ 89 ปี แล้วก็ยังมีเค้าความหล่ออยู่ เคยสังกัดค่ายศิลาชัยที่อยู่ต้นสะตือเล็กไป ต่อยคร้ังแรกท่ีเวทีราชดาเนินใน ปี พ.ศ. 2480 ขณะท่ีอายุ 20 ปี เคยต่อยเป็นคู่เอกในวิกมวยท่าขุน นางในสมัยก่อนที่งานวัดในเมืองลพบุรี ปัจจุบัน ชาญ เทียนทอง ยังคงมีชีวิตอยู่แม้จะไม่ดีนักแต่ก็ เปน็ นกั มวยลพบุรีคนหนง่ึ ทีเ่ คยมีชีวิตร่งุ โรจนแ์ ละชื่อเสียงโด่งดังในยุคน้ัน ก่อนที่จะมีนักมวยดังอีกสอง คนกาเนิดขึน้ มาต่อจากชาญ เทยี นทอง คือ ศรนารายณ์ ลูกมหาโลกและประกายแก้ว ลูก ส.ก. ซ่ึง ทาให้มวยไทยมวยลพบุรคี ึกคกั มาได้อีกระยะหนึง่ ประกายแก้ว ลูก ส.ก. (สมทรง แก้วเกิด) ขุนเข่าเสาโทรเลข อดีตนักมวยดังของ ลพบุรี เมือ่ 37 ปกี ่อน เกิดเมื่อวนั ที่ 28 มถิ นุ ายน พ.ศ.2485 เป็นบตุ รคนที่ 3 ของบิดา–มารดา มีพี่ น้องรวม 4 คน เกิดที่บ้านเลขท่ี 8 หมู่ที่ 1 ตาบลโพธิ์ชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ปัจจุบัน อายุ 64 ปี เรียนจบประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดดาวเรือง อาเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และมา ศึกษาต่อจนจบอาชีวศึกษาตอนปลายท่ีจังหวัดสิงห์บุรี เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2504 ทีโ่ รงเรียนบ้านบางกะพี้ อาเภอบา้ นหมี่ จังหวดั ลพบรุ ี และย้ายมาอย่โู รงเรยี นเมืองใหม่ (ชะลอ ราษฎร์รังสฤษฏ์) ใกล้วงเวียนพระนารายณ์ เม่ือเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2513 จนถึงปี พ.ศ. 2544 และเกษียณอายุราชการท่ีน่ี เป็นนักกีฬาของโรงเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา เป็นนักวิ่งของโรงเรียน เมอ่ื เข้าเรยี นอาชีวะศึกษาเป็นนักกรีฑา (ว่ิง 400 เมตร) ของสถาบันและเป็นนักกีฬาบาสเกตบอลของ สถาบัน ตระเวนแข่งขนั ทกุ ๆ อาเภอและชนะเลิศที่อาเภอสิงหบ์ รุ ี ได้ครองถว้ ยชนะเลิศ ในระหว่างที่ เป็นนักกีฬาเหล่านี้อยู่ กีฬาท่ีชอบมากอีกอย่างหน่ึงคือการชกมวย เริ่มชกมวยครั้งแรกที่เวทีมวย ช่องแค พ.ศ.2501 และได้ตระเวนชกตามเวทีต่างๆ ในแถบภาคกลาง เช่น สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี ชัยนาท นครสวรรค์ อ่างทอง อยุธยา จนไม่มีคู่ต่อกรด้วยจึงเข้าชกในเวทีเมืองกรุง คือเวทีมวย ลมุ พนิ ีและราชดาเนิน และมีโอกาสไดช้ กมวยรอบรุ่น 6 เสือสาอางที่เวทีลุมพินี และได้ชิงชนะเลิศมวย รอบรุ่น 6 เสือสาอางกับรงุ้ เพชร นา้ ตาลเอ มวยจากนครสวรรค์ ผลการชกประกายแก้วเป็นฝ่ายชนะ คะแนนได้ครองเส้ือสามารถมวยรอบรนุ่ 6 เสือสาอาง มาครองอย่างภาคภูมิใจ หลังจากน้ันประกาย แก้วก็ชกไต่อันดับรุ่นไลท์เวทเร่ือยมาจนได้สิทธ์ิข้ึนชิงแชมป์เปี้ยนรุ่นไลท์เวทกับ วิชาญ ส.พินิจศักดิ์
270 ผลปรากฏเมือ่ ครบยกกรรมการประกาศผลใหป้ ระกายแกว้ แพ้คะแนนอย่างคู่ค่ี หลังจากพลาดหวังจาก แชมป์เป้ียนรุ่นไลท์เวทแล้วประกายแก้วจึงข้ึนไปชกชิงแชมป์เปี้ยนรุ่นเวทเตอร์เวทจาก เดชฤทธ์ิ ยนตรกิจ และประกายแก้วก็เป็นฝ่ายแพ้อย่างเจ็บตัวมากท่ีสุดในชีวิตการชกมวยและกรรมการจับแพ้ ทเี คโอ ในชกท่ี 4 หลังจากพักผ่อนจนหายดีแล้วประกายแก้วก็เร่ิมฝึกซ้อมและปล่อยน้าหนักตัวตาม สบายจึงขึ้นไปอยู่ในรุ่นมิดเด้ิลเวทและชกต่อยอันดับเร่ือยมา จนมีอันดับได้ชิงแชมป์เปี้ยนรุ่นมิดเด้ิล เวท 160 ปอนด์อีกครั้งกับจักรกฤษ นครศึก (ลูกละโว้) ผลการชกประกายแก้วเป็นฝ่ายชนะคะแนน อย่าง เอกฉันท์ การชกมวยท่ีประทับใจประกายแก้วมากที่สุดในชีวิตคือ การชกหน้าพระท่ีน่ังของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวภูมพิ ลอดุลยเดช กับนาศักด์ิ ยนตรกิจ และประกายแก้วเป็นฝ่ายชนะ คะแนนและได้รับรางวัลจากพระหัตถ์พระเจ้าอยู่หัว นี่คือ ความภูมิใจที่สุดในชีวิตของประกายแก้ว และยังได้รับเกียรติ เป็นนักกีฬาอาวุโสของอาเภอเมืองลพบุรีในการแข่งขันกีฬาของจังหวัดทุกคร้ัง นัน้ คือ อาจารย์สมทรง แก้วเกดิ หรอื ช่ือนกั มวยคือ ประกายแกว้ ลูก ส.ก. ลักษณะการชกเป็นนักมวย ท่ีใชส้ ุภาษติ เดนิ หน้าฆ่ามัน ชอบจับคอคูต่ อ่ สู้และตดี ้วยเข่า จนคู่ต่อสู่อ่อนปวกเปียกไปหมด จนได้รับ ฉายาวา่ “ขุนเข่าเสาโทรเลข” และประกายแก้วเป็นนักชกที่รูปร่างผอมสูงจึงได้เปรียบคู่ชก ประกาย แก้วเลิกชกมวย เมื่อ พ.ศ.2512 หลังจากเลิกชกมวยแล้วได้หันมาเป็นกรรมการตัดสินมวยภูธร โดยมี การฝึกผู้ตัดสิน ในทีมงานของ คือ นายณรงค์ สุมะโน นาสุทัศน์ ทิพย์รัตน์ นายสุเมธ ประภาสวัสด์ิ นายชะลอ กลิ่นสุคนธ์ นายสุเทพ เกตุหอมและนายประดิษฐ์ เล็กคง หลังจากรับราชการมานาน ได้ พักผ่อนอย่างสบายในเดือนกันยายน พ.ศ.2544 เนื่องจากเกษียณราชการ ขณะน้ี ประกายแก้ว ลูก ส.ก. หรืออาจารย์สมทรง แก้วเกิด ได้หยุดกิจกรรมของมวยไทยไว้เบื้องหลังขอพักผ่อนและ ท่องเท่ียวไปตามจังหวัดต่าง ๆ ที่เคยชกมวย บางครั้งก็เข้าเวทีมวยเพ่ือดูมวยรุ่นน้องชกบ้าง นับเป็น บ้ันปลายชีวิตที่แสนจะหอมหวนและมีความสุขมากอีกคนหน่ึงของวงการ มวยไทยในอดีตจนถึง ปัจจุบัน ประกายแก้ว ลูก ส.ก. ที่คนจังหวัดลพบุรีมักจะพูดว่าถ้าใครไม่รู้จักประกายแก้วแล้ว คนน้ัน ไม่ใชค่ นลพบุรี ยังมีครูมวยและนักมวยลพบุรีอีกหลายคนที่สืบค้นไม่พบตัวตนหรือไม่มีประวัติชัดเจน แต่มที ี่บนั ทึกไว้เพยี งเลก็ นอ้ ยคือ ครูดง้ั ตาแดง มอี ายุราวปี พ.ศ. 2175–2235 เป็นครูมวยของขุนหลวงสรศักด์ิ ในสมัย ยังเยาวว์ ัยซึ่งเปน็ ครูมวยคนแรกของพระพทุ ธเจา้ เสอื ครูนวล มีอายุราวปี พ.ศ. 2420 – 2475 เป็นครูมวยท่ีเก่งมาก ในชีวิตท่ีชกมวยไม่เคย แพ้ใครเลย เป็นนกั มวยในสมัยใกล้เคียงกับหม่ืนมือแม่นหมัด แต่ไม่ได้มาต่อยท่ีกรุงเทพฯ ครูนวลเป็น ครทู ่ตี ้ังใจฝกึ ซ้อมเด็กหนุม่ และวยั รนุ่ แถวบา้ นอยูอ่ าศยั แถววดั ตองปแุ ละละแวกใกล้เคยี ง นายซวิ อกเพชร เป็นนักมวยลพบุรีอีคนหน่ึงที่มีฝีมือดี เกิดในราวปี พ.ศ. 2435– 2485 เป็นนักมวยฝีมือดีท่ีถูกคัดเลือกเป็นตัวแทนมวยภาคกลางในสมัยน้ัน ให้เข้ามาต่อยมวยในสนามมวย เวทีสวนกุหลาบ ในงานจดั การแข่งขนั ชกมวยเพือ่ หาทนุ ใหก้ องเสือป่า นายแอ ประจาการ เกดิ ราวปี พ.ศ. 2437–2483 เปน็ นักมวยลพบุรฝี ีมือดีอีกคนหนึ่งใน ยคุ สมัยน้ันเปน็ ยคุ เดียวกบั นายซวิ อกเพชร
271 นายเย็น อบทอง เกดิ ราว ปี พ.ศ. 2440–2485 เป็นนกั มวยชาวลพบรุ ีอีกผู้หน่งึ ท่ีต่อยมวย ได้อย่างฉลาดมีไหวพริบ กล่าวกันว่า นายเย็น อบทอง เป็นนักมวยไทยสายลพบุรีที่ตั้งท่าจดมวยได้ งดงามและมที ่าร่ายราไหว้ครทู ี่อ่อนชอ้ ยงดงามนา่ ดูเปน็ อยา่ งยง่ิ นายสมควร ลกู ลพ (สหะ ส.รงุ่ โรจน์) เกิดราวปี พ.ศ. 2481–2520 เป็นนักมวยร่วมสมัยและ เปน็ นักมวยทีช่ อบทอ่ งเที่ยว จะเดนิ สายไปต่อยมวยตามท่ตี ่าง ๆ อยเู่ สมอ นอกจากทีก่ ล่าวมาแลว้ ยงั มคี รูมวยไทยสายลพบรุ ี ท่ชี ่วยกันสืบสานและอนุรักษ์มวยไทยสาย ลพบรุ ี ใหค้ งอยู่คเู่ มืองไทยและพฒั นาไปในอนาคต ผูส้ บื ทอดมวยไทยสายลพบรุ ี ในยุคนี้ มดี งั ต่อไปน้ี 1. ครูสมนึก ไตรสทุ ธิ ภาพท่ี 187 ครูสมนกึ ไตรสทุ ธิ ครูมวยไทยสายลพบรุ ี ชื่อ จา่ สิบเอก สมนึก ไตรสทุ ธิ วนั เดือน ปี เกดิ 15 มนี าคม 2504 ภมู ลิ าเนาเดิม บ้านเลขที่ 19 หมู่ท่ี 5 ตาบลในเมือง อาเภอสวรรคโลก จังหวดั สุโขทยั ภูมิลาเนาปจั จบุ ัน บา้ นเลขท่ี 59/16 หมู่ 5 หมู่บา้ นมัณฑกานต์ ถนนลาลกู กาคลอง 4 ตาบลลาดสวาย อาเภอลาลกู กา จังหวัดปทุมธานี 12150 ปจั จบุ นั - ข้าราชการบานาญ สังกัดมณฑลทหารบกที่ 11 ได้รับพระราชทาน เหรียญจักร มาลา เหรียญเบญจมาภรณม์ งกฎุ ไทย เหรียญราชการสนามชายแดน เหรียญพทิ ักษ์เสรีชน สถานทที่ างาน วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวิทยาลยั มหิดลตาแหนง่ อาจารยพ์ เิ ศษ การศกึ ษา ประถมศกึ ษา โรงเรยี นวดั เกตุ (ประชารัฐอปุ ถัมภ์) จงั หวัดอา่ งทอง มัธยมศกึ ษา โรงเรียนปาโมกขว์ ทิ ยาภมู ิ จงั หวดั อา่ งทอง นักเรียนนายสบิ โรงเรยี นทหารราบ ศนู ย์การทหารราบ จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ ปริญญาตรี นติ ศิ าสตรบณั ทิต มหาวิทยาลยั รามคาแหง ฝกึ มวยคร้ังแรก อายุ 13 ปี กับครมู วยในหมู่บา้ นและเรียนมวยโบราณตาหรบั มวยลพบุรี มวยไทยสายไชยา และมวยไทยสายโคราช (สายครหู วล เฮงพ่มุ ) ประสบการณ์และผลงาน
272 - เปน็ นักมวยภธู รในนาม ปานเผด็จ ศ.ทวคี ูณ ผา่ นการชกมา 28 ครั้ง - เป็นวทิ ยากรฝกึ สอนมวยไทยให้กบั สมาคมมวยไทยสมัครเลน่ แหง่ ประเทศไทยฯ และสหพันธม์ วยไทยนานาชาติ IFMA - เป็นครฝู กึ มวยไทยสภามวยไทยโลก WMC - เป็นวทิ ยากรครฝู ึกมวยไทยให้กบั โรงเรียนและมหาวิทยาลยั ต่าง ๆ - เปน็ ครูสอนมวยไทยมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ - เป็นครูฝกึ ลานมวยไทยต้านภยั ยาเสพตดิ (พลเอกพิจติ ร กลุ ละวณชิ ย์) - เปน็ ครูฝึกมวยไทย และกระบก่ี ระบอง ศูนยเ์ ยาวชนกรงุ เทพมหานคร - อาจารย์พเิ ศษ วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ลสอนวิชา Self Defense (muaythai) กระบวนวิชา ICPE 115 ( ปี 2550 ถงึ ปจั จุบนั ) - เป็นคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคัดเลือกมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเพ่ือขึ้น ทะเบียน สาขากฬี า การละเล่นพน้ื บา้ น และศลิ ปะต่อสปู้ ้องกันตวั สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ (สวช.) รับผดิ ชอบมวยไทยสายลพบรุ ี (ปี 2553 – ปจั จบุ นั ) ประสบการณส์ อนมวยไทยในต่างประเทศ - ประเทศสหรัฐอเมรกิ า 10 วนั (ปี 2547) - ประเทศเยอรมนั 1 ปี (ปี 2548 - 2549) - ประเทศออสเตรยี 15 วนั (ระหวา่ งสอนอยู่ในเยอรมัน) - ประเทศอติ าลี 15 วนั (ระหวา่ งสอนอยู่ในเยอรมัน) - ประเทศฝรัง่ เศส 15 วนั (ระหวา่ งสอนอยู่ในเยอรมัน) - ประเทศสวิสเซอรแ์ ลนด์ 3 เดอื น (ระหวา่ งสอนอยู่ในเยอรมนั ) - ประเทศลกิ เทนสไตล์ 10 วนั (ระหวา่ งสอนอยู่ในเยอรมัน) - ประเทศเกาหลใี ต้ 10 เดอื น(ปี 2547 และ 2551) - ประเทศสงิ คโปร์ 10 วัน (ปี 2550) ภาพที่ 188 ครูสมนึก ไตรสทุ ธิ สาธิตการไหวค้ รูมวยไทย 3. ครูประดษิ ฐ์ เล็กคง
273 ภาพที่ 189 ครูประดิษฐ์ เล็กคง ครูมวยไทยสายลพบรุ ี วันเดอื นปี เกดิ 30 มีนาคม 2496 ทอี่ ยู่ปัจจุบัน 234/159 หม่บู า้ นธาราทิพย์ ตาบลถนนใหญ่ อาเภอเมือง จงั หวัดลพบุรี ปจั จุบัน ขา้ ราชการบานาญ ประวตั ิการศึกษา ระดับมัธยม โรงเรียนวินจิ ศกึ ษา อาเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี ระดับปรญิ ญาตรี (พลศึกษา) วทิ ยาลยั ครเู ทพสตรี อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบุรี ระดับปริญญาโท (พลศกึ ษา) มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมิตร ประสบการณแ์ ละผลงานท่ีเก่ียวข้องกับมวยไทย ครดู เี ดน่ แม่ไมม้ วยไทย จงั หวัดลพบุรี (ปี พ.ศ.2533 – พ.ศ.2535) ครูพลศึกษาดีเด่น ปี พ.ศ.2537 รบั โลห่ เ์ กียรตยิ ศจากรมพลศึกษา ผตู้ ดั สนิ กีฬามวยไทยสมัครเล่นของสมาคม IFMA อาจารยพ์ เิ ศษด้านศลิ ปะมวยไทย ของวทิ ยาลยั ครูเทพสตรี อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ครูพลศึกษา (มวยไทย) โรงเรยี นวัดถนนแค อาเภอเมือง จังหวดั ลพบุรี เปน็ ตวั แทนของจังหวัดลพบรุ ี ในการแข่งขันศลิ ปะมวยไทย จดั กจิ กรรมแสดงในการแขง่ ขันอาชวี ะเกมส์ การแข่งขนั กีฬาเยาวชนชนบท พิธี เปิดการแข่งขันกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดลพบุรี และ พิธีเปดิ งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ซ่ึงเปน็ การแสดงศิลปะแม่ไม้มวยไทยสายลพบรุ ี 3. ครูชนทตั มงคลศิลป์
274 ภาพท่ี 190 ครชู นทัต มงคลศลิ ป์ ครมู วยไทยสายลพบรุ ี เกิดวันที่ 13 กันยายน 2497 อายุ 59 ปี ทีจ่ ังหวัดอุบลราชธานี ทีอ่ ยปู่ จั จุบัน 82/3 ถนนประชาชืน่ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 การศกึ ษา - พ.ศ.2513 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมหาชนะวิทยา จังหวดั อุบลราชธานี - พ.ศ.2515 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี การศึกษา วทิ ยาลยั ครูอุบลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี - พ.ศ.2517 ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพการศึกษาชน้ั สูง (พลศึกษา) วิทยาลัยพลศกึ ษา จงั หวัดมหาสารคาม - พ.ศ.2522 การศึกษาบณั ฑติ (พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร - พ.ศ.2550 ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชามวยไทยศึกษา วิทยาลยั มวยไทย ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบึง จังหวดั ราชบรุ ี
275 ภาพท่ี 191 ครูชนทตั มงคลศิลป์ (คนที่ 2 แถวยนื จากซ้าย) ถา่ ยภาพร่วมกับผวู้ จิ ัย และผ้สู บื ทอดมวยไทยสายลพบุรี 4. ระเบียบประเพณีของมวยไทยสายลพบุรี ในบทนี้ผู้วิจยั ได้ศึกษาวัฒนธรรมประเพณีและศิลปะของมวยไทยสายลพบุรี ซ่ึงแบ่งออกเป็น ความสมั พนั ธ์ของมวยไทยสายลพบุรีกับศาสนาพุทธ ความเป็นมาของกระบวนท่าศิลปะมวยไทยสาย ลพบุรี รากเหง้าท่ีมาของกระบวนท่าศิลปะมวยไทยสายลพบุรี กติกาการชก การเปรียบมวย การไหว้ครขู องมวยไทยสายลพบุรีและไมม้ วยลพบุรี ดงั รายละเอียดดงั นี้ 3.1 ความสมั พนั ธข์ องมวยลพบุรีกับศาสนาพุทธ มวยลพบุรีกับศาสนาพุทธมีความเก่ียวพันกันอย่างแยกกันไม่ออกเพราะรากเหง้าของ มวยไทยรวมท้งั มวยไทยสายลพบุรลี ้วนถือกาเนดิ มาจากวัด ซ่งึ เป็นท่ีทราบกันดีว่าวัดคือแหล่งสืบทอด ของศาสนาพุทธและกลายมาเป็นกลักประจาใจของผู้คนทุกคนในสังคมไทยโดยครูมวยที่สอนมวยใน สมัยนั้นมักจะเป็นเพศบรรพชิต จึงทาให้มวยไทยสายลพบุรีกับศาสนาพุทธมีความสัมพันธ์กันอย่าง แนบแน่นจนแทบจะแยกกันไมอ่ อก เชน่ วัดตองปุ วัดกาแพงขาว วัดพรหมาสตร์ ล้วนแล้วแต่เป็น วัดท่ีมีพระสงฆ์จาพรรษาและมีการสอนมวยในวัดและมีครูมวยท้ังท่ีเป็นพระสงฆ์และฆราวาสท่ีอยู่ บริเวณใกล้เคียงมาสอนมวยให้กับลูกศิษย์ในละแวกวัดนั้นอยู่เสมอ ซึ่งสังเกตได้จากก่อนการชกมวย นักมวยจะมีการไหว้ครู มีการร่ายมนต์คาถา และตามร่างกายของนักมวยจะมีเคร่ืองรางของขลังที่ใช้ รดั หรอื สวมไว้ เช่น การใช้ผ้าประเจียดรัดแขน หรือที่ศีรษะ มีการสวมมงคลและท่ีข้อเท้ามีผ้าคาดข้อ เท้า ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของมวยไทยสายลพบุรีท่ีมีมาแต่คร้ังโบราณจวบจนปัจจุบัน และ ไม่เพียงแต่เฉพาะมวยไทยสายลพบุรีเท่านั้น มวยไทยอ่ืน ๆ ก็มีความเชื่อของศาสนาพุทธแทรกซึม
276 แนบแน่นอยู่กับจิตวิญญาณของความเป็นนักมวยไทยท่ีมีที่มาจากวิถีชีวิตของชาวบ้านและของชาว ลพบรุ ีได้อยา่ งกลมกลนื ถ่ายทอดผา่ นครูมวยทมี่ อี ยู่ในท้องถ่ินให้ได้นามาใช้สอนวิชามวยไทยไห้กับลูก ศิษยเ์ พ่ือสบื ทอดการคงอยู่ รวมท้งั มีพธิ ีกรรมตามความเชื่อต่างๆ แทรกผสมหล่อหลอมจนเป็นรูปแบบ ของมวยไทยที่ยากจะแยกส่วนท่ีเป็นศาสนากับมวยออกจากกันได้ จนอาจกล่าวได้ว่า เป็นวัฒนธรรม ประเพณอี ย่างหน่งึ ของมวยไทยมาจนถงึ ปัจจุบันน้ี 3.2 ความเป็นมาของกระบวนท่าศิลปะมวยไทยสายลพบรุ ี มวยไทยสายลพบุรีจัดเป็นมวยท่ีใช้ศิลปะในการต่อสู้ท่ีมีชั้นเชิงสูงและคล่องแคล่ว ว่องไว จึงไม่ค่อยมีการฝึกสอนกันอย่างแพร่หลายเช่นในสมัยปัจจุบัน ครูมวยลพบุรีชื่อ ครูประดิษฐ์ เลก็ คง (สมั ภาษณ์ 10 มนี าคม 2556) ได้เล่าถึงความเป็นมาของกระบวนท่าศิลปะของมวยไทยสาย ลพบุรี ว่า ในสมัยก่อนเป็นมวยท่ีมาจากศิลปะการต่อสู้ของเจ้านายชั้นสูง นับแต่พระมหากษัตริย์ จนถึงขุนนางฝ่ายทหารเท่านั้น ต่อมาภายหลังจึงได้แพร่หลายไปยังสามัญชน ท่ีได้รับการถ่ายทอด ศิลปะมวยไทยจากบรรดาพระอาจารย์ ซ่ึงแต่เดิมเป็นยอดขุนพล ยอดนักรบหรือขุนศึกมาก่อนแล้ว ตอ่ มาในภายหลังได้ละเพศฆราวาสเข้าสู่เพศบรรพชิต จึงได้ถ่ายทอดวิชาการต่อสู้แบบมวยไทยให้แก่ ศิษยานศุ ษิ ยท์ อ่ี ยใู่ นวดั และละแวกใกล้เคียงเพ่ือความคงอยู่ของศิลปะการต่อสู้ ทาให้ศิลปะมวยไทยได้ แพร่หลายไปในหลายท้องถิ่นและคงอยู่คู่ชาติไทยตราบเท่าทุกวันน้ี และจากคาบอกเล่าของคุณพหล นนทอาสา (มีฉายาเรียกว่า ฤาษีเฒ่าแห่งลพบุรี สัมภาษณ์เม่ือวันท่ี 12 ตุลาคม 2549 โดยชนทัต มงคลศิลป์ ณ เวทีมวยค่ายนารายณ์) และผลการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับศิลปะของมวยไทยสายลพบุรี พบว่า มีพระอาจารยห์ ลายรูปท่ีเคยเป็นนักรบมาก่อน ต่อมาในภายหลังได้เข้าสู่เพศบรรพชิตเมื่อยาม แกชรา แต่มีใจรักและภาคภูมิใจในศิลปะการต่อสู้ของมวยไทย จึงได้ถ่ายทอดศิลปะการต่อสู้มวยไทย ให้แก่ลูกศิษย์ลูกหาดังเช่นที่วัดกาแพงขาว วัดตองปุ และวัดพรหมาสตร์ในจังหวัดลพบุรี เป็นต้น ซ่ึงท้ัง 3 วัดดังกล่าวในอดีต เป็นแหล่งศึกษาวิชาการมวยไทยที่มีช่ือเสียงมากในยุคนั้น และจากการ บอกเล่าของคณุ ชาญ ศวิ รักษ์ (อดตี นักมวยดงั ของลพบรุ ี สัมภาษณ์เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2549 โดย ชนทัต มงคลศิลป์ ณ เวทีมวยค่ายนารายณ์) ว่า การสอนมวยนนั้ ผู้เป็นอาจารย์ได้ถ่ายทอดศิลปะการ ต่อสูม้ วยไทยและให้การอบรมสั่งสอนลูกศิษยห์ ลายคนให้เป็นครูมวยและนักมวยหลายคน บางคนก็มี ชอ่ื เสียงเป็นท่ยี อมรบั ในสมัยนนั้ ดงั เชน่ ครูนวล ซ่ึงชกมวยได้ดีมากและจัดเป็นนักมวยที่มีฝีไม้ลายมือ เก่งมาก เน่ืองจากครูนวลเป็นนักมวยท่ีต่อยกี่คร้ังก็ไม่เคยแพ้ใครเลยตลอดชีวิตของการเป็นนักมวย และภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 6 ครูนวลได้เป็นครูมวยของเมืองลพบุรี ทาหน้าที่ถ่ายทอดศิลปะมวย ไทยให้แก่นักมวยรุ่นหลัง คุณเฉ่ือย ปานเกลียว อดีตผู้อานวยการโรงเรียนวัดพรหมาสตร์ ปัจจุบันมี ชีวิตอยู่ อายุ 83 ปี (สัมภาษณ์เมื่อวันท่ี 12 ตุลาคม 2549 โดยชนทัต มงคลศิลป์ ณ บ้านเลขที่ 7 ถนนหลังโรงเลอ่ื ย อ.เมอื ง จ.ลพบุรี) ไดเ้ ลา่ วา่ วัดกาแพงขาว (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นวัดเทพกุญชรวรา ราม) ก็เป็นแหล่งฝึกมวยอีกแห่งหนึ่งท่ีมีครูทวยมาต้ังบ้านเรือนอยู่และถ่ายทอดวิชามวยไทยให้แก่ ลูกหลานชาวบ้านท่ีอาศัยอยู่ในละแวกนั้น จนมีช่ือเสียงหลายคนเช่น นายซิว อกเพชร นายแอ ประจาการ นายเย็น อบทอง เป็นต้น ห่างจากวัดกาแพงขาวออกไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะเป็น เส้นทางท่ีจะใช้ในการเดินทางไปสู่ตัวเมืองลพบุรีเก่า มีสะพานข้ามแม่น้าลพบุรีอยู่ด้านซ้ายมือและมี วัดเก่าแก่อีกวัดหนึ่งท่ีมีนักมวยมาซ้อมมวยอยู่มาก เนื่องจากอยู่ใกล้ตัวเมืองและมีเรือผ่านไปมาเป็น จานวนมาก จึงสะดวกต่อการเดินทาง และมีวัดอีกแห่งหน่ึงชื่อ วัดพรหมาสตร์ เป็นวัดที่พระ
277 เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จมาเยี่ยม และมอบตราครุฑซึ่งเป็นตราประจารัชกาลในสมัยนั้นไว้เป็นท่ี ระลึก ซึ่งเจ้าอาวาสขณะนั้นได้นาขึ้นติดต้ังไว้บนหน้าบัณฑ์ของหอพระ โดยหันหน้าเข้าสู่ตัวเมือง ลพบุรี จากการสอบถามของผู้เฒ่าผู้แก่ได้รับการบอกเล่าว่า ที่วัดน้ีมีการฝึกมวยกันมาก เพราะเป็น ทางผ่านและมีชาวบ้านอยู่กันอย่างหนาแน่น จึงมีเด็กหนุ่มที่ชอบมวยได้มาฝึกชกมวยกันเป็นจานวน มากรวมทั้งนายกลึง (ภายหลังได้ตั้งนามสกุลว่า โตสะอาด ซึ่งต่อมาได้รับบรรดาศักด์ิเป็น หม่ืนมือ แม่นหมัด) และอีกบุคคลหนึ่งคือนายเพ่ิม อายุ 91 ปี (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) เป็นนักมวยที่มีชื่อเสียง โด่งดังของลพบุรีในสมัยนั้น นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ยังมีนักมวยดังของลพบุรีของคนหน่ึงช่ือ นายชาญ ศวิ ารักษ์ หรือใช้ชอ่ื นักมวยว่า ชาญ เทียนทอง ได้เคยมาฝึกมวยท่ีวัดน้ี ปัจจุบัน นายชาญ อายุ 89 ปี ยงั มชี วี ติ อยูแ่ ตม่ อี าการเจ็บปว่ ยออด ๆ แอด ๆ ขณะถูกวิจัยสัมภาษณ์ ยังพอมีแรงมานั่งให้ สัมภาษณ์และได้เล่าให้ฟังว่า ตนเองเคยต่อยมวยมาประมาณ 112 ครั้ง ได้เคยเดินทางไปต่อยที่ กรุงเทพฯ ถึง 26 ครั้ง และได้ต่อยเป็นคู่เอกท่ีเวทีมวยวัดท่าขุนนาง ซึ่งขณะนั้นมีละครคณะศิทธิพร บันเทงิ ไปแสดงด้วย นับเป็นงานใหญ่มาก มีหนังให้ดูท้ังคืน การชกมวยจากท่ีกล่าวมาในช่วงเวลานั้น ยังไม่เป็นการชกมวยแบบอาชีพการชกมวยแบบอาชีพของมวยไทยเริ่มขึ้นเม่ือปี พ.ศ.2463 โดยเริ่ม จากท่ีเป็นกองมวยตามหมู่บ้าน มาสู่นักมวยในจวนมีสมุหเทศาภิบาลและข้าหลวงตามหัวเมืองต่างๆ เป็นผูจ้ ดั หานักมวยที่มีฝีมือดี แล้วคัดเลือกตัวส่งเข้าสู่การแข่งขันชกมวยไทยในระดับประเทศ ทาให้ ในสมัยนั้นมีนักมวยมากหน้าหลายตา ต่างชั้น ต่างระดับฝีมือ และเป็นได้ทั้งผู้ชนะและผู้พ่ายแพ้ นักมวยบางคนหลังเข้ามาชกมวยอาชีพในเมืองหลวงภายหลังจะปักหลักอยู่ในเมืองหลวงเพ่ือรับ ราชการ แต่บางคนกก็ ลบั บ้านเดมิ เพ่ือประกอบอาชพี เดิมของตนก่อนมาชกมวย คือ การทาไร่ไถนา 3.3 รากเหง้าท่มี าของกระบวนท่าศิลปะมวยไทยสายลพบรุ ี นักมวยท่ีเข้ามาแสวงหาโชคและช่ือเสียงในเมืองกรุงสมัยหลังปี พ.ศ.2452 ต่างได้ แสดงรูปลักษณ์ ลีลา ความสามารถในช้ันเชิงมวยเฉพาะหมู่เฉพาะภาคของตนออกมาให้เป็นที่ ประจักษ์ในศิลปะและเอกลักษณ์มวยไทยท่ีเป็นแบบเฉพาะท้องถิ่นของตนออกมา ตลอดช่วงเวลา หลายร้อยปีของการพฒั นารูปแบบมวยไทย เป็นผลให้บรรพชนของวงการมวยไทยกระจัดกระจายอยู่ ทั่วทุกทิศทุกหนทุกแห่งท่ัวประเทศ ซ่ึงแต่ละแห่งล้วนได้มีการอบรมส่ังสอนถ่ายทอดมวยไทยให้ เจริญเติบโต มีการกาหนดเคล็ดวิชามวยท่ีแตกต่างกันไปในแต่ละสานักมวยซ่ึงมีรูปแบบมวยท่ีเป็น เอกลกั ษณเ์ ฉพาะของตนเอง โดยมที ม่ี าจากพนื้ ฐานของความหลากหลายดังกล่าว หากจะมีใครสักคน บอกถึงรากเหงา้ ท่มี าของมวยใดๆ หรือมีใครออกมาช้ีว่าศลิ ปะมวยไทยต้องมีแม่ไม้ ลูกไม้เป็นรากเหง้า หรือการมีที่มาของช่ือที่เรียกอย่างน้ันอย่างนี้ หรือใครเป็นผู้ริเริ่ม หรือใครเป็นคนต้ังช่ือท่ากลไม้มวย ต่าง ๆ หรือมีใครมาบอกว่า ท่านั้นผิดท่านี้ถูกย่อมเป็น การยากท่ีจะเช่ือได้อย่างแท้จริง เน่ืองจากยัง ไม่มีผลสรุปได้อย่างแน่นอนว่าการท่ีมวยน้ัน ๆ เป็นอย่างนั้นอย่างน้ี เพราะมีรากเหง้าอันเป็นที่มาของ มวยจากที่ใดบ้าง ดังที่ทราบกันต่อ ๆ มาว่า มวยไทยเป็นศิลปะวิชาการต่อสู้ที่ถูกหล่อหลอมมาจาก องค์ความรู้ในต่างท้องถิ่น ซึ่งทุกท่ีทุกแห่งต่างมีแนวทางในแบบเฉพาะของตนเอง จนอาจกล่าวได้ว่า แม่ไม้หรือท่าของมวยที่มีอยู่ในปัจจุบันไม่มีใครลอกเลียนแบบใครมา แต่อาจจะมีลักษณะที่คล้ายคลึง กันบ้างจากการใช้ประโยชน์ของอวัยวะหมัด เท้า เข่าและศอกในการต่อสู้ที่สามารถทาร้ายคู่ต่อสู้ได้ มากน้อยแตกต่างกันไป ดังเช่นรากเหง้าอันเป็นที่มาของมวยไทยสายลพบุรี ดังคาบอกเล่าของ คุณวรวิทย์ วงศ์สุวรรณ อดีตผู้อานวยการโรงเรียนสารพัดช่างลพบุรี จังหวัดลพบุรี (สัมภาษณ์เมื่อ
278 วันท่ี 12 ตุลาคม 2555 โดยชนทัต มงคลศิลป์ ณ เวทีมวยค่ายนารายณ์) ว่า หากจะมีใครสักคนมา บอกว่า ทา่ นใ้ี ช่ หรอื ทา่ นไี้ ม่ใชท่ ่าของมวยลพบรุ ีคงจะเชอ่ื ถือได้ยาก เพราะจากประวัติศาสตร์ของมวย ท้ัง 3 เมืองของลพบุรี ที่กล่าวมาในรัชกาลที่ 5 น้ัน มวยไทยสายลพบุรีเป็นเพียงมวยเดียวท่ีได้รับ การบันทึกเร่อื งราวไว้น้อยมาก ขณะที่มวยจากเมอื งไชยาหรือมวยจากเมืองโคราชมกี ารบันทึกเร่ืองราว ไว้มากกว่าท่ีมวยไทยสายลพบุรี พอจะมีการบันทึกไว้บ้างก็เป็นข้อความเพียงไม่ก่ีบรรทัดเท่าน้ันซึ่ง ผวู้ ิจยั ไดส้ อบถามข้อมูลโดยสัมภาษณแ์ ละซักถามครูมวยรวมทัง้ ผู้เฒา่ ผู้แก่ ผูร้ ู้ท้ังหลายว่า มวยลพบุรีมี รากเหง้ามาจากอะไร คาตอบท่ไี ด้จากท่านเหล่านั้นมักจะบอกเกือบเป็นเสียงเดียวกันว่า รากเหง้าของ กระบวนท่ามวยไทยสายลพบุรี ได้มาจากการลอกเลียนท่าของสัตว์ท่ีมีอยู่ในเมืองลพบุรีขณะน้ัน ซ่ึง บางท่านก็ตอบว่ามาจากท่าต่าง ๆ ของลิงสิ บ้างก็บอกว่าช้างสิ หรือบ้างก็บอกว่าให้ดูในตานานสร้าง เมืองลพบรุ ี พระราม พระลกั ษณแ์ ละหนุมานเป็นต้น อย่างไรก็ตามรากเหง้าของกนะบวนท่ามวยไทย สายลพบุรีที่เล่าต่อกันมาในตานานเก่ียวกับกระบวนท่าของมวยไทยสายลพบุรีในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีครมู วยลพบรุ หี ลายท่านได้เลา่ ให้ฟังว่า ส่วนใหญ่ได้ดัดแปลงมาจากท่าทางต่างๆ ท่ีคล่องแคล่วว่องไว ของลงิ และสัตว์ท่ีมใี นเมืองลพบุรใี นขณะนน้ั คือชา้ ง มาเปน็ ท่าของมวยไทยสายลพบุรี เช่น ท่าไหว้ครู จะมีท่านารายณ์ขว้างจักร หรือท่าแม่ไม้มวยไทยจะมีท่ายอเขาพระสุเมรุ ท่าหักงวงไอยรา ท่าขุนยักษ์ จับลิง ตลอดจนท่าหักคอเอราวัณ และจากลูกไม้มวยไทยจะมีท่า เอราวัณเสยงา ท่าขุนยักษ์พานาง ท่าพระรามน้าวศร และท่าหนุมานถวายแหวน ส่วนท่าอื่น ๆ เช่น ท่าล้มพลอยอาย ท่าลิงชิงลูกไม้ ท่าคชสารถองหญ้า ท่าคชสารแทงงา ท่าลิงพลิ้ว และท่าหนุมานถอนตอ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม จาก คาบอกเล่าของครมู วย ท่ามวยไทยสายลพบรุ ี อาจจะมากกว่านนั้ หรือไมใ่ ช่ทา่ เหล่านกี้ ไ็ ด้ การไหว้ครูของมวยไทยสายลพบุรีในการต่อสู่เชิงศิลปะมวยไทยและมวยไทยสาย ลพบุรี ตามประเพณีโบราณต้องมีการไหว้ครู เพ่ือเป็นการระลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ ประสาทวิทยาการและเพื่อเป็นสวัสดิมงคล อันมีผลให้นักมวยมีความมั่งคงไม่หว่ันไหวหรือครั่นคร้าม ทาให้สามารถคมุ สตติ นเองให้มนั่ ส่วนการร่ายราเป็นการสังเกตดูเชิงคู่ต่อสู้และเป็นการยืดเส้นยืดสาย ให้คลายความเคร่งเครียดทางจิตใจและทางร่างกายก่อนเข้าต่อสู้กับฝ่ายตรงข้าม สาหรับท่าทาง ไหว้ครูและร่ายรามวยไทยสายลพบุรี ครูประดิษฐ์ เล็กคง (สัมภาษณ์. 10 มีนาคม 2556) เล่าว่า ก็เหมือนกับการไหว้ครูท่ัว ๆ ไปโดยเน้นแบบฉบับของมวยภาคกลางเป็นหลัก โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คอื ตอนท่ี 1 เป็นท่าน่งั ในท่าน่งั แบง่ ออกเปน็ 3 ทา่ ไดแ้ ก่ ท่าแรกเรม่ิ จากท่าเทพนม ต่อด้วย ท่าท่ี 2 คือท่าปฐม และท่าที่ 3 คือท่าพรหม ตอนท่ี 2 เป็นท่ายืนและก้าวย่างร่ายรา ในท่ายืนและ กา้ วยา่ งรา่ ยราเป็นทา่ ท่ตี ่อจากท่าพรหมซ่ึงเป็นท่าที่ 3 ในตอนที่ 1 ในตอนท่ี 2 นี้ นักมวยจะเริ่มจาก ท่าที่ 1 ซ่ึงเรียกว่า ท่าเทพนิมิต จากนั้นจึงต่อด้วยท่ามยุเรศ ตามด้วยท่ายูงฟ้อนหางท่านารายณ์ขว้าง จักร จากนัน้ จะเรม่ิ ดว้ ยการก้างยา่ งและร่ายราในท่าเทพนิมิตใหม่ ต่อด้วยท่ายูงฟ้อนหาง ท่านารายณ์ ขว้างจักร จากน้ัน นักมวยจะพนมมือกลับหลังเป็นท่าพยัคฆ์ด้อมกวาง (กวางเหลียวหลัง) ต่อด้วย ท่ายา่ งสามขมุ ทา่ คมุ เชิงครู ดดู สั กรและทา่ รา่ ยราทา่ ฟ้อนราเชิงเปน็ อันจบท่าของการไหว้ครูมวยไทย สายลพบุรี มวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ัย
279 ในการวจิ ัยเรอื่ ง การจดั การความรู้มวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพชิ ัย แบ่งผลการวิจยั เปน็ 5 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 ประวตั ิความเปน็ มาของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ยั ตอนท่ี 2 เอกลกั ษณ์ของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชยั ตอนท่ี 3 กระบวนท่าของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย ตอนท่ี 4 ระเบยี บประเพณีของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพชิ ยั ตอนที่ 1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของมวยไทยสายทา่ เสาและพระยาพิชยั การศึกษา เรือ่ ง การจัดการความรู้มวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูล ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายท่าเสาและพระยาพิชัย โดยสามารถแยกออกเป็นประเด็น ไดด้ ังนี้ 1.1 การสังเคราะห์จากเอกสาร ประวัติความเป็นมาของมวยไทยสายพระยาพิชัย ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้า ไม่ปรากฏหลักฐาน พงศาวดารหรือจดหมายเหตุอ่ืนใด ในสมัยกรุงธนบุรีหรือหลังจากน้ันนอกจากเรื่อง “ประวัติพระยา พิชัยดาบหัก” ซึ่งเรียบเรียงโดยพระยาศรีสัชนาลัยบดี (เล้ียง ศิริปาละกะ) พิมพ์เผยแพร่เป็นคร้ังแรก ในหนังสือเสนาศึกษา เม่ือประมาณปี พ.ศ.2469 โดยพระยาศรีสัชนาลัยบดี เป็นชาวพิชัยโดยกาเนิด ทั้งสายตระกูลสืบ เช้ือสายมาจากพระยาพิชัยดาบหัก ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าเรียบเรียง จึงได้มา จากการสบื คน้ บอกเล่าจากพรรพบุรุษในตระกูลและชาวเมืองอื่น ๆ ท่ีได้รับรู้เก่ียวกับวีรกรรมของวีระ บรุ ษุ ชาวพิชัย จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ พระยาศรสี ชั นาลัยบดี ได้เรียบเรยี งชวี ิตในวยั เยาวข์ องพระยาพชิ ยั ดาบหัก เดิมช่ือ “จอ้ ย” เชอื่ วา่ เสยี ชีวิตเมอื่ อายไุ ด้ 41 ปี ในแผ่นดินพระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ ท่ีบ้านห้วยคาอยู่ทางตะวันออกของ เมืองพิชัยประมาณ ร้อยเส้นเศษ (5 กิโลเมตร) ปัจจุบันเมืองพิชัยคืออาเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ บิดามารดาทาไรท่ านา พระยาพชิ ัยดาบหัก มพี ่ีนอ้ งรว่ มกนั 4 คน อกี 3 คนเป็นไข้ทรพิษตาย บิดาของ เด็กชายจ้อยได้ให้เด็กชายจ้อยไปเลี้ยงควาย เด็กชายจ้อยก็จะมีเร่ืองทะเลาะวิวาทกับเพื่อน ๆ เป็น ประจาทาให้เดก็ ชายจ้อยได้เรยี นรู้การต่อสู้และชอบการชกมวยเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาเมื่อเด็กชายจ้อย มีอายุได้ 8 ขวบ บิดาต้องการให้ไปอยู่วัดเพื่อเรียนหนังสือเพราะการเรียนหนังสือในขณะน้ันมีแต่ พระสงฆ์เท่าน้ันท่ีทาการสอนและยังไม่มีโรงเรียนเช่นในปัจจุบันเลย เด็กชายจ้อยสนใจวิชาหมัดมวย มากกว่าและไม่ต้องการจะเรียนหนังสือแต่ประการใด บิดาจึงได้ส่ังสอนให้เด็กชายจ้อยรู้ว่าการเรียน หนังสือสามารถช่วยในการเรียนมวยได้เพราะตาราต่าง ๆ มีความรู้เกี่ยวกับหมัดมวยมากมายและ สามารถใช้ประกอบการเรยี นจากครมู วยไดเ้ ป็นอย่างดี ถ้าอ่านหนังสือไม่ออกก็ไม่อาจเข้าใจและเรียน มวยระดับสูง ๆ ได้ การเรียนมวยก็จะไม่ประสบความสาเร็จหรือเก่งข้ึนมาได้ เด็กชายจ้อยจึงยอมไป เรยี นหนงั สือและบิดาได้นาตวั ไปฝากเป็นศษิ ยว์ ัดกับพระครูวัดมหาธาตุเมอื งพิชยั เด็กชายจ้อยเรียนหนังสือกับท่านพระครูจนสามารถอ่านออกเขียนได้ นอกจากนั้นพระใน อดีตจะสอนการอ่านมูลกรรจจายณ์ โดยจะมีคาถาอาคมประกอบด้วยเด็กชายจ้อยรับใช้อาจารย์และ ฝึกซอ้ มมวยในเวลาว่างโดยการเตะเลี้ยงต้นกล้วยท่ีตัดมาต้ังไว้มิให้ล้มลง เพราะใช้วิธีเตะเฉียงซ้ายขวา ปาดข้างบนอย่างรวดเร็วต้นกล้วยจึงไม่ล้มลง นอกจากนั้นจะเตะข้ามต้นกล้วยท่ีตัดสูงข้ึนเรื่อย ๆ จน เกอื บถงึ 4 ศอก โดยไม่ถกู ต้นกลว้ ยเลย เดก็ ชายจ้อยยงั หัดหลบหลกี และปิดปอ้ งด้วยการเอาลูกมะนาว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 501
Pages: