แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 18 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง การคายน้ำของพชื (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ชัน้ ปี บรรยายหน้าท่ีของราก ลำตน้ ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใชข้ ้อมลู ทีร่ วบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สังเกตและอธิบายการคายน้ำของพืชเกดิ ขึน้ ที่ใบได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รูห้ รอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี กย่ี วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. ส่ือสารและนำความร้เู รอ่ื งการคายนำ้ ของพชื ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั การคายนำ้ ของพชื เกดิ ขึ้นท่ีใบมากที่สดุ พชื คายน้ำเพอ่ื ลดอณุ หภมู ิที่ใบพชื รวมทงั้ ทำให้เกดิ การลำเลียง น้ำและแรธ่ าตจุ ากดินเขา้ สูร่ าก และจากรากไปสู่สว่ นต่างๆ ของพชื 5. สาระการเรียนรู้ หน้าท่ขี องสว่ นต่าง ๆ ของพชื – การคายน้ำของพืช 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน สงั เกตปากใบผ่านกลอ้ งจลุ ทรรศน์ 9. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น 1) ครูทบทวนเรื่องการคายน้ำของพืชโดยถามคำถามว่า ใบของพืชทำหน้าที่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ สร้างอาหารและคายนำ้ ) 2) นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับคำตอบของคำถาม เพอ่ื เช่ือมโยงไปสู่การ เรียนรเู้ ร่อื ง การคายน้ำของพชื ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมีข้นั ตอนดังนี้ 1) ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตนุ้ นกั เรยี นโดยการถามคำถามวา่ บรเิ วณทเี่ กิดการคายน้ำของพชื มีลักษณะใด (แนวคำตอบ เป็นชอ่ งขนาดเล็กอยู่ระหวา่ งเซลลท์ ่ีมลี กั ษณะคลา้ ยเมลด็ ถว่ั ประกบกนั ) (2) นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรียน 2) ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องการคายน้ำของพืชจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้ นักเรียนเข้าใจวา่ การคายนำ้ ของพชื เกิดขึน้ ทใ่ี บเป็นส่วนมาก โดยส่วนทเี่ กดิ การคายน้ำ เรียกว่า ปากใบ (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน แต่ละกลุ่มช่วยกันสังเกตปากใบ โดยการส่องด้วยกล้อง จุลทรรศน์จากสไลด์สำเร็จรูปของปากใบ พร้อมทั้งวาดภาพลักษณะที่สังเกตได้ (ครูเตรียมกล้องจุลทรรศน์และ ปรบั กำลงั ขยายที่เหมาะสมใหก้ ับนกั เรียน) (3) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นทุกคนซักถามเม่อื มีปญั หา 3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปน้ี – นกั เรียนมองเห็นปากใบด้วยตาเปลา่ หรอื ไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ มองไมเ่ ห็น เพราะปากใบ มขี นาดเลก็ มาก) – กล้องจลุ ทรรศนท์ ำหน้าที่อะไร (แนวคำตอบ ขยายภาพขนาดเล็กทตี่ ามองไมเ่ ห็นให้มขี นาดใหญ่ ข้ึนจนตาเรามองเห็นชดั เจน) – ปากใบมลี กั ษณะใด และพบบริเวณใด (แนวคำตอบ ปากใบมลี ักษณะเป็นรเู ล็กๆ ระหวา่ งเซลล์ ท่เี หมือนเมล็ดถวั่ ประกบกัน และพบกระจายท่วั ท้ังใบ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ปากใบมีขนาด เลก็ มาก มลี ักษณะเปน็ รูเลก็ ๆ กระจายท่ัวท้งั ใบ เพอื่ ควบคมุ การคายนำ้ ของพืช
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูใหน้ ักเรียนดูรปู การทำงานของปากใบขณะเกดิ การคายน้ำของพืช แล้วอธิบายเพม่ิ เตมิ วา่ เมือ่ พืช มีน้ำส่วนเกิน ปากใบจะเปิดและคายน้ำออกในรูปของไอน้ำ และถ้าพืชมีน้ำในลำต้นน้อยเกินไป ปากใบจะปิด เพ่ือลดการสูญเสยี น้ำ การคายนำ้ ทำใหพ้ ืชดูดซับนำ้ เขา้ มาใหม่และลำเลียงไปยงั ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อทดแทนน้ำท่ีสูญเสียไป พืชจึงได้รับน้ำเพื่อนำไปใช้ในการเจริญเติบโตตลอดเวลา การคายน้ำ การดูดซับน้ำ และการลำเลียงน้ำจึงมี ความสมั พันธ์กัน นอกจากน้ี ปากใบยังเป็นบริเวณทอ่ี ากาศสามารถเขา้ สพู่ ืชหรือออกจากพืชได้อีกด้วย (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการคายน้ำของพืช จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่ง ครู 5) ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยงั มขี ้อสงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ (2) นักเรียนรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกล่มุ วา่ มปี ญั หาหรอื อปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอยา่ งไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการปฏิบัติกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น – การเปิด – ปิดของปากใบมคี วามสัมพันธก์ ับการคายน้ำลกั ษณะใด – การคายนำ้ ของพชื สัมพันธก์ ับการลำเลยี งน้ำเพราะอะไร ขนั้ สรปุ ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เกีย่ วกบั การคายน้ำของพชื โดยร่วมกนั เขยี นเปน็ แผนที่ความคิดหรือผังมโน ทัศน์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรียนรู้ 1. กล้องจลุ ทรรศน์และสไลด์สำเรจ็ รปู ของปากใบ 2. รปู การทำงานของปากใบขณะเกดิ การคายน้ำของพืช 3. หนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศหรอื อนิ เทอร์เนต็ 4. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 5. สอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 6. แบบฝึกทกั ษะรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 7. หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรู้เรื่องการคายน้ำ 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย ของพชื 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง การสังเกตการทำงานกลมุ่ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจชนิ้ งานหรอื ภาระงานของ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรยี น เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ ปฏิบตั ิกจิ กรรมเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล โดยการสังเกตและใช้แบบวดั เจตคติต่อวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 19 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง การสร้างอาหารของพืช เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่งิ มีชวี ติ หนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มชี ีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตวั ชี้วดั ช้นั ปี บรรยายหนา้ ทีข่ องราก ลำต้น ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใชข้ ้อมูลทรี่ วบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายการสร้างอาหารของพืชได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ้หู รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรทู้ เ่ี กี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผ้อู ื่นอย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรู้เรอื่ งการสร้างอาหารของพชื ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ พืชสร้างอาหารเองได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยสารสำคัญที่ช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ คลอโรฟิลล์ ซงึ่ มสี ีเขยี วและพบมากท่ีใบ 5. สาระการเรียนรู้ หนา้ ท่ีของสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช – การสรา้ งอาหารของพชื 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ช้นิ งานหรือภาระงาน สบื ค้นข้อมูลเกี่ยวกบั การสร้างอาหารของพชื
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครถู ามคำถามนกั เรยี นเกี่ยวกบั การกนิ อาหารของนักเรยี นหรอื สัตว์เลี้ยง เช่น – นักเรียนกินอาหารทุกวันหรือไม่ และอาหารที่ชอบคืออะไร (แนวคำตอบ กินอาหารทุกวัน อาหารทชี่ อบ คอื ขา้ วผดั ) – นักเรียนเลี้ยงสัตวเ์ ลี้ยงหรือไม่ นักเรียนให้สัตวเ์ ลี้ยงกินอะไร (แนวคำตอบ เลี้ยง ให้แมวกินปลา ทูตม้ ) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การสร้าง อาหารของพืช ขั้นจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซงึ่ มขี ้นั ตอนดังนี้ 1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นโดยถามคำถาม เชน่ – พืชต้องได้รับอาหารเหมือนกับคนและสัตว์หรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ พืชต้องได้รับ อาหาร เพราะพชื ต้องใชพ้ ลงั งานในการทำกิจกรรมต่างๆ เหมือนกับคนและสตั ว์) – ถ้าพืชไม่ได้รับอาหารจะส่งผลกระทบต่อพืชลักษณะใด (แนวคำตอบ พืชจะเจริญเติบโตช้าลง และตายในทส่ี ุด) (2) นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นกั เรยี นศึกษาเรื่องการสร้างอาหารของพชื จากใบความรู้หรือในหนังสือเรยี น โดยครูช่วยอธิบาย ให้นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ พชื มีใบทใี่ ช้ในการสรา้ งอาหาร พืชจึงไม่ต้องได้รับอาหารจากการกินส่งิ มีชวี ติ อื่นเป็นอาหาร เหมอื นคนและสัตว์ โดยใบทำหนา้ ท่สี ร้างอาหารใหก้ ับพืช (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างอาหารของพืชโดยดำเนินการ ตามข้ันตอนดงั น้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบคน้ ข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อการสร้างอาหารของพืชเป็นหัวข้อย่อย เช่น สารท่ีช่วยในการสร้างอาหารของพชื สารเริ่มต้นทีใ่ ช้ในการสร้างอาหารของพืช และผลิตภัณฑท์ ี่ไดจ้ ากการสร้าง อาหารของพืช ใหส้ มาชิกแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั สบื ค้นตามหวั ขอ้ ทก่ี ำหนด – สมาชิกแตล่ ะกลุ่มช่วยกันสบื คน้ ข้อมูลตามหวั ข้อท่ีกลุ่มของตนเองรบั ผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต – สมาชกิ กลมุ่ นำข้อมูลท่สี บื คน้ ได้มารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชกิ ในกล่มุ ฟงั รวมทั้งร่วมกันอภปิ ราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชิกทกุ คนมีความร้คู วามเข้าใจท่ีตรงกัน – สมาชกิ กลมุ่ ชว่ ยกนั สรปุ ความรู้ที่ไดท้ งั้ หมดเป็นผลงานของกลมุ่ (3) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทกุ คนซักถามเม่อื มปี ัญหา
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3) ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหน้าห้องเรยี น (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปนี้ – สารที่ช่วยในการสร้างอาหารของพืชคืออะไร พบมากที่ใด (แนวคำตอบ สารสีเขียว เรียกว่า คลอโรฟลิ ล์ พบมากท่บี ริเวณใบ) – สารเริ่มต้นที่ใช้ในการสร้างอาหารของพืชคืออะไร (แนวคำตอบ น้ำและแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด)์ – ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสร้างอาหารของพชื คอื อะไร (แนวคำตอบ น้ำตาลและแกส๊ ออกซเิ จน) (3) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ ผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครเู นน้ ให้นักเรยี นเข้าใจว่า การสร้างอาหาร ของพืช เรียกว่า การสังเคราะห์ด้วยแสง เกิดขึ้นเมื่อพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ช่วยให้น้ำสามารถจับกับแก๊ส คาร์บอนไดออกไซดก์ ลายเป็นนำ้ ตาล แก๊สออกซิเจน และนำ้ 4) ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูให้นักเรียนดูรูปการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืชในหนังสือเรียน พร้อมกับอธิบายถึงความสมั พนั ธ์ ของการคายน้ำ การดูดซับน้ำ และการลำเลียงน้ำและแรธ่ าตุว่ามผี ลต่อการนำนำ้ ไปใชใ้ นการสังเคราะห์ดว้ ยแสง (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการสร้างอาหารของพืช จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดสง่ ครู 5) ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรือยงั มขี อ้ สงสัย ถา้ มี ครชู ว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุม่ วา่ มปี ัญหาหรอื อปุ สรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการปฏิบัติกจิ กรรมและการ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น – พืชสรา้ งอาหารเองไดเ้ พราะอะไร – อาหารท่ีพชื สรา้ งได้คอื อะไร ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการสร้างอาหารของพืช โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือ ผงั มโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอร์เนต็ 2. หนงั สอื เรียนภาษาตา่ งประเทศ 3. คมู่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 4. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝึกทกั ษะรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 6. หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความร้เู ร่ืองการสรา้ ง อาหารของพืช 1. ประเมินเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย 2. ตรวจช้ินงานหรือภาระงานของ เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกลุ่ม กิจกรรมฝึกทกั ษะระหวา่ งเรยี น และใชแ้ บบวัดเจตคติทาง 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ วิทยาศาสตร์ ปฏิบตั กิ จิ กรรมเป็น 2. ประเมนิ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ รายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ โดย เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต การสงั เกตการทำงานกล่มุ และใชแ้ บบวัดเจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ .................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. นักเรียนนี่ไมผ่ ่าน มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นที่ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรยี นมีความรเู้ กดิ ทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง นางอมลสิริ คำฟู แลว้ มคี วามเห็นดังนี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 20 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง การจำแนกสง่ิ มีชวี ติ (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องส่งิ มชี ีวติ หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมีชวี ิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ชนั้ ปี บรรยายหน้าท่ขี องราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใชข้ ้อมลู ท่รี วบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบหุ นา้ ท่ีของคลอโรฟิลล์ได้ (K) 2. ทดลองและตรวจสอบไดว้ ่าพชื สร้างอาหารในสว่ นของใบท่ีมีคลอโรฟลิ ล์ (K) 3. มีความสนใจใฝ่ร้หู รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ทเ่ี ก่ียวกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 6. ส่อื สารและนำความรู้เร่อื งคลอโรฟิลล์กบั การสรา้ งอาหารของพืชไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั คลอโรฟิลล์เปน็ สารสเี ขยี วในใบพืช ทำหน้าท่ีช่วยให้พชื เกิดการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 5. สาระการเรียนรู้ หนา้ ทข่ี องสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื – การสรา้ งอาหารของพชื 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชวี ิต
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ทดลองคลอโรฟิลลจ์ ำเป็นต่อการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1) ครูทบทวนความร้เู ก่ียวกบั การสร้างอาหารของพชื โดยการถามคำถาม เช่น – ส่วนของพชื ทท่ี ำหน้าทสี่ รา้ งอาหารคอื อะไร (แนวคำตอบ ใบ) – พชื สามารถสร้างอาหารเองได้เพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะพืชมีคลอโรฟิลล์ที่ใช้ในการสร้าง อาหาร) 2) นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพ่อื เช่ือมโยงไปส่กู ารเรยี นร้เู ร่ือง คลอโรฟิลล์กับ การสร้างอาหารของพืช ขน้ั จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มีขัน้ ตอนดงั นี้ 1) ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามคำถามว่า นักเรียนมีวิธีใดที่ใช้พิสูจน์ว่า คลอโรฟิลล์มี ส่วนสำคญั ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง (แนวคำตอบ ทำการทดลองวา่ ใบสว่ นท่ีมสี ีเขยี วมีแปง้ สะสมอย่หู รือไม่) (2) นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศกึ ษาเรื่องคลอโรฟิลล์กบั การสร้างอาหารของพืชจากใบความรหู้ รือในหนงั สือเรยี น โดย ครชู ว่ ยอธิบายให้นักเรยี นเขา้ ใจว่า คลอโรฟลิ ลใ์ นใบมีสว่ นสำคญั ในการสงั เคราะห์ด้วยแสง (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 6 ทดลองคลอโรฟิลล์จำเป็นต่อการ สงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช แต่ละกลุ่มปฏบิ ัติกจิ กรรมตามข้นั ตอนท่ไี ด้วางแผนไว้ ดงั นี้ ขนั้ ท่ี 1 กำหนดปญั หา – บริเวณใบทีไ่ มม่ ีคลอโรฟลิ ล์จะเกดิ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงหรือไม่ ขัน้ ที่ 2 ต้ังสมมตุ ิฐาน – เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนส่วนของใบท่ีมีสีเขียว สีของใบน่าจะเปลี่ยนแปลง แต่ส่วนที่เป็น รอยดา่ งไมน่ า่ จะเปลี่ยนแปลง ขั้นที่ 3 ทดลอง – ใสแ่ ป้งจำนวนเลก็ นอ้ ยลงในจานหลมุ 3 ช่อง แลว้ หยดสารละลายไอโอดนี สังเกตและบันทึกผล – นำใบดา่ งมาวาดรปู และระบายสีตามทเ่ี หน็ จรงิ 1 2 – เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่เตรียมไว้ประมาณ ของบีกเกอร์ ต้มจนเดือดแล้วจึงใส่ใบด่าง ต้มต่อ ประมาณ 3–4 นาที – นำใบที่ต้มแล้วใส่ในหลอดทดลองท่ีบรรจุเอทานอล จากนั้นนำไปใสใ่ นบีกเกอร์อีกใบทีบ่ รรจุน้ำเดือด ต้มจนกวา่ ใบจะซดี เปน็ สีขาว – นำใบที่ต้มจนซีดขาวแล้วมาล้างน้ำสะอาดและวางบนจานแก้ว คลี่ใบออก ใช้หลอดหยดดูด สารละลายไอโอดีน แลว้ หยดลงบนใบให้ทว่ั ทิง้ ไวส้ ักครู่ วาดรปู และระบายสกี ารเปลยี่ นแปลง
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ขั้นท่ี 4 วิเคราะห์ผลการทดลอง – แปลความหมายขอ้ มูลทีไ่ ด้จากตารางบันทึกผลการทดลอง – นำขอ้ มูลท่ไี ด้มาพจิ ารณาเพ่อื อธิบายว่าเปน็ ไปตามท่นี กั เรยี นต้ังสมมตุ ิฐานไวห้ รือไม่ ขัน้ ท่ี 5 สรุปผลการทดลอง – นกั เรียนร่วมกันสรปุ ผลการทดลองแลว้ เขยี นเปน็ รายงานสรุปผลการทดลองส่งครู (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครเู ดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ให้นกั เรยี นทกุ คนซกั ถามเมอื่ มปี ญั หา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปนี้ – เม่ือหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแปง้ เกดิ การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะใด (แนวคำตอบ สารละลาย ไอโอดีนเปลีย่ นสจี ากสีน้ำตาลเป็นสนี ำ้ เงนิ ) – เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบด่างเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด (แนวคำตอบ บริเวณ ใบที่เคยมีสีเขยี ว สารละลายไอโอดนี เปล่ียนสีจากสนี ้ำตาลเปน็ สีน้ำเงนิ ) – คลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือไม่ สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ คลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยสังเกตจากการเปลี่ยนสีของสารละลายไอโอดีน เมื่อหยด สารละลายไอโอดีนลงบนแป้ง สารละลายไอโอดีนเปลี่ยนสีจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินเหมือนกับการหยด สารละลายไอโอดีนลงบนใบ ซึ่งสารละลายไอโอดีนก็เปลี่ยนสีจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินในส่วนของ ใบที่มี คลอโรฟิลล)์ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า คลอโรฟิลล์ทำ หน้าที่ช่วยใหพ้ ืชเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งผลิตภณั ฑ์ที่เกิดขึ้น คือ น้ำตาลที่เปลี่ยนไปเป็นแปง้ และสะสมท่ี ใบ 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า น้ำตาลที่พืชสร้างขึ้นจะถูกลำเลียงไปตามส่วนต่าง ๆ หรือเปลี่ยนไปเป็นแป้ง เพื่อนำไปสะสมไว้ตามส่วนต่างๆ ของพืชในภายหลัง เมื่อพืชต้องการนำน้ำตาลมาใช้จึงเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล อีกครั้ง (2) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า พืชไม่ได้มีการสังเคราะห์ด้วยแสงที่บริเวณใบเท่านั้น ที่ลำต้นหรือรากที่มีสี เขียวก็สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เนื่องจากมีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว แต่การสังเคราะห์ด้วยแส งส่วน ใหญเ่ กดิ ข้นึ ทใี่ บซง่ึ พบคลอโรฟิลล์มากทส่ี ุด 5) ขนั้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรอื ยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นกั เรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่ วา่ มปี ญั หาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอย่างไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนกั เรยี น เช่น
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื ไดผ้ ลิตภัณฑ์เป็นอะไร – การทดสอบใดแสดงไดว้ า่ บรเิ วณท่ีมสี ีเขียวของใบเกดิ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ขั้นสรปุ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเก่ียวกับคลอโรฟลิ ล์กับการสร้างอาหารของพชื โดยรว่ มกนั เขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรอื ผงั มโนทศั น์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 6 ทดลองคลอโรฟลิ ลจ์ ำเป็นตอ่ การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช 2. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 3. แบบฝึกทกั ษะรายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 4. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความร้เู ร่ืองคลอโรฟลิ ล์ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ กับการสรา้ งอาหารของพืช 1. ประเมินเจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้แบบ วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล วัดทกั ษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชน้ิ งานหรอื ภาระงานของ โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั วทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมฝึกทกั ษะระหวา่ งเรยี น เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคิดโดย 2. ประเมนิ เจตคติต่อ การสังเกตการทำงานกลุ่ม วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด 3. ประเมนิ ทักษะการ เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ แกป้ ัญหาโดยการสงั เกตการ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็น รายบคุ คลหรือรายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยังไม่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 21 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง คลอโรฟลิ ล์กบั การสรา้ งอาหารของพชื (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสงิ่ มชี ีวติ หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมีชวี ติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ชนั้ ปี บรรยายหน้าทข่ี องราก ลำต้น ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใชข้ ้อมลู ท่ีรวบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายและสรปุ ได้ว่าพชื มกี ารเก็บสะสมอาหารไวต้ ามสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื (K) 2. มีความสนใจใฝ่รหู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ท่เี กีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรูเ้ รื่องคลอโรฟิลล์กับการสร้างอาหารของพืชไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ พืชเกบ็ สะสมอาหารไวต้ ามสว่ นต่าง ๆ ของพืชทง้ั ในรูปของน้ำตาลและแป้ง 5. สาระการเรียนรู้ หนา้ ทีข่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื – การสร้างอาหารของพืช 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ช้ินงานหรอื ภาระงาน ทดสอบการสะสมแป้งในพชื 9. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับคลอโรฟิลล์กับการสร้างอาหารของพืช โดยการให้นักเรียนบอก หนา้ ท่ีของคลอโรฟิลล์และการตรวจสอบหาแป้งที่เกิดจากการสงั เคราะห์ด้วยแสง (แนวคำตอบ คลอโรฟลิ ล์ช่วย ให้พืชเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง และสามารถตรวจสอบหาแป้งที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วยการ ทดสอบกบั ไอโอดนี ถ้ามแี ป้ง ไอโอดนี จะเปลีย่ นสีจากสีน้ำตาลเปน็ สนี ำ้ เงิน) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนรูเ้ รื่อง คลอโรฟิลล์กับการสร้างอาหารของพืช ขั้นจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มขี ัน้ ตอนดังนี้ 1) ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นนักเรยี นโดยการถามคำถามว่า นอกจากที่ใบแล้ว เราสามารถพบแป้งได้ที่ส่วนใดของพชื อกี บา้ ง (แนวคำตอบ รากและผล) (2) นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเกี่ยวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรียน 2) ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนเล่าถึงผักและผลไม้ที่ปลูกไว้ที่บ้านหรือในชุมชนของนักเรียนว่า มีพืชชนิดใดที่มีการ เก็บสะสมอาหารและเก็บสะสมไว้ในส่วนใด หรือเล่าถึงผักและผลไม้ที่ขายตามตลาดในชุมชนของนักเรียนว่า ขายพืชที่มีการเก็บสะสมอาหารบ้างหรือไม่ โดยครูอธิบายเพิ่มเติมถึงพืชที่มีการเก็บสะสมอาหารซึ่งมีทั้งในรูป ของแปง้ และน้ำตาล (แนวคำตอบ แครอทสะสมอาหารในราก) (2) แบ่งกล่มุ นักเรยี น กลุ่มละ 3 – 4 คน แต่ละกลุม่ สังเกตการสะสมแป้งในพชื ตามข้นั ตอนดังนี้ – นักเรียนเตรียมพืชที่มีการสะสมอาหารในรูปของแป้งมากลุ่มละ 1 ชนิด เช่น แครอท มันฝร่ัง และหวั ไชเทา้ – ผา่ พชื ทีเ่ ตรยี มมาออกเป็นช้ินๆ – หยดสารละลายไอโอดีนลงบนพชื – สงั เกตการเปลี่ยนแปลงและบนั ทึกผล (3) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ให้นักเรยี นทุกคนซกั ถามเมื่อมปี ัญหา 3) ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (1) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนกล่มุ นำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนา้ หอ้ งเรยี น (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ตอ่ ไปน้ี – สารละลายไอโอดีนใชท้ ดสอบอะไร (แนวคำตอบ ทดสอบแป้งท่ีสะสมในพชื ) – เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนบนพืชเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด (แนวคำตอบ สารละลาย ไอโอดีนเปลย่ี นสีจากสีนำ้ ตาลเปน็ สีน้ำเงิน)
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – พืชที่นำมาทดสอบมีการสะสมแป้งที่ใด (แนวคำตอบ แครอทและหัวไชเท้าสะสมแป้งที่ราก ส่วนมันฝร่ังสะสมแปง้ ที่ลำต้น) (3) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรยี นเข้าใจวา่ สนี ้ำเงนิ ที่ปรากฏ บนเน้ือของพืช แสดงใหเ้ ห็นถงึ การสะสมของแป้งในพชื 4) ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับคลอโรฟิลล์กับการสร้างอาหารของพืช จากหนังสือ เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลง สมดุ ส่งครู 5) ข้นั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรือยงั มขี อ้ สงสัย ถ้ามี ครชู ่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรยี นเข้าใจ (2) นกั เรียนร่วมกันประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลมุ่ วา่ มีปญั หาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอย่างไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – พืชสะสมอาหารไว้ตามส่วนตา่ ง ๆ เพ่ืออะไร – นักเรยี นมีวิธที ดสอบการสะสมอาหารของพืชวธิ ีใดบ้าง ข้ันสรุป ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเกยี่ วกบั คลอโรฟิลลก์ ับการสร้างอาหารของพืช โดยรว่ มกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรือผังมโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. แครอท มันฝร่ัง และหวั ไชเทา้ 2. สารละลายไอโอดนี 3. หลอดหยด 4. มีดและเขยี ง 5. จาน 6. หนังสือเรยี นภาษาตา่ งประเทศและอนิ เทอรเ์ นต็ 7. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 8. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 9. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 10. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรูเ้ รื่องคลอโรฟิลล์ 1. ประเมินทักษะการคิดโดย กับการสรา้ งอาหารของพชื 1. ประเมินเจตคติทาง การสังเกตการทำงานกล่มุ วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบุคคล 2. ตรวจชนิ้ งานหรอื ภาระงานของ โดยการสังเกตและใช้แบบวัด 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กจิ กรรมฝึกทกั ษะระหวา่ งเรียน เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็น 2. ประเมินเจตคติตอ่ 3. รายบุคคลหรอื รายกล่มุ โดย วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล การสงั เกตการทำงานกลมุ่ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 22 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง แสงกบั การสรา้ งอาหารของพืช (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มีชวี ิต หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตวั ชี้วัดชน้ั ปี บรรยายหนา้ ทข่ี องราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใช้ขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ทดลองและตรวจสอบไดว้ า่ พชื ใช้แสงในการสังเคราะห์ด้วยแสง (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ี่เกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรเู้ รื่องแสงกับการสร้างอาหารของพืชไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั แสงชว่ ยใหพ้ ืชเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง 5. สาระการเรียนรู้ หน้าทข่ี องส่วนต่าง ๆ ของพืช – การสรา้ งอาหารของพืช 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชวี ติ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ช้ินงานหรือภาระงาน ทดลองแสงจำเปน็ ตอ่ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรียน 1) ครถู ามเกย่ี วกบั การปลกู พชื ของนกั เรยี น เช่น – สง่ิ จำเปน็ ทต่ี อ้ งใชใ้ นการปลกู พชื มีอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ พชื ดนิ กระถาง และบัวรดน้ำ) – เราควรวางกระถางพืชไว้บริเวณใดของบ้าน เพราะอะไร (แนวคำตอบ บริเวณที่มีแสงส่องถึง เพราะพืชใช้แสงในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง แสงกับการ สร้างอาหารของพืช ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมขี น้ั ตอนดงั น้ี 1) ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามคำถามว่า ถ้าพืชไม่ได้รับแสงแดด พืชจะมีลักษณะใด (แนวคำตอบ พชื จะมใี บเหลืองและสังเคราะห์ดว้ ยแสงไม่ได้ พชื ก็จะไมเ่ จรญิ เติบโต) (2) นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเกีย่ วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ใหน้ กั เรยี นศึกษาเร่ืองแสงกับการสรา้ งอาหารของพืชจากใบความรหู้ รือในหนงั สือเรียน โดยครูช่วย อธิบายให้นักเรียนเข้าใจวา่ แสงมีสว่ นสำคัญในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง (2) แบ่งกลุ่มนักเรยี น กลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 7 ทดลองแสงจำเป็นตอ่ การสังเคราะห์ด้วย แสงของพชื แตล่ ะกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตามขน้ั ตอนที่ไดว้ างแผนไว้ ดงั น้ี ขน้ั ท่ี 1 กำหนดปัญหา – พืชจะเกิดการสงั เคราะห์ด้วยแสงหรือไม่ ถา้ ไมไ่ ดร้ ับแสง ขั้นที่ 2 ต้ังสมมุตฐิ าน – เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบ ส่วนที่ถูกปิดด้วยกระดาษสีดำน่าจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง และสว่ นทีไ่ มไ่ ดถ้ ูกปดิ ดว้ ยกระดาษสดี ำนา่ จะเกิดการเปลยี่ นแปลง ขั้นท่ี 3 ทดลอง – ใส่แปง้ จำนวนเลก็ น้อยลงในจานหลมุ 3 ช่อง แลว้ หยดสารละลายไอโอดีน สังเกตและบนั ทกึ ผล – นำใบมาวาดรปู และระบายสีตามท่ีเห็นจรงิ – ตดั กระดาษสีดำเปน็ รปู สี่เหลี่ยมผืนผ้า 1 แผ่น กว้าง 1.5 เซนตเิ มตร และความยาวใหพ้ ันรอบใบได้ – ติดกระดาษสีดำเข้ากับใบ 3 ใบ ให้กระดาษแนบกับใบให้สนทิ รดน้ำ แล้วจึงนำต้นไม้ไปรับแสงแดด เปน็ เวลา 3 ชวั่ โมง 1 2 – เทน้ำกล่ันลงในบกี เกอรท์ ีเ่ ตรียมไว้ประมาณ ของบีกเกอร์ ต้มจนเดือดแล้วจงึ ใส่ใบท่ีแกะกระดาษสี ดำออก แล้วต้มตอ่ ประมาณ 3 – 4 นาที
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – นำใบที่ต้มแล้วใส่ในหลอดทดลองทีบ่ รรจุเอทานอล จากนั้นนำไปใสใ่ นบีกเกอรอ์ ีกใบทีบ่ รรจุน้ำเดือด ต้มจนกวา่ ใบไมจ้ ะซีดเป็นสีขาว – นำใบไม้ที่ต้มจนซีดขาวแล้วมาล้างน้ำสะอาดและวางบนจานแก้ว คลี่ใบออก ใช้หลอดหยดดูด สารละลายไอโอดนี แลว้ หยดลงบนใบให้ท่ัว ท้ิงไว้สักครู่ วาดรูปและระบายสีการเปลย่ี นแปลง ขั้นที่ 4 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง – แปลความหมายข้อมูลที่ไดจ้ ากตารางบันทึกผลการทดลอง – นำขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าพิจารณาเพือ่ อธบิ ายว่าเปน็ ไปตามท่ีนกั เรียนตั้งสมมตุ ฐิ านไว้หรือไม่ ขน้ั ท่ี 5 สรุปผลการทดลอง – นกั เรยี นรว่ มกันสรุปผลการทดลองแลว้ เขยี นเป็นรายงานสรุปผลการทดลองส่งครู (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนซกั ถามเมือ่ มปี ญั หา 3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าหอ้ งเรยี น (2) นักเรียนและครรู ่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปน้ี – เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้งเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด (แนวคำตอบ สารละลาย ไอโอดีนเปลยี่ นสีจากสีน้ำตาลเปน็ สนี ำ้ เงิน) – ส่วนใดของใบที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ ส่วนที่ไม่ถูกปิดด้วย กระดาษสดี ำเกิดการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง สังเกตจากเมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบ บรเิ วณทีไ่ ม่ถูกปิดด้วย กระดาษสีดำ สารละลายไอโอดีนเปลี่ยนสจี ากสนี ำ้ ตาลเป็นสนี ้ำเงิน เหมือนกบั การหยด สารละลายไอโอดนี ลงบนแปง้ ) – แสงเป็นปจั จัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงหรือไม่ สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ แสงเป็นปัจจัยในการ สังเคราะห์ด้วยแสง สังเกตจากการเปลี่ยนสีของสารละลายไอโอดีน เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้ง สารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนสีจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินเหมือนกับการหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบ ซ่ึง สารละลายไอโอดนี ก็เปลย่ี นสีจากสีนำ้ ตาลเป็นสนี ้ำเงินเฉพาะสว่ นของใบทไี่ มถ่ กู ปิดด้วยกระดาษสดี ำ) (3) ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยครเู นน้ ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจว่า พืชใช้แสงในการ สงั เคราะห์ดว้ ยแสง ซึ่งผลิตภัณฑท์ ไ่ี ด้ คอื นำ้ ตาลทีเ่ ปล่ยี นไปเปน็ แปง้ และสะสมที่ใบ 4) ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) ครูอธิบายเพิ่มเติมกับนักเรียนว่า พืชแต่ละชนิดต้องการความเข้มแสงที่แตกต่างกัน ซึ่งเมื่อใช้ความ ตอ้ งการความเขม้ แสงของพชื เป็นเกณฑจ์ ะจำแนกพืชไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ คอื – พืชในร่ม ต้องการความเข้มแสงน้อย มักปลูกพืชชนิดนี้ไว้ในร่มหรือไม้ประดับภายในอาคารสถานที่ เช่น เศรษฐเี รือนใน หญา้ ถอดปลอ้ ง และเฟินใบมะขาม – พืชกึง่ รม่ ก่ึงแจ้ง ต้องการความเขม้ แสงปานกลาง มกั ปลกู ใตร้ ม่ ไม้ทแี่ สงบางสว่ นลอดผา่ นได้ หรือท่ีร่ม แดดรำไร เช่น วาสนาราชินี เยอบีรา่ และสาวนอ้ ยประแปง้ – พืชกลางแจ้ง ต้องการความเข้มแสงสูง มักปลูกกลางแจ้ง ส่วนมากเป็นพืชดอก เช่น เข็ม ชบา และ ขา้ วโพด
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 5) ขั้นประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพ่มิ เติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ (2) นักเรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มวา่ มปี ญั หาหรอื อุปสรรคใดและได้แก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – แสงมีความสำคัญตอ่ พืชลกั ษณะใด – หลักฐานทแี่ สดงว่าแสงช่วยให้เกดิ การสงั เคราะหด์ ้วยแสงคืออะไร ขั้นสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับแสงกับการสร้างอาหารของพืช โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรอื ผังมโนทศั น์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 7 ทดลองแสงจำเปน็ ต่อการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 2. ค่มู อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. แบบฝกึ ทกั ษะรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 5. หนังสือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองแสงกบั การ 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ สรา้ งอาหารของพืช 1. ประเมินเจตคติทาง ทางวิทยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบ วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล วดั ทกั ษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชิน้ งานหรือภาระงานของ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวดั วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย 2. ประเมนิ เจตคติต่อ การสังเกตการทำงานกลมุ่ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล โดยการสังเกตและใช้แบบวัด 3. ประเมินทักษะการ เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ แก้ปญั หาโดยการสังเกตการ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบัติกจิ กรรมเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลมุ่
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ........................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ................................. 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 23 สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง แสงกบั การสร้างอาหารของพืช (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของส่ิงมีชวี ติ หน่วยพนื้ ฐานของสิง่ มชี วี ติ การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี บรรยายหนา้ ที่ของราก ลำตน้ ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใช้ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองและตรวจสอบไดว้ า่ พชื ใช้แสงในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง (K) 2. มีความสนใจใฝร่ หู้ รอื อยากรูอ้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ทเ่ี ก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผอู้ นื่ อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรเู้ รื่องแสงกบั การสรา้ งอาหารของพืชไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ แสงช่วยให้พชื เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง 5. สาระการเรียนรู้ หนา้ ทขี่ องสว่ นต่าง ๆ ของพชื – การสรา้ งอาหารของพชื 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สงั เกตแสงมีความสำคญั ตอ่ พชื 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับแสงกับการสร้างอาหารของพืช โดยการให้นักเรียนบอกความสำคัญ ของแสงในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงและการตรวจสอบหาแปง้ ท่ีเกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสง (แนวคำตอบ แสง ช่วยให้น้ำจับกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้และเปลี่ยนไปเป็นอาหารของพืช และสามารถตรวจสอบหาแป้งท่ี เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วยการทดสอบกับไอโอดนี ถ้ามีแป้ง ไอโอดีนจะเปลี่ยนสีจากสนี ้ำตาลเป็นสี นำ้ เงนิ ) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั คำตอบของคำถาม เพ่อื เช่อื มโยงไปสู่การ เรยี นรเู้ ร่อื ง แสงกับการสรา้ งอาหารของพชื ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซงึ่ มขี น้ั ตอนดงั น้ี 1) ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครกู ระตุน้ นักเรียนโดยการถามคำถามวา่ บรเิ วณใตต้ น้ ไมใ้ หญ่มักมีพืชข้ึนน้อยกว่าบริเวณรอบต้นไม้ ใหญเ่ พราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะต้นไม้ใหญแ่ ผก่ ่งิ ก้าน บริเวณใตต้ น้ ไมใ้ หญ่จงึ มแี สงแดดส่องถึงพื้นนอ้ ย จึงมี พืชเจริญเตบิ โตใต้ตน้ ไมใ้ หญน่ ้อยกวา่ บรเิ วณรอบนอกท่ีได้รับแสงเต็มที่) (2) นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 – 4 คน แต่ละกลุ่มร่วมกันสังเกตว่า แสงมีความสำคัญต่อพืชโดยให้ นกั เรียนปฏิบตั ติ ามขั้นตอนดงั น้ี – นักเรียนตัดฝากล่องด้านยาวของกล่องนมหรอื กล่องน้ำผลไม้ขนาดใหญ่ หรือประดิษฐ์กล่องที่มี ขนาดเทา่ กลอ่ งนมหรือกลอ่ งนำ้ ผลไม้ขนาดใหญโ่ ดยใหม้ ีฝาเปดิ ทางดา้ นยาว 1 ดา้ น – นำกล่องไปครอบหญ้าบริเวณที่ได้รับแสงแดดตลอดทั้งวัน โดยคว่ำด้านที่เป็นฝาเปิดลงและใช้ หินที่หนกั พอสมควรทับเพือ่ ไมใ่ หก้ ล่องปลวิ เมือ่ โดนลม – ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 1 สปั ดาห์ – นกั เรียนสงั เกตความแตกตา่ งของหญา้ ภายในกลอ่ งกบั บรเิ วณข้างเคียง (2) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ บริเวณที่สังเกตและเปิดโอกาสให้ นักเรยี นทกุ คนซกั ถามเม่ือมปี ญั หา 3) ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปนี้ – หญ้าภายนอกและภายในกล่องแตกต่างกันหรือไม่ ลักษณะใด (แนวคำตอบ แตกต่างกัน โดย หญา้ ท่อี ย่นู อกกลอ่ งมีสีเขียว สว่ นหญ้าภายในกล่องเหีย่ วและใบมีสเี หลือง)
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – แสงมีความสำคัญต่อพืชหรือไม่ สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ แสงมีความสำคัญต่อพืช สังเกต จากหญา้ ท่ีได้รบั แสงเจริญเตบิ โตตามปกติ ส่วนหญา้ ท่ีไม่ไดร้ บั แสงเหย่ี วและใบมสี เี หลอื ง) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า แสงมี ความสำคัญต่อพืช พชื ทีไ่ มไ่ ดร้ บั แสงจะไม่สามารถสรา้ งอาหารเพอื่ ใช้ในการเจริญเติบโตได้ 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการปลูกพืช โดยอธิบายว่าปัจจุบันทีมวิจัย จากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวรและมูลนิธิโครงการหลวง พัฒนาเทคโนโลยฟี ิลม์ คัดกรองแสงทางการเกษตรช่ือ ฟิลม์ โพลีเทคพลาสติก (Poly Tech Plastic) ซ่ึงเป็นฟิล์ม ที่ใชค้ ลุมโรงเรือนการเกษตรเพื่อกรองเฉพาะแสงที่เปน็ ประโยชนต์ ่อพืช และสะทอ้ นรงั สคี วามร้อนทำให้ช่วยลด อุณหภูมิในโรงเรือนการเกษตร นอกจากนี้ยังสะท้อนรังสียูวีซึ่งเป็นอันตรายต่อพืชได้ ทำให้พืชเจริญเติบโตได้ดี และผลผลติ ทางการเกษตรเพิ่มข้ึน (2) นักเรียนคน้ ควา้ คำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกยี่ วกบั แสงกับการสร้างอาหารของพืช จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่ง ครู 5) ข้นั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ให้นักเรยี นเข้าใจ (2) นกั เรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรอื อุปสรรคใดและได้แก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการปฏบิ ัติกิจกรรมและการ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรยี น เชน่ – ถ้าพชื ไม่ไดร้ ับแสงจะเกดิ การสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้หรอื ไม่ เพราะอะไร – คนทอี่ าศยั อยู่ในอาคารสงู หรอื ห้องแถวมกั ปลกู พืชไวข้ ้างหนา้ ตา่ งหรือบนดาดฟา้ เพราะอะไร ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับแสงกับการสร้างอาหารของพืช โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคิดหรอื ผังมโนทัศน์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. กลอ่ งนมหรือกลอ่ งนำ้ ผลไมข้ นาดใหญ่ 2. กรรไกร 3. หนิ 4. หนงั สือเรียนภาษาตา่ งประเทศและอินเทอร์เน็ต 5. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 6. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 7. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 8. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรเู้ ร่ืองแสงกับการ 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย สรา้ งอาหารของพชื 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจชน้ิ งานหรือภาระงานของ โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรยี น เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรอื รายกลมุ่ โดย 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อ การสังเกตการทำงานกล่มุ วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวัด เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 24 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง ส่วนประกอบของดอก (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมชี วี ิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสงิ่ มีชวี ิต การลำเลยี งสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดช้ันปี บรรยายหนา้ ทขี่ องราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ระบสุ ่วนประกอบของดอกได้ (K) 2. อธบิ ายส่วนประกอบของดอกท่ที ำหนา้ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การสบื พนั ธุไ์ ด้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝร่ หู้ รืออยากรอู้ ยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ี่เกี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์ (A) 6. สอื่ สารและนำความรูเ้ รือ่ งสว่ นประกอบของดอกไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั ดอกของพืชโดยทั่วไปประกอบด้วยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ส่วนประกอบที่ ทำหน้าท่ีในการสืบพันธุ์ คือ เกสรเพศผ้แู ละเกสรเพศเมีย 5. สาระการเรียนรู้ หนา้ ทขี่ องส่วนต่าง ๆ ของพชื – การสบื พันธุข์ องพชื ดอก 6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน 4. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทกั ษะในการดำเนนิ ชีวิต
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ช้นิ งานหรือภาระงาน สังเกตสว่ นประกอบของดอก 9. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรียน 1) ครใู หน้ ักเรียนส่งตวั แทนออกมาเล่าเก่ยี วกับพืชทปี่ ลูกทีบ่ า้ นหรือในหมู่บ้าน แล้วถามคำถามนักเรียน วา่ – นักเรียนรู้จักพืชที่เพื่อนเล่าหรือไม่ พืชที่เพื่อนเล่าคือพืชชนิดใด (แนวคำตอบ รู้จัก พืชที่เพื่อน เล่า คือ ชบา) – พืชที่เพื่อนเล่าเปน็ พืชดอกหรอื ไม่ และนักเรียนเคยเห็นดอกของพืชชนิดนี้หรือไม่ (แนวคำตอบ ชบาเปน็ พชื ดอก เคยเห็นดอกของชบาเปน็ สีแดง) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรูเ้ ร่ือง ส่วนประกอบ ของดอก ขั้นจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มขี ั้นตอนดงั นี้ 1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครนู ำดอกชบาหรอื รปู จากอินเทอรเ์ น็ตมาใหน้ ักเรยี นดแู ลว้ ถามคำถามนักเรยี นว่า – ดอกชนดิ นเ้ี ปน็ ดอกของพืชใด (แนวคำตอบ ชบา) – ดอกชนดิ นีม้ สี ว่ นประกอบอะไรบ้าง (แนวคำตอบ กลบี เล้ยี ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศ เมีย) (2) นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายเก่ยี วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศกึ ษาเร่ืองการสืบพันธุ์ของพืชดอกจากใบความรูห้ รือในหนงั สือเรยี น โดยครชู ่วยอธิบาย ให้นักเรียนเข้าใจว่า ดอกของพืชนอกจากจะทำให้พืชสวยงามแล้ว ยังเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำ หน้าที่ในการ สืบพันธุ์อีกด้วย โดยส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทำหน้าที่แตกต่างกัน ซึ่งส่วนประกอบทั่วไปของดอก คือ กลบี เลี้ยง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี (2) แบง่ กลุ่มนกั เรียน ปฏิบัตกิ จิ กรรมที่ 8 สงั เกตส่วนประกอบของดอก แตล่ ะกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตาม ข้นั ตอนที่ไดว้ างแผนไว้ ดังน้ี – สมาชิกแตล่ ะคนช่วยกนั นำดอกของพชื มาสังเกตส่วนประกอบ – สังเกตลักษณะของกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียของแต่ละดอก บันทึก ข้อมูล (3) ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ให้นักเรียนทุกคนซกั ถามเมอ่ื มีปญั หา 3) ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกล่มุ นำเสนอผลการปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปนี้
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – พืชที่นำมาสังเกตมีส่วนประกอบของดอกครบทุกส่วนหรือไม่ (แนวคำตอบ พืชที่นำมาสังเกตมี สว่ นประกอบของดอกไม่ครบทุกส่วน โดยดอกมะละกอไม่มีเกสรเพศผแู้ ละดอกตำลงึ ไม่มเี กสรเพศเมยี ) – ดอกของพืชทุกชนิดมีส่วนประกอบครบทั้ง 4 ส่วนหรือไม่ (แนวคำตอบ ดอกของพืชทุกชนิดมี ส่วนประกอบไม่ครบท้งั 4 ส่วน) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดอกมี ส่วนประกอบหลัก คอื กลีบเลีย้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ซ่ึงพืชบางชนดิ มสี ว่ นประกอบไม่ครบ ทั้ง 4 สว่ น 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ เกย่ี วกับหนา้ ท่ีของสว่ นต่างๆ ของดอก เพ่อื ใหน้ กั เรียนสามารถสรปุ ได้ว่าดอกของพืช แตล่ ะชนิดมีสีสนั รูปรา่ ง และจำนวนของกลบี เลี้ยง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี แตกตา่ งกนั 5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยงั มขี อ้ สงสยั ถ้ามี ครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เตมิ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ ว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – สว่ นประกอบหลกั ของดอกมอี ะไรบา้ ง – ส่วนประกอบของดอกท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การสืบพันธ์ุคืออะไร ขนั้ สรปุ ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกับสว่ นประกอบของดอก โดยรว่ มกนั เขียนเป็นแผนท่ีความคิดหรือผัง มโนทัศน์ 10. ส่ือการเรยี นรู้ 1. ใบกจิ กรรมที่ 8 สงั เกตส่วนประกอบของดอก 2. ดอกชบาหรือรปู จากอนิ เทอรเ์ น็ต 3. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 6. หนงั สือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรู้เรื่องสว่ นประกอบ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ ของดอก 1. ประเมินเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใช้แบบ เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต วัดทักษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชน้ิ งานหรือภาระงานของ และใชแ้ บบวัดเจตคตทิ าง วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรียน วิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตการทำงานกลมุ่ เปน็ รายบุคคลโดยการสงั เกต และใช้แบบวดั เจตคตติ ่อ 3. ประเมินทักษะการ วทิ ยาศาสตร์ แกป้ ญั หาโดยการสงั เกตการ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรอื รายกลมุ่ โดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร้.ู .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไมผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 3. นกั เรียนมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ....................................................................................... ............................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรูข้ อง นางอมลสิริ คำฟู แล้วมีความเห็นดงั นี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ลงช่ือ.................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 25 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่อื ง สว่ นประกอบของดอก (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสง่ิ มชี ีวิต หน่วยพนื้ ฐานของสงิ่ มชี ีวติ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตวั ช้ีวดั ช้ันปี บรรยายหนา้ ทขี่ องราก ลำตน้ ใบ และดอกของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มูลท่รี วบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบสุ ว่ นประกอบของดอกได้ (K) 2. อธบิ ายสว่ นประกอบของดอกท่ที ำหน้าทเี่ ก่ยี วข้องกบั การสบื พันธ์ุได้ (K) 3. มีความสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากรูอ้ ยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรทู้ ี่เกยี่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกับผ้อู น่ื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 6. ส่ือสารและนำความรู้เร่ืองส่วนประกอบของดอกไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั ดอกของพืชโดยทั่วไปประกอบด้วยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ส่วนประกอบท่ี ทำหนา้ ทใี่ นการสืบพนั ธ์ุ คอื เกสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศเมยี 5. สาระการเรยี นรู้ หนา้ ท่ขี องส่วนตา่ ง ๆ ของพชื – การสบื พนั ธ์ขุ องพชื ดอก 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ ม่ันในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรือภาระงาน สำรวจดอกของพืชบรเิ วณโรงเรียน
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอก โดยนำรูปดอกพู่ระหงมาให้นักเรียนดูแล้วให้ นกั เรยี นอธบิ ายสว่ นประกอบต่าง ๆ ของดอก (แนวคำตอบ ดอกพูร่ ะหงมสี ่วนประกอบของดอกครบ 4 ส่วน คือ กลบี เลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย) 2) นักเรียนชว่ ยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั คำตอบของคำถาม เพือ่ เช่อื มโยงไปสู่การ เรียนรู้เรือ่ ง สว่ นประกอบของดอก ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มขี ้นั ตอนดงั นี้ 1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นนักเรียนโดยการถามคำถามว่า นักเรียนพบดอกของพืชชนิดใดบ้างระหว่างทางมา โรงเรียน (แนวคำตอบ ดอกเขม็ ดอกชบา และดอกมะม่วง) (2) นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน แต่ละกลุ่มสำรวจดอกของพืชบริเวณโรงเรียน แล้ววาดรูป ส่วนประกอบของดอก พร้อมกับจำแนกดอกเป็นกลุ่มตามส่วนประกอบของดอกที่บันทึกได้และบันทึกจำนวน ดอกในแต่ละกล่มุ นำเสนอผลการสำรวจดว้ ยแผนภูมแิ ท่ง (2) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบ ๆ บรเิ วณทส่ี ำรวจและเปิด โอกาสให้นักเรียนทุกคนซกั ถามเมื่อมปี ัญหา 3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา้ หอ้ งเรยี น (2) นักเรียนและครรู ่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ตอ่ ไปนี้ – พืชที่สำรวจมีส่วนประกอบของดอกครบทุกส่วนหรือไม่ (แนวคำตอบ บางชนิดมีส่วนประกอบ ครบทุกสว่ น บางชนดิ มีส่วนประกอบไม่ครบทุกสว่ น) – ส่วนประกอบของพืชทพี่ บมากทสี่ ุดคืออะไร (แนวคำตอบ กลีบดอก) – ส่วนประกอบของพืชแตล่ ะชนิดมลี ักษณะเหมือนกันหรือไม่ (แนวคำตอบ ส่วนประกอบของพืช แต่ละชนดิ มีลักษณะแตกต่างกนั ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ส่วนประกอบ หลักของดอก คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย โดยพืชแต่ละชนิดมีลักษณะของ ส่วนประกอบของดอกแตกตา่ งกัน
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4) ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของ ดอก ดังนี้ – เกสรเพศผู้ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ก้านชูอับเรณูและอับ อบั เรณู เรณู ภายในอับเรณูมีละอองเรณู ซึ่งมีลักษณะคล้ายฝุ่นแป้ง แต่เม่ือ กา้ นชอู บั เรณู นำมาสังเกตด้วยกล้องจลุ ทรรศน์จะเห็นเป็นรูปรา่ ง ต่าง ๆ กนั ไปตามชนดิ ของดอกไม้ – เกสรเพศเมีย ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ รังไข่ ก้านเกสรเพศ เมีย และยอดเกสรเพศเมีย โดยยอดเกสรเพศเมีย มีน้ำเหนียวหรือขน อ่อนๆ จำนวนมากทำหน้าที่จับละอองเกสรเพศผู้ ดอกไม้แต่ละชนิดมี เกสรเพศผู้ ลักษณะของยอดเกสรเพศเมียแตกต่างกนั ไดห้ ลายแบบ ตวั อยา่ งยอดเกสรเพศเมยี (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอก จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรอื อินเทอร์เนต็ นำเสนอใหเ้ พือ่ นในหอ้ งฟัง แล้วคดั คำศัพท์พร้อมทัง้ คำแปลลงสมุดส่งครู 5) ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมขี อ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธิบายเพิ่มเตมิ ใหน้ กั เรียนเข้าใจ (2) นักเรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุม่ วา่ มปี ัญหาหรอื อุปสรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการปฏิบัติกิจกรรมและการ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – พืชต่างชนดิ กันมสี ่วนประกอบของดอกเหมือนกนั หรือไม่ – ส่วนประกอบของดอกทม่ี คี วามสำคัญต่อการสบื พันธุม์ ากทส่ี ุดคือส่วนใด ขัน้ สรุป ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเก่ยี วกับสว่ นประกอบของดอก โดยรว่ มกนั เขยี นเป็นแผนที่ความคิดหรือผัง มโนทัศน์
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. รูปดอกพ่รู ะหง 2. รูปเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมีย 3. หนงั สือเรยี นภาษาตา่ งประเทศและอนิ เทอร์เนต็ 4. แบบฝึกทกั ษะรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 5. หนังสอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรู้เรื่องส่วนประกอบ 1. ประเมินเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย ของดอก เปน็ รายบุคคลโดยการสังเกต การสงั เกตการทำงานกลุม่ 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ และใชแ้ บบวัดเจตคติทาง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรียน วทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเป็น 2. ประเมินเจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรือรายกลุ่มโดย เป็นรายบุคคลโดยการสงั เกต การสงั เกตการทำงานกลมุ่ และใชแ้ บบวดั เจตคตติ ่อ วิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรยี นน่ไี ม่ผ่าน มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 3. นักเรยี นมคี วามรเู้ กดิ ทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) .................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 26 สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง การจำแนกชนดิ ของดอก เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสง่ิ มีชวี ิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสง่ิ มีชีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2. ตวั ชี้วัดช้นั ปี บรรยายหน้าทข่ี องราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดยใช้ขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ (ว 1.2 ป. 4/1) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. จำแนกดอกเป็นกล่มุ จากเกณฑ์ท่กี ำหนดได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รู้หรืออยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ท่ีเกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผ้อู ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรเู้ รือ่ งการจำแนกชนดิ ของดอกไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ ดอกสามารถจำแนกเป็นกลุ่มได้โดยการกำหนดเกณฑ์ท่แี สดงลกั ษณะเฉพาะทเ่ี หมือนกัน – เมอื่ ใช้สว่ นประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ แบง่ เป็นดอกครบส่วนกับดอกไมค่ รบส่วน – เม่ือใช้เพศของดอกเป็นเกณฑ์ แบง่ เป็นดอกสมบรู ณ์เพศกบั ดอกไมส่ มบรู ณเ์ พศ 5. สาระการเรียนรู้ หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของพชื – การสบื พันธุข์ องพชื ดอก 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 481
Pages: