แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ช้ินงานหรอื ภาระงาน สืบคน้ ขอ้ มลู ลักษณะของสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 9. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์ โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์โดยถาม นักเรียนว่า งูและไส้เดือนดินจัดเป็นสัตว์ในกลุ่มเดียวกันหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ งูและไส้เดือนดิน จัดเป็นสัตวต์ ่างกลุ่มกัน เพราะงูมีโครงร่างเป็นแกนแข็งภายในลำตัว ส่วนไส้เดือนดินไม่มีโครงร่างเป็นแกนแขง็ ภายในลำตัว) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับคำตอบของคำถาม เพอ่ื เชอ่ื มโยงไปสู่การ เรยี นรูเ้ รื่อง สตั วไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลัง ขัน้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มีขนั้ ตอนดังนี้ 1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครแู บ่งกลมุ่ นกั เรียนแล้วเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนในกล่มุ นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกบั สัตวไ์ ม่มกี ระดูกสันหลัง ที่ครูมอบหมายใหไ้ ปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นใหแ้ ต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอข้อมูลหนา้ ห้องเรยี น (2) ครตู รวจสอบว่านกั เรียนทำภาระงานท่ีได้รบั มอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการ จดบันทึก ของนักเรียน และถามคำถามเก่ยี วกับภาระงาน ดังน้ี – สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีลักษณะสำคัญอะไร (แนวคำตอบ ไม่มีโครงร่างเป็นแกนแข็งภายใน ลำตัว) – สตั ว์ไมม่ กี ระดกู สันหลงั แบ่งเป็นกล่มุ ใดบ้าง (แนวคำตอบ กลุ่มฟองน้ำ กลุ่มสัตว์ทมี่ รี ูกลางลำตัว กลุ่มหนอนพยาธิ กล่มุ สตั ว์ท่มี ีลำตวั เปน็ ปลอ้ ง กลุ่มหอย และกลุ่มสตั ว์ท่มี ีขาเปน็ ข้อ) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเดน็ คำถามท่ีนักเรยี นสงสัยจากการทำภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม ซึ่งครูให้นกั เรียนเตรียมมาลว่ งหนา้ และให้นกั เรยี นช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็ (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังเปน็ สัตวท์ ไ่ี ม่มโี ครงร่างเปน็ แกนแข็งภายในลำตัว โดยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังแตล่ ะชนดิ มีลักษณะ เฉพาะทแี่ ตกต่างกันจงึ สามารถนำมาจำแนกเป็นกลุ่มได้ 2) ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยดำเนินการตาม ขั้นตอนดงั นี้
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – แต่ละกลุ่มวางแผนการสบื ค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อสตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มฟองน้ำ กลุ่ม สัตว์ที่มีรูกลางลำตัว และกลุ่มหนอนพยาธิเป็นหัวข้อย่อย เช่น ลักษณะลำตัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในแต่ ละกลุ่ม และตัวอย่างของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในแต่ละกลุ่ม ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นตามหัวข้อที่ กำหนด – สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบคน้ ข้อมูลตามหวั ข้อท่กี ลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอร์เนต็ – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลทีส่ ืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชกิ ในกลุ่มฟัง รวมท้งั ร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทกุ คนมีความรู้ความเข้าใจทต่ี รงกนั – สมาชกิ กลุม่ ช่วยกันสรปุ ความรู้ท่ไี ด้ทง้ั หมดเปน็ ผลงานของกลมุ่ (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปดิ โอกาส ให้นักเรยี นทุกคนซกั ถามเม่อื มปี ญั หา 3) ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหน้าหอ้ งเรียน (2) นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้ – ยกตัวอย่างลักษณะลำตัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมา 1 กลุ่ม (แนวคำตอบ กลุ่มสัตว์ที่มีรู กลางลำตวั มีลำตวั ออ่ นนมิ่ และมรี กู ลางลำตัว) – ยกตวั อย่างสัตว์ในกลุม่ สัตวไ์ ม่มกี ระดูกสันหลงั มา 1 กลุ่ม (แนวคำตอบ กลมุ่ สตั วท์ มี่ รี กู ลางลำตัว เชน่ แมงกะพรนุ ปะการงั และดอกไม้ทะเล) (3) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยครูเน้นให้นกั เรยี นเข้าใจวา่ สัตว์ไม่มีกระดูก สันหลังเป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงร่างเป็นแกนแข็งภายในลำตัว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจึงมีลำตัวอ่อนนิ่ม และมี ลักษณะเฉพาะที่แตกตา่ งกันในสัตวแ์ ตล่ ะกลุ่ม เราจึงสามารถใช้เป็นเกณฑใ์ นการจำแนกสตั ว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง เป็นกลุ่มได้ 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูเช่ือมโยงความรู้อาเซียน โดยถามนกั เรียนวา่ นักเรยี นรูจ้ ักปะการังหรือไม่ และถ้าต้องดูปะการังต้อง ไปท่ีใด จากนั้นครูให้ความร้เู สรมิ กับนักเรียนว่า ปะการังเปน็ สัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลังในกลุ่มสัตว์ท่ีมีรูกลางลำตัว ทอี่ าศัยในทะเล แต่ที่เราเหน็ ว่าปะการังเปน็ เหมือนก้อนแขง็ เนื่องจากปะการังสร้างหินปูนข้ึนเพื่อป้องกันตัวเอง และเนื่องจากประเทศในอาเซียนส่วนใหญ่มีชายฝั่งติดทะเลจึงเป็นแหล่งปะการังจำนวนมากที่ช่วยสรา้ งรายได้ จากธุรกจิ การทอ่ งเทีย่ วทางทะเลใหก้ บั คนในท้องถิน่ 5) ข้นั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมีขอ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธิบายเพ่ิมเตมิ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจ (2) นกั เรยี นร่วมกันประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกล่มุ ว่ามีปญั หาหรืออุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – ปะการังและดอกไม้ทะเลจำแนกอยใู่ นกล่มุ เดียวกับแมงกะพรนุ เพราะอะไร
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มฟองน้ำ กลุ่มสัตว์ที่มีรูกลางลำตัว และกลุ่มหนอนพยาธิ โดยรว่ มกนั เขยี นเป็นแผนทคี่ วามคิดหรอื ผังมโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. หนังสอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต 2. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 3. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 4. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 5. หนงั สอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรูเ้ รื่องสตั ว์ไม่มี 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย กระดูกสันหลงั 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง การสงั เกตการทำงานกล่มุ วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจชิ้นงานหรอื ภาระงานของ โดยการสังเกตและใช้แบบวัด 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กจิ กรรมฝึกทกั ษะระหว่างเรียน เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบคุ คลหรือรายกลมุ่ โดย 2. ประเมินเจตคตติ อ่ การสงั เกตการทำงานกลมุ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล โดยการสังเกตและใช้แบบวดั เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ 12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไมผ่ า่ นจุดประสงคก์ ารเรยี นร้.ู .................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรียนนไ่ี มผ่ ่าน มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไมผ่ ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรเู้ กิดทักษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั น้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ยงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 35 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง สตั วไ์ ม่มกี ระดกู สันหลัง (2) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พนั ธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธกุ รรมทมี่ ผี ลตอ่ สิง่ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ และววิ ฒั นาการของ สิง่ มชี ีวิต รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วัดชัน้ ปี จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลทรี่ วบรวมได้ (ว 1.3 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทสี่ งั เกตไดข้ องสัตวไ์ ม่มีกระดูกสนั หลงั (K) 2. มีความสนใจใฝ่ร้หู รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ทเ่ี ก่ียวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สือ่ สารและนำความรูเ้ รอื่ งสัตวไ์ ม่มกี ระดกู สันหลังไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงร่างเป็นแกนแข็งภายในลำตัว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจึงมี ลำตวั อ่อนน่มิ และบางชนดิ สร้างโครงร่างแข็งหุ้มลำตัวไวเ้ พ่ือป้องกันอันตราย ซึง่ ลกั ษณะเฉพาะท่ีแตกต่างกันน้ี สามารถใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการจำแนกสัตวไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลังเป็นกลุ่มได้ 5. สาระการเรยี นรู้ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง – กลมุ่ สัตว์ทมี่ ลี ำตวั เป็นปลอ้ ง – กลมุ่ หอย 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน สืบคน้ ขอ้ มูลลักษณะของสตั วไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลัง 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้นักเรียน โดยถามนักเรียนว่า หนอนพยาธิจัดเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเพราะ อะไร (แนวคำตอบ หนอนพยาธไิ ม่มีโครงรา่ งแขง็ เปน็ แกนภายในลำตวั ) 2) นักเรยี นช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั คำตอบของคำถาม เพือ่ เช่อื มโยงไปสู่การ เรยี นรูเ้ รอ่ื ง สตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลัง ข้ันจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นนกั เรียนโดยการถามคำถามว่า นอกจากสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มฟองนำ้ กลุ่มสัตว์ ที่มรี กู ลางลำตวั และกลุ่มหนอนพยาธแิ ล้ว นกั เรยี นรู้จักสตั ว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลังกลุ่มใดอกี บ้าง (แนวคำตอบ สตั ว์ ไมม่ ีกระดูกสนั หลังในกลมุ่ สตั ว์ทีม่ ลี ำตัวเปน็ ปลอ้ งและสัตวไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลงั ในกลุ่มหอย) (2) นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเก่ยี วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยดำเนินการตาม ขั้นตอนดงั นี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์ที่มีลำตัวเป็น ปล้องและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มหอยเป็นหัวข้อย่อย เช่น ลักษณะลำตัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังใน แต่ละกลุ่ม และตัวอย่างของสัตว์ไมม่ กี ระดกู สันหลังในแต่ละกลุ่ม ให้สมาชิกแต่ละกลุม่ ช่วยกันสบื ค้นตามหัวข้อ ทกี่ ำหนด – สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็ – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทกุ คนมีความรคู้ วามเข้าใจท่ตี รงกนั – สมาชิกกล่มุ ช่วยกนั สรุปความรทู้ ีไ่ ดท้ ง้ั หมดเป็นผลงานของกลมุ่ (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด โอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซกั ถามเม่อื มปี ัญหา
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนกล่มุ นำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าห้องเรยี น (2) นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปนี้ – ยกตัวอย่างลักษณะลำตัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมา 1 กลุ่ม (แนวคำตอบ สัตว์ไม่มีกระดูก สันหลงั ในกล่มุ สัตวท์ ี่มีลำตวั เป็นปล้องมีลำตัวอ่อนนิ่มและยาว มีลกั ษณะเป็นปล้องคล้ายวงแหวนต่อกัน และไม่ มีขา) – ยกตัวอย่างสัตว์ในกลุม่ สัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลังมา 1 กลมุ่ (แนวคำตอบ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ในกล่มุ สัตว์ทม่ี ลี ำตวั เป็นปล้อง เช่น ไสเ้ ดอื นดนิ ปลิง และทากดดู เลือด) (3) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นกั เรยี นเข้าใจวา่ สัตว์ไม่มีกระดกู สันหลังเป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงร่างเป็นแกนแข็งภายในลำตัว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจึงมีลำตัวอ่อนนิ่ม และมี ลกั ษณะเฉพาะที่แตกตา่ งกนั ในสัตว์แต่ละกลุ่ม เราจึงสามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการจำแนกสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง เป็นกลุ่มได้ 4) ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูให้นักเรียนเล่นเกมโดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม สืบค้นชนิดของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในแต่ละ กลุ่มให้มากที่สุด จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มบอกชนิดของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังครั้งละ 1 ชื่อ โดยไม่ซ้ำ กัน พร้อมกับระบุว่าจำแนกอยู่ในกลุ่มใด เมื่อแต่ละกลุ่มบอกชื่อครบแล้วให้วนรอบใหม่ กลุ่มใดพูดชื่อได้เป็น กลมุ่ สุดทา้ ยเป็นฝ่ายชนะ (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดสง่ ครู 5) ขั้นประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยงั มขี ้อสงสัย ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นเข้าใจ (2) นักเรยี นร่วมกนั ประเมินการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุม่ ว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – พยาธิไส้เดอื นและไส้เดือนดนิ จำแนกอยู่ต่างกลุ่มกันเพราะอะไร – ทากดูดเลอื ดและหอยทากจำแนกอยู่ต่างกลมุ่ กนั เพราะอะไร ขนั้ สรุป ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ เกี่ยวกับสัตว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั ในกลุ่มสัตว์ที่มลี ำตวั เป็นปล้องและสัตว์ไม่มี กระดูกสนั หลังในกลุ่มหอย โดยรว่ มกนั เขียนเป็นแผนทค่ี วามคดิ หรอื ผังมโนทศั น์
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต 2. หนงั สือเรยี นภาษาตา่ งประเทศ 3. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 4. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 6. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรูเ้ รื่องสัตวไ์ ม่มี 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย กระดูกสนั หลงั 1. ประเมินเจตคติทาง การสังเกตการทำงานกลุ่ม วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 2. ตรวจชิ้นงานหรอื ภาระงานของ โดยการสงั เกตและใช้แบบวัด 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝึกทักษะระหวา่ งเรียน เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเป็น รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ การสังเกตการทำงานกลมุ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวัด เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 36 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง สตั วท์ ่ีมขี าเปน็ ข้อ เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธกุ รรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวฒั นาการของ สง่ิ มชี ีวิต รวมทัง้ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วัดชัน้ ปี จำแนกสตั วอ์ อกเปน็ สตั ว์มีกระดกู สันหลังและสัตวไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั โดยใช้การมกี ระดูกสนั หลังเป็น เกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่รี วบรวมได้ (ว 1.3 ป. 4/3) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บรรยายลักษณะของกล่มุ สัตวท์ มี่ ขี าเป็นข้อได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรอู้ ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ เี่ ก่ียวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกบั ผ้อู ื่นอย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรเู้ รอ่ื งสตั ว์ทม่ี ขี าเป็นขอ้ ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั กลุ่มสัตว์ที่มีขาเป็นข้อเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีลักษณะเฉพาะ คือ ขามีลักษณะเป็นข้อต่อกัน ลำตวั แบ่งเปน็ 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง และมีเปลือกแข็งห้มุ ลำตวั 5. สาระการเรียนรู้ สตั วไ์ มม่ ีกระดกู สนั หลงั – กลุม่ สัตวท์ ่มี ขี าเป็นข้อ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน สังเกตลกั ษณะของแมลง 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1) ครูถามนกั เรียนวา่ นักเรียนรจู้ ักสตั วท์ ีม่ ขี าเป็นขอ้ หรอื ไม่ ยกตัวอย่าง (แนวคำตอบ รจู้ ัก เช่น แมงมุม ตั๊กแตน และมด) 2) นกั เรยี นช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคำตอบของคำถาม เพ่ือเชือ่ มโยงไปสู่การ เรียนรเู้ รือ่ ง สตั ว์ทมี่ ขี าเปน็ ข้อ ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มีข้นั ตอนดงั นี้ 1) ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูนำรูปมดและแมงมุมมาให้นักเรยี นดู และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ลักษณะใดของมดและ แมงมมุ ท่ีแสดงว่าสัตวท์ ้งั 2 ชนิด อยู่ในกลุม่ สัตว์ทม่ี ีขาเป็นข้อ (แนวคำตอบ ลักษณะท่ีแสดงว่ามดและแมงมุมอยู่ ในกลุ่มสัตว์ที่มีขาเป็นข้อ คือ ขามีลักษณะเป็นข้อเชื่อมต่อกันอย่างชัดเจน และลำตัวแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ หัว อก และทอ้ ง) (2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 10 สังเกตลักษณะของแมลง แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตาม ข้ันตอนทีไ่ ด้วางแผนไว้ ดังน้ี – แบ่งกล่มุ นกั เรียน กลมุ่ ละ 5 – 6 คน – นำตวั อยา่ งแมลงสตัฟฟ์ หรอื ลอ่ แมลงโดยใชน้ ้ำหวานให้แมลงมากนิ แล้วจับแมลงใส่ขวด – ใชแ้ วน่ ขยายสังเกตลักษณะของแมลง บันทกึ และวาดรูปแสดงสว่ นประกอบ (2) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดรู อบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ให้นักเรียนทกุ คนซักถามเมือ่ มปี ัญหา 3) ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าห้องเรยี น (2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปน้ี – แมลงจดั เปน็ สัตวป์ ระเภทใด (มหี รอื ไมม่ ีกระดูกสันหลัง) (แนวคำตอบ สตั วไ์ ม่มีกระดกู สันหลงั ) – บอกชอ่ื แมลงท่ีนกั เรยี นรู้จกั มา 3 ชนิด (แนวคำตอบ ผึง้ ผีเสอ้ื และแมลงปอ)
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครเู น้นให้นักเรียนเข้าใจว่า แมลงส่วนใหญ่มี ลำตัวแบง่ เปน็ 3 สว่ น คือ หวั อก และท้อง มีหนวด 2 เสน้ มขี า 6 ขา ลกั ษณะเปน็ ขอ้ เชื่อมตอ่ กนั 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครอู ธิบายเรือ่ งนา่ รู้ แมลงมากมาย โดยใหน้ ักเรียนดูแผนภูมริ อ้ ยละของปริมาณสัตว์ทัง้ โลก สตั ว์ไม่มี กระดูกสนั หลัง และสตั วท์ ีม่ ขี าเป็นข้อ และอธิบายกบั นกั เรยี นวา่ สัตว์ไมม่ กี ระดูกสันหลงั มจี ำนวนมากถึงร้อยละ 96 ของสตั วท์ ้ังโลก และจำแนกเปน็ สตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตวท์ ี่มีขาเป็นข้อมากถึงร้อยละ 85 ของสัตว์ ไม่มกี ระดูกสันหลัง และในจำนวนของสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสตั ว์ท่ีมีขาเปน็ ข้อน้ันแบ่งเป็นแมลงถึงร้อย ละ 74 ของสตั วท์ ่มี ีขาเปน็ ขอ้ (2) ครูให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมเสริมการเรียนรูท้ ี่ 4 สัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตาม ขนั้ ตอนที่ไดว้ างแผนไว้ ดังนี้ – แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ช่วยกันคิด วางแผน และปฏิบัติกิจกรรม ให้สมาชิกของ กล่มุ ออกสำรวจสัตวท์ ่ีอยู่บรเิ วณโรงเรยี น บา้ น หรอื สวนสาธารณะ – สังเกตลกั ษณะเฉพาะของสตั วแ์ ต่ละชนดิ บนั ทกึ ขอ้ มูล – วิเคราะห์แยกชนิดของสัตว์เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ร่วมกัน อภปิ รายในกล่มุ และสรุปผล 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง ที่ยัง ไม่เขา้ ใจหรือยงั มขี ้อสงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพิม่ เตมิ ให้นักเรียนเข้าใจ (2) นกั เรียนร่วมกันประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนกั เรยี น เชน่ – ตะขาบมลี ำตัวเป็นปลอ้ งต่อกนั แต่ไม่จดั อยูใ่ นกลุ่มสตั วท์ ่ีมีลำตวั เปน็ ปล้องเพราะอะไร – เปลือกแข็งทีห่ ุ้มลำตวั แมลงมปี ระโยชน์อยา่ งไร ขั้นสรปุ 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัตว์ที่มีขาเป็นข้อ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผัง มโนทศั น์
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 2) ครูดำเนินการทดสอบหลังเรียนโดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความก้าวหน้า/ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 ของนกั เรยี น 3) ครูเชื่อมโยงเนื้อหาจากบทเรียนนีก้ ับหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการ เรยี นชว่ั โมงตอ่ ไป โดยการใช้คำถามกระตุ้น ดงั นี้ – รอบตัวเรามีวัตถุมากมายที่ทำจากวัสดุต่าง ๆ วัสดุเหล่านั้นมีสมบัติแตกต่างกันหรือไม่ และ สามารถจำแนกเป็นกลุ่มได้หรือไม่ (แนวคำตอบ วัสดุที่แตกต่างกันมีสมบัติแตกต่างกันและสามารถใช้สมบัติท่ี แตกตา่ งกนั เปน็ เกณฑใ์ นการจำแนกวสั ดุเป็นกลุม่ ได)้ 4) ครูมอบหมายให้นักเรยี นไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรยี นช่ัวโมงหน้าเพื่อจัดการเรียนรู้คร้ังต่อไป โดยให้นกั เรียนศึกษาคน้ คว้าลว่ งหนา้ ในหัวข้อสมบัตขิ องวสั ดุ 5) ครูใหน้ กั เรียนเตรยี มประเด็นคำถามทีส่ งสยั มาอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม เพอื่ นำมาอภปิ รายร่วมกัน ในชั้นเรียนครัง้ ตอ่ ไป 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. รูปมดและแมงมมุ 2. ใบกจิ กรรมท่ี 10 สังเกตลกั ษณะของแมลง 3. แผนภูมิรอ้ ยละของปรมิ าณสตั วท์ ง้ั โลก สัตว์ไม่มีกระดกู สันหลงั และสตั วท์ ม่ี ีขาเป็นขอ้ 4. ใบกิจกรรมเสริมการเรียนรูท้ ี่ 4 สัตว์ทอ่ี ย่ใู กลต้ ัว 5. แบบทดสอบหลังเรยี น 6. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 7. ส่อื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 8. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 9. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 11. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทาง 1. ซกั ถามความร้เู ร่ือง 1. ประเมินเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบวัดทกั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สตั ว์ที่มขี าเปน็ ข้อ เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกตและ 2. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดยการสงั เกตการ 2. ตรวจชิน้ งานหรอื ภาระ ใช้แบบวดั เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ ทำงานกลมุ่ งานของกิจกรรมฝึก 2. ประเมินเจตคติตอ่ 3. ประเมนิ ทักษะการแก้ปัญหาโดยการ สังเกตการทำงานกลุ่ม ทักษะระหว่างเรยี น 3. วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคลโดย 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 3. ทดสอบหลังเรยี นโดย การสงั เกตและใช้แบบวดั เจตคติ เป็นรายบุคคลหรอื รายกลมุ่ โดยการ สงั เกตการทำงานกลุ่ม ใชแ้ บบทดสอบหลงั ตอ่ วทิ ยาศาสตร์ เรียน
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นกั เรียนนไ่ี ม่ผา่ น มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรียนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมีความรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 4. นักเรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ........................................................................................................................................ .............. 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ ริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 37 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 เรื่อง การทดสอบกลางปี เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** นกั เรยี นทำแบบทดสอบการทดสอบกลางภาค
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 38 สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง แรงโน้มถว่ ง (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลอ่ื นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วดั ชัน้ ปี ระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งที่มตี อ่ วตั ถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ (ว 2.2 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของแรงโน้มถว่ งได้ (K) 2. มีความสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรูอ้ ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ีเ่ ก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. ส่ือสารและนำความรู้เร่ืองแรงโน้มถ่วงไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ แรงโนม้ ถ่วง คอื แรงดึงดูดระหว่างวตั ถุที่มมี วล แรงโนม้ ถว่ งของโลก คือ แรงที่โลกซึง่ มีมวลมากดงึ ดดู วัตถุท่มี ีมวลเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก 5. สาระการเรยี นรู้ แรงโนม้ ถ่วง 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชวี ติ 8. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน สังเกตการตกของวัตถุ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครดู ำเนนิ การทดสอบก่อนเรียนโดยใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความพร้อม และพ้นื ฐานของนักเรียน
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ข้ันนำเข้าสูบ่ ทเรียน 1) ครถู ามคำถามนักเรยี นเพื่อกระตนุ้ ความสนใจวา่ เมอ่ื นักเรยี นกระโดดขน้ึ สู่อากาศ นกั เรยี นจะตกลง สพู่ ้นื โลกทกุ คร้ังเพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะโลกมีแรงดงึ ดดู ตอ่ วัตถุ) 2) นกั เรียนชว่ ยกนั อภปิ รายและแสดงความคดิ เห็นของคำตอบจากคำถาม เพ่ือเชอ่ื มโยงไปสู่การเรยี นรู้ เร่ือง แรงโนม้ ถว่ ง ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มขี น้ั ตอนดงั นี้ 1) ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแลว้ เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนในกลุม่ นำเสนอข้อมลู เกย่ี วกับแรงโนม้ ถ่วงทคี่ รู มอบหมายใหไ้ ปเรียนร้ลู ่วงหน้าให้เพ่ือน ๆ ในกลมุ่ ฟัง จากน้ันใหแ้ ตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนมานำเสนอข้อมูลหนา้ ห้องเรยี น (2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก ของนักเรียน และถามคำถามเกยี่ วกบั ภาระงาน ดังนี้ – สงิ่ ทีท่ ำใหว้ ตั ถตุ ่าง ๆ ไมล่ อยออกไปนอกโลกคอื อะไร (แนวคำตอบ แรงโน้มถ่วง) – แรงโน้มถว่ งคอื อะไร (แนวคำตอบ แรงดงึ ดดู ระหวา่ งวตั ถุที่มมี วล) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นตั้งประเดน็ คำถามที่นกั เรียนสงสัยจากการทำภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม ซ่งึ ครใู ห้นักเรยี นเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบและแสดงความคิดเห็น (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า โลกมีแรง ดงึ ดดู ต่อวัตถทุ ี่มมี วล และเรยี กแรงดึงดูดระหว่างโลกและวัตถุทม่ี ีมวลว่า แรงโนม้ ถ่วงของโลก 2) ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลมุ่ ละ 5 – 6 คน ปฏบิ ัติกิจกรรมที่ 18 สังเกตการตกของวตั ถุ แตล่ ะกลุม่ ปฏิบัติ กิจกรรมตามขน้ั ตอนทไ่ี ด้วางแผนไว้ ดงั นี้ – ถอื ลูกบอลไวร้ ะดับอก แลว้ ปลอ่ ยลูกบอล สังเกตการตกของลูกบอล บันทึกผลการสงั เกต – กำยางลบด้วยมือขวา เหยียดแขนออกแล้วคว่ำมือ จากนั้นปล่อยยางลบ สังเกตการตกของยางลบ บนั ทึกผลการสงั เกต (2) ครคู อยแนะนำช่วยเหลอื นักเรยี นขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดรู อบ ๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ให้นักเรยี นทุกคนซักถามเม่อื มีปัญหา 3) ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าห้องเรยี น (2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้ – ผลการสังเกตลูกบอลและยางลบเหมือนหรือแตกต่างกันลักษณะใด (แนวคำตอบ ผลการสังเกต เหมอื นกนั คอื เมอ่ื ปลอ่ ยลูกบอลและยางลบ ลกู บอลและยางลบตกลงสพู่ ืน้ โลกเสมอ) – ทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกบอลและยางลบมีลักษณะใด (แนวคำตอบ ลูกบอลและยางลบตกลง ในแนวดิง่ มที ศิ สพู่ ้ืนโลก)
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – จากการปฏิบัติกิจกรรมสรุปว่าโลกมีแรงดึงดูดได้หรือไม่ สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบสรุปว่า โลกมแี รงดึงดดู สงั เกตจากเมอื่ ปลอ่ ยวตั ถอุ ยา่ งอิสระ วัตถตุ กลงสพู่ น้ื โลกเสมอ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า โลกมีแรงดึงดูด วตั ถุต่างๆ ทม่ี มี วลในทิศสูพ่ ืน้ โลกเสมอ 4) ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) ครูอธิบายเกี่ยวกับทิศทางของแรงโน้มถ่วงของโลกและนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบแรงโน้มถ่วงของโลก โดยเนน้ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ แรงโนม้ ถว่ งของโลกมีทศิ เขา้ สู่ศนู ยก์ ลางของโลกและมหี น่วยเป็นนวิ ตนั 5) ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรอื ยงั มขี ้อสงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ (2) นกั เรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุม่ ว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น – แรงทโ่ี ลกดึงดดู วตั ถเุ รียกวา่ อะไร – โลกดงึ ดูดวตั ถใุ นทิศทางใด ขนั้ สรปุ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเก่ียวกับแรงโน้มถ่วง โดยรว่ มกันเขียนเปน็ แผนทค่ี วามคดิ หรือผงั มโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. ใบกิจกรรมที่ 11 สงั เกตการตกของวตั ถุ 3. คูม่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สอื่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 6. หนังสอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรูเ้ ร่ืองแรงโน้มถว่ ง 2. ตรวจช้นิ งานหรอื ภาระงานของ 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ 3. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้ และใชแ้ บบวดั เจตคตทิ าง แบบวัดทักษะกระบวนการ แบบทดสอบก่อนเรยี น วิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกลุม่ และใช้แบบวัดเจตคตติ อ่ 3. ประเมนิ ทักษะการ วิทยาศาสตร์ แกป้ ญั หาโดยการสังเกต การทำงานกลุม่ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏิบตั กิ จิ กรรมเป็น รายบุคคลหรือรายกลุ่มโดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนี่ไมผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) .................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................. ..................................... 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมีเจตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจริยธรรม (A) ......................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรูข้ อง นางอมลสิริ คำฟู แล้วมีความเห็นดงั นี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ลงช่ือ.................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 39 สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 เรอื่ ง แรงโนม้ ถ่วง (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผสู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่อื นที่แบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี ระบุผลของแรงโนม้ ถว่ งท่ีมีต่อวัตถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.2 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของแรงโนม้ ถ่วงได้ (K) 2. สังเกตลักษณะการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุเมื่อตกสู่พ้ืนโลกได้ (K) 3. มีความสนใจใฝ่รูห้ รืออยากรู้อยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ทเี่ กยี่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานรว่ มกับผู้อ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 6. สือ่ สารและนำความรู้เรื่องแรงโน้มถว่ งไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ แรงโนม้ ถว่ ง คือ แรงดงึ ดดู ระหว่างวัตถทุ ่ีมมี วล แรงโน้มถว่ งของโลก คือ แรงท่โี ลกซง่ึ มมี วลมากดึงดดู วัตถุทมี่ มี วลเข้าสูศ่ ูนย์กลางของโลก 5. สาระการเรียนรู้ แรงโนม้ ถว่ ง 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุง่ มั่นในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ช้ินงานหรือภาระงาน สังเกตวัตถุเคล่ือนที่อย่างไร
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น 1) ครูกระตุ้นนักเรียนโดยถามนักเรียนว่า แรงโน้มถ่วงของโลกคืออะไร และมีทิศทางใด (แนวคำตอบ แรงโน้มถว่ งของโลก คอื แรงทีโ่ ลกดึงดูดวตั ถไุ ว้ โดยมีทศิ เขา้ สู่ศนู ย์กลางของโลก) 2) นกั เรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับคำตอบของคำถาม เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การ เรียนรู้เรือ่ ง แรงโนม้ ถว่ ง ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มขี ัน้ ตอนดังน้ี 1) ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูให้นักเรียนลองทายว่าถ้านำวัตถุ 4 ชนิด คือ ใบไม้ ลูกปิงปอง ดินน้ำมัน และเมล็ดถั่วมาปล่อย จากมืออย่างอิสระในระดับอก วัตถุจะมีลักษณะการเคลื่อนที่เหมือนหรือแตกต่างกัน (แนวคำตอบ วัตถุมี ลกั ษณะการเคลื่อนทแ่ี ตกตา่ งกัน แต่จะมีทิศทางเขา้ สูศ่ นู ย์กลางของโลกเหมือนกนั ) (2) นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่ 5 วัตถุเคลื่อนที่อย่างไร แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ ดังน้ี – แบ่งกลมุ่ นกั เรียนเพ่ือสังเกตวัตถชุ นดิ ตา่ งๆ – แต่ละกลุ่มคาดคะเนว่า ถ้ากำวัตถุด้วยมือขวา เหยียดแขนออกแล้วคว่ำมือ จากนั้นปล่อยวัตถุ วัตถุจะมกี ารเคลอื่ นทีล่ กั ษณะใด – ปฏิบัติกิจกรรมโดยปล่อยวัตถคุ ร้ังละ 1 ชนดิ บันทึกผล (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนซกั ถามเมอ่ื มปี ัญหา 3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปนี้ – วัตถุแต่ละชนิดมีลักษณะการเคลื่อนทีเ่ หมือนหรือแตกต่างกันลักษณะใด (แนวคำตอบ วัตถุแต่ ละชนิดมีลักษณะการเคล่ือนที่แตกต่างกัน โดยใบไมเ้ คล่อื นที่ร่อนไปทางซา้ ยและขวาสลบั กันไปจนหยุดเคล่ือนที่ บนพ้นื ลกู ปิงปองและเมล็ดถวั่ ตกลงในแนวดิ่งและกระดอนขน้ึ ลงจนหยดุ เคล่ือนท่บี นพน้ื สว่ นดินน้ำมนั จะตกลง ในแนวด่งิ สู่พื้นและหยดุ เคล่ือนที่ทนั ที) – การเคลอื่ นทีข่ องวตั ถุเกิดจากแรงใด (แนวคำตอบ แรงโนม้ ถ่วงของโลก) – จากการปฏิบัติกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร (แนวคำตอบ เมื่อปล่อยวัตถุจากมือ วัตถุทุกชนิดจะ ตกลงสู่พ้ืนเสมอ) (3) ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูเน้นใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า เมอื่ ปล่อยวัตถุ จากมือ วตั ถแุ ต่ละชนิดจะมลี ักษณะการเคล่อื นท่ีสู่พืน้ โลกแตกตา่ งกนั แต่วัตถทุ กุ ชนิดจะตกลงส่พู ้ืนโลกเสมอ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูเชื่อมโยงความรู้อาเซียน โดยครูใหค้ วามรู้เสริมกับนักเรียนเกี่ยวกับการใชป้ ระโยชน์จากแรงโนม้ ถ่วงของโลกในการผลติ กระแสไฟฟ้าว่า แรงโนม้ ถว่ งของโลกทำใหน้ ำ้ ตกจากท่ีสูงลงสทู่ ต่ี ่ำจงึ นำไปใชป้ ระโยชน์ใน การผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังนำ้ จากเขื่อนได้ ซึ่งในอาเซียนมีหลายประเทศที่ใช้การผลิตกระแสไฟฟา้ จากพลังน้ำลักษณะนี้ และมีการนำกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ไปใช้ในประเทศหรือส่งขายให้กับประเทศเพื่อนบ้าน เพ่อื ความมั่นคงดา้ นพลังงานใหก้ บั ประเทศนั้นๆ เช่น การขายพลงั งานไฟฟ้าของประเทศลาวใหก้ บั ประเทศไทย (2) นกั เรยี นคน้ คว้าคำศัพทภ์ าษาต่างประเทศเกย่ี วกับแรงโนม้ ถ่วง จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศ หรืออนิ เทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพือ่ นในห้องฟงั แล้วคดั คำศพั ท์พร้อมท้ังคำแปลลงสมดุ ส่งครู 5) ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรือยงั มีข้อสงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรยี นเข้าใจ (2) นักเรยี นรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุม่ ว่ามปี ญั หาหรืออุปสรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอย่างไรบา้ ง (3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – เมอ่ื โยนลกู บอลขึน้ ฟ้า ลูกบอลจะตกลงสูพ่ ้ืนโลกเสมอเพราะอะไร – ถ้าโลกไม่มีแรงโน้มถว่ งจะเกิดเหตุการณ์ใด ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เก่ียวกบั แรงโนม้ ถว่ ง โดยรว่ มกนั เขยี นเปน็ แผนทคี่ วามคิดหรือผงั มโนทศั น์ 10. ส่ือการเรยี นรู้ 1. ใบกจิ กรรมเสริมการเรยี นรู้ที่ 5 วตั ถเุ คลือ่ นทอี่ ยา่ งไร 2. หนงั สือเรยี นภาษาตา่ งประเทศหรืออนิ เทอร์เน็ต 3. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความร้เู ร่ืองแรงโน้มถ่วง 1. ประเมินทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชนิ้ งานหรอื ภาระงานของ 1. ประเมนิ เจตคติทาง ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใช้ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล แบบวัดทักษะกระบวนการ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคิดโดย 2. ประเมินเจตคตติ อ่ การสังเกตการทำงานกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั 3. ประเมินทักษะการ เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ แกป้ ญั หาโดยการสงั เกต การทำงานกลุ่ม 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏิบัติกิจกรรมเป็น รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร้.ู .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไมผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 3. นกั เรียนมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ....................................................................................... ............................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 40 สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ปีการศึกษา 2563 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 1 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรอื่ ง ผลของแรงโน้มถว่ ง (1) ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนที่แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตวั ชี้วัดชัน้ ปี 1. ระบุผลของแรงโนม้ ถว่ งที่มีตอ่ วตั ถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.2 ป. 4/1) 2. ใชเ้ ครือ่ งชง่ั สปรงิ ในการวัดน้ำหนักของวัตถุ (ว 2.2 ป. 4/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สังเกตผลของแรงโน้มถว่ งทีม่ ตี อ่ วตั ถุได้ (K) 2. สังเกตการวัดนำ้ หนกั ของวัตถุดว้ ยเครือ่ งชั่งสปรงิ ได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ้หู รืออยากรู้อยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรทู้ เ่ี ก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สอื่ สารและนำความรเู้ ร่ืองผลของแรงโนม้ ถ่วงไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ แรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้วัตถทุ ี่มีมวลตกลงสู่พื้นโลก เราวัดแรงนี้ได้ด้วยการใชเ้ ครือ่ งชั่งสปริง และ เรียกแรงนี้ว่า น้ำหนกั มีหน่วยเป็น นวิ ตัน 5. สาระการเรียนรู้ แรงโนม้ ถ่วง – นำ้ หนักและมวล 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวิต 8. ชิน้ งานหรือภาระงาน สังเกตการวดั แรง 9. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น 1) ครทู บทวนความรู้เกี่ยวกบั แรงโนม้ ถ่วง โดยถามคำถามนักเรยี นวา่ แรงที่โลกกระทำต่อวตั ถเุ รยี กวา่ อะไร (แนวคำตอบ แรงโนม้ ถ่วงของโลก) 2) ครถู ามคำถามเพ่มิ เติมกบั นักเรยี นวา่ เราสามารถวดั แรงท่โี ลกกระทำต่อวัตถุได้หรือไม่ (แนวคำตอบ ได)้ 3) นกั เรียนชว่ ยกันอภิปรายและแสดงความคดิ เห็นของคำตอบจากคำถาม เพ่อื เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ เรอ่ื ง ผลของแรงโนม้ ถว่ ง ข้ันจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มขี ัน้ ตอนดังน้ี 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นนักเรยี นโดยนำรปู หรอื เครือ่ งชง่ั สปรงิ แบบตา่ ง ๆ มาใหน้ ักเรียนดูแล้วถามนักเรยี นว่า เครอ่ื งชัง่ น้ำหนกั เครื่องช่งั สปริงแบบแขวน เคร่ืองช่ังสปริงแบบตา่ งๆ – อุปกรณ์เหล่านีค้ ืออะไร และใช้ประโยชน์ในเร่ืองใด (แนวคำตอบ อุปกรณ์เหล่านี้ คือ เครื่องช่ัง สปรงิ แบบต่างๆ ใชป้ ระโยชน์ในการชง่ั น้ำหนักและมวลของวัตถุ) – อุปกรณ์เหล่าน้สี ามารถวัดแรงทโ่ี ลกดึงดูดตอ่ วตั ถไุ ดห้ รือไม่ (แนวคำตอบ ได้) (2) นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเกยี่ วกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรียน
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องน้ำหนักและมวลจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้ นกั เรียนเข้าใจว่า เราสามารถวัดแรงทโ่ี ลกดงึ ดูดวตั ถุหรือแรงโน้มถ่วงของโลกได้ โดยใชเ้ คร่ืองชัง่ สปริง และเรียก แรงทโี่ ลกดงึ ดดู วัตถุน้ีว่า น้ำหนกั มีหนว่ ยเป็น นิวตัน (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 12 สังเกตการวัดแรง แต่ละกลุ่มปฏิบัติ กจิ กรรมตามข้ันตอนท่ไี ดว้ างแผนไว้ ดงั น้ี – แขวนเคร่ืองชั่งสปริงแบบแขวนในแนวดิ่ง สังเกตตำแหนง่ เขม็ ชบ้ี นเคร่อื งชั่งสปรงิ แบบแขวน – ออกแรงดงึ ขอเกยี่ วของเครื่องชงั่ สปริงแบบแขวนลง สังเกตและบนั ทึกค่าของแรง – แขวนถุงทราย 1 ถุงกับขอเก่ียวของเครอื่ งชงั่ สปริงแบบแขวน สังเกตและบนั ทกึ ค่าของแรงเม่อื ถงุ ทรายอยูน่ ิ่ง – นำวัตถอุ ื่น ๆ มาเก่ียวกับขอเกี่ยวของเครอ่ื งช่งั สปริงแบบแขวน สงั เกตและบนั ทึกค่าของแรงท่ี อ่านได้ (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนซักถามเมือ่ มปี ัญหา 3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหน้าหอ้ งเรียน (2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้ – เมอ่ื แขวนวัตถุแต่ละชนิด เครอื่ งชงั่ สปรงิ แบบแขวนเปล่ียนแปลงลักษณะใด (แนวคำตอบ สปริง ของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนจะยดื ออกทิศทางเดียวกบั แรงโน้มถว่ งของโลกและแสดงค่าท่เี ครื่องวัดได้) – คา่ ท่ีอา่ นได้จากเครอ่ื งชัง่ สปริงแบบแขวนคือค่าของอะไร (แนวคำตอบ คา่ ของแรงดึงดูดของโลก ที่กระทำต่อวัตถุ) – เครื่องชั่งสปริงแบบแขวนวัดขนาดของแรงโน้มถ่วงของโลกท่ีกระทำต่อวัตถุได้หรือไม่ สังเกต จากอะไร (แนวคำตอบ เครอ่ื งชงั่ สปรงิ แบบแขวนวดั ขนาดของแรงโนม้ ถ่วงของโลกได้ โดยสงั เกตจากการท่ีสปริง ของเครื่องชงั่ สปริงแบบแขวนยืดออกเมื่อนำวัตถุไปแขวนเพือ่ แสดงคา่ ท่ีวัดได)้ (3) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ผลการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูเนน้ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจว่า เคร่ืองช่ังสปริง แบบแขวนสามารถวัดขนาดของแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุได้ โดยขนาดของแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุมี หน่วยเปน็ นวิ ตัน 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูอธิบายเกี่ยวกับผลของแรงโน้มถ่วงต่อวัตถุว่า แรงโน้มถ่วงทำให้วัตถุที่มีมวลคงที่เกิดน้ำหนัก น้ำหนกั จงึ หมายถึงขนาดของแรงท่โี ลกกระทำต่อวตั ถุ มหี นว่ ยเป็นนวิ ตนั ส่วนมวลที่มคี ่าคงที่ นัน้ คือ ปรมิ าณ เนื้อสารของวัตถุ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม ดังนั้น เครื่องชั่งน้ำหนักที่เราใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ที่มีหน่วยเป็น กโิ ลกรัม จงึ หมายถงึ เคร่ืองช่งั มวลของวตั ถนุ ั่นเอง (2) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องชั่งสปริงในการวัดมวลหรือน้ำหนัก โดยการวัด มวลหรอื น้ำหนกั แบง่ เป็น 2 กรณี คือ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู • การวัดโดยใช้สมบัติการยืดตัวของสปริง เช่น เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน เมื่อนำวัตถุมาวัด สปริงจะขยายตัว ถ้ามวลหรือน้ำหนักมาก แรงดึงจะมาก สปริงก็จะยืดตัวมาก ทำให้แสดงค่ามวลหรือน้ำหนัก ของวตั ถทุ ี่วัดได้มากขึ้น ระยะยืดของสปรงิ มากข้ึนตามวตั ถทุ ี่มมี วลหรือนำ้ หนกั มากขึ้น • การวัดโดยใช้สมบัติการหดตัวของสปริง เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก เมื่อนำวัตถุมาวัดมวลหรือ น้ำหนัก สปริงจะหดตัว ถ้ามวลหรือน้ำหนักมาก แรงกดจะมาก สปริงก็จะหดตัวมาก ทำให้แสดงค่ามวลหรือ น้ำหนักของวัตถุทว่ี ดั ได้มากขนึ้ สปรงิ หดตวั เม่อื นำวัตถุมาวัดมวล 5) ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เตมิ ใหน้ ักเรียนเข้าใจ (2) นกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรยี น เช่น – เครื่องช่ังสปริงวดั คา่ ใดของวตั ถไุ ด้ – แรงโนม้ ถว่ งของโลกมผี ลต่อวตั ถลุ กั ษณะใด – นำ้ หนักและมวลแตกตา่ งกันเพราะอะไร
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ขน้ั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับผลของแรงโน้มถ่วง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผัง มโนทัศน์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. รปู หรือเคร่อื งช่งั สปริงแบบตา่ ง ๆ 2. ใบกิจกรรมท่ี 12 สงั เกตการวัดแรง 3. รปู การทำงานของเคร่อื งชัง่ สปรงิ 4. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 5. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 6. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 7. หนงั สอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรู้เรื่องผลของแรง โน้มถ่วง 1. ประเมินเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ เปน็ รายบุคคลโดยการสังเกต ทางวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ กิจกรรมฝึกทักษะระหวา่ งเรยี น และใช้แบบวัดเจตคตทิ าง แบบวดั ทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ โดย เป็นรายบคุ คลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกลุม่ และใช้แบบวัดเจตคติตอ่ 3. ประเมินทักษะการ วิทยาศาสตร์ แกป้ ัญหาโดยการสังเกต การทำงานกล่มุ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเปน็ รายบคุ คลหรือรายกล่มุ โดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นน่ไี มผ่ ่าน มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 2. นกั เรยี นมีความร้คู วามเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .......................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั น้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 41 สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ปีการศกึ ษา 2563 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 1 ชวั่ โมง หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรอ่ื ง ผลของแรงโน้มถ่วง (2) ครผู ูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่ือนท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี 1. ระบุผลของแรงโน้มถว่ งท่มี ีตอ่ วตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ (ว 2.2 ป. 4/1) 2. ใชเ้ คร่ืองชั่งสปริงในการวัดนำ้ หนักของวัตถุ (ว 2.2 ป. 4/2) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สังเกตผลของแรงโนม้ ถ่วงทมี่ ีตอ่ วตั ถุได้ (K) 2. สงั เกตการวัดน้ำหนกั ของวัตถดุ ้วยเครอ่ื งชงั่ สปรงิ ได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ูห้ รอื อยากรู้อยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ เี่ ก่ียวกับวิทยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกับผู้อืน่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สื่อสารและนำความรู้เรื่องผลของแรงโนม้ ถ่วงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั แรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้วัตถุที่มีมวลตกลงสู่พืน้ โลก เราวัดแรงนีไ้ ด้ด้วยการใช้เครื่องชั่งสปริง และ เรียกแรงนวี้ ่า น้ำหนัก มีหนว่ ยเปน็ นวิ ตนั 5. สาระการเรียนรู้ แรงโน้มถ่วง – นำ้ หนกั และมวล 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ช้ินงานหรือภาระงาน เรยี งลำดบั มวลของวตั ถุ 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกบั ผลของแรงโน้มถ่วง โดยการให้นักเรียนอธิบายว่า เราสามารถวัดแรง โน้มถ่วงไดโ้ ดยวิธใี ด (แนวคำตอบ โดยใชเ้ คร่อื งชงั่ สปรงิ แบบตา่ งๆ) 2) นกั เรยี นช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั คำตอบของคำถาม เพอ่ื เชอื่ มโยงไปสู่การ เรียนรเู้ ร่อื ง ผลของแรงโนม้ ถ่วง ขน้ั จดั กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึง่ มขี ้ันตอนดังน้ี 1) ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระต้นุ นักเรียนโดยการถามคำถามว่า เราสามารถคาดคะเนน้ำหนักของวัตถุจากขนาดได้หรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ ไม่ได้ เพราะน้ำหนกั ไมไ่ ด้ขึ้นอยู่กบั ขนาด) (2) นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน แต่ละกลุ่มคาดคะเนน้ำหนักวัตถุจำนวน 5 ชิ้นที่ครูนำมา และ เรียงลำดับนำ้ หนักจากนอ้ ยไปหามาก (ให้นักเรียนคาดคะเนจากการมองเทา่ น้ัน) จากนั้นครูชั่งน้ำหนักของวัตถุ พร้อมกับเน้นหน่วยที่ได้ กลุ่มใดเรียงลำดับได้ถูกต้องมากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ (หมายเหตุ: วัตถุที่ครูนำมาต้องมี ขนาดไม่แปรผันกับน้ำหนัก คือ วัตถุที่มีน้ำหนักมากกว่าต้องมีขนาดเล็กกว่าและวัตถุท่ีมีน้ำหนักน้อยกว่าตอ้ งมี ขนาดใหญ่กว่า เพ่ือใหน้ กั เรียนเข้าใจว่าขนาดไมม่ ผี ลตอ่ นำ้ หนักของวตั ถุ) 3) ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (1) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าหอ้ งเรยี น (2) นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ตอ่ ไปนี้ – ขนาดของวตั ถุมผี ลต่อน้ำหนักของวตั ถหุ รือไม่ สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ ขนาดของวัตถุไม่มี ผลตอ่ น้ำหนักของวตั ถุ สังเกตจากวัตถทุ มี่ ขี นาดใหญก่ วา่ มีน้ำหนักน้อยกว่าวัตถุท่มี ขี นาดเล็กกว่า) – ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ น้ำหนักคืออะไร (แนวคำตอบ ปริมาณเนอ้ื สารของวัตถ)ุ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครเู น้นให้นักเรียนเข้าใจว่า น้ำหนักของวัตถุ ข้นึ อยกู่ บั ปริมาณเนื้อสารของวตั ถุเทา่ น้ัน ส่วนขนาดของวตั ถุไมม่ ผี ลตอ่ นำ้ หนกั ของวตั ถุ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) นักเรยี นคน้ ควา้ คำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกีย่ วกับผลของแรงโน้มถว่ ง จากหนังสือเรียน ภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็ และนำเสนอใหเ้ พื่อนในห้องฟัง แลว้ คัดคำศัพท์พร้อมทง้ั คำแปลลงสมุดสง่ ครู 5) ข้ันประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาวา่ จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นกั เรยี นเข้าใจ (2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่มวา่ มีปญั หาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอย่างไรบ้าง (3) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนกั เรยี น เชน่ – ส่งิ ใดมีผลตอ่ นำ้ หนักของวัตถุ – เราวัดนำ้ หนักของวตั ถุได้ดว้ ยวิธใี ด ขนั้ สรปุ ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกับผลของแรงโนม้ ถ่วง โดยรว่ มกนั เขียนเปน็ แผนท่ีความคิดหรือผังมโน ทัศน์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. เคร่ืองช่งั สปรงิ และวัตถุทมี่ ีมวลต่างกนั (ขนาดไม่เท่ากัน) จำนวน 5 ชิน้ 2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรอื อินเทอร์เนต็ 3. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 4. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 6. หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรู้เรื่องผลของแรง โน้มถ่วง 1. ประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะการคิดโดย 2. ตรวจชิ้นงานหรอื ภาระงานของ เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต การสังเกตการทำงานกลุ่ม กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน และใช้แบบวดั เจตคติทาง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ วทิ ยาศาสตร์ ปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรือรายกลุ่มโดย เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต การสงั เกตการทำงานกลุ่ม และใช้แบบวดั เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ........................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ................................. 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 42 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 1 ชวั่ โมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เร่อื ง ความสมั พันธข์ องน้ำหนักและมวล (1) ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนท่แี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี 1. ระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งทม่ี ีต่อวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.2 ป. 4/1) 2. ใชเ้ คร่ืองชัง่ สปริงในการวดั นำ้ หนักของวัตถุ (ว 2.2 ป. 4/2) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สังเกตความสมั พันธข์ องนำ้ หนกั และมวลได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนร้ทู ี่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผูอ้ นื่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรเู้ ร่ืองความสัมพันธข์ องนำ้ หนักและมวลไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั นำ้ หนักและมวลมีความสัมพันธแ์ บบแปรผันกัน คือ เม่ือมวลเพ่มิ ข้ึน น้ำหนักจะเพิ่มขนึ้ 5. สาระการเรยี นรู้ แรงโนม้ ถ่วง – น้ำหนักและมวล 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุง่ มน่ั ในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชีวิต
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน สงั เกตน้ำหนกั และมวล 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน 1) ครูถามคำถามกับนักเรียนว่า ถ้าส้มเขียวหวานมขี นาดผลละ 2 ขีด ส้มเขียวหวานหนัก 1 กิโลกรัม จะมีจำนวนผลแตกต่างจากส้มเขียวหวานหนัก 2 กิโลกรัมลักษณะใด (แนวคำตอบ ส้มเขียวหวานหนัก 1 กิโลกรัม มีจำนวนผลน้อยกวา่ ส้มเขยี วหวานหนกั 2 กโิ ลกรมั ) 2) นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นของคำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การ เรยี นรู้เรอ่ื ง ความสมั พันธข์ องน้ำหนกั และมวล ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มขี ้นั ตอนดงั น้ี 1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตนุ้ นักเรยี นโดยถามคำถามนกั เรยี นดังนี้ – ถ้าวตั ถุมีมวลเพ่ิมข้นึ โลกจะออกแรงดงึ ดดู ต่อวตั ถุมากข้ึนหรอื ไม่ (แนวคำตอบ โลกจะออกแรง ดึงดดู ต่อวัตถุมากข้ึน) – เราใชว้ ธิ ใี ดเพื่อสังเกตว่าน้ำหนักมคี วามสมั พนั ธ์กบั มวลหรอื ไม่ (แนวคำตอบ ใช้เครื่องชั่งสปรงิ แบบแขวนวดั น้ำหนกั ของวตั ถุที่เปลี่ยนแปลง เมือ่ เปลี่ยนแปลงมวลของวตั ถุ) (2) นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องน้ำหนักและมวลจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้ นักเรียนเข้าใจวา่ เมอื่ วัตถมุ มี วลเปลีย่ นแปลงไป โลกจะออกแรงดงึ ดดู วัตถดุ ้วยขนาดทเี่ ปลยี่ นแปลงไป (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 13 สังเกตน้ำหนักและมวล แต่ละกลุ่ม ปฏิบัติกิจกรรมตามข้นั ตอนท่ีไดว้ างแผนไว้ ดังนี้ – แขวนเคร่ืองชั่งสปรงิ แบบแขวนในแนวด่ิง สงั เกตตำแหน่งเข็มชี้บนเครื่องชัง่ สปริงแบบแขวน – แขวนถงุ ทราย 1 ถุงกับขอเกยี่ วของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน สงั เกตและบนั ทึกคา่ ของแรงท่ี อา่ นได้เมอ่ื ถุงทรายอยู่นิ่ง – เพม่ิ จำนวนถงุ ทรายทีม่ ีมวลเท่ากันอีกครั้งละ 1 ถุง จนครบ 3 ถงุ สงั เกตและบนั ทึกผล (3) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนกั เรยี นขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรียนและเปดิ โอกาส ใหน้ ักเรียนทกุ คนซกั ถามเม่อื มปี ญั หา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นกั เรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้ – การเพิ่มจำนวนถงุ ทรายเป็นการเพิ่มมวลหรือไม่ สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ การเพิ่มจำนวน ถุงทรายเป็นการเพิ่มมวล สังเกตได้จากเมื่อถุงทรายเพิ่มจำนวนขึ้น ปริมาณทรายจะเพิ่มขึ้น (ปริมาณเนื้อสาร เพมิ่ ขน้ึ )
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – ค่าที่อ่านได้จากเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนสัมพันธ์กับมวลของถุงทรายลักษณะใด (แนวคำตอบ เมือ่ มวลของถุงทรายเพิ่มขึน้ เครือ่ งช่ังสปริงแบบแขวนจะแสดงค่านำ้ หนกั ทวี่ ัดได้เพ่ิมขึน้ ) – น้ำหนักและมวลของวัตถุมคี วามสมั พันธ์กันอย่างไร (แนวคำตอบ เม่ือมวลของวัตถุมีค่าเพิ่มข้นึ นำ้ หนักของวตั ถุจะเพ่มิ ขน้ึ ) (3) ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปผลการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูเน้นใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจว่า น้ำหนักและมวล มีความสมั พันธ์กนั เม่ือมวลเพ่มิ ข้นึ น้ำหนกั จะมคี า่ เพมิ่ ขึน้ 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูใหน้ ักเรียนออกแบบกิจกรรมสงั เกตความสัมพันธ์ของน้ำหนักและมวลโดยใช้เคร่ืองช่งั สปริงแบบ แขวน 1 เครื่อง เชือก 1 ม้วน และดินนำ้ มัน 1 ก้อน จากนน้ั นำเสนอขน้ั ตอนและผลการสังเกตหน้าห้องเรยี น 5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสัย ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรมกล่มุ วา่ มีปญั หาหรืออปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการปฏิบัติกิจกรรมและการ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนักเรยี น เช่น – ถ้าเพ่ิมเนื้อสารของวัตถจุ ะส่งผลต่อนำ้ หนกั ลกั ษณะใด – น้ำหนกั และมวลมีความสมั พนั ธ์กันลกั ษณะใด ขั้นสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของน้ำหนักและมวล โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคดิ หรือผังมโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกจิ กรรมท่ี 13 สงั เกตน้ำหนกั และมวล 2. เครอ่ื งชง่ั สปริงแบบแขวน 1 เครื่อง เชือก 1 ม้วน และดินน้ำมัน 1 กอ้ น 3. คมู่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองความสัมพันธ์ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ ของน้ำหนักและมวล 1. ประเมินเจตคตทิ าง ทางวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล แบบวดั ทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชนิ้ งานหรือภาระงานของ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวดั ทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหว่างเรียน เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย 2. ประเมนิ เจตคติต่อ การสังเกตการทำงานกลุม่ 3. วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 3. ประเมนิ ทักษะการ โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั แกป้ ัญหาโดยการสังเกต เจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ การทำงานกล่มุ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบัตกิ จิ กรรมเป็น รายบคุ คลหรือรายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลมุ่
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 43 สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ปกี ารศึกษา 2563 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 1 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรอื่ ง ความสัมพันธข์ องนำ้ หนักและมวล (2) ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลอื่ นท่แี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ช้ีวดั ชน้ั ปี 1. ระบุผลของแรงโน้มถว่ งทีม่ ีตอ่ วัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.2 ป. 4/1) 2. ใชเ้ คร่อื งชั่งสปริงในการวดั นำ้ หนักของวตั ถุ (ว 2.2 ป. 4/2) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของน้ำหนักและระยะจากศนู ย์กลางของโลกได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รูห้ รอื อยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนร้ทู ีเ่ ก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผูอ้ ่นื อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรู้เรื่องความสมั พนั ธ์ของน้ำหนักและมวลไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั ระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกมีผลต่อน้ำหนักของวัตถุ โดยมีความสัมพันธ์แบบแปรผกผันกัน คือ น้ำหนักลดลงเมื่อวตั ถุอยู่ห่างจากศูนย์กลางของโลกมากข้ึน 5. สาระการเรยี นรู้ แรงโนม้ ถ่วง – นำ้ หนกั และมวล 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สบื คน้ ข้อมลู ผลของระยะห่างจากศนู ย์กลางของโลกตอ่ น้ำหนักของวตั ถุ 9. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของน้ำหนักและมวลโดยการให้นักเรียนอธิบายว่า น้ำหนักและมวลมคี วามสมั พนั ธ์กนั ลักษณะใด (แนวคำตอบ นำ้ หนกั และมวลมีความสัมพนั ธ์แบบแปรผันกนั ) 2) นักเรียนชว่ ยกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั คำตอบของคำถาม เพ่ือเชือ่ มโยงไปสู่การ เรยี นร้เู ร่ือง ความสมั พันธ์ของน้ำหนกั และมวล ข้นั จดั กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมขี ั้นตอนดังน้ี 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครกู ระตุน้ นักเรียนโดยการถามคำถามว่า นอกจากมวลจะมผี ลต่อน้ำหนักแล้ว มีปัจจัยอ่ืนที่มีผลต่อ น้ำหนักอกี หรอื ไม่ (แนวคำตอบ ระยะห่างจากศูนย์กลางของโลก) (2) นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเก่ียวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับผลของระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกต่อ นำ้ หนักของวัตถโุ ดยดำเนินการตามขั้นตอนดงั นี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อผลของระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกต่อ น้ำหนักของวัตถุเป็นหัวข้อย่อย เช่น ระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกมีผลต่อน้ำหนักของวัตถุหรือไม่ และ ระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกมีผลต่อมวลของวัตถุหรือไม่ ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้ นตามหัวข้อท่ี กำหนด – สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสบื ค้นข้อมูลตามหัวข้อทก่ี ลุ่มของตนเองรับผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ – สมาชกิ กลุม่ นำข้อมูลทสี่ บื คน้ ได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมท้ังร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดว่าสมาชกิ ทกุ คนมีความรู้ความเข้าใจทีต่ รงกนั – สมาชกิ กล่มุ ช่วยกนั สรปุ ความรูท้ ี่ไดท้ ้ังหมดเปน็ ผลงานของกลุ่ม (2) ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลอื นักเรยี นขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทกุ คนซกั ถามเมอื่ มีปัญหา 3) ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนกล่มุ นำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปน้ี – ระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกมีผลต่อน้ำหนักของวัตถหุ รือไม่ ลักษณะใด (แนวคำตอบ มีผล ตอ่ น้ำหนัก กลา่ วคือเมื่อวตั ถอุ ยหู่ ่างจากศนู ยก์ ลางของโลกมากขน้ึ น้ำหนกั ของวัตถจุ ะลดลง) – ระยะห่างจากศูนย์กลางของโลกมีผลต่อมวลของวัตถุหรือไม่ ลักษณะใด (แนวคำตอบ ไม่มีผล ตอ่ มวลของวัตถุ)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 481
Pages: