แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การนำความร้อนไปใชใ้ นการทำวสั ดหุ รือส่งิ ของเครื่องใช้ตา่ งๆ 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรยี น 1) ครนู ำถว้ ยแกว้ ถว้ ยพลาสตกิ และถ้วยสเตนเลส มาให้นกั เรียนดู แล้วถามนักเรยี นว่า – นักเรียนจะเลือกถ้วยชนิดใดไปใส่นำ้ ร้อน เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ ถ้วยพลาสติก เพราะถ้วย พลาสติกเป็นวัสดุท่ไี ม่ยอมให้ความรอ้ นผา่ น) – การนำความร้อนเกดิ ได้กับวสั ดใุ ดบา้ ง (แนวคำตอบ เหล็ก อะลมู เิ นียม และสเตนเลส) 2) นกั เรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั คำตอบของคำถาม เพอ่ื เชอ่ื มโยงไปสู่การ เรียนรูเ้ รื่อง สมบัตขิ องวัสดดุ ้านการนำความรอ้ น ขั้นจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึง่ มขี ั้นตอนดังนี้ 1) ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูถามคำถามนกั เรียนเพอ่ื กระตุ้นความสนใจ เชน่ – วัสดุที่เป็นตัวนำความร้อนเป็นวัสดุจำพวกใด ได้แก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ โลหะ เช่น เหล็ก อะลมู เิ นยี ม และสแตนเลส) – วัสดุทเี่ ปน็ ฉนวนความร้อนไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง (แนวคำตอบ ไม้ ผา้ ยาง โฟม และพลาสตกิ ) (2) นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (1) นักเรียนศึกษาตัวนำความร้อนและฉนวนความร้อน ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ป. 4 (2) แบง่ กล่มุ นกั เรยี น กลมุ่ ละ 5 – 6 คน สบื ค้นขอ้ มลู เก่ียวกับการนำความร้อนไปใช้ในการทำวัสดุหรือ สิ่งของเคร่อื งใชต้ ่างๆ โดยดำเนินการตามขั้นตอนดงั น้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อการนำความร้อนไปใช้ในการทำวัสดุหรือ สิ่งของเครื่องใช้ตา่ งๆ เป็นหัวข้อย่อย เช่น การออกแบบกระทะหรือหม้อหุงข้าว เตารีด และกระติกน้ำร้อน ให้ สมาชิกแตล่ ะกลุม่ ช่วยกนั สบื ค้นตามหัวขอ้ ทกี่ ำหนด – สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อท่ีกลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ – สมาชกิ กลุ่มนำข้อมลู ท่สี บื ค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทง้ั ร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทกุ คนมคี วามรคู้ วามเข้าใจทตี่ รงกนั – สมาชกิ กลุ่มช่วยกนั สรปุ ความรู้ทไ่ี ด้ทงั้ หมดเปน็ ผลงานของกล่มุ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ให้นกั เรยี นทุกคนซกั ถามเม่อื มีปัญหา 3) ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ – กระทะหรือหมอ้ นยิ มทำจากวสั ดุชนดิ ใด (แนวคำตอบ สเตนเลสหรืออะลูมเิ นยี ม) – เพราะเหตใุ ดจงึ นิยมทำดา้ มจับของกระทะหรือหม้อจากพลาสติก (แนวคำตอบ เพราะพลาสติก เป็นฉนวนความรอ้ น ซง่ึ ไม่ยอมใหค้ วามรอ้ นผ่านได้) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุที่ใช้ทำ กระทะหรือหม้อ เช่น สเตนเลสหรืออะลูมิเนียม เป็นตัวนำความร้อน และวัสดุที่ใช้ทำด้ามจับส่วนมากทำจาก พลาสตกิ ซงึ่ เป็นฉนวนความรอ้ น 4) ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูยกตัวอย่างชนิดของวัสดุ เช่น ไม้ ผ้า เหล็ก และอะลูมิเนียม แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าเป็น ตวั นำความรอ้ นหรอื ฉนวนความร้อน (2) ครูอภิปรายเกี่ยวกับตารางค่าการนำความร้อนของวัสดุบางชนิดที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ดงั ตอ่ ไปนี้ ชนดิ ของวสั ดุ คา่ การนำความรอ้ นของวัสดุ ชนิดของวสั ดุ คา่ การนำความรอ้ นของวสั ดุ (วัตต/์ เมตร × เคลวนิ ) (วตั ต์/เมตร × เคลวิน) เงนิ 427.0 เหล็ก 79.5 ทองแดง 397.0 ตะกั่ว 34.7 ทอง 314.0 แก้ว 1.1 อะลมู เิ นียม 238.0 ไม้ 0.04–0.4 ทองเหลือง 108.0 หมายเหตุ เคลวนิ เป็นหน่วยวัดอณุ หภูมิ โดย เคลวนิ (K) = องศาเซลเซยี ส (C˚) + 273 5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยังมขี อ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพมิ่ เติมให้นักเรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรมกล่มุ วา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – การนำความรอ้ นหมายถึงอะไร – วสั ดุทีย่ อมให้ความร้อนผา่ นไดด้ ีเรยี กว่าอะไร – วสั ดุที่ไมย่ อมใหค้ วามรอ้ นผ่านเรียกว่าอะไร
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ข้นั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านการนำความร้อน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคดิ หรอื ผงั มโนทศั น์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. ถ้วยแกว้ ถ้วยพลาสติก และถ้วยสแตนเลส 2. หนังสอื วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็ 3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 4. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 6. หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ซกั ถามความรูเ้ รื่อง สมบตั ิของ จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย วัสดดุ า้ นการนำความร้อน การสังเกตการทำงานกลุ่ม 1. ประเมินเจตคติทาง 2. ตรวจชน้ิ งานหรอื ภาระงานของ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กจิ กรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรียน โดยการสังเกตและใช้แบบวดั ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเปน็ เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรือรายกลมุ่ โดย การสังเกตการทำงานกลมุ่ 2. ประเมินเจตคตติ ่อ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรียนน่ไี ม่ผ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ .................................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ...................................................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ......................... 4. นักเรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 61 สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรือ่ ง การนำความร้อน (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 2. ตัวช้ีวัดชน้ั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความร้อน และการนำไฟฟา้ ของวัสดุไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ผา่ นกระบวนการออกแบบช้นิ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปล่ยี นความคดิ กับผู้อน่ื โดยการอภปิ รายเกีย่ วกับสมบตั ทิ างกายภาพของวสั ดุอย่างมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายและเปรยี บเทียบสมบตั ขิ องวสั ดุด้านการนำความรอ้ นได้ (K) 2. ระบุวัสดทุ ่ีเปน็ ตัวนำความร้อนและฉนวนความรอ้ นได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรู้อยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่เี กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 5. การทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 6. ส่อื สารและนำความรเู้ รื่องสมบัติของวัสดุด้านการนำความรอ้ นไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั วัสดุ 2 ชนิดที่มีอุณหภูมิต่างกัน เมื่อนำมาสัมผัสกันจะเกิดการถ่ายโอนความร้อนให้แก่กัน วัสดุที่ยอม ใหค้ วามร้อนผ่านไดด้ ี เรยี กวา่ ตัวนำความร้อน สว่ นวัสดุท่ีไมย่ อมให้ความรอ้ นผ่าน เรยี กว่า ฉนวนความรอ้ น 5. สาระการเรยี นรู้ สมบตั ิของวัสดุ – การนำความร้อน 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน สงั เกตสมบัตดิ า้ นการนำความร้อนของวัสดุ 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเขา้ ส่บู ทเรียน 1) ครนู ำรปู คนกำลังรีดผ้ามาให้นักเรยี นดู แลว้ ถามคำถามกบั นกั เรยี นว่า – เตารีดรีดผ้าให้เรียบได้เพราะอะไร (แนวคำตอบ มีการถ่ายโอนความร้อนจากเตารีดสู่ผ้าจึงทำ ใหผ้ า้ เรียบ) – คนรีดผ้าจับเตารีดไดโ้ ดยไม่รูส้ ึกร้อนเพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะบริเวณที่จบั ทำจากวสั ดุที่ ไม่นำความรอ้ นจงึ ไม่ทำให้ร้สู กึ ร้อน) 2) นักเรียนชว่ ยกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั คำตอบของคำถาม เพือ่ เช่อื มโยงไปสู่การ เรียนรเู้ ร่อื ง สมบตั ิของวัสดุดา้ นการนำความรอ้ น ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มขี ้นั ตอนดังนี้ 1) ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูถามคำถามนักเรยี นเพ่อื กระตุน้ ความสนใจ เช่น – การนำความร้อนของวัสดุคืออะไร (แนวคำตอบ สมบัติที่แสดงถึงการถ่ายโอนความร้อนจาก บรเิ วณท่ีมอี ุณหภูมิสงู ไปสูบ่ รเิ วณท่มี อี ุณหภูมติ ่ำกวา่ ) – วัสดทุ ่ีนำความรอ้ นได้มักมีสถานะใด (แนวคำตอบ ของแข็ง) (2) นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 20 สังเกตสมบัติด้านการนำความร้อนของวัสดุแต่ละกลุ่ม ปฏิบตั กิ ิจกรรมตามขน้ั ตอนทีไ่ ด้วางแผนไว้ ดังนี้ – แบ่งกลมุ่ นักเรียน กล่มุ ละ 5 – 6 คน – แต่ละกลุม่ นำเทียนไขมาจุดไฟ หยดน้ำตาเทยี นลงบนแท่งแกว้ และแทง่ เหล็กทีเ่ ตรียมไว้ 4 หยด โดยใหแ้ ตล่ ะหยดมีระยะหา่ งเทา่ ๆ กัน ท้ิงไว้สักครู่เพอ่ื ใหห้ ยดน้ำตาเทียนแข็งตวั – ติดต้งั แทง่ แกว้ และแทง่ เหลก็ เข้ากบั ท่จี บั หลอดทดลอง โดยใหอ้ ย่ใู นแนวระดับ – ตั้งตะเกียงแอลกอฮอล์ไว้ที่ปลายแท่งแก้วและแท่งเหล็ก ดังรูป จุดไฟ สังเกตและบันทึกผลที่ เกิดข้นึ (ควรใช้เวลาในการให้ความรอ้ นกบั แท่งแกว้ และแท่งเหล็กเท่าๆ กัน)
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู หยดนำ้ ตาเทยี น แท่งแกว้ แท่งเหลก็ หยดนำ้ ตาเทยี น การทดสอบการนำความร้อนของวสั ดุ (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครเู ดนิ ดรู อบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทุกคนซกั ถามเมือ่ มีปัญหา 3) ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าห้องเรียน (2) นกั เรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – เพราะเหตุใดจึงใช้หยดน้ำตาเทียนในการสังเกต (แนวคำตอบ เพราะหยดน้ำตาเทียนจะ หลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนที่ส่งผ่านมายังแท่งแก้วและแท่งเหล็ก ถ้าวัสดุชนิดใดนำความร้อนได้ดีกว่า น้ำตาเทยี นบนวสั ดุชนิดน้นั ก็จะหลอมเหลวก่อน) – เมื่อได้รับความร้อน หยดน้ำตาเทียนบนแท่งแก้วและบนแท่งเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่าง กันหรือไม่ ในลักษณะใด (แนวคำตอบ แตกต่างกัน หยดน้ำตาเทียนบนแท่งเหล็กหลอมเหลวจนหมดและหยด ลงพ้ืน ส่วนนำ้ ตาเทียนบนแท่งแก้วหลอมเหลวเลก็ น้อย บางหยดไม่เกิดการเปลย่ี นแปลง) – วัสดุชนิดใดนำความร้อนได้ดีที่สุด สังเกตได้จากอะไร (แนวคำตอบ โลหะ สังเกตได้จากเมื่อให้ ความรอ้ นท่ีวสั ดุสว่ นหนึ่ง แต่สว่ นท่ีเหลือก็ได้รับความร้อนด้วยเชน่ กัน) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุแต่ละชนิด นำความร้อนได้แตกต่างกัน วัสดุที่ยอมให้ความร้อนผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนำความร้อน ส่วนวัสดุที่ไม่ยอมให้ ความร้อนผ่าน เรียกว่า ฉนวนความร้อน ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า เมื่อวัสดุ 2 ชนิดที่มีอุณหภูมิต่างกันมา สมั ผัสกนั ความร้อนจะถา่ ยโอนจากวสั ดทุ ม่ี ีอุณหภูมสิ งู ไปสู่วัสดุท่ีมอี ุณหภูมิตำ่ กวา่ 4) ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) นักเรียนสืบค้นข้อมูล เรื่อง การถ่ายโอนความร้อน ซึ่งมี 3 วิธี คือ การนำความร้อน การพาความ ร้อน และการแผ่รังสคี วามร้อน ในห้องสมดุ หรืออนิ เทอร์เน็ต นำข้อมูลทีไ่ ดม้ าจัดปา้ ยนิเทศให้เพื่อน ๆ ได้ทราบ เพอ่ื แลกเปลีย่ นเรยี นร้กู นั (2) นกั เรยี นค้นควา้ คำศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเก่ยี วกบั สมบตั ิของวัสดุด้านการนำความร้อน จากหนังสือ เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลง สมดุ สง่ ครู
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 5) ข้ันประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เขา้ ใจหรอื ยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจ (2) นกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลุม่ ว่ามปี ญั หาหรืออุปสรรคใดและได้แก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – หลกั การของการนำความรอ้ นคืออะไร – วัสดทุ ่เี ป็นตัวนำความร้อนและฉนวนความร้อนได้แก่อะไร ขน้ั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านการนำความร้อน โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรือผงั มโนทศั น์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. รปู คนกำลงั รดี ผ้า 2. ใบกิจกรรมที่ 20 สงั เกตสมบัติด้านการนำความรอ้ นของวัสดุ 3. หอ้ งสมดุ หนงั สอื เรียนภาษาตา่ งประเทศ หรืออินเทอรเ์ น็ต 4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 5. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 6. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 บริษัท 7. หนงั สอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 บริษัท 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรูเ้ รื่อง สมบตั ิของ จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ วสั ดดุ ้านการนำความร้อน ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบ 1. ประเมินเจตคติทาง วดั ทักษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชิน้ งานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล วทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น โดยการสังเกตและใช้แบบวัด เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ โดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม 2. ประเมินเจตคติต่อ วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 3. ประเมินทักษะการ โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั แกป้ ญั หาโดยการสงั เกตการ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเป็น รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลุม่
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนี่ไมผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) .................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................. ..................................... 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมีเจตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ......................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยังไม่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 62 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื ง กิจกรรมสะเตม็ ศึกษา (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบตั ขิ องสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 2. ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้าของ วัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำ ความร้อน และการนำไฟฟ้าของวสั ดุไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายและประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากกิจกรรมสะเตม็ ศึกษาได้ (K) 2. อธบิ ายและปฏิบตั ิตามข้ันตอนของกระบวนการสะเตม็ ศึกษาได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ หู้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. ส่อื สารและนำความรู้เร่ืองกิจกรรมสะเต็มศึกษาไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั คำวา่ “สะเต็ม” เกิดจากการนำความรู้ 4 สาขา คือ S (Science) หมายถงึ วทิ ยาศาสตร์ T (Technology) หมายถึง เทคโนโลยี E (Engineering) หมายถงึ วศิ วกรรมศาสตร์ และ M (Mathematics) หมายถึง คณิตศาสตร์ มาเรียนรู้ร่วมกัน สะเต็มศึกษาเป็นการเรียนรู้ที่ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี มาแก้ปัญหาโดยผ่านกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม) เพ่อื สร้างชนิ้ งานทีส่ ร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ 5. สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสะเตม็ ศึกษา – ความหมายของสะเต็มศึกษา – ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากกิจกรรมสะเตม็ ศึกษา – กระบวนการออกแบบสิง่ ประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม)
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สบื คน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั ข้ันตอนในกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน 1) ครูนำสถานการณ์ตวั อย่าง เร่อื ง โคมเทยี นบังลม ในหนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป. 4 มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ตงั้ คำถามถามนักเรยี นดังนี้ – นกั เรียนคดิ ว่าจะใชว้ ิธีการใดในการจัดการกบั สถานการณ์ตัวอย่างน้ี 2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบของคำถาม โดยครูชี้แนะและอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันบางสถานการณ์ไม่สามารถแก้ไขหรือตอบสนองได้ด้ วยความรู้เดิมหรือ ความรู้จากการสืบค้นเพียงอย่างเดียว แต่ต้องอาศัยการดำเนินการอย่างเป็นระบบแบบแผนและเป็นขั้นตอน เพอื่ เชื่อมโยงไปสกู่ ารเรียนรู้เร่ือง กจิ กรรมสะเต็มศึกษา ขนั้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มขี น้ั ตอนดังน้ี 1) ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครนู ำสถานการณต์ วั อยา่ ง เรอ่ื ง โคมเทยี นบงั ลม ในหนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป. 4 มาใหน้ ักเรยี นดอู ีกครงั้ แลว้ ต้งั คำถามถามนกั เรียนดังนี้ – จากสถานการณ์นักเรียนพบปญั หาหรือไม่ – นักเรียนจะแกป้ ัญหานี้อย่างไร – นักเรียนมวี ธิ หี รือข้นั ตอนอยา่ งไรในการแก้ปญั หาน้ี (2) นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษากิจกรรมสะเต็มศึกษาในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ป. 4 โดยครู ช่วยอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ คำว่า “สะเต็ม” มาจากการนำความรู้ 4 สาขา คือ S หมายถึง วิทยาศาสตร์ T หมายถึง เทคโนโลยี E หมายถงึ วิศวกรรมศาสตร์ และ M หมายถงึ คณิตศาสตร์ มาเรยี นร้รู ่วมกัน สะเต็มศึกษา จึงเป็นการเรียนรู้ที่ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี มาแก้ปัญหาโดยผ่านกระบวนการ ออกแบบส่ิงประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม) เพ่ือสรา้ งชิ้นงานที่สร้างสรรค์และเกดิ ประโยชน์ ใน การปฏิบัติกิจกรรมสะเต็มศึกษานักเรียนจะได้พัฒนาความสามารถด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น 1. การแก้ปัญหา 2. ความคิดสร้างสรรค์ 3. การประดิษฐ์ 4. ความเชื่อมั่นตนเอง 5. การคิดอย่างมีเหตุผล และ 6. ความรู้ทาง เทคโนโลยี ซึ่งการปฏิบัติกิจกรรมสะเต็มศึกษามีขั้นตอนในการปฏิบัติอย่างเป็นระบบที่เรียกว่า กระบวนการ ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม: Engineering Design Process) ซึ่งประกอบด้วย 6 ข้นั ตอน ดังน้ี 1. กำหนดปัญหา เป็นการทำความเข้าใจปัญหาและความท้าทายจากสถานการณ์อย่างละเอียด เพ่ือ พจิ ารณาเลอื กปัญหาทตี่ ้องการหรือทสี่ ำคัญทส่ี ุด (พิจารณาได้จากผลเสีย ความเร่งดว่ น และผลกระทบในระยะ ยาว) แลว้ กำหนดเปน็ ปญั หาซึง่ จะนำไปสู่การสร้างชน้ิ งานหรือวธิ ีการในการแกป้ ัญหาต่อไป การกำหนดปัญหามี แนวทางการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. รวบรวมปัญหาหรอื ความต้องการท่เี กดิ ข้ึน 2. คัดเลอื กปัญหาหรอื ความตอ้ งการทต่ี อ้ งการหาคำตอบ 3. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาหรือความต้องการ เพื่อกำหนดสิ่งที่เป็นปัญหาหรือความตอ้ งการท่ี แท้จรงิ 4. กำหนดปญั หาเป็นประโยคคำถามทส่ี อดคล้องกบั ปญั หาหรือความตอ้ งการท่ีแทจ้ รงิ 5. ศึกษาเอกสารแล้วคาดการณ์วิธีการแก้ปัญหาของกิจกรรมที่เหมาะสมภายใต้ข้อจำกัดเพื่อหา วธิ ีการแก้ปญั หา ซงึ่ การคาดการณต์ ้องอาศัยความรู้เดิมเปน็ พืน้ ฐาน 6. ประเมินปัญหาภายใต้ข้อจำกัดโดยใช้เกณฑ์ในการประเมิน เช่น ความต้องการที่เกิดขึ้นจริง ความเปน็ ไปไดใ้ นการทำกิจกรรมภายใตข้ ้อจำกัดท่ีมอี ยู่ เชน่ ความสนใจ งบประมาณ เวลา และสถานที่ 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหาจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ การรวบรวมข้อมูลที่ครอบคลุมจะทำให้สามารถสรุปวิธีการแก้ปัญหาได้ ครบถว้ นสมบรู ณ์ 2.1 ศึกษาข้อมูลโดยการวเิ คราะห์ปัญหาหรือความตอ้ งการจากการตอบคำถามตอ่ ไปนี้ – ปญั หานคี้ ืออะไร – ปัญหานีเ้ กิดข้นึ เม่ือใด – ปัญหาน้เี กิดกบั ใคร – เพราะเหตใุ ดจึงต้องแกป้ ัญหาน้ี – ปัญหานีเ้ กดิ ข้นึ ท่ไี หน – จะแกป้ ัญหาหรือตอบสนองความต้องการนี้อย่างไร 2.2 คน้ ควา้ และรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกบั แนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี จาก แหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกับชน้ิ งานด้วยวธิ กี ารดังน้ี – อภิปรายถึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบ สงิ่ ประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม) ที่ตอ้ งใชใ้ นการแก้ปัญหา – ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นด้วยวิธีการที่เหมาะสมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น การ สำรวจบริเวณแหล่งชุมชน บ้าน โรงเรียน การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตหรือห้องสมุด การสอบถาม ผปู้ กครอง เพ่อื น หรือผ้รู ู้
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สำรวจวัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ว่ามีอะไรบ้าง วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของวัสดุ อุปกรณ์ที่นำมาใช้ เพ่ือสร้างทางเลอื ก 2.3 วิเคราะห์ พิจารณา และเปรียบเทียบทางเลือกที่สามารถแก้ปัญหาและได้สิ่งที่ต้องการที่ดี ที่สดุ และเหมาะสมที่สดุ จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้และข้อจำกดั ที่มี และตดั สนิ ใจเลอื กทางเลือกนั้น 2.3.1 กำหนดหวั ขอ้ หวั ขอ้ คือ ใจความสำคญั ทท่ี ำให้ทราบปัญหา ประเภท วิธกี ารดำเนินการ และขอบเขตของ กจิ กรรม ทำให้ผอู้ า่ นทราบภาพรวมว่าสอดคลอ้ งกบั ความสนใจของผู้อ่านหรือไม่ 2.3.2 กำหนดวตั ถุประสงค์ การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์มีแนวทางการปฏบิ ัติ ดังนี้ 1) ศึกษาข้อมลู เอกสารต่าง ๆ แลว้ คาดคะเนสิ่งทต่ี อ้ งการจากกิจกรรม 2) จำแนกสิ่งที่ต้องการเป็น 2 กลุ่ม คือ สิ่งที่ต้องเกิดขึ้น (must) หมายถึง สิ่งที่บ่งบอก ความสำเรจ็ ของกิจกรรม และส่งิ ทีอ่ าจเกิดขนึ้ (want) หมายถงึ ส่งิ ทอี่ าจเกิดขนึ้ หรอื ไม่เกดิ ขึ้นก็ได้ 3) ระบวุ ิธีการดำเนนิ การหรอื ลำดบั ของวัตถุประสงคต์ ามลำดับของปญั หาหรือลำดับของวตั ถุประสงค์ 2.3.3 กำหนดประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คือ สิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากกิจกรรม เช่น ความรู้ที่ได้ วิธีการ หรือสิ่งประดิษฐซ์ ึ่งอาจเกยี่ วข้องกับตนเอง ชมุ ชน หรือส่งิ แวดลอ้ มการกำหนดประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับมีแนว ทางการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1) กำหนดผลของวตั ถปุ ระสงค์ท่ีอาจเกิดขึ้นเป็นประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั 2) คาดการณ์วา่ จะเกิดประโยชนต์ อ่ ตนเอง ชมุ ชน และสงิ่ แวดล้อมอยา่ งไร 3) เรยี งลำดบั ตามวตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรมหรือเรยี งลำดับตามความสำคัญ 2.3.4 กำหนดขอบเขตของกิจกรรมการกำหนดขอบเขตของกจิ กรรมมแี นวทางการปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) สำรวจงบประมาณทีใ่ ช้ 2) กำหนดเวลาที่ใช้ 3) กำหนดสิ่งที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินการหรือสิ่งที่ทำให้การดำเนินการ คลาดเคลอ่ื น 4) ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั กิจกรรม 3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา เปน็ การประยกุ ต์ใชข้ ้อมลู และแนวคิดท่ีเกีย่ วขอ้ งเพ่อื การออกแบบชนิ้ งาน
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3.1 คำนึงถึงทรัพยากรและข้อจำกัดที่มีว่ามีอะไรบ้าง เช่น วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ และ ระยะเวลา 3.2 ถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่างโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ี คน้ คว้าได้ 4. วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หา เป็นการกำหนดลำดบั ขัน้ ตอนย่อยของการสร้างช้นิ งานหรือวิธีการ แลว้ ลงมอื ปฏิบตั ิเพ่ือสร้างชนิ้ งานหรอื พฒั นาวธิ กี ารขนั้ ตอน 4.1 เขียนลำดับขน้ั ตอนยอ่ ยของการทำงานเพ่ือใหส้ รา้ งชน้ิ งานไดต้ รงตามท่ีออกแบบไว้ 4.2 นำเสนอการออกแบบ 4.3 แบง่ หน้าท่กี ารทำงานในกลมุ่ แล้วลงมือสร้างช้นิ งานตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการหรือชิ้นงาน เป็นการทดสอบและประเมินผลชิ้นงาน หรือวิธีการ โดยผลท่ีได้สามารถนำมาปรบั ปรุงและพัฒนาการแก้ปัญหาได้อยา่ งเหมาะสมท่สี ุด 5.1 ทดสอบ ทดสอบชิน้ งานท่ีไดว้ า่ สอดคล้องตามท่ีออกแบบไว้หรือไม่ 5.2 ประเมินผล ตรวจสอบชิ้นงานว่ามขี ้อบกพร่องอยา่ งไร 5.3 ปรบั ปรงุ แก้ไขชิ้นงานจนกระท่งั ได้ช้ินงานตรงตามความต้องการ 6. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือชิ้นงาน เป็นการนำเสนอแนวคิดและขั้นตอนการ แก้ปญั หาของการสร้างชน้ิ งานการพัฒนาวิธกี ารให้ผู้อ่ืนเข้าใจ รวมท้ังข้อเสนอแนะเพ่ือใหเ้ กิดการพัฒนาต่อไปใน อนาคต ซ่งึ มหี ลายวธิ ี เช่น พดู จัดปา้ ยนิเทศ ทำสมดุ ภาพ และการสาธติ (2) ครูนำอภิปรายกับนักเรียนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมสะเต็มศึกษา เพื่อให้ นกั เรยี นได้ข้อสรปุ ร่วมกันว่า เม่ือนักเรียนได้เรียนรู้ทฤษฎีและกฎต่างๆ ผา่ นการปฏิบตั ิกิจกรรมสะเต็มศึกษาจะ ทำให้รู้และเขา้ ใจถงึ ศาสตร์ทัง้ 4 สาขามากย่ิงขนึ้ รวมถึงไดพ้ ฒั นาความสามารถในดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา คือ สามารถกำหนดปัญหา ออกแบบ ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล และใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ช่วยในการแก้ปัญหาและค้นหาคำตอบได้ ด้วยตนเอง 2. ความเปน็ ผมู้ ีความคิดสร้างสรรค์ คือ สามารถสร้างสรรคโ์ ดยใชว้ ิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยเี ป็นหลกั ในการออกแบบระบบทางวิศวกรรมได้ 3. ความสามารถในการประดิษฐ์ คือ สามารถออกแบบการทดลองและออกแบบซ้ำโดยการนำ ความรทู้ ้ัง 4 สาขามาใชอ้ อกแบบเพ่อื นำไปส่กู ารนำไปใช้ได้จริง 4. ความเชื่อมั่นในตนเอง คือ สามารถกระตุ้นตนเองเพื่อพัฒนาความรู้ ทำให้เกิดความเชื่อมั่นใน ตนเองในการทำงาน 5. ความคิดอย่างมีเหตุผล คือ สามารถเข้าใจเหตุและผลผ่านการฝึกทำกิจกรรมและออกแบบ ส่งิ ประดษิ ฐต์ า่ ง ๆ 6. ความรทู้ างเทคโนโลยี คอื สามารถนำความร้ทู างเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (3) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์และ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากกจิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษา โดยดำเนินการตามข้ันตอนดงั นี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม) และประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมสะเต็มศึกษา เป็นหัวข้อย่อย เช่น สะ เต็มศึกษา กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม และประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากกิจกรรมสะเตม็ ศึกษา ให้สมาชิกแต่ละ กลุม่ ชว่ ยกนั สบื ค้นตามหัวขอ้ ทีก่ ำหนด
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชิกแตล่ ะกลุ่มช่วยกันสบื ค้นขอ้ มูลตามหัวข้อทกี่ ลุ่มของตนเองรบั ผิดชอบ โดยการสบื คน้ จาก หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็ – สมาชกิ กลุ่มนำข้อมูลที่สืบคน้ ได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลมุ่ ฟัง รวมทง้ั ร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความร้คู วามเข้าใจท่ีตรงกัน – สมาชิกกลมุ่ ชว่ ยกนั สรปุ ความรูท้ ไี่ ดท้ ง้ั หมดเปน็ ผลงานของกล่มุ (4) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นทกุ คนซกั ถามเมอื่ มีปัญหา 3) ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถามตอ่ ไปนี้ – คำวา่ สะเตม็ เกิดจากการนำความรู้สาขาใดมาเรียนรู้ร่วมกนั (แนวคำตอบ คำว่าสะเต็มเกิดจาก การนำความรู้ 4 สาขา คือ S: Science หมายถึง วิทยาศาสตร์ T: Technology หมายถึง เทคโนโลยี E: Engineering หมายถึง วิศวกรรมศาสตร์ และ M: Mathematics หมายถงึ คณติ ศาสตร์ มาเรยี นรรู้ ่วมกัน) – ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมสะเต็มศึกษามีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ ได้พัฒนาความสามารถ ด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น 1. การแก้ปัญหา 2. ความคิดสร้างสรรค์ 3. การประดิษฐ์ 4. ความเชื่อมั่นตนเอง 5. การคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล และ 6. ความรูท้ างเทคโนโลยี) – กระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ประกอบด้วยขั้นตอนกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง (แนวคำตอบ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คอื 1. กำหนดปญั หา 2. รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดท่เี ก่ยี วข้องกับปัญหา 3. ออกแบบ วิธีการแก้ปัญหา 4. วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการหรือ ชน้ิ งาน และ 6. นำเสนอวิธีการแกป้ ญั หา ผลการแก้ปัญหา หรอื ช้นิ งาน) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สะเต็มศึกษา หมายถึง การเรียนรทู้ ใ่ี ช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี มาแก้ปญั หาโดยผา่ นกระบวนการ ออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม) เพื่อสร้างชิ้นงานที่สร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษาทำใหไ้ ด้พฒั นาความสามารถด้านต่างๆ ไดแ้ ก่ 1. การแก้ปัญหา 2. ความคิด สรา้ งสรรค์ 3. การประดิษฐ์ 4. เชื่อมนั่ ตนเอง 5. คดิ อย่างมเี หตผุ ล และ 6. ความรู้ทางเทคโนโลยี 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูอธิบายเพิ่มเติมและนำตัวอย่างการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ที่แก้ไขปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจำวัน มาใหน้ ักเรียนศกึ ษา (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 – 5 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนในกระบวนการออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ โดยแบ่งหัวข้อย่อย เช่น การกำหนดปัญหา การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา การทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง แก้ไขวิธีการหรอื ชิน้ งาน และการนำเสนอวิธีการแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ญั หา หรอื ช้นิ งาน แล้วนำข้อมูลที่ค้นคว้า ได้มาจดั ทำเป็นรายงานและนำเสนอหน้าหอ้ งเรยี นให้เพื่อนๆ ไดท้ ราบเพ่อื แลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ัน 5) ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) นักเรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมกลุม่ วา่ มีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับประโยชน์ท่ไี ด้รับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – กจิ กรรมสะเต็มศึกษาสามารถนำมาแกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวันไดห้ รือไม่ อย่างไร – ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากกจิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษาได้แก่อะไรบ้าง – กระบวนการออกแบบส่งิ ประดิษฐป์ ระกอบดว้ ยกขี่ น้ั ตอน อะไรบ้าง – ยกตัวอยา่ งวิธีการคน้ คว้าและรวบรวมข้อมลู จากแหลง่ การเรียนรู้ตา่ งๆ – ทรพั ยากรและข้อจำกดั ในกจิ กรรมสะเต็มศึกษามีอะไรบ้าง – การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทำไดด้ ้วยวิธใี ด ขน้ั สรุป 1) ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปเกี่ยวกบั กิจกรรมสะเต็มศึกษา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนทีค่ วามคิดหรอื ผังมโนทศั น์ 2) ครมู อบหมายให้นักเรียนไปปฏบิ ัติกิจกรรมสะเต็มศกึ ษาตามขั้นตอนต่างๆ ท่ไี ดเ้ รยี นร้ผู า่ นมา โดยให้ แต่ละกลุ่มเลือกปัญหาที่ต้องการแก้ไขอย่างอิสระ แล้วกำหนดปัญหาเพียง 1 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับสมบัติทาง กายภาพของวสั ดุ 10. ส่ือการเรยี นรู้ 1. หนงั สือ วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ 2. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 3. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 4. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 5. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซกั ถามความรูเ้ รื่องกจิ กรรมสะ จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะกระบวนการ เต็มศึกษา ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบ 1. ประเมนิ เจตคติทาง วัดทักษะกระบวนการทาง 2. ตรวจช้ินงานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรยี น โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย การสังเกตการทำงานกลุม่ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 3. ประเมนิ ทักษะการ โดยการสงั เกตและใช้แบบวัด แก้ปัญหาโดยการสงั เกตการ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบตั ิกิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรอื รายกลุ่ม โดยการสังเกตการทำงาน กลมุ่
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................ ...................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................... .................................................. 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 63 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง กจิ กรรมสะเต็มศึกษา (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ้สู อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาท่ีพบในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการ แก้ปัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รูเ้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม คณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกบั การวัดและคาดคะเนขนาดสิ่งทต่ี ้องการวัดและนำไปใช้ 2. ตัวชี้วดั ชน้ั ปี วิทยาศาสตร์ 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความรอ้ น และการนำไฟฟา้ ของวสั ดไุ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปลี่ยนความคิดกบั ผู้อนื่ โดยการอภปิ รายเกยี่ วกบั สมบัตทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. ใช้อินเทอรเ์ นต็ หาความรแู้ ละประเมินความนา่ เช่ือถอื ของข้อมูล (ว 4.2 ป. 4/3) 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่นแจ้ง ผู้เก่ียวขอ้ งเมือ่ พบข้อมลู หรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม (ว 4.2 ป. 4/5) คณิตศาสตร์ เลือกใชเ้ คร่ืองวัดความยาวที่เหมาะสมวดั และบอกความยาวของสิง่ ต่าง ๆ เปน็ เซนติเมตรและมลิ ลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร (ค 2.1 ป. 3/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรยี บเทียบ ทดลอง และระบสุ มบตั ทิ างกายภาพของวัสดุได้ (K) 2. ออกแบบและสร้างช้นิ งานจากวสั ดตุ ่างๆ ได้อย่างเหมาะสม (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรู้อยากเหน็ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. ส่อื สารและนำความรเู้ รื่องกิจกรรมสะเต็มศึกษาไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ (P)
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4. สาระสำคญั วัสดุแตล่ ะชนิดมีสมบตั เิ ฉพาะตวั ที่แตกต่างกนั สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุ ไดแ้ ก่ สภาพยืดหยนุ่ ความ แขง็ ความเหนยี ว การนำความรอ้ น และการนำไฟฟา้ 5. สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมสะเต็มศึกษา (STEM) • วิทยาศาสตร์ 1. วัสดุแตล่ ะชนิดมสี มบตั ทิ างกายภาพแตกต่างกัน วสั ดุทม่ี คี วามแขง็ จะทนตอ่ แรงขดู ขีด วัสดทุ ม่ี สี ภาพ ยืดหยุ่นจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างเมื่อมีแรงมากระทำและกลับสภาพเดิมได้ วัสดุที่นำความร้อนจะร้อนได้เร็วเม่ือ ได้รับความร้อน และวัสดุที่นำไฟฟ้าได้จะให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ดังนั้นจึงอาจนำสมบัติต่างๆ มาพิจารณา เพื่อใชใ้ นกระบวนการออกแบบชิน้ งานเพื่อใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั 2. การใช้คำค้นที่ตรงประเด็น กระชับ จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็วและตรงตามความต้องการ การ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณาประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการสำนักข่าว องค์กร) ผเู้ ขยี น วนั ที่เผยแพรข่ ้อมลู การอ้างอิง เมอื่ ได้ข้อมูลทีต่ อ้ งการจากเว็บไซต์ตา่ งๆ จะต้องนำเน้อื หามาพิจารณา เปรยี บเทียบ แล้วเลือกขอ้ มลู ท่ีมี ความสอดคลอ้ งและสมั พันธ์กัน การทำรายงานหรือการนำเสนอข้อมูลจะต้องนำข้อมูลมาเรียบเรียง สรปุ เปน็ ภาษาของตนเองท่ี เหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมายและวธิ ีการนำเสนอ (บูรณาการกบั วิชาภาษาไทย) 3. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น เช่น ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผูอ้ ื่น ไม่สร้างความเดือดรอ้ นต่อผู้อื่นโดยการส่งสแปม ข้อความลูกโซ่ ส่งต่อ โพสตท์ ี่มีข้อมูลส่วนตวั ของผ้อู นื่ สง่ คำเชญิ เล่นเกม ไมเ่ ขา้ ถงึ ข้อมูลสว่ นตวั หรือการบ้านของบุคคลอนื่ โดยไม่ได้รับ อนุญาต ไม่ใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์/ชอื่ บัญชีของผอู้ นื่ การสื่อสารอย่างมมี ารยาทและรูก้ าลเทศะ การปกป้องข้อมูลสว่ นตวั เชน่ การออกจากระบบเม่อื เลิกใช้งาน ไมบ่ อกรหสั ผา่ น ไม่บอกเลขประจำตัว ประชาชน กจิ กรรมสะเตม็ ศึกษา (STEM) • คณิตศาสตร์ ความยาว การวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตรและมิลลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลอื กเคร่อื งวัดความยาวท่ีเหมาะสม 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 4. มจี ิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน โคมเทียนบังลม 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1) ครูสนทนารว่ มกบั นกั เรียนเกย่ี วกบั ประสบการณเ์ ดิม โดยใชค้ ำถามกระต้นุ ดังน้ี – นกั เรียนเคยไปเวยี นเทยี นท่ีวดั หรือไม่ (แนวคำตอบ เคย) – เมื่อนักเรียนเดินเวียนเทียนรอบโบสถ์โดยจุดไฟให้เกิดเปลวเทียนจะพบปัญหาใด (แนวคำตอบ ลมพัดทำใหเ้ ปลวเทียนดับและนำ้ ตาเทียนหยดลงพืน้ ) – ถ้าให้นักเรียนเลือกแก้ไขปัญหานี้ นักเรียนจะแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใด (แนวคำตอบ ทำ สิง่ ประดิษฐท์ ่ีสามารถบงั ลมไมใ่ หเ้ ปลวเทียนดบั และสามารถป้องกันหยดน้ำตาเทียนหยดลงพนื้ ) 2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบเกี่ยวกับคำถาม เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถ บงั ลมไมใ่ หเ้ ปลวเทียนดับและสามารถป้องกันหยดน้ำตาเทียนหยดลงพน้ื คืออะไร ขั้นจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (1) ขนั้ กำหนดปัญหา จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม) ซง่ึ มขี ั้นตอนดังนี้ (1) ครูนำเข้าสกู่ ารกำหนดปัญหา โดยใชค้ ำถามกระตุ้นดังน้ี – ถ้านักเรียนไมต่ อ้ งการใหเ้ ปลวเทยี นดับและน้ำตาเทยี นหยดลงพ้นื ขณะเดินเวียนเทยี นรอบโบสถ์ นักเรยี นจะมวี ิธีแก้ไขปัญหาน้อี ย่างไร (2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ยี วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น (3) ครใู ห้นักเรยี นอา่ นเรื่องตวั อยา่ งจากหนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู โคมเทียนบังลม (4) ครูนำอภปิ รายกบั นักเรยี นต่อ โดยใช้คำถามกระตุ้นดงั น้ี – จากสถานการณ์ตัวอย่าง ถ้านักเรียนต้องการเวียนเทียนแต่ไม่อยากให้เปลวเทียนดับ และ นำ้ ตาเทยี นไม่หยดลงบนพ้ืน นกั เรียนจะแก้ปัญหานอี้ ยา่ งไร (แนวคำตอบ ทำโคมเทยี นบังลมจากวัสดุตา่ ง ๆ) – ถ้านักเรียนต้องการทำโคมเทียนบังลมจากวัสดุต่าง ๆ โดยให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ นกั เรียนคิดว่าจะนำวสั ดเุ หล่านม้ี าทำโคมเทยี นบงั ลมไดห้ รือไม่ ลกั ษณะใด (5) นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณข์ องนกั เรียน (2) ขัน้ รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทเ่ี กีย่ วข้องกับปัญหา (1) ครูทบทวนความรเู้ ดิมเร่ือง สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุ โดยครใู ห้นกั เรยี นสงั เกตตัวอย่างวัสดุซ่ึงครู ได้จัดเตรียมและวางไวค้ ละกันหน้าชน้ั เรียน แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกันระบแุ ละจำแนกวสั ดเุ หล่านี้ โดยครใู ช้คำถาม ดังน้ี – วัสดุแต่ละชิ้นทำมาจากอะไร มีสมบัติทางกายภาพอย่างไร (แนวคำตอบ ไม้ พลาสติก โลหะ และกระดาษ ซ่ึงไม้ พลาสติก และกระดาษ เป็นฉนวนความร้อน ส่วนโลหะเป็นตัวนำความรอ้ น) – วสั ดชุ นดิ ใดไม่สามารถนำความรอ้ น (แนวคำตอบ ไม้ พลาสตกิ และกระดาษ)
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) ครทู บทวนสถานการณต์ วั อยา่ งท่ใี หน้ ักเรยี นแกป้ ัญหาอีกครั้ง แลว้ ถามคำถามดงั น้ี – จากสถานการณ์ตัวอย่าง นักเรียนจะนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรื่องสมบัติทางกายภาพของ วัสดุมาใชใ้ นการแกป้ ญั หานีไ้ ดห้ รอื ไม่ ลักษณะใด – มคี วามรดู้ ้านใดอีกหรือไม่ที่ต้องใชใ้ นการแกป้ ัญหาน้ี (3) นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายเกยี่ วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น (4) ครูให้นักเรียนร่วมกันค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการทำโคมเทียนบังลมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยครูแนะนำวิธีรวบรวมข้อมูลจ าก แหล่งข้อมลู ตา่ งๆ ใหน้ ักเรยี นทราบ เชน่ การสำรวจขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มูลท่ีบ้าน หรือโรงเรยี น การสบื ค้นข้อมูล ทางอินเทอรเ์ นต็ หรือหอ้ งสมุด การสอบถามจากผู้ปกครอง เพื่อน หรือผู้รู้ (5) ครูนำอภิปรายรว่ มกับนักเรียนเกี่ยวกับความรู้ที่เกี่ยวขอ้ งกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ (กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม) ที่ค้นคว้าได้และนำมาใช้ในการ แกป้ ญั หาน้ีเพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อสรุปร่วมกนั ดังน้ี S: วิทยาศาสตร์ T: เทคโนโลยี • เทียนไขเป็นของแข็ง เมื่อจุดไฟ เทียนไขจะ • โคมเทียนบังลมเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ช่วยกันลม หลอมเหลวเป็นหยด เรียกว่า นำ้ ตาเทยี น ไม่ให้เทยี นดับได้ • ลมทำให้เปลวเทียนไขดับได้ เมื่อมีวัสดุมากั้นการ • กรรไกรเปน็ เคร่ืองกลทีช่ ่วยผ่อนแรง ทำให้เราตัด เคล่อื นทีข่ องลม เปลวเทยี นจะไมด่ ับ วสั ดุเปน็ รปู รา่ งตามตอ้ งการได้ • พลาสติกเป็นวัสดุที่ไม่นำความร้อน แข็ง และ • ปืนกาวใช้ในการติดวัสดุที่น้ำหนักเบาเข้าด้วยกนั หลอมเหลวเมื่อไดร้ บั ความร้อนสงู โดยให้ความร้อนกับกาวแท่งด้วยกระแสไฟฟ้า • โลหะเปน็ วัสดุท่แี ขง็ และนำความรอ้ น • กระดาษเป็นวัสดุที่ไม่นำความร้อนติดไฟง่าย และไม่แขง็ แรง E: วิศวกรรมศาสตร์ M: คณิตศาสตร์ • การออกแบบ สร้าง ทดสอบ และปรับปรุงโคม • การวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเทียนไขเพ่ือ เทียนบังลม กำหนดขนาดของโคมเทียนบงั ลม • การวัดความสูงของเทียนเพื่อกำหนดความสูง ของส่วนบงั ลมของโคมเทียนบงั ลม • เทียบอัตราส่วนท่ีเหมาะสมของความสูงของส่วน บงั ลมกบั ส่วนแกนท่ใี ช้ถอื โคมเทียนบังลม (6) ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับวิธีทำโคมเทียนบังลมจากขอ้ มูลท่ีนักเรียนค้นควา้ ได้ โดยถามคำถามดงั นี้ – จากข้อมูลที่นักเรียนค้นคว้าได้ นักเรียนพบวิธีทำโคมเทียนบังลมวิธีใดบ้าง (แนวคำตอบ การ ประดษิ ฐ์โคมเทียนบงั ลม)
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – นักเรยี นเลอื กวธิ ีนีเ้ พราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะการประดษิ ฐโ์ คมเทียนบังลม ชว่ ยบงั ลมไมใ่ ห้ เปลวเทยี นดับและปอ้ งกันหยดน้ำตาเทยี นหยดลงบนพื้นได้) – การทำโคมเทียนบังลมมีข้อดีและข้อเสียอย่างไร (แนวคำตอบ ข้อดี ช่วยบังลมไม่ให้เปลวเทยี น ดับและปอ้ งกันหยดน้ำตาเทยี นหยดลงพืน้ ข้อเสยี โคมเทยี นบังลมอาจไมส่ ามารถป้องกันไม่ให้เปลวเทียนดับได้ เนอ่ื งจากแรงลมทีไ่ มค่ งท่ี) – การใช้พลาสติกทำโคมเทียนบังลมมีข้อดีและข้อเสียอย่างไร (แนวคำตอบ ข้อดี พลาสติกเป็น วัสดทุ หี่ าได้งา่ ย แข็ง และไม่นำความร้อน ขอ้ เสยี พลาสติกอาจเกดิ การหลอมเหลวเมอื่ ไดร้ บั ความรอ้ นสงู ) (7) ครูและนักเรียนสรุปร่วมกันเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ทำโคมเทียนบังลม โดยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดแุ ต่ละชนิดมขี ้อดี ข้อเสียแตกต่างกัน เพ่ือใหน้ กั เรียนได้ข้อสรปุ ดังนี้ สิ่งประดิษฐ์ ทางเลือก ข้อดี ข้อเสยี โคมเทยี นบังลม ทำจากพลาสติก – หาวสั ดุงา่ ย – หลอมเหลวเม่อื ไดร้ บั ทำจากโลหะ – แขง็ ความรอ้ นสูง ทำจากกระดาษ – ไมน่ ำความรอ้ น – ตดั ยาก – แข็ง – เม่อื ตัดแล้วจะมคี ม – อาจบาดมือได้ – มสี ีสนั – นำความร้อน – ตดั เป็นรปู รา่ งต่าง ๆ – ติดไฟงา่ ย ไดง้ ่าย – ไม่แข็งแรง – ไม่นำความร้อน (3) ขั้นออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา (1) ครูทบทวนสถานการณต์ วั อย่างทีใ่ หน้ ักเรียนแกป้ ัญหาอีกครง้ั โดยใชค้ ำถามกระตุ้น ดงั น้ี – ถ้านักเรยี นต้องการประดิษฐโ์ คมเทียนบังลมเพือ่ แก้ปัญหานี้ นักเรียนจะออกแบบและประดิษฐ์ โคมเทยี นบังลมอยา่ งไรจากวัสดุ อุปกรณท์ ่นี กั เรยี นเตรียมมา (2) แต่ละกลุ่มรว่ มกนั ออกแบบโคมเทยี นบงั ลมจากวสั ดุ อุปกรณ์ที่นกั เรยี นเตรียมมา โดยเขยี นเป็นภาพ ร่างของชน้ิ งานตามความคิดเห็นของแตล่ ะกลมุ่ (3) นักเรยี นออกแบบช้นิ งานลงในใบกจิ กรรมสะเตม็ ศึกษาเร่ือง โคมเทยี นบังลม (4) ข้นั วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา (1) ครูให้นักเรียนศึกษาลำดับขั้นตอนในการสร้างชิ้นงานในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 (2) นกั เรียนลงมอื สรา้ งชนิ้ งานตามลำดับขั้นตอนการทำงานโดยมีครูคอยแนะนำช่วยเหลอื (5) ขั้นทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุงแกไ้ ขวิธีการหรอื ชนิ้ งาน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทดสอบชิ้นงาน โดยครูตั้งคำถามเพื่อช่วยนักเรียนแต่ละกลุ่มในการ ตรวจสอบ ดงั นี้
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – ถ้านำเทียนไขติดในโคมเทียนบังลม จากนั้นแกว่งโคมเทียนบังลมไปมา นักเรียนคิดว่าจะพบ ปัญหาหรอื ไม่ – เมื่อจุดไฟเทียนไขแล้วนำโคมเทียนบังลมไปถือหน้าพัดลมห่าง 1 ฟุต นักเรียนคิดว่าเปลวเทียน จะดบั หรอื ไม่ (2) ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นำช้นิ งานไปทดสอบ หากพบข้อบกพรอ่ งให้แต่ละกลุ่มปรับปรงุ แก้ไขและ ตกแต่งชน้ิ งานใหเ้ รยี บรอ้ ยและสวยงาม (6) ขั้นนำเสนอวิธีการแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ัญหา หรือชนิ้ งาน (1) ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของกลุ่มตนเองวา่ ได้ผลลัพธเ์ ป็นอย่างไร และมีการปรับปรุง แกไ้ ขให้ดีขึ้นอยา่ งไร (2) ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายในประเด็นตา่ งๆ โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปนี้ – ชน้ิ งานที่นกั เรยี นออกแบบใชว้ สั ดอุ ะไร เพราะเหตใุ ดจึงใชว้ สั ดุเหล่านี้ – นกั เรียนสามารถสรา้ งชิ้นงานไดต้ ามที่ออกแบบไว้หรอื ไม่ อย่างไร – นักเรยี นทดสอบช้นิ งานด้วยวิธีใด – หลังจากทดสอบช้ินงานแล้วมีการปรับปรงุ แกไ้ ขอีกหรอื ไม่ ถ้ามี นักเรียนปรับปรุงแก้ไขอย่างไร – นักเรยี นรสู้ ึกอยา่ งไรกับการปฏบิ ัติกิจกรรมครง้ั น้ี ข้นั สรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยให้แต่ละกลุ่มอภิปรายว่าได้เรียนรู้อะไร เกยี่ วกบั ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 2) ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นไปปฏบิ ัตกิ ิจกรรมสะเต็มศกึ ษาตามข้นั ตอนที่ไดเ้ รียนรู้ผ่านมา โดยให้ แต่ละ กลุ่มเลือกปัญหาที่ต้องการแก้ไขอย่างอิสระ แล้วกำหนดเป็นปัญหาเพียง 1 เรื่องที่เกี่ยวข้องกับสมบัติทาง กายภาพของวัสดุ หมายเหตุ ใชเ้ วลาในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ้งั หมด 4 ช่วั โมง – ขั้นที่ 1 – 2 ใช้เวลา 1 ชั่วโมง (เริ่มตั้งแต่ขั้นกำหนดปัญหาและขั้นรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่ เกย่ี วข้องกับปญั หา) – ขั้นที่ 3 – 6 ใช้เวลา 3 ชั่วโมง (เริ่มตั้งแต่ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ขั้นวางแผนและ ดำเนินการแก้ปัญหา ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการหรือชิ้นงาน และขั้นนำเสนอวิธีการ แกป้ ญั หา ผลการแก้ปัญหา หรอื ช้ินงาน โดยครูสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรนู้ อกเวลาเรยี นได)้ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. ใบกจิ กรรมสะเต็มศึกษาเร่ือง โคมเทียนบังลม 2. อนิ เทอรเ์ น็ต 3. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 5. แบบฝึกทกั ษะรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรู้เรื่องสมบตั ิของ วสั ดุ 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะการทำงาน 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต โดยใชแ้ บบประเมนิ ทักษะ กจิ กรรมฝึกทกั ษะระหว่างเรยี น และใชแ้ บบวัดเจตคตทิ าง การทำงานกิจกรรมสะเตม็ วทิ ยาศาสตร์ ศึกษา 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย เปน็ รายบคุ คลโดยการสงั เกต การสงั เกตการทำงานกล่มุ และใชแ้ บบวัดเจตคตติ ่อ 3. ประเมนิ ทักษะการ วิทยาศาสตร์ แก้ปญั หาโดยการสังเกตการ ทำงานกลุม่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็น รายบุคคลหรอื รายกลุ่ม โดยการสังเกตการทำงาน กลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรูข้ อง นางอมลสิริ คำฟู แล้วมีความเห็นดงั นี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... ลงช่ือ.................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 64 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง การนำไฟฟ้า (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผสู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 2. ตัวชี้วดั ชนั้ ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความรอ้ น และการนำไฟฟ้าของวสั ดไุ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบช้ินงาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปล่ยี นความคิดกบั ผู้อนื่ โดยการอภิปรายเก่ียวกับสมบตั ทิ างกายภาพของวสั ดุอย่างมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อภิปรายและเปรียบเทยี บสมบัติของวัสดดุ า้ นการนำไฟฟ้าได้ (K) 2. ระบวุ สั ดทุ ี่เปน็ ตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้าได้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝ่รู้หรอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีเกี่ยวกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 5. การทำงานรว่ มกับผอู้ ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 6. สื่อสารและนำความรเู้ รื่องสมบตั ิของวัสดุดา้ นการนำไฟฟา้ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ วสั ดุทยี่ อมให้กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ดี เรียกว่า ตวั นำไฟฟ้า สว่ นวัสดทุ ก่ี ระแสไฟฟา้ ไมส่ ามารถไหล ผา่ นไดห้ รือผา่ นไดไ้ มด่ ี เรยี กว่า ฉนวนไฟฟ้า 5. สาระการเรียนรู้ สมบตั ิของวสั ดุ – การนำไฟฟ้า 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน สืบคน้ ข้อมลู เกยี่ วกบั การนำไฟฟ้าของวัสดุ 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดมิ เก่ยี วกบั สมบตั ขิ องวสั ดุ โดยใช้คำถามดังนี้ – สมบัติของวัสดุมีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ สภาพยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว และการนำ ความรอ้ น) – นอกจากสมบัติของวัสดดุ ังกล่าว ยังมีสมบตั ิของวัสดดุ ้านอ่นื อกี หรอื ไม่ ดา้ นใด (แนวคำตอบ มี ด้านการนำไฟฟา้ ) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรยี นรูเ้ ร่ือง การนำไฟฟา้ ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมีขนั้ ตอนดังน้ี (1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (1) ครูถามคำถามนักเรียนเพ่ือกระตุ้นความสนใจ เช่น – นกั เรียนรู้จักวัสดุทน่ี ำไฟฟ้าได้หรือไม่ (แนวคำตอบ รู้จัก) – วสั ดชุ นิดใดทส่ี ามารถนำไฟฟา้ ได้ (แนวคำตอบ เหลก็ สเตนเลส และอะลูมเิ นยี ม) (2) นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณข์ องนกั เรยี น (2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องสมบัติของวัสดุด้านการนำไฟฟ้าจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครู ช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า ส่วนวัสดุที่ กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลผา่ นไดห้ รือผ่านได้ไมด่ ี เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของวัสดุ โดยดำเนินการ ตามขน้ั ตอนดังน้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อการนำไฟฟ้าของวัสดุเป็นหัวข้อย่อย เช่น วสั ดุทเ่ี ป็นตัวนำไฟฟา้ วัสดุทเ่ี ปน็ ฉนวนไฟฟา้ ให้สมาชกิ แต่ละกล่มุ ชว่ ยกันสบื คน้ ตามหวั ขอ้ ทก่ี ำหนด – สมาชิกแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั สืบค้นข้อมลู ตามหวั ข้อที่กลุ่มของตนเองรับผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนังสือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชกิ กลุ่มนำข้อมลู ทส่ี บื ค้นได้มารายงานให้เพ่ือนๆ สมาชิกในกลมุ่ ฟัง รวมท้งั ร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทกุ คนมคี วามร้คู วามเข้าใจทต่ี รงกนั – สมาชกิ กลุม่ ชว่ ยกนั สรุปความรูท้ ีไ่ ดท้ ้ังหมดเปน็ ผลงานของกลมุ่ (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบัติกจิ กรรม โดยครเู ดนิ ดรู อบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรยี นทกุ คนซกั ถามเมอ่ื มีปัญหา (3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (1) นกั เรียนแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมหน้าหอ้ งเรยี น (2) นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – วัสดุทเ่ี ป็นตวั นำไฟฟ้าได้แก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ เหลก็ อะลูมิเนียม ทองแดง และไสด้ ินสอ) – วสั ดุทีเ่ ป็นฉนวนไฟฟา้ ได้แก่อะไรบา้ ง (แนวคำตอบ แก้ว ไม้ ยาง และพลาสติก) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรยี นเข้าใจว่าวัสดุแต่ละชนิดมี ความสามารถในการนำไฟฟ้าแตกตา่ งกัน (4) ขั้นขยายความรู้ ครใู หน้ กั เรียนสบื ค้นข้อมลู เกีย่ วกบั การป้องกันอนั ตรายจากไฟฟา้ ดูด จากหนงั สือ วารสาร วิทยาศาสตร์ หรอื เว็บไซต์ แล้วจัดปา้ ยนิเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้ (5) ขนั้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรือยังมขี ้อสงสัย ถา้ มี ครูชว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุม่ วา่ มปี ญั หาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – วัสดุทย่ี อมให้กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นได้ดีเรยี กวา่ อะไร – วัสดุที่กระแสไฟฟา้ ไม่สามารถไหลผ่านได้หรือผา่ นได้ไมด่ ีเรียกวา่ อะไร ขัน้ สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านการนำไฟฟ้า โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคดิ หรอื ผงั มโนทศั น์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสอื วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน เวบ็ ไซต์ และอินเทอรเ์ น็ต 2. คมู่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 3. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 4. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 5. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรู้เร่ือง สมบัติของ วัสดดุ ้านการนำไฟฟา้ 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย 2. ตรวจชน้ิ งานหรือภาระงานของ เป็นรายบคุ คลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกลุ่ม กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรียน และใช้แบบวดั เจตคติทาง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ วทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั กิ ิจกรรมเปน็ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต การสงั เกตการทำงานกลมุ่ และใชแ้ บบวดั เจตคติต่อ วทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ........................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ................................. 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 65 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 เรื่อง การนำไฟฟ้า (2) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี 2. ตวั ช้ีวัดช้นั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความร้อน และการนำไฟฟ้าของวสั ดุไปใช้ในชวี ติ ประจำวันผา่ นกระบวนการออกแบบชิ้นงาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อืน่ โดยการอภปิ รายเก่ียวกบั สมบัตทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อภปิ รายและเปรียบเทยี บสมบัตขิ องวสั ดุด้านการนำไฟฟา้ ได้ (K) 2. ระบุวสั ดุทีเ่ ปน็ ตัวนำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้าได้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ่เี กี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A) 5. การทำงานรว่ มกับผู้อื่นอย่างสรา้ งสรรค์ (A) 6. ส่อื สารและนำความรู้เรื่องสมบตั ิของวสั ดดุ า้ นการนำไฟฟ้าไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั วัสดทุ ยี่ อมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี เรียกวา่ ตวั นำไฟฟ้า สว่ นวัสดทุ ีก่ ระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหล ผา่ นได้หรือผ่านไดไ้ มด่ ี เรยี กว่า ฉนวนไฟฟา้ 5. สาระการเรียนรู้ สมบตั ขิ องวัสดุ – การนำไฟฟ้า 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ มั่นในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชวี ติ 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน สงั เกตสมบตั ดิ ้านการนำไฟฟา้ ของวสั ดุ 9. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1) ครชู ้ีสายไฟฟ้าทม่ี อี ยูใ่ นหอ้ งเรยี น แล้วถามคำถามนกั เรียน ดังนี้ – สายไฟฟ้าทำหน้าที่อะไร (แนวคำตอบ ทำหน้าที่ส่งพลังงานไฟฟ้าจากที่หน่ึงไปยังอีกที่หน่ึงโดย กระแสไฟฟา้ จะนำพลงั งานไฟฟ้าไหลผ่านไปตามสายไฟฟ้าจนถึงเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ชนดิ ตา่ งๆ) – วัสดุอะไรเหมาะสำหรับทำ สายไฟฟ้า (แนวคำตอบ วัสดุที่ใช้ทำภายนอกของสายไฟฟ้า เช่น ยางและพลาสตกิ ท่ีทนความรอ้ น วัสดุทใี่ ช้ทำภายในของสายไฟฟ้า เช่น ทองแดงและอะลูมิเนยี ม) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนรู้เรอื่ ง การนำไฟฟ้า ข้นั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมขี ้ันตอนดังน้ี (1) ข้นั สร้างความสนใจ (1) ครูถามคำถามนักเรยี นเพื่อกระตุน้ ความสนใจ เชน่ – การนำไฟฟา้ ของวสั ดคุ ืออะไร (แนวคำตอบ สมบัตทิ ี่แสดงถงึ การยอมให้ไฟฟา้ ไหลผา่ น) – วัสดุทีน่ ำไฟฟา้ ได้มีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ เหล็ก ทองแดง และอะลมู ิเนยี ม) (2) นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเกยี่ วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน (2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 21 สังเกตสมบัติด้านการนำไฟฟ้าของวัสดุ แต่ละกลุ่มปฏิบัติ กิจกรรมตามขนั้ ตอนทีไ่ ด้วางแผนไว้ ดังน้ี – แบ่งกล่มุ นักเรยี น กลุ่มละ 5 – 6 คน – แตล่ ะกลมุ่ ตอ่ หลอดไฟฟ้าเข้ากับถ่านไฟฉาย และปลอ่ ยปลายสายไฟฟา้ ทั้ง 2 ข้างไว้ – ลองเอาปลายสายไฟฟา้ ทั้ง 2 ข้างมาแตะกนั สังเกตหลอดไฟฟา้ วา่ เกดิ อะไรขน้ึ – นำวสั ดตุ ่างๆ มาแตะกับปลายสายไฟฟ้าทัง้ สองพร้อมๆ กนั สังเกตความสวา่ งของหลอดไฟฟ้า – เหลาดินสอดำทั้ง 2 ข้าง นำมาแตะกับปลายสายไฟฟ้าทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน แล้วสังเกตหลอด ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู การทดสอบการนำไฟฟา้ ของวัสดุ (2) ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลือนกั เรียนขณะปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ให้นกั เรียนทุกคนซักถามเมอ่ื มปี ัญหา (3) ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (1) นกั เรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปน้ี – วัสดุชนดิ ใดบา้ งท่ีทำใหห้ ลอดไฟฟา้ สว่าง (แนวคำตอบ ลวด โลหะ และไส้ดนิ สอดำ) – วสั ดจุ ำพวกโลหะเทา่ นั้นที่นำไฟฟ้าใชห่ รือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ ไม่ใช่ เพราะไส้ดินสอดำ ไม่ใชโ่ ลหะแต่นำไฟฟ้าได)้ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุที่ยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นเป็นพวกโลหะ ส่วนวสั ดทุ ี่ไมย่ อมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไม่ใช่โลหะจะไม่นำไฟฟ้า ยกเว้น ไส้ดนิ สอดำซ่งึ สามารถนำไฟฟา้ ได้ (4) ข้ันขยายความรู้ ครูนำสายไฟฟ้าที่ไม่ใชแ้ ล้วมาใหน้ ักเรียนสังเกตดูส่วนประกอบทั้งด้านนอกและด้านในนักเรียนร่วมกนั อภิปรายว่า ทำไมด้านนอกของสายไฟฟา้ จงึ หุม้ ด้วยพลาสติก ในขณะท่ีดา้ นในทำดว้ ยทองแดง (5) ขั้นประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรือยงั มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูชว่ ยอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรียนรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลมุ่ วา่ มีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการนำ ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรยี น เชน่ – สายไฟฟา้ ทำจากทองแดงเพราะอะไร – วัสดชุ นิดใดท่เี ป็นตวั นำไฟฟา้ และฉนวนไฟฟา้ ขน้ั สรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านการนำไฟฟ้า โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรือผงั มโนทศั น์ 2) ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาของบทเรียนชั่วโมงหน้า เพ่อื จดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป โดยใหน้ กั เรียนศึกษาค้นคว้าลว่ งหน้าในหัวข้อสมบัติของของแข็งและของเหลว 3) ครูให้นกั เรียนเตรียมประเด็นคำถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม เพอ่ื นำมาอภิปรายร่วมกัน ในชน้ั เรียนครั้งต่อไป
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรียนรู้ 1. สายไฟฟ้าท่ีไม่ใช้แล้ว 2. ใบกจิ กรรมที่ 21 สังเกตสมบัติดา้ นการนำไฟฟา้ ของวสั ดุ 3. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนงั สอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 11. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรเู้ ร่ือง สมบตั ิของ วัสดดุ ้านการนำไฟฟ้า 1. ประเมนิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชนิ้ งานหรอื ภาระงานของ เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรียน และใช้แบบวดั เจตคติทาง วดั ทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต การสงั เกตการทำงานกลมุ่ และใชแ้ บบวัดเจตคติต่อ 3. ประเมนิ ทักษะการ วทิ ยาศาสตร์ แก้ปญั หาโดยการสังเกตการ ทำงานกลุม่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเป็น รายบคุ คลหรอื รายกลุม่ โดยการสงั เกตการทำงาน กลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ า่ น มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรยี นมีความรเู้ กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมีเจตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 66 สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เร่ือง สมบัตขิ องของแข็งและของเหลว (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี เปรียบเทยี บสมบตั ิของสสารทั้ง 3 สถานะ จากขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสังเกต มวล การต้องการทอี่ ยู่ รูปร่าง และปรมิ าตรของสสาร (ว 2.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลอง เปรียบเทียบ และอธิบายสมบัติของของแข็งและของเหลวได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ีเก่ียวกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. ส่ือสารและนำความรู้เรื่องสมบตั ขิ องของแข็งและของเหลวไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ สสารทมี่ ีสถานะเปน็ ของแข็งจะมีอนุภาคของสารอยู่ชิดกันมาก มีแรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนุภาคมาก จงึ มปี รมิ าตรคงทแี่ ละมรี ปู รา่ งที่แน่นอนเฉพาะตวั ส่วนของเหลวจะมปี ริมาตรคงท่ี อนภุ าคภายในอยหู่ า่ งกัน รูปรา่ งของของเหลวจงึ เปลีย่ นไปตามภาชนะทบี่ รรจไุ ด้ 5. สาระการเรยี นรู้ สถานะของสสาร – สมบัติของของแข็ง – สมบตั ิของของเหลว 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ช้ินงานหรอื ภาระงาน สืบคน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั สมบัตขิ องของแขง็ และของเหลว 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครูถามคำถามนักเรียนเพอื่ กระตุ้นความสนใจ เช่น – น้ำเปลี่ยนรูปร่างเป็นแบบต่างๆ ได้ เพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะน้ำมีสถานะเป็นของเหลว จงึ เปล่ียนรปู ร่างตามภาชนะที่บรรจุ) 2) นกั เรียนช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั คำตอบของคำถาม เพ่อื เชื่อมโยงไปสู่การ เรยี นรูเ้ รอื่ ง สมบัติของของแข็งและของเหลว ข้นั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่ึงมขี ัน้ ตอนดงั น้ี (1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของของแข็ง และของเหลวที่ครูมอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมา นำเสนอขอ้ มูลหนา้ ห้องเรยี น (2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก ของนักเรยี น และถามคำถามเกยี่ วกับภาระงาน ดังน้ี – ยางลบมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ลักษณะใด (แนวคำตอบ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจาก ยางลบเป็นของแขง็ จึงมีรูปร่างและปริมาตรคงที่) – น้ำมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ลักษณะใด (แนวคำตอบ มีการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ น้ำมีการ เปลี่ยนรูปรา่ งไปตามภาชนะทบี่ รรจ)ุ (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตัง้ ประเด็นคำถามที่นักเรียนสงสัยจากการทำภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม ซ่งึ ครใู หน้ ักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เห็น (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ของแข็งมี รปู ร่างและปริมาตรคงที่ ส่วนของเหลวมีรูปร่างเปลยี่ นไปตามภาชนะที่บรรจแุ ละปรมิ าตรคงที่ (2) ข้นั สำรวจและคน้ หา (1) ให้นักเรียนศึกษาสมบัติของของแข็งและของเหลวจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย อธิบายให้นกั เรียนเข้าใจว่า ของแขง็ มีรูปรา่ งและปริมาตรคงท่ี เน่ืองจากอนุภาคของของแขง็ อยชู่ ดิ กันมากและมี การจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบ ส่วนของเหลวมีรูปร่างไม่คงที่แต่มีปริมาตรคงที่ รูปร่างของของเหลวจะ เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะทบ่ี รรจุและมลี ักษณะไหลได้
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของของแข็งและของเหลว โดย ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนดังนี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นขอ้ มูล โดยแบ่งหวั ข้อสมบตั ขิ องของแข็งและของเหลว เป็นหัวข้อ ยอ่ ย เชน่ ของแขง็ ของเหลว ใหส้ มาชิกแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสบื ค้นตามหวั ขอ้ ทก่ี ำหนด – สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั สืบค้นข้อมูลตามหวั ข้อทีก่ ลุม่ ของตนเองรบั ผดิ ชอบโดยการ สบื คน้ จากหนังสอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอร์เนต็ – สมาชิกกลุ่มนำข้อมลู ท่ีสืบคน้ ได้มารายงานให้เพ่อื นๆ สมาชกิ ในกลุ่มฟัง รวมทัง้ ร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดว่าสมาชกิ ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจทต่ี รงกัน – สมาชิกกลมุ่ ชว่ ยกนั สรุปความรู้ที่ได้ท้งั หมดเปน็ ผลงานของกลุ่ม (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ให้นกั เรียนทกุ คนซักถามเมอื่ มีปญั หา (3) ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป (1) นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอขอ้ มลู การปฏบิ ัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามตอ่ ไปนี้ – วัสดชุ นิดใดมสี มบัตเิ ป็นของแข็ง (แนวคำตอบ ถงั ขยะ แก้วนำ้ ไม้กวาด) – วัสดชุ นิดใดมสี มบัติเป็นของเหลว (แนวคำตอบ นำ้ ทีบ่ รรจใุ นแก้วหรอื ขวด) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุหรอื สิง่ ของ ต่างๆ รอบตัว มที ัง้ สมบัตทิ ่ีเปน็ ของแข็งและของเหลว (4) ขน้ั ขยายความรู้ ครอู ภิปรายเพ่มิ เตมิ เกยี่ วกับสมบตั ิของของแขง็ และของเหลว แลว้ แบ่งกลุ่มนักเรยี น กลุม่ ละ 3 – 5 คน โดยให้นักเรียนนำอุปกรณ์ที่ครูเตรียมไวใ้ ห้ เช่น ลูกปิงปองและดินน้ำมัน มาทำแบบจำลองการจัดเรียงอนุภาค ของของแข็งและของเหลว (5) ขนั้ ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสัย ถ้ามี ครชู ว่ ยอธิบายเพม่ิ เตมิ ให้นักเรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรยี นร่วมกันประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและการ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น – สาเหตทุ ี่ทำให้ของแข็งมสี มบัติตา่ งจากของเหลวคืออะไร – เพราะเหตใุ ดของเหลวจงึ เปลยี่ นรูปรา่ งตามภาชนะทีบ่ รรจุ ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของของแข็งและของเหลว โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรอื ผังมโนทัศน์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. ลกู ปิงปองและดินน้ำมัน
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 2. หนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็ 3. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝกึ ทกั ษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 6. หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ซกั ถามความรู้เรื่องสมบตั ิของ จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย ของแข็งและของเหลว การสงั เกตการทำงานกลุ่ม 1. ประเมนิ เจตคติทาง 2. ตรวจชิน้ งานหรือภาระงานของ วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรยี น โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเป็น เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรือรายกลุม่ โดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม 2. ประเมินเจตคตติ ่อ วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล โดยการสงั เกตและใช้แบบวัด เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 67 สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เร่ือง สมบัตขิ องของแข็งและของเหลว (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี เปรียบเทยี บสมบตั ิของสสารทั้ง 3 สถานะ จากขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสังเกต มวล การต้องการทอี่ ยู่ รูปร่าง และปรมิ าตรของสสาร (ว 2.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลอง เปรียบเทียบ และอธิบายสมบตั ิของของแข็งและของเหลวได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ ่ีเก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผูอ้ ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. ส่ือสารและนำความรู้เรื่องสมบตั ิของของแข็งและของเหลวไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ สสารทมี่ ีสถานะเปน็ ของแข็งจะมีอนภุ าคของสารอยู่ชิดกันมาก มีแรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาคมาก จงึ มปี รมิ าตรคงทแี่ ละมรี ูปรา่ งที่แน่นอนเฉพาะตวั ส่วนของเหลวจะมปี ริมาตรคงท่ี อนภุ าคภายในอยหู่ ่างกัน รูปรา่ งของของเหลวจึงเปลีย่ นไปตามภาชนะที่บรรจไุ ด้ 5. สาระการเรยี นรู้ สถานะของสสาร – สมบัติของของแข็ง – สมบตั ิของของเหลว 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 481
Pages: