Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

Published by jarunpanakul, 2021-03-12 03:59:01

Description: แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน ดาวเคราะห์ท่ีฉันชอบ 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1) ครูทบทวนความร้เู กี่ยวกับส่วนประกอบของระบบสุริยะ โดยถามคำถามนกั เรียนว่า – ดาวฤกษท์ ี่มขี นาดใหญแ่ ละสว่างมากคอื ดาวฤกษด์ วงใด (แนวคำตอบ ดวงอาทิตย์) – ดาวเคราะห์ที่มนี ้ำหรือของเหลว และอาจมีสิ่งมีชวี ิตอาศยั อยไู่ ดค้ อื ดาวเคราะหด์ วงใด (แนวคำตอบ ดาวองั คาร) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนรู้เรอ่ื ง สว่ นประกอบของระบบสุริยะ ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ รว่ มกบั แบบกลับดา้ นช้นั เรียน ซ่ึงมขี ัน้ ตอน ดงั น้ี (1) ขั้นสรา้ งความสนใจ (1) ครนู ำรูประบบสรุ ิยะมาให้นักเรียนดู แลว้ อธิบายเกย่ี วกบั ดาวเคราะหใ์ นระบบสุริยะ จากนั้นครูถาม คำถามกบั นักเรียนดงั น้ี – ดาวเคราะห์ท่ีมวี งแหวนล้อมรอบคือดาวเคราะหด์ วงใด (แนวคำตอบ ดาวเสาร)์ – ดาวเคราะหท์ อ่ี ยถู่ ดั จากดาวศุกรค์ อื ดาวเคราะหด์ วงใด (แนวคำตอบ โลก) (2) นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรยี น (2) ขน้ั สำรวจและค้นหา (1) นักเรียนแตล่ ะคน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสรมิ การเรียนร้ทู ี่ 6 ดาวเคราะห์ทฉี่ นั ชอบ ตามขน้ั ตอน ดงั นี้ – เขียนรายละเอยี ดเกย่ี วกบั ดาวเคราะหท์ ่นี กั เรยี นชอบ วาดรูปและระบายสใี หส้ วยงาม – นำเสนอผลงานและอธบิ ายรว่ มกนั ในชัน้ เรยี น (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทกุ คนซกั ถามเม่อื มปี ญั หา (3) ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป (1) นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกล่มุ นำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามตอ่ ไปน้ี – ดาวยูเรนัสมีสีฟ้าอมเขียว เนื่องจากสาเหตุใด (แนวคำตอบ เนื่องจากบรรยากาศชั้นบนมีแก๊ส ฮีเลียมจำนวนมาก) – วงแหวนของดาวเสาร์มลี ักษณะเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ มลี กั ษณะเป็นวงแหวนเลก็ ๆ ซ้อนกัน อยู่จำนวนมาก ซง่ึ ภายในวงแหวนประกอบด้วยก้อนนำ้ แขง็ กอ้ นหนิ ทปี่ กคลมุ ดว้ ยนำ้ แข็ง และฝุน่ ละออง) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดาวเคราะห์ใน ระบบสุริยะประกอบดว้ ย ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยเู รนัส และดาวเนปจูน ซึ่งลกั ษณะของดาวเคราะห์แต่ละดวงแตกตา่ งกัน

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (4) ขัน้ ขยายความรู้ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบระบบดาวเคราะห์ TRAPPIST–1 โดยกล้องโทรทรรศน์ TRAPPIST ของชิลี และกล้องโทรทรรศน์สปิตเซอร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งดาวเคราะห์ทั้ง 7 ดวงมีพื้นผิวเป็นหนิ เหมอื นกบั โลก ดาวเคราะห์ 7 ดวงในระบบ TRAPPIST–1 (5) ขัน้ ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรอื มีขอ้ สงสัย ถา้ มี ครูชว่ ยอธิบายเพม่ิ เติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ (2) นักเรยี นร่วมกนั ประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุม่ วา่ มปี ัญหาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนักเรยี น เช่น – ดาวเคราะหท์ ีถ่ ูกเรยี กวา่ “เตาไฟแช่แข็ง” คือดาวเคราะหด์ วงใด – ดาวอังคาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูนมีลักษณะเดน่ อะไรบา้ ง – จากลักษณะของดาวเคราะห์แต่ละดวง นักเรียนคิดว่ามีดาวเคราะห์ดวงใดที่เหมือนหรือคล้าย กับโลกของเรามากท่สี ดุ อธบิ าย ขนั้ สรุป ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปเก่ียวกับสว่ นประกอบของระบบสุริยะ โดยรว่ มกันเขียนเป็นแผนท่ีความคิด หรือผังมโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. รปู ระบบสุริยะ 2. ใบกิจกรรมเสรมิ การเรยี นรู้ที่ 6 ดาวเคราะห์ที่ฉนั ชอบ 3. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 6. หนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรเู้ รื่องสว่ นประกอบ จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย ของระบบสุริยะ การสังเกตการทำงานกลมุ่ 1. ประเมนิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กจิ กรรมฝึกทกั ษะระหว่างเรยี น และใช้แบบวัดเจตคติทาง ปฏิบัติกจิ กรรมเป็น วิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรอื รายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลุม่ 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ เปน็ รายบุคคลโดยการสงั เกต และใชแ้ บบวดั เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรียนนไี่ ม่ผ่าน มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นักเรียนมคี วามรู้เกดิ ทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั นี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 76 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรื่อง เกณฑ์การแบง่ ประเภทของดาวเคราะหใ์ นระบบสุริยะ (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผ้สู อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ 2. ตวั ช้ีวัดชัน้ ปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะหต์ ่างๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายส่วนประกอบของระบบสรุ ยิ ะได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รูห้ รืออยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ที่เกีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. ส่อื สารและนำความรูเ้ ร่ืองสว่ นประกอบของระบบสรุ ยิ ะไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ นักดาราศาสตร์ได้แบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะโดยใช้ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เป็นเกณฑ์ ซึ่งแบ่งออกเป็น ดาวเคราะห์วงนอกและดาวเคราะห์วงใน ส่วนการแบ่งดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โดยใช้ลักษณะพื้นผิวเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น ดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง และดาวเคราะห์ หนิ 5. สาระการเรยี นรู้ ระบบสุริยะ – สว่ นประกอบของระบบสุริยะ – เกณฑ์การแบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 4. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน สืบคน้ ข้อมลู เกีย่ วกับเกณฑก์ ารแบง่ ประเภทของดาวเคราะหใ์ นระบบสุริยะ 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น 1) ครทู บทวนความรเู้ กีย่ วกับส่วนประกอบของระบบสุริยะ โดยการถามคำถามนักเรียนว่า – ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะมีทัง้ หมดก่ดี วง (แนวคำตอบ 8 ดวง) – เราสามารถแบ่งประเภทของดาวเคราะห์แต่ละดวงได้หรือไม่ (แนวคำตอบ ได)้ 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรยี นรเู้ ร่อื ง เกณฑก์ ารแบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุรยิ ะ ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกบั แบบกลับด้านชัน้ เรยี น ซงึ่ มขี นั้ ตอน ดังน้ี (1) ขั้นสรา้ งความสนใจ (1) ครูนำรปู ระบบสุรยิ ะมาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ถามคำถามนกั เรยี นดังน้ี – เราสามารถใช้เกณฑ์ใดในการแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ (แนวคำตอบ ใช้ ระยะทางจากโลกถงึ ดวงอาทิตย์และใช้ลักษณะพ้ืนผวิ เปน็ เกณฑ์) – การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะโดยใช้ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์เป็น เกณฑส์ ามารถแบ่งเปน็ กก่ี ลุ่ม (แนวคำตอบ แบ่งเปน็ 2 กลมุ่ ) (2) นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรียน (2) ขัน้ สำรวจและคน้ หา (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจากใบความรู้หรื อใน หนงั สอื เรียน โดยครชู ว่ ยอธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจว่า การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะสามารถใช้ ระยะทางจากโลกถงึ ดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ในการแบ่งได้ โดยแบ่งออกเป็นดาวเคราะห์ท่ีอยูห่ ่างจากดวงอาทติ ย์ มากกวา่ โลก คือ ดาวเคราะห์วงนอก สว่ นดาวเคราะห์ที่อยู่หา่ งจากดวงอาทิตย์น้อยกว่าโลก คือ ดาวเคราะห์วง ใน (2) แบ่งกลุ่มนกั เรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกบั เกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ ในระบบสรุ ิยะโดยดำเนินการตามขน้ั ตอนดังนี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ใน ระบบสุริยะเป็นหัวข้อย่อย เช่น ดาวเคราะห์วงนอก ดาวเคราะห์วงใน ให้เพื่อนสมาชิกช่วยกัน สืบค้นตามที่ สมาชิกกลมุ่ ชว่ ยกันกำหนด

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบโดย การสืบค้นจากใบความรู้ที่ครูเตรียมมาให้หรือหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับ เยาวชน และอนิ เทอร์เนต็ – สมาชกิ กลุม่ นำข้อมูลทสี่ ืบค้นไดม้ ารายงานให้เพือ่ นๆ สมาชกิ ในกลมุ่ ฟัง รวมท้งั ร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมีความรู้ความเข้าใจท่ตี รงกัน – สมาชกิ กลุ่มชว่ ยกันสรปุ ความรทู้ ีไ่ ดท้ ้ังหมดเป็นผลงานของกลุม่ (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรยี นทกุ คนซกั ถามเม่ือมีปญั หา (3) ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นักเรยี นและครรู ว่ มกันอภปิ รายและหาขอ้ สรุปจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปนี้ – ดาวเคราะห์วงนอกได้แก่ดาวเคราะห์ดวงใด (แนวคำตอบ ดาวเคราะห์วงนอก ได้แก่ ดาว อังคาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยเู รนัส และดาวเนปจนู ) – ดาวเคราะห์วงในได้แก่ดาวเคราะห์ดวงใด (แนวคำตอบ ดาวเคราะห์วงใน ได้แก่ ดาวพุธและ ดาวศกุ ร์) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดาวเคราะห์ใน ระบบสุริยะสามารถแบ่งได้โดยใช้ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ ซึ่งแบ่งออกเป็น ดาวเคราะห์วง นอก ได้แก่ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวเคราะห์วงใน ได้แก่ ดาว พุธและดาวศุกร์ (4) ข้ันขยายความรู้ (1) ครูอภิปรายเพิ่มเติมว่า เราจะมองเห็นดาวเคราะห์วงในอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์เหนือขอบฟ้าด้านทิศ ตะวันตกในเวลาพลบค่ำ หรือเหนือขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกเวลารุ่งเช้าเท่านั้น โดยดาวพุธจะห่างจากดวง อาทติ ยไ์ ม่เกิน 28 องศา และดาวศกุ ร์อยูห่ า่ งจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 44 องศา เมอื่ ใช้กล้องโทรทรรศน์ส่องดูดาว เคราะห์ทั้งสองจะปรากฏให้เห็นเป็นเสี้ยวสว่าง ซึ่งมีขนาดเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละคืน ขึ้นอยู่กับระยะห่างจาก โลกและแสงเงาจากดวงอาทิตย์ (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับดาวเคราะห์วงใน ดาวเคราะห์วงนอก จาก หนงั สอื เรยี นภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟงั คัดคำศัพท์พร้อมท้ังคำแปลลง สมดุ สง่ ครู (5) ขน้ั ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรือมีขอ้ สงสัย ถ้ามี ครูชว่ ยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรยี นเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกนั ประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุม่ วา่ มปี ัญหาหรอื อุปสรรคใดและได้แก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะใชเ้ กณฑ์ใดบา้ ง

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – ดาวเคราะห์ทใี่ ช้ระยะทางจากโลกถงึ ดวงอาทิตยเ์ ป็นเกณฑ์แบง่ เป็นก่กี ลุม่ อะไรบา้ ง ข้ันสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเกณฑ์การแบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โดยร่วมกัน เขยี นเปน็ แผนท่คี วามคิดหรอื ผงั มโนทัศน์ 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. รปู ระบบสรุ ิยะ 2. หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต 3. หนงั สอื เรยี นภาษาตา่ งประเทศ 4. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 5. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 6. แบบฝกึ ทกั ษะรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 7. หนงั สือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 11. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรเู้ ร่ืองเกณฑ์การ จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะการคิดโดย แบ่งประเภทของดาวเคราะห์ใน การสงั เกตการทำงานกลุ่ม ระบบสุริยะ 1. ประเมนิ เจตคติทาง วิทยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมในการ 2. ตรวจชิน้ งานหรอื ภาระงานของ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด ปฏบิ ัติกจิ กรรมเป็รายบุคคล กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น เจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรือรายกลุ่มโดยการสังเกต การทำงานกลุม่ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. นักเรยี นน่ไี มผ่ ่าน มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 2. นกั เรยี นมีความร้คู วามเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .......................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั นี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 77 สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 เรอื่ ง เกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะ (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ 2. ตวั ชี้วัดช้นั ปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุรยิ ะได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นร้ทู เ่ี กี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. ส่อื สารและนำความร้เู ร่ืองเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะไปใชใ้ น ชวี ติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั นักดาราศาสตร์ได้แบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะโดยใช้ระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เป็นเกณฑ์ ซึ่งแบ่งออกเป็นดาวเคราะห์วงนอกและดาวเคราะห์วงใน ส่วนการแบ่งดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โดยใช้ลักษณะพื้นผิวเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็นดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง และดาวเคราะห์ หิน 5. สาระการเรียนรู้ ระบบสรุ ยิ ะ – ส่วนประกอบของระบบสุริยะ – เกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะ 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน สืบคน้ ขอ้ มลู เก่ยี วกับเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โดยการถาม คำถามนกั เรยี นว่า – ดาวเคราะห์ท้ัง 8 ดวง สามารถแบ่งประเภทไดห้ รือไม่ (แนวคำตอบ ได)้ – ดาวเคราะห์แต่ละดวงใช้เกณฑ์ในการแบ่งประเภทเหมือนกันหรือไม่ (แนวคำตอบ ไม่ เหมือนกัน) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรยี นรู้เรื่อง เกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ ขั้นจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกบั แบบกลับดา้ นชนั้ เรยี น ซงึ่ มขี ้ันตอน ดงั น้ี (1) ขัน้ สร้างความสนใจ (1) ครูถามคำถามนักเรยี นเพ่อื กระตุน้ ความสนใจ เช่น – เกณฑก์ ารแบ่งประเภทของดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะมีกี่กลุ่ม (แนวคำตอบ 2 กลมุ่ ) – การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะใช้เกณฑ์ใดบ้าง (แนวคำตอบ ใช้ระยะทางจาก โลกถึงดวงอาทติ ย์และใชล้ ักษณะพ้ืนผวิ เปน็ เกณฑ)์ (2) นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน (2) ขนั้ สำรวจและค้นหา (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจากใบความรู้หรือใน หนังสอื เรยี น โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การแบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะสามารถใช้ ลกั ษณะพืน้ ผวิ เปน็ เกณฑ์ในการแบ่งได้ โดยแบ่งออกเปน็ ดาวเคราะห์ทีม่ ีองคป์ ระกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊ส คอื ดาว เคราะห์ยักษ์แก๊ส ดาวเคราะห์ที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง คือ ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง และดาว เคราะห์ที่มีองค์ประกอบสว่ นใหญเ่ ปน็ หิน คือ ดาวเคราะห์หนิ (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกบั เกณฑ์การแบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ ในระบบสรุ ยิ ะ โดยดำเนินการตามข้นั ตอนดังน้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อเกณฑ์การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ใน ระบบสุริยะเป็นหัวข้อย่อย เช่น ดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง และดาวเคราะห์หิน ให้สมาชิก แต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั สืบค้นตามหัวข้อทกี่ ำหนด

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชิกแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสืบค้นข้อมูลตามหวั ข้อท่กี ลมุ่ ของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เน็ต – สมาชิกกลมุ่ นำข้อมูลที่สืบคน้ ได้มารายงานให้เพ่ือนๆ สมาชิกในกลุม่ ฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดว่าสมาชกิ ทกุ คนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจท่ีตรงกนั – สมาชิกกล่มุ ชว่ ยกนั สรุปความรทู้ ่ไี ดท้ ้งั หมดเป็นผลงานของกลุ่ม (3) ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ให้นกั เรียนทุกคนซกั ถามเม่ือมปี ัญหา (3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (1) นักเรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหน้าหอ้ งเรียน (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปน้ี – ดาวเคราะหย์ ักษน์ ำ้ แข็งได้แก่ดาวเคราะหด์ วงใด (แนวคำตอบ ดาวยเู รนสั และดาวเนปจนู ) – ดาวเคราะห์ที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สได้แก่ดาวเคราะห์ดวงใด (แนวคำตอบ ดาว พฤหัสบดแี ละดาวเสาร์) – ดาวเคราะห์ทมี่ ีองคป์ ระกอบสว่ นใหญ่เปน็ หินได้แก่ดาวเคราะห์ดวงใด (แนวคำตอบ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวองั คาร) (3) ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยครูเนน้ ใหน้ กั เรียนเข้าใจวา่ การแบ่งดาวเคราะห์โดยใช้ลักษณะพื้นผิวเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็นดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส ได้แก่ ดาว พฤหัสบดี และดาวเสาร์ ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง ได้แก่ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน และดาวเคราะห์หิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศกุ ร์ โลก และดาวอังคาร (4) ขน้ั ขยายความรู้ (1) ครูอภิปรายเพิ่มเติมว่า ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูนถูกเรียกว่า ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง เนื่องจากมี มวลประมาณ 65 เปอร์เซ็นต์ของน้ำแข็งและอื่นๆ รวมถึงองค์ประกอบทางเคมีของมีเทนและแอมโมเนียที่มี อณุ หภูมติ ่ำ เนือ่ งจากเป็นสารเคมีทอี่ ยู่ในสถานะแช่แขง็ จงึ ทำให้เกิดช้นั หนาระหวา่ งชน้ั บรรยากาศและแกนของ ดาวเคราะห์ (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง และดาวเคราะห์หิน จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง คัด คำศัพทพ์ รอ้ มทง้ั คำแปลลงสมดุ สง่ ครู (5) ขัน้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื มีข้อสงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้นักเรยี นเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้แก้ไขอย่างไร บ้าง (3) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนกั เรยี น เช่น

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู อะไรบา้ ง – การแบ่งประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะโดยใช้ลักษณะพื้นผิวเป็นเกณฑ์แบ่งเป็นกี่กลุ่ม เคราะห์ – ดาวยูเรนัสและดาวเนปจนู จัดเป็นดาวเคราะห์ยักษน์ ำ้ แข็งเพราะเหตุใด – ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะแบ่งเป็นก่ีกลุ่ม และนักดาราศาสตรใ์ ช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่งดาว ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเกณฑ์การแบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โดยร่วมกัน เขียนเปน็ แผนทคี่ วามคิดหรือผังมโนทัศน์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต 2. หนงั สือเรียนภาษาตา่ งประเทศ 3. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 6. หนงั สอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรู้เร่ืองเกณฑ์การ แบง่ ประเภทของดาวเคราะห์ใน 1. ประเมินเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะการคิดโดย ระบบสรุ ยิ ะ เปน็ รายบคุ คลโดยการสงั เกต การสงั เกตการทำงานกลุม่ 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ กจิ กรรมฝึกทักษะระหวา่ งเรยี น และใช้แบบวดั เจตคติทาง 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ วิทยาศาสตร์ ปฏิบัติกจิ กรรมเป็น 2. ประเมนิ เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 3. รายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ โดย เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกลุ่ม และใชแ้ บบวดั เจตคตติ ่อ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นักเรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู.้ .................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. นักเรียนน่ไี มผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมีความรู้เกิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั นี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 78 สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรอื่ ง การสร้างแบบจำลองระบบสุริยะ เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ 2. ตัวช้ีวดั ชนั้ ปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายและเปรยี บเทียบการโคจรของดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจำลองระบบสุรยิ ะได้ (K) 2. สร้างแบบจำลองเพอื่ แสดงองคป์ ระกอบของระบบสรุ ยิ ะได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ่ีเก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สื่อสารและนำความรเู้ ร่ืองแบบจำลองระบบสรุ ิยะไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั แบบจำลองระบบสรุ ิยะเป็นแผนภาพแสดงแนวคดิ ของนักดาราศาสตรท์ ่ีสรา้ งข้ึนเพ่ือแสดงตำแหน่งของ ดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ และวตั ถทุ ้องฟา้ อืน่ ๆ ทีโ่ คจรรอบโลก 5. สาระการเรียนรู้ ระบบสุริยะ – แบบจำลองระบบสุรยิ ะ 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวติ 8. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน สร้างแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะ 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับแบบจำลองระบบสุริยะ โดยให้นักเรียนอธิบายว่า นักดาราศาสตร์สร้าง แบบจำลองระบบสรุ ิยะจากการศกึ ษาการเคล่อื นท่ีของดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ดวงจนั ทร์ และวตั ถทุ อ้ งฟา้ อ่ืนๆ ในระบบสรุ ิยะ 2) นักเรยี นช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั คำตอบของคำถาม เพ่อื เชือ่ มโยงไปสู่การ เรียนรูเ้ รื่อง แบบจำลองระบบสุริยะ ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ รว่ มกับแบบกลบั ด้านช้ันเรียน ซ่ึงมขี ั้นตอน ดังน้ี (1) ข้ันสร้างความสนใจ (1) ครถู ามคำถามนกั เรยี นเพ่ือกระต้นุ ความสนใจ เช่น – ขนาดของดาวเคราะห์แต่ละดวงเทา่ กนั หรอื ไม่ (แนวคำตอบ ไม่เท่ากัน) – ถ้าต้องการศึกษาเกี่ยวกับขนาดของดาวเคราะห์สามารถศึกษาได้โดยวิธีการใด (แนวคำตอบ ศึกษาได้โดยการสรา้ งแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะ) (2) นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเกยี่ วกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น (2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (1) แบง่ กลมุ่ นกั เรยี น ปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 25 สร้างแบบจำลองของระบบสรุ ิยะ แตล่ ะกลุ่มปฏิบตั กิ ิจกรรม ตามขัน้ ตอนท่ีได้วางแผนไว้ ดงั นี้ – ใช้ข้อมูลในตารางแสดงเส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์และเส้นผ่านศูนย์กลางของ แบบจำลองสร้างแบบจำลองของดาวเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลเส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์หาขนาด เพื่อ สรา้ งแบบจำลองของดาวเคราะหแ์ ตล่ ะดวง ตารางแสดงเส้นผ่านศนู ยก์ ลางของดาวเคราะห์และเส้นผ่านศนู ยก์ ลางของแบบจำลอง ช่ือดาวเคราะห์ เสน้ ผ่านศูนย์กลางของ เสน้ ผ่านศนู ย์กลางของ ดาวเคราะห์ (กิโลเมตร) แบบจำลอง (มิลลิเมตร) ดาวพุธ 4,900 5 ดาวศกุ ร์ 12,100 12 โลก 12,800 13 ดาวอังคาร 6,800 7 ดาวพฤหสั บดี 143,000 143

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ดาวเสาร์ 120,500 121 ดาวยเู รนัส 51,100 51 ดาวเนปจนู 49,500 50 หมายเหตุ กำหนดให้ 1 มลิ ลิเมตร มีค่าประมาณ 1,000 กโิ ลเมตร – สร้างแบบจำลองของดาวเคราะห์แต่ละดวงลงบนกระดาษ วัดขนาดดาวเคราะห์แต่ละดวงด้วย ไม้บรรทัด เพื่อให้แน่ใจว่ามีขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางถูกต้อง ตัดดาวเคราะห์แต่ละดวงออกมาและระบายสี บันทึกลำดับขนาดของดาวเคราะหใ์ นตาราง – นำดาวเคราะห์ท่ตี ัดแล้วมาจัดเรยี งเป็นแบบจำลองตามลำดับท่ีแสดงในตาราง โดยให้ดาวพุธอยู่ ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด พึงระลึกไว้เสมอว่าแบบจำลองนี้ช่วยให้นักเรียนเปรียบเทียบขนาดไม่ใช่ระยะทาง บันทกึ ลำดับขนาดของดาวเคราะห์ในตาราง (2) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรยี นทุกคนซกั ถามเม่ือมปี ัญหา (3) ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรปุ (1) นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – นักดาราศาสตร์ใช้แบบจำลองเพื่ออธิบายระบบสุริยะเพราะเหตุใด (แนวคำตอบ เพราะ แบบจำลองแสดงใหเ้ ห็นวา่ ดาวเคราะห์และเทหวัตถุตา่ ง ๆ เดินทางในเส้นทางทเ่ี ปน็ วงร)ี – จากการสร้างแบบจำลองระบบสุริยะ โลกของเราเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่เป็นลำดับท่ี เท่าใด (แนวคำตอบ โลกมขี นาดใหญเ่ ปน็ ลำดับที่ 5) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า แบบจำลอง ระบบสรุ ิยะทำให้เราสามารถเปรยี บเทยี บขนาดของดาวเคราะห์จรงิ ในระบบสุรยิ ะไดม้ ากขน้ึ (4) ขั้นขยายความรู้ นักเรียนลองประดิษฐ์แบบจำลองระบบสุริยะเป็นแบบ 3 มิติ โดยใช้วัสดุที่มีทรงกลมขนาดต่างๆ เช่น ลูกบอล ลูกปิงปอง หรือลูกเทนนิสเก่า โดยเลือกให้มีขนาดตามสัดส่วนของดาวเคราะห์ เช่น ดาวพฤหัสบดีมี ขนาดใหญ่ที่สุดให้ใช้ลูกบอลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และทาสีแดงตามสีของชั้นบรรยากาศ ส่วนดาวพุธมีขนาดเล็ก ที่สุดให้ใช้ลูกปิงปอง แล้วระบายสีดาวตา่ งๆ ตามข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้ามา นักเรียนอาจใช้แท่งไม้เป็นแกนทำ เป็นลกั ษณะโมไบล์ และใช้เชอื กผกู ตามจดุ ตา่ งๆ เพอื่ แสดงระยะทางที่ต่างกนั จากดวงอาทิตย์ (5) ขนั้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรือมขี อ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ให้นักเรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรียนรว่ มกนั ประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – ถ้านักเรียนมีความคิดในเรื่องระบบสุริยะไม่เหมือนกับเพื่อนๆ นักเรียนจะอธิบายให้เพื่อนๆ เข้าใจไดอ้ ย่างไร – นกั วทิ ยาศาสตรท์ ำความรจู้ กั สิง่ ตา่ งๆ ในระบบสรุ ยิ ะด้วยวธิ ีการใด – ดาวเคราะหด์ วงใดโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยความเรว็ มากทีส่ ุดและนอ้ ยท่ีสุด ข้นั สรปุ ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปเกย่ี วกบั แบบจำลองระบบสุริยะ โดยรว่ มกนั เขียนเป็นแผนทีค่ วามคิดหรือผัง มโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 25 สรา้ งแบบจำลองของระบบสรุ ยิ ะ 2. ลูกบอล ลูกปิงปอง หรือลกู เทนนสิ เก่า 3. ค่มู อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 4. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ซกั ถามความรู้เรื่อง แบบจำลอง จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะกระบวนการ ระบบสุริยะ ทางวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้แบบ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง วัดทกั ษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชนิ้ งานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล วิทยาศาสตร์ กจิ กรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรยี น โดยการสงั เกตและใช้แบบวัด เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ โดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่ 2. ประเมนิ เจตคติต่อ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 3. ประเมนิ ทักษะการ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด แกป้ ญั หาโดยการสังเกตการ เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ทำงานกลุ่ม 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเป็น รายบุคคลหรอื รายกลุ่มโดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร้.ู .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไมผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 3. นกั เรียนมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ....................................................................................... ............................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา/ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางอมลสิริ คำฟู แลว้ มีความเห็นดังน้ี 1. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ 2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใชไ้ ด้จรงิ  ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... .......................................................................................................... .................................................................... ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 79 สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เร่ือง ความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ 2. ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. สังเกตและเปรยี บเทยี บความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ได้ (K) 2. มีความสนใจใฝร่ แู้ ละอยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ทีเ่ กี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผู้อนื่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สือ่ สารและนำความรู้เรื่องความเรว็ ในการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ไปใชใ้ น ชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั ดาวเคราะห์ทอ่ี ยใู่ กล้ดวงอาทติ ยม์ ีรัศมีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์น้อยกว่าดาวเคราะห์ที่ อยู่ไกลจากดวงอาทติ ย์ จึงทำให้ดวงอาทิตย์ออกแรงดงึ ดูดมาก ดาวเคราะหท์ อ่ี ย่ใู กลด้ วงอาทติ ย์จงึ ตอ้ ง เคลื่อนท่ดี ้วยความเรว็ สูงเพื่อให้สามารถโคจรรอบดวงอาทิตย์ไดโ้ ดยที่ไมถ่ กู ดวงอาทิตยด์ งึ ดูดเข้าไป 5. สาระการเรียนรู้ ระบบสุริยะ – ส่วนประกอบของระบบสรุ ยิ ะ ความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 4. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชีวติ 8. ช้ินงานหรือภาระงาน ทดลองความเรว็ ในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ครูถามคำถามนักเรยี นเพอ่ื กระตนุ้ ความสนใจ เช่น – นักเรียนคิดว่าดาวเคราะห์แต่ละดวงมีการโคจรเป็นลักษณะใด (แนวคำตอบ ดาวเคราะห์แต่ละ ดวงโคจรรอบดวงอาทติ ยเ์ ป็นวงร)ี – ดาวเคราะห์โคจรอยู่ในระบบสุริยะได้โดยไม่หลุดออกจากวงโคจรเพราะเหตุใด (แนวคำตอบ มี แรงดึงดูดซึ่งกันและกัน) 2) นกั เรยี นช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพือ่ เชื่อมโยงไปสู่การ เรยี นรูเ้ รอ่ื ง ความเรว็ ในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทติ ย์ ขน้ั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ร่วมกบั แบบกลบั ด้านช้นั เรยี น ซง่ึ มขี น้ั ตอน ดังนี้ (1) ขัน้ สร้างความสนใจ (1) ครูให้นักเรียนนำแบบจำลองระบบสุริยะที่ได้สร้างในคาบที่ 74 เพื่อนำมาศึกษาเกี่ยวกับระยะห่าง ระหว่างดาวเคราะห์แตล่ ะดวงกับดวงอาทติ ย์ แล้วถามคำถามนกั เรียนดังนี้ – ดาวเคราะห์โคจรอยู่ในระบบสุริยะได้โดยไม่หลุดออกจากวงโคจรเพราะเหตุใด (แนวคำตอบ เพราะดวงอาทติ ยแ์ ละดาวเคราะหม์ แี รงดงึ ดูดซึ่งกนั และกนั ) – ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มกี ารเคลื่อนทีอ่ ย่างไร (แนวคำตอบ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง เพื่อให้สามารถโคจรรอบดวงอาทติ ยไ์ ดโ้ ดยท่ีไม่ถกู ดวงอาทิตย์ดงึ ดดู เขา้ ไป) (2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น (2) ขนั้ สำรวจและค้นหา (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 26 ทดลองความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวง อาทติ ย์ โดยปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนของวธิ ีการทางวิทยาศาสตรด์ งั นี้ ขน้ั ท่ี 1 กำหนดปัญหา – ดาวเคราะหท์ ่ีโคจรอยู่ใกลด้ วงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ที่โคจรอยูไ่ กลดวงอาทติ ย์ดาวเคราะห์ดวง ใดมคี วามเรว็ ในการโคจรมากกว่ากนั ขั้นที่ 2 ตงั้ สมมุตฐิ าน – ดาวเคราะห์ที่โคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์น่าจะมีความเร็วในการโคจรมากกว่าดาวเคราะห์ที่โคจร อยไู่ กลดวงอาทิตย์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ขั้นที่ 3 ทดลอง – นำเชือกยาว 1 เมตรมาผูกปลายเชือกด้านหนึ่งกับลูกปิงปอง จับปลายเชือกด้านตรงข้ามลูก ปิงปองใหแ้ นน่ แล้วแกวง่ ลกู ปิงปองให้เคลื่อนท่ีรอบศรี ษะเป็นวงกลมในแนวระนาบ โดยใหเ้ ชือกยังคงตงึ อยู่ นับ จำนวนรอบของการแกวง่ ในเวลา 1 นาที บนั ทึกผล – ดำเนินการทดลองตามขั้นตอนที่ 1 แตล่ ดความยาวของเชือกลง โดยการจับเชอื กให้ห่างจากลูก ปงิ ปอง 20 เซนติเมตร แล้วนบั จำนวนรอบของการแกวง่ ในเวลา 1 นาที บนั ทึกผล – เปรียบเทียบการเคลื่อนที่ของลูกปิงปองรอบศีรษะกับการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์รอบดวง อาทติ ย์ การแกวง่ ลกู ปิงปองใหเ้ คลื่อนทรี่ อบศีรษะเป็นวงกลม ขนั้ ที่ 4 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง – แปลความหมายข้อมูลที่ได้จากตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง – นำขอ้ มลู ท่ีได้มาพิจารณาเพื่ออธบิ ายวา่ เปน็ ไปตามทนี่ กั เรยี นตั้งสมมตุ ฐิ านไว้หรอื ไม่ ขั้นท่ี 5 สรปุ ผลการทดลอง – นักเรียนรว่ มกนั สรุปผลการทดลองแล้วเขียนเปน็ รายงานสรุปผลการทดลองส่งครู (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นทุกคนซักถามเมอื่ มีปญั หา (3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (1) นักเรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นกั เรียนและครูรว่ มกันอภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ – ดาวพุธมีความเร็วในการโคจรมากกว่าดาวเนปจูนหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ มากกว่า เพราะดาวพุธอย่ใู กล้ดวงอาทติ ยม์ ากกว่าดาวเนปจนู ) – ความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์ขึ้นอยู่กับสิ่งใด (แนวคำตอบ ขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่าง ดวงอาทติ ย์กบั ดาวเคราะห)์ – ผลการทดลองเป็นไปตามสมมุติฐานที่นักเรียนกำหนดไว้หรือไม่ (แนวคำตอบ เป็นไปตาม สมมตุ ิฐานทกี่ ำหนดไว)้ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า เมื่อเราจับเชือก ให้ยาว 1 เมตร รัศมีในการเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบศีรษะจะมาก จึงทำให้จำนวนรอบในการเคลื่อนที่เป็น วงกลมรอบศรี ษะในเวลา 1 นาที นอ้ ยกวา่ เม่ือเราจับเชอื กให้ส้นั เพียง 20 เซนติเมตร ทั้งน้เี พราะเม่อื เราจบั เชือก ให้ส้นั ลงแล้วแกวง่ จะทำใหร้ ศั มีในการเคลื่อนทเ่ี ป็นวงกลมรอบศรี ษะลดลง ลูกปงิ ปองจงึ เคลื่อนท่ีไดจ้ ำนวนรอบ มากขึ้นหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากขึ้นเพื่อให้เชือกตึงและลูกปิงปองไม่ตกลงมา เช่นเดียวกับการโคจรของ

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ ดาวเคราะหท์ ่ีอยู่ใกลด้ วงอาทิตยจ์ ะมีรัศมีในการโคจรรอบดวงอาทิตย์น้อยกว่าดาว เคราะห์ที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ ทำให้ดวงอาทิตย์ออกแรงดึงดูดมากจึงต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง เพื่อให้ สามารถโคจรรอบดวงอาทติ ย์ได้โดยทไ่ี ม่ถูกดวงอาทติ ย์ดงึ ดูดเขา้ ไป (4) ขน้ั ขยายความรู้ (1) ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกับดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์แคระ ดาวหาง และอุกกาบาต (2) ครูเชือ่ มโยงความรู้อาเซียน โดยครูให้ความรูเ้ สรมิ กับนกั เรียนวา่ นอกจากดวงจนั ทรท์ ี่โคจรรอบโลก แลว้ ยังมีดาวเทยี มซ่งึ เป็นเคร่ืองมือรับสง่ สัญญาณตา่ ง ๆ จากบนโลกอกี ด้วย ซง่ึ ในประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นมี เพียงบางประเทศที่มีดาวเทียมเป็นของตัวเอง จากนั้นครูเพิ่มเติมความรู้เก่ียวกับดาวเทยี มดวงแรกที่ถกู ส่งขึ้นสู่ อวกาศ ดงั น้ี – ไทย ดาวเทยี มดวงแรกช่อื ไทยคม 1 ซ่ึงส่งข้ึนสูอ่ วกาศเม่ือ พ.ศ. 2536 – ฟลิ ิปปินส์ ดาวเทียมดวงแรกช่ือ Mabuhay 1 ซึง่ สง่ ข้ึนสู่อวกาศเมอื่ พ.ศ. 2540 – สงิ คโปร์ ดาวเทยี มดวงแรกชอ่ื ST-1 ซึ่งสง่ ขนึ้ สู่อวกาศเมอื่ พ.ศ. 2541 – เวียดนาม ดาวเทียมดวงแรกช่อื Vinasat 1 ซง่ึ สง่ ข้นึ สูอ่ วกาศเมือ่ พ.ศ. 2551 (5) ขัน้ ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ไม่ เขา้ ใจหรือยังมขี ้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรียนรว่ มกันประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกล่มุ ว่ามีปัญหาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการปฏิบัติกจิ กรรมและการ นำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – ดาวเคราะห์ดวงใดโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยความเรว็ มากทสี่ ุดและน้อยที่สดุ เน่อื งจากอะไร – นกั เรยี นคดิ ว่าความรเู้ รือ่ งความเร็วในการโคจรของดาวเคราะหส์ ามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในเร่ือง ใด ยกตวั อย่าง – นักดาราศาสตรเ์ รียกกลุ่มดาวที่โคจรอยรู่ ะหว่างดาวองั คารกับดาวพฤหสั บดีว่าดาวเคราะห์น้อย เพราะอะไร อธิบาย – ดาวหางกับอกุ กาบาตเหมือนกนั หรอื ไม่ เพราะอะไร ข้ันสรปุ 1) ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปเก่ยี วกับความเร็วในการโคจรของดาวเคราะห์ โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผน ท่คี วามคดิ หรอื ผังมโนทัศน์ 2) ครูดำเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความก้าวหน้า/ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 ของนักเรยี น

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบหลังเรยี น 2. แบบจำลองระบบสรุ ิยะ 3. ใบกจิ กรรมที่ 26 ทดลองความเรว็ ในการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทติ ย์ 4. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. ส่อื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 6. แบบฝึกทักษะรายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 7. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรู้เรื่อง ความเร็วใน การโคจรของดาวเคราะห์รอบ 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมินทักษะกระบวนการ ดวงอาทติ ย์ เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใชแ้ บบ 2. ตรวจชน้ิ งานหรอื ภาระงานของ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น และใช้แบบวัดเจตคติทาง วดั ทกั ษะกระบวนการทาง 3. ทดสอบหลงั เรยี นโดยใช้ วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ แบบทดสอบหลังเรียน 2. ประเมนิ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ โดย เปน็ รายบุคคลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกล่มุ และใชแ้ บบวัดเจตคตติ อ่ 3. ประเมนิ ทักษะการ วิทยาศาสตร์ แก้ปญั หาโดยการสังเกตการ ทำงานกลุ่ม 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็น รายบุคคลหรือรายกล่มุ โดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรียนน่ไี ม่ผ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ .................................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ...................................................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ......................... 4. นักเรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 80 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 เร่ือง การทดสอบปลายภาคเรยี น เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผ้สู อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** นักเรยี นทำแบบทดสอบปลายภาคเรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook