Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

Published by jarunpanakul, 2021-03-12 03:59:01

Description: แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชิน้ งานหรือภาระงาน สืบค้นขอ้ มลู เกี่ยวกับการจำแนกชนิดของดอก 9. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้ของนักเรียนเกีย่ วกับสว่ นประกอบของดอกโดยถามคำถามดังน้ี – ดอกมีส่วนประกอบสำคญั อะไรบา้ ง (แนวคำตอบ กลบี เลยี้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศ เมยี ) – ส่วนประกอบทีท่ ำหน้าทีใ่ นการสืบพันธ์คุ ือสว่ นใด (แนวคำตอบ เกสรเพศผ้แู ละเกสรเพศเมีย) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การจำแนก ชนดิ ของดอก ขั้นจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มีขน้ั ตอนดงั นี้ 1) ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูนำดอกกุหลาบ ดอกชบา ดอกมะละกอ และดอกฟักทอง หรือรูปที่แสดงส่วนประกอบชัดเจน ของดอกเหล่านี้มาให้นักเรียนสังเกต แล้วให้นักเรียนบันทึกส่วนประกอบของดอก จากนั้นถามคำถามนักเรียน ว่า ถ้าต้องการจำแนกดอกเหล่านี้เป็นกลุ่มจะใช้เกณฑ์ใด และแบ่งกลุ่มได้ลักษณะใด (แนวคำตอบ ใช้ ส่วนประกอบของดอกเปน็ เกณฑ์ แบง่ เปน็ ดอกครบสว่ น คอื ดอกกุหลาบและดอกชบา และดอกไม่ครบส่วน คือ ดอกมะละกอและดอกฟักทอง) (2) นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องการจำแนกชนิดของดอกจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย อธิบายให้นกั เรียนเข้าใจวา่ เราสามารถจำแนกชนิดของดอกเปน็ กลุ่มได้โดยกำหนดเกณฑ์ทีต่ ้องการ เชน่ การใช้ ส่วนประกอบของดอกเปน็ เกณฑ์ แบ่งเปน็ ดอกครบสว่ นและดอกไม่ครบส่วน หรือการใชเ้ พศของดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งเป็นดอกสมบรู ณ์เพศและดอกไม่สมบูรณ์เพศ (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการจำแนกชนิดของดอกโดยดำเนินการตาม ขน้ั ตอนดงั นี้ – แตล่ ะกลมุ่ วางแผนการสืบคน้ ข้อมลู โดยแบ่งหัวข้อดอกครบสว่ น ดอกไม่ครบสว่ น ดอกสมบูรณ์ เพศ และดอกไม่สมบูรณ์เพศ และความสัมพันธ์ระหว่างดอกทั้ง 4 ชนิดให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นตาม หวั ข้อท่กี ำหนด – สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสบื ค้นข้อมลู ตามหวั ข้อทีก่ ลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนังสือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ นต็

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบคน้ ไดม้ ารายงานใหเ้ พื่อน ๆ สมาชิกในกลมุ่ ฟัง รวมทง้ั ร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดว่าสมาชิกทกุ คนมีความรคู้ วามเข้าใจที่ตรงกัน – สมาชิกกลมุ่ ช่วยกันสรุปความรู้ทีไ่ ด้ทั้งหมดเป็นผลงานของกลมุ่ (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยครเู ดินดรู อบ ๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนซักถามเมือ่ มปี ัญหา 3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมหนา้ หอ้ งเรยี น (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปจาก การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปน้ี – ดอกครบส่วนและดอกไม่ครบส่วน แตกต่างกันลักษณะใด (แนวคำตอบ ดอกครบส่วน คือ ดอกที่มี กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ส่วนดอกไม่ครบส่วน คือ ดอกทข่ี าดส่วนประกอบสำคัญของ ดอกส่วนใดสว่ นหนงึ่ ไป) – ดอกสมบรู ณ์เพศและดอกไม่สมบรู ณ์เพศแตกต่างกนั ลักษณะใด (แนวคำตอบ ดอกสมบูรณ์เพศ คือ ดอกที่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียภายในดอกเดียวกัน ส่วนดอกไม่สมบูรณ์เพศ คือ ดอกที่มีเฉพาะ เกสรเพศผหู้ รือเกสรเพศเมียอย่างใดอยา่ งหน่ึงภายในดอก) – ดอกสมบูรณ์เพศจัดเป็นดอกครบส่วนเสมอหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ ไม่ เพราะดอก ครบส่วนต้องพิจารณาว่าดอกมีส่วนประกอบสำคัญครบทั้ง 4 ส่วน ไม่ใช่พิจารณาเฉพาะการมีเกสรเพศผู้และ เกสรเพศเมียครบภายในดอกเดียวกนั ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ดอกสามารถ จำแนกเปน็ กลมุ่ ไดเ้ ม่อื กำหนดเกณฑ์ในการจำแนก 4) ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูเชื่อมโยงความรู้อาเซียน โดยถามนักเรียนว่า ทราบหรือไม่ว่า ดอกไม้ประจำชาติของประเทศ สมาชิกอาเซยี นคือดอกอะไร จากนน้ั ครูนำรูปดอกไม้ประจำชาติในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนมาให้นักเรียนดู พร้อมกบั ให้ดสู ่วนประกอบของดอกไมป้ ระจำชาตวิ ่ามีลักษณะใดเหมอื นหรือแตกต่างกันบา้ ง - มาเลเซีย มีดอกบุหงารายา (Bunga raya) หรือที่คนไทยเรียกว่า ดอกชบา เป็นดอกไม้ประจำชาติ ดอก บุหงารายาใช้เพื่อแสดงความเป็นปึกแผ่นและความอดทนของคนในชาติ ดอกบุหงารายาเป็นทั้งดอกครบส่วน และดอกสมบูรณ์เพศ คือ มกี ลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และ เกสรเพศเมีย ซง่ึ ดอกบหุ งารายาแต่ละพันธุ์จะ มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เช่น กลบี ดอกมีสีแตกต่างกัน หรอื กลีบดอกมีการซอ้ นเรยี งชัน้ ท่ตี า่ งกนั - เวยี ดนามมดี อกบัว (Lotus) เป็นดอกไมป้ ระจำชาติ ดอกบวั ใช้แสดงถึงความบริสุทธ์ิ ความผูกพัน และการ มองโลกในแง่ดี ดอกบัวเป็นทั้งดอกครบส่วนและดอกสมบูรณ์เพศเหมือนชบา คือ มีกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสร เพศผู้ และ เกสรเพศเมีย ซง่ึ ดอกบัวแตล่ ะพันธจ์ุ ะมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ดอกมีขนาดต่างกัน หรือกลีบดอก มสี แี ตกต่างกนั

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู - ลาว มีดอกจำปาลาว (Dok Champa) หรือที่คนไทยเรียกว่า ดอกลีลาวดี เป็นดอกไม้ประจำชาติ ดอกจา ปาลาว เป็นตัวแทนของความสุขและความจริงใจ ดอกจาปาลาวเป็นดอกสมบูรณ์เพศ แต่เกสรเพศผู้และเกสร เพศเมียอยลู่ ึกเข้าไปภายในดอก เราจงึ สงั เกตไม่เหน็ จากภายนอก และดอกจาปาลาวเป็นดอกไม่ครบส่วนเพราะ ไมม่ กี ลีบเลี้ยง - สิงคโปร์มีดอกกล้วยไม้แวนดา (Vanda Miss Joaquim) เป็นดอกไม้ประจำชาติ ดอกกล้วยไม้แวนดาเป็น ดอกไม้ที่รู้จักกันมากที่สุดในสิงคโปร์ และถูกจัดให้เป็นดอกไม้ประจำชาติเมื่อปี พ.ศ. 2524 ดอกกล้วยไม้เป็น ดอกสมบูรณ์เพศเช่นเดียวกับดอกจาปาลาว คือ มีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี อยู่ในดอกเดียวกัน ดอกกล้วยไม้ แวนดาเปน็ ดอกไมค่ รบสว่ นเพราะไมม่ ีกลีบเลย้ี ง (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการจำแนกชนิดของดอก จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่ง ครู 5) ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรอื ยงั มขี อ้ สงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ (2) นักเรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ่ ว่ามีปญั หาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยถามคำถาม นักเรียน เชน่ – ดอกสมบูรณ์เพศไม่จัดอยู่ในกลุ่มดอกครบส่วน เพราะอะไร – ดอกไม่สมบูรณ์เพศจดั เป็นดอกไม่ครบส่วนเพราะอะไร ขัน้ สรปุ 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องการจำแนกชนิดของดอก โดยร่วมกันเขียนสรุปเป็นแผนท่ี ความคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์ 2) ครูดำเนินการทดสอบหลังเรียน โดยให้นักเรียนทำ แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความ ก้าวหน้า/ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ของนักเรียน 3) ครูเชื่อมโยงเนื้อหาจากบทเรียนนี้กับบทเรียนชั่วโมง หน้า เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนชั่วโมงต่อไป โดยการใช้คำถามกระตนุ้ ดงั น้ี – สัตวเ์ ปน็ สงิ่ มีชีวิตท่ีกินสิ่งมชี ีวิตอ่ืนและเคล่ือนท่ีเอง ได้ ถ้านักเรียนต้องการจำแนกสัตว์เป็นกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะใดที่สามารถจำแนกสัตว์ได้บ้าง (แนวคำตอบ การมีกระดูกสนั หลัง)

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาคน้ คว้าเนื้อหาของบทเรยี นช่ัวโมงหน้าเพือ่ จัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป โดยใหน้ ักเรยี นศกึ ษาคน้ คว้าล่วงหนา้ ในหัวขอ้ การจำแนกสัตว์ 5) ครูให้นกั เรยี นเตรียมประเด็นคำถามทสี่ งสยั มาอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม เพอื่ นำมาอภปิ รายร่วมกัน ในชน้ั เรยี นคร้ังต่อไป 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. ดอกกหุ ลาบ ดอกชบา ดอกมะละกอ และดอกฟักทอง หรือรปู ท่แี สดงสว่ นประกอบของดอกเหล่าน้ี 2. รปู ดอกไมป้ ระจำชาติในกลุ่มประเทศสมาชกิ อาเซยี น 3. หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และ อนิ เทอร์เนต็ 4. หนงั สอื เรยี นภาษาต่างประเทศ 5. แบบทดสอบหลงั เรียน 6. คูม่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 7. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 8. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 9. หนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 11. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรเู้ รื่องการจำแนก 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย ชนิดของดอก 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง การสังเกตการทำงานกลมุ่ วิทยาศาสตร์เปน็ 2. ตรวจชนิ้ งานหรอื ภาระงานของ รายบุคคลโดยการสังเกต 2. ประเมินพฤติกรรมใน กิจกรรมฝึกทักษะระหวา่ งเรียน และใช้แบบวัดเจตคตทิ าง 3. การปฏิบตั ิกจิ กรรมเปน็ วิทยาศาสตร์ 4. รายบคุ คลหรือรายกล่มุ โดย 3. ทดสอบหลงั เรียนโดยใช้ แบบทดสอบหลงั เรียน 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ การสงั เกตการทำงานกลมุ่ วิทยาศาสตร์เป็น รายบคุ คลโดยการสงั เกต และใชแ้ บบวัดเจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนร.ู้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรียนนไ่ี มผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นที่ไมผ่ า่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ...................................................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นกั เรียนมีความรเู้ กดิ ทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ........................................................................................................................................ .............. 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่  นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 27 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 เร่ือง การจำแนกสตั ว์ (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ูส้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธุกรรมท่มี ผี ลตอ่ สงิ่ มชี วี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวฒั นาการ ของสิง่ มชี ีวิต รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวชี้วัดช้นั ปี จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลทร่ี วบรวมได้ (ว 1.3 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. จำแนกสตั วเ์ ป็นสตั ว์มกี ระดูกสันหลงั และสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รูห้ รืออยากรูอ้ ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่เี กี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผ้อู นื่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. ส่อื สารและนำความรู้เร่ืองการจำแนกสัตวไ์ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั การจำแนกสัตว์โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์สามารถจำแนกสัตว์ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ สัตว์มี กระดูกสนั หลังและสตั ว์ไม่มกี ระดกู สนั หลงั 5. สาระการเรียนรู้ การจำแนกสตั ว์ 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชวี ติ

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน สังเกตเปรยี บเทยี บโครงร่างสัตวม์ กี ระดูกสันหลงั และสตั วไ์ ม่มีกระดกู สนั หลัง 9. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ครูดำเนินการทดสอบก่อนเรียนโดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม และพ้นื ฐานของนกั เรียน ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1) ครใู ห้นกั เรยี นดรู ูปซปุ กระดูกหมู กุ้งตม้ และปลาย่าง แลว้ ถามคำถามเกี่ยวกบั ประสบการณ์เดิมของ นักเรยี นว่า – นกั เรียนเคยกนิ อาหารใดในรปู บา้ ง (แนวคำตอบ ซปุ กระดกู หมู กงุ้ ต้ม และปลายา่ ง) – นกั เรยี นพบกระดูกในอาหารใดบา้ ง (แนวคำตอบ ซุปกระดูกหมูและปลาย่าง) 2) นกั เรียนชว่ ยกันตอบคำถามและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั คำตอบของคำถาม เพ่อื เชอ่ื มโยงไปสู่การ เรยี นรเู้ รือ่ ง การจำแนกสตั ว์ ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมีขัน้ ตอนดังน้ี 1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครแู บง่ กลมุ่ นักเรียนแลว้ เปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนำเสนอข้อมูลเกีย่ วกับการจำแนกสัตว์ท่ีครู มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอข้อมูลหน้า หอ้ งเรียน (2) ครตู รวจสอบว่านกั เรยี นทำภาระงานท่ีได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก ของนักเรียน และถามคำถามเกย่ี วกับภาระงาน ดังนี้ – สตั ว์ทม่ี ีกระดูกเป็นแกนแขง็ ภายในลำตัวมีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ ปลา นก และแมว) – สัตว์ที่ไม่มีกระดูกเป็นแกนแข็งภายในลำตัวมีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ ตั๊กแตน แมงกะพรุน และ ไสเ้ ดือนดนิ ) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตั้งประเด็นคำถามที่นกั เรียนสงสัยจากการทำภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม ซง่ึ ครใู หน้ ักเรียนเตรียมมาลว่ งหนา้ และใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็ (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สัตว์ แต่ละชนิดมีโครงรา่ งภายในลำตวั แตกต่างกัน และเมื่อใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์สามารถจำแนกสัตว์ได้ เป็น 2 กลุ่ม คอื สัตวม์ ีกระดูกสันหลังและสตั ว์ไมม่ ีกระดูกสันหลัง 2) ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบง่ กลุ่มนกั เรยี น ปฏิบัตกิ ิจกรรมที่ 9 สงั เกตเปรยี บเทียบโครงร่างสัตวม์ ีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่ มีกระดกู สนั หลงั แต่ละกล่มุ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามขั้นตอนทีไ่ ด้วางแผนไว้ ดังนี้ – แบ่งกล่มุ นกั เรยี น กล่มุ ละ 5 – 6 คน – แตล่ ะกล่มุ นำปลาทู กุ้ง และหอยแมลงภ่ทู ีน่ ่งึ สุกแล้วมาชนิดละ 1 ตัว – ใช้ช้อนและสอ้ มเขยี่ แยกเนื้อออกจากโครงรา่ งของสัตวท์ ี่นำมาสงั เกต – สังเกตเปรยี บเทียบโครงรา่ งและวิเคราะห์ว่าเปน็ สตั วม์ กี ระดูกสนั หลังหรอื ไม่มกี ระดูกสนั หลัง

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิด โอกาสให้นกั เรียนทกุ คนซักถามเมือ่ มปี ัญหา 3) ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้ – สัตว์ที่นักเรียนนำมาสังเกตชนิดใดเปน็ สัตว์มีกระดูกสันหลังและชนดิ ใดเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลัง สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ ปลาทูเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง สังเกตจากการมีโครงร่างหรือกระดูกเป็น แกนแข็งภายในลำตัว ส่วนกุ้งและหอยแมลงภู่เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สังเกตจากการไม่มีโครงร่างหรือ กระดกู เป็นแกนแข็งภายในลำตวั ) – ยกตัวอย่างสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั และสตั วไ์ ม่มีกระดกู สนั หลังที่นกั เรยี นรู้จักมาอย่างละ 3 ชนดิ (แนวคำตอบ สตั ว์มกี ระดกู สันหลงั ไดแ้ ก่ กบ ไก่ และแมว และสัตว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลงั ได้แก่ ผีเส้ือ ไส้เดือนดิน และหอย) (3) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครเู นน้ ใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลังมีโครงรา่ งเป็นแกนแข็งภายในลำตัวหรือเรียกว่า กระดกู สว่ นสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลังไม่มีโครงร่างเป็นแกน แขง็ ภายในลำตัว 4) ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้นักเรียนสังเกตเพิ่มเติมจากการปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 9 วา่ กุ้งและหอยมีลำตัวอ่อนนิ่มจึงสร้างเปลือก แข็งมาหุม้ ลำตวั ไวเ้ พ่อื ป้องกันอันตราย และยงั มีสตั วไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลงั อีกหลายชนดิ ทีม่ ีการสร้างเปลือกแข็งมา ห้มุ ลำตวั เช่น ปู ก้งิ กอื และตะขาบ 5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรอื ยังมีข้อสงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพิม่ เติมให้นักเรียนเขา้ ใจ (2) นักเรยี นร่วมกันประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – สัตวม์ ีกระดกู สนั หลังคืออะไร – สตั วไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลงั คืออะไร ข้นั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโน ทศั น์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 2. รูปซุปกระดูกหมู ก้งุ ต้ม และปลายา่ ง 3. ใบกิจกรรมที่ 9 สงั เกตเปรียบเทยี บโครงรา่ งสตั ว์มีกระดูกสนั หลังและสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลงั 4. คมู่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 5. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 6. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 7. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความร้เู ร่ืองการจำแนก 1. ประเมินทักษะกระบวนการ สัตว์ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใชแ้ บบ วทิ ยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล วดั ทักษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชน้ิ งานหรอื ภาระงานของ โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั วิทยาศาสตร์ กิจกรรมฝึกทกั ษะระหวา่ งเรียน เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคิดโดย 3. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อ การสงั เกตการทำงานกลมุ่ แบบทดสอบกอ่ นเรียน วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล โดยการสังเกตและใช้แบบวดั 3. ประเมนิ ทักษะการ เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ แก้ปญั หาโดยการสังเกตการ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมินพฤติกรรมใน การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเป็น รายบคุ คลหรือรายกลุม่ โดย การสังเกตการทำงานกล่มุ

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นร.ู้ .................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. นกั เรยี นนีไ่ มผ่ า่ น มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นที่ไมผ่ า่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 3. นักเรยี นมคี วามรเู้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 28 สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การจำแนกสัตว์ (2) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรมทม่ี ผี ลต่อสิง่ มีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ และววิ ัฒนาการของ สง่ิ มชี วี ิต รวมทั้งนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตวั ช้ีวดั ชน้ั ปี จำแนกสัตวอ์ อกเป็นสตั วม์ ีกระดูกสนั หลังและสตั วไ์ ม่มีกระดูกสนั หลังโดยใชก้ ารมีกระดูกสนั หลงั เปน็ เกณฑ์โดยใชข้ ้อมูลท่ีรวบรวมได้ (ว 1.3 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. จำแนกสตั ว์เป็นสตั ว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไมม่ ีกระดูกสันหลังได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรูท้ เ่ี ก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกบั ผ้อู ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรเู้ ร่ืองการจำแนกสัตวไ์ ปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ การจำแนกสัตว์โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์สามารถจำแนกสัตว์ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ สัตว์มี กระดูกสนั หลงั และสัตวไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั 5. สาระการเรียนรู้ การจำแนกสตั ว์ 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ มน่ั ในการทำงาน 4. มจี ิตวิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ประดษิ ฐแ์ ผน่ พลกิ จำแนกสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั และสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลัง 9. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ครนู ำรปู นกและไส้เดือนดนิ มาให้นกั เรียนดูแล้วถามวา่ สัตวช์ นดิ ใดเปน็ สัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั และสัตว์ ชนิดใดเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สังเกตจากอะไร (แนวคำตอบ นกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและไส้เดือนดิน เปน็ สัตว์ไมม่ กี ระดูกสันหลงั สังเกตจากการมีและไม่มกี ระดูกสนั หลงั ของสตั ว์) 2) นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั คำตอบของคำถาม เพอ่ื เชอ่ื มโยงไปสู่การ เรยี นรูเ้ รื่อง การจำแนกสัตว์ ข้ันจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซงึ่ มขี น้ั ตอนดงั นี้ 1) ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูนำรูปหรอื แบบจำลองกระดูกของมนษุ ย์มาใหน้ ักเรยี นดู แล้วถามนักเรียนวา่ – กระดกู ทเ่ี ห็นเป็นของสง่ิ มชี ีวิตชนดิ ใด (แนวคำตอบ มนษุ ย์) – กระดูกมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตชนิดนี้ลักษณะใด (แนวคำตอบ ช่วยให้ร่างกายตั้งตรงได้และ ช่วยใหเ้ คล่ือนไหวได้ด)ี (2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ประดิษฐ์แผ่นพลิกจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี กระดกู สันหลัง โดยดำเนินการตามขัน้ ตอนดังน้ี – สำรวจสัตว์บริเวณโรงเรียนและบันทึกว่าสัตว์ชนิดใดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ชนิดใด เปน็ สตั ว์ไม่มีกระดกู สนั หลัง – ออกแบบและลงมือทำแผ่นพลิกจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จาก วสั ดุทนี่ ักเรียนกำหนดเอง (นักเรยี นอาจวาดรปู สัตว์หรอื นำรปู ของสัตวม์ าติด) (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกจิ กรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปดิ โอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนซกั ถามเมือ่ มปี ญั หา 3) ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปน้ี – นกั เรียนพบสตั วม์ ีกระดูกสนั หลังอะไรบ้าง (แนวคำตอบ นก จ้งิ จก และปลา) – นกั เรยี นพบสตั วไ์ ม่มกี ระดูกสันหลงั อะไรบา้ ง (แนวคำตอบ ไส้เดือนดนิ ยงุ และแมลงวนั ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรยี นเข้าใจวา่ สิ่งมีชีวิตรอบตวั สามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มได้โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ คือ สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มกี ระดูก สนั หลงั

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4) ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครนู ำรปู กระดูกของสัตวช์ นิดต่าง ๆ มาใหน้ ักเรียนดแู ละอธิบายเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจว่า โครงร่างที่ เป็นแกนแข็งภายในลำตวั เรียกวา่ กระดูก ซง่ึ สัตว์แตล่ ะชนิดมีการเรียงตัวของกระดูกแตกต่างกัน ทำให้สัตว์แต่ ละชนดิ มีรูปร่างที่แตกตา่ งกันเพอื่ ให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิต กระดูกช้าง กระดกู จระเข้ ตัวอย่างการเรียงตัวของกระดูกสัตว์ทำให้สัตวม์ รี ปู รา่ งแตกต่างกนั (2) ครแู บ่งกลุ่มนักเรียน กล่มุ ละ 5 – 6 คน เพอ่ื เลน่ เกมจากหัวข้อ สนุกทำ สนุกคดิ กับวิทยาศาสตร์ ในหนงั สอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 (3) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์ จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่ง ครู 5) ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง ทยี่ งั ไม่เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นกั เรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกล่มุ วา่ มีปญั หาหรืออปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – ปลาเปน็ สัตว์มกี ระดกู สันหลงั เพราะอะไร – กงุ้ และหอยเป็นสัตว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั เพราะอะไร ขนั้ สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือ ผังมโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. รูปนกและไส้เดือนดิน 2. รปู หรือแบบจำลองกระดกู ของมนุษย์ 3. รูปกระดกู ของสตั วช์ นดิ ต่าง ๆ 4. หนังสือเรยี นภาษาตา่ งประเทศหรอื อินเทอรเ์ นต็

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 5. ค่มู อื การสอน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 6. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 7. แบบฝึกทักษะรายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 8. หนังสือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรเู้ ร่ืองการจำแนก 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย สตั ว์ 1. ประเมินเจตคตทิ าง การสังเกตการทำงานกลุ่ม วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจช้ินงานหรอื ภาระงานของ โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรยี น เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเป็น รายบุคคลหรอื รายกล่มุ โดย 2. ประเมนิ เจตคติตอ่ การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นร้อยละ.................. นักเรยี นน่ไี ม่ผ่าน มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 3. นักเรยี นมคี วามรเู้ กดิ ทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) .................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผ้ชู ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผูท้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มคี วามเหน็ ดังนี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  นำไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... ลงชือ่ .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 29 สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั (ปลา) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พนั ธุกรรม การเปลย่ี นแปลงทางพันธุกรรมท่มี ีผลต่อสง่ิ มีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ และววิ ฒั นาการของ ส่ิงมีชีวติ รวมท้งั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี บรรยายลักษณะเฉพาะทส่ี ังเกตไดข้ องสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลมุ่ ปลา กล่มุ สตั ว์สะเทนิ น้ำสะเทินบก กลุ่มสตั วเ์ ล้อื ยคลาน กลุม่ นก และกลุม่ สัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสิง่ มชี ีวติ ในแต่ละกลุ่ม (ว 1.3 ป. 4/4) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได้ของสตั ว์มีกระดกู สนั หลังในกลุ่มปลาได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ท่เี กย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สือ่ สารและนำความรู้เร่อื งสัตว์มกี ระดกู สนั หลงั (ปลา) ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั สัตว์มีกระดกู สันหลังแบง่ เปน็ 5 กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ มลี ักษณะเฉพาะท่ีสังเกตไดแ้ ตกตา่ งกัน สัตว์มีกระดูก สนั หลังในกลุ่มปลาเปน็ สตั ว์เลอื ดเยน็ ลำตัวมคี รบี และหาง ออกลกู เปน็ ไข่ หายใจดว้ ยเหงือก และเจริญเตบิ โตใน น้ำ 5. สาระการเรียนรู้ สตั วม์ กี ระดกู สันหลัง – ปลา 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรือภาระงาน สืบคน้ ข้อมูลลักษณะของสัตวม์ ีกระดูกสันหลังในกล่มุ ปลา 9. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ครูทบทวนเรื่องการจำแนกสัตว์โดยถามคำถามว่า สัตว์ที่จำแนกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังต้องมี ลักษณะสำคัญอะไร (แนวคำตอบ สตั วม์ กี ระดกู สันหลงั ต้องมโี ครงร่างเป็นแกนแขง็ ภายในลำตัว) 2) นักเรยี นช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับคำตอบของคำถาม เพ่อื เชอื่ มโยงไปสู่การ เรยี นรู้เรือ่ ง สัตว์มีกระดกู สันหลงั (ปลา) ข้นั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมขี นั้ ตอนดังนี้ 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครกู ระต้นุ นกั เรียนโดยการถามคำถามดงั น้ี – สตั วม์ ีกระดกู สนั หลงั บรเิ วณโรงเรยี นมีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ แมว ปลา และกบ) – สัตว์มีกระดกู สันหลังบรเิ วณโรงเรยี นท่ีพบมลี ักษณะเฉพาะแตกต่างกนั หรือไม่ ยกตัวอย่าง (แนว คำตอบ แตกต่างกัน เช่น แมวมีขนและหายใจด้วยปอด ปลามีเกล็ดและหายใจด้วยเหงือก ส่วนกบมีผิวหนัง เปียกชืน้ และหายใจดว้ ยปอด) (2) นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกย่ี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา จาก ใบความรหู้ รือในหนังสือเรยี น โดยครูช่วยอธบิ ายใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ สัตว์มีกระดูกสนั หลงั แบ่งเปน็ 5 กลุ่ม โดย สัตว์มกี ระดูกสันหลงั ในกลุ่มปลามลี ักษณะบางประการท่เี ปน็ ลักษณะเฉพาะ (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา โดย ดำเนนิ การตามขั้นตอนดังน้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลาเป็นหัวข้อ ย่อย เช่น อุณหภูมิลำตัว ลักษณะภายนอก อวัยวะในการหายใจ และการเจริญเติบโต ให้สมาชิกแต่ละกลุ่ม ช่วยกันสืบค้นตามหัวข้อที่กำหนด – สมาชิกแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั สบื ค้นข้อมลู ตามหัวข้อทกี่ ลุ่มของตนเองรับผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนังสอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ – สมาชกิ กลุ่มนำข้อมูลที่สืบคน้ ไดม้ ารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลมุ่ ฟัง รวมท้งั ร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทีต่ รงกนั – สมาชกิ กลมุ่ ช่วยกนั สรุปความรทู้ ่ีได้ท้ังหมดเป็นผลงานของกลุ่ม

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและ เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนทกุ คนซกั ถามเมอื่ มีปัญหา 3) ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นักเรยี นแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหน้าหอ้ งเรียน (2) นักเรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปนี้ – สตั วม์ ีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลามลี ักษณะสำคญั อะไร (แนวคำตอบ สัตวม์ กี ระดกู สันหลังในกลุ่ม ปลาเป็นสตั วเ์ ลอื ดเย็น ลำตัวมคี รีบและหาง ออกลกู เป็นไข่ หายใจดว้ ยเหงือก และเจริญเตบิ โตในน้ำ) – สัตว์มีกระดูกสันหลังที่อาศัยในน้ำทุกชนิดจำแนกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลาหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ ไม่ เพราะสตั ว์มกี ระดูกสันหลงั บางชนิดมีลักษณะไม่เหมือนสตั ว์ในกลุ่มปลา เชน่ วาฬ ไมไ่ ด้หายใจด้วยเหงือก) (3) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครูเน้นใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลังในกลุ่มปลาเป็นสตั วเ์ ลอื ดเย็น ลำตัวมคี รบี และหาง ออกลูกเป็นไข่ หายใจดว้ ยเหงือก และเจริญเตบิ โตในน้ำ สตั วม์ ีกระดกู สันหลังที่มลี กั ษณะน้ีจึงจำแนกอยูใ่ นกลมุ่ ปลา 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูขยายความรู้ให้กับนักเรียนว่า สัตว์เลือดเย็น หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิภายในลำตัวเปลี่ยนไป ตามอุณหภมู ขิ องส่งิ แวดล้อม เชน่ ถ้านำตู้ปลาไปวางไว้ในท่ีท่ีมีแสงแดดตลอดเวลา อณุ หภูมิของนำ้ จะสูงข้ึน ทำ ให้อุณหภมู ภิ ายในลำตวั ของปลาสูงข้ึนดว้ ย ซง่ึ ไมเ่ หมาะสมต่อการดำรงชีวติ ของปลา อาจทำใหป้ ลาตายได้ (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลาจากหนังสือ เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมท้ั งคำแปลลง สมุดสง่ ครู 5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง ที่ยังไม่เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพ่มิ เตมิ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรียนร่วมกันประเมนิ การปฏิบตั กิ ิจกรรมกลมุ่ วา่ มีปญั หาหรืออุปสรรคใดและได้แกไ้ ขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – สตั วม์ กี ระดูกสันหลังในกลุม่ ปลามีลกั ษณะสำคัญใด – ถ้าเราเจอสัตว์น้ำที่มีครีบและหางเราจะสรุปว่าเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลาได้หรือไม่ เพราะอะไร ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคิดหรอื ผังมโนทัศน์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอร์เนต็ 2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศ 3. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 4. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรเู้ ร่ืองสัตวม์ ีกระดูก 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย สนั หลัง (ปลา) 1. ประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ การสังเกตการทำงานกลมุ่ เป็นรายกลุ่มโดยการสังเกตและ 2. ตรวจชิน้ งานหรือภาระงานของ ใช้แบบวดั เจตคติทาง 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรียน วทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็น รายบุคคลหรอื รายกลุ่มโดย 2. ประเมินเจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตการทำงานกลุ่ม เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต และใชแ้ บบวัดเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ........................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ................................. 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 30 สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั (สตั ว์สะเทนิ นำ้ สะเทินบก) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธกุ รรมทมี่ ีผลตอ่ ส่งิ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวัฒนาการ ของสิ่งมชี วี ติ รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดช้ันปี บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม (ว 1.3 ป. 4/4) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทสี่ ังเกตไดข้ องสัตว์มกี ระดกู สันหลงั ในกลุม่ สตั ว์สะเทินน้ำสะเทนิ บกได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากรูอ้ ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรูท้ ่ีเกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สอื่ สารและนำความรู้เรื่องสัตว์มีกระดูกสนั หลัง (สตั วส์ ะเทนิ น้ำสะเทินบก) ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกเป็นสัตว์เลือดเย็น ออกลูกเป็นไข่ ตัวอ่อนมีหาง เหมือนปลา หายใจด้วยเหงือก และเจริญเติบโตในน้ำ ส่วนตัวเต็มวัยมีผิวหนังเปียกชื้น หายใจด้วยปอดและ ผวิ หนัง และเจรญิ เติบโตบนบก 5. สาระการเรียนรู้ สตั วม์ ีกระดกู สันหลัง – สัตวส์ ะเทนิ นำ้ สะเทนิ บก 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน สบื ค้นขอ้ มลู ลักษณะของสตั ว์มีกระดูกสนั หลังในกลุ่มสตั วส์ ะเทนิ น้ำสะเทนิ บก 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ครูทบทวนเรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา โดยให้นักเรียนบอกลักษณะของสัตว์มีกระดูกสัน หลังในกลุม่ ปลามาคนละ 1 ลักษณะ (แนวคำตอบ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลังในกล่มุ ปลาเป็นสตั วเ์ ลอื ดเย็น) 2) นักเรยี นช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกบั คำตอบของคำถาม เพอ่ื เชอ่ื มโยงไปสู่การ เรยี นรู้เร่ือง สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั (สัตว์สะเทินนำ้ สะเทินบก) ขน้ั จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมีขน้ั ตอนดงั น้ี 1) ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นนักเรยี นโดยการเขียนคำวา่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทนิ บก บนกระดานแล้วถามนักเรยี นว่า – นักเรียนรูจ้ ักสัตว์สะเทินนำ้ สะเทนิ บกหรอื ไม่ ยกตวั อย่าง (แนวคำตอบ รจู้ ัก เช่น กบ) – เราเรียกสตั ว์บางชนิดว่าสัตว์สะเทนิ น้ำสะเทินบกเพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะสัตว์กลุม่ น้มี ี ชว่ งชวี ิตทเ่ี จรญิ เตบิ โตในน้ำและบนบก) (2) นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจากใบ ความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำ สะเทนิ บกมีลักษณะบางประการทเ่ี ป็นลักษณะเฉพาะ (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำ สะเทนิ บก โดยดำเนินการตามขัน้ ตอนดงั น้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำ สะเทินบกเป็นหัวข้อย่อย เช่น อุณหภูมิลำตัว ลักษณะภายนอก อวัยวะในการหายใจ และการเจริญเติบโต ให้ สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกนั สบื คน้ ตามหัวข้อท่ีกำหนด – สมาชกิ แต่ละกลุ่มชว่ ยกันสบื คน้ ข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนังสือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ – สมาชกิ กลุ่มนำขอ้ มูลทส่ี ืบค้นได้มารายงานให้เพ่ือน ๆ สมาชิกในกลมุ่ ฟงั รวมทัง้ ร่วมกนั อภปิ ราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความร้คู วามเขา้ ใจท่ตี รงกัน – สมาชิกกลมุ่ ช่วยกันสรุปความรทู้ ไี่ ด้ท้ังหมดเปน็ ผลงานของกลุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและ เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนซักถามเมอ่ื มปี ัญหา 3) ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปนี้ – สตั ว์มีกระดูกสนั หลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกมีลักษณะสำคญั อะไร (แนวคำตอบ สัตว์มี กระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกเป็นสัตว์เลือดเย็น ออกลูกเป็นไข่ ตัวอ่อนมีหางเหมือนปลา หายใจด้วยเหงือก และเจริญเติบโตในน้ำ ส่วนตัวเต็มวัยมีผิวหนังเปียกชื้น หายใจด้วยปอดและผิวหนัง และ เจรญิ เตบิ โตบนบก) – สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกมีลักษณะสำคัญใดที่ต่างจากสัตว์ในกลุ่ม อน่ื (แนวคำตอบ ชว่ งตัวอ่อนเจริญเติบโตในนำ้ และชว่ งตัวเตม็ วัยเจรญิ เตบิ โตบนบก) (3) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครูเนน้ ใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกเป็นสัตว์เลือดเย็น ออกลูกเป็นไข่ ตัวอ่อนมีหางเหมือนปลาหายใจด้วย เหงอื ก และเจรญิ เตบิ โตในน้ำ ส่วนตวั เตม็ วัยมีผิวหนังเปยี กช้นื หายใจด้วยปอดและผวิ หนัง และเจริญเติบโตบน บก 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูนำวัฏจักรชวี ติ ของกบมาให้นกั เรียนดูแล้วอธิบายว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสตั ว์สะเทินนำ้ สะเทินบกมีชว่ งชวี ติ ที่อาศัยอยูท่ ั้งในน้ำและบนบก อาศยั บนบก อาศยั ในน้ำ วฏั จักรชีวติ ของกบ (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำ สะเทินบกจากหนงั สือเรียนภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอร์เนต็ และนำเสนอให้เพ่ือนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์ พร้อมท้งั คำแปลลงสมุดสง่ ครู 5) ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง ที่ยังไมเ่ ขา้ ใจหรือยงั มขี ้อสงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) นักเรยี นรว่ มกันประเมินการปฏิบตั กิ ิจกรรมกล่มุ วา่ มปี ญั หาหรืออปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – สตั วม์ ีกระดกู สนั หลังในกลุ่มสตั วส์ ะเทนิ น้ำสะเทินบกมีลกั ษณะสำคญั อะไรบ้าง – ถ้าเราเจอสัตว์มกี ระดูกสันหลงั ท่ีอาศยั อย่ทู ้ังในน้ำและบนบก เราจะจำแนกว่าเป็นสัตว์มีกระดูก สันหลังในกลมุ่ สตั ว์สะเทนิ นำ้ สะเทนิ บกไดห้ รอื ไม่ เพราะอะไร ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดยร่วมกัน เขยี นเป็นแผนท่ีความคิดหรอื ผังมโนทศั น์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. วฏั จกั รชวี ิตของกบ 2. หนังสอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต 3. หนงั สือเรียนภาษาตา่ งประเทศ 4. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 5. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 6. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 7. หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรูเ้ รื่องสัตวม์ กี ระดูก 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย สนั หลัง (สัตวส์ ะเทินนำ้ สะเทิน 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ การสังเกตการทำงานกลุม่ บก) เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต และใชแ้ บบวัดเจตคติทาง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ 2. ตรวจชน้ิ งานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตร์ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเปน็ กจิ กรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรยี น รายบุคคลหรือรายกลุ่มโดย 2. ประเมนิ เจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ การสงั เกตการทำงานกลุ่ม เปน็ รายบุคคลโดยการสังเกต และใชแ้ บบวัดเจตคตติ ่อ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ........................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ................................. 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 31 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง สตั วม์ ีกระดูกสนั หลัง (สัตว์เลื้อยคลาน) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผูส้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพันธกุ รรมทีม่ ผี ลตอ่ สงิ่ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวฒั นาการของ สง่ิ มีชีวิต รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วัดช้ันปี บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม (ว 1.3 ป. 4/4) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บรรยายลักษณะเฉพาะทสี่ งั เกตได้ของสัตวม์ กี ระดูกสนั หลังในกลมุ่ สตั ว์เลื้อยคลานได้ (K) 2. จำแนกสตั ว์เป็นกลุ่มสตั วส์ ะเทนิ น้ำสะเทนิ บกและกลุ่มสตั ว์เลือ้ ยคลานได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ้หู รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี ก่ียวกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกับผู้อน่ื อย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สื่อสารและนำความรเู้ รือ่ งสัตว์มกี ระดูกสนั หลัง (สตั ว์เลอ้ื ยคลาน) ไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลานเป็นสัตว์เลือดเย็น ลำตัวมีเกล็ดหรือผิวหนังหนา ออกลูก เป็นไข่ หายใจดว้ ยปอด และเจริญเติบโตบนบก 5. สาระการเรยี นรู้ สัตว์มกี ระดูกสนั หลงั – สัตวเ์ ลือ้ ยคลาน 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน 1. สืบค้นขอ้ มูลลักษณะของสตั ว์มีกระดกู สนั หลังในกลุ่มสัตว์เลือ้ ยคลาน 2. จำแนกสตั วม์ ีกระดกู สันหลงั เป็นกลุ่มสัตว์สะเทนิ นำ้ สะเทินบกและสตั ว์เล้อื ยคลาน 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินนำ้ สะเทินบก โดยให้นักเรียน ยกตัวอย่างลักษณะสำคัญของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกมาคนละ 1 ลักษณะ (แนว คำตอบ สัตว์มีกระดกู สนั หลงั ในกลุ่มสัตวส์ ะเทนิ น้ำสะเทนิ บกออกลูกเปน็ ไข่) 2) นกั เรยี นชว่ ยกันตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั คำตอบของคำถาม เพ่อื เช่ือมโยงไปสู่การ เรียนรู้เร่อื ง สัตวม์ กี ระดกู สันหลงั (สตั ว์เลอื้ ยคลาน) ข้นั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซงึ่ มขี นั้ ตอนดังน้ี 1) ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูนำรูปเต่ากำลังว่ายนำ้ มาใหน้ กั เรียนดแู ล้วถามนกั เรยี นวา่ เตา่ เป็นสตั วม์ ีกระดูกสนั หลัง ในกลมุ่ ใด เพราะอะไร (แนวคำตอบ เต่าเปน็ สตั ว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสตั วเ์ ลื้อยคลาน เพราะเตา่ หายใจดว้ ย ปอดและมีผิวหนังหนา) (2) นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเกีย่ วกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาเร่ืองลักษณะของสัตวม์ ีกระดกู สันหลังในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลานจากใบความรู้หรือใน หนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสันหลงั ในกลุ่มสัตวเ์ ลื้อยคลานมลี กั ษณะบาง ประการท่ีเป็นลักษณะเฉพาะ (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน โดยดำเนินการตามขนั้ ตอนดงั นี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบคน้ ข้อมูล โดยแบ่งหัวขอ้ สตั ว์มีกระดูกสันหลังในกลุม่ สัตว์เลื้อยคลาน เป็นหวั ข้อย่อย เช่น อุณหภูมริ ่างกาย ลกั ษณะภายนอก อวยั วะในการหายใจ และการเจรญิ เติบโต ใหส้ มาชกิ แต่ ละกลมุ่ ชว่ ยกันสืบค้นตามหัวขอ้ ทกี่ ำหนด – สมาชกิ แต่ละกลุ่มชว่ ยกันสบื ค้นข้อมูลตามหัวข้อทก่ี ลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนังสอื วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ – สมาชิกกลุม่ นำข้อมลู ที่สบื คน้ ได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกล่มุ ฟัง รวมท้ังร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดว่าสมาชกิ ทุกคนมีความรคู้ วามเข้าใจท่ตี รงกัน – สมาชิกกล่มุ ชว่ ยกันสรปุ ความรทู้ ไ่ี ด้ทง้ั หมดเป็นผลงานของกลมุ่

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและ เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นทุกคนซกั ถามเม่ือมีปัญหา 3) ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นักเรยี นและครูรว่ มกันอภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปน้ี – สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลานมีลักษณะสำคัญอะไร (แนวคำตอบ สัตว์มีกระดูก สันหลังในกลุ่มสตั วเ์ ลื้อยคลานเป็นสัตว์เลือดเย็น ลำตัวมีเกล็ดหรือผิวหนังหนา ออกลูกเป็นไข่ หายใจด้วยปอด และเจริญเติบโตบนบก) – สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลานแตกต่างจากสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์ สะเทนิ นำ้ สะเทินบกลักษณะใด (แนวคำตอบ สตั ว์มกี ระดกู สนั หลังในกลุ่มสตั วเ์ ลื้อยคลานเจริญเตบิ โตเฉพาะบน บกเทา่ นั้น) (3) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครเู น้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลงั ในกลมุ่ สตั วเ์ ล้อื ยคลานเป็นสตั ว์เลอื ดเย็น ลำตัวมเี กล็ดหรือผวิ หนงั หนา ออกลูกเป็นไข่ หายใจดว้ ยปอด และ เจรญิ เตบิ โตบนบก 4) ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูให้นักเรียนฝึกจำแนกสัตว์มีกระดกู สันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์มีกระดูกสนั หลังในกลุ่มสตั ว์เลอื้ ยคลานตามขน้ั ตอนดงั น้ี – ครูเตรียมบัตรภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์มีกระดูกสัน หลงั ในกลมุ่ สัตวเ์ ลอื้ ยคลานมาประมาณ 12 แผน่ – จัดนกั เรียนเป็น 2 แถว หาตวั แทนถือแผ่นภาพ 1 คน โดยใหย้ กขึน้ ทลี ะแผน่ ให้เพ่ือนดูเพียงครู่ หนึ่งแลว้ เกบ็ ลง – เพอื่ นคนแรกของแตล่ ะแถวบอกว่าภาพที่เห็นเป็นสัตวม์ ีกระดูกสันหลังในกลมุ่ สัตว์สะเทนิ น้ำสะเทิน บกหรอื สตั ว์มกี ระดูกสันหลงั ในกลุ่มสัตวเ์ ลื้อยคลาน ใครตอบไดก้ ่อนและถูกต้องจะไดเ้ กบ็ บตั รภาพไว้ – เปล่ียนใหค้ นท่ี 2 ทำกิจกรรม และเปล่ียนไปจนหมดแถว – แถวที่ได้บตั รภาพมากทสี่ ดุ เป็นฝ่ายชนะ ตวั อยา่ งแผน่ ภาพ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้ง คำแปลลงสมุดสง่ ครู 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้าง ทีย่ งั ไม่เข้าใจหรอื ยงั มีข้อสงสยั ถา้ มี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพ่มิ เติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ การปฏิบตั กิ ิจกรรมกล่มุ ว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – สตั ว์มีกระดูกสันหลงั ในกลุม่ สตั ว์เล้ือยคลานมลี กั ษณะสำคญั อะไรบา้ ง – สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่ม สัตวเ์ ล้ือยคลานมลี กั ษณะสำคญั ใดที่แตกต่างกนั ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสตั วเ์ ลือ้ ยคลาน โดยร่วมกันเขียนเป็น แผนทีค่ วามคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรียนรู้ 1. รูปเต่ากำลังว่ายน้ำ 2. บัตรภาพสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่ม สตั วเ์ ลือ้ ยคลาน 3. หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต 4. หนังสือเรยี นภาษาตา่ งประเทศ 5. ค่มู ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 6. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 7. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 8. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรเู้ รื่องสัตวม์ กี ระดกู 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย สันหลงั (สัตวเ์ ล้ือยคลาน) 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ การสังเกตการทำงานกลมุ่ เปน็ รายบุคคลโดยการสังเกต 2. ตรวจช้นิ งานหรอื ภาระงานของ และใช้แบบวัดเจตคติทาง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน วิทยาศาสตร์ ปฏิบตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคลหรอื รายกล่มุ โดย 2. ประเมินเจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ การสังเกตการทำงานกล่มุ เปน็ รายบคุ คลโดยการสงั เกต และใช้แบบวดั เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร้.ู .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไมผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 3. นกั เรียนมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ....................................................................................... ............................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 32 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่ือง สัตวม์ ีกระดูกสันหลงั (นก) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธกุ รรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธกุ รรมท่ีมผี ลตอ่ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวัฒนาการของ สิ่งมชี วี ติ รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดช้ันปี บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม (ว 1.3 ป. 4/4) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บรรยายลกั ษณะเฉพาะท่สี งั เกตได้ของสตั วม์ ีกระดูกสันหลังในกลมุ่ นก (K) 2. มีความสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากร้อู ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ เี่ ก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรู้เรอ่ื งสัตว์มกี ระดกู สนั หลัง (นก) ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนกเป็นสัตว์เลือดอุ่น ลำตัวปกคลุมด้วยขนเป็นแผง ปากเป็นจะงอย ไม่มี ฟัน ออกลกู เป็นไข่ หายใจดว้ ยปอด และเจริญเติบโตบนบก 5. สาระการเรยี นรู้ สตั วม์ กี ระดูกสนั หลัง – นก 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน สบื คน้ ขอ้ มูลลักษณะของสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ในกล่มุ นก 9. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน 1) ครูทบทวนเรอื่ งสัตว์มีกระดูกสันหลงั ในกลุ่มปลา กลุม่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน โดยให้นักเรียนยกตัวอย่างสัตว์ในแต่ละกลุ่ม (แนวคำตอบ สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา เช่น ปลาดุกและ ปลาชอ่ น สัตว์มกี ระดูกสนั หลังในกลมุ่ สัตวส์ ะเทินนำ้ สะเทินบก เช่น กบและคางคก และสัตวม์ ีกระดกู สันหลังใน กลุ่มสัตว์เลอ้ื ยคลาน เช่น จระเขแ้ ละเตา่ ) 2) ครูถามคำถามนักเรียนว่า นอกจากสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และกลมุ่ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานแล้ว สตั ว์มกี ระดกู สันหลงั ยงั จำแนกเป็นกลมุ่ ใดได้อีก (แนวคำตอบ จำแนกเป็นกลุ่มนก และกลุ่มสตั วเ์ ลย้ี งลูกด้วยน้ำนม) 3) นักเรยี นชว่ ยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับคำตอบของคำถาม เพ่ือเชือ่ มโยงไปสู่การ เรียนรเู้ รอ่ื ง สตั วม์ ีกระดกู สันหลัง (นก) ขั้นจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซงึ่ มีขัน้ ตอนดงั น้ี 1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นนักเรียนโดยถามคำถามว่า นักเรียนรู้จักสัตว์มีกระดูกสันหลังใน กลุ่มนกหรือไม่ ยกตัวอยา่ ง (แนวคำตอบ รู้จกั สตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั ในกลุ่มนก เช่น นกกระจอกและนกนางนวล) (2) นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรียน 2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรอ่ื งลักษณะของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลังในกลมุ่ นกจากใบความรหู้ รือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังใน กลุ่มนกมีลักษณะบางประการที่เป็น ลักษณะเฉพาะ (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบคน้ ข้อมลู เก่ยี วกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลมุ่ นกโดยดำเนินการ ตามข้นั ตอนดังนี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนกเป็นหัวข้อ ย่อย เช่น อุณหภูมิร่างกาย ลักษณะภายนอก อวัยวะในการหายใจ และการเจริญเติบโต ให้สมาชิกแต่ละกลุ่ม ช่วยกันสบื ค้นตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนด – สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกนั สบื ค้นข้อมลู ตามหวั ข้อทีก่ ลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต – สมาชกิ กลมุ่ นำข้อมูลท่ีสบื คน้ ได้มารายงานให้เพ่ือนๆ สมาชิกในกลุม่ ฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความรคู้ วามเข้าใจท่ตี รงกนั – สมาชกิ กลุ่มชว่ ยกันสรุปความรู้ทีไ่ ด้ท้งั หมดเป็นผลงานของกลมุ่ (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ให้นักเรยี นทุกคนซักถามเม่ือมปี ญั หา

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปนี้ – สัตวม์ ีกระดกู สนั หลงั ในกลุ่มนกมีลักษณะสำคัญอะไร (แนวคำตอบ สตั ว์มกี ระดกู สันหลังในกลุ่ม นกเป็นสัตว์เลือดอุ่น ลำตัวปกคลุมด้วยขนเป็นแผง ปากเป็นจะงอย ไม่มีฟัน ออกลูกเป็นไข่ หายใจด้วยปอด และเจริญเติบโตบนบก) – เป็ดที่มีปากแบนจำแนกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนกหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ เป็ดจำแนกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนก เพราะมีลักษณะของสัตว์ในกลุ่มนก เช่น มีขนเป็นแผงและ ออกลกู เปน็ ไข่ แม้วา่ จะมปี ากแบนแต่ก็มลี ักษณะแขง็ และไม่มีฟัน) (3) ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครเู น้นใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลังในกลุ่มนกเป็นสัตว์เลือดอุ่น ลำตัวปกคลุมด้วยขนเป็นแผง ปากเป็นจะงอย ไม่มีฟัน ออกลูกเป็นไข่ หายใจ ดว้ ยปอด และเจริญเตบิ โตบนบก 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูขยายความรู้ให้กับนักเรียนว่า สัตว์เลือดอุ่น หมายถึง สัตว์ที่มีอุณหภูมิภายในลำตัวคงที่ ไม่ เปลี่ยนไปตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม แต่สัตว์เลือดอุ่นก็มีวิธีรักษาอุณหภูมิภายในลำตัวให้เหมาะสมต่อการ ดำรงชีวิต เชน่ ในช่วงฤดหู นาว นกบางชนิดจะย้ายถนิ่ ฐานมายังบริเวณทมี่ ีอากาศอบอ่นุ หรือชว่ งฤดูร้อน นกจะ กินน้ำมากกวา่ ปกติเพ่ือระบายความร้อน (2) ครูอธิบายเพิม่ เติมว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนก นอกจากนกชนิดต่างๆ แล้วยงั รวมถึงไก่ เป็ด และห่าน ซึ่งมีลักษณะสำคัญที่เหมือนกัน คือ เป็นสัตว์เลือดอุ่น ลำตัวปกคลุมด้วยขนเป็นแผง ปากเป็นจะงอย ไม่มฟี นั (ยกเวน้ เป็ดและห่านท่ีมีปากลักษณะแบน) ออกลกู เป็นไข่ หายใจดว้ ยปอด และเจรญิ เติบโตบนบก (3) นกั เรยี นค้นคว้าคำศัพทภ์ าษาต่างประเทศเกีย่ วกับสตั ว์มกี ระดูกสนั หลังในกลุ่มนก จากหนงั สอื เรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่ง ครู 5) ขนั้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหวั ข้อท่ีเรยี นมาและการปฏบิ ัติกจิ กรรมมีจุดใดบ้าง ท่ียังไม่ เขา้ ใจหรอื ยังมีข้อสงสัย ถา้ มี ครชู ว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรยี นรว่ มกันประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – นอกจากนกแล้วมสี ตั ว์ชนิดใดอยใู่ นกลมุ่ นกอีกหรอื ไม่ ยกตัวอย่าง – เปด็ และหา่ นจัดอยูใ่ นกล่มุ นกเพราะอะไร ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนก โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคดิ หรือผงั มโนทัศน์

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็ 2. หนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศ 3. ค่มู ือการสอน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 5. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 6. หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรเู้ รื่องสตั วม์ กี ระดกู 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย สันหลัง (นก) 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตการทำงานกลมุ่ เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ และใชแ้ บบวดั เจตคตทิ าง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหว่างเรยี น วทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย 2. ประเมินเจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตการทำงานกลุ่ม เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต และใช้แบบวดั เจตคติต่อ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร้.ู .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไมผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 3. นกั เรียนมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ....................................................................................... ............................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 33 สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง สัตวม์ กี ระดูกสนั หลัง (สัตว์เลย้ี งลกู ด้วยนำ้ นม) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปล่ยี นแปลงทางพันธกุ รรมทีม่ ีผลตอ่ สง่ิ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ และววิ ฒั นาการของ สิ่งมชี ีวติ รวมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วดั ช้ันปี บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม (ว 1.3 ป. 4/4) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตไดข้ องสัตวม์ กี ระดกู สนั หลังในกลมุ่ สัตวเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนำ้ นม (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ เ่ี กย่ี วกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผ้อู ื่นอยา่ งสรา้ งสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรู้เรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลัง (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม) ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ในกลมุ่ สัตวเ์ ลยี้ งลูกด้วยน้ำนมเป็นสตั วเ์ ลือดอุ่น ลำตวั ปกคลมุ ดว้ ยขนเปน็ เส้น เพศ เมยี มตี ่อมสร้างน้ำนม ออกลูกเปน็ ตัว หายใจดว้ ยปอด และเจริญเตบิ โตบนบก 5. สาระการเรียนรู้ สัตว์มกี ระดกู สันหลัง – สัตว์เลยี้ งลกู ด้วยนำ้ นม 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรือภาระงาน สืบคน้ ขอ้ มูลลกั ษณะของสตั ว์ในกล่มุ สัตวเ์ ลย้ี งลูกดว้ ยน้ำนม 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนก โดยให้นักเรียนยกตัวอย่างลักษณะ สำคญั ของสัตวแ์ ตล่ ะกลุ่มมาคนละ 1 ลกั ษณะ (แนวคำตอบ สตั ว์ในกลุ่มนกมจี ะงอยปากแข็ง) 2) นกั เรยี นชว่ ยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชอ่ื มโยงไปสู่การ เรียนรู้เร่อื ง สตั ว์มกี ระดกู สันหลัง (สัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยนำ้ นม) ขั้นจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มขี น้ั ตอนดงั น้ี 1) ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครนู ำรูปวาฬ โลมา ค้างคาว และตนุ่ ปากเปด็ มาให้นกั เรยี นดูแล้วถามคำถามวา่ – สตั ว์ในรูปเรียกวา่ อะไรบา้ ง (แนวคำตอบ วาฬ โลมา ค้างคาว และตุ่นปากเป็ด) – สัตว์ในรูปจดั เปน็ สตั วม์ ีกระดูกสนั หลังในกลุม่ ใด (แนวคำตอบ สัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยน้ำนม) (2) นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรียน 2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวาฬ โลมา ค้างคาว และตุ่นปากเป็ด โดยดำเนินการตามข้ันตอนดงั นี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อวาฬ โลมา ค้างคาว และตุ่นปากเป็ดเป็นหัวข้อ ยอ่ ย เชน่ แหล่งทอ่ี ยู่ ลักษณะภายนอก และลักษณะที่แสดงถงึ สัตว์ในกล่มุ สัตวเ์ ลย้ี งลูกดว้ ยน้ำนม ให้สมาชิกแต่ ละกลุ่มชว่ ยกันสืบคน้ ตามหวั ข้อทีก่ ำหนด – สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนังสือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจท่ตี รงกัน – สมาชิกกลุม่ ช่วยกันสรปุ ความรู้ท่ีได้ทัง้ หมดเปน็ ผลงานของกลุม่ (2) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรยี นทกุ คนซักถามเมอื่ มปี ัญหา

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าหอ้ งเรยี น (2) นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถาม ต่อไปนี้ – ลักษณะสำคัญที่ทำให้สัตว์กลุ่มนี้เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคืออะไร (แนวคำตอบ เพศเมียมี ตอ่ มสรา้ งนำ้ นม) – วาฬและโลมาไม่จัดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลาเพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะวาฬ และโลมาหายใจด้วยปอด ออกลูกเป็นตัว และเพศเมียมีต่อมสร้างน้ำนม ซึ่งแตกต่างจากลักษณะของสัตว์มี กระดกู สนั หลังในกลุ่มปลาทหี่ ายใจดว้ ยเหงอื ก ออกลูกเปน็ ไข่ และเพศเมยี ไมม่ ีตอ่ มสรา้ งนำ้ นม) – ค้างคาวไม่จัดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนกเพราะอะไร (แนวคำตอบ เพราะค้างคาว ออกลูกเป็นตัว และเพศเมียมีต่อมสร้างน้ำนม ซึ่งแตกต่างจากลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนกท่ี ออกลูกเปน็ ไขแ่ ละเพศเมียไมม่ ตี ่อมสรา้ งน้ำนม) – ตุ่นปากเป็ดแตกต่างจากสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดอื่นในเรื่องใด (แนวคำตอบ ออกลูกเป็นไข่และปากแบนและแข็งเหมือนปากของเป็ดที่จำแนกอยู่ในสัตว์มีกระดูกสันหลังใน กลุ่มนก) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเนน้ ใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า สัตว์มีกระดูกสัน หลังในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมเป็นสัตว์เลือดอุ่น ลำตัวปกคลุมด้วยขนเป็นเส้น เพศเมียมีต่อมสร้างน้ำนม ออกลูกเปน็ ตวั หายใจดว้ ยปอด และเจริญเติบโตบนบก 4) ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูอธิบายความรู้เสริมให้นักเรียนว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมบางชนิด อาศัยในน้ำ เช่น โลมาและวาฬ ซึ่งแม้จะอาศัยในน้ำแต่ก็มีลักษณะสำคัญของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม คือ เพศเมียมีต่อมสร้างน้ำนม ออกลูกเป็นตัว และหายใจด้วยปอด โดยสัตว์พวกนี้จะมีปอด ขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บอากาศไวใ้ ช้หายใจเมื่อดำนำ้ (2) ครอู ธบิ ายเรอ่ื งนา่ รู้ วาฬ โดยให้นักเรยี นเข้าใจว่า วาฬสามารถดำน้ำได้เฉลี่ย 20 นาที และสามารถ ดำน้ำได้นานถึง 1 ชั่วโมง ในขณะที่คนดำน้ำได้เฉลี่ยเพียง 3 นาที และคนที่ถูกบันทึกสถิติโลกว่าดำน้ำได้นาน ท่สี ุดสามารถดำน้ำได้นานถงึ 22 นาที 22 วนิ าที (3) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มนกและกลุ่มสัตว์ เลี้ยงลกู ด้วยน้ำนมจากหนังสือเรยี นภาษาต่างประเทศหรืออนิ เทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัด คำศัพทพ์ รอ้ มทง้ั คำแปลลงสมดุ ส่งครู 5) ขั้นประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสยั ถา้ มี ครชู ่วยอธิบายเพิม่ เตมิ ใหน้ ักเรียนเข้าใจ (2) นักเรยี นร่วมกนั ประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลมุ่ วา่ มีปญั หาหรืออุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ การนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – ค้างคาวไม่จดั อยใู่ นกลมุ่ นกเพราะอะไร – เราไม่เรยี กวาฬว่าปลาวาฬเพราะอะไร

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ขนั้ สรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกบั สัตว์มกี ระดูกสันหลังในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกดว้ ยน้ำนม โดยร่วมกัน เขยี นเป็นแผนทีค่ วามคิดหรือผงั มโนทัศน์ 2) ครูมอบหมายให้นักเรยี นไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรยี นชวั่ โมงหน้า เพอื่ จัดการเรียนรู้คร้ังต่อไป โดยใหน้ กั เรียนศกึ ษาคน้ ควา้ ล่วงหนา้ ในหวั ขอ้ สัตวไ์ ม่มีกระดกู สันหลงั 3) ครูใหน้ กั เรียนเตรียมประเด็นคำถามท่ีสงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม เพอ่ื นำมาอภิปรายร่วมกัน ในชั้นเรียนคร้งั ตอ่ ไป 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. รูปวาฬ โลมา คา้ งคาว และตุ่นปากเป็ด 2. หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เน็ต 3. หนงั สือเรยี นภาษาต่างประเทศ 4. คูม่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 5. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 6. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 7. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 11. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความร้เู รื่องสัตว์มีกระดกู 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย สนั หลงั (สตั ว์เลยี้ งลูกด้วยนำ้ นม) 1. ประเมินเจตคติทาง การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 2. ตรวจช้นิ งานหรอื ภาระงานของ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวดั 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหวา่ งเรยี น เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็น รายบคุ คลหรอื รายกล่มุ โดย 2. ประเมินเจตคตติ ่อ การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล โดยการสงั เกตและใช้แบบวัด เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ .....................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. นกั เรยี นนีไ่ มผ่ า่ น มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นที่ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 3. นักเรยี นมคี วามรเู้ กิดทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผูท้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มคี วามเหน็ ดังนี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  นำไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... ลงชือ่ .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 34 สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผสู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่มี ผี ลตอ่ สงิ่ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวฒั นาการของ ส่ิงมีชวี ิต รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวชี้วดั ชั้นปี จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลทร่ี วบรวมได้ (ว 1.3 ป. 4/3) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บรรยายลักษณะเฉพาะทส่ี งั เกตได้ของสัตว์ไม่มีกระดกู สันหลัง (K) 2. มีความสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากรู้อยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ่ีเก่ียวกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. ส่อื สารและนำความรู้เรื่องสตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลังไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นสัตว์ที่ไม่มีโครงร่างเป็นแกนแข็งภายในลำตัว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจึงมี ลำตวั ออ่ นนม่ิ และบางชนดิ สร้างโครงร่างแข็งหุ้มลำตวั ไวเ้ พื่อป้องกันอนั ตราย ซ่งึ ลักษณะเฉพาะท่ีแตกต่างกันนี้ สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการจำแนกสตั ว์ไมม่ กี ระดูกสนั หลงั เป็นกลุ่มได้ 5. สาระการเรยี นรู้ สัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลงั – กลมุ่ ฟองน้ำ – กลุ่มหนอนพยาธิ – กล่มุ สัตวท์ ่มี ีรกู ลางลำตวั 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook