Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

Published by jarunpanakul, 2021-03-12 03:59:01

Description: แผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นป.4 นางอมลสิริ คำฟู

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ช้นิ งานหรือภาระงาน ทดลองสมบัติของของเหลว 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครูนำกอ้ นหินและแก้วทมี่ ีน้ำมาให้นกั เรยี นดู แลว้ ถามคำถามนักเรยี นว่า – เพราะเหตุใดเราจึงเรียกสิ่งต่าง ๆ ว่าของแข็งและของเหลว (แนวคำตอบ เพราะของแข็งและ ของเหลวมีการจดั เรยี งตัวของอนภุ าคแตกต่างกนั ) – สมบตั ิของของแขง็ และของเหลวเหมือนหรอื แตกตา่ งกัน (แนวคำตอบ แตกตา่ งกัน) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรยี นรเู้ รือ่ ง สมบตั ขิ องของแขง็ และของเหลว ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอนดงั น้ี (1) ข้นั สรา้ งความสนใจ (1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสมบัตขิ องของแข็งและของเหลว โดยให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง สิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่มีสถานะของแข็งและมีสถานะของเหลว โดยครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความ คิดเหน็ ตามประเด็นต่อไปน้ี – สิง่ ต่าง ๆ ท่อี ยรู่ อบตัวไดแ้ ก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ แก้ว ขวด และน้ำ) – สิ่งใดมีสมบัติเป็นของแข็งและสิ่งใดมีสมบัติเป็นของเหลว (แนวคำตอบ สิ่งที่มีสมบัติเป็น ของแขง็ ไดแ้ ก่ แก้ว ขวด ส่วนส่งิ ทมี่ ีสมบัตเิ ปน็ ของเหลว ไดแ้ ก่ น้ำ) – สมบัตเิ ฉพาะตวั ของสสารทีม่ ีสถานะเป็นของแขง็ และของเหลวคืออะไร (แนวคำตอบ ของแข็งมี รูปร่างและปริมาตรคงที่ เพราะอนุภาคของของแข็งอยู่ชิดกันมาก และมีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบ จึง เคลื่อนไหวได้น้อยมาก ส่วนของเหลวมีรูปร่างไม่คงที่แต่มีปริมาตรคงที่ รูปร่างของของเหลวจะเปลี่ยนไปตาม ภาชนะที่บรรจแุ ละมีลกั ษณะไหลได้) (2) นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน (2) ขัน้ สำรวจและค้นหา (1) ให้นกั เรียนศกึ ษาสมบตั ิของของแขง็ และของเหลวจากใบความรูห้ รอื ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ป. 4 โดยครูตั้งคำถามนำให้นกั เรยี นตอบคำถามประกอบการค้นควา้ ดงั นี้ – ของแข็งและของเหลวมสี มบตั แิ ตกต่างกันในเรอื่ งใด – ถา้ ต้องการเปรียบเทยี บมวลของก้อนหนิ 2 ก้อน สามารถทำไดด้ ว้ ยวธิ ีการใด

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สสารทม่ี ีสถานะของแขง็ และของเหลวมอี ะไรบา้ ง (2) แบ่งกลุ่มนักเรยี น ปฏบิ ัติกจิ กรรมที่ 22 ทดลองสมบัติของของเหลว ตามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหา – น้ำในภาชนะแตกต่างกนั จะมีรูปร่างและปริมาตรต่างกันหรือไม่ ขั้นที่ 2 ต้งั สมมุตฐิ าน – รปู รา่ งของนำ้ จะเปลยี่ นไปตามรูปรา่ งของภาชนะที่บรรจแุ ตย่ ังคงมปี ริมาตรเทา่ เดมิ ข้นั ที่ 3 ทดลอง – แบ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 6 คน – แตล่ ะกลมุ่ เทนำ้ ใสก่ ระบอกตวง สงั เกตรูปรา่ งของนำ้ และอา่ นปริมาตร บนั ทกึ ผล – เทน้ำจากกระบอกตวงใส่ลงในภาชนะใบที่ 1 สังเกตรูปรา่ งของนำ้ แล้วเทน้ำลงในกระบอกตวง เพอื่ หาปริมาตร บันทกึ ผล – ดำเนนิ การทดลองซ้ำตามขัน้ ตอนท่ี 2 โดยใช้ภาชนะรูปทรงต่างๆ แลว้ สรุปผลการสงั เกต อ่านปริมาตรของน้ำในกระบอกตวง สังเกตรูปรา่ งของน้ำในภาชนะต่างๆ กระบอกตวงและภาชนะรูปทรงต่าง ขั้นที่ 4 วิเคราะหผ์ ลการทดลอง – แปลความหมายข้อมลู ที่ได้จากตารางบนั ทึกผลการทดลอง – นำขอ้ มูลที่ได้มาพจิ ารณาเพ่ืออธิบายว่าเปน็ ไปตามท่นี ักเรียนตั้งสมมตุ ิฐานไว้หรือไม่ ขนั้ ท่ี 5 สรุปผลการทดลอง – นักเรยี นร่วมกันสรปุ ผลการทดลองแล้วเขยี นรายงานสรุปผลการทดลองสง่ ครู (3) ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นทกุ คนซกั ถามเม่ือมีปญั หา (3) ข้ันอธิบายและลงขอ้ สรปุ (1) นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลุม่ นำเสนอข้อมูลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนา้ หอ้ งเรยี น (2) นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปนี้ – น้ำมีปริมาตรเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุหรือไม่ (แนวคำตอบ ปริมาตรของน้ำไม่เปลี่ยนไป ตามภาชนะท่ีบรรจ)ุ – น้ำมีรูปร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุหรือไม่ (แนวคำตอบ รูปร่างของน้ำเปลี่ยนไปตาม ภาชนะทีบ่ รรจุ)

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – น้ำมีสมบัติใดจึงถูกส่งผ่านไปตามท่อน้ำได้ (แนวคำตอบ น้ำมีรูปร่างไม่คงที่ เปลี่ยนไปตาม ภาชนะทบ่ี รรจุ และมลี ักษณะไหลได)้ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ของเหลวมี ปริมาตรคงที่ แต่รปู รา่ งไม่คงท่ี คือ เปลยี่ นไปตามภาชนะทบี่ รรจุ (4) ขัน้ ขยายความรู้ นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศท่ีเกี่ยวกบั สมบัติของของแข็งและของเหลวจากหนังสอื เรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดส่ง ครู (5) ขนั้ ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ว่ ยอธิบายเพ่มิ เติมให้นกั เรียนเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบา้ ง (3) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมและการ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนกั เรยี น เชน่ – ของแขง็ มสี มบตั แิ ตกตา่ งจากของเหลวอย่างไร – เพราะอะไรของเหลวจึงเปล่ียนรูปร่างไปตามภาชนะท่บี รรจุ ขนั้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของของแข็งและของเหลว โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคิดหรอื ผงั มโนทศั น์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. ก้อนหนิ และแกว้ ท่มี นี ้ำ 2. ใบกิจกรรมท่ี 22 ทดลองสมบัตขิ องของเหลว 3. หนงั สอื เรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อนิ เทอรเ์ นต็ 4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 6. แบบฝกึ ทกั ษะรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 7. หนงั สอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรเู้ รื่องสมบัติของ จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ ของแข็งและของเหลว ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใชแ้ บบ 1. ประเมนิ เจตคติทาง วดั ทกั ษะกระบวนการทาง 2. ตรวจช้ินงานหรอื ภาระงานของ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบุคคล วิทยาศาสตร์ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหว่างเรียน โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย การสงั เกตการทำงานกล่มุ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อ วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 3. ประเมนิ ทักษะการ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวดั แกป้ ญั หาโดยการสงั เกตการ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ทำงานกลุ่ม 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเปน็ รายบุคคลหรือรายกลมุ่ โดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ .....................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. นกั เรยี นนีไ่ มผ่ า่ น มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไมผ่ า่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 3. นักเรยี นมคี วามรเู้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 68 สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง สมบัติของแก๊ส (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู สู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 2. ตวั ชี้วัดชัน้ ปี เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้ัง 3 สถานะ จากขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกต มวล การตอ้ งการที่อยู่ รูปร่าง และปริมาตรของสสาร (ว 2.1 ป. 4/3) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายสมบตั ิของแก๊สได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรอู้ ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรูท้ ่ีเก่ียวกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผ้อู ืน่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรเู้ รื่องสมบตั ขิ องแกส๊ ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั แกส๊ เป็นสสารท่ีมีอนภุ าคภายในอย่หู ่างกนั มาก อนภุ าคจะเคลอื่ นที่อยตู่ ลอดเวลา จึงทำใหม้ ปี รมิ าตร และรปู ร่างไมค่ งท่ี สามารถฟงุ้ กระจายได้ 5. สาระการเรียนรู้ สถานะของสสาร - สมบตั ขิ องแก๊ส 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน สบื ค้นขอ้ มลู เกีย่ วกับสมบัติของแกส๊ 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน 1) ครูถามคำถามเพอื่ ทบทวนความรเู้ ดิมของนกั เรียน เช่น – นกั เรียนเคยเปา่ ลกู โป่งจนแตกหรอื ไม่ (แนวคำตอบ เคย) – เมอ่ื ลูกโปง่ แตก ลมในลกู โปง่ หายไปไหน (แนวคำตอบ ลมฟงุ้ กระจายไปในอากาศรอบๆ ตวั เรา) 2) นกั เรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพือ่ เช่ือมโยงไปสู่การ เรยี นรู้เรื่อง สมบตั ขิ องแกส๊ ขัน้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมขี ั้นตอนดังนี้ (1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (1) ครูถามคำถามนกั เรียนเพ่อื กระตนุ้ ความสนใจ เชน่ – เมอ่ื เปลย่ี นรูปร่างของภาชนะ แก๊สมรี ปู ร่างลกั ษณะใด (แนวคำตอบ แกส๊ มีรูปร่างเปลี่ยนไปตาม ภาชนะทบ่ี รรจุ) – เมื่อเปลี่ยนปริมาตรของภาชนะ แก๊สมีปริมาตรลักษณะใด (แนวคำตอบ แก๊สมีปริมาตร เปลี่ยนไปตามภาชนะทบี่ รรจุ) (2) นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรียน (2) ขนั้ สำรวจและคน้ หา (1) ใหน้ กั เรยี นศึกษาสมบตั ิของแกส๊ จากใบความรูห้ รือในหนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตรป์ . 4 โดยครตู ้งั คำถามกระตนุ้ ให้นกั เรยี นตอบดังนี้ – การจดั เรียงตวั ของแก๊สมลี กั ษณะอยา่ งไร – อนุภาคของแกส๊ มีการเคลอื่ นทอ่ี ยา่ งไร (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส โดยดำเนินการตาม ข้ันตอนดังน้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อสมบัติของแก๊สเป็นหัวข้อย่อย เช่น สมบัติ ของแก๊ส การจัดเรยี งอนุภาคของแกส๊ ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั สืบค้นตามหวั ข้อท่ีกำหนด – สมาชิกแตล่ ะกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหวั ข้อท่ีกล่มุ ของตนเองรับผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็ – สมาชกิ กล่มุ นำข้อมลู ท่สี ืบคน้ ได้มารายงานให้เพอ่ื นๆ สมาชกิ ในกล่มุ ฟัง รวมท้ังร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมคี วามรคู้ วามเข้าใจทต่ี รงกนั – สมาชกิ กลมุ่ ช่วยกนั สรุปความรูท้ ไ่ี ด้ทัง้ หมดเปน็ ผลงานของกลุม่ (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นทุกคนซักถามเม่ือมีปัญหา

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (1) นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนกลุม่ นำเสนอขอ้ มลู การปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นักเรียนและครูร่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ – การเคลือ่ นทีข่ องอนภุ าคของแก๊สมีลกั ษณะอยา่ งไร (แนวคำตอบ เคลอ่ื นทไ่ี ด้ทุกทศิ ทาง) – แก๊สมีสมบัติอย่างไร (แนวคำตอบ มีรูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ เปลี่ยนรูปร่างไปตามภาชนะที่ บรรจ)ุ – วัสดุที่พบว่ามีองค์ประกอบของแก๊สอยู่ภายในได้แก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ ลูกโป่ง ลูกบอล พลาสติก และหว่ งยาง) (3) ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม โดยครูเนน้ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจว่าแก๊สมีรูปร่างและ ปริมาตรไมค่ งที่ จะเปล่ยี นไปตามรปู ร่างและขนาดของภาชนะทบ่ี รรจุ (4) ข้นั ขยายความรู้ (1) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มวาดรูปการเรียงตัวของอนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส แลว้ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานหนา้ ห้องเรียน (2) นักเรียนและครูร่วมกันเปรียบเทียบการเรียงตัวของอนุภาคของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส แล้ว ครูสรุปให้นักเรียนฟังว่า การเรียงตัวของอนุภาคแตกต่างกันทำให้สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส แตกต่างกนั (5) ขน้ั ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยงั มีขอ้ สงสัย ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพมิ่ เตมิ ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรยี นรว่ มกันประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการปฏิบัติกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรยี น เช่น – แกส๊ มีปริมาตรไม่คงทีเ่ พราะอะไร – เราไดก้ ลิ่นอาหารทีอ่ ยูห่ ่างไกลจากเราเพราะอะไร ข้นั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือ ผงั มโนทศั น์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็ 2. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 3. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. แบบฝกึ ทกั ษะรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 5. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความร้เู รื่องสมบตั ิของ แก๊ส 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย 2. ตรวจชน้ิ งานหรอื ภาระงานของ เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต การสงั เกตการทำงานกลมุ่ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหว่างเรียน และใช้แบบวัดเจตคตทิ าง 2. ประเมินพฤติกรรมในการ วทิ ยาศาสตร์ ปฏิบัติกจิ กรรมเปน็ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย เป็นรายบุคคลโดยการสงั เกต การสังเกตการทำงานกลมุ่ และใช้แบบวัดเจตคติต่อ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นกั เรียนน่ไี มผ่ า่ น มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ...................................................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นกั เรียนมีความรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ........................................................................................................................ .............................. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 69 สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 เรอื่ ง สมบตั ขิ องแก๊ส (2) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ้สู อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 2. ตัวช้ีวดั ช้นั ปี เปรียบเทียบสมบตั ิของสสารท้ัง 3 สถานะ จากข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสังเกต มวล การตอ้ งการท่อี ยู่ รูปร่าง และปรมิ าตรของสสาร (ว 2.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายสมบัติของแก๊สได้ (K) 2. มีความสนใจใฝ่รู้หรอื อยากร้อู ยากเห็น (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ เี่ กี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สอื่ สารและนำความร้เู ร่ืองสมบตั ขิ องแก๊สไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั แก๊สเป็นสสารท่ีมีอนุภาคภายในอย่หู ่างกนั มาก อนภุ าคจะเคลือ่ นท่ีอย่ตู ลอดเวลา จึงทำให้มปี รมิ าตร และรปู รา่ งไม่คงท่ี สามารถฟงุ้ กระจายได้ 5. สาระการเรยี นรู้ สถานะของสสาร - สมบัตขิ องแก๊ส 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน สงั เกตสมบตั ิของแกส๊ 9. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูถามคำถามเพ่ือทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน เชน่ – นักเรียนคิดวา่ บอลลูนสามารถลอยขน้ึ บนท้องฟ้าไดห้ รือไม่ (แนวคำตอบ ได)้ – สงิ่ ทอี่ ยู่ในบอลลนู เรียกว่าอะไร (แนวคำตอบ แกส๊ ) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั คำตอบของคำถาม เพื่อเชอื่ มโยงไปสู่การ เรียนรเู้ ร่อื ง สมบัติของแกส๊ ขั้นจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมขี ั้นตอนดังน้ี (1) ขนั้ สร้างความสนใจ (1) ครถู ามคำถามนักเรียนเพือ่ กระตุ้นความสนใจ เช่น – สมบัติเฉพาะตัวของแก๊สมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ มีรูปร่างและปริมาตรไม่คงที่อนุภาค ของแก๊สอยู่ห่างกันมากกว่าในของเหลวและของแข็ง ทำให้อนุภาคของแก๊สสามารถเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทาง เปลีย่ นไปตามรปู ร่างและขนาดของภาชนะท่ีบรรจ)ุ (2) นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น (2) ข้นั สำรวจและคน้ หา (1) แบง่ กลมุ่ นักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมท่ี 23 สังเกตสมบัติของแก๊ส ตามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ทักษะ/กระบวนการสงั เกตดังน้ี – จุดไม้ขีดไฟ 1 ก้าน ใส่ลงในขวด ใช้นิ้วมือปิดปากขวด แล้วสังเกตควันที่เกิดจากไม้ขีดไฟที่ดับ บนั ทกึ ผล – นำขวดที่มีขนาดเท่ากันมาคว่ำประกบกับขวดใบแรก ให้ปากขวดสนิทกันพอดี สังเกตควันใน ขวด บันทกึ ผล แล้วสรุปผลการสงั เกต

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู สังเกตการเคลื่อนท่ีของควันท่ีอยู่ในขวด หมายเหตุ ควรระมัดระวังไมใ่ หเ้ ปลวไฟถูกมอื เพราะจะทำใหผ้ วิ หนังไหมไ้ ด้ (3) ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (1) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอข้อมูลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหน้าห้องเรียน (2) นักเรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถามตอ่ ไปนี้ – ควันมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไร (แนวคำตอบ มีการแพร่กระจายจากขวดใบล่างขึน้ ไปยังขวดใบ บน) – แกส๊ มีสมบตั ิแตกตา่ งจากของเหลวและของแขง็ อย่างไร (แนวคำตอบ แก๊สมรี ปู ร่างและปริมาตร ไม่คงที่ จะฟงุ้ กระจายไปในภาชนะทบ่ี รรจ)ุ – ยกตัวอย่างการฟุ้งกระจายของแก๊สทีน่ ักเรียนพบเหน็ ได้ในชวี ิตประจำวัน (แนวคำตอบ การฟุ้ง กระจายของน้ำหอมทฉ่ี ดี การฟุ้งกระจายของสเปรย์ฉีดกันยุง) (3) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยครูเน้นใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ แก๊สมรี ปู ร่างและ ปรมิ าตรไม่คงที่ จะเปลี่ยนไปตามภาชนะทบี่ รรจุ (4) ข้ันขยายความรู้ (1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแก๊สเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ เช่นหนังสือ วารสารวทิ ยาศาสตร์ และอนิ เทอร์เนต็ แลว้ นำข้อมูลที่ได้มาจดั ทำเป็นรายงานส่งครู (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส จากหนังสือเรียน ภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลงสมุดสง่ ครู (5) ขนั้ ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยังมขี ้อสงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเตมิ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรยี นร่วมกันประเมินการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลมุ่ ว่ามีปัญหาหรืออปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอยา่ งไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยถามคำถามนักเรยี น เชน่ – การทดสอบสมบตั ิของแกส๊ ทำได้โดยวธิ ีการใด – เพราะเหตุใดแก๊สจงึ มปี รมิ าตรไมค่ งท่ี ขน้ั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโน ทัศน์

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 23 สังเกตสมบัติของแกส๊ 2. หนังสอื หนังสอื เรียนภาษาตา่ งประเทศ วารสารวิทยาศาสตร์ และอินเทอรเ์ นต็ 3. คู่มือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สอ่ื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝกึ ทกั ษะรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 6. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรู้เร่ืองสมบัติของ จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะกระบวนการ แกส๊ ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้แบบ 1. ประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ วัดทกั ษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชิ้นงานหรอื ภาระงานของ เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต วทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรยี น และใช้แบบวัดเจตคตทิ าง วิทยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ เป็นรายบคุ คลโดยการสังเกต 3. ประเมนิ ทักษะการ และใชแ้ บบวดั เจตคตติ ่อ แกป้ ญั หาโดยการสังเกตการ วทิ ยาศาสตร์ ทำงานกลุม่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบตั กิ จิ กรรมเปน็ รายบคุ คลหรือรายกลมุ่ โดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................ ...................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................... .................................................. 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 70 สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรือ่ ง การวัดมวลและปริมาตรของสสาร เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 2. ตัวชี้วัดชนั้ ปี ใช้เครอื่ งมอื เพื่อวัดมวลและปริมาตรของสสารทง้ั 3 สถานะ (ว 2.1 ป. 4/4) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของคำว่ามวลและปรมิ าตรได้ (K) 2. อธบิ ายการใช้เครื่องมือเพ่ือวัดมวลและปรมิ าตรของสสารทั้ง 3 สถานะได้ (K) 3. มีความสนใจใฝ่รหู้ รอื อยากรู้อยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรูท้ เี่ กยี่ วกับวิทยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกับผู้อน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 6. สือ่ สารและนำความรู้เร่ืองการวดั มวลและปรมิ าตรของสสารไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั วสั ดุทกุ ชนดิ เปน็ สสาร คือ มมี วล ต้องการท่ีอยู่ และสัมผสั ได้ ซงึ่ สสารแตล่ ะสถานะมมี วลและปริมาตร แตกตา่ งกัน จึงใชเ้ ครื่องมือวัดมวลและปรมิ าตรตา่ งกนั ด้วย 5. สาระการเรียนรู้ การวดั มวลและปรมิ าตรของสสาร – เครอ่ื งมือท่ีใช้วดั มวลและปรมิ าตรของสสารทั้ง 3 สถานะ 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน สบื ค้นข้อมลู เกย่ี วกบั การวดั มวลและปรมิ าตรของสสาร 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครูนำฟองน้ำและดินนำ้ มนั มาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ถามคำถามกับนกั เรยี น ดังน้ี – วัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้มีมวลเทา่ กันหรือไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ ไม่เท่ากัน ฟองน้ำเนื้อมีรูพรุน จึงมี มวลนอ้ ยกวา่ ดนิ น้ำมนั ทีม่ เี น้ือแนน่ ) – สสารแต่ละสถานะมมี วลและปรมิ าตรเทา่ กนั หรอื ไม่ (แนวคำตอบ ไมเ่ ท่ากนั ) 2) นกั เรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับคำตอบของคำถาม เพอ่ื เชื่อมโยงไปสู่การ เรยี นรู้เร่ือง การวดั มวลและปริมาตรของสสาร ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึง่ มีข้นั ตอนดงั นี้ (1) ขั้นสร้างความสนใจ (1) ครถู ามคำถามนกั เรยี นเพือ่ กระตุ้นความสนใจ เช่น – สสารที่มีสถานะเป็นของเหลวต้องอาศัยเครื่องมือใดในการหาปริมาตร (แนวคำตอบ บีกเกอร์ กระบอกตวง และหลอดฉีดยา) – การหามวลของของแข็งสามารถทำได้โดยใชเ้ คร่ืองมือชนิดใด (แนวคำตอบ เคร่อื งชงั่ ) (2) นักเรยี นร่วมกันอภิปรายเกย่ี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนกั เรียน (2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับการวัดมวลและปริมาตรของสสารจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครชู ่วยอธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า วสั ดทุ ุกชนดิ เปน็ สสาร คอื มีมวล ตอ้ งการท่ีอยู่ และสัมผสั ได้ การวัดมวล และปริมาตรของสสารในแต่ละสถานะต้องอาศัยเครื่องมือในการวัดเพื่อหามวลและปริมาตร ซึ่งสสารแต่ละ สถานะใชเ้ คร่ืองมอื ทีแ่ ตกตา่ งกันข้นึ อยู่กบั มวลและปรมิ าตร (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการวัดมวลและปริมาตรของสสาร โดย ดำเนนิ การตามขั้นตอนดังน้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อการวัดมวลและปริมาตรของสสารเป็นหัวข้อย่อย เช่น เครื่องมือที่ใช้วัดมวลและปริมาตรของสสารที่เป็นของแข็ง เครื่องมือที่ใช้วัดมวลและปริมาตรของสสารที่ เป็นของเหลว และเครื่องมือที่ใช้วัดมวลและปริมาตรของสสารที่เป็นแก๊ส ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้น ตามหวั ขอ้ ทีก่ ำหนด

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ โดยการ สืบค้นจากใบความรู้ที่ครูเตรียมมาให้ หรือหนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรม ไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทกุ คนมคี วามรูค้ วามเข้าใจท่ตี รงกัน – สมาชกิ กลุ่มช่วยกนั สรปุ ความรทู้ ไ่ี ดท้ ั้งหมดเปน็ ผลงานของกล่มุ (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นักเรยี นขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูเดนิ ดรู อบๆ หอ้ งเรียนและเปิดโอกาส ให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมีปญั หา (3) ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (1) นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุม่ นำเสนอข้อมูลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปนี้ – เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวดั ปรมิ าตรของแก๊สคืออะไร (แนวคำตอบ บารอมเิ ตอร)์ – ถ้าต้องการวัดปริมาตรของของเหลวสามารถใช้เครื่องมือใดได้บ้าง (แนวคำตอบ บีกเกอร์ กระบอกตวง และหลอดฉีดยา) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สสารในแต่ละ สถานะมีมวลและปริมาตรไมเ่ ท่ากนั จึงใช้เคร่ืองมือในการวดั มวลและปริมาตรแตกต่างกัน (4) ข้นั ขยายความรู้ (1) นักเรียนสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือที่ใช้วัดมวลและปริมาตรของสสารทั้ง 3 สถานะ เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ เช่น หนังสือ วารสารวิทยาศาสตร์ และอินเทอร์เน็ต แล้วนำขอ้ มูลที่ไดม้ าจัดทำ เป็นรายงานสง่ ครู (2) นักเรียนค้นคว้าคำศพั ท์ภาษาต่างประเทศที่เกี่ยวกับเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวัดมวลและปริมาตร จาก หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำ แปลลงสมดุ ส่งครู (5) ขน้ั ประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครชู ่วยอธิบายเพม่ิ เติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มวา่ มปี ญั หาหรืออุปสรรคใดและไดแ้ กไ้ ขอยา่ งไรบ้าง (3) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการปฏบิ ัติกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – ถ้าต้องการทราบวา่ สสารแตล่ ะสถานะมีมวลและปริมาตรเทา่ กันหรอื ไม่จะต้องอาศยั วิธกี ารใด – เครื่องมอื ทใ่ี ช้วดั มวลและปรมิ าตรของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส คืออะไร – การวดั ปรมิ าตรของแกส๊ สามารถใช้เครือ่ งมือใดในการวดั

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ข้ันสรุป 1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการวัดมวลและปริมาตรของสสาร โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคดิ หรือผงั มโนทัศน์ 2) ครูดำเนินการทดสอบหลังเรียนโดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความก้าวหน้า/ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 ของนกั เรยี น 3) ครูเชื่อมโยงเนื้อหาจากบทเรียนนีก้ ับหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการ เรียนช่วั โมงต่อไป โดยการใช้คำถามกระตุ้น ดงั นี้ – วัตถุแตล่ ะชนิดทำจากวสั ดทุ ี่แตกต่างกัน แตเ่ มื่อวัตถุทกุ ชนิ้ ตกจากโตะ๊ จะตกลงสู่พ้นื เสมอ เพราะ เหตุใดจงึ เป็นเชน่ น้ัน 4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศกึ ษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชั่วโมงหน้าเพื่อจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป โดยให้นกั เรยี นศกึ ษาค้นควา้ ลว่ งหนา้ ในหัวขอ้ แรงโนม้ ถว่ ง 5) ครใู ห้นักเรยี นเตรียมประเดน็ คำถามท่สี งสยั มาอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม เพ่อื นำมาอภิปรายร่วมกัน ในชน้ั เรยี นครง้ั ต่อไป 10. ส่ือการเรยี นรู้ 1. ฟองน้ำและดินนำ้ มัน 2. คูม่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. แบบฝกึ ทักษะรายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรเู้ ร่ืองการวัดมวล จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย และปรมิ าตรของสสาร การสังเกตการทำงานกลุ่ม 1. ประเมินเจตคติทาง 2. ตรวจชน้ิ งานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กจิ กรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั ปฏิบตั กิ จิ กรรมเปน็ เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรือรายกลมุ่ โดย 3. ทดสอบหลงั เรยี นโดยใช้ การสังเกตการทำงานกลุ่ม แบบทดสอบหลงั เรียน 2. ประเมนิ เจตคติต่อ 3. วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล โดยการสังเกตและใช้แบบวดั เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ 12.1 สรุปผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไมผ่ า่ นจุดประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นักเรียนนไ่ี มผ่ ่าน มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจ (K) ........................................................................................................................... ........................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรเู้ กิดทักษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 71 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เร่อื ง การขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ รูปรา่ งของดวงจนั ทร์ (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผสู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ 2. ตัวชี้วดั ช้ันปี 1. อธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขน้ึ และตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ (ว 3.1 ป. 4/1) 2. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายแบบรปู การเปลี่ยนแปลงรูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่าง ปรากฏของดวงจนั ทร์ (ว 3.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการขนึ้ และตกของดวงจนั ทรแ์ ละการเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทรไ์ ด้ (K) 2. สรา้ งแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจันทรไ์ ด้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรู้อยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้เก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (A) 6. สอื่ สารและนำความรเู้ ร่ืองการขึ้นและตกของดวงจันทร์ รปู ร่างของดวงจันทร์ไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน ได้ (P) 4. สาระสำคญั ดวงจันทร์ขึ้นและตกทิศทางเดียวกับดวงอาทิตย์ โดยในแต่ละคืนเราจะเห็นดวงจันทร์มีลักษณะ แตกต่างกัน ช่วงที่เห็นดวงจันทร์เต็มดวงเรียกว่า ข้างขึ้น ช่วงที่ไม่เห็นดวงจันทร์เลยเรียกว่า ข้างแรม เรา สามารถใช้ลักษณะของดวงจันทร์บอกทิศแก่เราได้ โดยในวันขึ้น 8 ค่ำ จะเห็นด้านที่มืดอยู่ทางทิศตะวันออก ส่วนวันแรม 8 คำ่ จะเห็นด้านทมี่ ดื อย่ทู างทิศตะวนั ตก 5. สาระการเรยี นรู้ ดวงจนั ทร์ – การขน้ึ และตกของดวงจันทร์ – รูปรา่ งของดวงจันทร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน สืบค้นขอ้ มูลเกี่ยวกับปฏิทินดวงจนั ทร์ 9. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ครูดำเนินการทดสอบกอ่ นเรยี นโดยให้นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพื่อตรวจสอบความพร้อม และพื้นฐานของนักเรียน ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ครสู นทนากบั นกั เรียน โดยส่มุ ถามนักเรยี นในประเด็นตอ่ ไปน้ี – เวลากลางคนื เรามองเหน็ อะไรบนท้องฟา้ (แนวคำตอบ ดวงจนั ทร์ ดาว) – ในคนื ทท่ี ้องฟ้าสว่างเรามองเหน็ อะไรบนท้องฟ้าชดั เจนที่สดุ (แนวคำตอบ ดวงจันทร)์ 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรยี นรู้เร่ือง การขึน้ และตกของดวงจันทร์ รูปรา่ งของดวงจันทร์ ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกบั แบบกลบั ดา้ นชัน้ เรียน ซง่ึ มขี ัน้ ตอน ดงั นี้ (1) ข้นั สร้างความสนใจ (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับดวงจันทร์ ที่ครู มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอข้อมูลหน้า ห้องเรียน (2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก ของนกั เรยี น และถามคำถามเกย่ี วกบั ภาระงาน ดังน้ี – เราเหน็ ดวงจนั ทร์ในเวลาใด (แนวคำตอบ เวลากลางคนื ) – ดวงจันทร์ข้ึนและตกทางทศิ ใด และสามารถสังเกตได้จากสิง่ ใด (แนวคำตอบ ดวงจันทร์ขึ้นทาง ทศิ ตะวนั ออกและตกทางทิศตะวันตก สามารถสงั เกตไดจ้ ากวันข้างข้ึนและขา้ งแรม) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนต้ังประเด็นคำถามที่นักเรียนสงสยั จากการทำภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม ซึง่ ครูใหน้ กั เรียนเตรียมมาล่วงหนา้ และให้นกั เรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (4) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปเกย่ี วกบั ภาระงาน โดยครชู ่วยอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจวา่ การหมุนรอบ ตัวเองของโลกทำใหด้ วงจนั ทร์ขนึ้ –ตกทศิ เดียวกับดวงอาทิตย์ (2) ขนั้ สำรวจและค้นหา (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเร่ือง การข้นึ และตกของดวงจนั ทร์ รูปรา่ งของดวงจนั ทรใ์ นหนงั สือเรียน โดยครู ชว่ ยอธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า การทดี่ วงจันทรโ์ คจรรอบโลก ทำใหค้ นบนโลกเห็นส่วนสวา่ งทด่ี วงจนั ทรส์ ะท้อน แสงจากดวงอาทติ ย์ได้ตา่ งกนั ไป ซง่ึ ในแตล่ ะคนื เราจะเหน็ ดวงจนั ทร์มรี ูปร่างปรากฏแตกต่างกนั ทำให้เกดิ ขา้ งขึ้น ข้างแรม (2) แบง่ กล่มุ นักเรียน กล่มุ ละ 5 – 6 คน สืบคน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ปฏทิ นิ ดวงจันทร์ โดยดำเนินการตาม ขน้ั ตอนดังนี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อปฏิทินดวงจันทร์เป็นหัวข้อย่อย เช่น เดือน ขาด เดือนเตม็ วันเพ็ญ วนั ดับ วันพระ และวันโกน ใหส้ มาชิกแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันสบื ค้นตามหัวขอ้ ทีก่ ำหนด – สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสืบค้นข้อมูลตามหวั ข้อท่ีกลุม่ ของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดวา่ สมาชิกทุกคนมีความรู้ความเขา้ ใจที่ตรงกัน – สมาชิกกลุ่มชว่ ยกนั สรุปความรทู้ ไ่ี ดท้ ง้ั หมดเป็นผลงานของกลุม่ (3) ครูคอยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ให้นักเรียนทุกคนซักถามเมื่อมปี ญั หา (3) ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป (1) นกั เรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าห้องเรียน (2) นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ – เม่อื เปรยี บเทียบปฏิทนิ ดวงจันทร์ที่ได้จากการสังเกตและปฏิทินท่ีใช้กำหนดวันข้างขึ้น ข้างแรม แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวคำตอบ ไม่แตกตา่ งกัน เน่อื งจากในชว่ งเวลาข้างขึน้ สว่ นสว่างของดวงจันทร์จะ เพิ่มขึ้นและจะสว่างเต็มดวงในวันขึ้น 15 ค่ำ ส่วนในช่วงเวลาข้างแรม บริเวณส่วนสว่างของดวงจันทร์จะลดลง จนมดื เตม็ ดวงในวนั แรม 15 ค่ำ) – นอกจากการสังเกตดวงจันทร์มีวิธีการศึกษาวันข้างขึ้น ข้างแรมได้โดยวิธีการใด (แนวคำตอบ ศึกษาจากปฏทิ ินทใี่ ชใ้ นการกำหนดวันขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ในแต่ละคืนเรา จะเหน็ ดวงจันทร์มีรูปรา่ งปรากฏแตกต่างกนั ทำให้เกิดข้างขึ้น ขา้ งแรม (4) ข้นั ขยายความรู้ ครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ เก่ยี วกบั การข้ึนและตกของดวงจนั ทรว์ ่า ดวงจนั ทร์จะขน้ึ และตกช้าลงอยา่ งสม่ำเสมอ ประมาณวันละ 50 นาที ซึ่งวันข้างขึ้น ดวงจันทร์จะขึ้นในเวลากลางวันก่อนดวงอาทิตย์ตก และตกในเวลา กลางคนื วนั ขา้ งแรม ดวงจันทรจ์ ะขึน้ หลังดวงอาทิตย์ตกหรือข้นึ ในเวลากลางคืน และตกในเวลากลางวัน ส่วน วันขึ้น 8 ค่ำ ดวงจันทร์จะขึ้นเวลาประมาณเที่ยงวันและตกในเวลาประมาณเที่ยงคืน และวันแรม 7 ค่ำ ดวง จันทร์ขึน้ ในเวลาประมาณเทีย่ งคนื และตกในเวลาประมาณเทย่ี งวัน (5) ข้นั ประเมิน

แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสยั ถา้ มี ครูชว่ ยอธิบายเพ่มิ เติมให้นกั เรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรยี นร่วมกนั ประเมินการปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออุปสรรคใดและได้แก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – ดวงจันทรใ์ นวันขึ้น 15 คำ่ และแรม 15 ค่ำ มลี กั ษณะอยา่ งไร – การข้นึ และตกของดวงจนั ทร์มีทิศเหมือนกับดวงอาทติ ย์หรือไม่ อย่างไร ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการขึ้นและตกของดวงจันทร์ รูปร่างของดวงจันทร์ โดยร่วมกัน เขียนเป็นแผนท่คี วามคิดหรอื ผงั มโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 2. หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็ 3. คมู่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 4. สือ่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝกึ ทกั ษะรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 6. หนังสือเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความร้เู รื่อง การข้ึนและ จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย ตกของดวงจนั ทร์ รปู รา่ งของดวง การสงั เกตการทำงานกลมุ่ จนั ทร์ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ 2. ตรวจช้นิ งานหรือภาระงานของ โดยการสังเกตและใช้แบบวดั ปฏิบตั ิกจิ กรรมเปน็ กจิ กรรมฝึกทักษะระหวา่ งเรียน เจตคติทางวิทยาศาสตร์ รายบุคคลหรอื รายกลุ่ม โดยการสังเกตการทำงาน 3. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้ 2. ประเมินเจตคติตอ่ กล่มุ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล โดยการสังเกตและใชแ้ บบวดั เจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. นักเรยี นน่ไี มผ่ ่าน มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 2. นกั เรยี นมีความร้คู วามเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .......................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั น้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 72 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง การขึ้นและตกของดวงจันทร์ รปู รา่ งของดวงจนั ทร์ (2) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผสู้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ 2. ตัวชี้วดั ช้ันปี 1. อธบิ ายแบบรูปเสน้ ทางการขน้ึ และตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ (ว 3.1 ป. 4/1) 2. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายแบบรปู การเปลี่ยนแปลงรูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่าง ปรากฏของดวงจนั ทร์ (ว 3.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการขึ้นและตกของดวงจันทรแ์ ละการเปลยี่ นแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ได้ (K) 2. สรา้ งแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ได้ (K) 3. มีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรูเ้ ก่ยี วกับวิทยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สอื่ สารและนำความรู้เรื่องการข้ึนและตกของดวงจันทร์ รูปรา่ งของดวงจนั ทรไ์ ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั ดวงจันทร์ขึ้นและตกทิศทางเดียวกับดวงอาทิตย์ โดยในแต่ละคืนเราจะเห็นดวงจันทร์มีลักษณะ แตกต่างกัน ช่วงที่เห็นดวงจันทร์เต็มดวงเรียกว่า ข้างขึ้น ช่วงที่ไม่เห็นดวงจันทร์เลยเรียกว่า ข้างแรม เรา สามารถใช้ลักษณะของดวงจันทร์บอกทิศแก่เราได้ โดยในวันขึ้น 8 ค่ำ จะเห็นด้านที่มืดอยู่ทางทิศตะวันออก ส่วนวันแรม 8 คำ่ จะเห็นด้านที่มืดอยูท่ างทิศตะวนั ตก 5. สาระการเรยี นรู้ ดวงจนั ทร์ – การขน้ึ และตกของดวงจนั ทร์ – รูปรา่ งของดวงจันทร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวิต 8. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน สงั เกตดวงจนั ทร์ 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูทบทวนความรูเ้ กี่ยวกบั รูปรา่ งของดวงจนั ทร์ โดยการถามคำถามนักเรยี นวา่ – สว่ นสว่างของดวงจันทร์ข้างขึ้นอยู่ทางทิศใด แตกต่างจากดวงจันทร์ข้างแรมหรือไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ ส่วนสว่างของดวงจันทร์ข้างขึ้นอยู่ทางทิศตะวันตก ซึ่งแตกต่างจากส่วนสว่างของดวงจันทร์ ข้างแรมซึง่ อยู่ทางทศิ ตะวนั ออก) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนร้เู รื่อง การขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ รูปร่างของดวงจันทร์ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกบั แบบกลับดา้ นช้นั เรยี น ซงึ่ มขี ัน้ ตอน ดงั น้ี (1) ข้นั สร้างความสนใจ (1) ครูนำรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ข้างขึ้น ข้างแรม มาให้นักเรียนดู แล้วถาม คำถามนักเรียน ดังน้ี – ดวงจันทร์ขา้ งข้นึ มสี ่วนทมี่ ดื ทางทศิ ใด (แนวคำตอบ ทศิ ตะวนั ออก) – ดวงจันทร์ข้างแรมมีสว่ นทีม่ ืดทางทศิ ใด (แนวคำตอบ ทศิ ตะวันตก) (2) นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายเกย่ี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น (2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 24 สังเกตดวงจันทร์ ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ทกั ษะ/กระบวนการสังเกตดังน้ี – แบง่ กลุ่มนกั เรยี น กลมุ่ ละ 5 – 6 คน

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – นกั เรียนเรียนรจู้ ากปฏิทินหรือหนงั สือพิมพเ์ พ่ือหาว่าวนั ทเ่ี ท่าไรเป็นวันข้ึน 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ – สังเกตวา่ ดวงอาทติ ยข์ ึ้นทางทิศใดของบ้านเพ่ือหาทศิ ตะวนั ออกและทิศตะวนั ตก – วาดวงกลมลงบนกระดาษขาว 2 แผ่น แผ่นละ 1 วง และท่ใี ตว้ งกลมเขียนว่า ข้ึน 8 คำ่ และแรม 8 ค่ำ – เมื่อถึงวันขึ้น 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ ให้นักเรียนสังเกตดวงจันทร์แล้วใช้ดินสอสีหรือสีเทียน ระบายลงในวงกลม โดยสว่ นทส่ี วา่ งใช้สเี หลอื ง สว่ นทมี่ ืดใชส้ ีดำ – เขยี นทศิ ตะวันออกและทิศตะวนั ตกทขี่ า้ งวงกลมท้ัง 2 รูป – ร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ผลการสงั เกตดวงจนั ทร์ (2) ครคู อยแนะนำชว่ ยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดนิ ดูรอบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ ักเรียนทุกคนซกั ถามเม่ือมีปญั หา (3) ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (1) นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นักเรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปน้ี – ดวงจันทร์สามารถใช้บอกทิศได้หรอื ไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ ได้ เนื่องจากในวันขึ้น 8 ค่ำ ด้าน มืดของดวงจันทร์จะอยู่ทางทิศตะวันออก และในวันแรม 8 ค่ำ ด้านมืดของดวงจันทร์จะอยู่ทางทิศตะวันตก เสมอ) – ถา้ ไม่ใชก้ ารวาดรปู เราสามารถใช้อุปกรณ์ใดศึกษาเรือ่ งน้ีได้ (แนวคำตอบ ปฏทิ นิ ) (3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยครเู นน้ ใหน้ กั เรียนเข้าใจวา่ วันข้นึ 8 ค่ำ ดวง จันทร์ด้านมดื จะอยู่ทางทศิ ตะวนั ออก สว่ นวันแรม 8 ค่ำ ดวงจันทรด์ ้านมืดจะอยู่ทางทศิ ตะวนั ตก (4) ข้ันขยายความรู้ (1) ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า เดือนขาด เป็นเดือนที่มี 29 วัน วันสิ้นเดือนตรงกับวันแรม 14 ค่ำ ซึ่งได้แก่ เดอื น 1 เดอื น 3 เดอื น 5 เดอื น 7 เดอื น 9 และเดอื น 11 • เดือนเต็ม เป็นเดือนที่มี 30 วัน วันสิ้นเดอื นตรงกับวันแรม 15 ค่ำ ซึ่งได้แก่ เดือน 2 เดือน 4 เดือน 6 เดอื น 8 เดือน 10 และเดือน 12 • วันเพญ็ เปน็ วนั ท่ดี วงจนั ทร์สวา่ งเตม็ ดวง ซง่ึ ตรงกับวันข้ึน 15 คำ่ • วนั ดบั เปน็ วันที่ดวงจันทร์มดื ทัง้ ดวง ซ่ึงตรงกับวันแรม 14 ค่ำ หรือแรม 15 คำ่ • วนั โกน เปน็ วนั กอ่ นหนา้ วนั พระ 1 วัน • วันพระ เป็นวันข้างขึ้น 8 ค่ำ และข้างแรม 8 ค่ำ วันข้างข้ึน 15 ค่ำ และข้างแรม 15 ค่ำ หรือแรม 14 ค่ำ (2) ครูเชื่อมโยงความรู้สู่อาเซียน โดยให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเพณีหรือเทศกาลที่จัดขึ้นใน คืนวนั เพ็ญของประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซยี น ตัวอย่างเช่น

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ประเพณีลอยกระทงของไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 หรือราวๆ เดือนพฤศจิกายนของทุกปี มีขึ้นเพื่อเป็นการขอบคุณพระแม่คงคา และเป็นการ ขอขมาท่ีไดป้ ล่อยส่ิงปฏิกูลลงสแู่ หล่งน้ำ โดยมกี ารจดั ทำกระทงสวยงามไปลอยใน แหล่งน้ำ ดวงจนั ทร์ในคนื วันเพญ็ ประเพณไี หลเรือไฟของลาว ตรงกับวนั ขึน้ 15 เดอื น 11 หรือวันออกพรรษา ทเ่ี มอื งหลวงพระบางจะมี ประเพณไี หลเรือไฟและลอยกระทงที่แม่นำ้ คาน โดยมคี วามเชอื่ ว่าเปน็ การตอ้ นรับพระพุทธเจา้ ท่ีเสดจ็ ลงมาจาก สวรรคช์ ั้นดาวดึงส์ และเป็นการบชู าพญานาคท่ีเช่อื กนั วา่ จะปรากฏกายในรปู ของลูกไฟ (ทางภาคอีสาน เรยี กว่า บง้ั ไฟพญานาค) เทศกาลฤดูใบไม้ร่วง หรือเต็ดจุงทู (Ted Trung Thu) ของเวียดนาม คล้ายกับเทศกาลไหว้พระจันทร์ ของจีน ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดอื น 8 มีการจัดประกวดขนมบ๋ันจุงทูหรือขนมเปี๊ยะไหว้พระจันทรร์ ปู ร่างกลม มี ไสถ้ ว่ั และไสผ้ ลไม้ แตล่ ะบ้านจะประดบั โคมไฟเพ่ือเฉลมิ ฉลอง พร้อมทั้งจัดขบวนแห่เชดิ สงิ โตและมงั กร (5) ขัน้ ประเมิน (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยงั มขี อ้ สงสยั ถ้ามี ครชู ่วยอธบิ ายเพิม่ เติมใหน้ กั เรยี นเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรือ อปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับ จากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมและการนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – ข้างขึ้น ขา้ งแรมเกดิ ข้ึนได้อย่างไร – การเปลี่ยนแปลงรูปรา่ งปรากฏของดวงจันทรใ์ นแตล่ ะคืนตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร ข้ันสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการขึ้นและตกของดวงจันทร์ รูปร่างของดวงจันทร์ โดยร่วมกัน เขยี นเป็นแผนทีค่ วามคิดหรอื ผงั มโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. รูปการเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจันทร์ขา้ งข้ึน ข้างแรม 2. ใบกจิ กรรมที่ 24 สงั เกตดวงจนั ทร์ 3. ค่มู ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 6. หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ 1. ซักถามความรเู้ รื่อง การขน้ึ และ 1. ประเมินเจตคตทิ าง ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้แบบ วดั ทกั ษะกระบวนการทาง ตกของดวงจันทร์ รูปรา่ งของดวง วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล วิทยาศาสตร์ จนั ทร์ โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั 2. ประเมินทักษะการคดิ โดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม 2. ตรวจช้ินงานหรือภาระงานของ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 3. ประเมินทักษะการ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น 2. ประเมินเจตคตติ ่อ แกป้ ญั หาโดยการสงั เกตการ ทำงานกลมุ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบคุ คล 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ โดยการสังเกตและใช้แบบวดั ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบคุ คลหรือรายกลุ่มโดย เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ การสังเกตการทำงานกลุม่

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร้.ู .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไมผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนท่ีไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 2. นักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .................................................................................................................................. .................... 3. นกั เรียนมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ....................................................................................... ............................................................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา/ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางอมลสิริ คำฟู แลว้ มีความเห็นดังน้ี 1. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ 2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป 3. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใชไ้ ด้จรงิ  ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... .......................................................................................................... .................................................................... ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 73 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 เรื่อง แบบจำลองระบบสุรยิ ะ เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ 2. ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะหต์ ่าง ๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายและเปรียบเทยี บการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะได้ (K) 2. สร้างแบบจำลองเพือ่ แสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะได้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝ่รู้หรอื อยากรู้อยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่เี กีย่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 5. ทำงานร่วมกับผ้อู ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สือ่ สารและนำความรูเ้ รื่องแบบจำลองระบบสุริยะไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ แบบจำลองระบบสุริยะเป็นแผนภาพแสดงแนวคดิ ของนักดาราศาสตร์ที่สรา้ งขึ้นเพื่อแสดงตำแหน่งของ ดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ และวตั ถทุ อ้ งฟา้ อื่นๆ ทโ่ี คจรรอบโลก 5. สาระการเรียนรู้ ระบบสรุ ยิ ะ – แบบจำลองระบบสุริยะ 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุง่ มั่นในการทำงาน 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ช้ินงานหรือภาระงาน สืบค้นขอ้ มูลเกี่ยวกบั แบบจำลองระบบสรุ ิยะ 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูถามคำถามนกั เรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น – นักวิทยาศาสตร์ใช้ประโยชน์จากแบบจำลองระบบสุริยะในเรื่องใด (แนวคำตอบ ใช้ศึกษาการ เคล่อื นท่ีของดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ ดวงจนั ทร์ และวัตถทุ ้องฟา้ อื่น ๆ) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับคำตอบของคำถาม เพอื่ เช่ือมโยงไปสู่การ เรียนรู้เร่อื ง แบบจำลองระบบสรุ ยิ ะ ข้ันจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกบั แบบกลับด้านช้นั เรียน ซง่ึ มีขนั้ ตอน ดังนี้ (1) ข้นั สร้างความสนใจ (1) ครูสนทนากับนักเรียนแล้วนำรูปแบบจำลองระบบสุริยะของพโตเลมี โคเพอร์นิคัส และเคปเลอร์ มาใหน้ กั เรยี นดู แล้วถามคำถามดังนี้ – นกั วทิ ยาศาสตรส์ รา้ งแบบจำลองระบบสุริยะขึ้นเพ่ือเหตผุ ลใด (แนวคำตอบ เพ่ือแสดงตำแหน่ง ของดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ ดวงจนั ทร์ และวตั ถุทอ้ งฟา้ อน่ื ๆ) – แบบจำลองระบบสรุ ิยะของโคเพอร์นิคัสมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ เป็นแบบจำลองระบบ สรุ ิยะทม่ี ีดวงอาทติ ยเ์ ปน็ ศูนยก์ ลางของระบบสุริยะ และมดี าวเคราะหต์ า่ งๆ รวมทัง้ โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย)์ (2) นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น (2) ข้ันสำรวจและค้นหา (1) ใหน้ ักเรียนศกึ ษาเร่ืองแบบจำลองระบบสุรยิ ะจากใบความรูห้ รือในหนงั สือเรยี น โดยครูช่วยอธิบาย ให้นักเรียนเข้าใจว่า นักดาราศาสตร์สร้างแบบจำลองระบบสุริยะจากการสังเกตการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ดวงจนั ทร์ และวตั ถทุ ้องฟ้าอน่ื ๆ เพื่อแทนสิง่ ทีส่ ังเกตเห็น (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแบบจำลองระบบสุริยะโดยดำเนินการ ตามข้นั ตอนดงั น้ี – แตล่ ะกล่มุ วางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบง่ หัวข้อแบบจำลองระบบสุริยะ เปน็ หวั ข้อย่อย เช่น แบบจำลองระบบสุริยะของพโตเลมี แบบจำลองระบบสุริยะของโคเพอร์นิคัส และแบบจำลองระบบสุริยะของ เคปเลอร์ ใหส้ มาชกิ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั สบื ค้นตามหัวขอ้ ทีก่ ำหนด – สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันสบื ค้นข้อมลู ตามหวั ข้อท่ีกลุ่มของตนเองรบั ผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชิกกลุ่มฟัง รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดว่าสมาชกิ ทุกคนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจท่ีตรงกัน – สมาชกิ กลุม่ ชว่ ยกันสรปุ ความร้ทู ไี่ ดท้ ง้ั หมดเป็นผลงานของกลุ่ม (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลือนักเรยี นขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาส ให้นกั เรียนทกุ คนซักถามเมื่อมปี ญั หา (3) ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (1) นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นักเรียนและครรู ่วมกันอภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ – การศึกษาการเคลื่อนที่ของดวงดาวต่างๆ ในระบบสุริยะสามารถทำได้ด้วยวิธีการใด(แนว คำตอบ ศึกษาไดจ้ ากแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะ) – ถ้าต้องการศึกษาดาวเคราะห์สามารถศึกษาได้จากแบบจำลองของนักดาราศาสตร์ท่านใดบ้าง (แนวคำตอบ พโตเลมี โคเพอร์นิคัส และเคปเลอร)์ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า นักดาราศาสตร์ สร้างแบบจำลองระบบสุริยะเพอ่ื ศกึ ษาดาวเคราะห์ รวมถึงวัตถทุ ้องฟา้ อืน่ ๆ (4) ขัน้ ขยายความรู้ (1) นักเรียนฝึกสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองระบบสุริยะของนักดาราศาสตร์ จากหนังสือ และวารสารเกี่ยวกับดาราศาสตร์ สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับแบบจำลองระบบสุริยะ จากหนังสือเรียน ภาษาตา่ งประเทศหรอื อินเทอรเ์ น็ต และนำเสนอให้เพ่อื นในห้องฟงั คดั คำศพั ทพ์ รอ้ มท้งั คำแปลลงสมดุ ส่งครู (5) ข้ันประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือมขี อ้ สงสัย ถ้ามี ครูชว่ ยอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรยี นรว่ มกันประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมกล่มุ ว่ามีปญั หาหรอื อปุ สรรคใดและได้แกไ้ ขอย่างไรบา้ ง (3) ครูและนักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – นักดาราศาสตรส์ นใจศึกษาแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะเพราะเหตใุ ด – แบบจำลองระบบสรุ ิยะของพโตเลมี โคเพอร์นคิ สั และเคปเลอร์ มีลกั ษณะใด ขนั้ สรปุ ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปเกยี่ วกับแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะ โดยร่วมกนั เขยี นเปน็ แผนทีค่ วามคดิ หรือผัง มโนทศั น์

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 10. สื่อการเรียนรู้ 1. รูปแบบจำลองระบบสรุ ยิ ะของพโตเลมี โคเพอร์นิคสั และเคปเลอร์ 2. หนังสอื และวารสารเก่ยี วกับดาราศาสตร์ สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน 3. หนงั สอื เรยี นภาษาต่างประเทศ 4. คมู่ อื การสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 5. ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 6. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 7. หนังสอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรู้เร่ือง แบบจำลอง 1. ประเมนิ เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย ของระบบสุรยิ ะ เปน็ รายบคุ คลโดยการสงั เกต การสังเกตการทำงานกลุ่ม 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ และใชแ้ บบวัดเจตคตทิ าง 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทักษะระหว่างเรยี น วิทยาศาสตร์ ปฏิบัติกิจกรรมเปน็ 2. ประเมินเจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ รายบุคคลหรอื รายกลุ่มโดย เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต การสงั เกตการทำงานกลุ่ม และใชแ้ บบวัดเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 74 สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เรอื่ ง สว่ นประกอบของระบบสรุ ิยะ (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผสู้ อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ 2. ตัวชี้วัดชนั้ ปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายสว่ นประกอบของระบบสรุ ยิ ะได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รหู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ท่ีเก่ียวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผูอ้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรู้เรื่องสว่ นประกอบของระบบสุรยิ ะไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั ระบบสุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีบริวารที่เป็นดาวเคราะห์ 8 ดวง ประกอบด้วย ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจนู 5. สาระการเรียนรู้ ระบบสรุ ยิ ะ – ส่วนประกอบของระบบสุริยะ 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน สืบค้นข้อมลู เกี่ยวกับสว่ นประกอบของระบบสุริยะ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าส่บู ทเรยี น 1) ครถู ามคำถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น – ระบบสุริยะเป็นระบบของดวงดาวที่ประกอบด้วยอะไรบ้าง (แนวคำตอบ ดาวเคราะห์ 8 ดวง ดวงจันทร์ ดวงอาทติ ย์ และวัตถุท้องฟ้าอน่ื ๆ) – ศนู ยก์ ลางของระบบสุริยะคืออะไร (แนวคำตอบ ดวงอาทติ ย์) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรียนรู้เรอ่ื ง สว่ นประกอบของระบบสรุ ยิ ะ ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ รว่ มกบั แบบกลับดา้ นช้นั เรยี น ซ่ึงมขี น้ั ตอน ดังนี้ (1) ข้นั สร้างความสนใจ (1) ครูสนทนากบั นักเรยี นแลว้ นำรูประบบสรุ ยิ ะมาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ถามคำถามนักเรยี นดังนี้ – ในระบบสุริยะมีดาวเคราะห์ทั้งหมดกี่ดวง อะไรบ้าง (แนวคำตอบ 8 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน) – ดาวเคราะห์ที่อยใู่ กล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดคือดาวเคราะหด์ วงใด (แนวคำตอบ ดาวพธุ ) (2) นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั คำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น (2) ข้นั สำรวจและค้นหา (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย อธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ระบบสุริยะประกอบด้วยดาวเคราะห์ 8 ดวง โคจรอยู่รอบๆ ดวงอาทิตย์ และยังมี บริวารอื่นๆ ได้แก่ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์แคระ ดาวหาง ดาวตกหรือผีพุ่งไต้ และอุกกาบาต เคลือ่ นทอ่ี ยู่ในวงโคจร (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบของระบบสุริยะ โดย ดำเนินการตามขนั้ ตอนดังน้ี – แต่ละกลมุ่ วางแผนการสบื ค้นข้อมลู โดยแบง่ หวั ข้อสว่ นประกอบของระบบสรุ ิยะเป็นหัวข้อย่อย เช่น ลักษณะเฉพาะของดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ให้เพอ่ื นสมาชิกชว่ ยกันสบื คน้ ตามทีส่ มาชกิ กลมุ่ ช่วยกันกำหนด – สมาชิกกลุ่มแต่ละคนหรือกลุ่มย่อยช่วยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อย่อยที่ตนเองรับผิดชอบ โดย การสืบคน้ จากใบความรู้ท่ีครูเตรียมมาให้ หรอื หนังสอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับ เยาวชน และอนิ เทอร์เนต็

แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชกิ กลุ่มนำข้อมลู ที่สืบค้นได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชกิ ในกล่มุ ฟงั รวมทง้ั ร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมคี วามรู้ความเขา้ ใจที่ตรงกัน – สมาชิกกลุ่มชว่ ยกนั สรปุ ความรู้ที่ได้ทัง้ หมดเป็นผลงานของกลุม่ (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด โอกาสให้นักเรียนทุกคนซกั ถามเมือ่ มีปัญหา (3) ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (1) นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปนี้ – ดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เป็นบริวารมากที่สุดคือดาวเคราะห์ดวงใด (แนวคำตอบ ดาว พฤหสั บด)ี – ดาวเคราะห์ที่มีทิศทางการหมุนรอบตัวเองต่างจากดาวเคราะห์ดวงอื่นคือดาวเคราะห์ดวงใด (แนวคำตอบ ดาวศกุ ร)์ (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ระบบสุริยะ ประกอบดว้ ยดาวเคราะห์ 8 ดวง ซงึ่ ดาวเคราะห์แต่ละดวงมลี ักษณะเฉพาะแตกตา่ งกนั (4) ขั้นขยายความรู้ ครูอธบิ ายเพ่ิมเติมว่า เมือ่ วนั ท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 องค์การนาซาของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ส่ง ยานอวกาศจโู น (Juno) ซ่ึงเปน็ ยานอวกาศพลังงานแสงอาทิตย์ เขา้ สูว่ งโคจรของดาวพฤหสั บดีได้สำเร็จ เพื่อใช้ ถา่ ยภาพดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ในระบบสรุ ิยะและไขปรศิ นาการก่อกำเนิดของดวงดาว (5) ข้ันประเมนิ (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือมีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูชว่ ยอธิบายเพ่มิ เติมให้นักเรยี นเข้าใจ (2) นักเรียนรว่ มกันประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มวา่ มปี ัญหาหรอื อุปสรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมและการ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น – ดาวเคราะห์ท่พี บวา่ เคยมีน้ำหรือของเหลวคือดาวเคราะห์ดวงใด – ดาวองั คาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูนมีลักษณะเดน่ อะไรบา้ ง ข้ันสรปุ ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปเกย่ี วกับสว่ นประกอบของระบบสุริยะ โดยรว่ มกนั เขียนเป็นแผนที่ความคิด หรือผังมโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. รูประบบสรุ ิยะ 2. หนงั สือ วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต 3. คูม่ ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 4. ส่ือการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4

แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 5. แบบฝกึ ทกั ษะรายวชิ าพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 6. หนังสอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ซักถามความรู้เรื่องส่วนประกอบ จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย ของระบบสรุ ยิ ะ การสังเกตการทำงานกลมุ่ 1. ประเมินเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ 2. ตรวจชนิ้ งานหรือภาระงานของ เปน็ รายบุคคลโดยการสงั เกต 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรยี น และใชแ้ บบวดั เจตคตทิ าง ปฏิบัติกิจกรรมเปน็ วิทยาศาสตร์ รายบคุ คลหรือรายกลุ่มโดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ เปน็ รายบคุ คลโดยการสงั เกต และใช้แบบวดั เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้..................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรียนนีไ่ ม่ผ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 2. นักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรียนมีความรเู้ กิดทกั ษะ (P) ................................................................................................. ..................................................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คณุ ธรรมจริยธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟู) ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย

แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั นี้ 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้  เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ

แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 75 สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรอื่ ง ส่วนประกอบของระบบสรุ ิยะ (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยอี วกาศ 2. ตวั ช้ีวัดชั้นปี สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว เคราะหต์ ่าง ๆ จากแบบจำลอง (ว 3.1 ป. 4/3) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายส่วนประกอบของระบบสรุ ยิ ะได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รูห้ รืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรทู้ ่เี กยี่ วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรเู้ รื่องส่วนประกอบของระบบสุรยิ ะไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคญั ระบบสุริยะเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีบริวารที่เป็นดาวเคราะห์ 8 ดวง ประกอบด้วย ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน 5. สาระการเรียนรู้ ระบบสุริยะ – สว่ นประกอบของระบบสรุ ิยะ 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook