แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 52 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง เงามดื เงามวั เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ ท่ีเก่ยี วข้องกับเสยี ง แสง และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดชั้นปี จำแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสงจากลักษณะการมองเห็นสิ่งต่างๆ ผา่ นวตั ถนุ น้ั เป็นเกณฑ์ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (ว 2.3 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายการเกิดเงามืดและเงามัวได้ (K) 2. มีความสนใจใฝร่ ูห้ รอื อยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรู้ทเี่ ก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผู้อน่ื อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรเู้ รื่องเงามดื เงามวั ไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั เมือ่ แสงตกกระทบวตั ถุทึบแสงจะเกิดเงาขนึ้ เงามี 2 ประเภท คอื เงามดื และเงามวั เงามดื คือ บริเวณ ที่แสงไปไม่ถึงฉากเลย ส่วนเงามัว คือ บริเวณที่แสงไปถึงฉากบางส่วน ขนาดของเงามืดขึ้นอยู่กับระยะห่าง ระหวา่ งแหล่งกำเนดิ แสงกบั วตั ถทุ ีก่ นั้ แสงกบั ฉาก 5. สาระการเรียนรู้ ตวั กลางของแสง – เงามดื เงามัว 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน สบื ค้นข้อมลู เกีย่ วกบั เงามืด เงามัว 9. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้เดิมเกย่ี วกบั การเกดิ เงา โดยการถามคำถามดงั ต่อไปน้ี – ถ้าเรานำวัตถุทึบแสงไปกั้นแสงจากแหล่งกำเนิดแสงจะเกิดอะไรขึ้น (แนวคำตอบ เกิดเงา ด้านหลงั วตั ถุทึบแสง) – การเกิดเงาตอ้ งประกอบด้วยองค์ประกอบอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ แหลง่ กำเนิดแสง วัตถทุ บึ แสง และฉาก) 2) นกั เรยี นร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรียนรเู้ ร่อื ง เงามดื เงามวั ขน้ั จดั กิจกรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่งึ มีข้ันตอนดังนี้ 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยถามถงึ ผลการปฏบิ ัติกิจกรรมที่ 23 สังเกตการเกดิ เงาดังน้ี – จากผลการสงั เกตการเกิดเงา เงาที่เกิดข้ึนมีลักษณะใด (แนวคำตอบ เงาเกิดขึ้นมีท้ังเงาที่คมชดั และเงาท่ไี มค่ มชดั ) – ระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดแสง วัตถุทึบแสง และฉากมีผลต่อลักษณะของเงาที่เกิดข้ึน อย่างไร (แนวคำตอบ เมื่อระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดแสง วัตถุทึบแสง และฉากเปลี่ยนไป ขนาดของเงามืด และเงามัวทีเ่ กิดข้นึ จะเปลีย่ นไป โดยเม่ือแหล่งกำเนดิ แสงและฉากคงที่ เงามืดจะใหญข่ ึ้นเม่อื เลอ่ื นลูกปิงปองเข้า ไปหาฉาก และเงามืดจะเล็กลงเมือ่ เลอ่ื นลกู ปิงปองออกจากฉาก) (2) นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องการเกิดเงาจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียน เข้าใจว่า เงามืด คือ เงาที่คมชัด ส่วนเงามัว คือ เงาที่ไม่คมชัด ซึ่งขนาดของเงามืดขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่าง แหล่งกำเนดิ แสง วตั ถทุ ึบแสง และฉาก (2) แบ่งนกั เรยี นกล่มุ ละ 5 – 6 คน สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับเงามืด เงามวั โดยดำเนนิ การตามขน้ั ตอนดงั น้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อลักษณะของเงามืด เงามัวเป็นหัวข้อย่อย เช่น ลักษณะของเงามืด เงามัว สิ่งที่มีผลต่อขนาดของเงามืด เงามัว และปรากฏการณ์ธรรมชาติทีเ่ กี่ยวข้องกับ เงามืด เงามวั ให้สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสืบคน้ ตามหวั ข้อที่กำหนด – สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมลู ตามหัวข้อท่ีกลุ่มของตนเองรับผิดชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – สมาชกิ กลุ่มนำข้อมูลท่ีสบื ค้นได้มารายงานให้เพ่ือนๆ สมาชิกในกลุ่มฟงั รวมทง้ั ร่วมกันอภิปราย ซักถามจนคาดว่าสมาชกิ ทุกคนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจท่ตี รงกัน – สมาชกิ กลมุ่ ชว่ ยกนั สรุปความร้ทู ไี่ ด้ทั้งหมดเปน็ ผลงานของกล่มุ (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ให้นักเรียนทุกคนซกั ถามเม่ือมีปญั หา 3) ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (1) นักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นกั เรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใช้แนวคำถาม ต่อไปนี้ – ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของเงามืดและเงามัวคืออะไร (แนวคำตอบ ระยะห่างระหว่างแหล่ง - กำเนิดแสง วัตถทุ ึบแสง และฉาก) – ยกตัวอย่างปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเก่ียวข้องกบั เงามืด เงามัว (แนวคำตอบ จันทรุปราคาและ สุริยุปราคา) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า เงามืด คือ บรเิ วณที่แสงสวา่ งสอ่ งไปไมถ่ งึ ฉากเลย ส่วนเงามัว คือ บรเิ วณท่ีแสงสว่างส่องไปถงึ ฉากบางส่วน 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูลองให้นกั เรยี นนำวัตถชุ นิดต่างๆ มาทดสอบการเกิดเงามืดและเงามัวเพื่อใหน้ กั เรยี นเข้าใจถึงผล ของระยะห่างระหวา่ งแหลง่ กำเนิดแสง วตั ถทุ บึ แสง และฉากต่อขนาดของเงามืดและเงามวั (2) นกั เรยี นคน้ คว้าคำศพั ท์ภาษาตา่ งประเทศเกีย่ วกับเงามืด เงามวั จากหนงั สือเรียนภาษาต่างประเทศ หรืออนิ เทอร์เนต็ และนำเสนอให้เพื่อนในหอ้ งฟงั แลว้ คัดคำศัพท์พรอ้ มทัง้ คำแปลลงสมุดสง่ ครู 5) ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกจิ กรรมมีจุดใดบา้ งที่ยงั ไม่ เขา้ ใจหรือยังมขี ้อสงสัย ถ้ามี ครชู ว่ ยอธบิ ายเพม่ิ เติมใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมนิ การปฏิบตั กิ ิจกรรมกลมุ่ วา่ มปี ัญหาหรอื อปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครูและนกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการปฏิบตั ิกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – ถ้าเราขยบั ให้วตั ถทุ บึ แสงเข้าไปใกลแ้ หลง่ กำเนิดแสงมากขึ้น ลักษณะและขนาดของเงา ท่เี กดิ ขน้ึ จะเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ ลักษณะใด – ถ้าขนาดของวัตถุทึบแสงต่างกัน ใช้แหล่งกำเนิดแสงและฉากเหมือนกัน และระยะห่างระหว่าง วัตถทุ บึ แสงกับแหลง่ กำเนิดแสงและฉากเทา่ กัน ขนาดของเงาทเ่ี กิดบนฉากจะเหมือนกนั หรือไม่ลักษณะใด ข้ันสรุป ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ เก่ยี วกับเงามดื เงามวั โดยรว่ มกันเขียนเป็นแผนทีค่ วามคดิ หรือผังมโนทศั น์ 10. ส่ือการเรยี นรู้ 1. หนังสือ วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอร์เน็ต 2. หนงั สอื เรยี นภาษาตา่ งประเทศ 3. คมู่ อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวิทยาศาสตร์ (A) 1. ประเมินทักษะการคดิ โดย 1. ซกั ถามความร้เู ร่ือง เงามืด เงามวั 1. ประเมนิ เจตคติทาง การสงั เกตการทำงานกลมุ่ 2. ตรวจช้ินงานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตร์เปน็ รายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏิบตั ิกจิ กรรมเป็น กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรียน โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั รายบุคคลหรือรายกลมุ่ โดย การสงั เกตการทำงานกลมุ่ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบุคคล โดยการสงั เกตและใช้แบบวัด เจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 53 สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรอ่ื ง การใช้ประโยชน์จากตัวกลางของแสง เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผูส้ อน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพันธ์ ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจำวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวขอ้ งกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี จำแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสงจากลักษณะการมองเห็นสิ่งต่างๆ ผา่ นวตั ถุน้ันเปน็ เกณฑ์ โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ (ว 2.3 ป. 4/1) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกการใช้ประโยชนจ์ ากตัวกลางของแสงได้ (K) 2. มีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรู้ทีเ่ กีย่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. ทำงานร่วมกับผอู้ ่นื อย่างสร้างสรรค์ (A) 5. สอ่ื สารและนำความรู้เร่ืองการใชป้ ระโยชนจ์ ากตัวกลางของแสงไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั ตัวกลางของแสงและวัตถุทึบแสงมีสมบัติแตกต่างกัน เราจึงนำมาใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันตาม วัตถุประสงค์ท่ตี อ้ งการ 5. สาระการเรยี นรู้ การใชป้ ระโยชนจ์ ากตวั กลางของแสง 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 4. มีจติ วิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สำรวจการใชป้ ระโยชนจ์ ากตัวกลางของแสง 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการถามคำถามกับนักเรียนว่า นักเรียนนำตัวกลางของแสงและวัตถุทึบแสง มาใช้ประโยชน์อะไรในชีวิตประจำวันบ้าง (แนวคำตอบ ใช้ร่มกนั แดดและใชผ้ า้ ม่านกรองแสงจากภายนอกเข้าสู่ ภายในบา้ น) 2) นักเรียนร่วมกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การใช้ ประโยชน์จากตัวกลางของแสง ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมขี ้ันตอนดังนี้ 1) ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูนำรูปแว่นตา กระจกฝ้า และกระเบื้องมุงหลังคามาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบ คำถามวา่ วตั ถุเหล่านจ้ี ำแนกเปน็ ตัวกลางชนิดใดและนำมาใช้ประโยชน์อะไร (แนวคำตอบ แว่นตาทำจากเลนส์ ใสซึ่งเป็นตัวกลางโปร่งใส นำมาใช้ในการอ่านหนังสือ กระจกฝ้าทำจากกระจกที่ทำให้เกิดฝ้าซึ่งเป็นตัวกลาง โปร่งแสง นำมาใช้กรองแสง และกระเบื้องมุงหลังคาทำจากกระเบื้องซึ่งเป็นวัตถุทึบแสง นำมาใช้บังแสงให้กับ ตวั บา้ น) (2) นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกับคำตอบจากคำถามของครตู ามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องการใชป้ ระโยชน์จากตัวกลางของแสงจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดย ครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ตัวกลางของแสงแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันจึงนำมาใช้ประโยชน์ได้ แตกตา่ งกัน (2) แบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สำรวจการใช้ประโยชน์จากตัวกลางของแสงชนิดต่างๆ บริเวณ โรงเรียน บนั ทึกผลแล้วนำเสนอหน้าห้องเรียน (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบๆ บริเวณที่สำรวจและเปิด โอกาสให้นกั เรยี นทกุ คนซกั ถามเม่อื มปี ัญหา 3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าหอ้ งเรียน (2) นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ตอ่ ไปนี้ – ตัวกลางโปร่งใสนำมาใช้ประโยชน์อะไรบ้าง (แนวคำตอบ ทำเป็นกระจกห้องเรียนและกระจก นาฬิกา) – ตัวกลางโปร่งแสงนำมาใช้ประโยชน์อะไรบา้ ง (แนวคำตอบ ทำเป็นหลงั คากรองแสงให้ต้นอ่อน พชื และทำเปน็ ประตูกระจกหอ้ งเรียน) – วัตถุทึบแสงนำมาใช้ประโยชน์อะไรบ้าง (แนวคำตอบ ทำเป็นหลังคากันแดดและกำแพง หอ้ งเรยี น)
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า วัตถุที่ทำจาก ตัวกลางต่างชนิดกันถูกนำไปใช้ประโยชน์แตกตา่ งกันตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ีตอ้ งการ 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูเชื่อมโยงความรู้อาเซียน โดยครูให้ความรู้เสริมกับนักเรียนเกี่ยวกับวัฒนธรรมการเล่นหนังหรือ ละครเงา (Shadow Plays) ท่มี แี สดงอยใู่ นกล่มุ ประเทศสมาชกิ อาเซียน เช่น – ประเทศไทยมีการแสดงการเชิดหนงั ตะลงุ ซึ่งเป็นศิลปะการแสดงประจาทอ้ งถิ่นอย่างหนึ่งของ คนในภาคใต้ การแสดงจะใช้บทร้อยกรองท่ีขับร้องเป็นสาเนียงท้องถิ่น มบี ทสนทนาแทรกเปน็ ระยะ และใช้การ แสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาผู้ชม ส่วนตัวหนังตะลุงนั้นส่วนแขนจะฉลุแยกจากส่วนลำตัว และร้อย หมดุ ให้ติดกนั จงึ เคลื่อนไหวได้ ปจั จุบนั โครงการศิลปนิ แห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้ ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงให้แก่คนรุ่นหลังเพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรม อันทรงคุณค่านใ้ี ห้คงอยู่ต่อไป – ประเทศอินโดนีเซียมีการเล่นหนังที่ลักษณะคล้ายกับการเชิดหนังตะลุงของประเทศไทย เรยี กว่า วายังกลู ติ หรอื ท่ชี นพ้ืนเมืองเรียกกันว่า วายัง เปน็ การแสดงหุ่นเชิดฉายเงาบนจอผา้ ในการเล่าเร่ืองจะ แบ่งเป็นตวั ละครฝ่ายดีที่พากยด์ ้วยภาษายาวี และละครฝา่ ยรา้ ยท่ีพากย์ดว้ ยภาษาบาหลี ดงั นัน้ ผพู้ ากย์จะต้องมี ความชำนาญทางด้านภาษามากเนื่องจากภาษกาวีเป็นภาษาโบราณ ส่วนโครงเรื่องนั้นเกี่ยวกับสงครามใน ศาสนาฮินดูที่เลา่ สบื ต่อกันมาของชาวชวาและชาวบาหลี – ประเทศมาเลเซียก็มีการเล่นหนังที่ลักษณะคล้ายกับการเชิดหนังตะลุงของประเทศไทยเช่นกนั และเรียกว่า วายงั กลู ติ เหมือนกบั ประเทศอินโดนีเซียซึง่ ตวั หนังแกะสลักจากหนังควายและติดกับก้านไม้ไผ่และ เชิดอยู่ด้านหลังของจอผ้า พร้อมกับมีการเล่าเรื่องด้วยบทร้อยกรองและบทสนทนา โดยโครงเรื่องที่ใช้ ในการ แสดงมาจากวรรณคดรี ามายนะ ซงึ่ ชาวมาเลเซยี จะจดั แสดงวายังกูลติ ในชว่ งปลายเดือนพฤษภาคมของทกุ ปี (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากตัวกลางของแสง จาก หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำ แปลลงสมุดสง่ ครู 5) ข้นั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏบิ ัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยงั ไม่ เขา้ ใจหรือยังมีขอ้ สงสัย ถ้ามี ครูชว่ ยอธิบายเพ่มิ เตมิ ใหน้ ักเรียนเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกันประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามี ปญั หาหรืออปุ สรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และการนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยถามคำถาม นักเรียน เชน่ – หนา้ ปดั นาฬิกาทำจากกระจกใสเพราะอะไร – ร่มสามารถใช้กนั แดดไดเ้ พราะอะไร
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ขั้นสรุป 1) ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ เกยี่ วกับการใช้ประโยชน์จากตวั กลางของแสง โดยร่วมกนั เขียนเป็นแผน ท่ีความคิดหรอื ผังมโนทศั น์ 2) ครูดำเนินการทดสอบหลังเรียนโดยให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความก้าวหน้า/ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 ของนักเรยี น 3) ครูเชื่อมโยงเนื้อหาจากบทเรียนนี้กับบทเรียนชั่วโมงหน้า เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการ เรียนชวั่ โมงต่อไป โดยการใชค้ ำถามกระตุ้น ดังน้ี – เงามืดบนดวงจันทร์เกิดจากอะไร (แนวคำตอบ แสงจากดวงอาทิตย์กระทบกับดวงจันทร์ ด้าน หนง่ึ ดวงจันทรท์ ่ีเปน็ วัตถุทึบแสงจงึ ทำให้เกดิ เงาอีกด้านหนงึ่ ของดวงจันทร์) 4) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเน้ือหาของบทเรียนชัว่ โมงหน้าเพื่อจัดการเรียนรู้ครัง้ ตอ่ ไป โดยให้นักเรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ ลว่ งหนา้ ในหวั ขอ้ ดวงจนั ทร์ 5) ครูให้นกั เรียนเตรียมประเดน็ คำถามท่สี งสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 คำถาม เพื่อนำมาอภิปรายร่วมกัน ในชน้ั เรียนคร้งั ตอ่ ไป 10. ส่ือการเรยี นรู้ 1. รปู แว่นตา กระจกฝ้า และกระเบื้องมงุ หลงั คา 2. หนังสอื เรยี นภาษาตา่ งประเทศหรอื อินเทอรเ์ น็ต 3. แบบทดสอบหลงั เรียน 4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 5. สอื่ การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 6. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 7. หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 11. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความรู้เร่ืองการใช้ 1. ประเมนิ ทักษะการคดิ โดย ประโยชน์จากตัวกลางของแสง 1. ประเมินเจตคติทาง การสงั เกตการทำงานกล่มุ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจชน้ิ งานหรือภาระงานของ โดยการสงั เกตและใช้แบบวดั 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะระหว่างเรยี น เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั กิ จิ กรรมเป็น รายบุคคลหรอื รายกล่มุ โดย 3. ทดสอบหลงั เรียนโดยใช้ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อ การสังเกตการทำงานกลุ่ม แบบทดสอบหลังเรียน วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล โดยการสังเกตและใช้แบบวดั เจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้..................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. นกั เรียนน่ไี ม่ผ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ .................................................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นกั เรยี นมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ...................................................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ......................... 4. นักเรียนมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟู) ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 54 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง สภาพยดื หยุ่น (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผ้สู อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 2. ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความร้อน และการนำไฟฟา้ ของวสั ดไุ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวันผ่านกระบวนการออกแบบช้ินงาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปล่ยี นความคดิ กับผู้อ่ืนโดยการอภิปรายเก่ยี วกบั สมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อภปิ รายและเปรียบเทยี บสมบัติของวัสดดุ ้านสภาพยืดหยนุ่ ได้ (K) 2. ระบุชนดิ ของวสั ดทุ ่ีมีสมบตั ิดา้ นสภาพยดื หยุน่ ได้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝร่ หู้ รอื อยากรูอ้ ยากเห็น (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ่ีเกี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A) 5. การทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ (A) 6. ส่อื สารและนำความรู้เรื่องสมบตั ิของวัสดดุ ้านสภาพยดื หยุ่นไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ สภาพยืดหยุ่นเป็นสมบัติของวัสดุที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัสดุ และสามารถ กลบั คืนสสู่ ภาพเดมิ ได้เมอื่ หยดุ แรงกระทำต่อวสั ดุน้ัน ซ่ึงวสั ดุแต่ละชนดิ มีสภาพยืดหยนุ่ ไม่เท่ากนั 5. สาระการเรยี นรู้ สมบัติของวัสดุ – สภาพยดื หยนุ่ 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4. มีจิตวิทยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 8. ชิน้ งานหรือภาระงาน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวสั ดุทีม่ สี ภาพยดื หยุน่ 9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1) ครูให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับวัสดุรอบตัวในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ป. 4 แลว้ ถามคำถามกบั นกั เรียน ดงั น้ี – วัสดุต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง (แนวคำตอบ 2 ประเภท ได้แก่ วัสดุ ธรรมชาติและวสั ดุสงั เคราะห)์ – วัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ได้แก่อะไรบ้าง (แนวคำตอบ วัสดุธรรมชาติ ได้แก่ ไม้ ยางพารา และดิน สว่ นวัสดุสังเคราะห์ ได้แก่ ยางสงั เคราะห์ พลาสติก และโฟม) – วัสดุต่าง ๆ ที่กล่าวถึงมีสมบัติอะไรบ้าง (แนวคำตอบ สภาพยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า) 2) นักเรียนช่วยกนั ตอบคำถามและแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับคำตอบของคำถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่การ เรียนรูเ้ ร่ือง สมบตั ิของวสั ดดุ า้ นสภาพยืดหยุน่ ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลับด้าน ชน้ั เรยี นซึ่งมขี ้ันตอนดังนี้ 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุที่ครู มอบหมายให้ไปเรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมานำเสนอข้อมูลหน้า หอ้ งเรยี น (2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทึก ของนกั เรียน และถามคำถามเกี่ยวกบั ภาระงาน ดงั น้ี – วัสดุใดเมื่อออกแรงกระทำแลว้ เกิดการเปลีย่ นแปลงรูปร่าง (แนวคำตอบ ยางรัด กระดาษ และ สปรงิ ) – วัสดใุ ดเมอ่ื หยุดออกแรงแล้ววัสดกุ ลับคืนรูปรา่ งเดิม (แนวคำตอบ ยางรดั และสปรงิ ) (3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตัง้ ประเด็นคำถามท่ีนกั เรียนสงสัยจากการทำภาระงานอยา่ งน้อยคนละ 1 คำถาม ซ่ึงครใู ห้นักเรยี นเตรยี มมาล่วงหนา้ และใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เห็น (4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุแต่ละ ชนดิ มคี วามยืดหยนุ่ แตกต่างกัน
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 2) ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ให้นักเรียนศึกษาเรื่องสมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่นจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครู ช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สมบัติของวัสดุสามารถเปลี่ยนรูปร่างเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัสดุ และสามารถ กลับคนื ส่สู ภาพเดมิ ไดเ้ ม่ือหยุดแรงกระทำต่อวสั ดุ ตวั อย่างวัสดทุ ี่สามารถเปลย่ี นรปู ร่างเมื่อมแี รงมากระทำ เช่น ฟองน้ำ ยางรดั หนังสติก๊ และแถบยางยดื (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่น ตาม ขน้ั ตอน ดังน้ี – แต่ละกลุ่มวางแผนการสบื ค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวขอ้ สมบตั ิของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่นเป็นหัวข้อ ย่อย เช่น ชนิดของวัสดุที่มีความยืดหยุ่น ลักษณะของวัสดุทีม่ ีความยืดหยุ่น ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกนั สืบคน้ ตามหัวขอ้ ท่ีกำหนด – สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกนั สืบค้นข้อมลู ตามหวั ข้อที่กลุ่มของตนเองรบั ผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สอื วารสาร สารานกุ รมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต – สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลทสี่ ืบค้นได้มารายงานใหเ้ พื่อนๆ สมาชกิ ในกลมุ่ ฟงั รวมทั้งร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดวา่ สมาชกิ ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจทตี่ รงกัน – สมาชกิ กลมุ่ ชว่ ยกันสรุปความรู้ทไี่ ด้ทัง้ หมดเปน็ ผลงานของกลุ่ม (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบัติกจิ กรรม โดยครเู ดินดรู อบๆ หอ้ งเรยี น และเปดิ โอกาส ใหน้ กั เรยี นทุกคนซักถามเม่อื มีปญั หา 3) ข้นั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) (1) นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนกลุม่ นำเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหน้าห้องเรยี น (2) นักเรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ – วัสดชุ นิดใดบา้ งท่มี สี ภาพยืดหยนุ่ (แนวคำตอบ ฟองน้ำ ลวดสปริง และยางรัด) – วัสดุที่มีสภาพยืดหยุ่นมีลักษณะอย่างไร (แนวคำตอบ สามารถเปลี่ยนรูปร่างเมื่อมีแรงมา กระทำตอ่ วัสดุ และสามารถกลบั คนื สูส่ ภาพเดิมได้เมอ่ื หยดุ แรงกระทำต่อวัสดุ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่าวัสดุที่มีสภาพ ยดื หยนุ่ มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีสภาพยืดหยนุ่ แตกต่างกัน 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ครูนำอภิปรายเก่ียวกับการนำวัสดุที่มีสภาพยืดหยุน่ ไปใช้ประโยชน์ พร้อมยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ จากวัสดุที่มีสภาพยืดหยุ่น เช่น การใช้ยางยืดทำแถบกางเกงหรือกระโปรง ยางรัดใช้รัดของต่างๆ และการใช้ ฟองนำ้ บุเก้าอี้หรือเตยี งนอน 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏบิ ัติกจิ กรรมมีจุดใดบ้างที่ยงั ไม่ เข้าใจหรือยงั มขี ้อสงสัย ถา้ มี ครูชว่ ยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้นกั เรยี นเข้าใจ (2) นักเรียนร่วมกนั ประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มวา่ มีปญั หาหรืออุปสรรคใดและได้แก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เช่น – สภาพยดื หย่นุ ของวสั ดุหมายถงึ อะไร – ยกตวั อย่างวัสดุท่มี ีสภาพยดื หยุน่ ที่พบเห็นในชวี ติ ประจำวัน ข้นั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่น โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคิดหรือผงั มโนทัศน์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. หนังสือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ น็ต 3. ค่มู ือการสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 6. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 11. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรูเ้ ร่ือง สมบตั ิของ 1. ประเมินทักษะการคิดโดย วัสดดุ า้ นสภาพยดื หยนุ่ 1. ประเมนิ เจตคตทิ าง การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจช้ินงานหรือภาระงานของ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด 2. ประเมนิ พฤติกรรมในการ กิจกรรมฝึกทักษะระหวา่ งเรยี น เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั ิกิจกรรมเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่มโดย 3. ทดสอบก่อนเรยี นโดยใช้ 2. ประเมินเจตคตติ ่อ การสังเกตการทำงานกล่มุ แบบทดสอบก่อนเรยี น วทิ ยาศาสตร์เป็นรายบคุ คล โดยการสังเกตและใชแ้ บบวัด เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 12.1 สรุปผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู.้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นักเรยี นนีไ่ ม่ผา่ น มีดงั นี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................... ....................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................... ................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................................................. ......................... ................................................................................................................................. ..................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอ่ื .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผูท้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มคี วามเห็นดังนี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 55 สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 เร่ือง สภาพยดื หยุ่น (2) เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบัติของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี 2. ตวั ชี้วัดช้นั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความรอ้ น และการนำไฟฟา้ ของวสั ดไุ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ผา่ นกระบวนการออกแบบชิ้นงาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อ่ืนโดยการอภปิ รายเก่ียวกับสมบัตทิ างกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อภิปรายและเปรียบเทียบสมบัตขิ องวสั ดุด้านสภาพยืดหยุ่นได้ (K) 2. ระบุชนดิ ของวสั ดุที่มีสมบตั ิดา้ นสภาพยืดหยนุ่ ได้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝ่รูห้ รอื อยากรอู้ ยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ่ีเก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ (A) 5. การทำงานรว่ มกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A) 6. สื่อสารและนำความรู้เรื่องสมบตั ิของวัสดดุ า้ นสภาพยดื หยุน่ ไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั สภาพยืดหยุ่นเป็นสมบัติของวัสดุที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัสดุ และสามารถ กลบั คนื สู่สภาพเดมิ ไดเ้ มอ่ื หยุดแรงกระทำต่อวสั ดนุ น้ั ซงึ่ วัสดุแตล่ ะชนดิ มีสภาพยดื หยนุ่ ไม่เท่ากัน 5. สาระการเรยี นรู้ สมบัติของวสั ดุ – สภาพยดื หยุน่ 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 4. มีจติ วทิ ยาศาสตร์ 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชนิ้ งานหรือภาระงาน สังเกตสมบัติดา้ นสภาพยดื หยุ่นของวสั ดุ 9. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น 1) ครูถามนักเรียนว่า วัสดุต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราวัสดุใดบ้างที่มีสภาพยืดหยุ่น (แนวคำตอบ ยางรัด หนังสตก๊ิ และแถบยางยืด) 2) นกั เรยี นช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกับคำตอบของคำถาม เพอ่ื เชื่อมโยงไปสู่การ เรียนรู้เร่อื ง สมบัตขิ องวสั ดดุ า้ นสภาพยืดหย่นุ ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรียนร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซ่ึงมขี นั้ ตอนดงั น้ี 1) ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูนำยางรัดและเชือกฟางมาให้นักเรียนดู จากนั้นครูออกแรงดึงยางรัดและเชือกฟาง เพื่อแสดง การเปล่ียนแปลงของยางรดั และเชือกฟาง แลว้ ถามคำถามดงั น้ี – ถ้าออกแรงดึงยางรัดและเชือกฟางจะเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด (แนวคำตอบ ยางรัดยืด ออกตามแรงดึง แต่เชือกฟางไมส่ ามารถยืดออกได)้ – เพราะเหตุใดเชือกฟางจึงไม่สามารถยืดออกได้ (แนวคำตอบ เพราะเชือกฟางไม่มีสมบัติด้าน สภาพยดื หยุ่นหรอื มีนอ้ ยมากจึงไมส่ ามารถยืดออกได)้ (2) นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบง่ กล่มุ นักเรยี น ปฏบิ ัติกิจกรรมท่ี 17 สังเกตสมบตั ดิ า้ นสภาพยืดหยนุ่ ของวัสดุ แต่ละกลุ่มปฏิบัติ กิจกรรมตามขนั้ ตอนท่ไี ด้วางแผนไว้ ดงั นี้ – แบ่งกลุ่มนกั เรียน กลมุ่ ละ 5 – 6 คน – สมาชกิ กลุม่ นำวัสดตุ ัวอยา่ ง ไดแ้ ก่ ยางรดั แถบยางยืด เชอื กฟาง และลวดสปรงิ มาทดสอบ – พาดไมย้ าวระหว่างโต๊ะ แขวนขอเกย่ี วท่ีท่อนไม้ – แขวนยางรัดที่ขอเกี่ยว และแขวนตุ้มเหล็กที่ยางรัด ดังรูป วัดความยาวของยางรัดที่ยืดออก บนั ทึกผล – ทำการทดสอบซ้ำโดยใชว้ สั ดุอืน่ ผูกเป็นวงขนาดเท่ายางรัดแทนยางรัด ไดแ้ ก่ แถบยางยดื เชือก ฟาง และลวดสปริง
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทุกคนซักถามเมือ่ มปี ัญหา 3) ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนกล่มุ นำเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นกั เรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – วัสดทุ ่ีมสี ภาพยดื หยุ่นมากที่สุดคืออะไร (แนวคำตอบ ยางรดั ) – ถ้าใช้ตุ้มเหล็กที่มีน้ำหนักมาก นักเรียนคิดวา่ วัสดุจะเปลี่ยนแปลงลักษณะใด (แนวคำตอบ วัสดุ ทุกชนดิ จะขาด) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า สภาพยืดหยุ่น เป็นสมบัติเฉพาะตัวของวัสดุ ซงึ่ วสั ดุแตล่ ะชนิดมีสภาพยดื หยุน่ ไมเ่ ทา่ กัน 4) ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (1) ครูเชื่อมโยงความรู้อาเซียน โดยถามนักเรียนว่า ทราบหรือไม่ว่าวัตถุที่มีสภาพยืดหยุ่นมักทำจาก วัสดุใด (แนวคำตอบ ยาง) จากนั้นครูให้ความรู้เสริมเกี่ยวกับยางพารา โดยให้นักเรียนได้ทราบว่า อาเซียนถือ เปน็ ผสู้ ง่ ออกยางพาราสู่ตลาดโลกมากท่ีสุด โดยยางพาราทขี่ ายอยูใ่ นตลาดโลกท้ังหมดมาจากอาเซียนถึงร้อยละ 80 ซึ่งในอาเซียนนั้นประเทศสมาชิกที่ส่งออกยางพารามากที่สุด คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม โดยไทยมปี รมิ าณการสง่ ออกถึงร้อยละ 44.8 (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่น จากหนังสือ เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลง สมดุ สง่ ครู 5) ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกจิ กรรมมีจุดใดบา้ งที่ยงั ไม่ เข้าใจหรอื ยังมขี อ้ สงสยั ถา้ มี ครูชว่ ยอธบิ ายเพ่ิมเติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจ (2) นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุม่ ว่ามีปัญหาหรอื อปุ สรรคใดและได้แก้ไขอยา่ งไรบ้าง (3) ครูและนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีได้รับจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยถามคำถามนักเรียน เชน่ – ลักษณะสำคญั ของสภาพยดื หยุน่ คืออะไร – วสั ดใุ ดทมี่ สี ภาพยดื หยุ่น
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – ถ้าออกแรงกระทำต่อวัสดุที่มีสภาพยืดหยุ่นมากเกินไปหรือใช้งานเป็นเวลานานจะเกิดการ เปลยี่ นแปลงอยา่ งไร ขนั้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่น โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนท่ี ความคิดหรอื ผงั มโนทัศน์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. ยางรัดและเชือกฟาง 2. ใบกิจกรรมที่ 17 สังเกตสมบตั ิด้านสภาพยืดหยุ่นของวัสดุ 3. หนังสือเรยี นภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอร์เน็ต 4. ค่มู อื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝกึ ทักษะรายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนังสอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรเู้ รื่องสมบตั ิของ วัสดดุ า้ นสภาพยดื หย่นุ 1. ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชิ้นงานหรอื ภาระงานของ เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใช้แบบ กจิ กรรมฝึกทกั ษะระหวา่ งเรียน และใชแ้ บบวดั เจตคตทิ าง วดั ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินเจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคดิ โดย เป็นรายบคุ คลโดยการสงั เกต การสงั เกตการทำงานกลมุ่ และใชแ้ บบวัดเจตคติตอ่ 3. ประเมนิ ทักษะการ วิทยาศาสตร์ แกป้ ัญหาโดยการสังเกตการ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั ิ กิจกรรมเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุม่ โดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้..................คน คดิ เป็นร้อยละ.................. นักเรยี นนี่ไมผ่ า่ น มีดงั น้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ ....................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 3. นักเรยี นมีความรเู้ กดิ ทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ......................... 4. นักเรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอื่ .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเห็นดงั น้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ยังไม่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 56 สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง ความแข็ง (1) เวลา 1 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 2. ตวั ช้ีวัดช้ันปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความรอ้ น และการนำไฟฟา้ ของวสั ดุไปใช้ในชีวิตประจำวันผ่านกระบวนการออกแบบชิน้ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปลีย่ นความคิดกับผู้อน่ื โดยการอภิปรายเก่ยี วกับสมบตั ิทางกายภาพของวัสดุอยา่ งมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อภิปรายและเปรียบเทยี บสมบัตขิ องวัสดดุ า้ นความแขง็ ได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รู้หรืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ ่ีเกยี่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. การทำงานรว่ มกับผู้อ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สือ่ สารและนำความร้เู รื่องสมบัติของวัสดุด้านความแข็งไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั ความแข็งของวัสดุเป็นความทนทานต่อการถูกขูดขีดของวัสดุ เมื่อนำวัสดุ 2 ชนิดมาขูดขีดกัน วัสดุที่มี ความแข็งนอ้ ยกวา่ จะเกดิ รอย 5. สาระการเรยี นรู้ สมบตั ขิ องวสั ดุ – ความแข็ง 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ช้นิ งานหรือภาระงาน สืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกบั ความแข็งของแรช่ นิดตา่ งๆ 9. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1) ครูถามคำถามเก่ียวกับประสบการณ์เดิมของนักเรยี นวา่ – ถ้าเราทำแกว้ นำ้ ตกลงพนื้ จะเกดิ อะไรขน้ึ (แนวคำตอบ แก้วน้ำจะแตก) – การเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ข้ึนแสดงวา่ แก้วน้ำหรอื พ้ืนมคี วามแข็งมากกวา่ กนั (แนวคำตอบ พน้ื ) 2) นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบของคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่ การเรยี นรเู้ รอ่ื ง สมบตั ขิ องวสั ดดุ ้านความแข็ง ขั้นจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซง่ึ มีขั้นตอนดังนี้ 1) ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครูถามคำถามนักเรียนเพื่อกระตนุ้ ความสนใจ เช่น – ความแข็งของวสั ดคุ อื อะไร (แนวคำตอบ สมบตั ิท่ีแสดงถงึ ความทนทานตอ่ การขูดขีดต่อวัสดุอื่น) – วัสดุที่มีความแข็งมากจะมีลักษณะใด (แนวคำตอบ ทนทานต่อการขูดขีดจากวัสดุอื่นได้หลาย ชนิด) (2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรยี น 2) ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความแข็งของวัสดุจากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วย อธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ถ้าวัสดุที่ถูกขูดเกิดรอย แสดงว่ามีความแข็งน้อยกว่าวัสดุที่ใช้ขูด แต่ถ้าไม่เกิดรอย แสดงว่ามีความแขง็ มากกวา่ วสั ดทุ ่ีใช้ขูด (2) แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความแข็งของแร่ชนิดต่างๆ โดย ดำเนนิ การตามข้ันตอนดังนี้ – แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบค้นข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อความแข็งของแร่ชนิดต่างๆ เป็นหัวข้อย่อย เช่น ระดับความแข็งของแร่ ชนิดของแร่สี และลักษณะของแร่ ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นตามหัวข้อท่ี กำหนด – สมาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกันสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรบั ผดิ ชอบโดยการสืบค้นจาก หนงั สือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็ – สมาชกิ กล่มุ นำขอ้ มลู ทสี่ บื ค้นได้มารายงานใหเ้ พื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มฟงั รวมท้ังร่วมกันอภิปราย ซกั ถามจนคาดว่าสมาชกิ ทกุ คนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทตี่ รงกนั – สมาชกิ กล่มุ ช่วยกันสรปุ ความร้ทู ไี่ ดท้ ้ังหมดเป็นผลงานของกล่มุ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (3) ครคู อยแนะนำช่วยเหลอื นักเรียนขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและ เปิดโอกาสให้นักเรยี นทกุ คนซักถามเมื่อมีปญั หา 3) ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหนา้ หอ้ งเรียน (2) นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถามตอ่ ไปน้ี – ระดบั ความแข็งของแรช่ นดิ ต่างๆ มีกร่ี ะดับ (แนวคำตอบ มี 10 ระดับ) – แร่ชนดิ ใดมคี วามแขง็ มากที่สุด (แนวคำตอบ เพชร) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่าแร่แต่ละชนิดมี ความแขง็ แตกตา่ งกนั ข้ึนอยูก่ บั สมบตั ิเฉพาะตวั ของแร่แตล่ ะชนดิ 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ครูนำรปู สว่ิ และค้อนมาให้นักเรียนดู แลว้ อภิปรายเพ่มิ เติมวา่ เน้ือไม้ทม่ี ีความแข็งมากนิยมใช้สิ่วในการ เจาะเนื้อไม้และใช้ค้อนเคาะในการแกะสลัก ซึ่งสิ่วที่ใช้ในการแกะสลักมีหลายขนาดขึ้นอยู่กับความแข็งของไม้ และความละเอยี ดของภาพที่ตอ้ งการ 5) ขั้นประเมนิ (Evaluation) 1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรอื ยังมขี ้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ 2) นกั เรยี นรว่ มกนั ประเมินการปฏิบตั ิกจิ กรรมกลมุ่ ว่ามปี ญั หาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง 3) ครแู ละนกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการปฏิบัติกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – วัสดุทม่ี ีความแขง็ มีลกั ษณะอยา่ งไร – ยกตัวอยา่ งวสั ดทุ ่ีมีความแข็งทพี่ บเหน็ ในชีวติ ประจำวนั ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบตั ิของวัสดดุ ้านความแขง็ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคดิ หรือผังมโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. รูปสว่ิ และคอ้ น 2. หนงั สอื วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน และอนิ เทอร์เน็ต 3. คูม่ ือการสอน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 6. หนงั สอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 11. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) จติ วิทยาศาสตร์ (A) 1. ซักถามความร้เู ร่ือง สมบตั ขิ อง 1. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย วสั ดุดา้ นความแขง็ 1. ประเมินเจตคตทิ าง การสงั เกตการทำงานกลุ่ม วิทยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 2. ตรวจช้ินงานหรอื ภาระงานของ โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวดั 2. ประเมินพฤติกรรมในการ กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรยี น เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรอื รายกลมุ่ โดย 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อ การสังเกตการทำงานกล่มุ วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวัด เจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไม่ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร.ู้ .................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. นกั เรียนน่ไี มผ่ า่ น มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ ...................................................................................................................... ................................ ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 3. นกั เรียนมีความรูเ้ กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านิยม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ........................................................................................................................ .............................. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผูท้ ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มคี วามเห็นดังนี้ 1. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .................................................. (นายวิเศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 57 สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง ความแข็ง (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครผู ู้สอน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี 2. ตวั ช้ีวัดช้นั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความร้อน และการนำไฟฟา้ ของวสั ดุไปใช้ในชีวิตประจำวันผ่านกระบวนการออกแบบชิ้นงาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปลีย่ นความคิดกับผู้อน่ื โดยการอภิปรายเก่ยี วกับสมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุอยา่ งมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อภปิ รายและเปรียบเทยี บสมบัตขิ องวัสดดุ า้ นความแขง็ ได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝ่รู้หรืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ ่ีเกยี่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. การทำงานรว่ มกับผู้อน่ื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สอื่ สารและนำความร้เู รื่องสมบัติของวัสดุด้านความแข็งไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคัญ ความแข็งของวัสดุเป็นความทนทานต่อการถูกขูดขดี ของวสั ดุ เมื่อนำวัสดุ 2 ชนิดมาขูดขีดกัน วัสดุที่มี ความแขง็ นอ้ ยกวา่ จะเกดิ รอย 5. สาระการเรยี นรู้ สมบตั ิของวสั ดุ – ความแข็ง 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. มีจิตวิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชวี ิต 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน สงั เกตสมบัตดิ า้ นความแขง็ ของวัสดุ 9. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรียน 1) ครนู ำวสั ดตุ า่ ง ๆ มาให้นกั เรยี นดู เช่น แก้ว ไม้ และพลาสตกิ แล้วถามคำถามกบั นักเรียน ดังนี้ – วัสดุท้งั 3 ชนิดน้มี สี มบตั ิใดท่ีแตกต่างกัน (แนวคำตอบ สี ลกั ษณะของเนอ้ื วัสดุ และความแขง็ ) – วัสดุชนิดใดมีความแขง็ มากทสี่ ุด (แนวคำตอบ แกว้ ) 2) นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั คำตอบของคำถาม เพ่อื เช่อื มโยงไปสู่การ เรียนรเู้ ร่ือง สมบัตขิ องวัสดุดา้ นความแขง็ ขั้นจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึง่ มีข้นั ตอนดังนี้ 1) ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครูถามคำถามนักเรยี นเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจ เชน่ – ถ้าต้องการทดสอบว่าวัสดุชนิดใดมีความแข็งมากกว่ากันสามารถทดสอบด้วยวิธีการใด (แนว คำตอบ ใช้ของแขง็ เช่น ตะปู ขูดขดี บนวัสดแุ ตล่ ะชนดิ ) – วัสดุที่มีความแข็งมากจะมีลักษณะใด (แนวคำตอบ ทนทานต่อการขูดขีดจากวัสดุอื่นได้หลาย ชนิด) (2) นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรยี น 2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบ่งกลุ่มนักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมที่ 18 สังเกตสมบัติด้านความแข็งของวัสดุ แต่ละกลุ่มปฏิบัติ กจิ กรรมตามขน้ั ตอนทีไ่ ด้วางแผนไว้ ดงั น้ี – แบง่ กลมุ่ นักเรียน กล่มุ ละ 5 – 6 คน – สมาชกิ กลมุ่ หาวัสดทุ ีจ่ ะนำมาทดสอบ ไดแ้ ก่ เทยี นไข พลาสติก กระจก และเหล็ก มาคนละ 1 ชนิด – ทดสอบความแข็งของวสั ดุต่าง ๆ ดว้ ยวิธดี ังตอ่ ไปนี้ แล้วบันทึกข้อมูล • ใช้เลบ็ ขูด • ใช้ไมบ้ รรทัดพลาสติกขดู • ใช้ตะไบกรีด
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู การใช้ตะไบกรีดบนวัสดุ (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยครูเดินดรู อบๆ ห้องเรยี นและเปิดโอกาส ให้นกั เรยี นทกุ คนซักถามเมอื่ มีปัญหา 3) ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (1) นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหน้าห้องเรียน (2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – วสั ดใุ ดมคี วามแข็งมากกว่าวัสดุที่นำมาขดู ขีด ดูจากอะไร (แนวคำตอบ กระจกเงา ดูจากการไม่ เกิดรอยใด ๆ ทีก่ ระจกเงา) – วัสดุชนิดใดมีความแข็งมากที่สุดและน้อยที่สุด ดูจากอะไร (แนวคำตอบ กระจกเงามีความแข็ง มากทสี่ ดุ และเทยี นไขมคี วามแข็งน้อยทส่ี ดุ ดูจากการเกดิ รอยขดู ขดี ท่เี ทียนไข) – ยกตวั อยา่ งของใชท้ ที่ ำมาจากวสั ดทุ ่มี ีความแข็งมา 3 ชนดิ (แนวคำตอบ คอ้ น โต๊ะ และแก้วน้ำ) (3) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปผลการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยครูเนน้ ใหน้ กั เรียนเข้าใจวา่ วัสดุแต่ละชนิดมี ความแข็งแตกต่างกัน เมื่อนำวัสดุชนิดหนึ่งมาขูดขีดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ถ้าวัสดุที่ถูกขูดขีดเกิดรอย แสดงว่ามี ความแขง็ นอ้ ยกวา่ วัสดุทีใ่ ชข้ ูดขดี แต่ถา้ ไม่เกดิ รอย แสดงวา่ วัสดุท่ถี กู ขดู ขดี มีความแข็งมากกว่าวัสดุที่ใช้ขดู ขีด 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (1) นักเรียนสืบค้นตารางกำหนดระดับความแข็งของวัสดุ แล้วลองสังเกตหรือทดสอบดูว่าวัสดุแต่ละ ชนดิ ท่อี ยู่รอบตัวเรามคี วามแขง็ อยู่ในระดบั ใด (2) สืบคน้ ข้อมูลเก่ียวกับเพชรซ่ึงเป็นวสั ดทุ ี่มีความแขง็ มากทีส่ ดุ ทำเปน็ รายงานสง่ ครู (3) ครูเชอื่ มโยงความรู้อาเซยี น โดยครูเสรมิ ความรู้ให้กบั นักเรียนวา่ เมยี นมาเป็นแหล่งอัญมณีที่สำคัญ ของโลกแหล่งหนึ่ง ซึ่งมีทั้งทับทิม ไพลิน ไข่มุก และหยก โดยทับทิมและไพลินนั้นมีความแข็งรองจากเพชรแค่ ลำดบั เดียวเท่านัน้ สว่ นหยกของเมียนมามคี ณุ ภาพสงู เทยี บเทา่ กบั หยกจีน 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) 1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เขา้ ใจหรือยงั มีขอ้ สงสยั ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เติมให้นกั เรยี นเขา้ ใจ 2) นกั เรยี นรว่ มกันประเมินการปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่มวา่ มีปัญหาหรืออปุ สรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบา้ ง 3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รบั จากการปฏิบัติกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4) ครูทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนกั เรียน เชน่ – ถา้ นกั เรยี นจะตรวจสอบความแขง็ ของวสั ดคุ วรใชว้ ธิ ีการใดบ้าง
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู – การใชต้ ะปูขดู ขดี ลงบนวัสดุเป็นการทดสอบสมบัติดา้ นใดของวสั ดุ – ถ้าต้องการตดั กระจกต้องใช้วัสดทุ มี่ ีลกั ษณะใด ขน้ั สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดดุ ้านความแข็ง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิด หรือผังมโนทัศน์ 10. สื่อการเรียนรู้ 1. แก้ว ไม้ และพลาสตกิ 2. ใบกิจกรรมที่ 18 สังเกตสมบัติดา้ นความแข็งของวัสดุ 3. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 4. สือ่ การเรยี นรู้ PowerPoint รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 5. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 6. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 11. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จิตวทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรเู้ ร่ืองสมบตั ิของ วัสดดุ ้านความแขง็ 1. ประเมนิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชนิ้ งานหรอื ภาระงานของ เปน็ รายบคุ คลโดยการสงั เกต ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรียน และใช้แบบวัดเจตคตทิ าง วัดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ เจตคตติ ่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย เปน็ รายบคุ คลโดยการสังเกต การสงั เกตการทำงานกลมุ่ และใช้แบบวดั เจตคติตอ่ 3. ประเมินทักษะการ วทิ ยาศาสตร์ แกป้ ญั หาโดยการสังเกตการ ทำงานกล่มุ 4. ประเมนิ พฤติกรรมในการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเปน็ รายบุคคลหรอื รายกลุ่มโดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเป็นร้อยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นร้.ู .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ.................. นักเรียนนีไ่ มผ่ ่าน มีดังน้ี 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นท่ีไมผ่ า่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................. ......................... .......................................................................................................... ............................................ 3. นักเรยี นมีความรู้เกดิ ทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจริยธรรม (A) .................................................................................. .................................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสิริ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย
แผนการจัดการเรยี นร้วู ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางอมลสริ ิ คำฟู แล้วมคี วามเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยังไม่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 58 สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เร่ือง ความเหนียว (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ขิ องสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 2. ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความรอ้ น และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปลี่ยนความคดิ กับผู้อืน่ โดยการอภิปรายเก่ียวกับสมบตั ทิ างกายภาพของวสั ดุอย่างมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อภปิ รายและเปรยี บเทยี บสมบัติของวัสดุด้านความเหนียวได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ หู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นร้ทู ่ีเกยี่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. การทำงานร่วมกับผู้อ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรูเ้ รื่องสมบัติของวสั ดดุ ้านความเหนียวไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั ความเหนยี วเป็นสมบตั ิเฉพาะของวสั ดุแตล่ ะชนิด วสั ดุทม่ี ีความเหนียวมากจะต้องออกแรงดึงมากจึงจะ ขาด และวัสดทุ ี่มีความเหนยี วมากจะรับนำ้ หนกั ไดม้ ากกว่าวัสดุท่ีมคี วามเหนียวน้อย 5. สาระการเรียนรู้ สมบัตขิ องวัสดุ – ความเหนยี ว 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนินชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน ปั้นดินเหนียวเป็นรูปต่าง ๆ 9. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1) ครูให้นักเรียนดูรูปคนหิ้วถุงพลาสติกที่ใส่ตุ๊กตาขนาดใหญ่แล้วถามนักเรียนว่า เพราะเหตุใดจึงใช้ ถงุ พลาสตกิ บรรจุตกุ๊ ตาขนาดใหญไ่ ด้ 2) นักเรยี นช่วยกนั ตอบคำถาม จากนนั้ ครนู ำอภปิ รายวา่ ถงุ พลาสตกิ มีความเหนยี ว เมื่อนำมาใส่ตุ๊กตา ขนาดใหญ่แล้วหิ้วจึงไม่ขาด ซึ่งความเหนียวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของวัสดุเช่นเดียวกับความแข็งที่นักเรียนได้ เรียนรู้มาแลว้ ข้นั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซงึ่ มีข้นั ตอนดงั น้ี 1) ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (1) ครถู ามคำถามนักเรียนเพือ่ กระตุน้ ความสนใจ เชน่ – วัสดุชนิดใดท่ีมีความเหนียว (แนวคำตอบ เชือก พลาสตกิ และเสน้ เอ็น) – วัสดุที่มีความเหนียวสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร (แนวคำตอบ ใช้เชือกในการผูกหรือ ดงึ ส่งิ ของต่าง ๆ ใชพ้ ลาสติกทำวสั ดตุ า่ ง ๆ เช่น ถุงพลาสตกิ ขวดนำ้ หรือแก้วนำ้ ใชเ้ อน็ ทำสายเบด็ ) (2) นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนกั เรียน 2) ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) ครูให้นักเรียนศกึ ษาเกี่ยวกับสมบตั ิของวัสดดุ ้านความเหนยี วจากใบความรหู้ รือในหนังสือเรียน โดย ครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า วัสดุที่มีความเหนียวมากจะต้องออกแรงดึงมากจึงจะขาด วัสดุที่มีความ เหนียวนอ้ ยออกแรงดึงไม่มากกข็ าด (2) แบ่งกลุม่ นกั เรียน กลุ่มละ 5 – 6 คน ปนั้ ดนิ เหนียวเปน็ รปู ต่างๆ ตามจนิ ตนาการ ตามขนั้ ตอน ดังน้ี – แตล่ ะกลมุ่ เตรยี มดินเหนยี วท่ีนำมาจากบรเิ วณโรงเรยี นหรอื ในท้องถนิ่ – ออกแบบและปั้นดนิ เหนยี วเป็นรปู ตา่ งๆ ตามจินตนาการ – นำเสนอผลงานหน้าหอ้ งเรียน (3) ครูคอยแนะนำช่วยเหลอื นักเรยี นขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยครเู ดินดูรอบๆ หอ้ งเรยี น และเปิดโอกาส ใหน้ กั เรียนทุกคนซักถามเมื่อมปี ัญหา
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 3) ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ นำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา้ ห้องเรียน (2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – วสั ดใุ ดมคี วามแข็งมากกว่าวสั ดุที่นำมาขดู ขีด ดูจากอะไร (แนวคำตอบ กระจกเงา ดูจากการไม่ เกิดรอยใด ๆ ท่ีกระจกเงา) – วัสดุชนิดใดมคี วามแข็งมากทีส่ ุดและน้อยท่ีสุด ดูจากอะไร (แนวคำตอบ กระจกเงามีความแข็ง มากท่ีสุด และเทยี นไขมคี วามแขง็ น้อยท่ีสุด ดูจากการเกดิ รอยขดู ขีดท่ีเทยี นไข) – ยกตวั อย่างของใชท้ ่ีทำมาจากวัสดทุ ่มี ีความแข็งมา 3 ชนิด (แนวคำตอบ ค้อน โตะ๊ และแก้วนำ้ ) (3) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยครูเน้นให้นกั เรียนเข้าใจวา่ วัสดุแต่ละชนิดมี ความแข็งแตกต่างกัน เมื่อนำวัสดุชนิดหนึ่งมาขูดขีดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ถ้าวัสดุที่ถูกขูดขีดเกิดรอย แสดงว่ามี ความแข็งน้อยกวา่ วัสดุที่ใช้ขูดขีด แตถ่ า้ ไมเ่ กิดรอย แสดงว่าวัสดุท่ีถกู ขูดขดี มคี วามแข็งมากกวา่ วสั ดทุ ี่ใชข้ ดู ขีด 4) ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (1) นักเรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู ที่เก่ยี วขอ้ งกบั ชนิดของวสั ดทุ ่มี สี มบัติด้านความเหนียว (2) นักเรียนค้นคว้าคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านความเหนียว จากหนังสือ เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และนำเสนอให้เพื่อนในห้องฟัง แล้วคัดคำศัพท์พร้อมทั้งคำแปลลง สมุดส่งครู 5) ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามี ครูช่วยอธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจ (2) นกั เรียนรว่ มกันประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกล่มุ วา่ มีปญั หาหรอื อุปสรรคใดและไดแ้ ก้ไขอย่างไรบ้าง (3) ครูและนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ทไี่ ดร้ บั จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมและการ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (4) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยถามคำถามนักเรยี น เช่น – ความเหนยี วหมายถึงอะไร – การพิจารณาสมบตั ิด้านความเหนยี วของวัสดุทำได้ด้วยวิธกี ารใด – พลาสตกิ นิยมนำมาใชท้ ำถงุ ใสข่ องเพราะอะไร – วัสดทุ ่ีมคี วามเหนียวและวสั ดทุ มี่ ีสภาพยืดหยุน่ แตกต่างกนั ในลกั ษณะใด ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านความเหนียว โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรอื ผงั มโนทัศน์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. ดนิ เหนยี ว 2. รูปคนหิ้วถุงพลาสตกิ ที่ใสต่ ุ๊กตาขนาดใหญ่ 3. หนงั สอื เรยี นภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ นต็ 4. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 5. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 6. แบบฝึกทกั ษะรายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 7. หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 11. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ซกั ถามความรู้เรื่อง สมบตั ิของ วัสดดุ ้านความเหนยี ว 1. ประเมนิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ 2. ตรวจชิน้ งานหรอื ภาระงานของ เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบ กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน และใชแ้ บบวัดเจตคติทาง วัดทกั ษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมินทักษะการคิดโดย เป็นรายบุคคลโดยการสังเกต การสังเกตการทำงานกลุ่ม และใช้แบบวัดเจตคตติ ่อ 3. ประเมินทักษะการ วทิ ยาศาสตร์ แก้ปัญหาโดยการสังเกตการ ทำงานกลมุ่ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบัตกิ ิจกรรมเป็น รายบคุ คลหรือรายกลุ่มโดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู.้ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู.้ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนไ่ี มผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ........................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) ........................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ................................. 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทักษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจรยิ ธรรม (A) ............................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ .................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 59 สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว14101 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เร่ือง ความเหนียว (2) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผู้สอน นางอมลสิริ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ขิ องสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การ เกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี 2. ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความรอ้ น และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปลี่ยนความคดิ กับผู้อืน่ โดยการอภิปรายเก่ยี วกับสมบตั ทิ างกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อภปิ รายและเปรยี บเทยี บสมบัติของวัสดุด้านความเหนียวได้ (K) 2. มคี วามสนใจใฝร่ หู้ รืออยากรู้อยากเหน็ (A) 3. พอใจในประสบการณ์การเรยี นร้ทู ่ีเกยี่ วกับวทิ ยาศาสตร์ (A) 4. การทำงานร่วมกับผู้อ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 5. สื่อสารและนำความรูเ้ รื่องสมบัติของวสั ดดุ ้านความเหนียวไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ (P) 4. สาระสำคญั ความเหนยี วเป็นสมบตั ิเฉพาะของวสั ดุแตล่ ะชนิด วสั ดุทม่ี ีความเหนียวมากจะต้องออกแรงดึงมากจึงจะ ขาด และวัสดทุ ี่มีความเหนยี วมากจะรับนำ้ หนกั ไดม้ ากกวา่ วัสดุท่ีมคี วามเหนียวน้อย 5. สาระการเรียนรู้ สมบัตขิ องวัสดุ – ความเหนยี ว 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุง่ มนั่ ในการทำงาน 4. มจี ติ วิทยาศาสตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 7. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะ/กระบวนการและทักษะในการดำเนนิ ชีวติ 8. ชิน้ งานหรือภาระงาน สงั เกตสมบตั ดิ ้านความเหนียวของวสั ดุ 9. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรียน 1) ครูนำถุงพลาสตกิ และถงุ กระดาษมาให้นักเรยี นดู แลว้ ถามนกั เรียนวา่ ถ้าต้องออกแรงฉีกถงุ พลาสติก และถงุ กระดาษใหข้ าดจะต้องออกแรงในการฉีกส่งิ ใดมากกวา่ 2) นกั เรยี นชว่ ยกันตอบคำถามและแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับคำตอบของคำถาม เพอื่ เชือ่ มโยงไปสู่การ เรียนรู้เรอื่ ง สมบตั ขิ องวสั ดดุ า้ นความเหนียว ขั้นจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ซึ่งมขี ้นั ตอนดังน้ี 1) ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) (1) ครถู ามคำถามนักเรียนเพอื่ กระตุน้ ความสนใจ เชน่ – ความเหนยี วของวสั ดุคอื อะไร (แนวคำตอบ สมบตั ขิ องวสั ดทุ ท่ี นทานตอ่ แรงดงึ โดยไมข่ าด) – วัสดุที่มีความเหนียวมากจะมีลักษณะใด (แนวคำตอบ ตีเป็นแผ่นบางหรือดึงเป็นเส้นได้ยาว มาก) (2) นกั เรียนร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกบั คำตอบจากคำถามของครูตามประสบการณ์ของนักเรียน 2) ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (1) แบง่ กลุ่มนักเรยี น ปฏบิ ัติกิจกรรมที่ 13 สังเกตสมบตั ิดา้ นความเหนยี วของวัสดุ แต่ละกลุ่มปฏิบัติ กจิ กรรมตามขนั้ ตอนท่ีได้วางแผนไว้ ดงั นี้ – แบ่งกลมุ่ นักเรยี น กลุ่มละ 5–6 คน – พาดไมย้ าวระหวา่ งโตะ๊ แขวนขอเก่ียวที่ท่อนไม้ – ผูกเชือกฟางยาว 1 ฟตุ ท่ีขอเกีย่ ว นำขอเกยี่ วอีกอันผกู ติดปลายลา่ งของเชือกฟาง – แขวนถงุ ทรายทขี่ อเก่ียวอนั ล่าง เพม่ิ ถุงทรายทีละถุงจนเชือกขาด นบั จำนวนถุงทราย ทง้ั หมด บนั ทึกผล – ทำการทดสอบซ้ำ โดยเปลี่ยนจากเชือกฟางเป็นเชือกกลว้ ย ดา้ ย และเสน้ เอ็น (ขนาดและ ความยาวของวสั ดแุ ต่ละชนิดต้องเท่ากัน) บันทึกผล
แผนการจัดการเรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู (2) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม โดยครเู ดนิ ดูรอบๆ หอ้ งเรยี นและเปิดโอกาส ให้นักเรียนทกุ คนซักถามเมอ่ื มีปญั หา 3) ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (1) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหนา้ ห้องเรยี น (2) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามต่อไปน้ี – วัสดชุ นดิ ใดมีความเหนยี วมากที่สุด (แนวคำตอบ เสน้ เอน็ ) – วิธีการที่ใช้ทดสอบความเหนียวในกิจกรรมนี้คืออะไร (แนวคำตอบ การรับน้ำหนัก วัสดุใดรับ นำ้ หนักไดม้ ากแสดงวา่ มีความเหนยี วมาก) – ยกตัวอย่างวัสดุที่มีความเหนียวที่ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน (แนวคำตอบ ดินเหนียวและ ถงุ พลาสตกิ ) (3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า นอกจากวัสดุที่ นักเรียนนำมาสังเกตแล้ว ยังมีวัสดุอื่นอีกที่มีสมบัติด้านความเหนียว เช่น ดินเหนียว สามารถนำมาปั้นสิ่งของ เป็นรูปทรงต่าง ๆ ได้ และโลหะเมื่อทำให้ร้อนจะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นหรือรีดให้เป็นเส้น นำมาทำเป็นสิ่งของ เครื่องใช้ตา่ ง ๆ เช่น หมอ้ กระทะ (4) ครูอธิบายเพ่มิ เติมวา่ วสั ดแุ ต่ละชนิดมีความเหนียวแตกต่างกนั วสั ดุท่มี ีความเหนียวมากต้องใช้แรง ดงึ มากจึงจะขาด สว่ นวัสดทุ ี่มคี วามเหนยี วน้อยใช้แรงดึงไมม่ ากกส็ ามารถขาดได้ 4) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูนำรูปการแข่งขันชักเย่อ รูปช้างลากซุง รูปสะพานที่มีลวดเหล็กยึด เช่น สะพานพระราม 8 มาให้ นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายวา่ เก่ียวขอ้ งกบั สมบัตขิ องวัสดุด้านความเหนียวหรอื ไม่ เพราะอะไร 5) ข้นั ประเมิน (Evaluation) (1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบา้ งที่ยังไม่ เข้าใจหรอื ยงั มขี ้อสงสัย ถา้ มี ครูช่วยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ (2) นักเรยี นรว่ มกันประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่มว่ามปี ญั หาหรอื อุปสรรคใดและได้แกไ้ ขอยา่ งไรบา้ ง (3) ครูและนักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ัติกิจกรรมและการ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (4) ครูทดสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยถามคำถามนักเรียน เช่น – การทดสอบความเหนียวของวสั ดุทำได้โดยวิธีการใด – วสั ดุทมี่ ีสมบตั ดิ า้ นความเหนียวได้แก่อะไรบ้าง
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ข้ันสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุด้านความเหนียว โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ ความคิดหรอื ผังมโนทศั น์ 10. สื่อการเรยี นรู้ 1. ถงุ พลาสติกและถุงกระดาษ 2. รปู การแข่งขนั ชักเยอ่ รปู ช้างลากซงุ รปู สะพานท่ีมีลวดเหล็กยดึ 3. ใบกิจกรรมที่ 19 สังเกตสมบตั ดิ ้านความเหนียวของวัสดุ 4. คู่มอื การสอน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 5. สอ่ื การเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 6. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 7. หนังสอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 11. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. ซกั ถามความรู้เร่ือง สมบัติของ จติ วทิ ยาศาสตร์ (A) 1. ประเมนิ ทักษะกระบวนการ วสั ดดุ า้ นความเหนยี ว ทางวทิ ยาศาสตรโ์ ดยใชแ้ บบ 1. ประเมนิ เจตคติทาง วัดทกั ษะกระบวนการทาง 2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วิทยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมฝึกทกั ษะระหวา่ งเรยี น โดยการสงั เกตและใชแ้ บบวัด เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ประเมนิ ทักษะการคิดโดย การสังเกตการทำงานกลุ่ม 2. ประเมินเจตคตติ ่อ วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ รายบคุ คล 3. ประเมินทักษะการ โดยการสังเกตและใชแ้ บบวดั แก้ปญั หาโดยการสังเกตการ เจตคติตอ่ วิทยาศาสตร์ ทำงานกล่มุ 4. ประเมินพฤติกรรมในการ ปฏิบตั ิกจิ กรรมเป็น รายบุคคลหรอื รายกลุ่มโดย การสงั เกตการทำงานกลุ่ม
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู 12. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 12.1 สรปุ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. นกั เรยี นนี่ไมผ่ ่าน มีดังนี้ 1............................................................ 2............................................................ 3............................................................ 4............................................................ 5............................................................ 6............................................................ แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ....................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ......................... 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ (K) .................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................. ..................................... 3. นักเรยี นมีความร้เู กิดทกั ษะ (P) ............................................................................................................................. ......................... ...................................................................................................................................................... 4. นกั เรียนมีเจตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจริยธรรม (A) ......................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ......................... 12.2 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12.3 ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ.................................................. (นางอมลสริ ิ คำฟ)ู ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย
แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง นางอมลสริ ิ คำฟู แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ นำไปใช้ไดจ้ รงิ ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้ 4. ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
แผนการจัดการเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้น ป.4 นางอมลสริ ิ คำฟู แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 60 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว14101 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรื่อง การนำความร้อน (1) เวลา 1 ชวั่ โมง ครูผ้สู อน นางอมลสริ ิ คำฟู ********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสสาร กับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี 2. ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้า ของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง และระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การ นำความร้อน และการนำไฟฟา้ ของวสั ดุไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ผา่ นกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน (ว 2.1 ป. 4/1) 2. แลกเปลยี่ นความคิดกบั ผู้อน่ื โดยการอภิปรายเกยี่ วกับสมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุอยา่ งมีเหตุผลจาก การทดลอง (ว 2.1 ป. 4/2) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายและเปรียบเทยี บสมบัตขิ องวัสดดุ า้ นการนำความรอ้ นได้ (K) 2. ระบุวสั ดทุ ่ีเปน็ ตัวนำความร้อนและฉนวนความร้อนได้ (K) 3. มคี วามสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรอู้ ยากเหน็ (A) 4. พอใจในประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี ก่ียวกบั วทิ ยาศาสตร์ (A) 5. การทำงานร่วมกับผ้อู ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A) 6. สือ่ สารและนำความรเู้ ร่ืองสมบตั ขิ องวสั ดุดา้ นการนำความร้อนไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 4. สาระสำคัญ วัสดุ 2 ชนิดที่มีอุณหภูมิต่างกัน เมื่อนำมาสัมผัสกันจะเกิดการถ่ายโอนความร้อนให้แก่กัน วัสดุที่ยอม ให้ความร้อนผา่ นไดด้ ี เรยี กวา่ ตัวนำความรอ้ น สว่ นวัสดทุ ไี่ ม่ยอมให้ความร้อนผ่าน เรยี กว่า ฉนวนความร้อน 5. สาระการเรยี นรู้ สมบัติของวสั ดุ – การนำความร้อน 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุง่ มน่ั ในการทำงาน 4. มีจิตวทิ ยาศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 481
Pages: