หน้า | 188 บทที่ 4 การจัดทางบการเงนิ รวมหลังวนั ซ้ือหุน้ วธิ สี ่วนไดเ้ สยี บรษิ ัท จงรกั จากดั และ บริษัท ภกั ดี จากดั กระดาษทาการงบแสดงฐานะการเงินรวม สนิ ทรัพย์ เงินสด ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 ลกู หนี้ สินค้าคงเหลือ หน่วย : บาท เงนิ ปนั ผลคา้ งรบั สินทรัพย์หมนุ เวยี นอ่นื บริษทั บรษิ ัท รายการปรับปรงุ งบแสดง เงินลงทนุ ในบรษิ ัทภกั ดี จงรัก ภักดี และตัดบญั ชี ฐานะ เดบิต เครดติ การเงนิ รวม 179,000 46,000 (10)16,000 225,000 36,500 25,000 (3) 8,000 (1)372,800 61,500 198,500 40,250 238,750 16,000 155,000 80,000 235,000 434,200 (6) 800 (2) 40,000 (8) 1,200 (4) 1,000 (5) 4,000 (7) 12,000 ท่ีดนิ 900,000 300,000 (9) 14,400 1,250,000 อาคาร 300,000 75,000 (2) 50,000 360,000 ค่าเสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร (100,000) (31,250) (125,000) (3) 15,000 (3) 5,000 อปุ กรณ์ 200,000 30,000 (4) 1,250 237,500 คา่ เสอ่ื มราคาสะสม – อปุ กรณ์ (50,000) (14,000) (5) 7,500 (67,500) (5) 2,500 คา่ ความนยิ ม (9) 14,400 (6) 1,000 14,400 ลขิ สทิ ธิ์ (7) 15,000 (8) 1,500 15,000 ค่าตดั จาหนา่ ยลขิ สทิ ธิส์ ะสม (1,500) 2,269,200 551,000 2,443,150 รวมสนิ ทรัพย์
บทที่ 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวนั ซอื้ หุ้น หนา้ | 189 บรษิ ัท บริษัท รายการปรบั ปรงุ งบแสดง จงรกั ภกั ดี และตัดบญั ชี ฐานะ การเงิน 240,000 เดบติ เครดติ รวม - 275,000 หน้สี นิ และส่วนของผถู้ อื หนุ้ 35,000 เจา้ หนี้ 300,000 20,000 (10)16,000 4,000 เงนิ ปนั ผลคา้ งจา่ ย 1,000,000 30,000 330,000 เงินกู้ 1,000,000 ทุนหุ้นสามัญ – บรษิ ัท จงรัก 300,000 300,000 (1)300,000 300,000 ทุนหนุ้ สามัญ – บริษทั ภักดี 214,000 214,000 ส่วนเกนิ มูลคา่ หุน้ สามญั – บรษิ ัท จงรกั 325,200 50,000 (1) 50,000 325,200 สว่ นเกินมูลคา่ หนุ้ สามญั – บรษิ ทั ภกั ดี (110,000) (110,000) กาไรสะสม 1 ม.ค.25x1 – บริษทั จงรัก 80,000 (1) 80,000 104,950 กาไรสะสม 1 ม.ค.25x1 – บรษิ ทั ภักดี 2,269,200 กาไรสุทธิ – บริษัท จงรัก 56,000 (1) 56,000 2,443,150 กาไรสุทธิ – บริษัท ภักดี เงนิ ปนั ผลจา่ ย – บริษทั จงรัก (20,000) (3) 2,000 (1)20,000 เงินปนั ผลจ่าย – บริษทั ภักดี 551,000 (6) 200 (1)93,200 สว่ นไดเ้ สียที่ไมม่ อี านาจควบคมุ (8) 300 (2) 10,000 รวมหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ ือห้นุ (4) 250 (5) 1,000 (7) 3,000
หน้า | 190 บทท่ี 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซ้อื หนุ้ รายการปรับปรุงและตัดบัญชี (1) ตดั บัญชีเงนิ ลงทนุ ในบริษทั ยอ่ ยกับส่วนของผถู้ ือหุ้นของบรษิ ทั ย่อย และบันทกึ ส่วนไดเ้ สียท่ไี ม่มี อานาจควบคมุ เดบิต ทนุ หนุ้ สามญั – บรษิ ัท ภกั ดี จากดั 300,000 ส่วนเกนิ มูลค่าห้นุ สามญั – บริษัท ภักดี จากัด 50,000 กาไรสะสมตน้ ปี – บริษัท ภกั ดี จากัด 80,000 กาไรสุทธิ – บริษัท ภักดี จากัด 56,000 เครดิต เงินปันผลจ่าย – บริษัท ภกั ดี จากัด 20,000 เงนิ ลงทุนในบรษิ ัท ภกั ดี จากัด (80%) 372,800 สว่ นไดเ้ สียท่ีไม่มอี านาจควบคุม (NCI)(20%) 93,200 (2) ปรับปรุงราคาท่ีดนิ ของบริษทั ภักดี จากัด ใหแ้ สดงตามมูลคา่ ยุติธรรม เดบติ ทดี่ ิน 50,000 เครดิต เงนิ ลงทนุ ในบรษิ ทั ภกั ดี จากัด (80%) 40,000 10,000 ส่วนไดเ้ สยี ท่ีไมม่ ีอานาจควบคมุ (NCI)(20%) (3) ปรับปรุงราคาอาคารของบรษิ ัท ภักดี จากดั ใหแ้ สดงตามมลู ค่ายุตธิ รรม เดบิต คา่ เสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร 5,000 เงนิ ลงทุนในบรษิ ัท ภกั ดี จากัด (80%) 8,000 ส่วนไดเ้ สยี ทไี่ ม่มอี านาจควบคุม (NCI)(20%) 2,000 เครดติ อาคาร 15,000 (4) ปรับปรุงค่าเสอ่ื มราคาอาคารลดลง ประจาปี 25x1 เดบติ คา่ เสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร 1,250 เครดิต เงินลงทุนในบรษิ ทั ภกั ดี จากัด (80%) 1,000 250 ส่วนได้เสยี ท่ไี ม่มีอานาจควบคมุ (NCI)(20%)
บทที่ 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวนั ซื้อหุ้น หนา้ | 191 (5) ปรับปรุงราคาอปุ กรณ์ของบริษัท ภักดี จากัด ใหแ้ สดงตามมลู คา่ ยุตธิ รรม เดบติ อุปกรณ์ 7,500 เครดติ คา่ เสอื่ มราคาสะสม – อุปกรณ์ 2,500 เงนิ ลงทนุ ในบริษทั ภกั ดี จากัด (80%) 4,000 สว่ นไดเ้ สยี ที่ไม่มีอานาจควบคุม (NCI)(20%) 1,000 (6) ปรับปรุงค่าเส่ือมราคาอุปกรณ์เพ่ิมขนึ้ ประจาปี 25x1 800 เดบิต เงินลงทนุ ในบริษทั ภกั ดี จากัด (80%) 200 สว่ นได้เสยี ทีไ่ ม่มีอานาจควบคมุ (NCI)(20%) เครดติ คา่ เส่ือมราคาสะสม – อุปกรณ์ 1,000 (7) บันทกึ ลิขสิทธ์ขิ องบริษัท ภกั ดี จากัด ทไี่ มไ่ ด้บันทึกไว้ เดบติ ลิขสทิ ธิ์ 15,000 เครดิต เงนิ ลงทนุ ในบรษิ ทั ภกั ดี จากัด (80%) 12,000 สว่ นได้เสยี ที่ไม่มีอานาจควบคมุ (NCI)(20%) 3,000 (8) ตดั จาหน่ายลิขสิทธ์ิ ประจาปี 25x1 1,200 เดบติ เงินลงทนุ ในบรษิ ทั ภกั ดี จากัด (80%) 300 สว่ นได้เสียทไ่ี มม่ อี านาจควบคมุ (NCI)(20%) เครดิต ค่าตัดจาหนา่ ยลิขสิทธิส์ ะสม 1,500 (9) บนั ทึกคา่ ความนิยมทเ่ี กิดจากการรวมธุรกจิ 14,400 เดบิต ค่าความนิยม 14,400 เครดติ เงนิ ลงทุนในบริษัท ภกั ดี จากัด (80%) (10) ตัดบัญชเี งินปนั ผลค้างรับ เงนิ ปนั ผลค้างจ่ายระหว่างกัน 16,000 เดบติ เงินปนั ผลคา้ งจ่าย 16,000 เครดติ เงนิ ปนั ผลคา้ งรับ
หนา้ | 192 บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซือ้ หนุ้ ตวั อยา่ งท่ี 4.7 การจัดทากระดาษทาการงบการเงินรวม ตามแบบทรี่ วมกันทุกรายการ – วิธีสว่ นไดเ้ สยี จากขอ้ มลู ในตัวอย่างท่ี 4.1 สามารถจดั ทากระดาษทาการงบการเงนิ รวม ตามแบบท่ี รวมกนั ทุกรายการ และรายการตัดบญั ชี ได้ดงั นี้ วธิ ีสว่ นไดเ้ สยี บรษิ ทั จงรัก จากัด และ บริษัท ภกั ดี จากัด กระดาษทาการเพื่อทางบการเงินรวม ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บรษิ ัท บรษิ ัท รายการปรบั ปรงุ งบการเงนิ จงรัก ภักดี และตัดบัญชี รวม เดบติ เครดิต งบกาไรขาดทนุ ขาย 850,000 300,000 1,150,000 สว่ นแบ่งกาไรในบริษัทยอ่ ย(ภักด)ี 50,200 (2)50,200 (4)8,000 (512,000) ตน้ ทนุ ขาย (350,000) (170,000) (6)1,250 (99,750) คา่ เส่อื มราคา (65,000) (35,000) (7)1,000 คา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ งาน (160,000) (39,000) (8)1,500 (200,500) สว่ นได้เสียที่ไมม่ ีอานาจควบคุมใน 325,200 (3)12,550 (12,550) กาไรสทุ ธิ กาไรสุทธิ 56,000 325,200 กาไรสะสม กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x1 – จงรัก 214,000 214,000 กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x1 – ภักดี 325,200 80,000 (1)80,000 325,200 กาไรสทุ ธิ (110,000) 56,000 (110,000) เงินปันผลจ่าย – จงรัก เงนิ ปนั ผลจา่ ย – ภกั ดี (20,000) (2)16,000 (3)4,000 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1 429,200 116,000 429,200
บทท่ี 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซอื้ หุ้น หน้า | 193 บริษทั บรษิ ทั รายการปรับปรุง งบการเงนิ จงรัก ภักดี และตัดบัญชี รวม เดบิต เครดิต งบแสดงฐานะการเงนิ 179,000 46,000 (9)16,000 225,000 สินทรัพย์ 36,500 25,000 61,500 198,500 40,250 (1)344,000 238,750 เงินสด 16,000 80,000 (2)34,200 ลูกหนี้ 155,000 (4)41,600 235,000 สนิ คา้ คงเหลอื 434,200 300,000 (6)14,400 เงินปันผลค้างรับ 75,000 (4)50,000 1,250,000 สินทรัพย์หมุนเวยี นอ่ืน 900,000 (31,250) (4)15,000 360,000 เงนิ ลงทุนในบริษัทภกั ดี 300,000 30,000 (4)5,000 (125,000) (100,000) (14,000) (6)1,250 ท่ีดิน (4)7,500 237,500 อาคาร 200,000 551,000 (4)2,500 (67,500) คา่ เสอื่ มราคาสะสม – อาคาร (50,000) (7)1,000 (5)14,400 14,400 อุปกรณ์ 2,269,200 (4)15,000 15,000 คา่ เส่อื มราคาสะสม – อปุ กรณ์ (8)1,500 (1,500) 2,443,150 คา่ ความนยิ ม ลขิ สิทธ์ิ คา่ ตดั จาหน่ายลิขสิทธิส์ ะสม รวมสนิ ทรัพย์
หนา้ | 194 บทท่ี 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซือ้ ห้นุ หน้ีสนิ และส่วนของผูถ้ ือหนุ้ บรษิ ทั บริษัท รายการปรบั ปรงุ งบการเงนิ เจา้ หน้ี จงรัก ภกั ดี และตัดบัญชี รวม เงินปนั ผลค้างจา่ ย เงินกู้ 240,000 เดบติ เครดติ 275,000 ทุนหุน้ สามญั – จงรัก - 4,000 ทุนหนุ้ สามัญ – ภกั ดี 35,000 สว่ นเกนิ มูลคา่ หุ้นสามญั – จงรกั 300,000 20,000 (9)16,000 330,000 ส่วนเกนิ มูลคา่ หุ้นสามญั – ภักดี 1,000,000 30,000 1,000,000 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1 ส่วนไดเ้ สียทไี่ มม่ อี านาจควบคมุ 300,000 300,000 (1)300,000 300,000 429,200 รวมหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุ้น 50,000 (1)50,000 (1)86,000 429,200 2,269,200 116,000 (3)8,550 104,950 (4)10,400 551,000 2,443,150 รายการปรับปรงุ และตัดบญั ชี (1) ตดั บัญชเี งินลงทุนในบริษัทย่อยกับส่วนของผู้ถอื หุ้นของบรษิ ทั ย่อย และบันทกึ ส่วนได้เสียทไี่ ม่มี อานาจควบคุม เดบิต ทนุ หนุ้ สามญั – บรษิ ัท ภักดี จากัด 300,000 สว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามัญ – บริษทั ภกั ดี จากัด 50,000 กาไรสะสมตน้ ปี – บริษัท ภักดี จากัด 80,000 เครดติ เงนิ ลงทุนในบริษทั ภักดี จากัด (80%) 344,000 ส่วนไดเ้ สียท่ไี มม่ อี านาจควบคุม (NCI)(20%) 86,000 (2) ตัดรายการเงินลงทนุ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงในงวดปจั จุบัน(ของบริษทั ใหญ่) เดบติ ส่วนแบง่ กาไรในบริษัทย่อย (ภักด)ี 50,200 เครดติ เงินปันผลจ่าย – บรษิ ัท ภกั ดี จากัด 16,000 เงนิ ลงทนุ ในบริษัทภกั ดี 34,200
บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวันซอ้ื หนุ้ หนา้ | 195 (3) ตัดรายการเงินลงทนุ ทเ่ี ปล่ียนแปลงในงวดปัจจุบนั (ของส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคมุ ) เดบิต ส่วนไดเ้ สียทไ่ี ม่มอี านาจควบคมุ ในกาไรสทุ ธิ 12,550 เครดิต เงินปันผลจ่าย – บรษิ ัท ภกั ดี จากัด 4,000 ส่วนได้เสียทไ่ี ม่มีอานาจควบคุม 8,550 คานวณส่วนไดเ้ สียที่ไมม่ ีอานาจควบคมุ ในกาไรสทุ ธิ ได้ดังนี้ กาไรสทุ ธิบริษัทยอ่ ย 56,000 ปรบั ปรุง ค่าใชจ้ า่ ยหรือรายได้ทบี่ นั ทึกไว้ต่าไป 6,750 62,750 บวก ต้นทนุ ขายลดลง 8,000 20% บวก ค่าเสอ่ื มราคาอาคารลดลง 1,250 12,550 หกั ค่าเส่ือมราคาอปุ กรณเ์ พมิ่ ข้นึ (1,000) หกั คา่ ตัดจาหน่ายลิขสทิ ธิ์ (1,500) กาไรสทุ ธขิ องบริษทั ย่อยที่ปรับปรงุ แลว้ คูณ ส่วนได้เสียในบริษทั ที่ไปลงทนุ ส่วนไดเ้ สียทไ่ี ม่มีอานาจควบคุมในกาไรสุทธิ (4) โอนส่วนเกนิ ไปปรับปรุงบัญชีทเี่ กยี่ วข้อง 50,000 เดบติ ที่ดนิ 5,000 คา่ เสือ่ มราคาสะสม – อาคาร อุปกรณ์ 7,500 ลิขสิทธิ์ 15,000 เครดิต ต้นทุนขาย อาคาร 8,000 ค่าเสือ่ มราคาสะสม – อุปกรณ์ 15,000 2,500 เงินลงทุนในบรษิ ทั ภกั ดี จากัด (80%) ส่วนไดเ้ สยี ทไ่ี ม่มีอานาจควบคุม (NCI)(20%) 41,600 10,400
หนา้ | 196 บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซอื้ หุ้น (5) บันทกึ คา่ ความนิยมท่ีเกิดจากการรวมธุรกิจ 14,400 เดบิต คา่ ความนยิ ม 14,400 เครดติ เงินลงทนุ ในบรษิ ัท ภักดี จากัด (80%) 1,250 (6) ปรับปรงุ ค่าเส่ือมราคาอาคารลดลง ประจาปี 25x1 1,250 เดบติ ค่าเสื่อมราคาสะสม – อาคาร เครดติ ค่าเสือ่ มราคา – อาคาร (7) ปรับปรุงค่าเสอ่ื มราคาอุปกรณ์เพิม่ ขน้ึ ประจาปี 25x1 1,000 เดบติ ค่าเสือ่ มราคา – อุปกรณ์ 1,000 เครดติ ค่าเสื่อมราคาสะสม – อุปกรณ์ (8) ตดั จาหนา่ ยลิขสทิ ธ์ิ ประจาปี 25x1 1,500 เดบิต ค่าตัดจาหนา่ ยลขิ สิทธิ์ 1,500 เครดิต คา่ ตัดจาหนา่ ยลิขสิทธสิ์ ะสม (9) ตัดบัญชีเงินปนั ผลคา้ งรับ เงินปันผลค้างจา่ ยระหว่างกัน 16,000 เดบติ เงนิ ปันผลคา้ งจา่ ย 16,000 เครดิต เงนิ ปนั ผลคา้ งรับ จากตวั อย่างที่ 4.2 – 4.7 จะเหน็ ได้ว่า ไมว่ า่ บริษัทใหญ่จะใช้วธิ ีการบนั ทกึ บัญชเี งนิ ลงทนุ ด้วยวธิ ีราคาทุนหรือวิธีสว่ นไดเ้ สยี การนาเสนองบการเงินรวมจะไม่มคี วามแตกต่างกนั จะแตกตา่ ง กันเฉพาะ งบการเงนิ เฉพาะกจิ การของบริษัทใหญเ่ ท่าน้ัน โดยสามารถสรุปข้อแตกต่างไดด้ ังนี้ 1. ในวธิ ีราคาทนุ จะปรากฏบัญชเี งินปันผลรับเป็นรายได้ในงบกาไรขาดทนุ สว่ นวิธสี ่วนได้ เสียจะปรากฏบญั ชีส่วนแบ่งกาไรในบริษัทย่อยเป็นรายได้ 2. เมอ่ื แต่ละวิธีมจี านวนรายได้ที่ไม่เทา่ กัน สง่ ผลให้กาไรสุทธิ และกาไรสะสมในแตล่ ะวิธี จงึ ไมเ่ ท่ากันตามไปด้วย 3. ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุน ณ วันส้ินงวดจะไม่เท่ากัน ในวิธีราคาทุนจานวนเงิน ของบญั ชีเงินลงทุนไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงจากวันท่ีซ้ือหุ้น ส่วนในวิธีส่วนได้เสียจานวนเงินของบัญชี เงินลงทนุ จะเปลยี่ นแปลงไปตามสว่ นแบ่งกาไรในบรษิ ทั ยอ่ ย และเงินปนั ผลท่ไี ด้รับ
บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซอ้ื หนุ้ หนา้ | 197 การจัดทางบการเงินรวมหลงั วนั ซ้อื ห้นุ นานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบญั ชี การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้นนานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี มีวิธีการจัดทา เช่นเดียวกันกับกรณี หน่ึงรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งจะต้องมีการทาท้ัง งบกาไรขาดทุน กาไรสะสม และงบแสดงฐานะการเงิน โดยในท่ีน้ีจะอธิบายทั้ง กรณีท่ีบริษัทใหญ่ใช่วิธีราคาทุน และ กรณีท่ี บรษิ ทั ใหญใ่ ชว้ ิธสี ่วนไดเ้ สยี โดยจะใชก้ ระดาษทาการงบการเงนิ รวม ตามแบบที่รวมกันทกุ รายการ การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซอ้ื หุ้นนานกวา่ หนงึ่ รอบระยะเวลาบัญชี – วิธี ราคาทนุ การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้นนานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี กรณีบริษัทใหญ่ ใช้วิธีราคาทุนในการบันทึกบัญชี กาไรสุทธิของบริษัทใหญ่ ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี จะมีการ รวมเงนิ ปันผลที่ไดร้ ับจากบริษัทยอ่ ย และในกาไรสะสมของบริษัทใหญ่ ก็จะมีเงินปันผลที่ได้รับจาก บริษัทย่อย สะสมอยู่ตั้งแต่งวดแรกจนถึงงวดปัจจุบัน เช่นเดียวกัน ส่วนบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ย่อยจะแสดงราคาเท่ากับราคาที่บรษิ ทั ยอ่ ยซอ้ื ในครงั้ แรก การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซ้ือหุ้นนานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีแสดงได้ตาม ตวั อยา่ งที่ 4.8 ถงึ ตัวอยา่ งที่ 4.9 ดังตอ่ ไปน้ี ตัวอย่างที่ 4.8 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวนั ซอ้ื หุ้นนานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี – วธิ ีราคาทุน จากข้อมลู เดิมในตวั อย่างที่ 4.1 สมมตวิ า่ งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุน และกาไร สะสมของบริษัท จงรัก จากัด และบริษัท ภักดี จากัด ประจาปี ส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 แสดงได้ดงั น้ี
หน้า | 198 บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซ้อื หุ้น บรษิ ัท จงรัก จากัด และ บรษิ ทั ภกั ดี จากดั งบกาไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 หน่วย : บาท บริษทั จงรัก บรษิ ทั ภกั ดี วธิ รี าคาทนุ วธิ สี ว่ นได้เสีย ขาย 900,000 900,000 400,000 เงินปนั ผลรับ 24,000 -- สว่ นแบ่งกาไรในบรษิ ัทย่อย(บรษิ ัทภกั ดี) - 102,200 - รวมรายได้ 924,000 1,002,200 400,000 ต้นทุนขาย (400,000) (400,000) (200,000) คา่ เสอ่ื มราคา (50,000) (50,000) (10,250) ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงาน (200,000) (200,000) (60,750) รวมค่าใชจ้ า่ ย (650,000) (650,000) (271,000) กาไรสุทธิ 274,000 352,200 129,000 บริษัท จงรกั จากดั และ บรษิ ทั ภกั ดี จากดั การแสดงการเปล่ียนแปลงของกาไรสะสม ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x2 หน่วย : บาท บรษิ ัทจงรกั บรษิ ัทภักดี กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x2 วธิ ีราคาทนุ วธิ สี ่วนได้เสยี 395,000 429,200 116,000 บวก กาไรสุทธิ 274,000 352,200 129,000 หกั เงนิ ปนั ผลจ่าย (90,000) (90,000) (30,000) กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x2 579,000 691,400 215,000
บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซอื้ ห้นุ หนา้ | 199 บรษิ ทั จงรกั จากัด และ บริษทั ภักดี จากดั งบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x2 หน่วย : บาท บรษิ ัทจงรัก บรษิ ทั ภักดี วิธีราคาทนุ วิธสี ่วนไดเ้ สยี สนิ ทรัพย์ สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น เงนิ สด 190,000 190,000 62,000 ลูกหน้ี 46,000 46,000 45,000 สินค้าคงเหลือ 210,000 210,000 56,000 เงินปนั ผลค้างรบั 24,000 24,000 สินทรพั ยห์ มนุ เวียนอื่น 65,000 65,000 90,000 สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวียน เงินลงทนุ ในบริษทั ภกั ดี 400,000 512,400 ที่ดิน 900,000 900,000 300,000 อาคาร 300,000 300,000 75,000 คา่ เส่ือมราคาสะสม – อาคาร (120,000) (120,000) (37,500) อุปกรณ์ 200,000 200,000 30,000 ค่าเส่ือมราคาสะสม – อปุ กรณ์ (80,000) (80,000) (18,000) รวมสินทรพั ย์ 2,135,000 2,247,400 602,500 หน้ีสินและสว่ นของผู้ถือหุ้น หนี้สนิ หมนุ เวียน เจ้าหนี้ 156,000 156,000 7,500 เงนิ ปนั ผลค้างจา่ ย - - 30,000 เงินกู้ 100,000 100,000 - สว่ นของผู้ถือหุ้น ทนุ หนุ้ สามญั 1,000,000 1,000,000 300,000 สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั 300,000 300,000 50,000 กาไรสะสม 579,000 691,400 215,000 รวมหนีส้ นิ และส่วนของผู้ถอื หุ้น 2,135,000 2,247,400 602,500
หน้า | 200 บทที่ 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวันซือ้ หุ้น กระดาษทางบการเงินรวมหลังวนั ซ้ือหนุ้ นานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบญั ชี – วธิ รี าคาทนุ บรษิ ัท จงรัก จากดั และ บริษัท ภกั ดี จากัด กระดาษทาการเพือ่ ทางบการเงนิ รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 หน่วย : บาท บรษิ ัท บรษิ ทั รายการปรับปรุง งบการเงนิ จงรกั ภกั ดี และตดั บัญชี รวม เดบติ เครดิต งบกาไรขาดทนุ ขาย 900,000 400,000 1,300,000 เงนิ ปันผลรับ 24,000 - (3)24,000 - ต้นทุนขาย (400,000) (200,000) (600,000) ค่าเสื่อมราคา (50,000) (10,250) (8)1,000 (7)1,250 (60,000) ค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ งาน (200,000) (60,750) (9)1,500 (262,250) ส่วนได้เสยี ท่ไี ม่มีอานาจควบคุมใน (4)25,550 (25,550) กาไรสทุ ธิ กาไรสุทธิ 274,000 129,000 352,200 กาไรสะสม กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x2 – จงรกั 395,000 (8)800 (5)6,400 429,200 (9)1,200 (7)1,000 กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x2 – ภกั ดี 274,000 116,000 (1)116,000 (6)28,800 352,200 กาไรสทุ ธิ (90,000) 129,000 (3)24,000 (90,000) เงนิ ปันผลจ่าย – จงรัก เงนิ ปันผลจ่าย – ภกั ดี (30,000) (4)6,000 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x2 579,000 215,000 691,400
บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวันซอื้ หุ้น หน้า | 201 บรษิ ทั บรษิ ัท รายการปรบั ปรงุ งบการเงนิ จงรัก ภกั ดี และตดั บญั ชี รวม เดบิต เครดติ งบแสดงฐานะการเงิน 190,000 62,000 (2)28,800 (10)24,000 252,000 46,000 45,000 (1)372,800 91,000 สินทรพั ย์ 210,000 56,000 (5)50,000 (5)41,600 266,000 เงินสด 24,000 (5)5,000 (6)14,400 ลกู หน้ี 65,000 - (7)2,500 (5)15,000 - สนิ ค้าคงเหลอื 400,000 90,000 (5)7,500 155,000 เงินปนั ผลค้างรบั (5)2,500 สนิ ทรัพยห์ มุนเวียนอืน่ 900,000 - (6)14,400 (8)2,000 1,250,000 เงนิ ลงทนุ ในบริษัทภักดี 300,000 (5)15,000 360,000 (120,000) 300,000 (9)3,000 (150,000) ทด่ี ิน 75,000 อาคาร 200,000 (37,500) 237,500 ค่าเสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร (80,000) (102,500) 30,000 อปุ กรณ์ 2,135,000 (18,000) 14,400 คา่ เสื่อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 15,000 602,500 (3,000) คา่ ความนิยม 2,385,400 ลขิ สทิ ธ์ิ คา่ ตัดจาหน่ายลขิ สิทธส์ิ ะสม 156,000 7,500 163,500 - 30,000 (10)24,000 6,000 รวมสินทรัพย์ หนสี้ ินและสว่ นของผ้ถู อื หุ้น 100,000 - 100,000 เจา้ หนี้ 1,000,000 1,000,000 เงินปันผลค้างจา่ ย 300,000 (1)300,000 เงนิ กู้ 300,000 300,000 ทนุ หุ้นสามญั – จงรกั 50,000 (1)50,000 ทนุ หุ้นสามญั – ภักดี 579,000 215,000 691,400 สว่ นเกินมูลคา่ หุ้นสามญั – จงรกั สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั – ภักดี กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x2
หน้า | 202 บทที่ 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซอ้ื ห้นุ ส่วนได้เสียท่ไี มม่ ีอานาจควบคมุ บรษิ ทั บรษิ ัท รายการปรบั ปรงุ งบการเงนิ รวมหน้สี ินและส่วนของผถู้ ือหุ้น จงรกั ภกั ดี และตัดบญั ชี รวม 2,135,000 602,500 เดบติ เครดิต 124,500 (8)200 (1)93,200 2,385,400 (9)300 (4)19,550 (5)10,400 (5)1,600 (7)250 รายการปรับปรงุ และตัดบญั ชี (1) ตัดบัญชีเงนิ ลงทนุ ในบริษัทย่อยกับส่วนของผู้ถือหุ้นของบรษิ ทั ยอ่ ย และบันทกึ สว่ นไดเ้ สียทีไ่ มม่ ี อานาจควบคุม เดบิต ทนุ หนุ้ สามญั – บริษัท ภักดี จากดั 300,000 สว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามญั – บริษทั ภักดี จากัด 50,000 กาไรสะสมต้นปี – บริษทั ภกั ดี จากัด 116,000 เครดิต เงนิ ลงทนุ ในบริษทั ภกั ดี จากัด (80%) 372,800 สว่ นได้เสยี ทไี่ มม่ อี านาจควบคมุ (NCI)(20%) 93,200 (2) ปรับปรุงเงินลงทนุ ในบริษทั ย่อย ด้วยสว่ นได้เสียท่เี พ่ิมขน้ึ ในกาไรสะสมของบริษทั ย่อย เดบติ เงนิ ลงทุนในบรษิ ัท ภกั ดี จากัด (80%) 28,800 เครดิต กาไรสะสมต้นปี – บรษิ ทั จงรกั จากัด 28,800 (กาไรสะสมต้นปีบริษทั ย่อย 25x1 80,000 – กาไรสะสมต้นปี 25x2 116,000 = 36,000 x 80%) (3) ตดั รายการเงนิ ปันผลรับของบริษัทย่อยออก ไมถ่ ือวา่ เปน็ รายไดข้ องกล่มุ กจิ การ เดบิต เงนิ ปันผลรบั 24,000 เครดิต เงนิ ปันผลจ่าย – บรษิ ัท ภกั ดี จากัด 24,000
บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซ้ือหุน้ หน้า | 203 (4) ตัดรายการเงินลงทุนท่ีเปลยี่ นแปลงในงวดปัจจุบนั (ของส่วนได้เสียท่ีไม่มีอานาจควบคุม) เดบติ สว่ นไดเ้ สียที่ไมม่ อี านาจควบคุมในกาไรสทุ ธิ 25,550 เครดิต เงินปันผลจ่าย – บรษิ ทั ภกั ดี จากัด 6,000 ส่วนได้เสยี ทไ่ี ม่มีอานาจควบคุม 19,550 คานวณส่วนไดเ้ สียท่ีไมม่ ีอานาจควบคุมในกาไรสุทธิ ได้ดังนี้ กาไรสุทธิบริษัทยอ่ ย 129,000 ปรบั ปรงุ ค่าใช้จ่ายหรือรายได้ท่บี ันทึกไว้ต่าไป บวก คา่ เสอื่ มราคาอาคารลดลง 1,250 หกั ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์เพ่ิมขึน้ (1,000) หกั ค่าตัดจาหนา่ ยลิขสทิ ธ์ิ (1,500) (1,250) กาไรสุทธขิ องบริษัทย่อยท่ีปรับปรงุ แลว้ 127,750 คณู สว่ นไดเ้ สียในบรษิ ัทท่ไี ปลงทนุ 20% ส่วนไดเ้ สยี ทไี่ ม่มีอานาจควบคมุ ในกาไรสุทธิ 25,550 (5) โอนส่วนเกนิ ไปปรับปรุงบัญชที ่เี กยี่ วข้อง 50,000 เดบิต ท่ดี ิน 5,000 คา่ เสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร อุปกรณ์ 7,500 ลขิ สิทธิ์ 15,000 เครดิต กาไรสะสมต้นปี – บริษทั จงรัก (ต้นทุนขาย) ส่วนไดเ้ สียทไ่ี มม่ อี านาจควบคมุ (NCI)(20%) 6,400 อาคาร ค่าเส่อื มราคาสะสม – อุปกรณ์ 1,600 เงินลงทนุ ในบริษทั ภักดี จากัด (80%) 15,000 2,500 สว่ นได้เสยี ท่ไี ม่มอี านาจควบคมุ (NCI)(20%) 41,600 10,400 (6) บนั ทกึ คา่ ความนิยมทเ่ี กิดจากการรวมธุรกิจ 14,400 เดบติ คา่ ความนิยม 14,400 เครดิต เงนิ ลงทุนในบริษทั ภกั ดี จากัด (80%)
หนา้ | 204 บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซือ้ ห้นุ (7) ปรับปรงุ ค่าเสื่อมราคาอาคารลดลง 2,500 เดบิต คา่ เส่ือมราคาสะสม – อาคาร (1,250 x 2 ป)ี 1,250 เครดิต ค่าเส่ือมราคา – อาคาร 1,000 กาไรสะสมต้นปี – บรษิ ัท จงรัก จากัด 250 สว่ นได้เสียทไี่ มม่ ีอานาจควบคุม (8) ปรบั ปรงุ ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์เพิ่มขึน้ เดบติ คา่ เสอื่ มราคา – อปุ กรณ์ 1,000 กาไรสะสมต้นปี – บรษิ ทั จงรกั จากดั 800 ส่วนได้เสยี ทไ่ี มม่ ีอานาจควบคมุ 200 เครดติ คา่ เส่อื มราคาสะสม – อุปกรณ์ (1,000 x 2 ปี) 2,000 (9) ตัดจาหนา่ ยลขิ สิทธิ์ เดบิต คา่ ตัดจาหน่ายลขิ สิทธิ์ 1,500 กาไรสะสมต้นปี – บรษิ ทั จงรัก จากัด 1,200 สว่ นได้เสยี ทไ่ี มม่ ีอานาจควบคุม 300 เครดิต คา่ ตัดจาหน่ายลขิ สิทธส์ิ ะสม (1,500 x 2 ปี) 3,000 (10) ตัดบัญชีเงินปนั ผลคา้ งรับ เงนิ ปนั ผลค้างจา่ ยระหวา่ งกนั 24,000 เดบติ เงนิ ปันผลคา้ งจ่าย 24,000 เครดติ เงนิ ปนั ผลค้างรับ การจดั ทางบการเงินรวมหลงั วนั ซ้ือหุ้นนานกวา่ หน่ึงรอบระยะเวลาบัญชี – วิธสี ่วน ได้เสีย การจัดทางบการเงนิ รวมหลงั วนั ซ้ือหนุ้ นานกวา่ หนึง่ รอบระยะเวลาบัญชี กรณบี ริษทั ใหญ่ ใชว้ ธิ ีสว่ นได้เสียในการบันทึกบญั ชี กาไรสุทธิของบริษัทใหญ่ในแตล่ ะรอบระยะเวลาบัญชี จะมกี าร รวมสว่ นแบง่ กาไรในบริษัทย่อย ตามสัดสว่ นทีบ่ ริษทั ใหญถ่ อื หุน้ อยู่ และในกาไรสะสมของบรษิ ทั ใหญ่ ก็จะมสี ่วนแบ่งกาไรในบริษทั ย่อย รวมอยู่เช่นเดียวกัน สว่ นบญั ชีเงินลงทุนในบรษิ ัทย่อยจะ เปลี่ยนแปลงไปตามส่วนแบ่งกาไร และเงนิ ปันผลที่ได้รบั ในแต่ละงวดบญั ชี ดังแสดงได้ตาม ตวั อย่างท่ี 4.9
บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวนั ซ้ือหุ้น หน้า | 205 ตัวอยา่ งท่ี 4.9 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซอ้ื หุ้นนานกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบญั ชี – วิธีส่วนไดเ้ สีย จากขอ้ มลู ในตัวอย่างที่ 4.8 กระดาษทาการงบการเงนิ รวมหลังวนั ซือ้ หนุ้ นานกว่าหนึ่งรอบ ระยะเวลาบญั ชี กรณีแสดงตามวิธีสว่ นได้เสีย ไดด้ งั น้ี กระดาษทางบการเงินรวมหลังวนั ซือ้ หุน้ นานกว่าหน่ึงรอบระยะเวลาบญั ชี – วิธสี ว่ นไดเ้ สยี บรษิ ัท จงรกั จากดั และ บรษิ ทั ภกั ดี จากดั กระดาษทาการเพื่อทางบการเงนิ รวม ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x2 หน่วย : บาท บรษิ ทั บริษัท รายการปรับปรงุ งบการเงนิ จงรัก ภักดี และตัดบญั ชี รวม เดบติ เครดติ งบกาไรขาดทนุ ขาย 900,000 400,000 1,300,000 ส่วนแบ่งกาไรในบรษิ ทั ยอ่ ย(ภกั ด)ี 102,200 - (2)102,200 - ต้นทุนขาย (400,000) (200,000) (600,000) ค่าเส่ือมราคา (50,000) (10,250) (7)1,000 (6)1,250 (60,000) คา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงาน (200,000) (60,750) (8)1,500 (262,250) ส่วนไดเ้ สยี ทีไ่ มม่ อี านาจควบคุมใน (3)25,550 (25,550) กาไรสุทธิ กาไรสุทธิ 352,200 129,000 352,200 กาไรสะสม กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x2 – จงรัก 429,200 429,200 กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x2 – ภักดี 352,200 116,000 (1)116,000 352,200 กาไรสุทธิ (90,000) 129,000 (90,000) เงนิ ปนั ผลจ่าย – จงรัก เงินปนั ผลจา่ ย – ภักดี 691,400 (30,000) (2)24,000 691,400 215,000 (3)6,000 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x2
หน้า | 206 บทท่ี 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซ้ือห้นุ บรษิ ทั บริษัท รายการปรบั ปรงุ งบการเงนิ จงรกั ภักดี และตดั บัญชี รวม เดบติ เครดติ งบแสดงฐานะการเงนิ 190,000 62,000 (9)24,000 252,000 46,000 45,000 91,000 สินทรัพย์ 210,000 56,000 (1)372,800 266,000 24,000 (2)78,200 เงินสด 65,000 - (4)6,400 - ลกู หนี้ 512,400 90,000 (4)41,600 155,000 สนิ คา้ คงเหลือ (5)14,400 เงินปันผลคา้ งรับ - (7)800 (6)1,000 สินทรัพยห์ มุนเวยี นอ่ืน (8)1,200 เงนิ ลงทนุ ในบริษทั ภักดี ท่ีดนิ 900,000 300,000 (4)50,000 (4)15,000 1,250,000 อาคาร 300,000 75,000 360,000 คา่ เสอื่ มราคาสะสม – อาคาร (120,000) (37,500) (4)5,000 (4)2,500 (150,000) 200,000 (6)2,500 (8)2,000 อุปกรณ์ (80,000) 30,000 (4)7,500 (8)3,000 237,500 ค่าเสอ่ื มราคาสะสม – อุปกรณ์ (18,000) (102,500) 2,247,400 คา่ ความนยิ ม (5)14,400 14,400 ลขิ สทิ ธ์ิ (4)15,000 15,000 ค่าตดั จาหน่ายลิขสทิ ธ์ิสะสม (3,000) 602,500 2,385,400 รวมสินทรัพย์
บทท่ี 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซอ้ื หุ้น หน้า | 207 บริษทั บรษิ ทั รายการปรับปรุง งบการเงนิ จงรัก ภักดี และตดั บัญชี รวม เดบติ เครดติ หนส้ี นิ และส่วนของผูถ้ อื ห้นุ 156,000 7,500 163,500 - 30,000 (9)24,000 6,000 เจ้าหน้ี เงินปันผลค้างจา่ ย 100,000 - 100,000 เงนิ กู้ 1,000,000 1,000,000 ทนุ หุ้นสามัญ – จงรกั 300,000 (1)300,000 ทนุ หุน้ สามัญ – ภักดี 300,000 300,000 ส่วนเกินมูลคา่ หนุ้ สามญั – จงรกั 50,000 (1)50,000 691,400 ส่วนเกินมูลคา่ หนุ้ สามญั – ภกั ดี 691,400 215,000 124,500 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x2 (7)200 สว่ นได้เสียท่ไี ม่มีอานาจควบคุม (8)300 (1)93,200 2,385,400 (3)19,550 (4)1,600 (4)10,400 (6)250 รวมหนส้ี นิ และสว่ นของผถู้ ือหนุ้ 2,247,400 602,500 รายการปรับปรุงและตัดบัญชี (1) ตดั บญั ชีเงินลงทนุ ในบริษัทย่อยกับส่วนของผถู้ ือหุ้นของบรษิ ทั ยอ่ ย และบันทึกส่วนไดเ้ สียท่ไี มม่ ี อานาจควบคมุ เดบิต ทนุ หนุ้ สามญั – บริษัท ภักดี จากัด 300,000 สว่ นเกนิ มูลค่าหนุ้ สามัญ – บรษิ ัท ภกั ดี จากัด 50,000 กาไรสะสมตน้ ปี – บริษทั ภกั ดี จากัด 116,000 เครดิต เงนิ ลงทนุ ในบริษัท ภักดี จากัด (80%) 372,800 ส่วนได้เสียทไ่ี ม่มีอานาจควบคมุ (NCI)(20%) 93,200 (2) ตัดสว่ นแบ่งกาไรในบรษิ ัทย่อยออก ไมถ่ ือว่าเป็นรายได้ของกลมุ่ กจิ การ เดบิต ส่วนแบง่ กาไรในบรษิ ัทย่อย(ภกั ด)ี 102,200 เครดิต เงนิ ปันผลจ่าย – บรษิ ัท ภกั ดี จากัด 24,000 78,200 เงินลงทุนในบริษทั ภักดี จากัด (80%)
หน้า | 208 บทที่ 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวันซอื้ หุ้น (3) ตัดรายการเงนิ ลงทุนทเี่ ปลีย่ นแปลงในงวดปจั จบุ นั (ของสว่ นได้เสียท่ีไม่มีอานาจควบคมุ ) เดบิต ส่วนไดเ้ สียที่ไมม่ อี านาจควบคุมในกาไรสทุ ธิ 25,550 เครดิต เงนิ ปันผลจ่าย – บริษัท ภักดี จากัด 6,000 ส่วนได้เสยี ทไี่ มม่ อี านาจควบคุม 19,550 คานวณส่วนไดเ้ สียที่ไมม่ อี านาจควบคมุ ในกาไรสุทธิ ได้ดังน้ี กาไรสุทธิบริษัทย่อย 129,000 ปรบั ปรงุ ค่าใช้จ่ายหรือรายไดท้ บี่ นั ทึกไว้ต่าไป (1,250) บวก ค่าเสอ่ื มราคาอาคารลดลง 1,250 127,750 หกั ค่าเสื่อมราคาอปุ กรณเ์ พมิ่ ขึ้น (1,000) 20% 25,550 หัก ค่าตัดจาหนา่ ยลขิ สิทธ์ิ (1,500) กาไรสุทธิของบริษทั ย่อยท่ีปรับปรุงแลว้ คณู ส่วนไดเ้ สยี ในบริษทั ท่ไี ปลงทนุ สว่ นได้เสียทไี่ ม่มอี านาจควบคุมในกาไรสุทธิ (4) โอนสว่ นเกินไปปรับปรงุ บัญชที ีเ่ กย่ี วข้อง 50,000 5,000 เดบติ ทด่ี นิ คา่ เสอื่ มราคาสะสม – อาคาร 7,500 อปุ กรณ์ 15,000 ลิขสทิ ธ์ิ เครดติ เงนิ ลงทนุ ในบริษทั ภกั ดี จากัด(ต้นทุนขาย) 6,400 ส่วนไดเ้ สียทไ่ี ม่มีอานาจควบคุม (NCI)(20%) อาคาร 1,600 คา่ เส่อื มราคาสะสม – อุปกรณ์ 15,000 เงินลงทนุ ในบริษัท ภักดี จากัด (80%) 2,500 สว่ นไดเ้ สยี ทไี่ มม่ ีอานาจควบคุม (NCI)(20%) 41,600 10,400 (5) บันทึกคา่ ความนิยมทเ่ี กิดจากการรวมธุรกิจ 14,400 เดบติ คา่ ความนยิ ม 14,400 เครดติ เงินลงทุนในบรษิ ัท ภักดี จากัด (80%)
บทที่ 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซอ้ื หุน้ หนา้ | 209 (6) ปรับปรุงค่าเส่ือมราคาอาคารลดลง 2,500 เดบิต ค่าเสือ่ มราคาสะสม – อาคาร(1,250 x 2 ปี) 1,250 เครดติ ค่าเสอ่ื มราคา – อาคาร 1,000 เงินลงทุนในบรษิ ทั ภักดี จากัด 250 สว่ นได้เสยี ทีไ่ มม่ อี านาจควบคมุ (7) ปรับปรงุ ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์เพิ่มข้ึน เดบติ ค่าเสือ่ มราคา – อปุ กรณ์ 1,000 เงนิ ลงทนุ ในบรษิ ัท ภักดี จากัด 800 ส่วนไดเ้ สยี ทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม 200 เครดติ ค่าเสือ่ มราคาสะสม – อุปกรณ์ (1,000 x 2 ป)ี 2,000 (8) ตัดจาหนา่ ยลิขสิทธิ์ เดบิต คา่ ตัดจาหนา่ ยลิขสิทธ์ิ 1,500 เงนิ ลงทุนในบรษิ ทั ภกั ดี จากัด 1,200 ส่วนได้เสยี ที่ไมม่ อี านาจควบคมุ 300 เครดติ คา่ ตัดจาหนา่ ยลขิ สิทธสิ์ ะสม (1,500 x 2 ปี) 3,000 (9) ตัดบัญชเี งินปันผลคา้ งรับ เงนิ ปนั ผลค้างจา่ ยระหวา่ งกัน 24,000 เดบิต เงนิ ปนั ผลค้างจ่าย 24,000 เครดติ เงินปนั ผลคา้ งรับ
หน้า | 210 บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวนั ซอ้ื หนุ้ สรุป งบการเงินรวมหลังวนั ซ้ือหุ้นสามารถทาได้ท้ัง งบแสดงฐานะการเงนิ รวม งบกาไรขาดทนุ รวม และกาไรสะสม การจดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ รวมหลงั วันซอ้ื หุ้นจะใชข้ ้อมูลจากงบแสดง ฐานะการเงนิ ของบริษัทใหญ่ และ บริษัทย่อย ณ วันเดยี วกัน โดยนาบัญชีต่าง ๆ มารวมกนั ทลี ะ บัญชี แล้วตัดบญั ชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยกับส่วนของผู้ถือหนุ้ ในบริษัทย่อย และรายการระหว่าง กันอ่ืน ๆ ในกรณีทบ่ี ริษัทใหญ่ซอ้ื หุ้นบริษัทย่อยในราคาทุนไมเ่ ท่ากับมูลค่าตามบญั ชีของสนิ ทรพั ย์ สุทธบิ รษิ ัทยอ่ ย การตัดบัญชจี ะตอ้ งมกี ารปรับปรงุ สาเหตุของการซอ้ื ห้นุ ในราคาทไี่ ม่เท่ากบั มูลค่า ตามบัญชขี องสนิ ทรัพยส์ ทุ ธิบรษิ ทั ย่อย รวมท้งั อาจมีการบนั ทกึ ขาดทุนจากการด้อยค่าค่าความ นยิ ม หรือการคิดคา่ เส่ือมราคาด้วย งบกาไรขาดทนุ รวม แสดงผลการดาเนินงานของบริษัทใหญแ่ ละบริษัทย่อยเสมือนเปน็ บริษัทเดยี วกนั รายได้และค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ในงบกาไรขาดทนุ รวมเทา่ กับรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายของ บรษิ ทั ใหญ่กับบริษัทยอ่ ยรวมกนั หลังจากนน้ั นารายไดร้ วมหกั ดว้ ยค่าใช้จ่ายรวมจะไดย้ อดกาไร สทุ ธิรวม ในกรณีทบ่ี ริษทั ใหญ่ซ้อื หนุ้ บางส่วนของบรษิ ัทย่อยจะมสี ว่ นได้เสยี ที่ไม่มีอานาจควบคุม จึงต้องนากาไรของสว่ นได้เสียทไ่ี ม่มีอานาจควบคมุ มาหักออกก่อน จงึ จะได้ยอดกาไรสุทธิรวม กาไรสะสมรวม เปน็ การแสดงการเปล่ียนแปลงของกาไรสะสม โดยแสดงยอดกาไรสะสม ต้นงวดบวกด้วยกาไรขาดทนุ สทุ ธิรวม หักด้วยเงินปนั ผลท่ีบรษิ ทั ใหญ่ประกาศจ่าย ยอดทเี่ หลอื ก็จะ เปน็ กาไรสะสมปลายงวด การจดั ทางบการเงนิ รวมจะมีการนากระดาษมาเปน็ เครอื่ งมือที่ช่วยใหก้ ารจดั ทางบการเงิน รวมง่ายและสะดวกขึ้น โดยมีรูปแบบของการจัดทากระดาษทาการหลายรูปแบบ ซ่ึงในบทนี้ ได้ นาเสนอแบบแยกทีละงบได้แก่ กระดาษทาการงบกาไรขาดทุนรวม และกระดาษทาการงบแสดง ฐานะการเงินรวม และนอกจากน้ยี งั มีการจดั ทากระดาษทาการแบบรวมกันทุกรายการซ่ึงประกอบ ไปด้วย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม กาไรสะสมและงบแสดงฐานะการเงินรวม ซ่ึงจะจัดทาท้ัง 3 งบลงในกระดาษทาการเดียวกัน แต่ถึงอย่างไรก็ตามไม่ว่าจะใช้แบบฟอร์มใดในการจัดทา ตัว เลขทีแ่ สดงในงบการเงนิ จะเป็นตวั เลขเดียวกนั
บทท่ี 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซื้อห้นุ หนา้ | 211 แบบฝกึ หดั ข้อ 1. เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 25x1 บริษทั อรนชุ จากัด ซ้ือหุ้นสามญั ของ บริษทั สุภาดา จากัด 90% ในราคา 800,000 บาท โดยจ่ายเป็นเงนิ สด ณ วนั นี้ส่วนของผู้ถือหุ้นของบรษิ ัท สภุ าดา จากัด ประกอบดว้ ย ทนุ หุ้นสามญั 300,000 บาท ส่วนเกนิ มูลคา่ หุ้นสามญั 180,000 บาท และ กาไรสะสม 250,000 บาท ณ วันท่ี 1 มกราคม 25x1 สนิ ทรัพยข์ องบรษิ ทั สภุ าดา จากดั มรี าคาไม่เท่ากบั มลู คา่ ยตุ ิธรรม ดังน้ี มูลค่าตามบัญชี มูลคา่ ยตุ ิธรรม สนิ คา้ คงเหลือ(ขายหมดในปี 25x1) 35,000 20,000 ทีด่ นิ 250,000 300,000 อาคาร (อายุการใชง้ านเหลืออยู่ 4 ปี) 80,000 50,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม – อาคาร (16,000) ยานพาหนะ (อายุการใชง้ านเหลืออยู่ 3 ปี) 90,000 60,000 ค่าเส่อื มราคาสะสม – ยานพาหนะ (36,000) นอกจากนใ้ี นงบการเงินของ บริษัท สภุ าดา จากัด ยังไม่ไดบ้ นั ทึก สิทธบิ ัตร ซ่ึงมีราคา ยุตธิ รรม 10,000 บาท ทยี่ งั ไม่ได้บันทกึ บัญชี อาคารและอุปกรณ์คดิ ค่าเส่ือมราคาวิธีเสน้ ตรง สทิ ธิบัตรมีอายุ 10 ปี ณ 31 ธนั วาคม 25x1 บรษิ ัทสุภาดามีการประกาศจ่ายเงนิ ปันผล เป็นเงนิ สด จานวน 40,000 บาท โดยจะจ่ายใหใ้ นวนั ท่ี 15 มีนาคม 25x2 และมีกาไรสุทธิ 52,000 บาท บริษัททงั้ สอง ใช้วิธเี ข้าก่อนออกก่อน(FIFO)ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ งบแสดงฐานะการเงนิ งบกาไรขาดทุน และกาไรสะสมของบรษิ ทั อรนชุ จากัด และบริษทั สภุ าดา จากดั ประจาปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 แสดงได้ดังน้ี
หนา้ | 212 บทที่ 4 การจัดทางบการเงนิ รวมหลังวนั ซอ้ื หุ้น บรษิ ทั อรนชุ จากัด และ บริษัท สภุ าดา จากดั งบกาไรขาดทุน ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 หน่วย : บาท บรษิ ทั อรนชุ บรษิ ทั วธิ ีราคาทุน วิธสี ่วนไดเ้ สยี สภุ าดา ขาย 950,000 950,000 550,000 เงินปันผลรับ 36,000 -- ส่วนแบ่งกาไรในบรษิ ัทย่อย(บรษิ ทั สุภาดา) - 60,750 - รวมรายได้ 986,000 1,010,750 550,000 ตน้ ทุนขาย (480,000) (480,000) (375,000) ค่าเสอื่ มราคา (65,000) (65,000) (34,000) คา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินงาน (135,000) (135,000) (89,000) รวมค่าใชจ้ ่าย (680,000) (680,000) (498,000) กาไรสุทธิ 306,000 330,750 52,000 บรษิ ทั อรนุช จากดั และ บรษิ ทั สุภาดา จากัด การแสดงการเปลี่ยนแปลงของกาไรสะสม ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บริษทั อรนุช บรษิ ทั กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x1 วิธรี าคาทนุ วธิ ีสว่ นได้เสยี สุภาดา 460,000 460,000 250,000 บวก กาไรสทุ ธิ 306,000 330,750 52,000 หกั เงนิ ปันผลจ่าย (50,000) (50,000) (40,000) กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1 716,000 740,750 262,000
บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวนั ซือ้ หนุ้ หนา้ | 213 บรษิ ทั อรนุช จากัด และ บริษทั สภุ าดา จากัด งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 หน่วย : บาท บรษิ ทั อรนชุ บรษิ ัท วิธรี าคาทนุ วิธสี ่วนได้เสยี สุภาดา สินทรัพย์ สินทรัพยห์ มุนเวียน เงนิ สด 61,500 61,500 279,000 ลูกหน้ี 140,000 140,000 160,000 สินคา้ คงเหลือ 205,000 205,000 119,000 เงนิ ปันผลคา้ งรบั 36,000 36,000 - สินทรัพย์ไมห่ มุนเวยี น เงินลงทนุ ในบริษทั สุภาดา 800,000 824,750 ที่ดนิ 545,000 545,000 450,000 อาคาร 600,000 600,000 80,000 ค่าเส่ือมราคาสะสม – อาคาร (180,000) (180,000) (32,000) ยานพาหนะ 250,000 250,000 90,000 คา่ เส่ือมราคาสะสม – ยานพาหนะ (150,000) (150,000) (54,000) รวมสินทรัพย์ 2,307,500 2,332,250 1,092,000 หนส้ี นิ และส่วนของผูถ้ ือหุ้น หนสี้ นิ หมนุ เวียน เจ้าหน้ี 491,500 491,500 110,000 เงินปนั ผลคา้ งจ่าย - - 40,000 เงนิ กู้ 400,000 400,000 200,000 สว่ นของผู้ถือหุ้น ทนุ หนุ้ สามญั 500,000 500,000 300,000 ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นสามญั 200,000 200,000 180,000 กาไรสะสม 716,000 740,750 262,000 รวมหน้ีสินและสว่ นของผู้ถือหุ้น 2,307,500 2,332,250 1,092,000
หน้า | 214 บทที่ 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวนั ซือ้ หุ้น ใหท้ า 1. แสดงการคานวณผลต่างระหวา่ งราคาทุนของเงินลงทนุ และราคาตามบัญชี 2. แสดงการตัดจาหนา่ ยส่วนเกนิ ณ วันสน้ิ งวด 3. บนั ทกึ บญั ชีในสมุดบัญชขี องบริษทั อรนชุ จากัด ตามวิธีราคาทุนในปี 25x1 4. บนั ทกึ บญั ชใี นสมุดบัญชขี องบรษิ ัท อรนชุ จากัด ตามวิธีส่วนได้เสียในปี 25x1 5. คานวณบัญชเี งินลงทนุ ในบรษิ ทั ย่อย ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 ตามวิธีส่วนได้เสยี 6. กระดาษทาการเพอื่ จัดทางบการเงนิ รวมตามแบบทรี่ วมกันทกุ รายการ – วิธรี าคาทุน 7. รายการตัดบัญชีในกระดาษทาการเพือ่ จดั ทางบการเงินรวมในรปู แบบเดบิต เครดิต – วิธรี าคาทุน 8. กระดาษทาการเพ่ือจัดทางบการเงินรวมตามแบบท่รี วมกนั ทุกรายการ – วิธสี ่วนได้เสีย 9. รายการตัดบญั ชีในกระดาษทาการเพอ่ื จดั ทางบการเงินรวมในรูปแบบเดบิตเครดิต – วธิ ีส่วนไดเ้ สยี ขอ้ 2. เมื่อวันท่ี 1 มกราคม 25x1 บรษิ ัท นพิ ชั จากดั ซ้ือหุน้ สามัญของ บรษิ ัท วัชระ จากดั 80% ในราคา 236,600 บาท โดยจา่ ยเปน็ เงินสด ณ วนั นี้ส่วนของผถู้ ือหุน้ ของบริษัท วชั ระ จากดั ประกอบด้วย ทุนห้นุ สามัญ 150,000 บาท ส่วนเกนิ มูลค่าหนุ้ สามญั 50,000 บาท และกาไรสะสม 45,000 บาท ณ วนั ที่ 1 มกราคม 25x1 สนิ ทรัพยข์ องบริษัท วชั ระ จากัด มีราคาไมเ่ ท่ากับมลู ค่ายุติธรรม ดงั นี้ มลู ค่าตามบัญชี มลู คา่ ยตุ ิธรรม สินคา้ คงเหลือ(ขายหมดในปี 25x1) 15,000 20,000 ที่ดิน 120,000 150,000 อาคาร (อายุการใช้งานเหลืออยู่ 10 ปี) 60,000 40,000 ค่าเส่ือมราคาสะสม – อาคาร (10,000) อปุ กรณ์ (อายุการใชง้ านเหลืออยู่ 5 ปี) 85,000 72,000 ค่าเส่อื มราคาสะสม – อุปกรณ์ (20,000) นอกจากนใ้ี นงบการเงนิ ของ บรษิ ัท วชั ระ จากัด ยงั ไม่ได้บนั ทกึ สิทธบิ ัตร ซ่ึงมีราคา ยตุ ธิ รรม 5,000 บาท ที่ยงั ไม่ไดบ้ ันทึกบัญชี อาคารและอุปกรณ์คิดคา่ เสอื่ มราคาวธิ เี สน้ ตรง สิทธบิ ตั รมีอายุ 10 ปี
บทที่ 4 การจัดทางบการเงินรวมหลังวันซอื้ หุน้ หนา้ | 215 ณ 31 ธันวาคม 25x1 บรษิ ทั ยอ่ ยมกี ารประกาศจ่ายเงนิ ปันผล เป็นเงนิ สด จานวน 15,000 บาท โดยจะจา่ ยให้ในวันท่ี 15 เมษายน 25x2 และมกี าไรสุทธิ 44,000 บาท บริษทั ท้ังสองใช้วิธีเข้า กอ่ นออกก่อน(FIFO)ในการตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุน และกาไรสะสมของบรษิ ัท นพิ ชั จากดั และบริษัท วัชระ จากัด ประจาปี ส้ินสุดวนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 แสดงได้ดงั นี้ บรษิ ทั นิพชั จากดั และ บรษิ ทั วชั ระ จากดั งบกาไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บรษิ ทั นิพัช บรษิ ัท วิธีราคาทุน วธิ ีสว่ นได้เสยี วัชระ ขาย 195,000 195,000 95,000 เงินปนั ผลรับ 12,000 -- สว่ นแบง่ กาไรในบริษัทย่อย(บรษิ ัทสุภาดา) - 30,480 - รวมรายได้ 207,000 225,480 95,000 ตน้ ทุนขาย (85,500) (85,500) (27,000) คา่ เสื่อมราคา (45,000) (45,000) (18,000) คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินงาน (14,000) (14,000) (6,000) รวมค่าใช้จา่ ย (144,500) (144,500) (51,000) กาไรสุทธิ 62,500 80,980 44,000 บรษิ ทั นพิ ัช จากัด และ บริษทั วัชระ จากัด การแสดงการเปล่ียนแปลงของกาไรสะสม ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บรษิ ัทนิพชั บริษทั กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x1 วธิ รี าคาทนุ วิธีสว่ นไดเ้ สีย วัชระ 76,000 76,000 45,000 บวก กาไรสุทธิ 62,500 80,980 44,000 หกั เงนิ ปันผลจ่าย (30,000) (30,000) (15,000) กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1 108,500 126,980 74,000
หน้า | 216 บทที่ 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวนั ซือ้ หุน้ บรษิ ัท นิพัช จากดั และ บริษทั วัชระ จากดั งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บริษัทนิพัช บริษัท วิธรี าคาทุน วิธสี ว่ นไดเ้ สยี วชั ระ สนิ ทรัพย์ สนิ ทรัพย์หมุนเวียน เงินสด 70,800 70,800 59,000 ลูกหนี้ 40,500 40,500 106,500 สินคา้ คงเหลือ 55,000 55,000 38,000 เงนิ ปนั ผลค้างรบั 12,000 12,000 - สินทรัพยไ์ มห่ มุนเวยี น เงนิ ลงทนุ ในบริษัทวชั ระ 236,600 255,080 ที่ดิน 196,000 196,000 120,000 อาคาร 98,000 98,000 60,000 คา่ เสื่อมราคาสะสม – อาคาร (38,000) (38,000) (20,000) อุปกรณ์ 175,000 175,000 85,000 ค่าเส่ือมราคาสะสม – อปุ กรณ์ (42,000) (42,000) (35,000) รวมสนิ ทรัพย์ 803,900 822,380 413,500 หน้สี ินและสว่ นของผูถ้ ือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวยี น เจ้าหน้ี 11,400 11,400 24,500 เงนิ ปันผลคา้ งจา่ ย - - 15,000 เงินกู้ 104,000 104,000 100,000 ส่วนของผถู้ ือหุ้น ทนุ หนุ้ สามญั 500,000 500,000 150,000 ส่วนเกนิ มูลคา่ หนุ้ สามญั 80,000 80,000 50,000 กาไรสะสม 108,500 126,980 74,000 รวมหน้สี ินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น 803,900 822,380 413,500
บทที่ 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวันซื้อห้นุ หนา้ | 217 ให้ทา 1. แสดงการคานวณผลต่างระหว่างราคาทนุ ของเงนิ ลงทนุ และราคาตามบัญชี 2. แสดงการตัดจาหน่ายส่วนเกิน ณ วันสนิ้ งวด 3. กระดาษทาการเพอ่ื จัดทางบการเงนิ รวมตามแบบท่รี วมกนั ทกุ รายการ – วธิ รี าคาทุน 4. รายการตัดบัญชีในกระดาษทาการเพอื่ จัดทางบการเงินรวมในรูปแบบเดบิต เครดติ – วธิ รี าคาทนุ 5. กระดาษทาการเพือ่ จัดทางบการเงนิ รวมตามแบบทีร่ วมกันทกุ รายการ – วิธสี ว่ นไดเ้ สีย 6. รายการตัดบัญชใี นกระดาษทาการเพอื่ จดั ทางบการเงนิ รวมในรูปแบบเดบิตเครดิต – วิธสี ว่ นได้เสยี ข้อ 3. วันท่ี 1 มกราคม 25x1 บริษัท วันรัฐ จากัด ซื้อหุ้นสามัญที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัท รัฐพร จากัด70% โดยจ่ายเงินสด จานวน 260,000 บาท ณ วันน้ัน ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัท รัฐพร จากัด ประกอบด้วย ทุนหุ้นสามัญ 200,000 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 50,000 บาท และกาไรสะสม 90,000 บาท สินทรพั ย์ หนีส้ ิน มีราคาตามบัญชีเท่ากับมูลคา่ ยุตธิ รรม ยกเวน้ มูลคา่ ตามบัญชี มูลค่ายุตธิ รรม สินคา้ คงเหลือ (ขายหมดในปี 25x1) 28,000 20,000 อาคาร (อายุการใชง้ านเหลือ 10 ปี) 120,000 100,000 อปุ กรณ์สานักงาน(อายกุ ารใชง้ านเหลือ 5 ปี) 50,000 60,000 ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 งบการเงนิ ของทั้งสองบริษทั เป็นดงั น้ี บริษัท วนั รฐั บริษทั รัฐพร จากัด จากดั งบกาไรขาดทุน 120,000 - ขาย 200,000 (72,000) เงินปันผลรบั 7,000 (22,000) (10,000) ตน้ ทนุ ขาย (80,000) 16,000 ค่าเส่ือมราคา (40,000) คา่ ใช้จ่ายอ่นื (20,000) กาไรสุทธิ 67,000
หน้า | 218 บทที่ 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวันซือ้ หุ้น กาไรสะสม บรษิ ทั วนั รัฐ บรษิ ทั รฐั พร จากดั จากัด กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x1 บวก กาไรสทุ ธิ 150,000 90,000 หกั เงนิ ปนั ผลจ่าย 67,000 16,000 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1 (30,000) (10,000) 187,000 96,000 งบแสดงฐานะการเงิน 35,000 25,000 40,000 15,000 เงินสด 7,000 ลกู หนกี้ ารคา้ – สุทธิ 80,000 - เงนิ ปนั ผลค้างรับ 200,000 30,000 สินค้าคงเหลือ 150,000 160,000 ทีด่ นิ 60,000 108,000 อาคาร – สุทธิ 260,000 40,000 อปุ กรณส์ านักงาน – สุทธิ 832,000 เงินลงทนุ ในบริษัทรฐั พร 45,000 - 378,000 รวมสนิ ทรพั ย์ - 22,000 เจา้ หนี้การค้า 500,000 10,000 เงนิ ปนั ผลคา้ งจ่าย 100,000 200,000 ทนุ หนุ้ สามญั 187,000 50,000 สว่ นเกินมูลค่าหนุ้ สามญั 832,000 96,000 กาไรสะสม 378,000 รวมหนี้สนิ และส่วนของผู้ถอื หุ้น ใหท้ า 1. แสดงการคานวณผลต่างระหวา่ งราคาทนุ ของเงนิ ลงทุนและราคาตามบัญชี 2. แสดงการตัดจาหนา่ ยส่วนเกนิ ณ วันสิ้นงวด 3. กระดาษทาการเพื่อจัดทางบการเงนิ รวมตามแบบท่รี วมกันทุกรายการ – วธิ รี าคาทุน 4. รายการตัดบัญชีในกระดาษทาการเพื่อจัดทางบการเงินรวมในรูปแบบเดบิต เครดิต – วิธีราคาทุน
บทที่ 4 การจดั ทางบการเงนิ รวมหลังวนั ซ้ือหุน้ หน้า | 219 ขอ้ 4. วนั ท่ี 1 มกราคม 25x1 บริษทั สุดา จากัด ซอ้ื หุ้นสามัญท่มี ีสิทธอิ อกเสียงในบรษิ ทั เมธา จากัด 60% โดยจ่ายเงนิ สด จานวน 494,000 บาท ณ วันน้ัน สว่ นของผถู้ อื หุน้ บริษัท เมธา จากัด ประกอบด้วย ทุนหุน้ สามัญ 400,000 บาท ส่วนเกนิ มูลคา่ หนุ้ สามัญ 200,000 บาท และกาไร สะสม 150,000 บาท สนิ ทรัพย์ หนี้สนิ มีราคาตามบญั ชเี ท่ากบั มลู ค่ายุติธรรม ยกเว้น มูลคา่ ตามบญั ชี มลู ค่ายุติธรรม สินคา้ คงเหลือ (ขายหมดในปี 25x1) 40,000 55,000 ทีด่ ิน 200,000 220,000 อาคาร (อายุการใช้งานเหลือ 6 ปี) 150,000 120,000 อปุ กรณ์สานักงาน(อายกุ ารใช้งานเหลอื 4 ปี) 60,000 70,000 ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 งบการเงินของทัง้ สองบริษทั เป็นดงั นี้ บรษิ ทั สดุ า จากัด บรษิ ัท เมธา จากดั งบกาไรขาดทนุ ขาย 400,000 300,000 ส่วนแบง่ กาไรในบริษัทย่อย(เมธา) ?- ตน้ ทุนขาย (220,000) (150,000) คา่ เสอ่ื มราคา (60,000) (40,000) คา่ ใช้จา่ ยอ่นื (45,000) (25,000) กาไรสุทธิ ? 85,000 กาไรสะสม 250,000 150,000 ? 85,000 กาไรสะสม 1 ม.ค. 25x1 (40,000) บวก กาไรสุทธิ (50,000) 195,000 หกั เงินปนั ผลจ่าย ? กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1
หนา้ | 220 บทท่ี 4 การจดั ทางบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น บรษิ ัท สดุ า จากดั บริษทั เมธา จากดั งบแสดงฐานะการเงนิ 60,000 200,000 87,000 165,000 เงินสด 24,000 ลกู หนก้ี ารค้า – สทุ ธิ 80,000 - เงินปันผลค้างรับ 150,000 45,000 สินค้าคงเหลอื 190,000 300,000 ทีด่ นิ 85,000 125,000 อาคาร – สุทธิ 45,000 อุปกรณส์ านกั งาน – สทุ ธิ ? เงินลงทุนในบริษทั เมธา ? - 71,000 880,000 รวมสนิ ทรพั ย์ - 45,000 เจ้าหนก้ี ารคา้ 500,000 40,000 เงนิ ปนั ผลคา้ งจ่าย 300,000 400,000 ทนุ หนุ้ สามญั ? 200,000 ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นสามัญ ? 195,000 กาไรสะสม 31 ธ.ค. 25x1 880,000 รวมหนี้สินและสว่ นของผถู้ ือหนุ้ ให้ทา 1. แสดงการคานวณผลต่างระหวา่ งราคาทุนของเงินลงทุนและราคาตามบัญชี 2. คานวณส่วนแบง่ กาไรในบรษิ ทั ย่อย สาหรบั ปี 25x1 3. คานวณสว่ นไดเ้ สียท่ีไม่มอี านาจควบคมุ ในกาไรสทุ ธิ 25x1 4. คานวณยอดคงเหลอื ของบัญชเี งินลงทนุ ในบริษทั ย่อย ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 5. กระดาษทาการเพ่อื จัดทางบการเงนิ รวมตามแบบท่รี วมกนั ทกุ รายการ – วิธสี ่วนได้เสีย 6. รายการตัดบัญชีในกระดาษทาการเพอื่ จดั ทางบการเงนิ รวมในรูปแบบเดบิต เครดติ – วิธีส่วนได้เสีย
บทท่ี 5 การจดั ทางบการเงินรวม กรณบี รษิ ัทในกลุม่ กจิ การมีรายการค้าระหว่างกัน การจัดทํางบการเงินรวมนั้นมีวัตถุประสงค์เพ่ือแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ของกลุ่มกิจการ โดยนําเสนอเสมือนว่าเป็นหน่วยงานทางเศรษฐกิจหน่วยงานเดียวกัน ซ่ึงในส่วน ของบทท่ี 4 น้ันไดก้ ลา่ วถงึ การจดั ทํางบการเงนิ รวมหลงั วันซือ้ หุน้ ซึ่งงบการเงินรวมหลัววันซ้ือหุ้นจะ ใช้ข้อมูลจากงบแสดงฐานะการเงินของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย มารวมกันแล้วตัดบัญชีเงิน ลงทุนในบริษัทย่อยกับส่วนของผู้ถือหุ้นในบริษัทย่อย รวมไปถึงการปรับปรุงสาเหตุของการซ้ือหุ้น ในราคาที่ไม่เท่ากับมูลค่าตามบัญชี ในกรณีที่บริษัทใหญ่ซ้ือหุ้นในบริษัทย่อยในราคาทุนไม่เท่ากับ มูลค่าตามบัญชี นอกจากนี้ในการดําเนินธุรกิจตามปกติ ของบริษัทและกลุ่มกิจการ ก็มักจะมีการ ติดตอ่ มรี ายการคา้ ระหวา่ งกัน การบนั ทกึ บญั ชรี ะหว่างกันก็จะมีการบันทึกเช่นเดียวกันกับรายการ ทเ่ี กิดกับบคุ คลภายนอก เช่น การซื้อขายสินค้าระหว่างกัน การกู้ยืมเงินระหว่างกัน รายการเหล่านี้ กจ็ ะต้องมีการปรับปรงุ และตดั บัญชีเพื่อให้การทํางบการรวมเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงในบทน้ีจะ กล่าวถึงการจัดทํางบการเงินรวม กรณีบริษัทในกลุ่มกิจการมีรายการค้าระหว่างกัน ดังกล่าว เกดิ ขึน้ รายการค้าระหว่างกนั มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับท่ี 10 เร่ือง งบการเงนิ รวม (2557 : 40) ได้กําหนด ข้ันตอนการจัดทํางบการเงินรวม ข้อหน่ึงไวว้ า่ “ตัดรายการสนิ ทรัพย์ หนี้สนิ ส่วนของเจา้ ของ รายได้ ค่าใช้จา่ ยและกระแสเงนิ สด สาํ หรับรายการระหว่างกันในกลมุ่ กิจการ (กําไรหรือขาดทุนที่ เกดิ จากรายการระหว่างกนั ท่ีรบั รู้ในสนิ ทรัพย์ เช่น สนิ ค้าคงเหลอื และท่ดี ิน อาคารและอปุ กรณ์ ตอ้ งตัดรายการท้งั หมด” จากขอ้ กําหนดดังกล่าว จงึ สรปุ ได้วา่ หากบริษทั ใหญแ่ ละบริษทั ย่อยมีรายการค้าระหวา่ ง กัน จะต้องมีการตัดบญั ชี สินทรพั ย์ หนี้สิน ส่วนของเจา้ ของ รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย และกระแสเงนิ สดท่ี เปน็ รายการระหว่างกนั ออกทง้ั จํานวน โดยไม่คํานงึ วา่ บรษิ ัทใหญ่จะซือ้ หุ้นในบรษิ ทั ย่อยเป็น จาํ นวนเทา่ ใด นอกจากนี้หากบริษทั ใหญแ่ ละบรษิ ทั ย่อยมรี ายการกาํ ไรหรือขาดทุนระหว่างกนั ที่ รบั รใู้ นสินทรพั ย์ เช่น กําไรขาดทุนระหว่างกนั ในสนิ ค้าคงเหลอื ทเี่ กดิ จากการซ้ือขายสินคา้ ระหวา่ ง
หน้า | 222 บทท่ี 5 การจัดทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกลุม่ กจิ การมรี ายการคา้ ระหวา่ งกนั กนั กาํ ไรขาดทนุ ระหวา่ งกันในท่ีดนิ อาคารและอุปกรณ์ ทเี่ ป็นผลจากรายการซ้ือขายที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ระหวา่ งกัน กจิ การจะต้องตัดรายการกําไรขาดทนุ เหล่านนั้ ออกทงั้ จํานวนเช่นเดียวกับ รายการคา้ ระหวา่ งกนั ตัวอย่างของรายการค้าที่เกิดขึ้นระหว่างกนั ไดแ้ ก่ 1. รายการซ้อื ขายสนิ ค้าระหว่างบริษัท เมือ่ บรษิ ัทใหญแ่ ละบริษัทยอ่ ยมีการซ้ือขายสนิ ค้าระหวา่ งกนั ในการทาํ งบการเงินรวม รายการซื้อขายระหวา่ งกัน จะต้องตัดบญั ชีให้หมดไป เพอื่ ให้งบการเงินรวมแสดงยอดคงเหลือท่ี เกดิ จากการซื้อขายกับบคุ คลภายนอกเท่านน้ั รวมท้งั หากมีลกู หนี้และเจา้ หนี้ท่เี กิดจากการซื้อขาย สินค้าระหว่างกนั ก็ต้องมีการตดั บัญชอี อกเช่นเดียวกัน กรณที ่ีบริษัทใช้ระบบสนิ คา้ คงเหลือแบบสิน้ งวด (Periodic Inventory) สินคา้ ที่มีการ ซอื้ ขายระหว่างกันจะบันทึกไวใ้ นบัญชีซื้อสินค้า ดงั นัน้ จงึ ตัดตอ้ งบญั ชซี ้ือสนิ คา้ กับบญั ชขี ายสินค้า แต่หากบรษิ ัทใช้ระบบสนิ ค้าคงเหลอื แบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory) เมื่อบริษัทซื้อสนิ ค้าจะ บันทึกไปทีบ่ ญั ชสี นิ ค้าคงเหลือและจะบันทึกต้นทุนขายเม่ือมกี ารขายสนิ คา้ ดังนัน้ จึงตอ้ งตัดบญั ชี ตน้ ทนุ ขายกับบัญชีขายสินค้า รายการบนั ทึกบัญชีและรายการตัดบัญชที ่จี ะปรากฏในกระดาษทาํ อาจแสดงในรูป ของสมดุ รายวันทั่วไป ดังน้ี บริษทั ใหญ่ จากัด บริษทั ย่อย จากัด เดบติ ลกู หนี้ xxx เดบติ ซื้อสนิ ค้า/สินค้าคงเหลือ xxx เครดิต ขายสนิ ค้า xxx เครดิต เจ้าหน้ี xxx รายการตดั บัญชี ตดั รายการซอื้ -ขายสนิ ค้าระหว่างกนั โดยตัดบญั ชขี ายสินค้าของบรษิ ัทใหญ่ กบั บัญชซี ื้อสินค้า/ สนิ ค้าคงเหลือ ของบริษทั ย่อย ดงั นี้ เดบติ ขายสินคา้ xxx เครดติ ซื้อสนิ ค้า/สนิ คา้ คงเหลอื xxx ตัดรายการลูกหน้ี – เจา้ หน้รี ะหวา่ งกนั โดย ตัดบญั ชีเจ้าหนขี้ องบริษทั ย่อย กับ บญั ชีลกู หนี้ของ บริษัทใหญ่ ดังน้ี เดบิต เจ้าหนี้ xxx เครดิต ลูกหนี้ xxx
บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณบี ริษทั ในกลุ่มกจิ การมรี ายการคา้ ระหว่างกนั หนา้ | 223 การตดั รายการซ้ือขายสนิ ค้าระหวา่ งบริษัทแสดงไดต้ ามตัวอย่างท่ี 5.1 ดงั นี้ ตวั อย่างท่ี 5.1 การตดั รายการซ้อื ขายสนิ ค้าระหวา่ งบริษัท วนั ที่ 15 มีนาคม 25x1 บริษัท นิชา จํากัด ซ้ือสินค้าเป็นเงินเช่ือจากบุคคลภายนอก ราคา 20,000 บาท ต่อมาวันที่ 30 มีนาคม 25x1 ได้ขายสินค้าจํานวนนี้ ไปให้บริษัท พาที จํากัด ซ่ึงเป็น บริษัทย่อย โดยบวกกําไรอีก 20% โดยขายเป็นเงินเช่ือ วันท่ี 10 เมษายน 25x1 บริษัท พาที จํากัด ก็ได้ขายสินค้าให้บุคคลภายนอกทั้งจํานวน ในราคา 30,000 บาท (ทั้งสองบริษัทใช้ระบบสินค้า คงเหลอื แบบสนิ้ งวด) การบันทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไปของทง้ั สองบริษัทเปน็ แสดงได้ดังนี้ บริษัท นิชา จากัด บริษทั พาที จากัด 15 มี.ค. 25x1 เดบิต ซือ้ สินค้า 20,000 เครดิต เจา้ หน้ี 20,000 30 มี.ค. 25x1 30 ม.ี ค. 25x1 เดบติ ลกู หน้ี – บ.พาที 24,000 เดบิต ซอ้ื สินคา้ 24,000 เครดิต ขายสินค้า 24,000 เครดติ เจ้าหน้ี – บ.นิชา 24,000 10 เม.ย. 25x1 เดบิต ลกู หน้ี 30,000 เครดติ ขายสนิ ค้า 30,000 จากตัวอย่างท่ี 5.1 จะเหน็ ไดว้ า่ ยอดขายในสมุดบญั ชีของบริษทั นชิ า จาํ กัด ได้รวม ยอดขายท่ีขายให้บริษัท พาที จาํ กัด ด้วยจํานวนเงนิ 24,000 บาท ในขณะเดียวกันยอดตน้ ทุนขาย (ซอ้ื สนิ ค้า) ของบริษทั พาที จาํ กัด กไ็ ดร้ วมสนิ คา้ ทซ่ี ื้อมาจากบริษัท นชิ า จํากัด จํานวน 24,000 บาท เชน่ กนั นอกจากนี้ยังมีรายการเกยี่ วกับลูกหน้ี เจา้ หน้ี ระหวา่ งกัน ซึง่ เมอ่ื มกี ารจัดทาํ กระดาษ ทาํ การกจ็ ะตอ้ งทําการตัดรายการทง้ั สองรายการดงั กล่าวออกไป เม่ือมีการตัดรายการ ซ้ือขายระหว่างกันแล้ว ยอดขายสินค้า และยอดต้นทนุ ขายที่ปรากฏ ในงบการเงนิ รวมจะเหลือเฉพาะยอดท่เี กิดกับบคุ คลภายนอกเท่าน้ัน สว่ นยอดลูกหนเ้ี จา้ หนี้ก็ เช่นกันเมือ่ มีการตัดรายการออกไปแลว้ จะเหลือยอดเจ้าหน้ีลูกหนี้ที่เกิดกับบคุ คลภายนอกเชน่ กนั ดงั แสดงในกระดาษทําการ ต่อไปนี้
หนา้ | 224 บทท่ี 5 การจัดทางบการเงนิ รวมกรณีบริษทั ในกล่มุ กจิ การมรี ายการค้าระหว่างกนั บริษทั นิชา จากดั และ บริษัท พาที จากดั กระดาษทาการเพอ่ื ทางบการเงินรวม (บางส่วน) ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บรษิ ทั บริษทั รายการปรบั ปรุง งบการเงนิ นชิ า พาที และตัดบญั ชี รวม เดบิต เครดิต งบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ ขายสินคา้ 24,000 30,000 (1) 24,000 30,000 ตน้ ทนุ ขาย(ซื้อสนิ คา้ ) 20,000 24,000 (1) 24,000 20,000 กาํ ไรขน้ั ตน้ 4,000 6,000 10,000 งบแสดงฐานะการเงนิ สนิ ทรัพย์ ลกู หนี้ 30,000 30,000 ลูกหน้ี – บ.พาที 24,000 (2) 24,000 หนส้ี นิ และส่วนของผู้ถอื หุน้ เจ้าหน้ี 20,000 20,000 เจ้าหนี้ – บ.นิชา 24,000 (2) 24,000 รายการปรับปรุงและตัดบญั ชี 24,000 (1) ตัดรายการซอ้ื ขายระหว่างกัน 24,000 เดบติ ขาย 24,000 เครดติ ตน้ ทุนขาย(ซ้ือสินค้า) 24,000 (2) ตัดรายการลูกหนี้เจ้าหนี้ระหว่างกัน เดบติ เจา้ หน้ี – บ.นิชา เครดติ ลูกหน้ี – บ.พาที
บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณบี ริษทั ในกลุ่มกจิ การมรี ายการคา้ ระหว่างกนั หนา้ | 225 2. การถอื หุ้นกู้ระหว่างบรษิ ทั เม่อื บรษิ ัทใหญ่หรือบรษิ ัทยอ่ ยถอื หุ้นกู้ระหว่างกนั การจดั ทาํ งบการเงนิ รวม ต้องตดั บัญชีหนุ้ กู้ และบัญชเี งินลงทนุ ในห้นุ กู้ระหวา่ งบริษทั ออก เพ่อื ใหแ้ สดงยอดในงบการเงินรวมเฉพาะ ส่วนของบุคคลภายนอก รายการบนั ทึกบัญชีและรายการตัดบัญชีที่จะปรากฏในกระดาษทําการ แสดงในรูปของสมดุ รายวันท่ัวไป ดงั น้ี บริษัท ใหญ่ จากัด บรษิ ทั ยอ่ ย จากัด เดบติ เงนิ ลงทนุ ในหุ้นกู้ xxx เดบติ เงินสด xxx เครดติ เงินสด xxx เครดติ หนุ้ กู้ xxx รายการตดั บญั ชี ตดั รายการซื้อ-ขาย หนุ้ กรู้ ะหว่างกัน โดยการตัดไปที่บัญชีหุน้ กู้ของบรษิ ทั ยอ่ ย กับบัญชเี งินลงทุน ในหุน้ ก้ขู องบริษัทใหญ่ ดงั น้ี เดบติ หนุ้ กู้ xxx เครดิต เงนิ ลงทนุ ในหุ้นกู้ xxx การตัดรายการการถือหุ้นกู้ระหวา่ งบริษทั แสดงไดต้ ามตวั อย่างที่ 5.2 ดังนี้ ตวั อย่างท่ี 5.2 การถือหุ้นกรู้ ะหว่างบริษัท วนั ท่ี 1 มีนาคม 25x1 บรษิ ัท นชิ า จํากัด ไปลงทุนซือ้ หุ้นกขู้ องบริษทั พาที จํากัด ซ่ึงเปน็ บริษัทย่อย ในราคาตามบัญชี จํานวน 10,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปของท้ัง สองบรษิ ัทเป็นแสดงได้ดงั น้ี บรษิ ัท นิชา จากัด บรษิ ัท พาที จากดั 1 มี.ค. 25x1 1 ม.ี ค. 25x1 เดบติ เงินลงทุนในหุ้นกู้ 10,000 เดบติ เงนิ สด 10,000 เครดิต เงนิ สด 10,000 เครดิต หุน้ กู้ 10,000 สมุดบัญชีของบริษัท นิชา จํากัด จะมีบัญชีเงินลงทนุ ในหุ้นกู้ สว่ นในสมุดบัญชขี องบริษทั พาที จาํ กดั จะมีบญั ชีห้นุ กู้ เม่อื มกี ารจัดทํากระดาษทําการกจ็ ะต้องทําการตัดรายการทงั้ สอง รายการดงั กล่าวออกไป ดงั นี้
หน้า | 226 บทที่ 5 การจัดทางบการเงนิ รวมกรณีบริษทั ในกล่มุ กจิ การมรี ายการคา้ ระหวา่ งกนั รายการปรับปรงุ และตัดบญั ชี 10,000 (1) ตัดรายการถือห้นุ กรู้ ะหวา่ งกัน 10,000 เดบติ หุ้นกู้ เครดติ เงนิ ลงทุนในหุ้นกู้ 3. การก้ยู ืมเงินระหว่างบรษิ ัท เม่ือบริษทั ใหญแ่ ละบริษัทยอ่ ยมีการกู้ยมื เงนิ ระหว่างกนั การจัดทํางบการเงนิ รวมตอ้ ง ตดั บญั ชลี ูกหนเี้ งินกู้ และ บัญชเี งนิ ใหก้ ู้ยมื ออกเพ่ือใหใ้ นงบแสดงฐานะการเงินมียอดเงินก้ยู มื กับ บคุ คลภายในเท่านัน้ และ บางครง้ั ถา้ มีการคิดดอกเบี้ยระหว่างกนั กจ็ ะต้องตัดรายการดอกเบ้ยี รับ กบั ดอกเบี้ยจ่ายระหว่างกันด้วย รายการบันทึกบญั ชแี ละรายการตัดบัญชีทจี่ ะปรากฏในกระดาษ ทาํ การแสดงในรูปของ สมุดรายวนั ทั่วไป ดงั น้ี บรษิ ัท ใหญ่ จากดั บรษิ ัท ย่อย จากัด เดบิต ลูกหนี้เงนิ ใหก้ ู้ยืม xxx เดบิต เงนิ สด xxx เครดิต เงนิ สด xxx เครดิต เจา้ หน้ีเงินกู้ xxx เดบติ ดอกเบ้ียคา้ งรบั xxx เดบิต ดอกเบย้ี จ่าย xxx xxx เครดิต ดอกเบี้ยรับ xxx เครดติ ดอกเบ้ียค้างจา่ ย รายการตัดบญั ชี ตัดรายการลกู หน้ี-เจ้าหน้ี เงินกู้ระหวา่ งกนั โดยตดั ไปทบี่ ัญชเี จา้ หน้เี งินกขู้ องบรษิ ัทยอ่ ย กบั บัญชีลูกหน้เี งินให้กยู้ มื ของบริษทั ใหญ่ ดังนี้ เดบิต เจ้าหน้เี งินกู้ xxx เครดติ ลูกหนเ้ี งินให้กู้ยืม xxx ตัดรายการดอกเบีย้ รบั – ดอกเบ้ียจ่าย ระหว่างกัน โดยตัดไปทีบ่ ญั ชีดอกเบ้ียรับของบรษิ ทั ใหญ่ กับ บญั ชดี อกเบ้ียจ่ายของบริษทั ย่อย ดังน้ี เดบติ ดอกเบ้ียรบั xxx เครดติ ดอกเบย้ี จ่าย xxx ตัดรายการดอกเบ้ียค้างรับ – ดอกเบี้ยคา้ งจ่าย ระหว่างกัน โดยตัดไปท่ีบญั ชีดอกเบ้ยี คา้ งจ่ายของ บริษัทย่อย กับ บญั ชีดอกเบ้ียคา้ งรับของบริษทั ใหญ่ ดงั นี้ เดบติ ดอกเบย้ี ค้างจ่าย xxx เครดิต ดอกเบ้ยี ค้างรับ xxx
บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบริษทั ในกลุม่ กจิ การมรี ายการคา้ ระหว่างกนั หนา้ | 227 การตัดรายการการกยู้ ืมเงินระหว่างบริษทั แสดงได้ตามตัวอย่างที่ 5.3 ดงั นี้ ตวั อย่างที่ 5.3 การก้ยู ืมเงินระหว่างบรษิ ทั วนั ที่ 1 เมษายน 25x1 บริษัท พาที จํากัด ก้เู งินจากบรษิ ัท นิชา จํากัด ซ่งึ เปน็ บรษิ ทั ใหญ่ จาํ นวน 50,000 บาท เปน็ ระยะเวลา 1 ปี ครบกําหนดจา่ ยเงินวนั ท่ี 1 เมษายน 25x2 บรษิ ัท นชิ า จํากัด คิดดอกเบ้ียในอัตรา 10% ตอ่ ปี การบันทึกรายการในสมดุ รายวันท่ัวไปของท้ังสองบรษิ ัท เปน็ แสดงได้ดงั น้ี บรษิ ทั นิชา จากัด บริษัท พาที จากดั 1 เม.ย. 25x1 1 เม.ย. 25x1 เดบติ ลูกหน้เี งินให้ก้ยู มื 50,000 เดบติ เงนิ สด 50,000 เครดิต เงินสด 50,000 เครดติ เจ้าหนีเ้ งินกู้ 50,000 31 ธ.ค. 25x1 31 ธ.ค. 25x1 เดบติ ดอกเบยี้ คา้ งรับ 3,750 เดบติ ดอกเบ้ียจา่ ย 3,750 เครดติ ดอกเบยี้ รับ 3,750 เครดิต ดอกเบ้ียคา้ งจา่ ย 3,750 (50,000 x 10% x 9/12) สมุดบัญชีของบริษัท นิชา จํากัด จะมีบัญชีลูกหนี้เงินให้กู้ยืม ส่วนในสมุดบัญชีของบริษัท พาที จํากัด จะมีบัญชีเจ้าหน้ีเงินกู้ เม่ือมีการจัดทํากระดาษทําการก็จะต้องทําการตัดรายการทั้ง สองรายการดังกลา่ วออกไป นอกจากน้ีรายการดอกเบ้ียรับกับดอกเบ้ียจ่าย และรายการดอกเบ้ีย คา้ งรบั กบั ดอกเบย้ี คา้ งจา่ ย ก็ต้องตัดบญั ชีออกเช่นเดียวกนั ดงั น้ี รายการปรับปรงุ และตัดบัญชี (1) ตดั รายการลกู หน้เี งนิ ให้ก้ยู ืมและเจ้าหนีเ้ งินกู้ระหว่างกัน เดบติ เจา้ หน้ีเงนิ กู้ 50,000 เครดติ ลูกหน้ีเงนิ ให้กู้ยืม 50,000 (2) ตัดรายการดอกเบ้ียรบั และดอกเบี้ยจา่ ยระหว่างกนั เดบติ ดอกเบยี้ รับ 3,750 เครดติ ดอกเบี้ยจ่าย 3,750 (3) ตัดรายการดอกเบยี้ ค้างรับและดอกเบย้ี ค้างจา่ ยระหว่างกัน เดบิต ดอกเบ้ียค้างจา่ ย 3,750 เครดติ ดอกเบ้ียค้างรับ 3,750
หน้า | 228 บทที่ 5 การจัดทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกลุ่มกจิ การมรี ายการค้าระหวา่ งกนั 4. ต๋วั เงินรับและต๋ัวเงินจ่ายระหว่างบรษิ ัท เมอื่ บรษิ ัทหนึ่งออกตั๋วเงนิ จา่ ยให้แก่บริษัทอีกบรษิ ัทหน่งึ ในเครอื เดยี วกนั ในการทํางบ การเงนิ รวมต้องตัดบญั ชีตวั๋ เงนิ รบั กบั บญั ชตี ั๋วเงนิ จา่ ย เช่นเดยี วกันกับรายการอื่นๆ ท่ีกล่าวมาแล้ว รายการบนั ทึกบญั ชแี ละรายการตัดบญั ชีทจี่ ะปรากฏในกระดาษทําการแสดงในรูปของสมดุ รายวนั ทว่ั ไป ดังนี้ บรษิ ทั ใหญ่ จากดั บรษิ ัท ย่อย จากดั เดบติ ตั๋วเงนิ รบั xxx เดบิต เงนิ สด xxx เครดิต เงนิ สด xxx เครดติ ตวั๋ เงินจา่ ย xxx รายการตดั บัญชี ตดั รายการตั๋วเงนิ จา่ ย – ตว๋ั เงินรบั ระหวา่ งกัน โดยตดั ไปท่ีบัญชีต๋ัวเงินจ่ายของบริษทั ย่อย กับบัญชี ต๋ัวเงินรบั ของบริษัทใหญ่ ดังน้ี เดบิต ต๋วั เงนิ จ่าย xxx เครดิต ตว๋ั เงนิ รบั xxx บางกรณบี ริษทั ผถู้ ือตั๋วเงนิ รบั อาจจะนําต๋ัวเงินรับไปขายลดเพอื่ นําเงินสดมาใช้ก่อนท่ี ต๋ัวเงนิ รับจะครบอายุ ซ่ึงสามารถแยกพจิ ารณาได้เปน็ 2 กรณคี อื กรณีที่ 1 นาตั๋วเงินที่ได้รบั จากบรษิ ัทในเครือไปขายลดใหธ้ นาคาร เมอ่ื บรษิ ัทใหญ่และบริษัทยอ่ ยมีการออกตวั๋ เงินรับให้กัน ในสมุดบญั ชขี องบริษัทผู้รบั ตวั๋ เงินกจ็ ะมีบญั ชีตวั๋ เงินรับ สว่ นในสมดุ บญั ชขี องบริษทั ผ้อู อกตว๋ั กจ็ ะมบี ัญชตี ๋ัวเงินจา่ ย และหาก ต่อมาเม่ือผู้รับตวั๋ ได้นาํ ต๋ัวเงินรับไปขายลดให้กับบุคคลอื่น กจ็ ะมบี ญั ชีตั๋วเงนิ รบั ขายลด การทํางบการเงินรวมจะต้องมีการปรับปรุงบัญชีตัว๋ เงินรับขายลด ให้เป็นต๋ัวเงนิ จา่ ย ของบรษิ ัทในกลุ่มกจิ การ เนื่องจาก เมือ่ ตัว๋ ครบกําหนด บรษิ ทั ผู้ออกตัว๋ จะต้องชาํ ระเงินใหแ้ ก่ ธนาคาร ดังนั้น จึงต้องแสดงรายการนเ้ี ป็นหนส้ี นิ ในงบการเงนิ รวม รายการบันทึกบญั ชีและ รายการตัดบญั ชีที่จะปรากฏในกระดาษทาํ การแสดงในรูปของสมดุ รายวันทัว่ ไป ดงั นี้
บทท่ี 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกลุ่มกจิ การมรี ายการค้าระหวา่ งกนั หน้า | 229 บริษัท ใหญ่ จากดั บรษิ ัท ยอ่ ย จากดั เดบิต ต๋ัวเงินรบั xxx เดบิต เงินสด xxx เครดิต เงินสด xxx เครดติ ตั๋วเงนิ จ่าย xxx เดบติ เงินสด xxx เครดิต ต๋ัวเงนิ รับขายลด xxx รายการตดั บัญชี ตดั รายการตั๋วเงินรบั – ต๋วั เงินจ่ายระหว่างกนั โดยตัดไปทบี่ ญั ชตี ๋ัวเงินจ่ายของบริษัทยอ่ ย กบั บญั ชี ตว๋ั เงินรับของบริษัทใหญ่ ดังน้ี เดบิต ตั๋วเงนิ จ่าย xxx เครดิต ตัว๋ เงนิ รับ xxx ปรบั ปรงุ ตั๋วเงินขายลดเปน็ ต๋ัวเงนิ จ่ายของบริษัทในกลมุ่ กิจการ โดยการตดั ไปทบ่ี ัญชีตั๋วเงินรบั ขาย ลดของบริษัทใหญ่ และบันทึกต๋วั เงนิ จ่ายธนาคารเป็นหนี้สนิ ของกลมุ่ กจิ การ ดังน้ี เดบิต ตั๋วเงนิ รับขายลด xxx เครดติ ต๋วั เงินจ่ายธนาคาร xxx การตดั รายการการนาํ ตว๋ั เงินทไ่ี ด้รบั จากบรษิ ัทในเครือไปขายลดใหธ้ นาคารแสดงไดต้ าม ตัวอย่างที่ 5.4 ดังน้ี ตัวอยา่ งท่ี 5.4 นาต๋ัวเงินที่ไดร้ บั จากบริษทั ในเครอื ไปขายลดใหธ้ นาคาร วันที่ 1 พฤษภาคม 25x1 บรษิ ทั พาที จํากัด ไดก้ ้เู งนิ จากบริษัท นชิ า จาํ กัด โดยออกตวั๋ สญั ญาใชเ้ งิน จาํ นวน 40,000 บาท ต๋ัวเงนิ อายุ 1 ปี อตั ราดอกเบ้ีย 6% ต่อปี ตอ่ มาในวนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 บริษทั นิชา จาํ กัด ได้นําตั๋วสัญญาใช้เงินไปขายลดที่ธนาคาร โดยธนาคารคิด ส่วนลด 10% ต่อปี การบนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั ท่ัวไปของท้ังสองบริษทั เป็นแสดงไดด้ งั น้ี บรษิ ทั นิชา จากัด บริษทั พาที จากดั 1 พ.ค. 25x1 1 พ.ค. 25x1 เดบติ ตั๋วเงนิ รับ เดบิต เงนิ สด 40,000 40,000 เครดิต เงนิ สด 40,000 เครดิต ตั๋วเงินจ่าย 40,000 31 ธ.ค. 25x1 31 ธ.ค. 25x1 เดบิต ดอกเบ้ยี คา้ งรบั 1,600 เดบิต ดอกเบย้ี จ่าย 1,600 เครดติ ดอกเบ้ียรับ 1,600 เครดิต ดอกเบย้ี คา้ งจ่าย 1,600 (40,000 x 6% x 8/12) (40,000 x 6% x 8/12)
หนา้ | 230 บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกล่มุ กจิ การมรี ายการคา้ ระหวา่ งกนั บรษิ ทั นชิ า จากัด บรษิ ทั พาที จากัด เดบิต เงนิ สด 40,987 ขาดทนุ จากการขายต๋ัวเงนิ 613 เครดติ ต๋ัวเงินรับขายลด 40,000 ดอกเบ้ียคา้ งรบั 1,600 ดอกเบี้ยต๋ัวเมื่อครบกําหนด = 40,000 x 6% = 2,400 มูลค่าต๋ัวเมอื่ ครบกาํ หนด = 40,000 + 2,400 = 42,400 สว่ นลดทีธ่ นาคารหกั = 42,400 x 10% x 4/12 = 1,413 ดังน้ันจาํ นวนเงินท่ีได้รับจากธนาคาร = 42,400 – 1,413 = 40,987 รายการปรับปรงุ และตัดบัญชี (1) ตดั รายการต๋ัวเงนิ รับต๋ัวเงินจ่ายระหวา่ งกัน เดบิต ตัว๋ เงนิ จา่ ย 40,000 เครดติ ต๋วั เงนิ รับ 40,000 (2) ตัดรายการดอกเบยี้ รบั และดอกเบ้ียจา่ ยระหวา่ งกนั เดบิต ดอกเบย้ี รับ 1,600 เครดติ ดอกเบี้ยจา่ ย 1,600 (3) ตัดรายการดอกเบ้ยี ค้างรบั และดอกเบ้ียคา้ งจา่ ยระหว่างกัน เดบิต ดอกเบ้ยี ค้างจ่าย 1,600 เครดิต ดอกเบ้ียค้างรบั 1,600 (4) ปรับปรุงต๋ัวเงนิ ขายลดเป็นตั๋วเงินจ่ายของบรษิ ทั ในกลุ่มกิจการ เดบิต ต๋วั เงนิ รับขายลด 40,000 เครดิต ต๋วั เงินจ่ายธนาคาร 40,000
บทท่ี 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบริษทั ในกลมุ่ กจิ การมรี ายการค้าระหวา่ งกนั หน้า | 231 กรณีท่ี 2 นาต๋วั เงินท่ไี ด้รบั จากลกู คา้ ไปขายลดกับบรษิ ทั ในเครือ เมื่อบริษทั ใหญห่ รือบริษัทย่อยไดร้ ับต๋ัวเงินจากลูกค้ากจ็ ะมบี ญั ชตี ๋ัวเงินรบั แลว้ ตอ่ มานําต๋ัวเงนิ ไปขายลดให้กับบริษทั เครอื บรษิ ัทผขู้ ายลดก็จะมีบัญชีตว๋ั เงินรบั ขายลด สว่ นบรษิ ทั ผ้รู ับซ้อื ต๋วั ก็จะมบี ัญชตี ๋ัวเงนิ รบั ดงั น้นั ในการทาํ งบการเงินรวมจงึ ต้องตัดบัญชี ระหว่างกัน ดงั นี้ บรษิ ัท ใหญ่ จากดั บริษทั ยอ่ ย จากดั เดบิต ต๋ัวเงินรับ xxx เครดติ ลูกหน้ี xxx เดบติ ตว๋ั เงนิ รับ xxx เดบติ เงินสด xxx เครดติ เงินสด xxx เครดติ ตั๋วเงินรับขายลด xxx รายการตดั บัญชี ตดั รายการต๋วั เงินรับขายลด – ตว๋ั เงนิ รับระหวา่ งกัน โดยการตัดไปท่ีบัญชีตั๋วเงนิ รับขายลดของ บริษทั ย่อย และบญั ชีตั๋วเงินรับของบรษิ ทั ใหญ่ ดงั น้ี เดบติ ต๋วั เงนิ รับขายลด xxx เครดติ ตวั๋ เงินรบั xxx การตัดรายการการนําตว๋ั เงินทไ่ี ดร้ ับจากลูกค้าไปขายลดใหก้ ับบรษิ ัทในเครือแสดงได้ ตามตัวอย่างที่ 5.5 ดงั น้ี ตวั อย่างท่ี 5.5 นาต๋ัวเงนิ ที่ได้รับจากลกู ค้าไปขายลดกบั บรษิ ทั ในเครอื วนั ที่ 1 กันยายน 25x1 บรษิ ัท พาที จํากัด ได้รบั ชําระหนจ้ี ากลูกหน้เี ปน็ ตว๋ั สัญญาใช้เงิน มูลคา่ 30,000 บาท ตวั๋ เงินอายุ 1 ปี อัตราดอกเบ้ยี 8% ตอ่ ปี ต่อมา วนั ท่ี 31 ธนั วาคม บริษทั พาที จํากดั ไดน้ ําตว๋ั ฉบับนไ้ี ปขายลดให้บริษัท นชิ า จํากัด ซึง่ เปน็ บริษทั ใหญ่ โดยบรษิ ทั นิชา จํากัด คิด สว่ นลดในอัตรา 10% การบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไปของท้งั สองบริษทั เปน็ แสดงไดด้ ังน้ี บรษิ ทั นิชา จากดั บริษัท พาที จากดั 1 ก.ย. 25x1 เดบติ ต๋ัวเงนิ รับ 30,000 เครดิต ลกู หน้ี 30,000 31 ธ.ค. 25x1 เดบติ ดอกเบย้ี คา้ งรบั 800 เครดติ ดอกเบี้ยรับ 800 (30,000 x 8% x 4/12)
หนา้ | 232 บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกลมุ่ กจิ การมรี ายการค้าระหว่างกนั บรษิ ัท นิชา จากดั บรษิ ัท พาที จากดั 31 ธ.ค. 25x1 31 ธ.ค. 25x1 เดบิต ต๋ัวเงินรบั 30,000 เดบติ เงนิ สด 30,260 ดอกเบยี้ รับ 260 ขาดทนุ จากการขายตว๋ั เงิน 540 เครดติ เงินสด 30,260 เครดิต ตั๋วเงนิ รับขายลด 30,000 ดอกเบีย้ คา้ งรบั 800 ดอกเบีย้ ตว๋ั เมือ่ ครบกาํ หนด = 30,000 x 8% = 2,400 มลู คา่ ตั๋วเมือ่ ครบกาํ หนด = 30,000 + 2,400 = 32,400 ส่วนลดท่ี บ.นชิ าหัก = 32,400 x 10% x 8/12 = 2,140 ดังน้นั จาํ นวนเงินท่ีไดร้ ับจากธนาคาร = 32,400 – 2,140 = 30,260 รายการปรับปรุงและตัดบัญชี (1) ตดั รายการตั๋วเงินรบั ขายลดและต๋ัวเงนิ รับระหวา่ งกัน เดบติ ต๋ัวเงนิ รบั ขายลด 30,000 เครดติ ตัว๋ เงินรับ 30,000
บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณบี รษิ ทั ในกลุม่ กจิ การมรี ายการคา้ ระหวา่ งกนั หน้า | 233 กาไรขาดทุนระหว่างบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบับที่ 10 เรือ่ ง งบการเงนิ รวม (2557 : 40) ได้กําหนด ขนั้ ตอนการจัดทํางบการเงินรวมส่วนหน่ึงไวว้ า่ กจิ การต้องตัด กาํ ไรและขาดทนุ ซ่งึ เปน็ ผลมาจาก รายการระหวา่ งกันในกลุ่มกิจการ ทร่ี ับรูใ้ นสินทรพั ย์ เช่น สนิ ค้าคงเหลือ และที่ดนิ อาคารและ อปุ กรณ์ โดยจะตอ้ งมีการตัดรายการระหวา่ งกนั ท้งั จํานวน Beams, et al., (2012 : 169) ได้กล่าวถึงกําไรขาดทุนระหว่างบริษัทไว้ว่า “The reason we eliminate intercompany profits and losses is that the management of the parent controls all intercompany transactions, including authorization and pricing, without arm’s length bargaining between the affiliates. In eliminating the effect of intercompany profits and losses from consolidated statements, however, the issue is not whether the intercompany transactions were or were not at arm’s length. The objective is to show the income and financial position of the consolidated entity as they would have appeared if the intercompany transactions had never taken place, irrespective of the amounts involved in such transactions.” จากท่กี ลา่ วมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การตดั กาํ ไรขาดทุนระหว่างบริษัทมีวัตถุประสงค์ เพ่ือตัดกําไรหรือขาดทุนระหว่างกันท้ังหมดของบริษัทในเครือ ซึ่งกําไรขาดทุนระหว่างกันเป็นผล มาจากรายการค้าระหว่างบรษิ ทั ในเครอื เช่น รายการซือ้ ขายสินค้าระหว่างกัน เม่ือมีการซ้ือขายกัน ในราคาที่รวมกําไรหรือขาดทุน ก็จะทําให้เกิดผลกําไรหรือขาดทุนในสินค้าคงเหลือท่ีเกิดจากการ ซื้อขายสินค้าดังกล่าว หรือรายการซ้ือขายสินทรัพย์ระหว่างกัน เช่น การซื้อขายท่ีดิน อาคาร และ อุปกรณ์ เมื่อมีการซ้ือขายสินทรัพย์นั้นในราคาที่รวมกําไรหรือขาดทุน ก็จะส่งผลให้เกิดกําไร ขาดทนุ ในสนิ ทรพั ยท์ ซี่ ้ือขายกนั นน้ั การตัดกําไรขาดทุนท่ีเกิดข้ึนดังกล่าวให้ตัดกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นน้ันทั้งจํานวนโดยไม่ คํานึงว่าบริษัทใหญ่จะถือหุ้นในบริษัทย่อยเป็นจํานวนเท่าใดก็ตาม ท้ังนี้การตัดรายการกําไร ขาดทุนระหว่างกันมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การรายงานในงบการเงินซ่ึงเป็นงบการเงินรวมของกลุ่ม กิจการนําเสนอผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของกลุ่มกิจการโดยเสมือนว่าไม่มีรายการค้า ระหวา่ งกนั สรปุ การตัดบัญชีกําไรขาดทุนระหวา่ งบริษัท มีข้นั ตอนการปฏิบตั ิดังนี้ 1. เม่อื มรี ายการค้าระหว่างกันเกดิ ข้ึน เช่น การซ้ือขายสินคา้ การซือ้ ขายสินทรพั ย์ถาวร 2. ให้พิจารณาว่ารายการค้าดังกล่าวมีการบวกหรือกําไรขาดทุนระหว่างกันและสินทรัพย์ นั้นยังคงอยู่ในกลุ่มกิจการหรือไม่ หากมีการบวกกําไรส่งผลให้การรับรู้สินทรัพย์นั้นในราคาท่ีสูง
หน้า | 234 บทท่ี 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกลมุ่ กจิ การมรี ายการค้าระหวา่ งกนั เกินไป และหากมีผลขาดทุนจะส่งผลให้การรับรู้สินทรัพย์นั้นในราคาที่ตํ่าเกินไป ซ่ึงสินทรัพย์นั้น จะต้องแสดงในราคาตามบัญชีที่เคยแสดงไว้ในสมุดบัญชีของผู้ขาย เน่ืองจากถือว่าเป็นกลุ่ม กจิ การเดียวกันไม่ควรที่จะขายให้กนั ในราคาทีร่ วมกําไรหรือขาดทุน 3. ดังน้ันกําไรหรือขาดทุนจึงไม่ถอื วา่ เป็นกําไรหรือขาดทุนท่ีเกิดข้ึนแล้วของกลุ่มกิจการ จึง ตอ้ งตดั กาํ ไรหรือขาดทุนระหวา่ งกันออกท้ังจํานวน 4. แตถ่ า้ หากบริษทั ผู้ซอ้ื สนิ ทรัพยไ์ ด้ขายสินทรัพย์นั้นให้บุคคลอื่นภายนอกกลุ่มกิจการ ให้ ถอื วา่ กําไรหรือขาดทุนจากการขายสินทรพั ยด์ งั กล่าวได้เกิดขึน้ แล้ว ให้รับรู้กําไรหรือขาดทุนน้ันในปี ทม่ี ีการขายสนิ ทรพั ย์นั้นให้บคุ คลภายนอก รายการกําไรขาดทนุ ระหว่างบริษัท สามารถแยกพิจารณาไดเ้ ป็น 3 กรณคี ือ กําไรขาดทุน ระหว่างบริษัทจากการขายสินคา้ กําไรขาดทนุ ระหว่างบริษัทจากการขายสนิ ทรัพย์ถาวรทไี่ มม่ คี า่ เสอื่ มราคา และกําไรขาดทุนระหว่างบริษัทจากการขายสินทรพั ยถ์ าวรทม่ี ีค่าเสอ่ื มราคา 1. กาไรขาดทุนระหว่างบรษิ ัทจากการขายสนิ ค้า เมื่อเกิดการซื้อขายสินค้าระหวา่ งกนั ในกลมุ่ กิจการ จะถอื ว่าเปน็ การโอนสินค้าจาก บรษิ ทั หนงึ่ ไปยังบรษิ ัทหน่งึ ซึง่ ถ้าหากมีการซื้อขายสินคา้ ระหว่างกันในราคาทุน การตัดรายการ ระหวา่ งกันในการทํางบการเงนิ รวมจะตัดเฉพาะรายการซื้อขายระหว่างกนั เพียงรายการเดยี ว แต่ โดยท่วั ไปแลว้ การซ้ือขายสนิ ค้าก็ยอ่ มจะเปน็ การซ้ือขายในราคาทีร่ วมกําไรไว้ ถ้าหากสินค้าน้ันถกู ขายใหบ้ ุคคลภายนอกแล้ว กําไรหรือขาดทุนระหว่างกนั ก็จะถือว่าเป็นกาํ ไรหรือขาดทุนของกลุ่ม กิจการ แต่ถ้าสนิ ค้าทีซ่ ื้อขายระหว่างกันน้นั ยังมไิ ด้ถกู ขายต่อไปใหบ้ ุคคลภายนอก และยังคง แสดงเป็นสินคา้ คงเหลอื ในสมดุ บัญชีของผู้ซอื้ สนิ คา้ คงเหลือจํานวนน้จี ะแสดงในราคาทุนท่บี วก กําไรหรือขาดทุนเอาไว้ ซึ่งกําไรหรือขาดทนุ ระหวา่ งกันนตี้ ้องไมถ่ อื วา่ เปน็ กําไรขาดทนุ ของกลมุ่ กจิ การ ดังนั้น ในการทํางบการเงินรวม นอกจากจะตอ้ งตัดรายการซื้อและรายการขายระหว่างกัน แลว้ ยงั จะต้องตัดรายการกําไรหรือขาดทุนอีกรายการหนึ่งด้วย การปรับปรุงและตัดบัญชีรายการกําไรขาดทุนระหว่างบริษัทจากการขายสินค้า สามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ 1 การตัดกําไรระหว่างบริษัทในสินค้าคงเหลือ ปลายงวด และกรณีที่ 2 การตัดกาํ ไรระหวา่ งบริษทั ในสนิ คา้ คงเหลือต้นงวด
บทท่ี 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณบี รษิ ทั ในกลุม่ กจิ การมรี ายการคา้ ระหวา่ งกนั หน้า | 235 1.1 การตดั กาไรระหวา่ งบรษิ ทั ในสินคา้ คงเหลอื ปลายงวด เม่อื บริษัทในกล่มุ กิจการมีการขายสินค้าใหก้ นั ในราคาที่รวมกําไร แลว้ สินค้านนั้ ยงั ขายไมห่ มด ยังคงเหลืออยู่ ณ วันสน้ิ งวดบญั ชี สินค้าทีย่ งั คงเหลือดงั กลา่ วก็จะมีกําไรระหวา่ งกัน รวมอยู่ ซึง่ กําไรจํานวนน้ีถอื ว่าเป็นกําไรทีย่ ังไม่เกิดขึ้น ดังน้ันในการตัดกําไรระหว่างบริษัทในสินค้า คงเหลอื ปลายงวด จะตัดโดยลดยอดบญั ชสี นิ คา้ คงเหลือปลายงวดในสมดุ บญั ชขี องผูซ้ ื้อ และไป เพ่มิ ยอดบัญชตี ้นทุนขายในสมุดบญั ชขี องผู้ขาย โดยให้ตดั กําไรในสินค้าคงเหลือทั้งจาํ นวน ไมว่ า่ บรษิ ทั ใหญ่หรอื บรษิ ัทยอ่ ยจะเป็นผขู้ าย และไมว่ ่าบริษทั ใหญ่จะถือหุ้นในบริษทั ย่อยจํานวนเท่าใดก็ ตาม รายการตัดบัญชีในกระดาษทําการแสดงในรูปแบบเดบิต เครดิต ไดด้ ังนี้ ตัดกําไรในสนิ ค้าคงเหลือปลายงวด (กรณีบริษทั ใชร้ ะบบสนิ ค้าคงเหลือแบบตอ่ เนอ่ื ง) เดบติ ตน้ ทุนขาย เครดิต สนิ คา้ คงเหลอื ปลายงวด ตัดกําไรในสินค้าคงเหลือปลายงวด (กรณีบริษทั ใชร้ ะบบสินคา้ คงเหลือแบบส้ินงวด) เดบติ สินค้าคงเหลือปลายงวด(งบกาํ ไรขาดทนุ ) เครดิต สินคา้ คงเหลือปลายงวด(งบแสดงฐานะการเงิน) การตัดกําไรระหว่างบรษิ ัทในสนิ ค้าคงเหลือปลายงวด แสดงไดต้ ามตวั อย่างที่ 5.6 และตัวอยา่ งท่ี 5.7 ดงั ตอ่ ไปนี้ ตัวอย่างที่ 5.6 กรณีไมม่ ีสินค้าเหลอื เมอ่ื สิ้นงวด บรษิ ทั สรุ สิ า จํากัด ไดล้ งทนุ ซ้ือห้นุ สามัญทมี่ สี ทิ ธิออกเสียง ในบริษทั จัตชุ ัย จํากัด จํานวน 90% เม่ือวนั ที่ 1 มกราคม 25x1 ในระหวา่ งปี 25x1 บรษิ ัท สุริสา จาํ กัด ขายสินค้า ให้ บริษทั จัตุชัย จาํ กัด ในราคา 120,000 บาท ซ่งึ รวมกาํ ไรไว้ 20% ของราคาทุน ในระหวา่ งปี 25x1 บริษทั จัตชุ ัย จํากัด กไ็ ด้ขายสนิ ค้าดังกล่าวออกไปให้บุคคลภายนอก ทงั้ จํานวน เป็นเงนิ 156,000 บาท (สมมตวิ า่ ทั้งสองกิจการใช้วิธีบนั ทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบส้นิ งวด) การบนั ทกึ บญั ชใี นสมดุ บญั ชีของทั้งสองบริษทั เป็นดังน้ี
หนา้ | 236 บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณีบรษิ ทั ในกลุ่มกจิ การมรี ายการค้าระหวา่ งกนั บริษทั สรุ ิสา จากัด บริษัท จัตชุ ยั จากัด 25x1 25x1 เดบติ เงนิ สด 120,000 เดบิต ซ้ือสินคา้ 120,000 เครดติ ขายสินค้า 120,000 เครดติ เงินสด 120,000 บันทึกการขายสินค้าให้บรษิ ัทจัตุชยั บันทึกการซื้อสินค้าจากบรษิ ัทสรุ สิ า เดบิต เงินสด 156,000 เครดติ ขายสินคา้ 156,000 บันทกึ การขายสนิ ค้าให้บุคคลภายนอก บรษิ ัท สรุ ิสา จากัด และ บรษิ ัท จัตชุ ัย จากัด กระดาษทาการเพอ่ื ทางบการเงินรวม (บางสว่ น) ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บริษัท บรษิ ทั รายการปรบั ปรุง งบการเงนิ สุรสิ า จัตชุ ยั และตดั บญั ชี รวม เดบิต เครดิต งบกาไรขาดทนุ 120,000 156,000 (1)120,000 156,000 100,000 100,000 ขายสนิ คา้ 20,000 120,000 (1)120,000 56,000 ต้นทุนขาย(ซ้ือสินคา้ ) กาํ ไรขัน้ ต้น 36,000 รายการปรับปรุงและตัดบญั ชี (1) ตัดรายการซื้อ-ขายสนิ ค้าระหว่างกนั เดบิต ขายสินค้า 120,000 เครดิต ซอื้ สนิ ค้า(ตน้ ทนุ ขาย) 120,000 จากตวั อย่างท่ี 5.6 ในกระดาษทาํ การจะเห็นได้ว่า ในช่องงบการเงนิ รวม เม่อื ตดั บัญชีแล้ว จะเหลือยอดขายเฉพาะทเ่ี ป็นการขายใหบ้ ุคคลภายนอกจาํ นวน 156,000 บาท และยอดต้นทุน ขายก็เหลือจํานวน 100,000 บาท ท่เี ป็นต้นทุนขายของบริษทั สุริสา ดงั นั้น กาํ ไรขั้นต้นรวมจึงมี จาํ นวนเทา่ กับ 56,000 บาท
บทที่ 5 การจดั ทางบการเงนิ รวมกรณบี ริษทั ในกลมุ่ กจิ การมรี ายการค้าระหวา่ งกนั หนา้ | 237 ตัวอยา่ งที่ 5.7 กรณีทมี่ ีสนิ ค้าคงเหลือปลายงวด จากข้อมลู ในตัวอยา่ งที่ 5.6 หากบริษัท จตั ชุ ยั จํากัด ขายสนิ ค้าดังกล่าวออกไปให้ บุคคลภายนอกเป็นจํานวน 60% ของจาํ นวนที่ซ้ือมาจากบรษิ ทั สุรสิ า จํากดั เป็นจํานวนเงนิ 93,600 บาท (สมมติว่าทัง้ สองกิจการใช้วธิ ีบนั ทึกบัญชสี ินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด) การบันทกึ บญั ชใี นสมุดบญั ชีของทง้ั สองบริษัท เป็นดงั น้ี บรษิ ัท สุริสา จากดั บรษิ ทั จตั ชุ ยั จากัด 25x1 25x1 เดบิต เงนิ สด 120,000 เดบติ ซอื้ สินคา้ 120,000 เครดติ ขายสินค้า 120,000 เครดิต เงนิ สด 120,000 บนั ทึกการขายสินค้าใหบ้ รษิ ัทจตั ชุ ยั บันทกึ การซ้ือสินคา้ จากบรษิ ัทสุรสิ า เดบิต เงินสด 93,600 เครดติ ขายสินค้า 93,600 บันทึกการขายสนิ ค้าใหบ้ ุคคลภายนอก บรษิ ทั สุรสิ า จากดั และ บริษัท จตั ชุ ัย จากดั กระดาษทาการเพ่อื ทางบการเงินรวม (บางส่วน) ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 หนว่ ย : บาท บริษัท บรษิ ัท รายการปรับปรงุ งบการเงนิ สรุ สิ า จตั ุชัย และตัดบญั ชี รวม เดบิต เครดติ งบกาไรขาดทนุ ขายสินคา้ 120,000 93,600 (1)120,000 93,600 ตน้ ทุนขาย* 100,000 72,000 (2)8,000 (1)120,000 60,000 กาํ ไรข้ันตน้ 20,000 21,600 33,600 งบแสดงฐานะการเงนิ สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด 48,000 (2)8,000 40,000 *ตน้ ทุนขาย = สินคา้ คงเหลอื ตน้ งวด + ซอื้ สุทธิ – สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
Pages: