Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือนาทีทองพ.อ.ปิ่นมุทุกันต์

หนังสือนาทีทองพ.อ.ปิ่นมุทุกันต์

Description: หนังสือนาทีทองพ.อ.ปิ่นมุทุกันต์

Search

Read the Text Version

ศเศ'๔ นาททอง การชำระอกั ขรสมยทผดเพยนและบกพร่องใหสมบูรณ และ ถกู ตอง เรมิ แตเ่ พญเดือน ๑๒ ถึง เพญเดือน & แห่ง บระกา พ.ศ.๒๓๓๑ รวมเบึนเวลา&เดอื น เมือ่ ชำระแล,ว กให้ช่างจากคถหู สกจารกิ ลงใบลานใหญ่ แลวบดทองทึบ อังใบปกหนาปกหอัง หอ่ อัวยอาั แพรอนั สวยงาม พระ ใตรบฎกฉบบนเรยี ก'วา่ “ ฉบบทอง” บรรจอุ ย1ู่ในอปั ระอับมุก ณ หอมนเทึยรธรรม อดั พระศริรต่ นศาสดาราม ใน พระบรมมหาราชอัง ครํ้งท่ี ๕ เมอ พ.ศ. ๒4๓๑ พระบาทสมเดจื พระจุลจอมเกลา เจาอยูห่ ว รซกาลท ๕ โปรดเกอาั โปรดกระทมอ่ มให้ มกี ารทำนบุ ำรงุ พระ,ไตรบฏกอีกครงํ้ หนงึ โดยมคี วาม มุ่งหมายสองประการ คอื การชำระขอความและอกั ขระท คลาดเคลอื น และการพิมพเบนึ เลม่ สมุดอักษร'ไทย เพอื ใหสะดวกในการศกึ ษา มีแผนงานอังน

พ.อ,'ไ]น มทุ ุก*นฅ กรรมสมปาทิกสภา (ในพระบรมราชปู ถัมภ์) ผายจดั การ ผายวชิ าการ แบ,งเบ1น ๘ กอง ตรวจวินย่ บฎก ๑ กอง ตรวจสตุ ตันตบฎก ๕ กอง ตรวจอภิธรรมบฎก เดา กอง Iจ่าVIนำทีป่ ระกอบตวั ยพระราชากณะ และพระเปรยี ญ ทงในกรงและทวิ เมอง จ่านวน 0 # ๖ รป

8101๖ นาททอง ครง่ื ท่ี ๖ 1บนการจิดพมิ พและชำระพระไตรบฏก ในรซกาล พระบาทสม1ดลพระปกเกลาเจาอย่Vู เว รซกาลที ฟ พ.ล. - ครงนจดํ พิมพ์บึนสมุดปกแขง็ ได้มกี ารแกเ่ ครือ่ ง หมายจากการใชว้ ฌฌกฺ ารและยามกการอยา่ งเดมิ มาเบึน ใชพ้ นิ ทุ อนเบน็่ แบบทีสมเดลพระมหาฟืมณเจาทรงประดิษฐ ขนใช้ในการพมิ พ,์อรรถกถา ต'ก่อย่างเซน่ ฉบบ ร. ๕. = สวากขาไต ภควตา ธ'มโม ฉบบํ ร. ๗ 33 สวากขาไต ภควตา ธมโม นอกจากนแลว ย'งไดพ้ ิมพเ์ พมิ อกหลายคมภรี ให้ เสรจ่ื ฒบูรณ การสรำงพระไตรบฎกฉบบน ไดม้ พี ระบรมวงศา นวุ งศ และอาณาประชาราษฏรืท่ วี ประเทศ ทรงบรจิ าค และบริจาคทรพยโดยเสดลพระราชกศุ ลดวย จึงขนาน นามวา่ “ฉบับสยามรัฐ\" มจี ำนวน 6.๕ เลม่ เทา่ เวลาท'ี พระพทุ ธเจำประกาศพระศาสนา 6๕ บ ๔ กรก ฐ ใ คธ ๒๕ อ ๑

ลำคบชไเคมโ!รทท®ศาสนา ทกๆศาสนากอวา่ คัมภรฒ์ น สงสำคัญอย่างยง เพ:าะเบนหคักจาน คำสอนของศาสนา ในศาสนาอสลามถอ วา่ คมั ภรก์ ระอานคักดสทํ ธมาก นอกจาก เบืนทม่ันใจว่า คำสอนในม่นั ถกู ฅ้องตาม บัญชาของพระเบนเจ้าแล้ว ยังเบนท เคารพเกรงกลัวของศาสนกิ อกคัวย ผทุ้ ุ จะแตะตอ้ งหยบ่ ยกคัมภร์ จะต'องอาบนา ชำระกายให้สะอาดกอ่ น และส่วนมาก หวงแหนมให้คนนอกศาสนาไดแ้ ตะต้อง อกด้วย ศาสนาขกขก๋็ อคัมกรอ์ านคิ รนั ถะ แทนพระศาสดา ในโรงสวดของเขา

*๓๘ นาททอง ท,ๆ.แข่ง แลปะรมะสดมงเฐด*า่ยนวอนแัมเทภา[รท์เบิน๖นสงไพร!รู้ขะา สงู สด อัมภวจ์ ะมแพรอนั สวยงามคลมุ ไว้ และม คนคอยผลัด เปธิยนอันถือแสจามรสขาว บรสทธิแกว่งโล่สตั ว์เล็กสตั ว์น้อยมใอัมา ไตต่ อมไดเ้ ลย 1. วันนจะเลา่ เรองอมั กวใ์ นศาสนา พทธของเราสอมั พงสกั เลก็ นอ้ ย คมฑืรตํ ามทรรศนะทางพทุ ธคาสนาของเรา Vเมาย ถึงตำราVเรือVIนงสือ อาจเบนหนงั สือใบลาน หนังสือ สมุดข่อย หนงั สือเล่มสมุด หรอื ชนิดอนื \"Iเก1ได้ หาก เบนึ ทจดจารืกขอธรรมคำสอนของศาสนา และเฉพาะ อย่างยิง คำฟ้อนประเภทตำรบตำรา เพราะฉะนํน้ ์ หาก ใคร1จะเอย่ ถ งึ ศมภรี ความร'ู้ สกื ฃองซาวพทุ ธกไมบ่ กใจ ลงไปว่าหมายถึงคมภีรอะไรแน่ คมภรี หรอื ตำราทางคาสนาพทุ ธ มีความสำค*ญ ลดหลนกนเบนซน \"I รวม & ขนดวยกน คือ เ

•ช*ุ -:? ะ!®*' / พ .อ .!]น มทุ กุ *นค์ ๓ (ก* ขนท ๑ พระไตรบฏก ขะนทก่ ๒ อรรถกถา I ข้นท 0, ฎกา ขนท ๔ อนุฏกา ขนท ๕ เกจิอาจารย๎ ษระไตรบฎก พระ1ไตรบฎี ก เบึนค*พารี'สูงสดุ ของพุทธศาสนา มีเรองราวอยมู่ าก ควรจะเล่าไว้ตา่ งพากในเรอง พระไตรบฏกโดยเฉพาะ(6)) แต่คราวนจะขอเลา่ ในทาง เปรียบเทียบกับคมภีรอน พอเบนึ ความรู้ทวไปเท่านน ทา่ นคงจะทราบอยแู่ ลว่ วา่ กับกงั แตพ่ ระพุทธเจา ปรนิ ิพพานแลว่ พระสาวกได้สบื คำสอนมาดวยการทอ่ งจำ และฌนึ การทอ่ งจำอย่างเบนการเบนงาน สืบต่อกันมา จนกระทงถึง พศ. 4.8๐ Vเรือประมาณ'*0 ชวอายคุ น ศาสนาไดแพรเ่ ข'้ าไปประดษิ ฐานในประเทศลง่ กาแลว่ ราว ( * ) โปรดกห นำ ๓!0 ๙

เ^——^ ^ ^ ^ * * * ',* '-' V'*0 นาททอง ๒ 00 บ ืเศษ (พ โะพ ทุ ธ ศ าส น าใ]ระต ิยฐาน ล งใน ลังการยา่ ง เบนทางการ เม่อํ ลงั คายนา คร*งท่ี ๔ พ.ศ. เ&๓&) ในบ พ.ศ. (1๕0 (บางแห ง่ วา่ พ ศ ๔๓๓) นินเอง พร?สงข ไดจดจารกึ คำสอนซองพระพทุ ธเจาลงในคมภีรใบลาน พระพทุ ธศาสนา ได1ถกู 'จารกึ ลงญืนลายสกั ษณ้ อกษร ครงแรก ถอยคำสำนวนทีจ่ ารกึ ลงไวใ้ นพระไตรบฏกนน ไม่ ใช่คำตรสชองพระพุทธเจาสัวน ๆ แต่มีลกั ษณะเบึ๋นคำ บอกเลา่ ทีพ่ ระมทาเถระเลา่ ในที่ประชุมสงคายนาครงแรก นั้นเอง แตท่ ่านเลา่ กนเบนภาษาบาล ยกต*วอยา่ งเช่น มงคลสตู รมีคำวา่ ะ “ เอว}]เม สดํ เอกํ สงเย้ ร)คาา สาวตกฺ ิยํ ว}งรติ เๆเตวเน อนาถบ่ณี ฑกสส อาราเม ๆ ล า . . . . . . อชฌภาลิ อเตวนา จ พ?ลานํ ปฌฑิตานฌจ เสวนา.. / ’ คำท่อนตนเิ บนคำบอกเลา่ ของพระอานนที่ รงึ ทา่ น เล่าต1งแต่กราวสังคายนาคร้ํงท *1 และพระสงขทอ่ งจำไว้

พ.อ.!]น มุทกุ น้ ค์ ๓๙* ความตอนนแปลวา ‘ขาทเจา (ห ม า Iเล็งพร*อาไ'ณท) ใต้ศกหานาวา่ ครงหนงิ พระด้มพ่ ระภาคประทับอยท่ พระวหิ ารเขตวัน ขอาท่านเครบฐอิ นาถบฌบ,กะ ฯลฯ . . . พระองคไ์ ดต้ รัลว่า . . 1” มเี บีนคำบอกเล่า ล่วนความ ทอ่ นต่อไปเบีนพระดำรสของพระพุทธเจา แปลวา่ “การ ไม่คบคนพาล® การคบกบั บัล!ฑต๑ (เทV่ มงค ล )...” กา:1จารกึ พระ1ไตรบฏี กคร1งแรกนน ทำกนฌนงาน ใทญ่ พระสงฃปํ ระชมุ กนั ทำ ๑ , 0 ๐๐ รปู ล้วนแตท่ รงจำ พระธรรมฺว่นัย ทำอย่เู บ๋นึ เวลานานถงึ ๑ บี' จำนวน ใบลานทจื ารกมากถงึ ฝ ทลงั ซาง — 1...— ในพระบรม ราซูปถมนัของพระราซาวฏฏคามณีอนัย ตงแท่นไ14มาซาวพุทธกถอื 'ว่าคมภรี พระไตรบีฏก เบีนคมภรสงู สดุ ของศาลนา ' เบนี แมบ่ ทของคำสอนทง้ํ ปวง ในล้านวนพูต เวลาอไงพระไตรบฏก เขาพูดวา่ “ บาล”่ ทรอื “ป าฐ’ อรรถกถา อรรถกถา บางทีเรยี กว่า วณั ณนา เบีนลัมภรี ี อธิบายพระไต:บฎี ก เซ่นพระไตรบฎี กมคี ำวา่ “อเลานา

(11๙๒ นา'โเทอง จ พาลานํ . . ทแป.ลว่า \"การไมก่ บคนพาล\" อรรถกถา กๆะยกเอามาอธิซายอีกว่า คำว่าไม่คบ ‘ยุ นน คีอไมค่ ำ อะไร ? และคำว่า พาล ‘ยุเนนหมายถงึ คนชนดิ ไหน? ลังนพนตน คมภีรอรรถกถามีอายุอานามไล่ ๆ กบพระไตรบฏก เพราะในการสงคายนาครงท & อนเบนการ1จารึกพระ'ไตร บีฎกเบนึ ลายลกั ษณ์อักษรคร้ํงแรกนน ปรากฏว่า ทีประขมุ ลงฃไลัทยบิ ยกเอาอรรถกถาบางอย่างขนพิจารณาประกอบ ดวย คือ คมภืรสามนตปปลาธกิ า ( โ ใเรดดูลงั คึดกิ ถา หนา *1!!)๙ แล!!นึกใ?แ ค ่งเพ นเตํมกาฃหลงฮกึ ) ฎกี า เบึนคมภีรซึ นทีสาม รองจากอรรถกถา คือ เอาคำในอรรถกถามาอธิบายเพ'ิ มเตมิ เซ่นพระไตรบฏก เอ่ยถึงคนพาล อรรถกถาอธิบายว่า คนพาลคือคนไม่ม บญญา ฎีกากเอามาซยายความอกิ ว่า ทวา่ ไม่มบญฌา คอื ไม่มอี ยา่ งไร ลังนเบนึ ตน

พ .อ .!)น มทุ ุก้นอ์ #1(1 01 คมมีรืฎีกานเรมิ มีขมประมาณพุVเธศตวร:ษที่ ๑๕- ๑๖ คือราว พ.ศ. ๑๕๘๘ อนฎุ ีกา อนฎุ กี า เบึน๋ ตมั ภรี ซนท่ี ๕ เกบ็ เอาขอความท่ยี ง คลมุ เครอื ในฎกี ามาอธมิ ายเพม่ี เติม บางทีก็ยกเอามติ ของอรรถกถามาคานดวย เกจอิ าจารย เกจอิ า'จารย กมายถึงหนงสอ่ มอี า1จารยรุ่นกลงแต่ง โดยยกเอาพระพุทธว'จนะบาง คำในอรรถกถา — หรือฎีกา - อนุฎีกาบาง มาอธบิ าย ประกอบเหตผุ ลและความคดิ เหนของตน อย่างเซ่นหนไลอื ธรรมะมีขมแตง่ เบนึ ตนั เรยกวาเกจิอา'จารย ( อ า จ า รยิ มตกิ เร,ํ ยก) ถงหนงสอ พระไตรบฏกแปล ทืพอ่ คาทา'จำหน่ายในทองตลาด กตก ระตบั มาอย่ใู นซนมี ๕ น เพราะมกี ารตอ่ เติมมติส่วนตวั บาง ตัดความเตมิ ใหย้ ่อลงบาง ตงั เบนึ ท่ที ราบอย่แลว

- โ . ...1 . ๓๙๙ นาททอง การตดิ สินใจ เมอกกั ศึกษาเหนขอความใด'ซวนสงสย หรือ หฒาฐานขดั แยง่ กัน ใหค้ นดู'ในคมภีรืทีอ่ ยู1่ในระดบสงู ก1ว่า 'จนถึงพระไตรบฎก หากตรงกบพระไตรบฎี กณซึ อไห้ หาก แยง่ กับพระไตรบฎี ก ให้พงึ ถอื วา่ พระไตรบีฎณมนึ ถกู ตอง แสะไมม่ ืทางทใี ครจะคานไดแลว โดยทำนองเดยี วกัน หากท่านสงสยความหมายแหง่ ขอธรรมในพระไตรบีฎก บท'ใดบทหนึง กพงึ คนดใู นคมภีรขนั รองลงมา เฮ๐ กนยายน ๒๕๐*1

การท่องจำคำสอน ก่อนมีนระไตรบฎี่ ก -------------------- - ๒ ๙ : 0 ๓ จากหลักฐานทา]คาสนายนย้นว่า คำสอนขอ]พทธศาสนาได้ถูกจาริกล]ฒืน ลายลกั ษณล็ ักษร หลั]จาก'หระพทธเจา้ ปรนิ ิพพานแลัวถ] ๔๔0 บ คลอคเวลา สศตวรรษก]นน พระส]ฆ็๋ไดทอ่ ]จำลนั มาด้วยปาก ทา่ ให้น่าคดิ วา่ การท่อ]ด้วย ปากนน จะเบืนการทร]จำไว้ไดถ้ ูก ต้อ]หริอไม่ เริอ]นฒนเรอ]น่าคดิ อยู่ เหมอ่ นกนั ขอเล่ายอ้ นหล]ั ไปลักน่ด ในฟมิ ํยทพี !ะพทุ ธI'ๆๆซองเราทรงอำนวยการ ประกาศศาสนาดวยพระองคเปง็ นน หลักฐานทพอ,ไะ

๓*๖ นาทีทอง รวนรวมไดแฟืดงว่า การศกึ ษาอักษรศาสตร์'ซองชาวชมพู ทวปี ยงั ไม่กวางนก จะ1ไดเ้ ล่าเรยี นกนมากก็เฉพาะลูกทลาน คนใหญ่คนโต คือพวกวรรณะกฬรั ืยและพราหมณ อกี ที กพวกลูกเศรษฐีคโเหบดี เพราะจะตองจางครูสอนดวย ราคาแพง สำหรบพระพทุ ธเจา้ มีหลกั ฐานแนน่ อนวา่ พระองคไดล้ ำเรืจการศกึ ษาทางอกั ษรคาสตนเลว ตงแต่ ก่อนออกทรงผนวช แต่ในระหวา่ งทที รงประกาศศาลนานน ผมไม่พบ หลกฐานวา่ พระองคได,ทรงใซ1หนังสอื ไม่ไดม้ กี ารเขยี น หนงลอื หรืออา่ นหนงสอื ไมว่ า่ จะเบนึ การสง่ ขา่ วสารหรอื บนทึกคำลอนกตาม แต่กมขี อความอยหู่ ลายแห่งแลดงวา่ สมยนนํ ไดม้ การใซหนงลือแลัว เขน่ พระภิกษุรูปหนงึ ถูกเรยี กว่า '‘โปลติ ะ, ’ - “ทระใยลามเปล่า', คอื เบนึ คนไมม่ ีคณุ ธรรมอย่ใู นตว การทตี รส่ ลงึ ใบลานกหมาย ลงึ คมภีร แสดงว่ามคี มลึรใบลานใช้ยนั แลัว แตค่ ง จะใชก้ นทางพวกพราหมณกระมงั ? อกี แห่งหน่ึงใน

พ.0 .บน มทกนกิ 015.๙ กาลามสูตร พระพุกธ[จาทรงสอนมใิ ห้เ๘ช! องI า่ ยตV*วยปรารภ เหตุ *1๐ ประการ ใน ๑0 ประการนน มีอยซู่ อหมีง'วา่ 'ยย่าเขยโดยอาาตำรา' มกี หมายความวา่ สมยนน หนงสือตำรใ]ตำรามใี ชก้ นแลว และคงจะมคี นเซอื และ ซอขอา้ งตำราอยู่ไม่ม่อย จึงทรงกำซใ]ไวอยา่ งน ฉะน1น ผมจึงเชอ่ื วา่ การใซหนงสอึ คงมแี ลวในสมยนน หากแต่ ยงั ไม่แพร'หลาย เฉพาะการตำเมินงานทางศาสนาพุทธ เทา่ น1นทขี มบอกว่า'ไม่มีการ1ใซหนงลือ ทพี ูดอยา่ งมกิ เพราะ ยงั หาหลใไฐานไม่พข “ การเรยี น” ทางศาสนาทา่ นกใช้ ศพทว่า\"ลตะ\" ซึงแปลตรงตวํ 'ว่า \"ท ง’ แต่เบนึ ทีรกู้ น ทางความหมายว่า พงกคึอเรยี นนนเอง พอมีศพทว่า \"พหลต\" เรามีแปล1ว่ๆ \"คนคาแก่เรยน\" ตกลงวา่ การเรยี นคำสอนทางศาสนา1ในสมยนน ใซการพง'และการท่องจำ - มบี ญหาว่า การทอ่ งจำคำสอนของศาสนาซงึ มี จำนวนมากมายนน จะจำไดท้ วถงึ อยา่ งไร และจะไม่

. :: า ^ : '''\"ะ - *1๔๙ •V,ไทที อง ตกหล่นดวยความหลงลืมไปเสียมากกว่าอยู่หรอื ผม!อง กเคยคดิ อย่างนเหมอื นกน แตเ่ ม่ีอน้หู นอะไรเข่ามาก \"I แลวกหมดก*งวลใจ และมีความมนใจวา่ การท่องจำนนสามารถดำ:ง กำสอนชองพระพุทธองคไวไ้ ดจรงิ ตวยเหตุ ๓ประการ คอื : *1. ภ ใ๙ใ ท างค าส น าช ่วย ไม ใ่ ห 9บ(ลธี น เฮ. วปที อ่ งจำของทา่ นโดก}] แล*) 01. จ ติ ข อ ง ค น เร า น เ้ํ ใเน อ โร }]ช า ต จ ำ อ ย ่า ง ใ]โ!)หลาด ประการแรก เรองภาษา เราใช้ภาษาบาลีเบนึ ภาษาทางคาสนา ภาษาทีว่ า่ นเบึนภาษาตาย ไม่ยืดไม,หด ม1ีไวยากรณบ'งก*บอยู่ทกุ ต*'วอกษรและทุกสระ เพราะฉะน1น ภาษาบาลจี ึงเบึนภาษาท่เี หมาะทีส่ ุด ในการบ*นทกื กำสอน ศาสนาไว้ใหคงที่ นบดวยเวลารอยบพนั บ ลา่ บ'งเคญิ ผู้ท่องจำไดเคลือนคลาด เซ่นจำสระยาวเบึนสระสน หรอื จำสระส'นเบนึ สระยาว จำวรรคตอนนิด จำเอกพจน

พ.อ.!]น มุทุก*,1เธํ 01&1๙ พหูพจนผด มนจะพว่ งขนมาในตัวทเี ดียว ยกตัวอยา่ ง เซน่ คำบาลีพุทธภาษติ วา่ “ทุหธํ ฝ็รฌํ คจฉฺ าม, แปลว่า “ขา้ พเจาถิาพระพทธเจ้าเบ,ึ นสรถ!ะ, หากผจ้ ำๆคลาด เคลอนเพยงสระเตยว เซนวา พ ทุ ฺธา... หรอ ‘‘พุ ทฺ ไธ. . หรื อ “พุทเฺ ธ - พทุ ธ ๆ ล ?” กตาม ตันกจะ แปลไม่ไดเลย รูว้ ่าผดตันที เพราะคำสดุ พ่ายประโยคคอ “คจฺฉาม”ิ ตังตบั อยูแ่ ล1ว เท่ากบบอกไดไลยว่า “ คำ ขางหนไของตนั ตองออกเลียงเบนึ ะะ-ง หรือ * เท่านน” ในตักษณะเดยี วตนั หากคำหนำจำ,ไพถ่ ูกตไองี แตไ่ ปจำ คำหตงั คลาดเคลอน กรวู้ าผดได,จากทางไวยากรณ เหมือนตัน เพราะคำหนา คือ พทุ ฺธํ บองตันเอาไว้ นยก ตวั อย่างพอใหเ้ หนวา่ ภาษาบาลเี บนึ ภาษาแบบจริง ๆ แต่ทา่ เราไมใ่ ซภาษาบาลีเลย แต่ใซภ่ าษาอนื ทีเ่ บนึ “ภาษาเบน, เซ่นภาษาไทยเราเบึนตน เลอะเลือนงา่ ย เอาไวไ้ มอ่ ยู่แน่ ตงั เกตดูคำสวดมนฅของทหารบทท'ี แปลเบนึ ภาษาไทย หากปล่อยทงี ไว้สก ๒บืเพา่ นน คำสวด งอกออกไปอีกต1ง์แยะ เลยตองซ1อมกนทกุ บื

๓1^0 นาททอง ป:ะการที่สอง วิธที อ่ งจำฃองพระสวดยุคนน ท่าน ทำร*,ดกมุ และทำอย่างเบนการเบนงาน1จรงิ ๆ ไม่ใช่ สกแต่ว่าทำ เรองมอี ยางน คือระหว่างที่พระพุทธเจาย*งทรง พระซนมอย่น21ง มพี ระสาวกซนผู้ใหญ่อยู่หลายท่านที่คอย ตดตามถวายความชว่ ยเหลอื ในการประกาคศาสนาของ พระองค มพี ระโมคคลลานะ และพระสารีบุตรเบนตน นอกจากน พระพทุ ธเจา1ไดเ้ ลอื กพระสาวกรปู หนงฌืน พทุ ธอบุ ฎฐาก คือผคู้ อยปฏิบตใกล้ชิด พระสาวกทวา่ น คือ 'หระอานนท ตามประวฅ่ ฃองพระอานนทนํ นปรากฏ ว่าท่านเบึนคนมสี มองจำดีเบนึ พเิ ศษ คือจำเกง่ ไดร้ บ คำขมเซย'จากพระพุทธIจำวา่ เบนคนสตดิ มี าก การท พระพทุ ธเจ้าทรงเลือกพระอานนทเํ บนอุบฎฐากนน มีได้ 0 ทรงมงุ่ จะให้เบนผคู้ อยรไ!ใซใกลช้ ดิ เทา่ นน หากเลงเหนว่า ท่านผูน้ เบนคน'จำเก่ง ไปภายหนำ'จะเบนึ ทวแิ รงสำคํณ ในทางทรงจำคำสอนของพระองค การทท่ี รงเลือกให้ใกล้

พ.อ. ไ]น มุทุก*นค์ ถ,.๕3 ซด กเพอให้ทา่ นไต้พงเทศนาของพระองค และใหท้ า่ ไต้ หล*กฐานปรากฏอยู่ในเงอนไข ๘ ประการ ทพระอานนท ทลู ขอจากพระพทุ ธเจา คอื ะ ขอ ๑ พระพุทธเท\"่ เจะต้องไม่ประทานผาจีวรอย่างตี แกพ่ ระอานนท่ ขอ เอ พระพุทธเทา่ จะตองไมป่ ระทานอาหารอย่างตี แก่พระอานนท่ ขอ ๓ พระพุทธเท่าจะตอ้ งไม่โปรดใหพระอานนท พกอยู่รว่ มทประทบั ของพระป็งคื ขอ 6. พระพุทธเท่าจะตองไม่โปรดใหพระอานนท ไปในกจิ นมิ นต (เพึ๋ออดเิ รกลใภ) ควย ขอ & ถาพระอานนทรบนิมนตแทนพระพุทธเจา แลว พระพทุ ธเทา่ ก่จะตอ้ งเสคจื ไปโปรดผู้นมิ นต ขอ ๖ พระอานนทสามารถจะนำพทุ ธบริษัทๆ!งมา จากทางไกลเขาเผา ในทันทีทีเ่ ขามาถึง ขอ้ ๗ ถ้าพระอานนทม์ ความสงสยั ในเรอื งใด ก็สามารถเขน้ ผาทลู ถามได้ทุกเมอ

01๕๒ นาททอง ขอ้ ๘ ถา้ พระพุทธเจา้ ทรงแสดงธรรมเรองใดใน ทีลบหลไของพระอานนท์ ก่็จะต3องทรงแสดงเรองข้นให้ พระอานนทพ์ งอิกครใ ทา่ นผเู้ ลรญี ไปรดสไเกตดูเงอ่ื นไขแปดขอน ซงึ่ เบนเสมือนสัญญาระหวา่ งพระพทุ ธเจากบพระอานนท์ ละ เหนไดว้ า่ งานของพระอานนท์ทแ่ี ทลรงี มืใซก่ ารรบใช้ แต่ หนกไปทางเลขานกุ าร คอื การทรงจำคำสอนของ พระพทุ ธเลาไว มิใหตกหล่น ตอ่ มา พอพระพทุ ธเลาปรนิ พิ พานแล1ว พระสาวกผู้ใหญ่ ไดพรอบกนั ทำพธิ ีถวายพระเพลงิ พระพทุ ธสรรี ะ ท่ีเมอี ง กลุ นิ ารา แคว1นมัลละ พอเสรลงานถวายพระเพลงิ กไดค้ ำนึงถึงบญหาการทรง'จำคำสอนของพระพุทธเจ,าฌนึ บญหาแรก ท่านพระมหาเถระเหล่านนไตท่ ีาริกลงบากัง แควนมคธ อ'นเิ บึนอาณาบริเวณท่ีพระพทุ ธเล่าทรง ประดิษฐานศาลนาคร่งแรก และกวางขวางมนคง เมือ บาถึงเมืองราธศนหุ แลว กลดใหม้ ืการประชุมสงซ่ึ ทเี่ รียก

พ.อ.ไ]น มุทกุ *นก- ฅ๕*ล ว่าสงคายนา การประซุนคร8ง์นท่านได้คดเลือกเอาพระ สาวกทเบนึ ขํ้นคณาจารยและทรงจำพระธรรมวนิ ัยเท่านน ๚งท่ผไู้ ด้รบการคดเลอื ก .0 0 ท่าน และไค้กำทนด สถานทีประชมุ ขนภายในถาสตั บรรณคูทา ขางภเู ขา เวภารบรรพต ไมท่ า่ งจากวัดเวฬุนนั เท่าไรนกั การประชุมครงนเบนึ บญทาการทรง1จำกำสอนโดย ตรง วิธีปฐบิ ตกด็ ือ 51. ช กั ซ อ 11กนั ว่า ท า่ น ผ ใ้ ด ท ่อ งจ ำเร อื งใด ไว อยา่ งไรท ้าง แลว่ใหทร!)เถร®ผ้เู ช่ยี วซ าญ เฉทว!เ เรืองนนทบั รองหรอื ทกั ท้วง แทว้ คณ!)สงรเท ไ]ร!)ช}ุ เกันก์ทบั ทราบ ไ/ร!)กาศให้ถอึ เบน ไ/ทัสถานตอ่ ไไ] ๒ . ไดท ดั ข บ วน การท อ่ งจ ำ ค ำ สอนทร!)พทุ ธเจา อยา่ ง เบึนทางการ ทงั จ!)กล่าวตอ่ ไไ] ขบวนการท่องจำในการประชมุ สังคายนาครง้ํ แรก นน เมอไคม้ กี ารสกั ท่อมธรรมวินยั ท่ีพระสาวกทรงจำไว้ ไดแลว ก็ไค้มกี ารแบ่งหนาั ท,ี กันท่องจำ วิธีทำก็'ดอื แบ่ง

๓{ X นาททอง ประเภทคำลอนออกเบนพวก \"I เสยี ก่อน ทเรยี กวา่ บฎก มอี ยู่ ๓ บฏกดวยกนั *). พร*วนิ ยั บร วา่ นวั ยนอั บงั คนของศาสนา เก ๒ พร*ลดุ นั ตบรเก วา่ นัวยนอั รรรมแล*เรื่องราว แล* ๓. พร*อภิปร็ รมนรั เก ว่านัวยขอนัภเิ นัดจิดโศยฅรง เมอี แบ่งประเภทคำสอนแลก้ กแบ่งทน1าท่ีของ พระสาวกใหท้ ่องกันเบนึ คณะ \"I คือ -คณะ■ หระอบาลเถระ ให้รบขดชอบท่องคำวนย บฏก' เพราะพระอบุ าสีท่านได้รบยกย่องสากพระคาสดา มาก่อนแล้ววา่ แตกฉานในทางวนย -คณะพระอานนทเ์ ถระ ให้รบผ ิด ซอบทอ่ งคำ พระสุตนั ตบฏก คือเรอ่ื งราวพรอมท่งฃอธรรมตา่ ง \"I ท่งน กเพราะพระอานนท่ไดร้ บยกย่องมาสากพระศาสดาแลว้ วา่ เบนึ ผู้ทรงคำเก่ง เบึนพหสู ตู คอื ได้พงธรรมสาก พระพทุ ธเสามาก ตงั กล่าวแลวในตอนตน

พ.อ.!]น มุทุก*'นฑ์ ๓!{๕ -คณะพระเถระตา่ งนาม ใฑ้รบผดิ ซอบทอ่ ง'จำ พระอภธรรมบฏก ตามพี่กล่าวมาน่ึ ท่าน'จะเหน1เดแ่ !เลว1วา่ คณะสงข ไดเ้ ลือกพระมกาเถระซนผใู้ หญ่ เบึนหัวหนาขบวนการ ทอ่ ง'จำ พระสาวกเหล่าน่ึลัวนแตไ่ ดร้ ่วมงานประกาคคาสนา กบพระพุทธเล่ามาแล1วต่ งแตต่ นพุทธกาล อนง่ึ การแบง่ หนำพก่ี นท่องจำเบนึ สาย \"I ทา่ ใหภาระในการทอ่ งจำเรือง ไม,เกนกำลงั พ่ีง1์ไม่ลับฟืน นอก'ๆากนึแ่ ลวั การท่องจำเรือง หน่ึง ๆ กล็ ดั ผู้ทอ่ งไวหลายท่าน เพอใหสอบทานหนั ได้ ‘ และ1ให้มหี ัวตายหวั แทน รวมความว่าการท่องจำทำหนั อยา่ งเบนึ การเบนึ งานจริง ๆ จึงเบึนพี่วางใจไดว้ ่า คำสอน ของพระพุทธเจ้า1จะ1ไม่ตกหล่น ประการท่สี าม เรอื งสมรรถภาพของจิตในการ ทรงจำ ผมอยากจะพูดเพียงวา่ ตามปกติแลวจิตมคี วาม สามารถในการทรงจำไดอยา่ งดมี าก หากไดกระทำการ ท่องจำอยา่ งถกตอง หัวอย่างพี่เหนอย่ทวไปก็คือการทอ่ ง

๓๕๖ นาทที อง พระปาตโิ มกข และทอ่ งสวดมนต่จากหบงั ลอื ฉบบั หลวง ของพระภกษุสามเณรพุก1บันน ซึงถาคนไมเ่ คยทอ่ งได้พง เวลาทา่ นสวดทานแลว จะแปลกใจวา่ จำไวไ้ ดอยา่ งไร แต่ในวงการของพระถอเบึนเรองธรรมตา ๔ สงหาค}เ เข&(ว๒

การปกครองสงฆํ่ไทย', ส'มภาษณ์ทางโทรทศั น์ ททบ. ระหว่าง พ.อ.ไ]น มทุ ุกันต กบั นายพุง ศรวจิ ารณ์ อา่ นเรองนแลว้ ท่านอาจเขาใจ ดขนในบญหาทว่ ่า พระสงฆ์ไทยปกครอง ลน้ อยา่ งไร และอาจขว่ ยขจดั ความสงสยั ในเมอมผคิ รองผ้าอย่างพระสงฆ์ แต่ ประพฤตินอกรดนอกรอย ใครจะเขน ผู้สนั ผิดขอบ ? เรองน เบนบนั ท่กการสนทนา ระหวา่ งผมเอง ลน้ คณพง ศรวิจารณ์ อVธบ-ด?กไรมก\"า.รคาสไนา กไร,ะทรไวไง?ศ่กนา ธการ (®) ก่อมาไทม้ ีการฟล๋ยึ นแปลงระบบการปกกรองกณะ และปรบปรงุ กรมการศาลนาไหมท,’งหมก เรมแก่ พ.ศ ๒๕0 ๖

๓๕๙ นาททอง “ ท่านอธิบดเี หนๆะๆบงานทางคณะสงฃมานาน แลว ?’’ ผมเริมการสนทนา หล*งๆากไดแนะนำผู้ซม โทรทศนใํ หร้ ู้''ใกอธบิ ดกี รมการศาสนาแล1ว “ครบ นานโขทีเดยี ว” ทา่ นอธิบดี “ ต ูเหมอื นตงแต่กรมการศาลนา ยงไมม่ าขน กระทรวงวฒนธรรม', “ใชค่ รบ ผมอยู่ตำแหนง่ นมาตงแตก่ รมการศาลนา ขนอยกู่ บกระทรวงศกึ ษาธิการ ๆนกระทงโอนไปขน กระทรวงวฒนธรรม และโอนกลบมาขนกระทรวงศึกษา ธิการอกี ,' “ ผ ู้ลึกยงั ไงครบการทำงานเกยวกบพระ^ เจา*'']?” “ กเหนอยเอาการครบ แต่ใๆเบึนกศุ ลตลอดเวลา” “ เพราะตดิ ถงึ พระอย่เู ลมอ ร,’ “ ถกแลวครบ” “ ยงุ่ ไหมคร*บ ?’’ “ ปกตพิ ระทา่ นไมค่ อ่ ยยุ่งครบ เพราะท่านเบนคน มระเบยี บวินยปกครองอยู่ซนหมืงแลว” “ แต่เรื่องเหนื่อยเศนึ ๆะหลึกไมพ่ น?”

พ.อ.!]น ม'ท' กน้ ก๎ * ๕ ๓๕๙ “ แน่นอนครบ สงขมณ๚ลกวางขวางเหลอึ เกน,, “ทุกวนนดเู หนีอนมืคนพูดถงึ งานปกครองทาง พระสงรเิ หนาทซุ น ถาทางผมจะทา่ ตวเบึนผแู้ ทนท่าน ผ้สู นใจเหล่านน ' เรียนถามถึงงานปกครองคณะสงริ!บ,าง ท่านอธบิ ดี1าะขดชองหรือไม่ ?” “ยนิ ดที ่เดียวครบ” “ขอบคณุ มากครบ ผมอยากจะเรมิ ดวยการทบทวน ความทรงจำของท่านผู้ซมก่อน จึงใครเ่ รยี นถามวา่ ความ ม่งุ หมายแทจรงิ ของการปกครองบานเมอื งต่างกนั หรือ เหมอื นกนั อย่างไรครบ ?” “ ผมคิดวา่ มคี วามมุ่งหมายคลายๆกน การปกครอง บานเมืองทมืฅวามมงุ่ หมายให้บานเมอื งเจรญิ การปกครอง คณะสงขถึตองการใหศาสนาเจริญเหมอื นกนั ” “แตณ่ นความเจรญิ ทางเดยี วกนั หรอื คนละทาง ครบ?” “ ความเจริญของบ^นเมอื งกอยใ่ นหลัก ๓ ประการ คือเจรญิ ทางวตถุ เจริญทางเศรษฐกจิ และเจริญทางจติ ใจ

พีนืศาสนากิเบึนเครอ่ื งกล่อมเกลาจติ ใจทีน่ องเนอื ง อยใู่ นกิเลส ใหห้ นเขไหาธร:มมะ ใหบุคคลประพโ]ติแต่ สิงพีดีพีขอบ ไม่ริษยาเบยี ดเบยี นชงกนและกัน อกี อยา่ งหนืง การปกกรองซองผายม่านเมอื ง ตองการใหพลเมอื งอยู่รว่ มกนั กัวยความสงบสขุ ปราศจาก โจรผ้รู าย ใหต้ งหนาประกอบสมมาซีพ ใหห้ มนเพยี ร ใหประหยด ทางศาสนากบิ ุ่งความสงบสขุ เซ่นนเหมอื นกน” ‘‘ซอเปรียบเพยี บของหา่ นอธิบดี ห่าใหโรามองเหน้ เจตนารมณของการปกครองกระจ่างดีพีเดยี ว และความ จรงี กา:ปกครอง;างสองผายกิต1องสนับสนุนกันอยู่ในตวั ” ‘‘ถกู แล่วครบ ธรรมะกล่อมเกลาจิตใจซองคน ไห้ลึกชงกวา่ กฎหมาย กล่าวคอื กฎหมายสามารถบองกน คนหา่ ผดในพแี จง สว่ นธรรมะบองกนั ใหท้ ^งท่ีแจไพี'ลับ” ‘‘ความลมั พมธกนั ระหวา่ งพุทธจักรกบั :าขอาณาจักร เหา่ ทเบนี มาแลวในอดีต กบพเี บนึ อยใู่ นบจจุนันนื หา่ น อธบิ ดีรสู้ กึ ยงไงครบ ?” ‘ ‘ สำหรบประเทศไทยนนํ มพี ทุ ธศาสนาเบีนศาสนฺ า ประจำซาตมิ าแตโ่ บราณกาล พระมหากษัตรีย่ทกุ พระองค

ทรงผกใผทำนุบำรุงพระพทุ ธศาสนา ศวฆค่กู ขํ การทำนุ บำรุงประเทศปาี ตติ ลอดมา และประเทศไทยก็อย่มู าดวย ความปกติสขุ และดำรงความฌึนไทยมาลนถงึ ทกุ ยนั น ลงื กลา่ วได้วา่ การศาสนากบการปกครองในประเทศไทย เบนของคกู่ ิน และละแยกลากกนมไิ ด้ ในสมยโบราณเมือศรงบไนเมอื งยงั ไมิมกิ ฎทมาย โดยสมบูรณ์เหมือนอย่างสมัยน การปกครองบานเมอื ง ลำติองอาศยศาสนาเบนึ เครอื งช่วยอยเู่ บนึ อนั มาก ปรากฏ ตามหลไกฐาน1ในศลา'ลารกึ สมัยกรุงสุ'โขทย1ว่า พระเลา ขุนรามคำแหงไดทรงสรางพระแท่นมมังคศิลาไวทกลางดง ตาดแห่งหมงื ยันปกติพระองคํใชเ้ บนึ ทวํ า่ ราชการดวย พระองคเอง ในยันพระวนโกน ไดอาราธนาพระสงฃ มาเทศนาลงสอนขาราชการ และประซาซน ณ พระแทน่ มนงกศลิ านเบนึ ประลำ ในยคุ ต่อ ๆ มา พระมหากษตรยิ ่กท็ รงทำนบุ ำรงุ พระพุทธศาสนาเบนึ ลำตบมา เชน่ มกื ารสงคายนา พระ1ไตรบฎก ทรงสรไงยัดวาอารามเบนึ ตน

๓๖๒ นาททอง ครนื นาสมยั เม่ีอประเทศไทยเปลีย่ นแปลงกา7 ปกครอง ฌนื ระบอบประชาธปิ ไตย ก็ไดบ้ ญญตไว้ใน รฐธรรมนญู แหง่ ราซอาณาจกั รไทยว่าพระมหากษ้ตริยืทรง ฌนพทุ ธมามกะ และทรงเบนลใั รคาสนูปกมั ภก ท้ํงน เบนการยกย่องและยีนยิน1ให้เหนซดวา่ พระพทุ ธคาสนา ฌึนศาสนาประคำซาตไทย สรุปได้วา่ พระพทุ ธศาสนา ไดช้ ่วยการปกครอง ประเทศไทยให้เจรญิ รุง่ เรอื งในทางจติ ใจ จนั ฌืนสว่ นหนง่ึ ในหลกั ๓ประการ ทท่ี ำใหบ้ านเมอื งเจริญ” ‘'ขอบคุณมากครบ เรอื งความสมพนธระหวา่ ง พทุ ธจกรกบอาณาจักร เหนจะผา่ นได้ เราแยกกนไม่ ออกแน่ ทนี ขอรบกวนบฌหาทางการปกครอง การปกครอง สงฃในยุคนกบยคุ กอ่ นเหมือนกนั ไหม ?” ‘‘ความจริงหลักการปกครองสงฃส่วนใหญ่ กย็ ดื พระธรรมวินยเบนหลกั เหมอื นกัน แต่ระเมยื บการปกครอง เท่านนที่เปลีย่ นไปตามกาลสมย

ห.อ.ปน มุทกุ *นก์ ๓๖๓ การปกครองสงขไทยในยคุ โบราณน้นํ ์ พระมหา กษ*ตรยิ ทรงไวซ้ งึ พระราชอำนาจเดดขาด ถึงกบซผิด ทกุ ไว,้ , “สมัยน5นกงจะยงั ไม่มีการสถาปนาสมเดจพระ ส่งซราซ ?” “มกร'บ, มีพระส่งขราชเบนประธานสงฃเหมอื นกน แตก่ ารสงการโดยเตดขาดขนอยู่กบพระมหากษตรยิ ’, “หนายกวามวา่ การใช้อำนาจในกราวมเี รอง “ถูกแลวกริม, แตพ่ ระองคถมึ ไี ดทรงใชอ้ ำนาจ โดยพลการ หากแตท่ รงปรึกษาพระเถระในคณะสงขก่อน แล'เวจ้ งึ ทรงบงกบยัญซา'ใหเ้ บน1ไปตามกำปรกึ ษาหารึอน'น,’ “ กยงั เบึนการทรงคารวะ'ในสงฆอยูน่ นเอง,’ “ ออ๋ . แน่นอนกริบ,, “สมัยก่อนทพระมหากษตรยิ ัทรงปกกรองสงขนน ถามพี ระทำผิด ท่านลงโทษยงั ไงครบ ?”

(ก ๖ ® ' นาททอง “ ตามพระบรมราชโองการ ร*ซกาลท*ี ,-๒ - ๓ -(1 ว่า เมือมีพระภิกษรุ ู!]ใดกระกำผดิ ซึงเบึนการทำ ใบ้เสอื มเสยี แก'คณะสงฃ กอะถูกบงคมใบ้สึก แลวเอา ตวมาลงโทษพางบานเมอื งอกี สถานหนึ่งตว่ ย,, “ ถไเซ่นนนกติ องมหี นว่ ยราชการไวพ้ ำงานน,, “มคื รบ, คอื กรมธรรมการ ในสมยนน” “ แตเ่ หนอะไมม่ กื ารคุมข*งกระม*ง ?” ‘ มครบ! ก่อนใซพ่ ระราซบ*ญญตปกครองคณะ สง'สี ร.ค. ๑๒*, มหื องซง่ พระอย่ทปี่ ากคลองโอ่งอา่ ง ซงึ เ,,บ1นทซตงึโกรมธร,รมก1าร* “การปกครองดงกล่าว ไดมาเปลยนแปลงเมอื ไร ครบ ?” “ ในรขกาลพํ & ครบ” “ ทรงปรารภขนเอง หรือมืปฏกิ ิริยาอยา่ งไร อึง ทรงเลิกแบบเก่าเสยี ?'’

“ ทรงปรารภขนเองครบ คอื ภายVIลงั ท1่ีได ท:งป:ซปรงุ กา:ปกครองแผน่ ตน ใท'สอดคล้องกไ] อา:ยป:ะเทศแล้ว ท:งพ:ะราชปรา:กว่า การคณะ สงฃมคี วามสมพนธกบอาณาลกั รอย่มาก สมควร'ลดั รูป การปกครองคณะสงข ใหสอดคลอ้ งกบระบอบบริหาร ราชการแผ่นดิน คงื 1ไล้ทรงประกาศ'ใชพ่ ระราชนญ่ ญตํ ลักษณะปกครองคณะสงฃ ร.ศ. *๒*” “พระราซบ'ญญ*ดิฉบบนน วางรูปการปกครอง คณะสงขไปในลกั ษณะไหนศรบ ?” “ โครงการใหญๆ่ กคอื ลดั ให้มีสกาบนการ ปกครองสงขํสงู สุด เรยี กวา่ “ มหาเถรสมาคม,’ ประกอบ ตว่ ยพระมหาเถระ ๘องค บญหาการพระศาสนาทลา้ คญ ‘สุ ใหส้ ่งเขไพจารณาในมหาเถรสมาคม เมอมหาเถรสมาคม มมี ดอิ ย่าง'ใด กทรงโปรด ๆ ใหเ้ บนึ ไปตามมดินนทุก ประการ” “แต่เวลานไมไ่ ด้ใซการปกครองแบบนแลัวใช่ไหม

เก ๖๖ นาทที อง “ ใซ,ครบ, ได้มกื ารเปล่ียนแปลง:ะขบการปกครอง สงขอกี คร1ง เมอ พ.ค. ๒4๘4” “ ปรารภอะไรครบํ ?” “ซอปรารภกดีอ ทางยำนฌอื งไดเปลี่ยนแปลงการ ปกครองเมือ พ.ศ.๒4ฅเ& จากระบอยสมบูรณาญาสิทธิราชย มาใซระบอบประชาธปิ ไตย จงึ เปลย่ี นแปลงการปกครอง ทางพทุ ธจกั รใยํสิอดคลองกน จะไดประสานงานกนสะดวก จงึ ,ไตย่ กฺ เลก พ.ร.บ. เดิม แล่วใซ้ พ.ร.บ. คณะสงข พ.ศ. ๒4๘4 แทน,, “ ขอความกรณุ าทา่ นอธิบดี อธิบายรปู โครงการ ปกครองสงช ตาม พ.ร.บ. ทใชอยู่ทุกวนนพอเบนสงเขป ครบ,, “ การปกคฺรองสงขทุกวนน มรื ปู โครงคลา่ ย‘ทกุ ’บ การปกครองประเทศครบ โปรดดูแผน่ ชารทเปรียบเทียบ ตอ่ ไปน

สมเดจนระส์ชฆ้ รา!! ท:งใช้อำนา'ๆ ๓ ทาง - ® . อำนาจนิติบเั ขูญัต-ทางลังขฟืภา - ๓. อำนาจบริหาร - ทางคณะ?โงขมนตรี - ๓ . อำนาจตลาการ-ทางคณะว1นยธ: การปกกรองระบบน ไค้กุกยกเถิกโกย พ,ร.บ. กณะสงฆ์ พ,ศ. ๒๕'๐!? แ®*ว์ บ’!เจุบนํ ใช่ระบบมหาเถรสมากม

เก ๖ ๘ นาททอง ท1งน เทียนกนิ ไดก้ 'บการ!]กครองประเทศ คอื สงขสภา เทยี บกบสภาผู้แทนราษฎ: คณะส*งฃมนตรี เทียบกบคณะ:*ฐมนตรี คณะวินยธรเทียบกบศาล” “ เราเทลอี เวสาอยู่อกี เพียง 4 - &นาทีเทา่ นน ผม ขอความรู้อีกนดเถอะครบ ผ้ทู ี่'คะได้:*บสถาปนาขนดำรงตำแทนง่ สมเคสื พระ ส*งขฑซ มกี ารค’ดเลอื กอยา่ งไรครบ ?” “ พระมทากษัตรยี ทรงสถา!]นาขน โดยทรงเลือก สมเด'ๆพระราชาคณะทม่ี ีสมณศกดอายุพรรษาสงู สดุ ในขณะ นน “เกยวก’บสงฃสภาล่ะค:ไ] มีสมาซกสำนวนเทา่ ไร และเลอื กต้ํง์'ฑกบุคคลประเภทไทน ?” “ สมาซิกสงชสภาไมม่ กี ารรไ!สม'ค: ไม่มีการลง คะแนนเลือกตไ แตค่ ดเลือก1จากพระสงฃผ้มู คี ุณวฒุ ตาม สำตบคง้ น ะ

พ.อ .ไ]น มทุ กุ ‘นค์ ๓๖๙ ลำลบ *1 พระราชาคณะชนธรรมขนไป ลำดบั เอ พระคณา'จารยเอก ลำดบ ๓ พระเปรียญเอก (* ปร*โซค) สมาชิกสงฃสภามกี ำหนดอยา่ งสูงไวไ้ มเ่ กิน &&รปู อย่างตำไมก่ ำหนด เมือเลือก'จากลำดับสูงไดครบจำนวน แลว้ กเิ ลกื กนแค่นน,, “สมาชกิ กิเหีนจะประกอบดวยผู้แทนสงฃทง่ ์สอง นกาย คอื ธรรมยตุ ิ กบมหานิกาย ?” “ถกแลว้ ครบ,, . พระทาง7ผายมหายาน เซ1•นพระ'ะจน พระญวนล.ะ ครบ มีสว่ น'ในการเบืนสมาชิกดวั ยหรอื เปลา่ ?” “ ไมไ่ ดเ้ บนคร*บ เฉพาะผายหนี ยานเท่าน1น,, “ ไม่มกี ารหาเสยี งเลอื กต1งอยา่ งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรรี ?” “ ถกู แล้วครบ ไม่มีการลงคะแนน แคพ่ จิ ารณา คดเลือกจากทำเนียบ แลว้ ประกาศแตง่ ต1งโ์ ดยตรงเลย,,

---- -” — ๓ฟจ นาททอง “ อยากจะขอความกรุณาใหท้ ่านอธิบดีอธบิ ายเรอง ซนสมณคกดยอ่ ‘จุ ครบ สำกรบท่านทย*งเรยี งลำดบ'ไม่ถกู ,’ “ในบ'ๆจบุ นั น พระสงขยังคงมสี มณคกดเซ่นเดยี ว กับข่าราชการสมัยก่อน ซึงมีบรรดากักดเบนึ ขนุ , กลวง, พระ, พระยา, เจาพระยา และสมเดจเจาพระยา พระสงร์เทไี ด้กับพระราชทานสมณกกั ด เบึน พระราชาคณะ มสี ำกับ?เนตงน ะ ก. พระราชาคณะซ1นสามญั เช่น พระครวิสุทธิ ญาณ, พระอมรเมธิ, พระสมุ งคลมนุ ี เบนึ ตน ขอสงเกต คอื ไม่มีคำว่า ราช - เทพ - ธรรม นำทนไ ข. พระราชาคณะซนราช สูงกว่าซนสามญั มี คำว่า ‘'ราช” นำทนา เซน่ พระราชโมลี พระราชมุนี พระราชเวทื พระราซกวิ เบึนกนั * ค. พระราชาคณะซนเทพ สงู กว่าซนราช มีคำว่า “เทพ,' นำทนา เซน่ พระเทพโมลี พระเทพมนุ ี พระเทพเวที เบนึ ตน

ห.อ,!]น มุทุกัแก์ ศ'๗8 ง. พระราชาคณะชนธ::ม สงู กว่าช5นเทพ มี คำว่า ‘'ธ::ม” นำทนไ เซ่น พระธรรมบฎก พระธรรมเคดีช พระธรรมโกษาคารย พระธรรมไตรโลกาคา:ย เบนตน ค. พระราชาคณะชนรองลมเตค หรือเรยี กว่าซํ้น มรี *ญยัฏ ซงึ่ นอกคากคะไดร้ *บพระราชทาน พ*คยศแลว ยังได้:*บพระราชทานแผน่ เงนิ คารีกนามดวย พระราชาคณะซ่ึนน ในบคคยุ ัน มอี ยู่ ๖ รูปเท่าน8น คอื พระธรรมวโรดม พระพรทมมุนี พระคาฟนื โลภน พระพมิ ล ธรรม พร;ะอุบาลมคี ณุ ปมาคา:ย\" พระมทา โพธวงศาคา:ย ฉ. พระราชาคณะซนสมเดค ทรอเรียกวา่ ซน สุพรรณบ',ฎ ซงึ่ นอกคากคะได้รบพระราชทาน พ*คยศแลว ยังได้:บพระราชทานแผ่นทองคำ คารกนามดวย พระราชาคณะซึน่ นีเบนชน

0'๗๒ นาททอง สงู ฟิต ณพ?ี ]ง 4 รปู คือ ฟืมเดจพระวนร*,ต ฟิมเดํจพระมทาวรี วงศ ฟมิ เดจพระพทธ โฃษาจารย แตม่ ีพระราซาคณะยางรูป ได้รบเทียบ เท่าขน ราช - เทพ - ธรรม โดยไมม่ คี ำวีา ราช - เทพ - ธรรม นำทนา ๚งตองจำซอื เบนึ พเิ ศษ เซน่ พระครื ธิ รรมมุมี เทยี บเทา่ ซนราช พระโพธวิ งศาจารย เทยี บเท่าซนเทพ พระรตนรซมมุ ี เทยี บเทา่ ซนธรรม เบนตน “ขอยอนถามถงึ ฟิมาซิกฟิงขฟิภาว่า ดำรงตำแหน่ง อยู่นานเทา่ ใด ?'9 “ฟืมาซิกฟงิ ฆลภา ดำรงตำแทน,งอยู่ตลอดไป จนกว่า ๑. ลงแก่มรณภาพ 1®. พ*นจากภวามเบนภิกษุ 0} ลาออก 4, สจฆํ สภาวินจิ ฉยใหออก

ผ.อ.ปน มุทกุ นค์ ๓๙01 จึงต่างกบ ส.ส. ซึง่ มีกำVเนดเวลาของสมาซกภาพ ไว้ และ'โดยฺ ๓ ตทุ มี ได้มกี า:เลอื กตง สมาซกิ สงิ ขสภา จึงมีใซ่ผู้แทนทวไ!],, “ ฌตเสนอบาจากทางใดครบ หากขราวาสอยาก จะเสนออะไรบางจะไดหรือไบ่ ?” ‘'ญตเสนอบาได้ ๓ ทาง คอื ๑. คณะสงั ฆบนตร ๒. กระทรวงศกษาธกิ าร ๓. สมาชิกโดขสงิ ฆนายกร0บรอง ญตทีเสนอต่องไม่ขดกบพระธรรมวนิ ัย ถาชราวาส อยาก1จะเสนอญตเชาสภาสงขกึตอ่ งผ่าน ๓ ทางดงกล่าว แลว” ‘'ผมยงสงสยิ เรองสงิ ขาณต กบั วนข ต่างกนั อยา่ งไร ?” “ สิงขาณ*ตเบึนบทบญญตํ ซงึ่ สงฃสภากำหนด ชนิ ส่วนวนิ ัยเบนึ บทบญญฅชงพระพุทธเจากำหนดไว้ สงขาณ*ตดองไม่นัดก*บพระธรรมวนิ ัย”

๓ซ'๙ นาททอง “ การลงมตใิ นสภาฟืงขทำกนั อยา่ งไ:ครบ ?” “ การลงมติซ,อปรกึ ษาถือเลยี งขางมาก สมาซก รปู หนงมีเลียงหนงในการลงคะแนน กัาคะแนนเทา่ กนั ให้ประธานซขาด หรอึ ระงบเรอื งไว้ สงขสภาจึงมหี นาหือย่างเดียวคอกญั ญฅกงั ขาณต ซงึ จะทำไดเฉพาะ : ๑. กำหนดวิธการปฎิบไ^ตามพระธรรมวินไ) เ®. กิจการทมี ีมทกฎหมายกำหนดว่า ทำไห เบน กงั ฆใณํต ล่งขสภาทำหนาทเี่ บนึ หืปรกึ ษาชอง ค.ส.น. ((■ เพ* ส่ง์ฆXVดร)ึ หามีอำนาจควบคมุ ค.ส.ม. ไม่ ซึงตา่ งกบั สภาผแู้ ทนราษฎร เพราะมอี ำนาจควบคุมการบรหึ ารของ ก.ร.ม.” “ขอบคณุ ค:*บทา่ นอธิบดี วันนเราหมดเวลาพอดี,, “ ขอบคุณครบ สวสดี”

ตาดบตร บ ร ร ย า ย ป ร ะ ก อ บ ข อ ง จ ร งิ ใ น ร า ย ก า ร ล า ร น ิเ ท ศ ท า ง อ า ก า ก ท ี. ว ี. ช อ่ ง ๔ - ๒๕081 ตาลบฅรห่รอพดั ท(่ี ร าเหน็ พระสงร[์ ออไปในงานพนิตา่ ง ๆ ทุกงันน ถ้าท่านสังเกตให้ด จะเห็นว ไมไ?ลายขนด บางขนิดมิรปู รา่ งแปลกๆ ท*มล และ ลวดลายต่างๆกัน ท่มี ตัวอักทรบอก เรยงราวตา่ ง ๆ ไวถ้ ว้ ยกม็ ิ และทไ่ี ม่ม อักหรอะไรเลยคมิ บางชนิดมริ ปู ภาพ และขอความกระเตยดจะเบนคำใฆหลวา ก็่มิ ผมจะเลา่ เรองราวของตาลบดรล)ู่ กน พง เทา่ ที่พอจะอนั หสักจานได้

01ตเ ๖ นาททอง ยุค'พทุ ธกาล เทา่ ที่ได1สอบคน้ ดูในคมั ภีรท์ างศาสนาแลว้ ไม่ ปรากฏวา่ มีพระพทุ ธกญั ญ'ตใทพ่ ระสงฃใซพ้ ัดแค้อยา่ ง1ใด เลย พดั จงึ ไมน่ 'กันือ่ งอยู่ในบรขิ ารซองพระภิกษุสงข แต่มปี รากฏในหลกั ฐานทางธรรมะทลายแท่งว่า เมอเวลาพระสาวกสะแสดงธรรม ได้ถือพ'ต่ขนไปบน ธรรมาสนิดวย แลวกถอื ไว้ในขณะทเทศน สำหรบ พระพทุ ธองคสะทรงถอื พดหรือไม่ ไมพ่ บหลกั ฐาน มีแต่ วา่ ขณะท่ีพระองคทรงแสดงธรรมนน มีพระสาวกบางรปู ถวายงานพดั อยูณ่ องพระปโ]ษฎางค้ (ขางหลัง) พัดทกี ล่าวถงึ นน เท่นใชศ้ พท่ีต่าง ๆ กนั เบน คอ้ ๑. ตาลบตร ๒. วาลวชน แล# ๓. จิตรวิ^นิ ตาลบ?ไร แปลว่าใบตาล คงหมายถึงพัดทท่ี ำดวย ใบตาล ค้อเอาใบตาลมาแผ่ออกแลวเสียนใหมน ขึงรมิ

1*1.อ. ปํ่น มุทุก'น11 ๓๐'๗ ใหต้ งึ เหลือกานตาลไว้ฌนึ ดามตบแต่งพอให้จับถมดกคือ พ้ดสำหรบื พดเตาองไลน่ เอง มีดามขนาบตรงกลางอยา่ งน โกรงคาลบ?าร วาลวิขน แปลวา่ พัดขนหางส'ตว เซ่นพัดขนนก พดั บกนก ตลอดจนพดั ทที ำดวยหางนกยูง หรอื นกขนาด ใหญ่อน ‘ยู บางทา่ นสนนษฐานว่าแสขนสตั วอย่างแส้ บดยุง รูปร่างของพดวาลวขิ นตี า่ งจากพดั อยา่ งอนื คือ ดามอย่ขู างใบพัด โกรงวาลวซิ นี พิจารณาดรู ูปรา่ งแลว ซวนให้เทนี วา่ ดดแปลงมา จากบกนกจรงิ ๆ ซา่ พเจาเซา่ ใจว่าวาดวซนคือพัดทที ำ

เกตเ๘ นาททอง ดวยขนฟติ ว่ จำพวกขนนก สวนแฟิที'ทำด้วยขนฟิตวฌึน เฟิน ๆ ลำหรบบดยุงนน ภาษาบาลดี เู หมอื นจะตองใช้ คำว่า “ ฟิกะ” มากกว่า จิตรวขน แปลตามศพทวํ า่ พดงาม คงจะหมาย ถึงพดซนิดทีประดิษฐดวยผาหรือของมคื ำอน ‘ยุ เซ่นงาซาง เบืนตน พดฟาิ มซนดิ น ความมุ่งหมายดงํ ์เติมกคอื 1ใช้พดลม เบึนของจำเบนมากในประเทศรอน ที่พระถึอขนธรรมาฟนิ ิ ในคร'งพุทธกาลกใช้ลำหรบพดลม แตก่ าไม่พดเอาตงไว ซ่างหนากจะเหนวา่ เบนของบงหน’าไปในฅวตวย แต่ตอ่ มามืการถอึ ว่าพดเหลา่ นมืศกดฟงิ ตาไมเ่ ทา่ กน ตาลบตรฌนึ ของสามญั วาลวิชนมิ ับจํตรวิซนฟิ ิง กวา่ เฉพาะวาลวซิ นมิ ซื ่ออยใู่ นเครองราซกกธุ ภณ๚ดวย ซา่ พเจาอา่ นพบ1ในพระนิพนธเฟดื จึ ในกรมพระยาดำรงราซา นุภาพว่า พระสงฃพมา่ 'ใช้พ้ดแบบวาลวขิ นิ คอึ ดามอยู่ ขางใบพด แต่ยงไมเ่ คยเหนกไ)ตา

ห.อ. ปน มุทุกํนฅ์ ๓๗๙ รวมความว่า ลัดเบนของมีมาในยุคพทุ ธกาลแลว เมึนของทพี ระสงฃใซดามประเพณีของซน^าวขมพทู วปี พระพุทธเจามไี ดทรงทาม และทรงสง่ เสริมแตอ่ ยา่ งใด ยคุ ล1กา ประเทศลงการไชพุทธคาสนาไปจากอนิ เดยี ขนม ประเพณตี า่ ง ‘พุ กึละม่ายกบอนิ เดยี ประมาณ พ.ศ. ๑๘๙4 ซงื เมึนยคุ ทพุทธศาสนา ในลงกากำลงเจริญรุง่ เรอื ง พระเจาวกี รมพาหทุ รงเมึน ศาสนปู ถมั ภก ได้มกี ารแบ่งการปกครองคณะสงฃออกเมนึ ผายคามวาสี คอื ผายทอยู่ตามวัตในละแวกบาน กบผาย อรญวาสี คือผายทีอยู่ตามวัด่บ่า แตล่ ะผายมพี ระมทาเถระ เมึนประมขุ ขางดงองค์ พระเจ่าอยู่ทวทรงเมนึ ยู่สถาปนา ประมุขนม ตามทลักฐานไม่ปรากฏวา่ ในการสถาปนา พระมทาเถระน1น ไดทรงถวายลดั ทรึอไม่ แต่ถาดใู น จดทมายเหตขุ องศาสนทูตลงกา ทมี าของพระสงฃสามองค ซง่ึ จะกล่าวตอ่ ไปขางทน่า กน่า'จะลนั นิษฐาน1ว่า ทลงั กา

๓ ๘ 0 นาททอง มีการถวายพดแกพ่ ระมหาเถระทพระเจไอยู่หวทรงสถาปนา ดวย เพรา^มอศาสนหูตมาเหน็ ทัดท่กี รุงศรอี ยธุ ยา กทราบ ทันทวี า่ อนไหนเบนทดั สำหรบผายคามวาสี อ้นไหน เบนึ ทดั สำหรบผายอรฌํ วาสี ทดั ฃองภกิ ษไุ ทยยุคโบราณ ในยุคสโุ ขทยั ทราบแตว่ ่ามีการสถาปนาสมเด็จ พระลงฃราช แต่ไมท่ ราบว่า ในการสถาปนานน พระเจาอยูท่ ัวไดพระราชทานท ดั ดวยหรือไม่ ในยุคอยธุ ยา ปรากฏแน่นอนว่ามีการพระราชทาน พดยศแมพ่ ระสงฆท,ีใด'ทรงสถาปนาดวย เรอื งนไดหลก ฐานจากจดหมายเหตชุ องศาสนหตู กรุงลังกา คอื ในบื พ.ศ. เอเอ^๓ ทางลงั กาไตส้ ่งทา่ นบตตะโปล, เข่ามาขอ พระสงฆจ์ ากกรงุ ศรอี ยุธยา เพอ่ื ไปประดษิ ฐานพทุ ธศาสนา ในประเทศลงั กา เนองจากศาสนาชองลังกาเสอมโทรม เพราะมพี ระอลัชชมี าก ท่านคาสนหูตกลับไปจดหมายเหตไุ ว้ทางลงั กาวา่ เม^าถงึ กรงุ ศรอี ยธุ ยาแลว ไต้เขา่ เผาถวายพระราชสาสน

พ .อ.,1เน มุทกุ ไ*ค V■ ๘® ตราแดพ่ ระเ๚าอยู่ห้วบรมไกศ ตอ่ 'จากน1นกไปเผาสมเดจ็ เพหรตะุนส&นไ!วIรา!ราชท่วี ดมหาธาตวราราม มีส้อความในจดหมาย “ ตำหน'กสมเด็จพระสังฆราช ม บัลลังกต์ งั สองขาง บนบัลลงั ก์มพัดยศ สำหรบตำแหนง่ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ขาง ละเลม่ พดั สองเลม่ นตัเมท่าด้วยงา ส่วน ตวั พัดเลม่ หนง่ สานตัวยงาจกั เบนเส้น ๆ อกเลม่ หน่งพนกำมะหยสแดงประตบั ตัวย ลายทองและเงนิ - สมเดจ็ พระสังฆราชประทับอยูบ่ นแทน่ บนั ทรง ถือพัดขนนกบังพระพักตร”์ ความในจดหมายเหตุนแสดงวา่ ในยคุ กรุง ค:อยุธยามกี ารถวายพดั ยศแกพ่ ระมหาเถระทพี่ ระเส้าอยูห่ ว ทรงสถาปนา เสด็จในกรมพระยาดำรงราชานภุ าพทรง สนนษฐานวา่ พดสองเล่มทที่ ่านคาสนทตู เหนนน พดพน

01๘16 นาททอง กำมะVIยี่บกดนทองเงน เรยี กวา่ พดแฉก ยอดแหลม เบน พตลำหรบตำแหน่งผายคามวาลี ส่วนพดทส่ี านดัวยงา เมึนพดกลม (แหบทนาหาง') เมึนพดตำแหนง่ ผา่ ยอรญวาลี ตามทเี่ ล่ามาน ทา่ นจะเหนแลววา่ เดิมทพี ดเมนึ ของสามญ ใชก้ นหว1ไป สำหรบพดลม ครนตอ่ มาพระเอา แผน่ ดนิ ซงเมึนองคศาสนปู ถมภ พรงสถาปนาพระมหาเถระ ซนเมึนประมุขของสงข จะได้วา่ กลา่ วปกครองกนเองใน วงสงฃเซ่นเดิย1วก'บสม'ยพุทธกาล ในการสถาปนานนจะ ทำเครอี งหมายอย่างใดอย่างหนึง่ ดิดลงบนไตรจีวร หรือ ใหพระท่านสวมใส่กํไมไ่ ด้ เพราะผด'จีน*ยบฌญต้ ล่งทรง ดัดแปลงพด1ให้มลกั ษณะพเศษถวายแต่พระเถระนน เมนึ การประกาศใหสงฃท้ํงปวงมี เพราะฉะน่น พดํ หรือ ตาลบตรซองสงฃจงี มีสองชนดิ คอี ๑) พํดทีพระเจไแผ่นดนิ ทรงถวายไนการสถาปนา เรยี กว่า พดยศ

พ.อ.!]น มุทกุ นอ ส ! ๔ (ก .๒) พํดทีพ่ ระภกิ ษุใชก้ นั สบื ๆมาก่อนแล้ว และ มผู้ทำถวายท่ัวไป เรยกว่า “พ*ดรอง,, หรอ “พด” เฉย ๆ กังสะเสนอรายละเอยี ดตอ่ ไป - ก. กดั ยดบจชบุ น่ กดั ยศในบสสุบนนมหี ลายซํ้น แต่พอสะ แยกประเภทไดก้ ังน • ) พัดเปรยญ มลี กั ษณะเหมือนกัดกัวไป แตบ่ กคน ๒ หนา พดเปรยญทุกวนน ตรงกลางมตี วเลข บอกวา่ ผูน้ นไดเปรยี ญอปี ระโยค สมเดสกรมพระ นรคี รานุกัดตวิ งศทรงออกแบบและทรงสดหมายเหตุ ไวว้ ่า ลายบนกัดนกัดแปลงมาสากรปู กดั ขนนก ทรงแยกไวก้ ังน เปรยี ญตรี พนสแี ดง เปรียญโท พนสเี หสีอง เปรยี ญเอก พนสีตาด