Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-06 14:51:28

Description: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา
#ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา
#คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Keywords: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา,ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา,คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 89  คูม ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา นัก อาจมกี ารจัดกลุมท่มี สี มาชกิ นอ ยกวา 5 คน ซ่งึ จะมบี ุคคลทม่ี ีความสามารถไมเ พยี งพอ หรือมีความรูไ ม เพยี งพอ รวมท้ังความเช่ียวชาญในงานก็อาจไมเพียงพอท่จี ะทําใหง านสาํ เร็จอยา งเรียบรอย แตไ มวากลมุ จะ มสี มาชิกมากนอยเพียงใดกต็ าม ทา นอาจไมอยูในสถานะทจ่ี ะคดั เลือกได จาํ นวนสมาชกิ เลขคี่จะดูสมเหตุ สมผลกวาเพือ่ หลกี เลย่ี งการเผชญิ ปญ หาเสียงครงึ่ หนึ่งเหน็ อยางหนง่ึ เสยี งอีกครึ่งหน่ึงเหน็ อีกแบบหนึง่ ในการ ตดั สินปญหาใด ๆ การรจู ักเพ่อื นรวมทีมอีกอยา งหนงึ่ ทค่ี วรจาํ กค็ ือทา นไมควรมที ัศนะตอเพอ่ื นรวมทีมทกุ คน วา จะมปี ระสิทธิภาพเปน แบบเดยี วกนั เพราะทุกคนจะมีบคุ ลกิ ภาพทีแ่ ตกตางกันไป จงึ ควรพจิ ารณาใหต าง ทัศนะกันไป อยา งไรกต็ ามบางคนก็อาจมบี ุคลกิ ท่ีคลายคลึงกนั แบบทเ่ี ราจะกลา วตอ ไป แตโ ปรดระมัดระวัง อยาไปคิดวา คุณลักษณะที่สมบูรณข องแตล ะคนจะไมเ หมือนกันทีเดียวนัก เพราะวาเขาหรอื เธออาจมเี พียง บางอยางทีส่ อดคลองกนั จึงจาํ เปน ตอ งรูจ ักคนแตล ะคนเปน อยางดี 5. ลักษณะสมาชกิ ของทมี ลกั ษณะสมาชกิ ของทีมจะมลี กั ษณะตา งๆ ดังตอไปน้ี 1) เปนนกั คิด สมาชิกประเภทนี้อาจเรยี กวา เปน \" คนเจาความคดิ \" เขามักเขาไปยงุ เกยี่ วกบั สิ่งทจี่ ะ ตอ งกระทําและมกั จะมคี วามคิดความอานและมขี อเสนอแนะตา ง ๆ มากมาย นกั คิดมกั ไมคอยสนใจใน รายละเอยี ดมากนกั โดยปกตแิ ลว สมาชกิ ของทมี ประเภทนีจ้ ะตอ งถกู จดั การอยา งระมดั ระวงั ใหเกยี รติ ให กําลงั ใจและแมแ ตการยกยอ งใหเกิดความภาคภมู ใิ จ เพื่อปอ งกนั ไมใ หเขาถอนตวั ออกไปจากทีมเสียกอน 2) เปนนักจดั องคก ร การทํางานรวมกบั นกั คดิ ทสี่ รา งสรรคย่ิงขึน้ ซ่งึ อาจเปนนักจดั องคก ร ผซู ึง่ ชอบ เขา ไปยุงเกย่ี วกับการทาํ งานของทมี งานเสมอ เพ่อื ไปจัดการและจัดสรรงานและหนาท่ีตาง ๆ เปน คนเจา หลกั การและเจาระเบยี บ แตก็เปนผทู ํางานทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพดี นักจดั องคกรบางคร้ังกไ็ ดร ับการยอมรับวาเปน ผมู ี ความคิดกวางไกล แตไ มคอยยดื หยนุ นัก ในการทํางานเขามักจะประสบกับปญ หาสภาพแวดลอ มท่ีเปล่ียน แปลงและและมคี วามไมแนนอน ทา นจะตอ งมแี ผนการฏิบตั ิงานทช่ี ัดเจนเพือ่ ประสานงานกบั เขาอยาง สมา่ํ เสมอ 3) เปนนกั ปฏิบตั กิ าร สมาชิกประเภทน้ีเปนนกั สรางงาน และมีทศั นคตทิ จ่ี ะตัง้ ใจทาํ งานเพ่อื ใหม ีผล งานเกิดขึน้ เปนคนเปด เผย หนุ หันพลันแลน ไมอดทนหากการตัดสินใจลา ชาหรอื ถูกดูแลควบคมุ การปฏบิ ตั ิ งานอยางใกลช ิด และมกั จะผิดหวังเมื่อทุกสงิ่ ทกุ อยา งไมเปน ไปตามทตี่ ้ังใจ ทา นจะตองใชความพยายามควบ คมุ หนวงเหน่ยี วเขาไวเ พอ่ื ไมใหร บั ผลกระทบจากความรนุ แรงทีเ่ กดิ ขน้ึ 4) เปน สมาชกิ ของทมี ไมน าแปลกใจนักท่ีสมาชกิ ของทมี จะเปน ผูท ่ีกระตือรือรน ในการทาํ งานเพือ่ ให ทมี งานประสบความสาํ เรจ็ และมีการกระทาํ ท่สี นับสนนุ และสามคั คกี ลมเกลยี วตอ เพอื่ นรว มทีมเปนอันดี พยายามท่ีจะพฒั นาและเสนอแนวความคิดของกลมุ มากกวาแนวความคิดของตัวเอง สมาชกิ ของทีมมักไม ชอบการเผชญิ หนา และการทะเลาะเบาะแวงกัน ไมต องการตอตา นใครคนใดคนหนง่ึ บางคร้งั สมาชิกของทีม กไ็ มคอยไดร บั ความสนใจ 91 เทา ทคี่ วรจึงพยายามปลกี ตนเองออกจากคนอน่ื ๆ ทานจะตอ งกระตนุ และชักจูง ใหเ ขาเสนอความคิดเห็น หรอื ใหข อ แนะนําและมองในดานบวกอยูเ สมอ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 90  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 5) เปน นกั ตรวจสอบ กเ็ ปน ไปตามชื่อนั่นแหละ นักตรวจสอบหรือนักตรวจซ้าํ มกั ชอบจับตาดวู ามีงาน อะไรบา งท่ีกาวหนา เขามกั คิดวา ตนเองเปนคนยุติธรรมและมีความพิถพี ิถนั แตคนอ่นื ๆ อาจมองวา เขาเปน คนชอบใชอาํ นาจและและเปน พวกเผด็จการ นักตรวจสอบมบี ทบาททต่ี องคอยเตือนใหท มี งานรสู ึกถงึ ความ จาํ เปนตอ งใชความรีบดวนปฏบิ ตั ิงานอยางจรงิ จงั เพอ่ื ใหง านกา วหนาและบรรลุเปาหมายทันเวลา ทานอาจ ตอ งเขา ไปประสานกบั นกั ตรวจสอบหรอื ทาํ หนาทปี่ ระนปี ระนอมเม่ือเขามคี วามขัดแยงกบั เพื่อนรว มทมี คนอ่นื ๆ 6) เปน นักประเมินผล สมาชิกประเภทนเี้ ปนผูทส่ี รางสมดุลอยา งดยี ิง่ ระหวา งนักคดิ และนักปฏิบัติการ ชอบความเปน อิสระและมกั จะแยกตัวออกจากทมี มีความระมัดระวงั และรอบคอบในการเขา ไปประเมินหรอื วิเคราะหข อมลู หรือสถานการณ ถงึ แมว านกั ประเมินผลจะไมเปน ท่ีชนื่ ชอบของสมาชกิ บางคน แตทศั นะของ เขาก็ไดรบั การยอมรบั นับถือจากสมาชิกรว มทีมคนอ่นื ๆ 6. คณุ สมบัตทิ ่ีจาํ เปนสําหรบั การสรา งทมี งานทด่ี ี 1. มขี อมลู ทีเ่ พียงพอ 2. มีประสบการณการทํางานรว มกบั นกั สรา งทมี งาน 3. มคี วามยืดหยนุ และเปด เผย 4. มีทักษะในการใหข อ มลู ยอ นกลบั 5. มคี วามเขาใจทเี่ พยี งพอเกี่ยวกับทฤษฎกี ารสรางทมี งาน 6. มเี ปาหมายท่ีชดั เจน 7. มสี ถานภาพท่ีเปนทยี่ อมรบั แกสมาชกิ 8. มกี ารใชแ หลง ทรัพยากรอน่ื ๆ 9. มที กั ษะในการฝกทีมงาน 7. หลกั ปฏิบัตใิ นการทาํ งานเปน ทมี 1. ทีมตอ งมอี ุดมการณท ี่แนนอนและสมาชกิ ทุกคนยอมรบั 2. ถือความถูกตอ ง ซ่ึงไมจ าํ เปน ตอ งถกู ใจ 3. ประนีประนอมกัน โดยมีน้าํ ใจของความรวมมอื เพอื่ บรรลเุ ปา หมายรว มอนั เดียวกัน 4. อภยั ซึ่งกนั และกนั 5. อยา พยายามเอาเปรียบกัน 6. ถอื วา ทกุ คนมีความสาํ คัญเทา กนั 7. เคารพในสทิ ธิแ์ ละเสรีภาพสว นตวั ของผูอ ่นื สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 91  คูมือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 8. อยา เดนแตผ ูเดยี ว ตองเดนทง้ั ทมี 9. ถือวาปญหาทเี่ กิดขน้ึ เปนของธรรมดา 10. เมือ่ มีปญ หาหรอื ไมพอใจอะไร อยาเกบ็ ไวหรือนาํ ไปพูดลบั หลัง ใหน าํ ปญหามาพดู กันใหเขาใจ 11. รจู กั แบง งานและประสานงานกัน 12. มคี วามเปน อิสระในการทํางานพอสมควร 13. ตองปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของทมี อยา งเครงครัด 14. ยอมรบั ผิดเมอ่ื ทาํ ผดิ 15. เมือ่ มกี ารขัดแยงกันในกลุม ใหถ อื วาเปน การมองปญหาคนละดา น 8. กลยุทธในการสรา งทีมงาน โดยแนวความคดิ แลว ทานและเพอ่ื นรวมทีมยอ มตองการเปนทีมทีป่ ระสบความสําเรจ็ ในการทํางาน โดยมีทา นเปน ผูนาํ ทมี มขี ้ันตอนหลายข้ันตอนทที่ า นควรนํามาใชเพอื่ ใหบรรลกุ ระบวนการ อนั ไดแ ก 1) สรางทีมยอย ๆ ขึน้ มา เหน็ ไดช ัดวา ทานสามารถชวยไดในการกระตุนใหทมี ทปี่ ระสบความสําเร็จ สามารถพัฒนาสมาชิกอันมีจํากดั ไดเมื่อตอ งการ บางทกี ส็ กั 5 คน ซงึ่ อาจเปนตัวเลขทด่ี ที ีส่ ุดสาํ หรบั สภาพ แวดลอมท่วั ๆ ไป ทานจาํ เปนตอ งคดิ ถงึ บคุ คลซ่งึ ประกอบกันเขา เปนทีม คงไมเ หมาะสมนักท่จี ะใหม ี พนกั งานสองคนซง่ึ เปน นกั คิดเขารว มทมี จะทาํ ใหเกิดกรณีพพิ าทข้ึนภายในทีมเพราะการรเิ รม่ิ และทัศนะท่ี ไมสอดคลอ งกนั ฉนั ใดกฉ็ ันน้ันเราไมค วรมีนกั ปฏบิ ัติการมากนัก เพราะแตล ะคนจะทํางานไปคนละทาง สองทาง ดังนั้นจงึ ควรนาํ เอาอัตราสวนผสมทเ่ี หมาะสมเขามาใชใ นการสรา งทีม ใหม ี นกั คดิ นกั จัดองคก ร นกั ปฏบิ ัติการ และอนื่ ๆ ซ่ึงจะสนบั สนุนซึ่งกนั และกันและตรวจสอบกันเองเปนไปตามความเหมาะสม 2) เห็นชอบในเปาหมาย ใหแนใ จวาสมาชิกทกุ คนรวู างานของตนคอื อะไร มาตรฐานและเปาหมายคอื อะไร และจะกาวไปในทศิ ทางใด บคุ ลากรแตล ะหนว ยงานจะตอ งพยายามรวมกลมุ เขา ดว ยกนั เพ่ือทํางานใน หนาทีอ่ ยา งดที ่ีสุดและใหอ ยใู นทีมเดยี วกนั ส่ิงเหลา นี้จะกระตุนใหส มาชกิ ทุกคนจดั รปู งานของตนเขา กับงาน ของคนอื่น ๆ เพือ่ ใหบรรลุเปา หมายรวมอยา งมีประสทิ ธิภาพและทนั เวลา ตองใหสมาชกิ ทกุ คนเห็นดว ยกับ สิง่ ทต่ี นกระทาํ อยวู ากําลงั ทาํ อะไร ทําเมือ่ ใด ทาํ อยางไร เพราะจะชวยใหเ กิดการประสานงานและทํางานดว ย กันอยา งสามัคคกี ลมเกลยี ว 3) รูจักสมาชิกเปน รายตวั เปนทก่ี ระจา งชัดวา ทานจะตองรจู ักสมาชิกแตล ะคนในทีมเปนอยา งดีที่สดุ เทาทจี่ ะเปน ไปได เพ่อื ท่จี ะสามารถระบไุ ดวาสมาชิกแตล ะคนมีลกั ษณะสาํ คัญและองคป ระกอบอยา งใด ทราบจุดแข็งและจุดออนของแตละคน ทานจะตองติดตอ กบั แตละคนในลกั ษณะทแี่ ตกตางกัน ยกตวั อยา ง เชน นกั ปฏิบัติการจะตองถกู กระตุน ใหทํางานชาลง รอคอย คิดและรบั ฟง คนอนื่ กอนท่ีจะทาํ งานตอ ในบาง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 92  คมู ือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครั้งทา นจะตองเขาไปไกลเ กลย่ี สมาชิกของทา น เชน ระหวา งนักปฏิบัตกิ ารกบั นกั ตรวจสอบ ใหท ้งั สองฝา ย นัง่ ลงเจรจากัน รบั ฟงความคิดเห็นของแตล ะฝายและยอมรับทศั นะของอีกฝา ยหนึ่งบา ง 4) รกั ษาไวซึง่ การตดิ ตอ สือ่ สารท่ดี ี การติดตอ ส่ือสารระหวา งทานและทมี งานและระหวางทีมดวยกันเองมีความสาํ คญั ในการพฒั นา เพื่อนาํ ไปสกู ารเปน ทมี ทจ่ี ะประสบความสําเรจ็ ในการทาํ งาน การตดิ ตอส่อื สารสองทางอยางตอเนอ่ื งและผล ทไ่ี ดรบั กลบั มาจะชว ยหยุดการซุบซิบนนิ ทา ลดความสบั สน ระงับปญ หาตา ง ๆ ไดอยา งรวดเรว็ และฟน ฟู สมั พันธภาพโดยรวม นบั เปนความจําเปนท่ีทุกคนในองคกรจะตอ งพูดจากับคนอ่ืน ๆ ท้งั ในการประชุมปกติ ท่ีเปนทางการและอยา งไมเปน ทางการ เพือ่ กาวไปขางหนา ยอมรับคาํ แนะนําตาง ๆ รบั ฟง และแลกเปลย่ี น ความคดิ เหน็ ระหวางกนั แบบสอบถามตอไปนจี้ ะชว ยใหท านตัดสนิ ใจไดว าทา นและทีมงานมกี ารตดิ ตอ สื่อสารกนั ดพี อหรอื ไม อยา งใดท่จี ะตองปรบั ปรงุ บา ง 9. แนวทางการสรา งความรว มมือรวมใจในทมี งาน 1. สรา งความเขาใจในวตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมายอยา งชดั เจนและแนนอน 2. มคี วามยดื หยนุ ในอนั ทีจ่ ะเลือกวิธีปฏบิ ัตใิ หเ หมาะสมกับงาน 3. จัดใหมีการตดิ ตอ ส่อื สารทด่ี ี 4. มีการกําหนดบทบาทของบุคคลในกลุมใหช ัดเจน 5. มีการยอมรับความแตกตา งของบุคคลในกลุม 6. ทกุ คนมีสว นรวมในการทาํ กิจกรรมของกลมุ 7. มีการแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ในวธิ กี ารดาํ เนนิ งาน 8. บรรยากาศของกลมุ เปนกันเอง ตางคนตางเห็นอกเห็นใจและพรอมจะชว ยเหลอื ซง่ึ กันและกนั 9. มคี วามยึดเหนย่ี วสูงในดา นพลงั สามคั คแี ละสามารถเกาะกลุมกันไดอยา งมนั่ คง 10. มีการทบทวนประเมนิ ผล เพอื่ แกไขและปรับปรุงผลงานของกลุมอยเู สมอ 10. การสรางกระบวนการกลุมในทีม ข้ันตอนของกระบวนการกลุม ประกอบดว ยขั้นตอนที่เรียกวา (GD4+1) ดังนี้ 1) Ice Breaking - สลายพฤตกิ รรม ปกติมนษุ ยเ มอื่ เขา สสู งั คมใหมจะมีความรสู ึกวา ตัวเองไมค ุนเคย ไมป ลอดภยั ระแวง รสู ึกเหมอื นถกู จบั ตามองจากคนท่ไี มร ูจัก จงึ เกดิ พฤติกรรมท่ปี ดกัน้ ตัวเอง วางฟอรม ไม พูดคยุ กบั ใคร (คลา ยๆจะฆาตวั ตายอะไรประมาณนัน้ ) เหมอื นกับมีกรอบนาํ้ แข็งลอ มรอบตวั เองอยู เพราะ ฉะนน้ั ขนั้ แรกจึงเปน การละลายนา้ํ แข็งเพ่อื ทําใหรูสกึ วาทุกๆคนกเ็ หมือนกนั 2) Humanication - สรางมนุษยสัมพันธ+ เกิดการปฏสิ มั พนั ธ เมือ่ น้ําแขง็ เกดิ ละลายและเบาบางลง เขาหรอื เธอจะ มีความรูส ึกวา ทุกๆคนทีอ่ ยตู อหนา เปน พวกเดียวกนั จะเรม่ิ ไม รูสกึ เขนิ อาย และเร่ิมกลาแสดง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 93  คมู ือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ออก กิจกรรมในข้ันตอนน้จี ะเรมื่ มีการพูดคยุ ถกู เนอ้ื ตองตัวกนั เกิดความไวว างใจกัน กลา เลน จบั มอื ถือแขน โดยไมค ิดมากและขดั เขิน แตตอ งอยใู นกรอบอันดีงาม 3) Creation - สรา งสรรค กอเกิดความคดิ ริเริม่ สําหรบั ข้ันตอนนี้ จะเร่ิมเปน การย่ืนเงอ่ื นไขบบี เพ่อื ให ผูเขา รว มกิจกรรม กลา แสดงออกตอ เพือ่ นๆในกลุม และสาธารณชนมากข้นึ กลาแสดงความคดิ อาน ใหเ พอื่ นๆ รับฟง ทงั้ นอี้ าจจะชาหรอื เร็วไมเทากันอยาซีเรียส กิจกรรมจะเปนรปู แบบ การกระตนุ ใหค ดิ ภายในกลมุ 4) Brain Storming - การระดมความคดิ ปลกู ฝง การทาํ งานรวมกันในกลุม ใหรูจักคิดพูดและรบั ฟง ความคิด เหน็ ของคนอืน่ เปดใจใหก วา ง ยอมรบั ความคิดแปลก แตกตา งอาจมี การเชือ่ มความคดิ เชือ่ มโยง ระหวางกลุม นาํ เสนอความคดิ กลมุ ตนตอกลุมอ่ืนๆ กิจกรรมจะอยใู นรูปแบบท่ตี องมกี ารถกเถยี งกัน หา ขอ สรุปรวมท่เี ปน ความคิดของกลุม 5) Evaluation - การประเมินผล ใหร จู กึ การประเมินความสาํ เร็จของกระบวนการ ในแตล ะขนั้ ตอน (โดยตอ งประเมินอยตู ลอดเวลา) เพอื่ ปรบั ทา ที รวมไปถึงการพิจารณาตัดสินใจในการ ขามไปสูก ระบวนการ ตอ ไป (อาจใชกิจกรรมบางกิจกรรมในการตดั สิน) 11. กระบวนการและปจจยั ในการสรางทีมงาน การสรา งทมี งาน แมจ ะมองเหน็ วา เพยี งการรวมตวั ของบคุ ลากรมารว มทาํ กจิ กรรมรวมกันทํา กิจกรรมดว ยกัน โดยกําหนดวัตถปุ ระสงค มีกจิ กรรม กําหนดบทบาทของสมาชิกกลมุ ดเู หมือนจะไมมี ความยงุ ยากใด แตท่แี ทจ รงิ แลว ทีมกวา จะสรางเปนทีมไดมคี วามสลบั ซบั ซอ นในตัวของมนั เอง มกี ระบวน การ กวา จะเปน ทมี ทีป่ ฏบิ ัตงิ านได ซงึ่ สามารถลําดับข้ันการสรา งทีมงาน ได 4 ระยะ คอื 1) ทีมงานขนั้ ริเริ่ม 2) ทมี งานระยะทดลอง 3) ทีมงานที่เขม แขง็ 4) ทีมงานทีว่ ฒุ ิภาวะ สว นปจจัยการสรา งทีมงาน ไดแก 1) การไวเนอ้ื เชื่อใจซง่ึ กนั และกนั ของบคุ ลากรในองคก ารหรอื สถาบนั 2) การสรา งใหม บี รรยากาศใหเกดิ การจุนเจอื เอ้อื เฟอ สนบั สนนุ กัน 3) มกี ระบวนการตดิ ตอสื่อสารที่เปนระบบ 4) มีวัตถปุ ระสงคของบุคลากรของกลมุ และองคกรสอดคลอ งกัน 5) เมือ่ มีการขัดแยงหาวิธแี กป ญหาอยางมีหลกั การ 6) การใชทรพั ยากรในองคก ารใหเกิดประโยชนสงู สุดเทาท่จี ะทาํ ได 7) มีวธิ กี ารตดิ ตามงานท่ดี ีแทนทีจ่ ะใชว ิธกี ารควบคมุ 8) จัดสิ่งแวดลอ มภายในและภายนอกองคการที่ดี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 94  คูม ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา สมรรถนะทางการบริหาร (การวเิ คราะหและการสงั เคราะห) ก. ความหมายของการวิเคราะห และสังเคราะห (Analytical & Conceptual Thinking AT -CT) 1. ความหมายตามทัศนะ ก.พ. การคดิ วิเคราะห (Analytical Thinking-AT) หมายถึง การทําความเขา ใจสถานการณ ประเดน็ ปญ หา แนวคดิ หลักทฤษฎี ฯลฯ โดยการแจกแจงแตกประเดน็ ออกเปนสวนยอ ยๆ หรอื วิเคราะหสถานการณท ลี ะ ขนั้ ตอน รวมถึง การจัดหมวดหมปู ญ หา หรือ สถานการณอยา งเปนระบบระเบยี บ เปรียบเทยี บแงมมุ ตา งๆ สามารถระบไุ ดว าอะไรเกดิ กอนหลัง ตลอดจนระบุเหตุและผล ท่ีมาที่ไปของกรณตี างๆได การสังเคราะหหรอื การมองภาพองคร วม (Conceptual Thinking-CT) หมายถงึ การคิดในเชิง สงั เคราะห มองภาพองคร วมจนไดเปนกรอบความคดิ หรือแนวคดิ ใหม อันเปนผลมาจากการสรปุ รปู แบบ ประยกุ ตแนวทางตางๆจากสถานการณหรือขอ มูลหลากหลาย และนานาทัศนะ 2. ความหมายตามทัศนะของ ก.ค.ศ. การวิเคราะหแ ละสงั เคราะห หมายถึง ความสามารถในการทาํ ความเขาใจสง่ิ ตา ง ๆ โดยการแยกแยะ ประเดน็ ออกเปนสวนยอยตามหลกั วิชา หรอื กฎเกณฑที่กําหนดความสามารถในการรวบรวมรายละเอยี ด ตา ง ๆทเ่ี ปนประเด็นยอย ใหเ ปน หมวดหมูหรอื ระบบ เพื่อการพฒั นา หรอื แกป ญหาการบริหารจัดการ ตลอด ทั้งสามารถวเิ คราะหองคกร (โรงเรยี น) หรอื ภารงานของโรงเรยี นทัง้ ภาพรวมและภาพยอ ย ใหส ามารถนําไป สกู ารพัฒนา หรอื การแกปญ หาอยางเปนระบบ ประกอบดว ยตัวช้วี ดั คอื - การวิเคราะหสภาพปจจบุ ัน ปญหาและความตองการของงาน พรอ มเสนอทางเลือก หรอื แนวทาง ปอ งกันการแกปญหางานในความรับผดิ ชอบ - ความเหมาะสมของแผนงาน / โครงการในความรับผิดชอบ - ความคดิ เชิงระบบในการแกปญหา หรือพฒั นางาน ข. แนวคิด สาระสําคญั ของการวิเคราะหและสังเคราะห (AT & CT) 1. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการวเิ คราะหส งั เคราะห 1.1 ประเภทของความคิด ประเภทของการคดิ แบงแยกออกไดห ลายประเภท แลวแตจะจาํ แนกแบบใด แตโ ดยทว่ั ไปสามารถ จาํ แนกได ดังน้ี 1.1.1 ความคิดสรางสรรค ศกั ยภาพของบคุ คลน้นั มอี งคป ระกอบท่สี ําคญั 2 ประการ คอื การคดิ (Thinking) และการแสดง ออกในทางปฏิบัติ (Execution) ซึง่ ท้งั 2 ประการดงั กลา ว มีสมองเปน กลไกที่สําคญั ท่สี ดุ นกั วทิ ยาศาสตร คนพบวา สมองแตล ะซีกของมนุษยมีคุณสมบตั ิแตกตางกนั คอื สมองซกี ซาย มีหนา ทเี่ กี่ยวกับการคํานวณ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 95  คูมือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา คนหาเหตผุ ลการวเิ คราะห และการสงั่ การเปนตน สมองซีกขวา มหี นา ที่เก่ียวกบั ศิลปะ จงั หวะ ดนตรี สสี ัน และมาตราวัดตา งๆ เปนตน คน ทีจ่ ะเปนทย่ี อมรบั วาเปน ผูมี มันสมองดีจริงนนั้ จะตองประกอบไปดวยองค 3 คอื คดิ เร็ว คดิ ถูก และตนเองทําไดสาํ เรจ็ ตาม ความคดิ นนั้ 1.1.2 ความคดิ เชงิ ระบบ (Systematic Thinking) การคดิ ทเี่ ปน ระบบ มกี ฎอยู 4 ขอ ดังนี้ 1. คดิ อยางมีหลกั หากไมม ีหลกั จะทาํ ใหโ ลเล สับสน 2. คดิ อยางมเี หตุผล เชน เหตผุ ลในเชงิ วิทยาศาสตรธ รรมชาติ สามารถพสิ จู นได เหตุผลในเชงิ - ตรรกวิทยาคือ การคนหาความจรงิ จากเง่ือนไข เหตุปจ จัย ความเปนไปไดห รือไมไดและเหตุผลในเชิงกลยทุ ธ 3. คดิ อยา งมีการจดั ระเบยี บ 4. คิดอยางเปน กระบวนการ 1.1.3 ความคดิ วเิ คราะห (Analytical Thinking) ลักษณะของการคดิ วิเคราะห 1. มีเหตผุ ล (Rational) 2. คาดคะเนได (Predictable) 3. มขี อบเขต (Convergent) วธิ ีวิเคราะหขอมูล เมื่อไดขอ มลู มาแลว ใหจ าํ แนก หรือจัดกลุม แลวจัดลําดับความสาํ คญั โดยนํามา เปรียบเทียบซึง่ จะตอ งมีเกณฑเขา มาจับ แลวซง่ึ นํ้าหนกั ความสาํ คญั ความนา เชอื่ ถอื ไดม ากนอ ยแคไหน วิธีวเิ คราะห ในการวิเคราะหจ ะตองประเมนิ ถึงความสําคัญความนาจะเปน ซง่ึ ตองอาศัยขอมลู เชงิ ประจักษค วามเปน ไปได แลวจับจุดทีเ่ ปน กุญแจสาํ คญั ใหได เพือ่ หาขอ สรปุ อปุ สรรคในการวิเคราะห ในการวิเคราะหเ หตกุ ารณต างๆ ปญ หาทเี่ ปนอุปสรรคไดแ ก การขาดวิธคี ิด ไมม ี หลักการหรือหลกั วชิ า การใชเ หตผุ ล ความรอบคอบ เคร่อื งมอื ตางๆ และขาดมิตใิ นทางลดั 1.1.4 ความคิดเชิงสรางสรรค (Creative Thinking) คอื ความคดิ ทแ่ี ปลกแตกตาง เปนสิ่งใหมแ ละเปน ประโยชนตอมนษุ ยช าติ การกอรูปความ คดิ สรางสรรค กระบวนการคิดสรางสรรค ประกอบดวย 1 สะสม คือ การสงั่ สมความรทู วั่ ไปอยา งสมาํ่ เสมอ 2. บมเพาะ คือ ครนุ คิดถึงส่งิ ตา งๆ ทีส่ ง่ั สมอยูในจิตใจ 3. สุกงอม คอื ปลอยความคดิ 4. จดุ ประกาย คอื เกิดความคดิ ใหม 5. เกิดความคิดสรางสรรค ซ่งึ ผิดแปลกแตกตา งจากเดิม เกดิ ความคิดสิ่งใหมข ึน้ มา 6. ตกผลกั คือ การเขา ใจในสงิ่ น้นั อยา งกระจา งชดั 7. ขับเคล่อื น คือ นาํ ความคิดน้ันไปสรู ปู ธรรม 8. สนู วตั กรรม คอื เกิดเปน สงิ่ ใหมขึน้ มา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 96  คูมอื เตรียมสอบผูบ ริหารสถานศึกษา เทคนิคการฝก ความคิดสรางสรรค 1. ใชค วามคิดตลอดเวลา โดยต้งั คาํ ถามและหาเหตผุ ลในคาํ ตอบ 2. ฝกการคดิ อยางรอบดาน ไมยดึ ตดิ แนวคิดใดแนวคดิ หนึ่งเพยี งดา นเดียว 3. สลัดความคิดครอบงํา โดยไมจํากัดกรอบความคิดของตนเองไวก ับความ เคยชนิ เกา ๆ 4. จัดระบบความคดิ โดยหาเหตผุ ลจดั ระบบความคดิ การเปรยี บเทียบ การมองหลายมติ ิ หรือคนหาความจรงิ 5. ยึดมัน่ ในหัวใจนักปราชญ ไดแ ก ฟง คดิ ถาม เขยี น ซงึ่ ใชการระดมสมองเปนตัวกระตุน 6. ฝก ความเปน คนชา งสงั เกตจดจํา เปนการสง่ั สมประสบการณกระตนุ ใหเ กิดความคิดใหม 7. ฝกการระดมพลังสมอง เปน การรวบรวมความคิดสรา งสรรคของบคุ คล หลายๆ ฝา ย 8. พยายามสรางโอกาสแหงความบังเอญิ คือ บางส่ิงไมเ ก่ยี วของสมั พนั ธก ันเลย อาจจะเปน คาํ ตอบตอ ปญ หาทีก่ าํ ลังเกิดข้ึนได 9. ไมกลัวความลมเหลวหรือการเสียหนา เพราะการเสนอความคดิ เห็นไมมีถกู หรอื ผดิ 10. ไมย้ํารอยอยูแ ตความสําเร็จเดมิ เชน การกระทําทุกอยา งเมอ่ื เหน็ วา ดี ประสบความสาํ เรจ็ แลว ตอไปควรจะพัฒนาใหดีขึ้นกวา เดิมดวยวิธกี ารใหม เทคนคิ การพัฒนาความคดิ สรางสรรค 1. ทฤษฎกี ระดาษเปลา (Blank paper theory) หมายถึงการไมตกี รอบความคิดผอู ื่น ไมค ิดถึง ปญหา อุปสรรค ขีดจาํ กดั หรอื ความเปน ไปไมไ ด 2. การรวมและการแยก (Integrate & Separate) คอื การรวมกันจะเกิดอะไรข้นึ ดขี น้ึ ไหม หรือทาํ อยา งไรใหด ีข้ึนกวา เดิม ถา หากแยกกนั จะเกดิ อะไรข้นึ มปี ระโยชนมากนอยแคไหนและทาํ ใหด ีข้ึนได อยา งไร 3. การตงั้ คําถาม (Inquiry) เชน ถามเหตุผล วาทําไม ถามสมมตุ ิ ถาเปนอยางน้ีและจาํ ทาํ อยา งไร ถามเปรยี บเทียบเชงิ พัฒนา เชน อะไรท่ีคนอ่นื ทําแลวแตเรายังไมไ ดทํา เราทําไดไหมและจะตองรบี ทาํ อะไร อะไรทเ่ี ราทําแลวแตคนอ่ืนทาํ ดีกวา ถามตอ เน่ือง เชน ทําอะไร ทาํ ไดไหม ทาํ อยา งไร จะตอ งเปล่ียน แปลงอะไร 4. การเลียนแบบ (Synetics) คือ การทาํ ใหแตกตาง กา วหนา ดกี วาเดมิ แลวกระโดดไปสู สงิ่ ใหม 5. การเพมิ่ มูลคํา (Value Added) เชน ปรับแตง ใหดีข้นึ กวา ของเดมิ แปรรูปจากของเดมิ เปนส่งิ ใหมนําของเกา กลบั มาใชใ หม โดยทาํ ใหเสียนอ ยท่ีสดุ และมีการประกันความเชื่อม่ันใน สงิ่ น้ัน 1.1.5 ความคิดเชงิ สัมพนั ธ (Relative Thinking) การคดิ เชิงสัมพันธ มีกฎ 7 ขอ ทีค่ วรจํา คอื กฎขอ ท่ี 1 ทกุ สรรพสิง่ ไมมีสงิ่ ใดดาํ รงอยไู ดโดดๆ ลวนตองเก่ยี วเนื่องผกู พนั กับส่ิงอืน่ กฎขอท่ี 2 ทุกสรรพสง่ิ ยอมมคี วามแตกตา ง กฎขอที่ 3 ทกุ สรรพสงิ่ อยูไดดวยเอกภาพดานตรงกันขาม สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 97  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา กฎขอที่ 4 ทุกสรรพส่งิ ยอ มมีการเคลอื่ นไหวเปลี่ยนแปลง กฎขอ ที่ 5 สิ่งหน่งึ เปลย่ี นแปลงยอ มมผี ลการกระทบตอ อกี สงิ่ หนง่ึ เสมอ กฎขอ ท่ี 6 ไมมสี ิ่งใดสูญหายไปจากจกั รวาล กฎขอท่ี 7 ไมม ีส่ิงใดยืนยงอยูไดต ลอดกาล 1.1.6 ความคดิ เชิงกลยุทธ (Strategic Thinking) คือ การคดิ หาวิธเี อาชนะขอจาํ กัดและคแู ขง ขัน กลยุทธ ทีน่ ยิ มใชคอื DOSO 1. D = Downsizing คอื ทาํ ใหเล็กลงมปี ระสทิ ธิภาพสูงขึ้น 2. O = Outsourceing คอื การใชแ รงงานหรือวัสดจุ ากภายนอก เชน สถานท่รี าชการ จา งบริษัท ทาํ ความสะอาด 3.S = Speed คือ เพ่มิ ความเรว็ ขน้ึ 4. O = One – stop service คือ จดุ เดียวจบ 1.2 การคิดวเิ คราะห (Critical Thinking) 1.2.1 ความหมายของการคิดวเิ คราะห การคดิ วเิ คราะห เปน กระบวนการทางปญญาทม่ี คี ณุ คาของมนุษย เปนความคิดท่เี ต็มไป ดว ยสาระ มีคณุ ภาพ โดยแสดงออกมาในลักษณะของการใหเ หตุผล และการตดั สนิ ส่ิงตา งๆดวยความ สมบูรณเ พียบพรอมทางดานสตปิ ญญา การคิดวิเคราะหจ ึงเปนองคป ระกอบท่ีสําคัญยงิ่ สําหรับการสรา ง ความเจริญใหแ กบ ุคคล และวิทยาการตางๆในทกุ ๆสาขา เนือ่ งจากการคดิ วเิ คราะหเื ปน กระบวนการทสี่ าํ คญั ยิ่งของจติ ใจมนุษย 1.2.2 องคประกอบของการคดิ วเิ คราะห การคดิ วิเคราะห เปนกระบวนการใชปญ ญา หรือใชความคิดนาํ พฤติกรรม ผูท ค่ี ดิ วิเคราะหเ ปน จึงสามารถใชป ญ ญานาํ ชีวติ ไดในทกุ ๆ สถานการณ เปนบคุ คลทไ่ี มโลภ ไมเหน็ แกตัว ไมย ดึ ตนเองเปนศูนย กลาง มีเหตผุ ล ไมมีอคติ มีความยุตธิ รรม และพรอมที่จะสรา งสนั ติสขุ ในทุกโอกาส การคดิ วเิ คราะห จะตองอาศยั องคป ระกอบท่สี าํ คัญ 2 เรื่อง คือ เรือ่ งความสามารถในการใหเ หตุผลอยางถูกตอ ง และการ ตง้ั คาํ ถามเพือ่ ใชในการคิด วเิ คราะห ดังนี้ 1) ความสามารถในการใหเหตผุ ลอยา งถกู ตอง ประกอบดวย 1.1) วัตถุประสงคและเปาหมายของการใหเหตุผล 1.2) ความคดิ เห็นหรอื กรอบความจริงที่จะนํามาอาง 1.3) ความถกู ตองของสิง่ ทีอ่ า งองิ 1.4) การสรางความคดิ หรอื ความคดิ รอบคอบ 1.5) ความสัมพันธร ะหวางเหตผุ ลกบั สมมตุ ิฐาน 1.6) การลงความเห็น 1.7) การนําไปใช สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 98  คูมอื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2) เทคนคิ การตง้ั คาํ ถาม คาํ ถามจะตองมคี ุณสมบตั ิ 8 ประการคือ ความชัดเจน ความเท่ยี งตรง ความกระชบั ความพอดี ความสมั พันธเก่ยี วขอ ง ความลกึ ความกวางของการมอง หลกั ตรรกวิทยา และ มคี วามสําคญั 1.2.3 กระบวนการคดิ วิเคราะห กระบวนการคดิ วิเคราะห เปนการแสดงใหเหน็ จดุ เร่มิ ตน สง่ิ ทส่ี ืบเนื่องหรือเช่อื มโยงสัมพันธก นั ใน ระบบการคดิ และจุดสนิ้ สดุ ของการคดิ โดยกระบวนการคิดวิเคราะหมีความสอดคลองกับองคป ระกอบเร่อื ง ความสามารถในการใชเหตผุ ลอยา งถกู ตอ ง รวมทง้ั เทคนคิ การตั้งคาํ ถามจะตองเขาไปเกี่ยวของในทกุ ๆ ขัน้ ตอน โดยมีข้นั ตอนการคดิ วเิ คราะหื ดงั น้ี 1) ระบหุ รอื ทาํ ความเขาใจกับประเดน็ ปญหา 2) รวบรวมขอ มูลทเ่ี ก่ียวของกบั ปญหา 3) พิจารณาถึงความนา เช่ือถือของขอ มูล 4) การจัดขอ มลู เขาเปน ระบบ 5) การต้ังสมมุตฐิ าน 6) การสรุป 7) การประเมินขอ สรปุ 1.2.4 คณุ สมบัตสิ าํ หรับนักคดิ วเิ คราะห คุณสมบตั ขิ องนกั คดิ วิเคราะห ควรมลี ักษณะ ดงั น้ี 1) เปน ผูมีความคดิ เปนอสิ ระ คือจะไมรับอะไรในทันที หรอื เชอื่ ในส่ิงทเี่ หน็ หรือไดย นิ แตจะ วิเคราะหอยางระมดั ระวัง และประเมนิ สิ่งตางๆ ดว ยเหตผุ ลและความเปน ไปได สามารถบอกไดวาสวนใด เปนการใชเหตผุ ลที่ถกู ตองหรอื ไมถูกตอ ง 2) เปน ผูทพ่ี รอมจะชะลอการสรุป หรือการตดั สนิ ใจไวก อน ขณะท่ขี อมลู ขาวสารที่ใชในการ ตดั สนิ ใจ ยงั ไมพรอมหรอื ยังไมถกู ตอง 3) เปน ผทู พี่ รอมทจี่ ะยกเลกิ วธิ ีการคดิ และการตดั สินตามแบบเกา โดยเฉพาะในเรื่องท่เี กย่ี วขอ ง กบั ความเชือ่ เมอื่ มขี อมูลหรอื หลักฐานใหมท ่ีเชอื่ ถือได หรอื ขดั แยง กบั ความเช่อื ถอื ทีม่ ีมาแตเดมิ กจ็ ะมกี าร ประเมนิ ขอมูล หลักฐานใหม ถา เห็นวานา เชอื่ ถือกวา กจ็ ะยกเลกิ ความเชอ่ื ถือเกาทนั ที 4) นักวเิ คราะหจ ะใหค วามสําคัญ ท้ังเนอ้ื หาสาระของขอ มูลขา วสาร และแหลง ที่มาของขอ มลู นา เชื่อถอื แคไหน อยางไร ขอ มูลทถ่ี กู ตองจะเปนขอมูลดั้งเดิมหรือขอมูลปฐมภมู ิ 1.2.5 ประโยชนของการคดิ วิเคราะห การคดิ วิเคราะห กอ ใหเ กดิ ประโยชนตอผทู ่ใี ชว ธิ กี ารคดิ แบบนีใ้ นหลายดา น ซงึ่ สามารถสรปุ ได ดังน้ี 1) สามารถปฏิบัตงิ านไดอ ยางมหี ลกั การและเหตผุ ล และไดง านทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ 2) สามารถประเมนิ งานโดยใชกฎเกณฑอยางสมเหตสุ มผล สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 99  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 3) สามารถประเมนิ ตนเองอยางมเี หตผุ ล และมีความสามารถในการตดั สินใจไดอ ยา งดอี ีกดว ย 4) ชว ยใหสามารถแกปญ หาไดอยางมีเหตุผล 5) ชวยใหส ามารถกาํ หนดเปา หมาย รวบรวมขอมลู ทีช่ ัดเจน คน หาความรู ทฤษฎี หลักการต้ังขอ สมมตุ ิฐาน ตีความหมาย ตลอดจนการหาขอ มลู ไดดี 6) ชว ยใหผูค ิดมีความสามารถในการใชภาษาไดอ ยางถูกตอง จนถงึ ขนั้ มคี วามสามารถเปนนายของ ภาษาได 7) ชวยใหคดิ ไดอ ยา งชัดเจน คดิ ไดอยา งถูกตอง คิดอยา งกวาง คิดอยางลึก และคดิ อยา งสมเหตุสมผล 8)ชว ยใหเ กิดปญญา มีความรบั ผิดชอบ มีระเบียบวนิ ัย มีความเมตตา และมบี ุคลิกภาพในทางสรา ง ประโยชนตอ สงั คม 9)ชวยใหสามารถชว ยพฒั นาความสามารถในการเรียนรตู ลอดชวี ิตอยางตอ เนือ่ ง ในสถานการณ ทโ่ี ลกมกี ารเปลี่บยแปลงสูยคุ สารสนเทศ เทคโนโลยี ดงั น้นั การคดิ วิเคราะห จงึ เปน กระบวนการคดิ ทอี่ าศัยปญ ญา ซ่ึงมาจากระดบั จิตใจในสวนลกึ เม่อื ใด ทีม่ นุษยม กี ารใชการคดิ วิเคราะหกเ็ ทากบั รูจกั ไดใ ชป ญ ญา การคิดวเิ คราะหจ ะเกดิ ขน้ึ ไดด ตี อเม่ือบุคคลเขา ใจ ธรรมชาติของจิตใจวา คนโดยทั่วไปใชค วามรสู กึ และความตอ งการเปน ตัวนําพฤติกรรมซึง่ กอ ใหเกิดปญหา ทั้งสวนบุคคล และตอสงั คมที่เขา ไปเก่ยี วของ ทางแกค อื ตองมีสติ รเู ทาทันความรูสึกและความตอ งการ ของตน และเปล่ียนมาใชปญ ญาเปน ตัวนําพฤติกรรม นอกจากน้กี ็ตองศกึ ษาเพอ่ื ใหท ราบองคประกอบของ การวิเคราะหแ ละวธิ ีต้ังคาํ ถามเพอ่ื ตรวจสอบความรู ขอมลู ขา วสาร และสิ่งตางๆที่ผานเขา มาในชีวติ ถา ทุกคนทําไดจ ะชวยลดปญหาสว นบคุ คล และปญ หาของสังคมไดม าก 2. การวิเคราะหองคก รหรอื โรงเรียน 2.1 การวิเคราะหศักยภาพของโรงเรยี น การวิเคราะหศกั ยภาพของตนเองเปนข้ันตอนท่ีสําคัญที่จะทําใหโรงเรยี นไดรูถ ึงคุณภาพท่ีแทจริง ของตนเอง ตลอดจนรูจุดแข็งและจุดออนท่ีตองปรับปรุงแกไข ปจจัยที่สําคัญที่สุดในการวิเคราะหศักยภาพ ของตนเอง คือ การมฐี านขอ มูลหรือระบบสารสนเทศท่มี ีคณุ ภาพเปนปจ จบุ ัน สามารถเรียกใชและปรับปรุง ไดตลอดเวลา ฐานขอมูลยังเปนเครื่องมือสําคัญของการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานที่จะทําใหคณะ กรรมการสถานศึกษา ตลอดจนผูบริหารและทีมงาน ครู – อาจารย ในโรงเรียนไดใชประกอบการตัดสินใจ ในการแกปญ หา การดําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ ของโรงเรยี นไดอ ยางมีคณุ ภาพ 2.2 การกําหนดวิสัยทศั น นโยบายหรอื ยุทธศาสตรพฒั นาโรงเรยี น วิสัยทัศนเปนเหมือนภาพอนาคตท่ีโรงเรียนตองการใหเกิดข้ึน กระบวนการสรางและสานวิสัย ทัศนที่จะทําใหทุกคนท่ีเกี่ยวของมีความผูกพัน มุงม่ันและรวมดําเนินการไปสูทิศทางที่ตองการ จึงมีความ สําคญั อยา งยงิ่ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 100  คมู ือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา การกําหนดนโยบายหรือยทุ ธศาสตร และเปาหมายที่เฉพาะเจาะจงรวมทั้งการจัดลาํ ดับความ สําคัญของเปา หมายก็เปน เรอ่ื งสาํ คัญเชน กนั ในระบบของการประกนั คุณภาพการศึกษา โรงเรียนตอง กาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของตนเองท่ีสอดคลองกับความตองการของตนเอง ชมุ ชน สงั คมและประเทศ ชาติ ตลอดจนการกําหนดตวั ชี้วดั และเกณฑคณุ ภาพของแตละมาตรฐาน เพอ่ื การวดั และประเมนิ ผลความ กาวหนาและความสาํ เร็จในการดําเนินการของโรงเรียนในแตละป แผนภูมิ แสดงความสมั พนั ธก ารกาํ หนดทิศทางของสถานศึกษากบั ความสมั พนั ธความตอ งการของชาติ และความตองการของชมุ ชน 2.3 การรวมวางแผนดําเนนิ งาน โรงเรยี นเม่ือรวู า ตนเองอยทู ่ไี หนและจะไปไหนแลว การรวมกันคดิ รวมวางแผนที่จะไปสูวิสัยทศั น เปาหมาย และสอดคลอ งกบั นโยบายของโรงเรยี นน้นั ถอื วา เปนการกําหนดวธิ ีการที่จะไปสเู ปาหมาย โรงเรียนจะตอ งวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน หรอื จัดทาํ ธรรมนูญโรงเรยี น ซ่งึ เปน แผน ระยะ 3 – 5 ป และจดั ทําแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปท จ่ี ะเปนยุทธศาสตรใ น การดําเนนิ งานในแตละปท จ่ี ะไป สูว ิสยั ทศั น หรอื เปา หมายของโรงเรยี น โดยโรงเรียนจะมี การควบคุมคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการ ศกึ ษาของโรงเรียน สอบครดู อทคอม

101  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา แผนภูมิ แสดงกระบวนการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพโรงเรยี น ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 2.4 การรว มดาํ เนนิ การ การนําแผนไปสูการปฏบิ ัติตอ งการความมุงมั่นผูกพันในการรว มมือกนั ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ การท่ีไดกําหนดไว การติดตามงาน การประเมินผล การปฏิบัติงาน โดยการเก็บรวบรวมขอมูลและทําการ ประเมินและปรับปรุงแกไขอยางเปนระบบตอเนื่อง จะทําใหการดําเนินงานเปนไปตามแผนที่วางไวอยางมี ประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล การดําเนินการนี้มงุ เนนการควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรง เรียน กลาวคือ นักเรียนจะมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาดาน ผลผลิตท่ีกําหนด โดยการบริหารจัด การและการจัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน ดานกระบวนการ และมีครู – อาจารย บุคลากร ตลอดจนหลักสูตร สื่อ อุปกรณ อาคารสถานที่ ที่มีคุณภาพมาตรฐานดานปจจัย และมีการ พฒั นาตนเองอยางตอเนือ่ งไมมีที่ส้นิ สดุ ดว ยกระบวนการบริหารแบบมีสว นรว มและการกระจายอํานาจของ โรงเรยี น และการแสดงภาระงานท่ีตรวจสอบไดข องโรงเรียน แผนภมู ิ แสดงกระบวนการรว มดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงเรยี น สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 102  คูมือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา 2.5 การรวมการประเมินผล การประเมินผลการดําเนินงานของโรงเรียน เปนการแสดงความรับผิดชอบในผลลัพธของการ ตัดสินใจอยางอิสระของโรงเรียน วาสามารถจัดการศึกษาไดมีคุณภาพเพียงใด ถือวาเปนกระบวนการการ ตรวจสอบการทาํ งานของโรงเรียน (Self – Evaluation) หรอื การประเมนิ ตนเองของโรงเรียน คือ เปน การ ตรวจสอบและทบทวนการดําเนินงานตามเปาหมายของนโยบาย แผนงานและโครงการ ตลอดจนภาระงาน ปกติของโรงเรียนในแตละปการศึกษา เพื่อนําไปสูการพัฒนา โรงเรียนตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โดยอาศัยตวั ชี้วดั และเกณฑืการประเมินท่ีกําหนดไวเ ปนมาตรฐานการประเมนิ ของโรงเรียน การประเมินตนเองท่ดี ีจะตอ งมีกระบวนการวางแผน และการดําเนินงานตามแผน เปนการ ประเมนิ เพอ่ื การปรับปรุงพัฒนาคณุ ภาพโดยเนน ผูเรยี นเปนสําคญั ซึง่ จะเปน การประเมินประสทิ ธผิ ลการ เรยี นรูของนักเรียน การสอนของครู และการบรหิ ารของผบู ริหาร และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงถือ วา เปนการประเมนิ ความกา วหนาของโรงเรยี น ทกี่ ําลงั มุงไปสจู ุดหมาย วสิ ยั ทศั นข องโรงเรียน ผลผลติ ของ การประเมินในแตล ะป คือ รายงานประจําปท่โี รงเรียนจะตอ งเสนอตอ หนวยงานตนสังกดั หนวยงานที่ เกี่ยวจอ งและเปดเผยตอ สาธารณชน การประเมินตนเองถอื วา เปนหวั ใจสาํ คัญของการประเมินคณุ ภาพการศึกษาดว ย เปนปจจยั สาํ คัญ ที่ทําใหโรงเรียนไดขอมูลสารสนเทศเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องและเปน สวนหน่ึงของ กระบวนการบริหารและการวางแผนซ่ึงเปนกระบวนการทีต่ อ เน่ือง ความสําเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนจะอยูท่ีการประเมินตนเองเปนสําคัญท่ีจะยืนยันคุณ ภาพของการพฒั นาอยางตอเนือ่ งของโรงเรยี น ทําใหโ รงเรียนมั่นใจใน ประสิทธผิ ลของการพัฒนาตน เอง สว นการประกันคุณภาพภายนอกจะเปนเพียงการติดตาม และสนับสนุนการพัฒนา คณุ ภาพการ ศึกษาของโรงเรียนและเปนการยืนยันความเที่ยงตรงของ การประเมินตนเองของโรงเรียนหรือการ ประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียน ดังน้ัน ในการประเมินผลโรงเรียนอาจจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (Self – Study Report : SSR) ที่เสนอผลการพัฒนาและปรับปรุงการบริหาร และการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียน เปน เอกสารหลักฐานสําคัญสําหรับการประเมินภายนอก โดยหนวยงานตนสังกัด และ การประเมินภายนอก ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาท่ีคณะกรรมการประเมินคุณภาพจะใหการยืน ยัน (Confirm) สภาพการพัฒนา ใหคาํ นยิ ม (Commend) ในสวนท่ี พฒั นาดวยดี และใหขอ เสนอแนะ (Recommend) ในสวนที่ควรปรับปรงุ ตามแผนภูมิดังนี้ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 103  คูมอื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา แผนภูมิ แสดงความสัมพนั ธของการปรบั ปรงุ งานกบั กระบวนการพฒั นาคุณภาพโรงเรยี น 2.6 รวมปรบั ปรุงพัฒนา คุณคาของการประเมินตนเองอยูที่การนําผลการประเมินมาใชปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพราะผลการประเมินตนเองจะทําใหโรงเรียนสามารถวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของตนไดเปนอยางดี วาประสิทธิผลการดําเนินงานตามแผนเปนอยางไร คุณภาพของนโยบาย ยุทธศาสตร แผนงานและโครง การ ท่ีกําหนดไวเปนอยางไร ตลอดจนชีศ้ ักยภาพและความสามารถในการไปสูวิสัยทัศน เปาหมาย และ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนในแตละปการศึกษาวามีความสําเร็จ มีความกาวหนาไปเพ่ือการปรับปรุง พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น ตอ ไปเพยี งใด รวมท้ังการใชผ ลจากการประเมนิ ภายใน จาก หนวยงานตนสังกัดดว ย สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 104  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา สมรรถนะทางการบรหิ าร (การส่ือสารและการจงู ใจ) ก. ความหมายของการสือ่ สารและการจูงใจ (Communication & Influencing-CI) 1. ความหมายตามทศั นะ ก.พ. การสือ่ สารจงู ใจ (Communication & Influencing-CI) หมายถึง ความตง้ั ใจทีจ่ ะสือ่ ความดวยการ เขียน พูด โดยใชส่อื ตา งๆ ตลอดจนการชกั จงู หวานลอ ม โนม นา ว บุคคลอ่นื และทําให ผอู น่ื ประทบั ใจ หรอื เพ่อื ใหส นบั สนุนความคดิ ของตน 2. ความหมายตามทศั นะของ ก.ค.ศ. การส่อื สารและการจงู ใจ หมายถึง ความสามารถในการพดู การเขยี น การสอื่ สารโตตอบ ในโอกาส และสถานการณต าง ๆตลอดจนความสามารถชกั จงู โนมนาวใหผ ูอนื่ เห็นดวย ยอมรบั คลอ ยตาม เพือ่ บรรลุ จดุ มุงหมายของการส่ือสาร ประกอบดวยตัวชีว้ ดั คอื - ความสามารถในการพดู และการเขยี นในโอกาสตา ง ๆ - ความสามารถในการสื่อสารผา นส่ือเทคโนโลยี - ความสามารถในการจูงใจ โนม นาว ใหผอู ่นื เห็นดวย ยอมรบั คลอยตาม เพอ่ื บรรลจุ ุดมุงหมาย ของการสอื่ สาร ข. แนวคิด สาระสําคญั ของการส่ือสารและการจูงใจ (Communication & Influencing-CI) 1. การสอ่ื สาร (Communication) 1.1 ความหมายของการสอ่ื สาร การส่ือสาร คอื กระบวนการของกระบวนการถา ยทอดแลกเปล่ยี นขาวสาร ทัศนคติ ความรสู ึกนกึ คดิ ของบคุ คลหน่ึงไปยงั อกี บคุ คลหนึ่ง โดยมจี ดุ มุงหมายเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน สง ผลใหเกิดความรว มมือ อยรู วมกันอยางมีความสุข โดยอาศัยส่อื ภาษา ถอยคาํ และภาษาทา ทางในการตดิ ตอส่อื สาร การสอ่ื สาร คือ กระบวนการสาํ หรบั แลกเปลย่ี นสาร รปู แบบอยา งงา ยของสาร คอื จะตอ งสงจาก ผสู ง สารหรืออุปกรณเขา รหสั ไปยงั ผรู ับสารหรอื อปุ กรณถอดรหสั สาร อาจอยูในรูปแบบของทา ทาง สัญลักษณ บางอยา งอยใู นรปู แบบของภาษา การส่ือสาร คอื กระบวนการแลกเปลยี่ นขอมลู ระหวางบุคคลโดยผานสัญลักษณ เครอื่ งหมายหรอื พฤตกิ รรม การสือ่ สาร คอื กระบวนการท่ใี ชใ นการแลกเปล่ยี นแนวคิด ความคิด หรือขาวสาร ซ่งึ ถอื วา เปน หวั ใจสาํ คัญในการสรา งสมั พันธภาพกับผอู ่ืน ซง่ึ จะนาํ ไปสูการวางแผนพฒั นาตอไป สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 105  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา การสอื่ สารทางวาจา หมายถงึ การพดู เพอื่ การติดตอ ซ่ึงกันและกันดว ยการรูจักเลอื กใชค าํ พูดทีจ่ ะสง ใหผูติดตอดว ย ซง่ึ เรยี กวาผูฟง และผูฟ ง ตอ งมคี วามสามารถในการฟง จึงจะนบั วา เปนการสือ่ สารทางวาจา ถา มผี ูพูดฝายเดยี วไมใชก ารส่ือสารทางวาจา 1.2 ประเภทหรือระบบของการสอื่ สาร การสือ่ สารของมนุษยหากจําแนกโดยใชภ าษาเปน เกณฑแบง ได 2 ประเภท คอื 1) การสอ่ื สารโดยใชว าจา (Verbal Communication) หมายถึง การสือ่ ความหมายโดยท่ัวๆไป ท่ีอาศยั คาํ สญั ญลกั ษณภาษา เลขจาํ นวน หรอื ภาษาทางคณิตศาสตรก ็ได 2) การส่ือความหมายโดยไมใชถอ ยคําภาษา (Non- Verbal Communication) เปน การสื่อความหมาย ท่ีใชส ญั ลกั ษณอ ยางอ่ืนนอกเหนือจากคาํ เลขจํานวนหรือวรรคตอน การส่ือสารหากพิจารณาตามทศิ ทางของการตดิ ตอ ส่ือสารเปนเกณฑสามารถแบงได 2 ระบบ คอื 1) การติดตอสือ่ สารทางเดียว (One-Way Communication) เปนการตดิ ตอสอ่ื สารที่ผถู า ยทอดขอ มูล หรือขาวสารไปยังอีกฝายหนงึ่ ใหรบั ทราบ โดยไมเ ปด โอกาสใหผูรบั ไดไตถามขอสงสัย ท้ังไมไ ดเอาใจใส ตอการแสดงปฏิกรยิ ายอ นกลบั (Feedback) 2) การตดิ ตอ สอ่ื สารสองทาง (Two-Way Communication) คือการสือ่ สารที่ทง้ั ผสู ง และผรู ับขาวสาร ไดมีโอกาสแลกเปลีย่ นความเขา ใจและ ความสนใจ เอาใจใสตอการตอบสนองหรอื การปอ นกลับของอกี ฝา ยหน่งึ 1.3 กระบวนการสื่อสาร กระบวนการส่ือสารจะเก่ยี วพันกบั ระบบตา งๆ เชน การเรยี นรู การคิด การจาํ ทศั นคติ คา นิยมและ ความเชื่อของบคุ คล การสอื่ สารจะมีลักษณะเปน กระบวนการตอเนื่อง คอื จะมีลกั ษณะการเปล่ยี นแปลง จาก จดุ หนึ่งไปสูอ ีกจดุ หน่ึง และจะดาํ เนินไปตลอดเวลา การสอ่ื สารประกอบดว ย แหลงขาวสาร ผรู บั ขา ว ขา วสาร ชอ งส่อื สาร การปอ นสงกลบั ขาวสาร กระบวนการเปลีย่ นเปนรหสั และการแปลความหมายของรหสั รปู แบบพื้นฐานของการส่ือสาร ประกอบ ไปดว ยข้นั ตอนท่ีเดน ชดั ขน้ั แรกผสู งมีความปรารถนาสง ความคิดไปใหผ รู ับทราบ โดยผูร บั อาจเปน บุคคล หรอื กลุม หรอื องคก รกไ็ ด จากนน้ั ความคิดจะเปลี่ยนเปน รหสั แลว แปลกลับเปน รูปแบบหนง่ึ ที่สามารถ สงถา ยทอดได รูปแบบพืน้ ฐานของการส่อื สารน้นั เปนท่ยี อมรบั กนั วา นํา้ เสียงเปน ปจ จัยท่อี าจทําใหขา วสาร บิดเบอื นหรอื มีขีดจาํ กดั และการไหลของขาวสารอาจจะเขา ไปในกระบวนการสื่อสาร ณ จุดใด จุดหน่งึ หรือหลายจุด สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 106  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 1.4 องคป ระกอบขอการสื่อสาร องคประกอบของการสอื่ สารประกอบดวย 1) ผสู งสาร หมายถึง ผูริเริมจะสงสาร คอื ขอ ความหรอื ขอ มูลตา งๆไปยังผูร ับสาร ผสู งสารนี้อาจ เปนบคุ คลเดยี วหรือกลมุ บคุ คลก็ได 2) สาร หมายถงึ สิง่ เรา หรือสง่ิ กระตนุ เตือนผทู ี่สง สารไปยงั ผรู บั สาร สารทีใ่ ชแ บง ออกเปน สาร ทใ่ี ชค ํา(Verbal) ไดแก การพดู การเขียน และสารทีใ่ ชสญั ลกั ษณอ น่ื นอกจากคาํ (Non- Verbal) ไดแก การใช กริยาทา ทาง การใชสัญลกั ษณ เปน ตน 3) สื่อหรอื ชอ งทางการสือ่ สาร คอื เครื่องมือหรอื ชอ งทางทผี่ ูสง สารจะใชเพอ่ื ใหสารนน้ั ไปยังบคุ คล อืน่ ซ่ึงเปนผรู บั สารโดยตรง หรอื สงยอนกลับยงั ผูสง สาร เพอ่ื ใหรูผลยอ นกลบั ของสารท่สี งไป ไดแก คล่นื เสยี ง อุปกรณการส่อื สาร หรือผานชองทาง โดยอาศัยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ไดแ ก การมอง การไดยนิ การ ไดก ลน่ิ การล้มิ รส และการสัมผสั หรอื วธิ ีการเสนอ 4) ผูร บั สาร หมายถงึ ผฟู ง ผตู อบ ผูร บั สารนอ้ี าจเปนคนเดยี ว กลมุ บคุ คลหรือชุมชน สาธารณชน ผรู ับสารจะทาํ การแปลหรือตคี วามหมายในขอความทผ่ี ูส ง สารสงมา 5) ผลยอ นกลับ เปน ผลของการทวนถามเพ่อื ใหแ นใ จในส่งิ ท่รี บั ฟง รับรขู องผรู บั สารน้นั ๆ เชน การพยักหนา กม ศรี ษะ เปน ตน ผลยอ นกลบั นี้บางสถานการณอาจจะไมไดป ฏิบตั ทิ ันที เชน ในการส่อื สาร มวลชน ผูรับสารไมมโี อกาสที่จะใหผ ลยอ นกลบั ได 1.5 การสือ่ สารของบคุ คล การสื่อสารของบคุ คลหากพิจารณาแลว จําแนกได 2 ลกั ษณะ กลาวคอื 1) การสอ่ื สารระหวา งบุคคล (Interpersonal Communication) เปนกจิ กรรมท่เี ก่ยี วของกบั คนต้ังแต สองคนข้ึนไป การทบี่ ุคคลสองคนหรอื มากกวา นั้นติดตอกนั นน้ั จะทําใหท ัง้ สองฝายมีความเขา ใจกันและ รบั รขู อ มูลตา งๆ ของโลก นอกจากนีก้ จ็ ะทาํ ใหร จู ักตนเองดว ย เพราะการสือ่ สารเปน เหมือนภาพสะทอ นที่ กลับมาหาตวั เอง คนที่ขาดการสือ่ สารระหวา งบคุ คลจะเปน คนทปี่ รับตัวทางสงั คมยากและมปี ญ หาทางดา น อารมณ ยงิ่ คนทม่ี กี ารสอื่ สารระหวางบุคคลมากเพียงใดกจ็ ะยง่ิ เพ่ิมการรูจ กั ตัวเองและการรจู กั คนอืน่ มากย่ิง ข้นึ เพียงน้ัน ขอมูลท่ีเราไดมาจากการสอ่ื สารระหวา งบคุ คล นอกจากจะเปนประโยชนในการปรบั ตัวเองแลว ยงั แสดงวา ตัวเองมีความสามารถในการส่อื สารกับคนอืน่ อกี ดวย การส่อื สารระหวางบคุ คล จะกอใหเ กิดผล 3 ประการคอื 1.1) ลดความกลัวลง เนือ่ งจากมีคนไมนอ ยทกี่ ลัวการตดิ ตอส่ือสารกบั ผูอนื่ อาทิเชน กลวั การพดู กลวั การ แสดงออกและกลวั ที่จะมปี ฏิสมั พันธกับผอู ่ืน ความรสู ึกไมมัน่ ใจ หรือขาดความเชอ่ื มั่นในตนเอง ความวิตก กังวลวา จะพดู ผดิ หรือความกลัววาจะถกู จับผิดในขณะทพี่ ดู ซ่งึ นบั วาเปน ผลเสยี ของพฤติกรรมทางดานการ ส่ือสารของคน เมอื่ คนไมกลา ทจี่ ะแสดงออกกจ็ ะกลายเปนคนเงียบๆ ไมกลา สุงสงิ กับใครแยกตนเองออกจาก สงั คม การสอ่ื สารระหวา งบคุ คลนนั้ จะทําใหเ ราไดเรยี นรูอะไรหลายอยา งมากขน้ึ รวมท้งั การเรยี นรเู ก่ยี วกบั สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 107  คูมือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศึกษา ตวั เองมากข้ึนและจะมีความตงั้ ใจบางอยางทีช่ ว ยลดความกลัวโดยการพยายามท่จี ะตดิ ตอ กบั บุคคลอืน่ มาก ย่งิ ข้นึ เมอ่ื ตางคนได เรยี นรผู ลทไี่ ดจ ากการรวมสังคมกันกจ็ ะทําใหค วามกลัวลดนอยลงและนานๆ กจ็ ะกลาย เปน เร่อื งธรรมดาสามญั และเกิดความสอดคลองกัน 1.2) มคี วามสอดคลองกนั ผลท่เี กิดจากการส่ือสารระหวางบุคคล ในลกั ษณะการมคี วามสอดคลอ งกัน ไดแ ก การกระทําที่ตรงตามความเชือ่ ทศั นคตแิ ละคานิยมของตัวเองนั่นกค็ อื คนมอี ิสระท่จี ะกระทําตามความ คิดของตนเองการวัดความสําเรจ็ ของการสอ่ื สารระหวางบคุ คล สวนหนึ่งวดั จากระดบั ของความสอดคลอ ง กนั ระหวา งการแสดงออกกับความเชอื่ และคา นยิ มของแตละคน หากการแสดงออกของคนไม ตรงทัศนคติ ของตน การสือ่ สารนนั้ ขาดความสอดคลอ งกนั ย่ิงความสอดคลองมมี ากเพยี งใดก็จะยง่ิ ทาํ ใหการสือ่ สาร กับ ผอู ่ืนมคี วามชดั เจนและมคี วามแนน อนมากย่งิ ขึน้ ตามไปดวยคนท่พี ูดดว ยความจรงิ ใจพดู ตรงกับความรูส ึก นนั้ ยอมจะ ส่ือสารความหมายไดดีกวา การสอื่ สารโดยไมใชคาํ พูด นอกจากนั้นจากการซักถามและการตอบ คําถามกย็ งั ชใ้ี หเ ห็น ถงึ ความสอดคลองของการพูดกบั ความรสู กึ ได ย่งิ ใหโ อกาสผพู ดู มอี สิ นะทจี่ ะเลือกเร่ือง หรือหัวขอ ท่ีพูดดวยแลว กย็ งิ่ เหน็ ความสอดคลอ งมากย่ิงขึ้น เพราะตามปกตคิ นเรามกั จะเลอื กเรอ่ื งหรอื หัวขอ การพดู ท่ีตนเองถนัด 1.3) สรางความไววางใจใหกบั ผูที่มาติดตอ ดวย การทคี่ นเราสอ่ื สารกบั คนอ่ืนสอดคลองกับความรสู กึ ของตนเอง จะทําใหก ารส่ือสารนั้นมปี ระสทิ ธภิ าพและสรา งความไวว างใจใหกับผูท ตี่ ิดตอ ดว ย เม่อื คนเกิด ความไววางใจการสื่อสารก็เกิดขนึ้ อยางเปด เผยและตรงไปตรงมาเพราะคนรูสึกอสิ ระท่ีจะแสดงออก มคี วาม พอใจทจี่ ะตดิ ตอสือ่ ความกนั และสรางความสัมพนั ธใ นทางทด่ี ีข้นึ ในแงของตวั เองเมอ่ื คนอืน่ มคี วามไววางใจ กจ็ ะเกิดความเชอื่ มน่ั ในตัวเองมากขึ้น เมอื่ ตนเองเกดิ ความรูสดึ วา ตัวเองไมถ ูกคุกคามหรอื ขม ขจู ากผูอ น่ื จะทาํ ใหพฤติกรรมในการปองกนั ตวั เองจะนอยลง และจะเกดิ ความพอใจที่อยากจะตดิ ตอ กับผูอ น่ื การแกป ญหา ตา งๆ ท่เี กิดขึน้ กจ็ ะดําเนินไปอยางดแี ละประสบผลสําเรจ็ 2) การส่อื สารภายในบคุ คล หรอื การส่อื สารกับตนเอง (Intrapersonal Communication) เปนกิจกรรม ทางการส่ือสารอยางหนง่ึ จะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื มกี ารสอื่ สารกบั ตัวเอง กลา วอยา งส้นั ๆ เมอ่ื คนคดิ หรือพดู กับตัวเอง การท่คี นพดู กับคนอนื่ อยา งไรคนกอ็ าจพูดกับตวั เองไดเ ชนเดียวกัน ตัวอยางของการสื่อสารกบั ตวั เองก็คอื การ ท่ีเราหยุดหรือการยบั ย้งั การกระทําหรือหยุดความคดิ บางอยาง การวิเคราะหตัวเอง การวางแผน การคิดเลอื ก การกระทาํ ท่มี อี ยหู ลายทางเลือก การเตือนตนเองและการคดิ รเิ ร่ิมงานบางอยาง ในแตละวันที่คนเกย่ี วขอ ง กับกิจกรรมการสื่อสารรอบๆตวั เอง ในสถานทตี่ างๆ กิจกรรมและการสอื่ สารนน้ั ๆ ก็จะวนเวยี นอยใู นความ คิดของคนเรา เมอ่ื กลับไปท่ีบา นของเรา เปนตน การท่ีมีการสื่อสารกบั ตนเองไมใ ชเ รื่องแปลก เพราะตวั เอง กม็ ีความคิดมีอารมณที่จะแสดงออกได ตามความเปนจรงิ นนั้ การสือ่ สารกับตัวเองจะเกดิ ขึน้ กอ นการส่ือสาร ในประเภทอน่ื ๆ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 108  คมู อื เตรียมสอบผูบ ริหารสถานศึกษา 2. การจูงใจ (Motivation) 2.1 ความหมายของการจงู ใจ การจงู ใจ (Motivation) หมายถึง การกระทาํ ทกุ วิถที างทจี่ ะเกดิ พฤตกิ รรมไปในแนวทางท่ตี องการ เชนใหคนเกดิ ความรูส กึ อยากทาํ งานมากขึน้ สนใจในปญ หาการทาํ งานมากขึ้น เปน ตน พนื้ ฐานของการจงู ใจ คอื การสรา งใหเกดิ ความตอ งการ(Needs) ข้ึนกอน เมื่อบุคคลเกิดความตองการขนึ้ แลว กจ็ ะเกิดแรงขับ (Drives) หรือความอยากท่ีจะกระทําข้นึ จนผลสดุ ทา ยเกิดเปนพฤติกรรม(Behavior) ถา พฤติกรรมทเี่ กดิ ขึ้น หรอื แสดงออกมา สามารถบรรลเุ ปาหมายของบคุ คลนั้นได กจ็ ะสามารถผอ นคลายความเครียดลง การจงู ใจ (Motivation) หมายถึง กระบวนการใดๆ ที่เปนแรงผลกั ดนั หรือกระตุนใหบคุ คลแสดง พฤติกรรมตามจุดมงุ หมายทีต่ อ งการ การจงู ใจมีลกั ษณะเปน การกระตุน หรือผลกั ดันใหเ กดิ พฤติกรรมและ เปนตวั กาํ หนดทศิ ทางของพฤตกิ รรม เพอ่ื ใหไ ดส่ิงท่ีตนเองตองการ การจงู ใจประกอบไปดวยสว นสําคญั 2 ประการคือ 1) แรงจงู ใจ (Motive) เปน แรงผลักดันจากภายใน ของบุคคลเอง ไดแก แรงขบั (Drives) เชน ความ หวิ ความกระหาย ความตองการทางเพศ เปน ตน อีกสว นหนง่ึ ของการจูงใจ ไดแ ก ความตองการ(Needs) เชนความอยากรู อยากเห็น ความสนใจ เปนตน ซึง่ เปนสิ่งท่ีเกดิ ขน้ึ ภายในรา งการ 2) สิง่ จงู ใจ (Incentive) หรืออาจเรยี กวา เครือ่ งลอ ใจ ซง่ึ เปนสิง่ เรา ตางๆจากภายนอกรา งกาย ทีม่ าเรา หรอื กระตุน ใหเ กดิ พฤติกรรมและเปน ตัวกําหนดทิศทางของพฤติกรรมท้ังทางบวกและทางลบ กลา วคือ สิง่ จูงใจทางบวก จะทําใหบคุ คลมงุ เขา หา เชน รางวัล คําชมเชย ฯลฯ สว นส่งิ จงู ใจทางลบจะทําใหบ คุ คล มงุ ทจี่ ะหลกี เลีย่ ง เชน การลงโทษ เปน ตน และถา อธิบายแรงจงู ใจในเชิงบริหาร ก็คงเปนการกระทําของนักบริหาร ท่หี มายความวา การจงู ใจ คอื ความพยายามดว ยวิธีตางๆ ของผบู งั คบั บญั ชาที่จะกระตุนให ผใู ตบงั คบั บัญชาเกิดความตองการทจี่ ะ ปฏิบัตงิ านอยา งเต็มความสามารถ 2.2 ความสาํ คญั ของการจงู ใจ การจงู ใจ เปน ปจจัยอนั สาํ คญั ในการบรหิ ารงานขององคก ร เพราะการจงู ใจจะชว ยบาํ บัดความ ตองการ ความจําเปนและความเดอื ดรอ นของคนในการปฏบิ ตั ิงานและทําใหเ กดิ ความพึงพอใจในการปฏิบตั ิ งาน ดังนัน้ ผเู ปนนักบรหิ ารหรอื หัวหนางานควรจะจดั ใหมขี น้ึ ในหนวยงานของตน ความสาํ คัญของการจงู ใจ มีดงั นี้ 1) เสรมิ สรา งใหเ กิดกาํ ลงั ใจในการปฏิบัตงิ านของบคุ คลในองคก าร และเกิดพลังรว มกันในการ ปฏิบัตงิ าน 2) สงเสริมใหเกิดความรวมมือรวมใจ และความสามคั คีในหมคู ณะผูปฏิบัตงิ าน 3) ชวยใหเกดิ ความจงรกั ภักดตี อองคการและผูบงั คับบญั ชา 4) ชว ยใหการควบคุมการปฏิบตั ิงานในองคกื ารเปนไปอยางมรี ะเบียบ มวี นิ ยั และศลี ธรรมอันดงี าม สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 109  คูมอื เตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 5) ชวยเสรมิ สรา งใหสมาชิกในองคก ารเกิดความคดิ ทีจ่ ะสรา งสรรคใหอ งคการมคี วามเจรญิ กา วหนา 6) ทาํ ใหเ กดิ ความเชอ่ื ม่นั ในองคการท่ตี นปฏิบัติงานอยู และมคี วามสุขกาย สขุ ใจในการปฏบิ ัติงาน ซ่ึงทาํ ใหผลงานออกมาอยา งมีประสทิ ธิภาพ 2.3 ทฤษฎีการจูงใจ การจงู ใจ เปนสิ่งที่นกั คิด นกั ทฤษฎที ัง้ หลายไดพ ยายามคดิ คน และทดลองกนั มามากมายเปนระยะๆ เร่อื ยมา ซ่ึงในชว งแรกๆมกั จะมรี ปู แบบของการอธิบายในเชงิ ปรัชญามากกวาเชงิ วทิ ยาศาสตร ทฤษฎีการจงู ใจจะชว ยชีแ้ นะใหผ ูบริหารทราบวิธีการที่จะดาํ เนนิ การจงู ใจพนกั งาน ถาผบู ริหารใดเหน็ ดว ยกจ็ ะนาํ ไปใช กบั พนักงานของตนได ทฤษฎกี ารจงู ใจทีส่ าํ คญั ๆ ดงั ตอไปน้ี 2.3.1 ทฤษฎคี วามตองการตามลาํ ดับชนั้ ของมาสโลว (Maslow Hierachy of Need) มาสโลว( Maslow) ไดใหข อเสนอแนะวา ความตองการของบคุ คลจะเปน จดุ เริ่มตน ของกระบวนการ จงู ใจ เขาไดตงั้ สมมุติฐานเกย่ี วกับความตองการของบุคคลไวด งั น้ี 1) บคุ คลยอมมคี วามตอ งกนั อยเู สมอและไมสน้ิ สุด เม่อื ความตอ งการใดไดรับการการตอบสนอง แลว ความตอ งการอยางอืน่ ก็จะเกิดขึ้นอีกไมมวี ันจบสิ้น 2) ความตองการท่ีไดร บั การตอบสนองแลวจะไมเ ปน สิ่งจงู ใจของพฤติกรรมอ่ืนๆตอไป ความ ตอ งการท่ีไมไดร บั การตอบสนอง จึงจะเปน สง่ิ จูงใจในพฤตกิ รรมของบคุ คลนั้น 3) ความตอ งการของบคุ คลจะเรียงเปนลาํ ดับขนั้ ตอนตามความสาํ คัญ เมือ่ ความตอ งการระดบั ตํา่ ไดร ับการตอบสนองแลว บุคคลกจ็ ะใหความสนใจกบั ความตองการระดบั สงู ตอไป มาสโลว(Maslow)ไดแบงความตอ งการมนษุ ย ตง้ั แตร ะดบั ต่าํ สุด ไปสูงสุด 5 ระดบั ดงั นี้ ความเขมความตองการ(สําคญั เบาบางลง) ความตอ งการความสําเรจ็ ในชวี ติ ความตองการไดรบั การยกยอ งนบั ถือ ความตองการความรกั และความเปน เจาของ ความตอ งการความมน่ั คงและความปลอดภยั ความตองการทางสรรี ะ ความเขม ความตอ งการ(สําคัญมาก) 2.3.2 ทฤษฏคี วามตองการของเมอรเรย (Murray Manifest Needs Theory) เปนทฤษฎที ไ่ี มไดเ รียงลําดับความตอ งการ เหมือนทฤษฎคี วามตอ งการของมาสโลว กลา วคอื ทฤษฎคี วามตองการของเมอรเรย สามารถอธิบายไดว า ในเวลาเดยี วกันบคุ คลอาจมคี วามตอ งการดา นใด ดา นหนงึ่ หรือหลายดา นสูง และมีความตองการดานอ่นื ๆตํ่าก็ได แตทฤษฎีของมาสโลวไ มส ามารถอธิบายได เมอรเรย ไดกําหนดความตองการของมนษุ ย 4 ประการ ไดแก สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 110  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 1) การตอ งการความสําเรจ็ 2) การตองการมมี ิตรสัมพันธ 3) ความตอ งการอิสระ 4) ความตอ งการมอี ํานาจ 2.3.3 ทฤษฎกี ารจูงใจของเฮรชิ เบอรก (Herzberg Motivator Hygiene Theory) เฮรชิ เบอรก (Herzberg) และผูรว มงานเขา ไดศ กึ ษาเก่ียวกับเจตคติในการทาํ งาน พบปจ จัย 2 ปจจยั ท่เี ก่ยี วของกับการแรงจูงใจในการทํางาน ดงั นี้ 1) ปจ จยั ค้าํ จุน (Hygiene Factors) เปน แรงจูงใจภายนอก เปนปจจยั ที่พนักงานใชเ ปน ขอ อา งเม่ือเกดิ ความรสู ึกที่ไมด ตี อการทาํ งาน หรอื เมอื่ เอาออกไปแลว จะเกดิ ความไมพ อใจและไมม ีความสุขในการทํางาน ในทางตรงกนั ขามถามปี จ จัยเหลา นีอ้ ยา งเพยี งพอแลวก็จะสามารถปองกันไมใ หเ กดิ ความรูสกึ ไมพอใจในการ ทํางานของพนกั งานได ซึ่งมปี จจยั ยอ ย 10 ประการ ไดแก นโยบายและการบริหารขององคก าร การสอน ควบคุม ดแู ล หรือเทคนิคการใหคาํ ปรึกษา ความสัมพันธก บั หวั หนางาน สภาพการทาํ งาน ความสัมพันธกบั เพอื่ นรว มงาน ชีวิตสว นตวั ความสัมพันธก บั ลูกนอ ง ตําแหนง หนา ทห่ี รอื สถานภาพในการทาํ งาน และ ความม่ันคง 2) ปจจัยกระตนุ (Motivator Factors) เปนปจ จยั จูงใจทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพท่ที าํ ใหพ นักงานมคี วาม พยายามทจี่ ะทําใหไดผลงาน ซง่ึ เปน ปจ จยั ทเ่ี กยี่ วของสมั พันธกับงานโดยตรง พนักงงานจะพดู ถึงเมื่อเกิด ความรูส กึ ท่ีดีตอการทํางาน มี 6 ประการ ไดแ ก ความสมั ฤทธิผล การยอมรับนบั ถือ ลักษณะของงาน ความรับผดิ ชอบ ความกา วหนาในงาน และโอกาสที่จะพัฒนา 2.3.4 ทฤษฎีการจูงใจของแมคเกรเกอร( McGregor) แมคเกรเกอร( McGregor) ไดมองถงึ วิธกี ารทีผ่ บู ริหารทํางานหรอื ปฏบิ ตั งิ านตอผใู ตบ งั คับบญั ชา โดยไดข อ สรปุ ไววา ทัศนะหรอื แนวคดิ ของผูบรหิ ารในดานธรรมชาตขิ องมนุษยน ัน้ อยบู นขอสมมตุ ฐิ านที่ เก่ียวขอ งกับคนอยู 2 กลมุ และผูบริหารมีความโนม เอยี งทีจ่ ะกําหนดพฤตกิ รรมของเขาตอผใู ตบ ังคับบัญชา ตามขอ สมมุติฐานทีเ่ ขาคิดไวหรอื มีอยู สมมุตฐิ านกลมุ แรกมีลกั ษณะท่เี ปนทางลบซึ่งกําหนดไววาเปนทฤษฎี เอก็ ซ (Theory x) และขอ สมมุติฐานอีกกลมุ ทม่ี ีลกั ษณะในทางบวก ซ่งึ กําหนดไวว าเปน ทฤษฎวี าย(Theory y) ทฤษฎี X (The Tradition View of Direction and Control) ทฤษฎนี เ้ี กิดขอ สมติฐานท่วี า 1) คนไมอ ยากทํางาน และหลีกเล่ยี งความรบั ผดิ ชอบ 2) คนไมทะเยอทะยาน และไมคิดริเริ่ม ชอบใหก ารสงั่ 3) คนเห็นแกตนเองมากวา องคก าร 4) คนมักตอ ตานการเปล่ยี นแปลง 5) คนมกั โง และหลอกงาย สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 111  คูมอื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา ทฤษฎี y (The integration of Individual and Organization Goal) ทฤษฎีขอ น้เี กิดจากขอสมติฐานท่วี า 1) คนจะไมใหค วามรว มมือ สนับสนนุ รบั ผิดชอบ ขยัน 2) คนไมเกยี จครานและไวว างใจได 3) คนมคี วามคดิ ริเร่ิมทํางานถา ไดร บั การจงู ใจอยางถกู ตอ ง 4) คนมกั จะพฒั นาวิธกี ารทํางาน และพฒั นาตนเองอยูเสมอ ผูบังคับบัญชาจะไมควบคุมผูใตบงั คับบญั ชาอยา งเขมงวด แตจ ะสง เสริมใหรูจักควบคุมตนเองมาก ขนึ้ วิธีการบริหารตามแนวน้ึ จะเปนการรวบรวมบคุ คลและเปาหมายโครงการเขา ไวด ว ยกนั การจูงใจตอง ใชวิธีการจูงใจในระดับสงู 2.3.5 ทฤษฎีเขาสามลกู (Achievement. Power and Affiliation Motive) เปนทฤษฎคี วามตองการท่ีเสนอโดยเดวดิ แมคคลีแลนด( David Mc Cleland) นบั วาเปนทฤษฎที ี่ สำคัญทชี่ วยใหเขาใจแรงจงู ใจในลักษณะขององคก าร จากทฤษฎีเช่อื วา ความตอ งการมีอยสู ามแบบคอื 1) ความตองการอาํ นาจ(Need for Power) เปนความตอ งการใหผ อู ่นื คลอ ยตามตน หรอื โนม นา วผูอ ื่น ใหท ําในสงิ่ ท่ีตนเองตอ งการ หรอื ไมท าํ ในสง่ิ ทตี่ นเองไมตอ งการ สรางอทิ ธิพลหรอื ทาํ ชื่อเสียงใหกบั ตวั เอง ชอบสะสมอทิ ธพิ ล ตอ งการตําแหนง ท่สี งู กวา คนอ่นื ตอ งการท่จี ะเหนอื คนอ่นื และมกั จะชอบคนทปี่ ระจบ ตนเอง 2) ความตองการสมั พันธ( Need for Affiliation) ความตองการความสัมพนั ธท ่สี นทิ สนมุ ใกลช ิด กบั คนอน่ื ชอบทจ่ี ะไดรับการยอมรับและเห็นใจจากผูอนื่ มักจะไมชอบใหต อบหรอื ไมช อบพบปะคนแปลกหนา ทีม่ คี วามคิดเหน็ ไมตรงกับตัวเอง 3) ความตอ งการความสําเร็จ (Need for Achievement) ชอบเห็นผลงาน มีความตองการท่ีจะบรรลุใน เปาหมายท่ีตองการ ชอบต้ังเปา หมายในการทาํ งาน มักเลอื กทาํ งานท่ที า ทายความสามารถของตนเอง คนทม่ี ี ความตองการความสาํ เร็จมักจะเปน คนชอบแขง ขันกบั ตัวเอง ชอบริเรม่ิ และมักจะปรบั ปรุงผลงานของตนเอง ใหดขี ึ้นอยเู สมอ เปน ผูท่ไี มชอบทาํ งานท่งี า ยหรือยากเกนิ ไป 2.4 แรงจงู ใจ 2.4.1 ความหมายของแรงจงู ใจ แรงจูงใจ (Motivation) หมายถึง สงิ่ ซึ่งความคุมพฤตกิ รรมของมนษุ ย อนั เกดิ จากความตอ งการ (Needs) พลงั กดดนั (Drives) หรอื ความปรารถนา (Desires) ท่จี ะพยายามด้นิ รนเพ่ือใหบรรลผุ ลสาํ เรจ็ ตาม วตั ถปุ ระสงค ซ่งึ อาจจะเกิดมาตามธรรมชาตหิ รอื จากการเรียนรกู ไ็ ด แรงจงู ใจเกิดจากสง่ิ เราท้ังภายในและ ภายนอกตัวบุคคลนัน้ ๆ เอง ภายใน ไดแ ก ความรูสกึ ตอ งการ หรือขาดอะไรบางอยาง จงึ เปนพลังชักจงู หรอื กระตุน ใหมนุษยป ระกอบกิจกรรมเพ่ือทดแทนสิ่งท่ขี าดหรอื ตองการนน้ั สวนภายนอกไดแก สิ่งใดกต็ ามทม่ี า เรงเรา นาํ ชอ งทาง และมาเสริมสรางความปรารถนาในการประกอบกิจกรรมในตัวมนษุ ย ซงึ่ แรงจงู ใจนอ้ี าจ เกิดจากสิ่งเราภายในหรอื ภายนอก แตเพียงอยางเดียว หรือทง้ั สองอยา งพรอ มกันได อาจกลา วไดว า แรงจงู ใจ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 112  คมู อื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ทําใหเกิดพฤติกรรมซึง่ เกิดจากความตองการของมนษุ ย ซึ่งความตอ งการเปน สิง่ เราภายในที่สําคญั กบั การเกดิ พฤติกรรม นอกจากน้ยี ังมสี ่งิ เรา อ่นื ๆ เชน การยอมรบั ของสงั คม สภาพบรรยากาศทเ่ี ปนมติ ร การบังคบั ขเู ขญ็ การใหรางวัลหรอื กาํ ลังใจหรอื การทําใหเกิดความพอใจ ลว นเปน เหตจุ งู ใจใหเกิดแรงจูงใจได 2.4.2 ทฤษฎีแรงจงู ใจ ทฤษฎีแรงจูงใจแบงออกไดเ ปน ทฤษฎีใหญ ๆ คือ 1) ทฤษฎพี ฤตกิ รรมนิยม (Behavioral View of Motivation) ทฤษฎี น้ี ใหค วามสาํ คญั กบั ประสบการณใ นอดตี (Past Experience) วามีผลตอแรงจงู ใจของ บุคคลเปน อยางมาก ดงั นั้นทกุ พฤติกรรมของมนษุ ยถา วเิ คราะหดูแลวจะเหน็ วาไดรับอิทธพิ ลทเี่ ปน แรงจูงใจ มาจากประสบการณใ น อดตี เปนสว นมาก โดยประสบการณในดา นดีและกลายเปน แรงจูงใจทางบวกท่สี ง ผลเราใหมนุษยม คี วามตอง การแสดงพฤตกิ รรมในทิศทางนนั้ มากยง่ิ ขน้ึ ทฤษฎนี ีเ้ นนความสาํ คัญของสงิ่ เรา ภายนอก (Extrinsic Motivation) 2) ทฤษฎกี ารเรยี นรทู างสังคม (Social Learning View of Motivation) ทฤษฎีน้เี หน็ วาแรงจงู ใจเกิดจากการเรียนรทู างสังคม โดยเฉพาะอยา งยงิ่ การสรา งเอกลกั ษณและ การเลยี นแบบ (Identification and Imitation) จากบุคคลท่ตี นเองช่ืนชม หรือคนท่ีมีช่อื เสียงในสังคมจะเปน แรงจงู ใจทีส่ ําคญั ในการแสดงพฤตกิ รรมของบุคคล 3) ทฤษฎพี ุทธินิยม (Cognitive View of Motivation) ทฤษฎีนเี้ หน็ วาแรงจงู ใจในการกระทาํ พฤติกรรมของมนุษยนน้ั ขึ้นอยกู ับการรับรู (Perceive) สิ่ง ตา ง ๆ ที่อยูรอบตัว โดยอาศยั ความสามารถทางปญญาเปนสาํ คญั มนษุ ยจะไดร บั แรงผลักดนั จากหลาย ๆ ทาง ในการแสดงพฤตกิ รรม ซงึ่ ในสภาพเชน นี้ มนุษยจ ะเกิดสภาพความไมสมดลุ (Disequilibrium) ข้ึน เมื่อเกิด สภาพเชนวานีม้ นุษยจ ะตอง อาศยั ขบวนการดดู ซึม (Assimilation) และการปรับ (Accomodation) ความแตก ตางของประสบการณท่ีไดร บั ใหมให เ ขากับประสบการณเดิมของตนซง่ึ การจะทําไดจ ะตอ งอาศยั สติปญญา เปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญทฤษฎนี ้ีเนน เร่ืองแรงจงู ใจภายใน(intrinsic Motivation) นอกจากน้ันทฤษฎนี ้ียงั ใหค วาม สาํ คัญกบั เปา หมาย วตั ถุประสงค และการวางแผน ทฤษฎีนใ้ี หความสําคัญกบั ระดับของความคาดหวัง (Level of Aspiration) โดยทีเ่ ขากลา ววาคนเรามีแนวโนม ทีจ่ ะตง้ั ความคาดหวงั ของตนเองใหสงู ขึ้น เมอ่ื เขาทาํ งาน หนึง่ สําเรจ็ และตรงกัน ขา มคอื จะตั้งความตาดหวังของตนเองตํา่ ลง เม่อื เขาทํางานหน่งึ แลวลมเหลว 4) ทฤษฎมี านษุ ยนยิ ม (Humanistic View of Motivation) แนวความคดิ น้เี ปนของมาสโลว (Maslow) ทไ่ี ดอ ธิบายถงึ ลาํ ดับความตองการของมนุษย โดย ทคี่ วามตอ งการจะเปน ตวั กระตุนใหม นุษยแ สดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ไปสูความตองการน้นั ดงั น้ถี าเขา ใจความ ตอ งการของมนษุ ยก ็สามารถ อธิบายถึงเร่ืองแรงจูงใจของมนษุ ยไดเชน เดียวกัน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 113  คูม ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 2.4.3 องคป ระกอบของแรงจูงใจ นักจติ วทิ ยาปจ จุบันไดศ ึกษาและสรปุ วา องคป ระกอบของแรงจูงใจ มี 3 ดา นคือ 1) องคป ระกอบทางดา นกายภาพ (Biological Factor) ในองคประกอบดา นนจ้ี ะพิจารณาถึงความ ตองการทางกายภาพของมนุษย เชน ความตองการปจ จัย 4 เพือ่ จะดํารงชวี ติ อยูไ ด 2) องคป ระกอบทางดา นการเรียนรู (Learned Factor) องคป ระกอบดา นนี้เปนผลสืบเนือ่ งตอ จาก องคป ระกอบขอ 1 ทั้งนีเ้ พราะมนุษยท กุ คนไมสามารถไดรับการตอบสนองความตอ งการในปริมาณ ชนิด และคุณภาพตามทต่ี นเองตองการ และในหลาย ๆ ครัง้ สง่ิ แวดลอมเปน ตัววางเงื่อนไขในการสรา งแรงจูงใจ ของมนษุ ย 3) องคประกอบทางดา นความคดิ (Cognitive Factor) 2.4.4 ประเภทของแรงจงู ใจ นักจติ วิทยาไดแ บงลักษณะของแรงจงู ใจออกเปนประเภทใหญ ๆ ไดด งั นี้ 1) กลมุ ท1่ี แรงจูงใจฉับพลนั (Aroused Motive) คือแรงจงู ใจทก่ี ระตุนใหมนุษยแสดงพฤตกิ รรม ออกมาทันทที ันใด แรงจูงใจสะสม (Motivational Disposition หรือ Latent Motive) คือแรงจงู ใจทม่ี อี ยูแต ไมไดแ สดงออกทนั ที จะคอ ย ๆ เกบ็ สะสมไวรอการแสดงออกในเวลา ใดเวลาหน่งึ ตอ 2) กลมุ ที่ 2 แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motive) คอื แรงจงู ใจทไ่ี ดรับอทิ ธพิ ลมาจากส่ิงเรา ภายใน ตวั ของบุคคลผูนนั้ แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motive) คอื แรงจงู ใจทไ่ี ดรบั อิทธิพลมาจากส่ิงเราภายนอก 3) กลุม ท่ี 3 แรงจงู ใจปฐมภูมิ (Primary Motive) คือแรงจงู ใจอันเน่ืองมาจากความตองการท่เี ห็น พืน้ ฐานทางรา งกาย เชน ความหิว, กระหาย แรงจูงใจทตุ ิยภูมิ (Secondary Motive) คือแรงจูงใจท่เี ปนผลตอ เนือ่ งมาจากแรงจูงใจขนั้ ปฐมภมู ิ 2.4.5 แรงจงู ใจภายในและภายนอก แรงจงู ใจภายในและภายนอก (Intrinsic and Extrinsic Motivation) นกั จติ วทิ ยาหลายทา นไม เห็นดวยกบั ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมทอ่ี ธิบายพฤตกิ รรมดวยแรงจูงใจทางสรีระแลแรงจูงใจ ทางจติ วิทยาโดย ใชทฤษฎกี ารลดแรงขบั เพราะมคี วามเช่อื วา พฤติกรรมบางอยางของมนุษยเ กดิ จากแรงจูงใจภายใน 1) แรงจงู ใจภายใน หมายถงึ แรงจูงใจที่มาจากภายในตวั บคุ คล และเปนแรงขับทที่ าํ ใหบ คุ คลนัน้ แสดงพฤตกิ รรม โดยไมห วังรางวัลหรือแรงเสริมภายนอก ความมสี มรรถภาพ (Competence) เปนแรงจงู ใจภายใน ซงึ่ หมายถงึ ความตอ งการทีจ่ ะมปี ฏิ สมั พันธก ับสิง่ แวดลอมไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพไวทถอื วา มนษุ ยเ ราตอ งการปรบั ตัวใหเ ขากบั สง่ิ แวดลอมมา ต้ังแตว ัยทารกและพยายามที่จะปรบั ปรงุ ตวั อยูเสมอความตองการมีสมรรถภาพจงึ เปนแรงจงู ใจภายใน ความอยากรูอยากเห็น (Curiosity) ความอยากรูอยากเหน็ เปนแรงจงู ใจภายในทท่ี าํ ใหเ กิดพฤติ กรรมท่ีอยากคนควา สํารวจสิง่ แวดลอม ดงั จะเหน็ ไดจ ากเด็กวยั 2-3 ขวบจะมพี ฤติกรรมที่ตองการจะสํารวจ สิง่ แวดลอมรอบ ๆ ตัว โดยไมรูจ ักเหนด็ เหนือ่ ย สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 114  คูม ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา 2) แรงจงู ใจภายนอก หมายถึง แรงจงู ใจท่ีมาจากภายนอกเปน ตนวาคําชมหรอื รางวลั 2.4.6 รปู แบบของแรงจงู ใจ บคุ คลแตล ะคนมรี ูปแบบแรงจูงใจทแ่ี ตกตา งกัน ซงึ นักจิตวิทยาไดแบงรูปแบบ แรงจูงใจของมนุษย ออกเปน หลายรูปแบบทส่ี าํ คัญ มดี งั นี้ 1) แรงจงู ใจใฝส มั ฤทธิ์ (Achievement Motive) หมายถึง แรงจงู ใจทีเ่ ปน แรงขบั ใหบ ุคคลพยายามที่ จะประกอบพฤตกิ รรมท่จี ะประสบสัมฤทธิผลตามมาตรฐานความเปนเลิศ (Standard of Excellence) ทีต่ น ตั้ง ไว บุคคลทมี่ ีแรงจงู ใจใฝสมั ฤทธจ์ิ ะไมทาํ งานเพราะหวังรางวลั แตทาํ เพือ่ จะประสบความสําเรจ็ ตาม วตั ถปุ ระสงคทีต่ ั้งไว  ผมู ีแรงจงู ใจใฝสัมฤทธจ์ิ ะมลี กั ษณะสําคัญ ดงั นี้ 1. มงุ หาความสาํ เรจ็ (Hope of Success) และกลวั ความลม เหลว (Fear of Failure) 2. มคี วามทะเยอทะยานสงู 3. ตง้ั เปาหมายสงู 4. มีความรับผิดชอบในการงานดี 5. มีความอดทนในการทาํ งาน 6. รคู วามสามารถท่แี ทจริงของตนเอง 7. เปนผทู ท่ี ํางานอยางมกี ารวางแผน 8. เปน ผูท ี่ตงั้ ระดับความคาดหวงั ไวส งู 2) แรงจงู ใจใฝสมั พันธ (Affiliative Motive) ผทู ่ีมีแรงจงู ใจใฝส ัมพนั ธ มักจะเปน ผทู ่โี อบออ มอารี เปน ทรี่ ักของเพอื่ น มลี ักษณะเห็นใจผอู น่ื ซ่ึงเมอื่ ศึกษาจากสภาพครอบครัวแลว ผทู มี่ แี รงจงู ใจใฝสมั พันธมกั จะเปน ครอบครวั ทอี่ บอนุ บรรยากาศในบานปราศจาก การแขง ขนั พอ แมไมมีลักษณะขม ขู พีน่ อ งมคี วามรกั สามัคคีกันดี ผมู แี รงจูงใจใฝสมั พนั ธจะมีลักษณะสาํ คัญ ดงั น้ี 1. เมื่อทาํ ส่งิ ใด เปาหมายก็เพื่อไดรับการยอมรบั จากกลม 2. ไมมีความทะเยอทะยาน มีความเกรงใจสงู ไมกลา แสดงออก 3. ต้ังเปา หมายตาํ่ 4.หลีกเล่ียงการโตแ ยง มักจะคลอยตามผอู ่นื 3) แรงจูงใจใฝอ ํานาจ (Power Motive) สาํ หรบั ผูท่ีมีแรงจูงใจใฝอํานาจน้ัน พบวา ผูท ่มี ีแรงจงู ใจแบบนี้ สว นมากมักจะพัฒนามาจากความรสู กึ วา ตนเอง \"ขาด\" ในบางสิ่งบางอยางทตี่ องการ อาจจะเปน เรอื่ งใดเร่อื ง หนึ่งก็ไดท าํ ใหเกดิ มีความรูสกึ เปน \"ปมดอย\" เม่ือมีปมดว ยจึงพยายามสราง \"ปมเดน\" ขึน้ มาเพ่ือชดเชยกับ ส่งิ ที่ตนเองขาด ผมู แี รงจูงใจใฝอ าํ นาจจะมีลักษณะสําคญั ดังนี้ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 115  คูม อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 1. ชอบมีอํานาจเหนือผอู ื่น ซงึ่ บางคร้งั อาจจะออกมาในลกั ษณะการกาวรา ว 2. มกั จะตอตานสงั คม 3.แสวงหาชอ่ื เสียง 4.ชอบเส่ยี ง ทั้งในดานของการทาํ งาน รางกาย และอุปสรรคตา ง ๆ 5. ชอบเปนผูนาํ 4) แรงจงู ใจใฝกาวราว (Aggression Motive)ผูที่มีลักษณะแรงจงู ใจแบบนมี้ กั เปนผูทไี่ ดร ับการเล้ียงดู แบบเขมงวดมากเกินไป บางครง้ั พอแมอาจจะใชว ธิ ีการลงโทษทร่ี นุ แรงเกนิ ไป ดงั นน้ั เดก็ จงึ หาทางระบาย ออกกบั ผูอ นื่ หรืออาจจะเนอ่ื งมาจากการเลยี นแบบ บคุ คลหรือจากสือ่ ตา ง ๆ ผมู ีแรงจูงใจใฝกา วรา ว จะมี ลักษณะทสี่ าํ คญั ดงั น้ี 1. ถือความคดิ เห็นหรอื ความสําคัญของตนเปน ใหญ 2. ชอบทํารา ยผูอื่น ทง้ั การทํารายดวยกายหรอื วาจา 5) แรงจูงใจใฝพ่ึงพา (Dependency Motive)สาเหตุของการมีแรงจูงใจแบบนี้ก็เพราะการเล้ียงดูท่ีพอ แม ทะนุถนอมมากเกนิ ไป ไมเปด โอกาสใหเดก็ ไดช วยเหลือตนเอง ผูที่มีแรงจูงใจใฝ พึ่งพา จะมีลักษณะสําคัญ ดงั น้ี 1.ไมมัน่ ใจในตนเอง 2.ไมก ลาตดั สินใจในเรือ่ งตาง ๆ ดว ยตนเอง มกั จะลงั เล 3.ไมก ลา เสย่ี ง 4. ตองการความชว ยเหลือและกําลงั ใจจากผอู ื่น 2.5 หลกั การเบ้อื งตน ในการจงู ใจ 1) พฤติกรรมที่ไดร บั รางวัล จะเกดิ ข้นึ ซ้าํ ๆอีก สว นพฤติกรรมที่ไมไดรับรางวลั หรอื ไดร บั การ ลงโทษจะไมเ กิดข้นึ ซํ้าอกี 2) ปจ จยั ทเี่ ปนตัวกระตุน ตองเปนทเ่ี ชอื่ ถือไดว า จะไปตอบสนองความตองการของบุคคล 3) การใหร างวลั หรือการเสรมิ แรงทางบวกตอพฤติกรรมทพี่ งึ ประสงค จะเปนวิธีจงู ใจทใี่ หไ ดผล ดกี วา การเสรมิ แรงทางลบ ลงโทษตอ พฤติกรรมทไี่ มพงึ ประสงค 4) การเสรมิ แรงทันทตี อพฤติกรรมน้นั ๆ ยอมเกดิ ประสิทธิผลมากกวา การปลอยไวน านๆแลวจงึ เสริมแรง 5) การที่แนใ จวา ฝายบรหิ ารจะตอบสนองตอบอยา งแนน อนตอพฤติกรรมน้ันๆ ยอมเพมิ่ นํ้าหนัก การจูงใจไดมากกวา 6) ถา ผลทีต่ ามมาไปกระทบตอ บุคคลผปู ฏบิ ัตโิ ดยตรง จะมีผลจูงใจไดม ากกวา การทีผ่ ลนัน้ จะไป กระทบตอองคการมากกวาบคุ คลนน้ั 7) รางวัลภายใน จะสง ผลจงู ใจมากกวา รางวลั ภายนอก สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 116  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 2.6 เทคนิคการจงู ใจ 2.6.1 การจงู ใจเพือ่ ปรบั พฤตกิ รรมบคุ คล ประกอบดวยกิจกรรมตามขน้ั ตอน ดังน้ี 1) ระบุพฤตกิ รรมท่ีเปน ปญ หาในการปฏบิ ัตงิ าน 2) กําหนดพฤตกิ รรมพ้ืนฐานทีจ่ ําเปน ในการปฏิบตั ิงาน 3) กาํ หนดพฤติกรรมท่คี วรจะเปน โดยวเิ คราะหจากหนา ที่งาน 4) การกาํ หนดกลยทุ ธและการปฏิบัตติ ามกลยุทธ ดังนี้ 4.1) สรรหากลยุทธเพ่อื ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมใหเหมาะสม 4.2) นาํ กลยทุ ธทีเ่ หมาะสมมาปฏบิ ัติ 4.3) ตรวจสอบพฤตกิ รรมทป่ี รบั เปลี่ยนแลว 4.4) การคงไวซ ่งึ พฤติกรรมที่เหมาะสม 5) การประเมินผลงานที่เปลยี่ นแปลงไป 2.6.2 การจูงใจใหค นทํางาน (Motivation Techniques) มีเทคนิคดังนี้ 1) การชีแ้ จงหรือบอกเปา หมายองคก ร 2) การตระหนกั และการยอมรับ 3) การใหโอกาสและการใหค วามปลอดภัย 4) การใหคนงานมคี วามสมั ฤทธิ์ผล 5) การพยายามปรับปรุงงาน 6) การสรางแรงจูงใจดวยการใชเงนิ 7) การกระตนุ ใหท ํางานเปนทีม 8) การใหความยตุ ธิ รรม 9) การกระตนุ ใหค นงานมีอสิ ระและมีความรับผิดชอบในการทํางาน 2.6.3 การจงู ใจดว ยงาน( Task motivation) 1) ลักษณะเฉพาะของงานนาสนใจ แปลกใหม ยว่ั ยุทา ทาย 2) การมอบหมายงานตรงกบั ความรู สามารถ พึงพอใจ 3) รายละเอียดของงานชดั เจน มีเปาหมาย มาตรฐานการปฏิบตั ิ 4) การเพม่ิ พูนความรู พฒั นาใหชํานาญ 5) การชี้แจงงานเพ่ือปรบั แกไข พฒั นา 6) ความกาวหนา ในการปฏิบตั ิงานน้ันๆ 7) เนนใหเ ห็นวา งานนน้ั ๆมีความสาํ คญั ตอพนักงงาน องคกร 8) มีการการแขง ขัน ประกวด 9) การมอบอาํ นาจ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 117  คูมือเตรียมสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา 2.6.4 การจูงใจดว ยผลตอบแทนทเ่ี ปน เงิน(Money motivation) ไดแ ก เงินเดือน คา จา ง โบนสั การแบง ปนกาํ ไร บําเหนจ็ คาลว งเวลา การใหสทิ ธ์ซิ อื้ หุน คานายหนา เปน ตน 2.6.5 การจงู ใจดวยผลตอบแทนทไี่ มใชเงิน(Non-Money motivation)ไดแ ก การยกยอง การเลอื่ น ตาํ แหนง การใหโอกาสพฒั นาศกั ยภาพ การใหความมนั่ คง การใหความใสใ จ เปนตน 2.6.6 การจูงใจดว ยสภาพแวดลอมในการทํางาน(Physical environment motives) ไดแ ก จัดสภาพ แวดลอมใหเ หมาะสมตอ การทาํ งาน ความพรอมของอุปกรณเ คร่อื งใช และการสรา งบรรยากาศอบอุน เปนกันเอง เปน ตน 2.6.7 การจูงใจดว ยสวสั ดกิ ารตางๆ (Fringe benefit) ไดแ ก การอาํ นวยความสะดวกทว่ั ไป การ บริการดา นสขุ ภาพ การบรกิ ารดานนันทนาการ การบริการดานการศกึ ษา และการจดั สวัสดิการดาน เศรษฐกิจเปนตน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 118  คมู ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สมรรถนะทางการบริหาร (การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร) ก. ความหมายของการพัฒนาศักยภาพบุคลากร (Caring & Developing Others-DEV) 1. ความหมายตามทัศนะ ก.พ. การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others-DEV) หมายถึง ความต้ังใจจะสงเสริมการ เรียนรูหรอื การพฒั นาผอู ืน่ ในระยะยาว โดยมุง เนนทเ่ี จตนาทจี่ ะพฒั นาผอู ื่นและผลท่ีเกดิ ข้นึ มากกวา เพยี ง ปฏบิ ตั ไิ ปตามหนา ท่ี 2. ความหมายตามทศั นะของ ก.ค.ศ. การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร หมายถงึ ความสามารถในการใหค าํ ปรึกษา แนะนําและชว ยเหลอื แกปญ หาใหแ กเพ่อื นรว มงาน ผูเ กี่ยวขอ ง มีสว นรว มในการพัฒนาบคุ ลากร ปฏบิ ัตเิ ปนแบบอยา งท่ดี ี ตลอด ทง้ั การสงเสรมิ สนับสนุน และใหโอกาสเพอื่ นรวมงานไดพ ฒั นาในรปู แบบตา ง ๆ ประกอบดวยตวั ช้วี ัด คือ - การใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ และชว ยแกป ญหาแกเ พอ่ื นรวมงานและผเู ก่ียวของ - การมีสวนรว มในการพฒั นาบุคลากร - ปฏิบตั ติ นเปน แบบอยา ง และสรา งเครอื ขา ยการพฒั นาบุคลากร - การสงเสริม สนบั สนุน และใหโ อกาสเพ่อื นรว มงานไดพ ัฒนาในรปู แบบตาง ๆ ข. แนวคิด สาระสําคญั ของการพัฒนาศักยภาพบุคลากร (Caring & Developing Others-DEV) 1. ความหมายของศักยภาพและการพฒั นาบคุ ลากร ศกั ยภาพ (potential) หรือ ความสามารถ หรอื สมรรถนะ หมายถงึ อาํ นาจหรือคุณสมบัติท่ีมีแฝง อยูใ น ส่งิ ตางๆ อาจทาํ ใหพ ัฒนาหรอื ใหป รากฏเปนสง่ิ ทป่ี ระจักษไ ด ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถสูงสุดที่เปนไปไดของบุคคลนนั้ ถาหากบุคคลนัน้ ไดรบั การบาํ รุง สงเสรมิ อยางเต็มท่แี ละถูกทางทั้งทางกายและทางจติ ความสามารถที่เรามอี ยใู นขณะน้จี ึงยังไมใ ชศกั ยภาพ ของเรา เราจงึ ตอ ง \"พัฒนาความสามารถ\" หรอื \"พฒั นาสมรรถนะ\" เพ่ือท่ีจะเขาไปใกลศกั ยภาพของเรา การพฒั นาบุคลากร หมายถึง กรรมวธิ ีที่จะเพิม่ พูนสมรรถภาพในการทาํ งานของผปู ฏบิ ัตงิ าน แตละคน ทง้ั ในดานความคดิ การกระทาํ ความรคู วามสามารถ ความชํานาญ และทศั นคติ การพัฒนาบุคลากร คอื การดาํ เนินการใหบ คุ ลากรไดเพม่ิ พูนความรคู วามสามารถในการปฏบิ ัติงาน ใหสามารถปฏบิ ตั ิงานใหไดผ ลตามที่หนวยงานตองการหรือใหไ ดผลดยี ง่ิ ขน้ึ อกี สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 119  คมู ือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา การพัฒนาบุคลากร หมายถึง การดําเนนิ การหรือกิจกรรมเพื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผล ของบุคลากรและเปนการหาวธิ ีการใหค วามชวยเหลือกระตุนใหบุคลากรกระตอื รือรนทีจ่ ะปฏิบัตงิ านให ลุลว งไปดวยดแี ละมีประสทิ ธิภาพจะเปน การเปล่ยี นแปลงท้ังองคกรและสงั คมสเู ปาหมายทไ่ี ดก ําหนดไว การพฒั นาบุคลากร หมายถึง กระบวนการในการพัฒนาคณุ ภาพของบุคลากรใหมคี วามรแู ละความ สามารถ มีทกั ษะและเจตคติท่ดี ตี อองคกร ตลอดจนการมีความรเู ทา ทนั เทคโนโลยี การปรับตวั เขากับสิ่ง แวดลอมและสังคมไดเปนอยา งดี ในอนั ทจี่ ะทาํ ใหการปฏบิ ัตงิ านเปน ไปอยางมปี ระสิทธิภาพภายใตความ พงึ พอใจของบคุ ลากรในองคกร 2. ความสําคญั จาํ เปน ในการพฒั นาบคุ ลากร แนวคดิ เกย่ี วกบั การพัฒนาบุคลากร เปนความจําเปน ทอ่ี งคก ารจะตอ งดาํ เนนิ การ ทัง้ นี้เพราะวาสงั คม ในปจจุบนั มกี ารเปล่ียนแปลงอยา งรวดเรว็ ในทกุ ๆดา น ไมวาจะเปน ดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง เปน ไปอยางรวดเรว็ โดยเฉพาะอยา งยิ่งในสังคมปจจุบันเปน ยุคโลกาภวิ ัฒน ยุคสังคมไรพ รหมแดน จึงตอ งมีการ ปรบั ปรุงการทํางานใหมีความทนั สมัย ทันตอ เหตุการณ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ความสําคัญ และจาํ เปนในการพฒั นาศักยภาพบุคลากร สรุปไดดงั น้ี 1) เกิดปญหานอยลงและงานไมติดขัด 2) กอ ใหเ กดิ ทศั นคตทิ ่ดี ี 3) เปนการเพิม่ พนู ประสิทธภิ าพความรู ความชํานาญของบุคลากรโดยตรง 4) เพ่ิมขวัญ กําลังใจและความเชอ่ื มนั่ ในตนเองมากขึน้ 5) เพิม่ ผลผลติ ทง้ั ปริมาณและคณุ ภาพ ลดตนทนุ การผลติ ลง 6) เพ่ิมความมัน่ คงแกองคกร และมคี วามยดื หยุน ดีข้ึน สามารถลดแรงงานจากหนวยงานหนงึ่ ไปยงั อกี หนวยงานหนง่ึ 7) ลดอุบัติเหตุ ความประมาท ความไมร วู ิธีปฏิบตั ิงาน และไมตอ งควบคมุ กันมากเกินไป 8) การขยายงาน การเตบิ โต ความสลับซบั ซอ น ภารกิจขององคกรเปลี่ยนแปลง จะตองเพ่ิมคน ทม่ี คี ณุ ภาพทตี่ อ งการเฉพาะ 9) เพ่ือใหคนในหนว ยงานไดร บั ทราบอุดมการณ และยึดอดุ มการณในการทาํ งานหรือเปลี่ยน นโยบายใหมๆ เพือ่ ไมใหมีอปุ สรรคตอ การทํางาน 10) การเปล่ยี นตาํ แหนง หนาทกี่ ารงานของบคุ ลากร 11) ความเจริญกา วหนาทางดานวิทยาการและเทคโนโลยีเปลย่ี นไป ดังนนั้ จะเห็นไดวาการพฒั นาบุคลากรมคี วามจาํ เปน และความสาํ คญั ตอ การบรหิ ารงานในองคก ร ทุกองคก รใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ บคุ ลากรในองคกรท่ีไดรบั การพฒั นาตนเองใหมปี ระสิทธภิ าพตามแผนท่วี าง เอาไว สามารถปฏบิ ตั หิ นา ที่ไดอ ยา งดีย่งิ ขนึ้ มใี จรักงาน มขี วญั กาํ ลังใจในการทํางาน ตลอดจนมีการพฒั นา ความคิดรเิ ร่มิ สรางสรรคข น้ึ กอ ใหเกิดประโยชนต อสังคมประเทศชาติ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 120  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 3. จดุ มงุ หมายของการพัฒนาบุคลากร ในการพฒั นาบุคลากรยอ มมีจุดมงุ หมายในการพัฒนา เพือ่ นําองคก รไปสูความสําเร็จทต่ี งั้ ไวต าม แผนพัฒนาบคุ ลากรของแตละองคก ร มีนกั วชิ าการหลายทา นไดก ลา วถงึ จดุ มุงหมายของการพัฒนาบุคลากร แตพอสรปุ ไดดงั นี้ 1) เพื่อสรางความมัน่ ใจใหก ับการปฏิบตั ิงานของบุคลากร 2) เพ่ือเสนอแนะวธิ ีปฏิบัติงาน 3) เพื่อพฒั นาการปฏบิ ตั งิ านใหไ ดผ ลสูงสุด 4) เพอื่ ลดความสน้ิ เปลอื งและปอ งกนั อบุ ัติเหตใุ นการปฏบิ ัติงาน 5) เพ่ือจัดวางมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน 6) เพอ่ื พัฒนาฝมอื ในการปฏิบัติงานของครู 7) เพือ่ พัฒนาการบริหารโดยเฉพาะครู อาจารยใหพ อใจทกุ ฝาย 8) เพือ่ ฝกบุคลากรไวเ พอ่ื ความกา วหนา ของงานและขยายองคการ 9) เพือ่ สนองการบริการอันมปี ระสทิ ธิภาพแกส าธารณะ 10) เพ่ือความกา วหนาในการเลอ่ื นตาํ แหนง 11) เพื่อพัฒนาทาทแี ละบคุ ลกิ ภาพในการปฏบิ ัติงาน 12) เพ่อื ปรับปรุงสภาพใหด ีขึ้น 13) เพ่อื ฝก วินัยในการตดั สนิ ใจ 14) เพ่อื สง เสริมขวญั กําลังใจในการปฏบิ ตั งิ าน นอกจากน้ีการพฒั นาบุคลากรยงั ชว ยใหเกิดประโยชน ดงั น้ี 1. ชวยแนะนาํ สงเสรมิ ใหปฏบิ ตั งิ านมสี มรรถภาพยง่ิ ขน้ึ ใหขวัญและกําลงั ใจในกาทํางาน 2. มอบหมายงานใหรับผดิ ชอบ ใหทุกคนเรียนรูงานและเขา ใจงาน สามารถปฏบิ ตั งิ านแทนกนั ได ในบางกรณี 3. กระตุนใหทุกคนปฏิบัตงิ านเพอ่ื ความเจริญกา วหนาท้ังของตนเองและของหนว ยงาน 4. ชว ยแนะนําสง เสรมิ สนับสนนุ ใหบุคลากรมคี วามคิดสรา งสรรค สอนงานบคุ คลหรือผใู ตบ ังคับ บัญชา 5. ใหบคุ ลากรรูจ กั สรางชื่อเสยี งใหกบั องคการ 6. พัฒนาบุคลากรดว ยการฝก อบรม ใหเ กิดมคี วามรูค วามเขาใจ ความชาํ นาญ ความคิดรเิ รม่ิ สราง สรรค สามารถนําความรไู ปใชใ นการปฏิบตั ิงานไดเ ปนอยางดี 7. นาํ ไปศึกษาดงู านยงั หนว ยงานตาง ๆ ทีเ่ ปนตวั อยางที่ดี ทั้งในและตา งประเทศ เพือ่ นํามาประยุกต และปรับปรงุ งานของตนเองใหดียิ่งข้ึน เปน การเพิม่ ประสบการณใหแกบ คุ ลากร 8. สนับสนนุ ใหบุคลากรมีโอกาสศึกษาตอ ในหลกั สตู รตา ง ๆ ทส่ี ูงข้ึนตามที่ตนเองถนดั สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 121  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 9. มีการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของผใู ตบังคับบัญชาเพอื่ ปรับปรุงการทาํ งานใหมปี ระสิทธิภาพ ดยี ง่ิ ข้ึน พจิ ารณาความดคี วามชอบ เลอื่ นระดบั เลื่อนตําแหนง ดว ยความบรสิ ทุ ธิย์ ุติธรรม ตามความสามารถ เพื่อเปน ขวัญและกําลงั ใจแกบ ุคลากร 10. ปกครองบังคบั บญั ชาใหค วามสาํ คญั แกทุกคนดว ยความยตุ ิธรรมเสมอภาค สว นการพัฒนาบคุ ลากรท่เี ปน ผใู ตบ ังคบั บญั ชามจี ดุ ประสงค ดงั นี้ 1. เพือ่ ชวยใหผใู ตบังคับบญั ชามีความรแู ละทักษะในการปฏิบัติงานในความรับผดิ ชอบไดล ลุ วง อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เพอื่ สรา งทศั นคตใิ นการปฏบิ ัติงาน ใหอ ุทศิ และทมุ เทเพอ่ื ประสิทธผิ ลการปฏบิ ัติงาน 3. เพื่อใหผ ใู ตบังคับบญั ชาเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมในทางท่ีผูบ รหิ ารตอ งการเพือ่ ประสทิ ธผิ ล จะเหน็ วา การพฒั นาบุคลากร เปนความมุงหวังทจ่ี ะใหบ ุคลากรปรบั ปรุง เพม่ิ พนู และพฒั นาการ ปฏบิ ตั ิงานของตนเองดวยความรู ความสามารถในลักษณะตางๆ ทง้ั ภายนอกและภายในจิตใจ เพอ่ื ใหผล สัมฤทธิข์ องการปฏิบัติงานน้ันดีกวา เดมิ ท้ังดานปรมิ าณ คณุ ภาพ และเวลา 4. กระบวนการพัฒนาบคุ ลากร ในการพัฒนาบคุ ลากรในแตละองคกรยอมมกี ระบวนการในการพัฒนาแตกตา งกัน ดงั นนั้ กระบวน การในการพฒั นาบุคลากร จึงหมายถงึ ข้นั ตอนในการพฒั นาบุคลากรอยางมรี ะบบ ซง่ึ โดยทั่วไปแลว มี กระบวนการพฒั นา ดงั น้ี 1) ขน้ั ที่ 1 กาํ หนดจดุ มุงหมายและบทบาทของหนวยงานในการท่ีจะมองเหน็ ภาพของกระบวนการ พัฒนาบคุ ลากรอยา งชดั เจน มคี วามเขาใจความสัมพนั ธของเปาประสงคก ับระบบงานท่ีเชอ่ื มโยงกบั การ พฒั นาบคุ ลากร 2) ขัน้ ที่ 2 จัดคณะบุคคลเพอื่ ดาํ เนนิ การและรับผิดชอบมบี ุคลากร 3 ฝายดว ยกันในระบบโรงเรียนทม่ี ี ความรับผดิ ชอบตอการพัฒนาบุคลากร ไดแก กรรมการสถานศึกษา สมาคมองคกร ปจ เจกบคุ คล 3) ขน้ั ที่ 3 กําหนดความตองการตา งๆในการพฒั นา กาํ หนดความตอ งการเฉพาะเจาะจงท่ตี อ งพัฒนา บุคลากรกระทําไดดวยการจดั วางแผนอยางเปนระบบ ไดแก ความตองการพฒั นาของระบบเปนสว นรวม ความตองการพฒั นาเฉพาะหนว ยงาน และความตองการการพฒั นาของปจเจกบคุ คล 4) ข้ันท่ี 4 เตรียมแผนพัฒนาบุคลากรทัง้ หมด การวางแผนสําหรบั พัฒนาบุคลากรของฝา ยบรหิ าร กลาง 5) ข้ันที่ 5 การดําเนินการพฒั นาบุคลากรเปน การรวบรวมเอากิจกรรมตา งๆในแผนการพฒั นา บคุ ลากรเพอื่ บรรลเุ ปา หมาย 6) ข้นั ท่ี 6 การประเมนิ ผลกระบวนการพฒั นาบคุ ลากร สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 122  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา 5. เทคนคิ ในการพฒั นาบคุ ลากร เทคนคิ ในการพัฒนาบุคลากรมีดวยกนั หลายวิธี ดงั นี้ 1) การฝก อบรม ประชมุ และสัมมนา จาํ แนกเปนการฝกอบรม 4 ประการ คอื 1.1) การฝกอบรมกอนเขาทาํ งาน เปน การฝกอบรมเพื่อเตรยี มตัวบคุ ลากรใหส ามารถปฏบิ ตั งิ าน ไดอยางเหมาะสม ซง่ึ ในการฝก อบรมกอนเขา ทํางานน้ี สามารถดาํ เนินการโดยหนว ยงาน เจา สงั กดั เองหรือ สถาบันวชิ าชีพอ่ืนๆก็ได 1.2) การฝก อบรมปฐมนิเทศ (Induction or Orientation) เปนการฝกอบรมบคุ ลากรท่บี รรจใุ หม หรือโอนมาปฏิบัติงานใหม เพือ่ เปน การตอ นรับแนะนาํ และชแี้ จงวัตถปุ ระสงค นโยบาย เปาหมาย และแผน งานโครงการใหบ คุ ลากรในหนวยงาน 1.3) การฝกอบรมหลังเขาทํางาน (In-service Training) เปน การฝกอบรมเพื่อใหบ ุคลากรในองค กรหรือหนว ยงานมคี วามรู ทกั ษะและประสบการณเ พิม่ ขน้ึ 1.4) การอบรมเพ่ือเลื่อนตาํ แหนงทส่ี งู ขึน้ (Training For Promotion) เปน การฝก อบรมท่ีมงุ เนน การ เตรยี มพรอ มในการปฏบิ ตั งิ านใหก ับบุคลากรท่ีไดร บั การเล่ือนตําแหนง ที่สูงขน้ึ ทง้ั นี้เพ่ือเปนการสราง ความมนั่ คงใหก บั องคก าร ลักษณะการฝก อบรมมี 2 ลักษณะ คอื การฝก อบรมเพ่ือเขาสตู ําแหนง และการ ฝก อบรมเพื่อพัฒนาความรทู ักษะ และประสบการณกอ นการเขา รับตําแหนง ใหม 2) การสง บุคคลไปศกึ ษาตอหรอื ดงู าน เปนการพัฒนาเพอื่ เพม่ิ พนู วุฒิ ความรู ทกั ษะ ประสบการณ แกผูไ ดร บั การพฒั นาทง้ั ในและตา งประเทศ ในแนวทางปฏิบตั ิถือระเบียบและวิธกี ารดาํ เนนิ การตามทที่ าง ราชการกาํ หนดเปน หลัก ดงั นนั้ ผูทศี่ ึกษาอบรมดูงานจงึ ตอ งปฏิบตั ติ ามระเบียบท่ีทางราชการกําหนดไว 3) การพัฒนากระบวนการปฏบิ ัตงิ าน ดว ยกิจกรรมดังตอ ไปน้ี 3.1) การแนะนําชแ้ี จง 3.2) การประชุมชี้แจง 3.3) การสอนงาน 3.4) การปฏิบัติงานหรอื การทดลองปฏบิ ตั งิ าน 3.5) การมอบหมายงานใหปฏิบตั ิ 3.6) การใหค าํ แนะนาํ ปรึกษา 3.7) การจดั เอกสารและคูมือปฏบิ ตั ิงาน 3.8) การสับเปลย่ี นหนา ท่ี 3.9) การโยกยาย 4) การพัฒนาตนเอง คอื การทบ่ี ุคลากรใชว ิธกี ารเพ่ิมพนู ความรู ความสามารถ และทกั ษะในการ ทํางานใหกวา งขวางยง่ิ ข้ึนดวยตนเอง ตลอดจนเกดิ การเรยี นรูเกย่ี วกับตนเองมากขึ้น ซ่ึงจะกอใหเกดิ ผลดี สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 123  คมู ือเตรียมสอบผูบ ริหารสถานศึกษา ท้ังในการปฏบิ ัติหนา ทกี่ ารงานและผลดตี อตนเองดวยการพัฒนาโดยกระบวนการบรหิ ารเปน การพฒั นา บคุ ลากรโดยการนาํ เทคนคิ การบรหิ ารมาใชโ ดยผูบ ริหารเปน ผพู ัฒนาบุคลากรดวยเทคนคิ ตา งๆ 5) การพฒั นาโดยกระบวนการบรหิ าร ประกอบดว ยการบริหารโดยเปา หมายหรือโดยวัตถุประสงค การบรหิ ารงานโดยมสี ว นรว ม และเทคนิควิธคี วบคมุ คณุ ภาพ ดังน้ี 5.1) การบริหารโดยเปา หมายหรอื วัตถปุ ระสงค( MBO) คอื การที่บคุ คลในหนวยงานไดร วมกาํ หนด เปา หมายของหนว ยงานรว มกันและการรับทราบเปา หมายของหนวยงานในแตล ะระดับ ซ่งึ สามารถทาํ ให บุคลากรสามารถทํางานไดต ามวัตถปุ ระสงคขององคก าร ปจ จยั ที่สงผลตอ ความสําเร็จของการจดั การโดย ยดึ วัตถุประสงค ข้ึนอยูก ับการสนับสนนุ ของฝา ยบริหาร หากฝา ยบริหารไดใหก ารสนบั สนุนอยางแทจ รงิ และเขา มาเกย่ี วของกับการบรหิ าร ตามวธิ ที ่จี ะชวยใหม ีการนําไปใชปฏิบตั งิ านท่ัวไปในระดบั ตางๆ ของ กิจการจะตองพยายามระบวุ ตั ถุประสงคใหชัดเจน นั่นคือผลงานตา งๆตอ งสามารถระบุออกมาเปน ตวั วดั ทสี่ ามารถวดั ได ตอ งมกี ารกาํ หนดเวลา ตองเปน ที่เขาใจไดงา ย และเปน เปาหมายท่ีทา ทายความสําเร็จดวย 5.2) การบริหารงานโดยมสี วนรวม (Participation Management) เปนลกั ษณะของการบรหิ ารงาน แบบหนง่ึ ทจี่ ัดรปู แบบการบริหารในลกั ษณะทมี งานการบรหิ าร หรอื ทมี ผปู ฏบิ ตั งิ านในระดบั ตางๆ โดย เฉพาะอยา งยง่ิ ในระดับปฏบิ ัติ ซ่ึงจะเปน ระบบท่ีเปดโอกาสใหผปู ฏิบตั งิ านไดมีสว นรว มในการบรหิ ารงาน และรวมกันปฏิบตั งิ านมคี วามแข็งแกรง และรวมมอื รวมใจกนั ปฏบิ ตั งิ านมากยิง่ ขึ้น นอกจากน้ันการท่ีบุคคล ไดม สี วนรว มในการปฏิบตั งิ านนน้ั จะทาํ ใหบคุ คลไดพ ฒั นาความรูความเขาใจความชาํ นาญรวมกันดว ย ซง่ึ เทียบเทา กับเปน การพฒั นาทางหน่งึ ดว ย 5.3) เทคนคิ วธิ ีควบคมุ คณุ ภาพ (Q.C) เปน วธิ กี ารทํางานทใี่ หผปู ฏบิ ตั งิ านไดร ว มกนั เองอยางเปน ระบบ ภายใตก ารสนับสนุนของหนว ยงาน ซง่ึ จะสง ผลใหล ดปญหาและทําใหงานมีประสทิ ธภิ าพ พรอ มกับ ทาํ ใหบ คุ ลากรเกดิ การพฒั นาในการทํางานรว มกัน 6. รูปแบบการพัฒนาบคุ ลากร การพฒั นาบคุ ลากรรายบคุ คล ถือเปน ผลลัพธห น่ึงของระบบสมรรถนะทนี่ ํามาใชใ นงานพฒั นา บคุ ลากรโดยใหโอกาสแกขา ราชการทุกระดบั ไดม สี วนรว มในการกาํ หนดแนวทางการพฒั นาบคุ ลากรไม จํากัดอยเู ฉพาะการฝกอบรมในหอ งเรียนเทา นัน้ แตจ ะใหความสําคัญกบั การศกึ ษาดวยตัวเอง และการใช สื่ออิเลก็ ทรอนกิ สชวยการเรยี นรมู ากขึน้ (e-Learning) รวมทั้งการสอนงานโดยผบู งั คบั บัญชา ดงั นนั้ การ พัฒนาบุคลากรจึงจําเปนตองเขา ใจรปู แบบการพฒั นาดว ย ดังน้ี 1. การเรียนรูดว ยตวั เอง (Self-Learning) จะใชไดผ ลตองเปน เรอ่ื งทีเ่ ก่ียวของกบั การพัฒนาความรู ตาง ๆ (มใิ ชเรื่องทักษะ หรอื คุณลักษณะ) ทีส่ ามารถหาไดจ ากคมู อื การปฏบิ ัตงิ านตาํ ราทางวิชาการ ศึกษาจาก สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส (e-Learning) หรือการศึกษาตอ 2. การฝก ปฏิบัติงาน (On the Job Training : OJT) เปน การมอบหมายใหบุคลากรไดฝก ฝนในงาน ตา ง ๆ โดยการลงมือปฏิบัตจิ รงิ ๆ ในสถานการณจ รงิ วิธีการนีจ้ ะทําใหเ กดิ การเรียนรจู ากการปฏิบัติจรงิ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 124  คูมอื เตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา ซึ่งจะพัฒนาไดท้ังความรู และทักษะ จึงเหมาะสมกบั การพัฒนาสมรรถนะทเี่ กีย่ วขอ งกบั ทักษะ (Skill) เชน ทกั ษะการวิเคราะหและจบั ประเด็นการเขยี นหนงั สอื ราชการ เปน ตน วธิ กี ารนีอ้ าจดําเนนิ การไดทง้ั การมอบ หมายงานใหป ฏบิ ัติเปน เรอื่ ง ๆ การฝก งานกบั ผชู ํานาญงานในเร่อื งตาง ๆ เปนตน 3. การสอนงาน (Coaching) เปน การเรยี นรูถ ึงวิธกี ารทาํ งานจากหัวหนา หรอื ผบู งั คบั บัญชาขนึ้ ไป 1 ระดับ โดยตรง ดว ยวธิ ีการแนะนาํ วธิ กี ารทํางาน การช้ใี หม องเห็นจุดบกพรอ ง จดุ เดน วิธีนผ้ี ูใตบ งั คบั บัญชา ไดร ับการแนะนําอยา งใกลชดิ จะทําใหมีขวญั และกําลงั ใจดี วธิ ีการนี้ตา งจาก OJT ซ่งึ OJT นนั้ ผมู อบหมาย งานอาจไมใชผ ูบงั คบั บัญชาโดยตรง และเปนการมอบหมายใหไ ปทาํ งานแลว นํามาเสนอเปนระยะ ๆ 4. มอบหมายงานเปน โครงการ (Project Assignment) ใหท าํ งานเปนผูจดั การโครงการรับผิดชอบความ สําเร็จทั้งโครงการ วธิ นี ี้นอกจากจะพัฒนาความรู ทักษะในงานแลวยงั พฒั นาความเปน ผูนาํ ไดอีกดว ย 5. การติดตามหวั หนา (Work Shadowing) หมายถงึ การพัฒนาโดยใหท ําหนา ท่เี ปน ผูชวยคอยตดิ ตาม หวั หนา หรือเปน เลขานุการติดตามผูบริหาร เชน หัวหนา เปน วิทยากรบรรยาย ก็พาติดตามไปดว ยหนง่ึ คน เพ่อื ทําหนา ที่เปน ผูช วยในการเตรยี มเอกสาร และน่งั ฟง การบรรยายของหัวหนา เพือ่ เรยี นรูวิธีการทาํ งาน วธิ กี ารนี้ ผูต ิดตาม นอกจากจะเรยี นรูว ิธีการทาํ งานแลวยงั ไดท ักษะการบรหิ ารจัดการ เชน การตดั สินใจการ เมอื งในองคกร เปน ตน 6. การฝกอบรมในหองเรยี น (In house Training) การเรยี นในหอ งเรยี นเปนกลุมวธิ ีการนีเ้ หมาะสมกบั หลกั สตู รภาคบังคับ หรือตองการเพ่มิ ความรใู หม ๆ ในเชิงวิชาการหรือเรียนรจู ากประสบการณของวทิ ยากร ทไ่ี มอ าจหาไดจ ากตาํ รา หรือหาไดย ากหรอื หลักสูตรท่ีตอ งการสรา งความสมั พันธร ะหวางบุคลากรในองคก ร เชน หลกั สูตรปฐมนิเทศ 7. การจดั ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร (Work Shop) เปนการประชมุ ท่ีตอ งการสรางประสบการณ โดยท่ีเนน ปฏิบตั ิมากกวา การบรรยายใหความรู แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เพื่อหารปู แบบ วธิ กี ารทาํ งาน หรอื ฝก ฝน เทคนิคการทํางานในรูปแบบตา ง ๆ ใหสามารถปฏบิ ัติไดจริง 8. การจัดสมั มนา (Seminar) เปน การจัดประชมุ ท่ีเปด โอกาสใหม ีการอภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ เหมาะสําหรบั กรณีปญหาทีต่ อ งการหาขอ สรปุ ในการแกไขปญ หาในการปฏบิ ตั งิ านแบบกวาง ๆ เชน การหา ขอ สรปุ เก่ยี วกับวธิ ีการจัดทาํ สํานวนคดี เปนตน 9. การอภปิ รายแบบ ซิมโพเซียม (Symposium) เปนการอภิปรายโดยผูทรงคุณวฒุ ิหลายคน พดู ในเร่อื ง เดยี วกนั แตแบง กนั อภปิ รายทา นละตอน 10. การศกึ ษาจากกรณี (Case Study) เปนการใชปญ หาจริงนาํ มาเขยี นเปน เรอ่ื ง แลวใหม ีการศกึ ษา วเิ คราะห เพอื่ ฝก ฝนวธิ คี ดิ วธิ พี ัฒนาแกไ ขปญ หาตา ง ๆ รวมกัน 11. วธิ กี าร อน่ื ๆ เชน การโยกยา ยตําแหนง ทดลองปฏบิ ัติงานในตาํ แหนง หนงึ่ การบรรยายพเิ ศษจาก ผเู ชีย่ วชาญภายนอกในหวั ขอ ทสี่ งั คมใหค วามสนใจ การแตงต้งั คณะทาํ งานการเรยี นรูจากการสอบถามจาก ผูเ ชย่ี วชาญ การศกึ ษาโดยเขาอบรมกับหนว ยงานภายนอก การศึกษาตอ การหมุนเวยี นงาน เปน ตน สอบครดู อทคอม

125  คูมอื เตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา 7. แนวทางพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ซึง่ ปญ หาดังกลาวสามารถแกไขไดโ ดยพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตามกรอบแนวทาง การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาแนวใหม ดังนี้ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 126  คูมือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 127  คูมือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 128  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สมรรถนะทางการบริหาร (การมวี สิ ัยทัศน) ก. ความหมายของการมีวสิ ัยทศั น (Visioning - VIS) 1. ความหมายตามทัศนะ ก.พ. วิสยั ทศั น (Visioning - VIS) หมายถึง ความสามารถใหทิศทางที่ชัดเจนและกอ ความรว มแรงรว มใจ ในหมผู ูใ ตบงั คับบญั ชาเพอ่ื นําพางานภาครัฐไปสจู ุดหมายรว มกนั 2. ความหมายตามทศั นะของ ก.ค.ศ. การมวี สิ ัยทศั น หมายถึง ความสามารถในการกาํ หนด ทศิ ทาง หรอื แนวทางในการพฒั นาองคก ร ท่เี ปนรูปธรรม เปนท่ยี อมรับ และเปน ไปในทางปฏบิ ตั ิ การยอมรับแนวคิด / วิธกี ารใหม ๆ เพอื่ การพัฒนา งานประกอบดวยตัวชวี้ ัด คือ - การใชก ระบวนการมสี ว นรว มในการกําหนดวสิ ัยทศั น หรอื ทิศทางในการพัฒนาองคกร - ความทันสมยั และสรา งสรรคข องวสิ ัยทศั น หรอื ทศิ ทางการพัฒนางาน และความสอดคลองกบั นโยบายขององคกรท่ีหนวยงานสังกดั - ความเปน ธรรม ความเปน ไมไ ด หรอื โอกาสความสําเรจ็ ตามวิสยั ทศั น - การยอมรบั การเปลย่ี นแปลงเทคนิค วธิ ีการ เมือ่ สถานการณแวดลอมเปลี่ยนไป ข. แนวคิด สาระสาํ คัญของวิสัยทัศน (Visioning - VIS) 1. ความหมายวิสยั ทัศน วสิ ัยทัศน (VISION) หมายถงึ การมองภาพอนาคตของผนู ําและสมาชกิ ในองคก ร และกําหนด จดุ หมายปลายทางที่เช่อื มโยงกับภารกจิ คา นยิ ม และความเชอ่ื เขาดว ยกัน แลวมุงสูจุดหมายปลายทางท่ี ตองการจดุ หมายปลายทางท่ีตองการ จดุ หมายปลายทางตองชัดเจน ทาทาย มพี ลังและมีความเปน ไปได สมมุตวิ า V คือ วสิ ยั ทัศน (VISION) I คอื ภาพฝน ในอนาคต (IMAGE) และ A คอื การกระทาํ (ACTION) สามารถเขยี นเปนสมการไดวา V = I + A สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 129  คมู อื เตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา 2. ความสาํ คัญของวิสยั ทศั น 1. ชวยกาํ หนดทิศทางทจ่ี ะดําเนินชีวิตหรือกจิ กรรมองคกร โดยมีจดุ หมายปลายทางที่ชัดเจน 2. ชวยใหส มาชกิ ทุกคนรูวา แตล ะคนมคี วามสาํ คัญตอการมุงไปสูจุดหมายปลายทาง และรูว า จะทํา อะไร (What) ทําไมตอ งงทาํ (Why) ทาํ อยางไร (How) และทําเมอ่ื ใด (When) 3. ชวยกระตนุ ใหสมาชกิ ทุกคนมีความรูสกึ นา สนใจ มคี วามผกู พัน มุง ม่ันปฏบิ ัตติ ามดว ยความเตม็ ใจ ทาทาย เกิดความหมายในชีวิตการทํางาน มีการทาํ งานและมีชีวิตอยูอ ยา งมีเปาหมายดวยความภมู ใิ จ และ ทุมเทเพื่อคณุ ภาพของผลงานทีป่ ฏบิ ัติ 4. ชว ยกําหนดมาตรฐานของชีวติ องคกร และสังคมทแี่ สดงถงึ การมชี วี ิตท่ีมีคุณภาพ องคก รที่มี คณุ ภาพ และสังคมท่เี จรญิ กาวหนา มคี วามเปน เลศิ ในทุกดาน 3. ระดับของวสิ ยั ทัศน ระดับวสิ ยั ทศั น แบงได 3 ระดับดังน้ี มองภาพอนาคตเก่ยี วกบั องคกร ในระบบสังคมโลก มองภาพอนาคตเก่ียวกบั องคก ร มองภาพอนาคตเกย่ี วกบั ตนเอง 4. ลกั ษณะของวสิ ยั ทศั น (VISION) ทดี่ ี ลกั ษณะของวสิ ัยทศั น(VISION)ท่ดี ี ควรมีลกั ษณะ ดังน้ี 1. มมี ุมมองแหงอนาคต (FUTURE PERSPECTIVE) สอดคลอ งเหมาะสมกับสภาพแวดลอม ทางเศรษฐกิจ สังคมวฒั นธรรม และคานิยมขององคกร รวมทัง้ วตั ถปุ ระสงคแ ละภารกจิ ขององคกรนน้ั ๆ 2. ริเริ่มโดยผูน าํ และสมาชกิ มสี วนรว มคดิ และใหการสนบั สนนุ (Share and Supported) มคี วาม นา เชื่อถือ ทุกคนเต็มใจทจี่ ะปฏบิ ตั ิตาม การมีสวนรว มของสมาชกิ จะกอใหเกิดความผกู พัน (Commitment) รวมกัน และทุกคนพรอมท่จี ะใหก ารสนับสนุน 3. มสี าระครบถว นและชัดเจน (Comprehensive & Clear) สะทอ นใหเห็นถึงจดุ หมายปลายทาง และทิศทางท่จี ะกาวไปในอนาคตทีท่ กุ คนเขา ใจงาย สามารถทําใหสาํ เรจ็ ไดตรงตามเปาหมาย สาระตางๆ จะชว ยกระตุน ทาทายความสามารถและความรสู กึ นึกคิดของบุคลากรที่จะปฏิบัตงิ าน 4. ใหค วามฝนและพลงั ดลใจ (Positive & Inspiring) ทาทา ย ทะเยอทะยาน สามารถปลุกเราและ สรา งความคาดหวงั ที่เปน สงิ่ พึงปรารถนาทมี่ องเห็นได น่นั คือ มเี สน ทางที่ทา ทายความสามารถ 5. มีแผนปฏบิ ัติท่ีแสดงใหเหน็ วธิ กี ารทมี่ งุ สูจดุ หมายชัดเจน และเมอื่ ปฏบิ ัตติ ามแลว จะใหผลคุมคา สอบครูดอทคอม

130  คูม อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ในอนาคต ท้งั ในดานบคุ คลและองคกร ทง้ั นี้ จะตอ งมีความสอดคลอ งกับจุดหมายปลายทางที่กําหนดเปน วิสยั ทศั น 5. องคป ระกอบทด่ี ีของวิสยั ทัศน - สงิ่ ท่ีฝน - เกย่ี วกบั เร่ืองอนาคต - เปน เคร่ืองบอกทิศทางไปสจู ุดหมายท่ีตองการอยา งมีพลัง - มีเปาหมายทีเ่ ปนไปได - มพี ลงั ทาทา ย เรงไปสูก ารเปลยี่ นแปลงที่สรางสรรค - กระชบั ชัดเจน ทุกคนเขาใจตรงกนั บอกท้ังเสน ทาง และเปา หมาย ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 6. กระบวนการสรางวิสัยทศั น กระบวนการสรา งวิสัยทศั นป ระกอบดวยขั้นตอนตา งๆ ดงั น้ี 1. ขนั้ เตรียมการ เปน ขั้นตอนการสรางความรูความเขาใจ เก่ียวกับความหมายและใหเห็นความ สําคัญและความจาํ เปนในการสรางวสิ ยั ทัศนใ นองคการรวมถึงการมเี จตคตทิ ี่ดีของสมาชิกท่ีมตี อองคกร 2. ขั้นดําเนนิ การสรางวสิ ยั ทัศน มีข้ันตอนดังนี้ 2.1 รวบรวมขอมูลพื้นฐาน ท่ีเก่ียวขอ งกบั หนวยงาน เชน วัตถปุ ระสงค ภารกจิ หนวยงาน ความ คาดหวังและความตองการของสมาชกิ ผรู ับบริการและหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง เปน ตน 2.2 วิเคราะหสถานภาพปจจบุ นั ของหนว ยงานเพื่อใหผ บู ริหารเขาใจและตระหนักในสถานภาพ ปจ จบุ นั และศักยภาพของหนว ยงาน 2.3 กลุมผูบรหิ ารเสนอมมุ มองแหงอนาคต เปน ลกั ษณะของการสรา งฝนของผูบริหารแตล ะคน (Create Individuals Dream) จะไดม ุมมองทห่ี ลากหลายและครอบคลุม 2.4 นาํ มมุ มองของผบู ริหารแตล ะคนมารวมและเชอ่ื มโยงกัน (Share and Relate the Dreams) เพือ่ ใหม มุ มองของแตล ะคนมาเช่อื มโยงกนั แลวเรียงลาํ ดับความสาํ คญั 2.5 คดั เลือกและตดั สินใจอนาคตของหนว ยงานทเ่ี ปนความฝนของทกุ คน 2.6 ขดั เกลาสํานวนใหส ือ่ ความหมายชดั เจน ปลุกเรา ทา ทาย สรางพลังดลใจ มสี าระครอบคลุม องคป ระกอบของวิสยั ทัศน 3. ขั้นนําวสิ ัยทัศนไ ปปฏิบัติ เมื่อกําหนดวิสยั ทัศนตามขัน้ ตอนการสรา งวิสยั ทัศนแลจะไดว ิสยั ทัศน ของหนว ยงาน และเม่อื คณะกรรมการบรหิ ารแลว ควรส่ือสารใหสมาชิกทกุ คนไดร ับทราบและเขา ใจตรงกัน กําหนดแผนงานและโครงการใหส อดคลองกับวิสัยทศั น และนําแผน/โครงการไปปฏบิ ัติ 4. ขน้ั ประเมนิ วิสัยทศั น การประเมินวสิ ัยทศั นท ําใหทราบวา วิสัยทศั นน น้ั มพี ลังและมีประสิทธิ ภาพเพียงใด โดยพจิ ารณาจากผลการดําเนนิ งานตามแผน และโครงการวา มคี วามกา วหนา ที่มงุ ไปสวู สิ ยั ทัศน เพียงใด ควรปรบั ปรุงแกไขการดาํ เนนิ งานเพอื่ ใหเ ปน ไปตามวิสัยทศั นอยางไร สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 131  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 7. การนําวิสัยทัศนไ ปสกู ารปฏบิ ตั ิ การนําวิสยั ทศั น( ภาพอนาคต)ไปสกู ารปฏบิ ัติที่เปนรูปธรรมควรมดี ังน้ี 1. นโยบายและแผนงานท่ีชดั เจน เปนไปอยางมรี ะบบและประสานประโยชนตามนโยบายและ แผนอยางจริงจัง 2. การปรับเปลย่ี นผูบ ริหารไดงาย เชน เดยี วกับภาคเอกชนในกรณีที่บริหารงานผดิ พลาดหรือเปน ผทู ขี่ าดความกา วหนา 3. ใชเคร่ืองมอื เคร่ืองใชเทคนิคการปรบั ปรุงงาน เชนเดียวกับภาคเอกชนเพอ่ื ทํางานใหร วดเรว็ และลดข้ันตอนในการทํางาน 4. การพฒั นาเจา หนาท่ีอยางตอเนื่อง เพอื่ ใหส ามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพและมี ทศั นคตทิ ีด่ ตี อ หนว ยงาน ตลอดจนการปรบั ทัศนคติขา ราชการ ใหเปน ผูรบั ใชประชาชนมากกวาเปน ผปู กครองหรอื เปนนาย และใหม ีจิตสํานกึ รับผิดชอบงานและสงั คม 5. การใชเทคนิควิชาการบริหาร (Management Technique) มาชวยในการบริหาร 6. การใชความรเู ฉพาะสาขา (Professional) เพือ่ ปฏบิ ตั ิงานใหไ ดผ ล 7. การใชเ ทคนิคอืน่ ๆ ประกอบการบริหารใหเปนผลสาํ เรจ็ 8. การใหความรู ขา วสาร ท่ีทนั ตอการเปล่ยี นแปลงของโลกแกผูทีอ่ ยูในสงั คมเมอื งในภูมภิ าคควรมี นโยบายในการกระจายอํานาจ ทง้ั การกระจายงานและกระจายเงนิ เพ่อื พฒั นาระบบบริหารราชการ 9. การปรบั องคก ร โครงสรา งและกาํ ลงั คนของหนว ยงานใหก ระทดั รดั และคลองตวั เหมาะสมกบั ภาระหนา ทีข่ ององคก รและสภาพปจจบุ นั พ่งึ เปดโอกาสใหเ อกชนมสี วนรว มในการบริหารราชการ 10. การปรับปรงุ กฎหมาายและระเบียบใหส ามารถปฏบิ ัตไิ ดค ลอ งตัวและรวดเรว็ 8. วิสยั ทศั น ( VISION )ของผูบริหารราชการยคุ ใหม วิสัยทัศน (VISION) จะเปนตวั กําหนดทิศทางเปา หมาย บทบาทหนา ท่ีของสว นราชการนั้นทีจ่ ะทําให อนาคตตลอดจนกําหนดกจิ กรรม (MISSION) ท่ีจะตองดาํ เนนิ การเพอ่ื บรรลุเปา หมายทต่ี ง้ั ไวเม่อื สง่ิ ตา ง ๆ เหลานช้ี ดั เจนก็จะนาํ ไปสกู ารจัดโครงสรา งท่ีเหมาะสม การจัดอัตรากาํ ลังทส่ี อดคลองกนั ซึ่งจะเออ้ื อํานวยให การใชทรพั ยากรและงบประมาณเปนไปอยา งมีประสิทธภิ าพและคุมคา ดังน้นั ผูบ รหิ ารยุคใหมควรรูส่งิ ตา งๆ โดยสาระสาํ คัญมดี ังนี้ 1. ความหมายวสิ ยั ทัศน ใชค ําวา VISION กนั ในหลายความหมาย ในราชการใชค าํ วา \"มอง อนาคต\" \"การสรา งภาพอนาคต\" ซง่ึ จะเปนเปา หมายในการเดนิ ทางไปสอู นาคต โดยวธิ ีการนาํ เอาระบบการ วางแผนมาใช นักวชิ าการใหค วามหมาย VISION ไวตา งๆกนั คือ มโนทัศน วิสัยทัศน ญาณทศั น มองการณ ไกล เล็งการณไกล การมีหูตากวางไกล ขอบเขตการมองเหน็ ดานความคดิ การมองเห็นสดุ สายตาท่ีมองเห็น เปนตน โดยรวมแลว วิสัยทัศนจ งึ เปนสง่ิ ท่ีอยากเห็นในอนาคตและเปนส่งิ ทีด่ กี วาเดมิ 2. กรอบในการมอง VISION คําวา VISION เปนคาํ ทใี่ ชก ันกวางขวาง ในทัศนะหนึง่ อาจนํา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 132  คมู อื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา VISION ไปใช หลายระดบั เชน 2.1 ตวั เราเองมองภาพอนาคตเก่ยี วกับอาชพี การงานเปน การมองเพื่อตนเอง โดยการมองสภาพ ภายนอกรอบตวั หนา ที่การงานมีอะไรเปลย่ี นแปลงจะปฏบิ ัติอยา งไร 2.2 ตวั เราเองมองภาพอนาคตเกี่ยวกับตนเอง เปน การมองภายใน เปนการมองสุขภาพรา งกาย และจิตใจ จะพัฒนารา งกายและจิตใจอยา งไร เปน การยอ นดูจติ ใจ ความผิดหวัง ความสมหวงั มีผลกระทบ ตอจติ ใจตัวเราจะทาํ งานภายใตความเครียดอยา งไร จะแกปญ หาอยา งไร จะบริหารคุณภาพจติ อยางไร 2.3 การมองภาพอนาคตเกยี่ วกับองคการ เปน การศกึ ษาระบบการบรหิ ารท่ีเหมาะสมกบั องคการ เปน การศึกษาใหรูถงึ สิง่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ทม่ี ผี ลกระทบตอ หนว ยงาน เชน ผลกระทบจากเทคโนโลยี ในการน้จี ะ บรหิ ารงานอยางไร 2.4 การมองภาพอนาคตเกย่ี วกับองคการในระบบสังคมโลก (Globalization) เปนการ มองคู แขงขันบรษิ ัทในประเทศใดกต็ าม ถา ผลิตสินคา คณุ ภาพดีกวา ราคาถูกกวา จะทําใหคแู ขง ลมไปได การมอง ภาพอนาคตจึงมององคการในระบบสังคมโลกวา จะบรหิ ารอยา งไร การศกึ ษาดูงานของนกั บริหารก็เพอื่ เอา บทเรยี นมาใช SWOT Analysia เพอ่ื ช้ีทิศทางใหค นอื่นทํา 3. การสรา ง VISION น้นั จะตอ งขจัดสิ่งทเี่ ปนปญหาอุปสรรคสาํ คญั คือ การท่ีนกั บริหารมักสรา ง ภาพลบหรือมีเจตคตใิ นทางลบโดยคิดวาเปนไปไมไ ด เปลยี่ นแปลงไมไ ดห รือไมย อมเปลี่ยนแปลงสง่ิ ท่ี สําคัญเบื้องตนก็คือ การสรา งเจตคตวิ า ทาํ ได เปลีย่ นแปลงได ถาส่งิ ท่ีคดิ ทําไดจ ริงคนสว นใหญจะตอ งเหน็ ดวย แตการบริหารการเปลี่ยนแปลงเปน สง่ิ ทีย่ าก อาจตองใชเวลานบั 10 ป ท้งั น้ี จะตอ งอาศยั ความกลา การสรา งสราง VISION นกั บรหิ ารจาํ เปน ตองกาํ หนด FOCUS ใหถกู จุดหรอื ถูกตอ ง วิธกี ารหนงึ่ ท่ี จะทาํ ใหเ กิด VISION กค็ อื การเปดหูเปดตาใหก วา ง และการรจู ักรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผูอืน่ ในอีกทัศนะ หนงึ่ เชือ่ วา VISION เปนสงิ่ ทสี่ รา งไดใ นภาคเอกชนนิยมใชทปี่ รกึ ษา (Consultant) มาชวยนาํ การสัมมนา ใน กลุมนักบรหิ าร 5 - 10 คน เปนการระดมความคิดหรอื ดึงความคดิ ออกมาใหเ กิด VISION อาจใชเวลา 5 - 6 เดอื น นักบรหิ ารควรมองสภาวะแวดลอมในระดับโลก ซ่ึงจะมีผลกระทบตอการบรหิ ารในดา นการเมอื ง ระหวา งประเทศ นิสัยทีเ่ ปนปญหาตอ การมีวิสัยทศั น(VISION )ของผูบ รหิ าร ไดแ ก กลวั ผดิ คือ ไมกลาแสดงความ คิดของตนเอง กลัวเสียหนา คอื คิดอะไรเพอื่ ตองการ ถา ยกยอทงั้ ๆ ท่ไี มถูกตอ ง คดิ วา ตวั เองฉลาด คอื คนอ่ืน โง ตัวเองถกู แพไ มเปน คือไมยอมรับความคิดผูอ่นื อคติ โวยวายกา วราว คอื ใชอ ารมณเหนอื ความคดิ เปน ตัวปญหา คือ เปน คนชอบคดั คานความคิดผอู ื่น ชาลนถวย คือไมย อมรบั สิง่ ทด่ี ีกวา แมกระทัง่ ความรู ความคดิ จากผูอ ืน่ 4. VISION นักบริหารควรเปนอยา งไร โดยเฉพาะภาพอนาคตของราชการเปน ส่ิงทต่ี อบยากมาก ทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลงในทัศนะหนึ่ง อยากใหเ นนกระบวนการสรา ง VISION มากกวาเนือ้ หา (Content) นกั บรหิ ารควรรูจ กั สรา งภาพอนาคต ซึ่งภาพอนาคตอาจเปลี่ยนไปตลอดเวลา สงิ่ หนึง่ ที่มองเหน็ กค็ ือบทบาท ของราชการจะลดนอ ยลง แตอ าจไมเปนจรงิ ทุกสวนราชการ เชน การขยายการศกึ ษาภาคบังคบั เปน 12 ป สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 133  คมู ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา บทบาทภารกจิ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารคงจะไมล ดลงอยางไรก็ตาม ในอนาคตราชการจะตองมกี าร Privatization มากขน้ี และทาํ อะไรดวยความไมโ ปรงใสไมใ หป ระชาชนรูคงจะทําไดย าก ดังนนั้ จาํ เปน ตอ ง เตรียมรบั ในเร่อื งน้ี รฐั คงจะไมส ามารถเขาไปกําหนดควบคุมสง่ิ ตาง ๆ ไดมาก เชน อตั ราการแลกเปล่ียน เงินตรา แตจ ะตองปลอยใหเ ปนไปตามกลไกตลาด ในยุคไฮเทคทีม่ กี ารแขง ขนั สูง สอนบทเรียนวา ใครจะอยู รอดตองมปี ระสิทธิภาพสงู สดุ สนิ คาตองดี การบริหารดี กิจการจึงจะอยูไ ดจาํ เปนตอ งมแี นวคิดเร่อื ง P C D S (Product, Cost, Delivery, and Safety) แนวความคดิ ที่วา ประชาชน คือ ลูกคา จะตอ งเกดิ ขน้ึ ถงึ เวลา แลว ท่รี าชการจะตองใหบริการทดี่ ีทส่ี ุด สงมอบบริการทีด่ แี ละรวดเรว็ และราคาถูกท่ีสุด (คาใชจายต่าํ ) กบั ประชาชน ภาพอนาคตทร่ี าชการควรคาํ นึงใหม ากกค็ ือ การจัดการกบั ระบบขอมลู ราชการจาํ เปน ตองคาํ นงึ วา จะ integrete ระบบขอมูลในราชการทง้ั 76 จงั หวดั ไดหรือไม แตล ะจงั หวัดตอ งการขอมลู อะไรบา งใน อนาคต การสัง่ งานในระบบ On line จะเกดิ ข้นึ เพราะประหยดั เวลาปญ หาท่มี องเห็นก็คอื ระบบคอมพิวเตอร ท่ีลํา้ สมัยกับทนั สมัย จะเช่ือมกันยาก สรปุ ก็คอื จะตอ งเช่อื มโยง (integrete) ขอ มลู และใชป ระโยชนจาก ขอมูลใหไ ด (Utilize) 5. วสิ ยั ทศั น (VISION) ระบบราชการไทยในอนาคตจะตองเล็กลงและเรียบงาย จะตอ งคดิ ถงึ 3 เร่ือง คือ Internationalization Decentralization และ Privatization 6. ผูน าํ ยคุ ใหมทีเ่ นน การปฏริ ูป จงึ ตองเปน ผนู าํ คุณภาพเพราะผนู ําไมม คี วามรูค วามสามารถ ขาดความเขา ใจในดา นคณุ ภาพแลว อาจจะนาํ องคก รสคู วามลมเหลวและหลงทางได ซึง่ ลกั ษณะของผนู ํา คณุ ภาพ ควร เปน ผนู าํ วิสัยทศั น( visionary Leadership ) และสามารถกระจายวิสยั ทัศนไปยงั บคุ คลอนื่ ได ผนู ําที่มวี สิ ัยทัศนจ ึงตองมีความรแู ละประการณใ นการบรหิ ารเปน อยา งดี ตอ งรจู กั สะสมความเช่ยี วชาญใน ดานตาง ๆ มัน่ ศึกษาคนควา หาความรอู ยา งสม่ําเสมอ รวมท้งั ตองมองการณไ กล สามารถางแผนระยะ ยาว ( Long term planning ) สามารถแกป ญ หาไดอ ยางชาญฉลาด เปลย่ี นวกิ ฤติสูโอกาสไดอยา งเหมาะสม และทสี่ าํ คญั สามารถวางแผนกลยทุ ธ เพ่ือปรบั ปรุงองคการใหเ จริญกาวหนา และอยรู อดปลอดภัย สามารถ ตา นทานตอวิกฤตกิ ารณทม่ี ากระทบไดอ ยา งมน่ั คง ผูนําวสิ ัยทศั นจงึ มีลกั ษณะ ดังแผนภูมิ ดังน้ี 6.1 ผนู ําตอ งกําหนดวสิ ยั ทศั นไ ดอ ยา งชัดเจน และสามารถกระจายวสิ ัยทัศน ไปยงั บคุ ลากรอ่นื เพอ่ื ใหเ กิดการยอมรับ 6.2 ผนู าํ สามารถกาํ หนดเปาหมายรวมกับบคุ ลากรไดอ ยา งชดั เจน 6.3 ผูน าํ รว มกับบคุ ลากรกาํ หนดพนั ธกิจรวมกนั เพอื่ เปนทศิ ทางในการดําเนินงาน 6.4 ผนู ํารว มกับบุคลากร กําหนดยุทธศาสตรทส่ี ามารถแกไขปญ หาไดต รงประเดน็ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 134  คมู ือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ค. ตัวอยา งของวสิ ัยทัศน (Visioning ) หนวยงานการศึกษา 1. วสิ ยั ทศั นของสถานศกึ ษา เชน 1.1 วิสยั ทศั นข องโรงเรยี นนางรองพทิ ยาคม สังกดั สพท.บุรีรัมย เขต 3 “โรงเรยี นนางรองพิทยาคม รวมกับชุมชมมุงมัน่ ยกระดับคุณภาพผเู รยี นใหเปน ผใู ฝเ รยี น ใฝร คู ู คณุ ธรรม อนรุ ักษส ่งิ แวดลอ ม สบื ทอดภูมปิ ญ ญาไทย สงเสรมิ ประชาธปิ ไตย มีพลามยั ที่สมบรู ณ เพม่ิ พูน สุนทรยี  เปนคนดขี องสังคม” 1.2 วิสยั ทัศนข องโรงเรยี นยุพราชวิทยาลัย สงั กดั สพท.เชียงใหม เขต 1 “โรงเรียนยุพราชวทิ ยาลยั เปน สถานศกึ ษาที่มุงจดั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ใหบ รรลุมาตรฐานการ ศกึ ษาของชาติ พัฒนาคณุ ธรรมอันพงึ ประสงค และสง เสรมิ ความเปนเลิศทางวิชาการ” 2. วิสยั ทศั นของหนว ยงานทางการศกึ ษา เชน 2.1 วสิ ัยทัศนข องสํานักงานคณะกรรมการขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ก.ค.ศ.) “มุงมนั่ พัฒนาระบบและมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลใหข า ราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา มงุ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา” 2.2 วิสัยทัศนข องสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา “สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนองคกรหลกั ในการจัดการอาชีวศึกษาและฝก อบ รมวชิ าชพี ใหประชาชนอยา งทัว่ ถงึ ตลอดชวี ติ มคี ณุ ภาพ ไดมาตรฐาน และจัดการองคค วามรตู รงตามความ ตอ งการของตลาดแรงงานและอาชพี อิสระ สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ” 2.3 วิสัยทัศนข องสาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา “ภายในป 2550 สํานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษาจะเปนองคกรทเี่ ชี่ยวชาญดานการพฒั นา นโยบายและแผนการศึกษาของชาติ ที่บูรณาการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกฬี ากับการศึกษา เพื่อให คนไทยทกุ คนไดเรยี นรูแ ละพัฒนาตนเองตลอดชีวิต ทําใหส ังคมไทยเปนสังคมแหงการเรียนรู” 3. วิสยั ทศั นของเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา เชน 3.1 วิสัยทศั นของสํานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาบุรรี มั ย เขต 3 “สํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาบุรรี ัมย เขต 3 เปน องคก รหลกั ในการจดั สงเสรมิ สนบั สนนุ และ ประสานการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานใหท่วั ถึง เสมอภาค มีคณุ ภาพ สอดคลอ งกบั ความตอ งการของทองถ่ิน และพฒั นาสคู วามเปนเลศิ ” 3.2 วสิ ยั ทัศนของสํานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาขอนแกน เขต 1 “ สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาขอนแกน เขต 1 เปน องคก ารแหงการเรยี นรู เปน ผนู าํ ในการประสาน สง เสริมและสนับสนนุ สถานศกึ ษาใหส ามารถจดั การศึกษาอยา งท่ัวถึงและมคี ุณภาพดวยเครอื ขา ยเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ควบคูก บั ภมู ปิ ญญาไทย ภายใตห ลักการบริหารกจิ การบานเมอื งที่ดี” สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา สว นท่ี 2 กฎหมายการศกึ ษา ปฏบิ ตั ริ าชการ • แผนการศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ.2545-2559) • กฎหมายหลักของการจดั การศกึ ษา • กฎหมาย ระเบยี บปฏิบตั ริ าชการ • กฎหมายปฏิบัตริ าชการระดบั สถานศกึ ษา • กฎหมายการประกอบวชิ าชีพการศึกษา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 135  คูม ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สรุปสาระสําคญั แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2545-2559) 1. ความเปน มา หลักการ แนวคิด พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 มาตรา 33 บญั ญตั ิใหม กี ารจัดทาํ แผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรมแหงชาติ ซึง่ จะเปลย่ี นช่ือใหมเ ปน “แผนการศกึ ษาแหง ชาต”ิ ทเ่ี นน การนําสาระ สําคญั ดงั กําหนดไวในรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2542 นโยบายรฐั บาล วิสัยทัศนก ารพัฒนาระยะยาว 20 ปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาตริ ะยะท่ี 9 พระราชบัญญตั กิ าํ หนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแ กองคก รปกครองสว นทองถ่ิน พ.ศ. 2542 พระราชบญั ญัติ กฎหมาย และระเบียบตางๆ ทเ่ี กีย่ วของมากาํ หนดเปน แผนปฏิรูปหลักดานการ ศึกษา ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรมแหงชาติ เพอื่ นาํ ไปสูการปฏบิ ัตอิ ยางจริงจงั อันจะนาํ มาซึ่งประโยชนตอ การสรางชาติ สรา งคน และสรางงานตามหลกั การแหงนโยบายของรฐั บาลตอไป แผนการศกึ ษาแหง ชาติ เปน แผนยทุ ธศาสตรร ะยะยาว 15 ป (พ.ศ.2545-2559) ทม่ี คี วามสําคัญยง่ิ เนื่องจากเปน การนําสาระของการปฏริ ปู การศึกษาตามพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาตแิ ละนโยบายของ รัฐบาลสูการปฏบิ ัติ และเปน กรอบแนวทางในการจดั ทาํ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน แผนพฒั นาการ อาชีวศึกษา แผนพฒั นาการอดุ มศึกษา และแผนพัฒนาดา นศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม รวมทั้งเปนแนวทาง ในการจัดทําแผนปฏบิ ัติการเพอื่ พัฒนาดา นการศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรม ในระดบั เขตพ้นื ที่การ ศกึ ษา องคก รปกครองสว นทองถิน่ และสถานศกึ ษา เพื่อนําไปสกู ารดาํ เนนิ งานอยางตอเนอ่ื ง เสร็จสมบูรณ ท้งั กระบวนการเพอ่ื การปฏริ ูปการศึกษา การดําเนนิ การดานศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม ในชวงระยะเวลา 15 ป ตัง้ แตป  พ.ศ.2545 จนถงึ ป พ.ศ.2559 ท่สี อดคลองตอ เนอ่ื งกันทั้งประเทศ แผนการศึกษาแหง ชาติ ไดน าํ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน ปรัชญาพื้นฐานในการกําหนดแผน โดยมีการศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม และธรรมชาติ บรู ณาการเช่ือมโยงเปน กระบวนโดยรวมท่ี “คน” เปนศูนย กลางของการพัฒนา ซึง่ จะเปนการพฒั นาท่ีย่งั ยืน มีดุลยภาพ ท้งั ทางดา นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และสิง่ แวดลอม และมงุ ไปสูการอยดู มี สี ุขของคนไทยท้งั ปวง 2. เจตนารมณของแผนการศึกษาแหงชาติ จากปรัชญาพืน้ ฐานและกรอบแนวคดิ ขา งตน เจตนารมณข องแผนการศึกษาแหงชาตนิ ้ี จึงมงุ ท่ีจะ 1. พัฒนาชวี ติ ใหเปน มนุษยท ่ีสมบรู ณท ้ังรางกาย จิตใจ สตปิ ญญา ความรู และคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดาํ รงชีวติ สามารถอยูรวมกับผูอ นื่ ไดอ ยางมีความสุข 2. พัฒนาสังคมไทยใหเ ปนสังคมท่ีมคี วามเขมแข็ง และมีดุลยภาพใน 3 ดา น คือ สังคมคุณภาพ สงั คม แหงภูมปิ ญ ญาและการเรียนรู และสงั คมสมานฉันทแ ละเอ้อื อาทรตอกนั สอบครดู อทคอม

136  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา เพ่อื ใหบ รรลุตามเจตนารมณดังกลา วขางตน แผนการศึกษาแหงชาตจิ ึงกําหนดวัตถปุ ระสงคแ ละแนว นโยบายเพือ่ ดําเนนิ การไว ดังนี้ 3 วัตถุประสงค แนวนโยบายแผนการศกึ ษาแหง ชาติ 3 วตั ถุประสงค 11 แนวนโยบายเพอื่ ดาํ เนินการ ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com พัฒนาคน พัฒนา อยางรอบดา น สภาพแวดลอ ม และสมดุล ของสังคม 1. พัฒนาทุกคนใหมโี อกาส สรางสงั คมคุณธรรม 8. สง เสรมิ และสรางสรรค ทุนทางสงั คมและวฒั นธรรม เขาถึงการเรียนรู ภูมปิ ญ ญา 9. จาํ กัด ลด ขจัดปญ หาทาง โครงสรางเพื่อความเปน 2. ปฏิรูปการเรยี นรูเพื่อผูเรียน และการเรยี นรู ธรรมทางสงั คม 10. พฒั นาเทคโนโลยเี พื่อ 3. ปลูกฝงและเสรมิ สรา ง การศึกษา 11. จัดระบบทรพั ยากรและ ศีลธรรม คุณธรรม 5. พฒั นาสังคมแหง การ การลงทุนทางการศึกษา จริยธรรม คา นยิ มและ เรยี นรเู พื่อสรางความรู ศาสนา ศลิ ปะ และ วัฒนธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค ความคดิ ความประพฤติ 4. พฒั นากาํ ลงั คนดา น 6. สง เสริมการวิจยั และพฒั นา วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 7. สรา งสรรค ประยกุ ตใช เพอ่ื การพ่งึ พาตนเองและ และเผยแพรความรแู ละ เพ่มิ สมรรถนะในการแขงขนั การเรยี นรู เพอื่ ใหมกี ารดาํ เนินงานตามกรอบภาพรวมของแผนอยา งมบี ูรณาการท่ีสมั พนั ธแ ละเชื่อมโยง เปน กรอบกระบวนการโดยรวมท้งั หมด ภายใตแ นวนโยบายเพ่ือดําเนินการทั้ง 11 ประการ จึงไดก ําหนด ยุทธศาสตรก ารดาํ เนนิ งาน เพือ่ เปน กรอบแนวทางแกอ งคก รภาครฐั องคกรปกครองสวนทอ งถิน่ องคกร ประชาคม ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสถาบันในสงั คมตางๆ ใหเขา มามสี ว นรว มอยางจรงิ จัง ในการ นําวัตถุประสงค แนวนโยบาย เปา หมาย และกรอบการดําเนนิ งานของแผน มากําหนดเปนแผนพฒั นาฯ ระยะ 5 ป และแผนปฏบิ ตั ิการของหนวยงานในระดับพื้นท่ี โดยใหมแี ผนงานและโครงการรับรอง เพอ่ื ดําเนินการ ใน ข้ันปฏบิ ตั ิอยา งสอดประสานกับนโยบายพ้ืนฐานแหง รฐั และนโยบายรัฐบาลตามสถานภาพแหงความ รบั ผดิ ชอบแหง ตน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 137  คูม อื เตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา 4. การบริหารแผนสูการปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหย ุทธศาสตรก ารดําเนินงานเปน ไปอยา งมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล จึงกาํ หนดยทุ ธศาสตร การดาํ เนนิ งานเพ่อื การบริหารแผนสกู ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. จัดเตรียมและพฒั นากลไกการนําแผนการศึกษาแหง ชาติ สกู ารปฏบิ ัติ เรมิ่ ตัง้ แตก ารกําหนดมาตรการ การสงเสรมิ ความรู ความเขาใจในสาระของแผน พรอมกับการกาํ หนดกลไกประสานแผนดานตางๆ รวมกับ หนวยงานและองคกรที่เกย่ี วของโดยใชก ระบวนการการมสี วนรว มของประชาชน ปรบั ระบบการจัดสรรงบ ประมาณทเี่ นน ผลลัพธข องงาน ทงั้ ในดานปรมิ าณ คุณภาพ และผลิตภาพ เชน เดยี วกับการปรับปรงุ แกไ ข กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเปนอปุ สรรคตอการนาํ แผนสกู ารปฏิบตั ิ 2. จัดทํากรอบและแนวปฏิบัติของแผน โดยระดมสรรพกําลังของทุกฝา ยทเี่ ก่ยี วขอ งในกระบวนการ แปลงแผนสูก ารปฏบิ ัติทกุ ข้ันตอน ในลกั ษณะท่ีมีการเรยี นรแู ละบูรณาการความคดิ รวมกนั สรางกรอบแนว คดิ และหลกั การในการจดั ทําแผนพัฒนาฯ และแผนปฏิบตั กิ ารใหสอดคลองกบั แผนการศึกษาชาติ ทัง้ สอดรับ กบั ปญ หาและความตอ งการของประชาชนในแตล ะพื้นท่ี รวมทงั้ ระบหุ นวยงาน องคกรท่ีรับผิดชอบในการ จดั ทําแผนพฒั นาและแผนปฏบิ ตั ิการเฉพาะดา นตามภาระรับผิดชอบ 3. สงเสรมิ การจดั ทําแผนพัฒนาดานการศกึ ษา ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม รวมทั้งแผนปฏิบตั กิ ารใน ระดับพ้นื ที่ทีส่ อดคลองกบั แผนการศึกษาแหง ชาติ สอดคลองกับบริบทและความตองการของชมุ ชนแตล ะ พน้ื ท่ี และสง เสริมสนับสนนุ ใหม กี ารบริหารแผนและนาํ แผนสูก ารปฏิบตั ิ ในลักษณะทีเ่ ปน องคร วมที่เนน คน เปน ศนู ยกลาง โดยหลกั การยดึ พืน้ ท่ี ภารกจิ และการมีสวนรวมจากประชาชนและองคก รที่เกยี่ วของ รวมทง้ั สง เสรมิ ใหเ กดิ การประสานและการทาํ งานในแนวราบระหวางหนว ยงาน 4. พัฒนาระบบและกลไกการกํากบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลแผน เรม่ิ ต้ังแตการสงเสรมิ การ จดั ทําฐานขอมลู ทกุ ระดับที่จําเปนตอ งใชใ หเกดิ การเชอ่ื มโยงเครอื ขายขอ มลู ระหวางหนวยงานและองคก รท่ี เกี่ยวของอยา งเปน ระบบ เพอ่ื สามารถใชประโยชนจากฐานขอ มลู รวมกนั ได พรอมท้งั พฒั นาตัวช้วี ัดผลสาํ เร็จ ของการดาํ เนนิ งานตามแผน ทัง้ ในสวนทีเ่ ปนปจจัยตวั ปอ น กระบวนการ และผลลัพธ ท้งั ในเชิงปริมาณ คณุ ภาพและผลติ ภาพ ตลอดจนจัดระบบการกาํ กับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน ใหเ ปน มาตรฐานเดยี วเชอื่ มโยงกนั เปน เครือขา ย สามารถนําผลจากการกาํ กับ ติดตาม มาเปน แนวทางในการปรับปรุง หรือปรับเปล่ยี นวิธีการดาํ เนินการอยางสอดคลอ งกบั ปญหาทีเ่ กิดข้ึนในกระบวนการนาํ แผนไปปฏิบตั ิ 5. การประเมนิ ผลแผน ในขนั้ เตรยี มความพรอม ไดแก การประเมินความรคู วามเขา ใจสาระของแผน ความพรอมขององคกรและกลไกตามโครงสรางการบรหิ ารแผน ระบบ และกลไกการประสานงาน เปน ตน ประเมินกระบวนการปฏบิ ตั ิ ไดแ ก กระบวนการจดั ทํากรอบแนวทางของแผนพัฒนาและแผนปฏิบัตกิ าร กระบวนการนาํ แผนสกู ารปฏบิ ัตใิ นทกุ ข้ันตอน ประเมนิ ผลผลติ ผลลัพธ และผลประโยชนท่ีเกดิ กบั ประชา ชนวา เปนไปตามเปาหมาย เจตนารมณเ พียงใด ทัง้ นี้ กําหนดใหมอี งคกรกลาง เปน ผทู าํ การประเมนิ โดย ประชาชนมสี วนรว มและใหขอ มลู สอบครูดอทคอม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook