Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-06 14:51:28

Description: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา
#ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา
#คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Keywords: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา,ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา,คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 237  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ผลการดาํ เนนิ งานของกระทรวงศึกษาธกิ ารตามทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ (ฉบบั ที่ 9 พ.ศ. 2545-2549) 1. ผลการดําเนนิ งานทสี่ าํ คัญ 1.1 ยุทธศาสตรก ารบรหิ ารจัดการท่ดี ี มีการดําเนินงานทีส่ าํ คัญ คือ การนาํ ระบบงบประมาณแบบ มงุ เนน ผลงานมาใชในการจัดทํางบประมาณดานการศึกษา ทําใหส ามารถลดจาํ นวนแผนงาน/โครงการจาก ป 2545 ไดม ากกวาครง่ึ หนง่ึ คือ จาก 33 แผนงานเหลือเพียง 11 แผนงาน มกี ารประกาศใช พ.ร.บ. ระเบียบการ บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 สง ผลใหกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตอ งจัดระเบยี บราชการเปน 3 สว น คอื การบริหารราชการสวนกลาง การบรหิ ารราชการเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา 175 เขต และการบริหารราชการ ในสถานศึกษาของรฐั ระดบั ปริญญาทเี่ ปนนิติบคุ คล รวมถึงการเรง ผลกั ดนั กฎหมายทางการศกึ ษาจาํ นวน 108 ฉบับ ซง่ึ มีผลบังคบั ใชแ ลว 32 ฉบับ นอกจากน้ี ยังไดมีการกระจายอํานาจการจดั การศกึ ษาไปยงั เขตพน้ื ทก่ี าร ศกึ ษา 175 เขต รวมท้งั จดั ใหมีระบบการตดิ ตามประเมินผลการดาํ เนินงานของเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาทกุ ดา นทั้ง ดา นการบรหิ ารจดั การและวชิ าการ การกระจายอํานาจการจัดการศึกษาใหกบั องคกรปกครองสว นทองถนิ่ โดยมกี ารโอนงบประมาณดานอาหารเสริม (นม) และโครงการอาหารกลางวันใหก บั องคก รปกครองสว น ทอ งถ่ินแลว รอยละ 30 ของงบประมาณที่ตอ งใชทงั้ ส้นิ ซง่ึ ในป 2546 องคกรปกครองสวนทองถน่ิ สามารถ จัดการศกึ ษาใหก ับเด็กและเยาวชนในพน้ื ท่ีท่ัวประเทศในระดบั กอนประถมศึกษา-มัธยมปลายไดจ ํานวน 732,265 คน 1.2 ยุทธศาสตรการพฒั นาคุณภาพคนและการคมุ ครองทางสังคม การปฏริ ปู การศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ิต ป 2546 ไดดาํ เนินการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนา คนใหม คี ุณภาพและรูเทาทันการเปลย่ี นแปลงโดยการปฏริ ปู การศึกษาและการเรียนรตู ลอดชวี ติ ทเี่ นน ผูเรยี น เปนศูนยกลาง ดงั นี้ การปฏิรปู กระบวนการผลติ และพัฒนาครู มีการประกาศใชพระราชบัญญตั ิสภาครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา เมือ่ 12 มิถนุ ายน 2546 พรอมทั้งมกี ารจัดทํานโยบายและขอเสนอเชงิ ยทุ ธศาสตรการ ผลติ และพฒั นาครเู สนอคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรไี ดมีมติเห็นชอบโครงการผลิตครูการศกึ ษาข้นั พ้นื - ฐานระดับปริญญาตรี 5 ป โดยไดอ นมุ ัติงบประมาณจดั ทําโครงการระยะ 5 ป (2545-2549) รวม 4,125 ลา น บาท ซงึ่ ครอบคลุมโครงการผลติ และพัฒนาครใู นสาขาขาดแคลนตางๆ ดวย การจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปนศูนยกลางและเรียนรูอยา งมคี วามสุข ไดมกี ารพฒั นา โรงเรยี นตน แบบ/นาํ รอ ง การปฏริ ูปการเรียนรทู ่ีเนนการปฏริ ูปท้งั โรงเรียน จํานวน 8,338 โรง โรงเรยี นตน แบบพเี่ ลย้ี ง 442 โรง โรงเรียนขยายผลการปฏิรปู ฯ 99 โรง การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา แกนนาํ ปฏริ ปู การเรยี นรแู ละครเู ครือขาย ตลอดจนประกนั ครูตนแบบทั้งในระดับกอนประถม ประถม มธั ยมศกึ ษา และอาชีวศึกษา ทําใหมคี รูแกนนาํ 586 คน ครูเครือขายของครตู นแบบ 8,884 คน และบคุ ลากรแกนนําทวั่ ประเทศทไี่ ดรบั การพฒั นาแลวมีจํานวน 200,000 คน ตลอดจนผบู ริหารทีม่ ผี ลงานดเี ดน จาํ นวน 16 คน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 238  คูม ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา การพฒั นาและปรับปรงุ หลักสตู รการจดั การเรยี นการสอนใหมคี วามหลากหลาย ยดื หยุน มีคณุ ภาพ ไดมีการพฒั นาและปรับปรุงหลักสตู รการเรยี นการสอนในระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน การศึกษานอกระบบ โรงเรยี นอาชีวศกึ ษาอุดมศึกษา รวมทั้งไดมีการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาข้ัน พืน้ ฐานแลว จาํ นวน 13,725 โรง สถานศกึ ษาเอกชน 2,216 โรง และศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี น 342 แหง สว นการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาไดมกี ารพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศกึ ษาในสถาบันอุดม ศกึ ษา 70 แหง และไดรบั การประเมนิ คุณภาพภายในแลวรอ ยละ 54.4 สําหรับการประเมินภายนอกน้ันมี สถานศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐานไดร บั การประเมินภายนอกแลว รอยละ 89 ระดับอาชีวศึกษารอ ยละ 22.8 ระดบั อดุ ม ศึกษารอยละ 23 โดยไดจ ดั ใหม ีการประเมินผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (GAT) ของนกั เรยี นทว่ั ประเทศในระดับ ประถมศึกษา (ป.3 และ ป.6) และมัธยมตน (ม.3) และจดั ใหก ารประเมนิ คณุ ภาพระดับชาติ (National Test) การสนบั สนุนใหค รอบครวั ชมุ ชน องคก รพฒั นาเอกชนและสถาบันทางศาสนามีบทบาทใน การจดั การศึกษา มีการจดั ทาํ โครงการเรียนรูร วมกนั ระหวางชมุ ชนโดยสนับสนนุ ใหส ถาบนั การศึกษาใน พ้ืนทถี่ ายทอด แลกเปล่ียนและพฒั นาความรูร วมกันระหวา งชุมชน รวมท้ังการสงเสริมการวิจยั และการถาย ทอดเทคโนโลยีเพอ่ื เพม่ิ ความรู ทักษะดา นอาชีพ และรายไดใหก บั ประชาชนในชมุ ชน ซึง่ ปจ จบุ นั มสี ถาบัน การศึกษาเขา รวมโครงการ 105 แหง นสิ ติ /นกั ศึกษา 6,080 คน อาจารยท ป่ี รกึ ษาและอาจารยน ิเทศก 440 คน ตลอดจนมกี ารจดั ทําโครงการวิจัยซ่ึงเนน การพัฒนา การแกปญ หาผลิตภัณฑ กระบวนการและแนวทางการ นําผลการวิจัยไปใชจํานวน 123 โครงการ นอกจากนี้ มกี ารจัดตงั้ วิทยาลยั ชมุ ชนใน 10 จังหวัด คือ แมฮอ งสอน พิจติ ร ตาก บรุ ีรมั ย มุกดาหาร หนองบัวลาํ ภู สระแกว อทุ ยั ธานี ระนอง และนราธิวาส การปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรดู านวิทยาศาสตรแ ละการเสริมสรางพน้ื ฐานความคิดตาม หลกั วิทยาศาสตร ไดม กี ารดาํ เนินงานสนับสนุนทนุ การศกึ ษาดา นวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยสี าํ หรบั นักเรยี น/นกั ศกึ ษาจํานวน 1,043 ทนุ ทนุ สงเสริมการผลิตครูผูมคี วามสามารถพิเศษดา นวทิ ยาศาสตรแ ละ คณิตศาสตรระดบั ปรญิ ญาตร-ี โท 1,784 ทนุ จดั ทาํ โครงการพฒั นาอจั ฉรยิ ภาพดา นวทิ ยาศาสตรและ คณติ ศาสตรโ ดยมนี ักเรียนเขา รวมโครงการ 2,066 คน รวมทัง้ สงเยาวชนผูมีความสามารถพิเศษคณะวทิ ยา ศาสตรเ ปน ตวั แทนประเทศไทยไปแขง ขันโอลิมปค ตางประเทศ ปละ 5 วิชา จาํ นวน 23 คน 11 ดา น การใชส ือ่ เพอ่ื การศึกษาทกุ รูปแบบและการจัดการศึกษาใหก ับผดู อ ยโอกาสและคนพิการ ได ดําเนินการพฒั นาและยกระดับการใชเ ทคโนโลยีและการสอ่ื สาร มีการสนบั สนนุ ใหโรงเรียนในสงั กัดเชื่อม ตอ เครือขาย Ed-Net แลว 20,561 โรง เชอื่ มโยงเครือขา ย School net แลว 4,787 โรง และเช่อื มโยงเครือขาย ทางไกลผา นดาวเทียมในระดบั ประถมศกึ ษาแลวรอ ยละ 100 และมธั ยมศึกษารอยละ 14.9 สําหรับการจดั การ ศึกษาใหก ับผดู อ ยโอกาสและคนพกิ ารน้ัน ไดม ีการจดั การศึกษาในระดบั ตา งๆ ต้ังแตร ะดบั กอนประถม ศกึ ษา-อุดมศกึ ษา ทัง้ การศกึ ษาในระบบและนอกระบบรวม 4,443,631 คน โดยเปน การศกึ ษาในระบบ จาํ นวน 390,672 คน และนอกระบบจาํ นวน 4,052,959 คน การผลิตและพัฒนาบุคลากรและนักวิจยั มีการสนบั สนนุ ทุนการวิจยั ในระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ระดบั ปริญญาโท 1,581 โครงการ ปรญิ ญาเอก 168 โครงการ สรางและพฒั นาอาจารยในสถาบนั อุดมศึกษา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 239  คูม ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา ของรฐั ใหเ ปนนักวิจัยรุนใหม โดยจดั ทนุ อุดหนนุ การทําวิจัยจํานวน 202 โครงการ รวมทั้งมกี ารจดั ทําโครง การวจิ ยั รว มภาครัฐและเอกชนในเชงิ พาณิชย 8 โครงการ การแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรของสถาบัน อุดมศึกษาไทยกบั ตางประเทศจํานวน 32 ราย จดั ตง้ั และดําเนินการเครือขา ยมหาวิทยาลยั ในอาเซียนทัง้ การ ปรบั ปรงุ และจัดทําหลักสตู รรวม ทง้ั สนับสนนุ ใหม กี ารศกึ ษาและวิจยั รวมกัน การเตรยี มความพรอ มและยกระดับทกั ษะฝมือคนไทยใหมีคุณภาพและมีมาตรฐาน มีการ จัดการศึกษาและฝกอบรมอาชีพเพื่อผลิตกําลงั คนในระดบั กง่ึ ฝมอื ชางฝม ือ ชา งเทคนิคและนกั เทคโนโลยี โดยการจัดการศกึ ษาแบบทวภิ าคีระดับปรญิ ญาตรี ซงึ่ เนน ความรว มมอื ระหวา งสถาบนั การศกึ ษากบั สถาน ประกอบการเอกชน ป 2546 มีสถานศกึ ษาทเี่ ขารว มโครงการ 354 แหง สถานประกอบการ 10,154 แหงและ มีนกั ศกึ ษาอยใู นระบบ 43,802 คน นอกจากนี้ ยังไดจ ดั ใหมีการอบรมอาชีพใหกับนักเรียนทจ่ี บการศึกษา ระดบั มธั ยมตน และปลายทไ่ี มไดเ รียนตอ ตลอดจนประชาชน ผูวา งงาน ทหารปลดประจาํ การ นกั โทษทจี่ ะ พนโทษ ฯลฯ ไดฝกอาชีพคนละ 1 อาชพี จํานวน 14,470 คน สว นการพฒั นาระบบคณุ วุฒวิ ิชาชีพ (TVQ) นัน้ ขณะน้ีไดดําเนินการวจิ ยั และพัฒนานโยบายทีเ่ ก่ยี วกับระบบคณุ วุฒิอาชีพไทย ซ่งึ จะนาํ มาใชก ําหนด มาตรฐานการจดั การศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษาตอไป ในภาพรวม ถึงแมวา กระทรวงศกึ ษาธิการไดด ําเนินการจดั การศกึ ษาใหเปน ไปตามแนว ทางการพฒั นาของแผนฯ 9 ก็ตาม แตเม่อื พิจารณาการบรรลเุ ปาหมายท่ีแผนกําหนดไว พบวา การดาํ เนนิ งาน ยงั ไมครอบคลุมเดก็ ในวัยเรยี นอายุ 6-14 ปไ ดอ ยา งทัว่ ถึง โดยในป 2546 มีกลมุ เดก็ ในกลมุ อายุดังกลา วไมมี โอกาสไดเ รยี นในระบบโรงเรยี นกวา รอยละ 40 ขณะที่ปการศกึ ษาโดยเฉลยี่ ของคนไทยในป 2546 คดิ เปน 7.8 ป และกาํ ลงั แรงงานอายุ 15 ปขึ้นไปท่ีมกี ารศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาข้นึ ไปมเี พียงรอยละ 38 นอกจากน้ี การเพม่ิ คณุ ภาพการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที กุ ระดบั ใหไดมาตรฐานยังไมบ รรลุผลสําเร็จ ใหเหน็ ผลชัดเจนในวงกวางครอบคลุมทกุ กลุมเปา หมาย และการพัฒนากาํ ลงั คนในสาขาที่ขาดแคลนและเปน ที่ตอ งการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศยงั เปน เรอ่ื งท่ีตอ งเรงดําเนินงานอยา งจรงิ จงั และเปนระบบ ปญหาและอปุ สรรค (1) การปฏิรปู การศกึ ษาและการเรยี นรตู ลอดชีวิต (1.1) การจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รียนเปน ศนู ยก ลางและเรียนรูอยา งมคี วามสขุ ครตู น แบบไดร ับเชิญไปเปน วทิ ยากรมาก ทําใหม ีเวลาสอนนักเรยี น ผลติ และพัฒนาสือ่ การเรียนการสอนและทาํ การวจิ ยั นอยลงและไมตอเน่ือง (1.2) การพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สตู รการจัดการเรยี นการสอนใหม คี วามหลากหลายยดื หยุนมี คณุ ภาพ บุคลากรทางการศึกษามีความรคู วามเขาใจในการจดั ทาํ หลกั สตู รและสาระของหลกั สูตรของสถาน ศึกษาไมเพยี งพอ นโยบายการบริหารจัดการหลกั สูตรยงั ไมช ัดเจน นอกจากน้ี ยังขาดขอ มลู และงานวิจัย เกยี่ วกบั หลักสูตรการเรยี นการสอนคอ นขา งมาก สาํ หรบั การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาน้นั ครอู าจารยย งั ขาดความ ตระหนกั ในเร่อื งการประกันคุณภาพ ขาดความเขา ใจในวธิ กี ารประเมินทัง้ การจัดทําตวั ชว้ี ดั การใชแ ละการ วิเคราะหขอมลู รวมทั้งขอมูลดา นคุณภาพยงั ขาดการพัฒนาใหทนั สมยั และตอ เนือ่ ง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 240  คมู ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา (1.3) การใชส ่อื เพ่อื การศึกษาทุกรูปแบบ และการจัดการศึกษาใหก บั ผดู อยโอกาสและคน พกิ าร ขาดขอ มลู และสถติ เิ กยี่ วกบั เดก็ ดอยโอกาสกลมุ ตางๆ โดยเฉพาะเรอ่ื งการใหบ รกิ ารการศึกษา สถานที่ และหลกั สตู รการเรียนการสอนยังไมเอ้ือตอ การจัดการเรียนการสอนใหค นพิการ รวมถงึ ยงั ขาดวสั ดุ อุปกรณ และสอื่ การเรียนการสอนเปน จาํ นวนมาก (2) การเตรียมความพรอ มและยกระดบั ทกั ษะฝมือคนไทยใหมคี ณุ ภาพและมีมาตรฐาน การดาํ เนินการจดั การศกึ ษาและฝก อบรมอาชีพตางๆ สวนใหญม ีปญ หามสี ถานประกอบการในพื้นทนี่ อยไมเ พยี งพอกับจาํ นวน นักเรยี นในพ้ืนท่ี บางแหงอยไู กล ทาํ ใหม ีปญหาเรือ่ งการเดนิ ทางและท่ีพักของนกั เรียน รวมทงั้ สถานประกอบ การบางแหงมีขนาดเลก็ หรอื เปน ธุรกจิ ครอบครวั ทําใหการฝก อบรมของนกั เรียนไดรับสาระไมครอบคลุมกวาง ขวางตามความตอ งการของหลกั สตู รและตลาดแรงงาน ขอ เสนอแนะสาํ หรบั การดาํ เนินงานตอไป เพื่อใหการดาํ เนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธิการเปนไปตามเปาหมายหลกั ๆ ทีก่ าํ หนดใหป ระชาชนมี การศกึ ษาโดยเฉล่ียไมต่าํ กวา 9 ป และยกระดบั การศกึ ษาของกําลงั แรงงานไทยใหถ ึงระดับมธั ยมศึกษาตอน ตนข้นึ ไปไมต่าํ กวา รอ ยละ 50 ของกาํ ลงั แรงงานในป 2549 รวมทง้ั ใหสอดคลองกับแนวโนมการเปลีย่ นแปลง ในระยะตอ ไป จะตองเรงดําเนินการในเร่อื งดงั น้ี (1) การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวติ โดย (1.1) เรงดําเนนิ การจัดการศกึ ษาภาคบงั คับ 9 ปและเรง ขยายโอกาสการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 12 ปใ หท ่วั ถึง โดยเฉพาะกลมุ เดก็ ยากจนและดอยโอกาส รวมทั้งจัดการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี นใหก ับกลุมท่ีมี งานทําแลวและไมมีโอกาสเรยี นตอ เพอ่ื ยกระดบั การศึกษาโดยรวมและเพ่ิมปการศกึ ษาโดยเฉล่ียใหส ูงขึน้ (1.2) เรง ดําเนินการปฏริ ูปการศึกษา โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการสง เสริมใหส ถาบนั ศาสนา องคก รปกครองสวนทองถ่ินและองคก รชุมชนเขา มามีสวนรวมมากข้นึ (1.3) ควรมีการนําขอมูลผเู รยี นเปนรายบคุ คลมาใชในการจัดการเรยี นรู ทาํ ใหผูเรยี นมคี วาม สุข โดยเนน การจัดกิจกรรมท่หี ลากหลายใหเ รียนรดู วยตนเอง มีทกั ษะใฝร ู พรอ มท่จี ะแลกเปลยี่ นเรยี นรทู าํ งาน รว มกบั ผอู ื่นได และทสี่ ําคญั จะตอ งมกี ารปรับหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนเพอื่ พัฒนาผเู รียนใน ทกุ ระดบั ใหม จี ติ สํานึกสาธารณะและมพี ฤติกรรมเพื่อสวนรวม (1.4) สรา งความเขาใจตอผูบริหารสถานศกึ ษาและครู/อาจารยอ ยางจรงิ จังและตอเน่อื ง ใน เรอื่ งระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ซึ่งเชื่อมโยงกับการพฒั นาคุณภาพการจัดการจดั การเรียน การสอน (1.5) ใหค วามสําคัญกบั การพฒั นากาํ ลงั คนในสาขาทีข่ าดแคลนและเปน ท่ีตอ งการของ ตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศในอนาคต โดยสนับสนุนใหม ีการจดั ทํา Talent & Skill Mapping เพือ่ เปนฐานในการผลติ กาํ ลงั คนไดเหมาะสม (2) การเตรียมความพรอ มและยกระดับทกั ษะฝมือคนไทยใหม ีคณุ ภาพ โดยเนน การปรบั ปรงุ หลกั สตู รและกระบวนการเรียนการสอนที่มงุ สูภาคปฏิบตั เิ พม่ิ ข้ึน โดยมกี ารประสานงานกับสถานประกอบการ มากข้ึน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 241  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา กรอบทิศทางการพัฒนาการศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ (พ.ศ.2545-2549) ในชว งแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ.2550-2554) 1.กรอบนโยบายและแนวคดิ เก่ียวกับการพฒั นาการศกึ ษาฯ - การจัดการศกึ ษาจะกอ ใหเ กิดผลตองมีการดําเนนิ การและมีการจัดทําแผนทตี่ อเนอ่ื ง - การทาํ แผนพฒั นาการศึกษาฯ เปนการจดั ทาํ แผนเพ่อื ใหส มั พันธแ ละสอดคลองกับแผนฯ ๑๐ ในชว งระยะเวลา ๕ ป ปจจบุ นั เรามีแผนการศึกษา ๑๕ ป ซ่งึ ควรสอดคลองกับแผนการศึกษา ๑๕ ป แตทีผ่ า นมายังมีปญหาในเร่อื งการดําเนินการทไี่ มต อ เนือ่ ง - ประเดน็ และขอ คดิ เหน็ ประกอบการพจิ ารณาในการจดั ทําแผน ก. กรอบแนวทางการจดั ทําแผนพฒั นาการศกึ ษาฯ ตองสะทอน ๒ มิติ ดังน้ี - บทบาทของการศกึ ษา ไมใ ชเ ฉพาะพฒั นาคน ตอ งรวมถงึ การพฒั นาองคค วามรู เสริมสรางนวตั กรรม เพื่อเพมิ่ ขีดความสามารถของประเทศ - การศึกษาควรจะมบี ทบาททเ่ี ปน ทง้ั ผูน าํ และผูตามในสังคม โดยจะตองกลา ช้ี กลาคดิ และตอ งมกี ารดําเนินการอยางตอเนอื่ ง สาํ หรับการผลิตคนระดับอาชวี ศกึ ษาและอุดมศึกษาตอ งผลิตใหต รง กบั ตามความตองการของสงั คม ข. ผลการวิเคราะหต อ งสะทอ นถึงปญหาใหครบถว น และเจาะลกึ ถงึ รากเหงาของปญหา ใหส ามารถเชอื่ มโยงไปสปู ระเด็นยุทธศาสตร กรอบแนวทาง เพอ่ื ใหก ารพฒั นาการศกึ ษาเปนไปตามเปา ประสงค และแนวทางในการแกปญ หาท่ีถูกตอง เชน ๑) การแกปญหาขาดแคลนครู คอื ตอ งไมเพมิ่ ครู ควร ใหครู ๕ ป ทีต่ อ งปฏบิ ัติงานสอน ๑ ป ไปปฏิบตั ิงานสอนในโรงเรียนทข่ี าดแคลนครู การจดั การเรียนการ สอนในบางระดบั อาจจะสอนเปน รายวชิ า บางวชิ าเรียนรวมกนั ในหอ งใหญ โดยครูไมต อ งสอนซํ้าในเนอ้ื หา เดียวกันหลายหอ ง ซ่ึงจะลดภาระของครไู ด และเนนใหผเู รยี นสามารถเรียนรูดวยตนเอง เปน การเพิ่มทักษะ ใหแกผเู รยี น และยงั เปนการเรียนรตู ลอดชีวติ โดยการพัฒนาสอื่ คนควา และทดลองดวยตนเอง รวมท้งั ครู ประจาํ การทไี่ มม ีวฒุ ิตามท่ีกาํ หนด ควรได รบั การอบรมหรือเรยี นเพม่ิ เพ่ือเปนการเพ่ิมมาตรฐานคณุ ภาพให ครูอกี ดว ย ๒) การกระจายอาํ นาจไปสทู อ งถ่ิน อยูในข้นั ตอนของกฎหมายโดยอาจยกเลกิ หรือดาํ เนนิ การ ตอ ตามความสมัครใจ และความพรอมในการถายโอน ๓) ตามกฎหมาย อปท. สามารถจดั การศกึ ษาได ตามความตอ งการของทอ งถ่ิน จดั ต้งั โรงเรยี นของตนเองได หรอื จัดเพม่ิ เติมในส่ิงที่รัฐจัดไมเ พียงพอ หรอื ดาํ เนินการในรปู แบบสหกิจ และ ๔) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกรุงเทพมหานครรว มกนั จดั การศึกษา โดย ใหโ รงเรียนรัฐทม่ี ีชอื่ เสียงเปน พเ่ี ล้ียง เพื่อใหสังคมเกดิ ความเช่ือถือและยอมรบั คุณภาพ และมกี ารใชชือ่ โรงเรยี นพ่ีเลย้ี งรวมดว ย สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 242  คูมอื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา 2.ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาไทยในอนาคต - การศกึ ษาไทยควรมีภูมิคมุ กันตนเองกอน และมจี ตุสดมภ (๔ เสาหลักในการเรยี นรู) Learning to know, Learning to do, Learning to live together และ Learning to be โดยจะตอ งเปน การศกึ ษา ท่มี ีคุณภาพและใหทุกคนมีสวนรวม เพ่อื เปนการลดตนทนุ - การขบั เคล่ือนนโยบาย ควรยึด ๓ ประเดน็ หลัก ไดแ ก ๑) กระแสโลกาภิวฒั น ๒) สงั คมฐานความรู ๓) สงั คมผูสูงอายุ การจดั การศกึ ษาควรมีเปาหมายในการผลิตคนเพอื่ นาํ ไปสกู ารแขง ขัน การวจิ ยั และพัฒนา ควรจดั ใหมใี นทกุ ระดับการศึกษา เพอ่ื ใหส ามารถทําวิจัยและพฒั นาได และควรจดั ระบบการศึกษาใหชดั เจน เพ่อื สนบั สนุนงบประมาณ และการกูยืมไดอ ยางชดั เจน - ปจ จยั สําคัญทเี่ กีย่ วขอ งกับการกําหนดทศิ ทางการศึกษา คือ พลงั การเปลยี่ นแปลง ไดแ ก ๑) โครงสรา งประชากร ประเทศไทยกาํ ลังกา วสสู งั คมผสู ูงอายุ การวางแผนการศกึ ษาตอ งใหความสาํ คญั กับ การศึกษาตอเนอื่ งตลอดชวี ิต อยางจรงิ จงั ๒) ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ตองคาํ นึงถงึ การจัดระเบยี บโลก ใหม (New World Order) ซึง่ จะเปน ตวั กําหนดตวั หน่งึ ในการจดั การศึกษา ๓) การเงินและการคลัง ๔) เทคโนโลยี และ ๕) การปกครอง สังคม คอื การมหี ลักธรรมาภบิ าล ประชาธปิ ไตย โปรง ใส ตรวจสอบได ซงึ่ การศกึ ษาในอนาคต จะเปลี่ยนแปลงแนวการสอนจากทสี่ อนพน้ื ฐาน เปน การเนน ทกั ษะเฉพาะโดยการ ฝก อบรมใหกบั กลมุ วยั แรงงาน และกลมุ ผูสูงอายุทมี่ ีจาํ นวนมากข้นึ - การจดั การศกึ ษาตองหาหุนสว นทางการศกึ ษากับประเทศเพอื่ นบาน อาจจะพัฒนาหลักสูตร แบบตางประเทศ โดยวิธีการ “สอนโดยไทยใชหลกั สูตรนอก” หรือการจางผเู ชี่ยวชาญจากตางประเทศมาเปน ทปี่ รึกษา ปรับเปลีย่ นสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาใหเปนศูนยพ ัฒนาอาชีพ และสรางความรวมมอื ระหวางภาครัฐ และภาคเอกชนในการจัดการศึกษา รวมท้งั การจัดการศึกษาตอ งเนน พัฒนาคนไทยใหม คี ุณภาพ จริงจงั จริงใจในการปฏิบัติงาน ไมเ หน็ แกต วั และไมลืมตัว - การจดั การศึกษาควรเนนใหค นเปน คนดแี ละคนเกงเทา ๆ กัน (๕๐:๕๐) ควรตัง้ เปา หมาย ของผจู บการศึกษาในแตล ะระดับใหช ัดเจน และตองมกี ารปฏริ ูปการเงินเพื่อการศกึ ษาแหง ชาติ เพ่ือใหก าร จัดสรรงบประมาณของชาตมิ ีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ - ตองปรบั เปลย่ี นทัศนคตขิ องผบู รหิ าร ครู โดยเฉพาะการศกึ ษาในระดบั อาชวี ศกึ ษาและอุดม ศึกษา เนนการสรา งคณุ ภาพ การใชท รพั ยากรใหคมุ คา และใหภ าคเอกชนเขา มามีสว นรว มเปนคณะกรรมการ เพ่ือ ใหการสนับสนุนทรพั ยากรทางการศกึ ษา ผูสําเร็จการศกึ ษาดานอาชีวศกึ ษาไดร บั คา ตอบแทนที่สอดคลอ ง กับทกั ษะความสามารถ นอกจากนี้ ผูบ รหิ าร ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรคู วามเขาใจ เก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทไ่ี มถ กู ตอง และกระทรวงไมควรยดึ ติดกับระยะเวลาหรือชว งช้ันการเรยี น ควรมีความยืดหยนุ ใหก บั ผูเ รียนทีม่ ศี กั ยภาพใหสามารถจบไดก อ น ๑๒ ป หรือถา ไมมศี กั ยภาพ ก็ควรมีการ ซ้ําช้นั - การศกึ ษาไทยควรเนนความสามารถของผเู รยี นมากกวาปริญญาบตั ร และตอ งมเี จา ภาพรบั ผดิ ชอบดานการปฏิรปู การศึกษาท่จี ริงจัง และตอ เนอื่ ง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 243  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 3.สาระสําคัญ 1) โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาเพ่อื ใหคนไทยมีการศกึ ษาเฉล่ีย ๑๐ ป - ใหม หี นว ยงานรบั ผดิ ชอบ ตดิ ตามเด็กที่ไมไ ดเ รียนใหเ ขา เรยี น - ควรมมี าตรการทเ่ี ปน คุณเชิงบงั คบั ทจ่ี ะชวยเหลือใหเดก็ ทกุ คนไดเ ขาเรียน - การจัดระบบเรียนรว ม รฐั บาลจดั ส่อื สิง่ อาํ นวยความสะดวก และบริการทีจ่ าํ เปน สําหรบั เด็กพิการ จะเออ้ื ใหเ ด็กพิการสามารถเรียนตอไดเพิ่มขึน้ - ควรชวยเหลือเด็กดอยโอกาสและพิการไดเ ขาเรยี น - ไมควรมกี ารสอบเขา สําหรบั เด็กภาคบงั คบั การขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศกึ ษา - ควรจัดทนุ และเงินกสู าํ หรับใหผมู ีฐานะยากจนเขา เรียนได การกรู ะบบใหมไมคอ ยเปน ธรรมกบั ผู ดอ ยโอกาส - รฐั ควรจดั ส่อื สิ่งอาํ นวยความสะดวกใหมหาวทิ ยาลยั ตา ง ๆ เพื่อเอ้ือใหผูพกิ ารสามารถเขาเรยี น ไดม ากขึ้น การเรียนรูตลอดชวี ติ /แหลง เรียนรู - การศกึ ษานอกโรงเรยี นควรจดั ใหม คี ณุ ภาพ เนน สอนใหเด็กรจู ักวธิ เี รียน รูว าแหลงเรียนรู มีอะไร อยูท่ไี หน รูว ิธกี ารใชห องสมุด ตอ งไมห วงหอ งสมดุ เปดโอกาสใหเขา ไปใชไ ดสะดวก - การศึกษาตลอดชวี ิตตอ งใหความสําคญั กบั หองสมุดและการพฒั นาบุคลากรหอ งสมดุ ตอ งสงเสริม ใหเ กดิ แหลงเรียนรูชมุ ชน สงเสริมใหเ ด็กและคนทว่ั ไปอา นหนงั สือใหเ ปน นสิ ัย การจดั การศึกษาสาํ หรบั ผูดอยโอกาสและประชากรวยั แรงงาน - รฐั ควรมีนโยบายทจ่ี ะจดั การศึกษาตามความตองการของผูเรียนใหกวางขวางยิ่งขึ้น - การจูงใจใหสถานประกอบการเขา มาจดั การศึกษา หรอื พัฒนาแรงงาน เชน มาตรการทางภาษี - สงเสรมิ ใหชมุ ชน องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ มสี ว นรวมจดั การศึกษาใหม ากขน้ึ 2) คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาและการเพม่ิ ศกั ยภาพการแขง ขนั ของประเทศ การพัฒนาคณุ ธรรมนาํ ความรู ความสมานฉันท สนั ติวธิ ี วิถปี ระชาธิปไตย บนพน้ื ฐานปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง - ควรสงเสริม สนับสนนุ การพฒั นาคุณธรรมนําความรใู หเปนรปู ธรรมทปี่ ฏิบตั ิไดใ นทุกระดบั และ มรี ปู แบบทเี่ ปน ระดับชาติ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 244  คูม ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา - ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เนนการพงึ่ ตนเอง ภูมิคุมกัน และสามารถปอ งกันตนเองได มคี วามเขม แข็ง เพอื่ ใชเปนทนุ ท่ีจะสามารถแขงขนั กบั นานาประเทศได - การพัฒนาคุณธรรมนาํ ความรู ตองสรางภมู ิคุมกันภายในกอน และตอ งปลูกฝงคณุ ธรรมตัง้ แต ปฐมวัย- มหาวิทยาลยั เริม่ ท่ีการสรา งความเชื่อ ศรทั ธา และการเสรมิ สรา ง โดยการบรู ณาการรวมกบั หนวย งานทางศาสนา - คุณธรรมนําความรู ยึดหลกั 3 ประการ ไดแ ก ๑) รวมมือกนั ในทกุ ระดับตั้งแตร ฐั บาล หนว ยงานท่ี เก่ียวของ และระหวาง บา น วดั โรงเรียน เพอ่ื ปลูกจติ สํานึกในดานคุณธรรม ๒) รวมมือกันผนกึ กาํ ลงั ดาน คุณธรรมนาํ ความรูใ หเขม แข็ง ๓) ปลกู จติ สาํ นกึ ใหแ กน กั เรียน นักศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศกึ ษาให มีคณุ ธรรมและความรู โดยความรวมมอื ตั้งแตระดบั รากหญา ลักษณะ (บ ว ร) - สอดแทรกเรื่องคณุ ธรรมบรรจุใสไวใ นเนือ้ หาสาระทกุ รายวชิ าทกุ ระดับการศึกษา - ควรมคี วามสมานฉันทท้ังดานวัฒนธรรม สงั คม และการเมอื ง ตองยอมรบั ความแตกตางทางความ คิด โดยมีวัฒนธรรม คา นิยมรวมกนั บนพื้นฐานของความเปน ไทย การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน การวจิ ัยและพัฒนา - รปู แบบการจัดการศกึ ษาของวทิ ยาลัยชุมชน ตอ งเนน การพฒั นาวิชาชีพของกาํ ลงั แรงงาน เพื่อเปน การสรา งศักยภาพหรอื ความเปนมอื อาชีพ ไมใ ชเนน การศึกษาเพ่อื ใหไ ดร ับปริญญาบัตร - สงเสรมิ สนับสนุนการพฒั นาหลกั สตู รในทุกระดับทัง้ ของรัฐและเอกชน - เรงดาํ เนนิ การจัดทํากรอบมาตรฐานวชิ าชีพในทุกระดับทกุ หลกั สูตร เพื่อเปน การยกระดับคุณภาพ สสู ากล โดยใหทุกภาคสวนเขา มามีสว นรวม - ควรมกี ารสงเสริมความรพู ้นื ฐาน และเพิม่ ความรูดา นทกั ษะและเช่ือมโยงกบั การใชเ ครือ่ งมือ โดยอาจมกี ารเรยี นรกู ับผมู ีประสบการณห รอื มีทกั ษะในการปฏิบัตงิ านจริง - ตองมีเกณฑมาตรฐานหรือสถาบนั ดแู ลครู ไมใ ชเฉพาะครใู นระบบอยางเดียว ควรพจิ ารณาบคุ คลท่ี ประสบความสาํ เร็จและท่ีสามารถเพมิ่ GDP ใหก ับประเทศประกอบดว ย - จดั ทําสาระของหลกั สูตรเชงิ สากล เพอ่ื ใหเ กดิ ทักษะ โดยเนนการเรียนการสอนทใี่ ชทักษะเปนฐาน - สง เสรมิ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เพ่อื เปน การสรางองคค วามรู นวตั กรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ ใหม ๆ ขน้ึ มา - การพฒั นากาํ ลังคนระดบั กลาง กระทรวงและสถานประกอบการตอ งรว มกันกาํ หนดสมรรถนะ วิชาชพี แลวนําสมรรถนะมาพัฒนาหลกั สูตร เพอื่ การแขงขนั และตรงกบั ความตองการของชุมชน ทอ งถิน่ - แผนการศึกษาตองใหความสาํ คัญในเรอ่ื งของสิ่งแวดลอม - การจัดทาํ หลักสูตรตองคํานงึ ความสอดคลอ งกบั วิถีชีวติ วฒั นธรรมทอ งถน่ิ ใหค ขู นานกนั และตอง มคี วามยดื หยุน อาจใชภาษาแมส อื่ สารในเบือ้ งตน และภาษาไทยเปน ภาษาท่ี ๒ นาํ สกู ารเรียนรูอืน่ ๆ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 245  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา การผลติ และพฒั นาครู คณาจารยแ ละบุคลากรทางการศึกษา -ระบบการผลติ ครูตองใหค วามสนใจกระบวนการบม เพาะใหม คี วามลมุ ลกึ ในวิชาชีพ ปลกู ฝงคุณ ลกั ษณะพงึ ประสงค คณุ ธรรมและคานิยมไทย - ควรมีหนวยงานหรอื สถาบนั จดั ทําเกณฑเพ่อื เทียบโอนประสบการณใ หแกผ ูทีม่ คี วามเชีย่ วชาญใน หลากหลายอาชพี เชน พอ คา นักธุรกจิ ใหส ามารถเปนครูสอนในโรงเรียน เปนการเชื่อมโยงความรู การ ศึกษาเพ่อื ชวี ิตสสู ถานศกึ ษา - ใหความสําคัญกับการผลติ ครรู ะดบั ปฐมวัย พัฒนาครใู หม ศี กั ยภาพในการอบรมบม เพาะเด็กใหม ี คุณลกั ษณะพงึ ประสงคต ้งั แตวัยเยาว - นโยบายการผลิตครูและแนวปฏบิ ัติตอ งสอดคลอ งกนั ผลิตครมู ากแตจบแลวไมมงี านทํา - หนว ยงานผลิตครตู อ งเปนผูนําในการพัฒนาเทคนิคการเรียนการสอนทท่ี ันสมัย - ยกระดบั สถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คมของครู พัฒนาครูใหมคี วามกาวหนา มีความภาคภมู ใิ จ ในวชิ าชีพ การประเมนิ และการประกนั ภายใน – ภายนอก - บรู ณาการการประเมินใหเ ปน สวนหนึง่ ของการปฏบิ ัตงิ าน ไมทําใหเ ปน ภาระสว นเกินของครู - KPI ท่ใี ชในการประเมินคุณภาพ ควรกาํ หนดเปนชดุ เดยี วกัน จะลดภาระงานครไู ดมาก - เกณฑป ระเมนิ กลุมโรงเรยี น อาจมคี วามแตกตางกันไดต ามสภาพแวดลอม แลวจงึ นาํ สเู กณฑก ลาง ท่ีทุกสวนยอมรบั ได การเปดเสรที างการคาและบริการ (FTA) ดา นการศกึ ษา - การเปด FTA ดานการศึกษาจะทําใหนักเรยี นไทยเขาเรยี นโรงเรยี นนานาชาติมากขึน้ ตอ งเรงสรา ง ภูมิคุมกนั ระบบการศกึ ษาไทย เตรียมคนไทยใหพ รอ มรบั กระแสการเปลยี่ นแปลง และคมุ ครองผปู ระกอบ การสถานศกึ ษาเอกชนท่ีเปน คนไทย - ระบบการศกึ ษาไทยตอ งสอนใหผเู รียนรจู กั แขงขันกบั ตนเอง รวู ธิ ที จ่ี ะปกปองตนเอง เรยี นรูวา จะ รว มมือและแขง ขนั กับคนอืน่ อยา งไร - หลกั สูตรที่จะแขงขันกับนานาชาติได ตองมสี าระทีเ่ ปน สากล ใหผ ูเรียนมที กั ษะ รจู ักคนควา หา ความรนู อกหองเรียน รวมทง้ั ตอ งพฒั นาความรูดานภาษาท้ังไทยและองั กฤษ - ควรเผยแพรสาระท่ปี ระเทศไทยทาํ FTA ดานการศึกษากบั ประเทศตาง ๆ และเตรยี มความพรอม ใหก ับหนว ยงานดา นการศกึ ษาของไทย การผลติ กาํ ลงั คนทั้งเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ - การสงเสรมิ ใหคนเรียนอาชีวศึกษา ตองมแี รงจงู ใจดา นความกาวหนาของวชิ าชพี และผลตอบแทน ทไ่ี ดร ับ โดยมีการประเมนิ ตามมาตรฐานสมรรถนะอาชพี สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 246  คูมอื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 3)การบริหารและการจดั การศึกษา การกระจายอํานาจ - สง เสริมใหผูบรหิ ารทั้งในสวนกลาง เขตพน้ื ท่ี สถานศกึ ษา และกรรมการสถานศกึ ษามคี วามชดั เจนในเร่อื งของการกระจายอาํ นาจ - การกระจายอาํ นาจใหอ งคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ ตองมีการศึกษาใหชัดเจนและกระจายใหต าม ความพรอ มของแตละ อปท. ที่จะเปนผูจัด ผูรว มจดั หรือสนบั สนุน สถาบนั การศึกษาในกํากบั - สงเสริมใหมหาวทิ ยาลัยดําเนนิ การตาม พรบ.ของมหาวทิ ยาลยั และแกไ ขปญ หาดา นงบประมาณ และบคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ราชภัฏ การมสี วนรวมของเอกชน - ใหความสาํ คญั กบั การกาํ หนดสดั สว นระหวา งรฐั และเอกชน และหาแนวทางที่จะนาํ ไปสูก าร ปฏิบัติ - หามาตรการในการสรางความมนั่ คงใหค รูเอกชน - การจดั การศกึ ษาโดยครอบครวั ซง่ึ เปนการศึกษาทางเลอื กควรไดร ับการสนบั สนนุ อยางชดั เจน - สงเสริมใหผ ูเรียนปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญมีสถานภาพเหมือนนกั เรียนปกติ ไมใชผูด อยโอกาส ทรพั ยากรและการลงทนุ - รัฐตองสนับสนุนงบประมาณอยา งเพยี งพอทีก่ อ ใหเ กดิ คณุ ภาพ - การอดุ หนุนคา ใชจายยงั ไมเพียงพอตอคา ใชจา ยที่เปน จรงิ - สถานศึกษา ตองมศี ักยภาพในการระดมทรพั ยากร - ภาคสวนตาง ๆ ตองมีสว นชว ยสนบั สนนุ การศึกษา การพฒั นาการศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจภาคใต - ตอ งบูรณาการรวมกบั หนวยงานอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ยี วของ - ดําเนนิ การใหสอดคลอ งกับวิถชี ีวิต วัฒนธรรม - ประยกุ ต/เปรียบเทียบ การดาํ เนนิ งานในพ้ืนท่ีเฉพาะอืน่ ๆ เชน ชายแดน กลุม ชาติพันธุ เปนตน - ใหความสําคญั และดแู ลการศึกษาในพืน้ ท่ีมากขึ้น เชน ปอเนาะ ตาดกี า รวมท้งั ควรมีมาตรการท่ี หลากหลายและจรงิ จงั การนําแผนไปสูการปฏิบตั ิ - มีการทํา work shop และกําหนดเปา หมายเปนรายปทช่ี ัดเจน เพอื่ การตดิ ตามและประเมนิ ผล - มีการกํากบั ดูแลอยา งตอ เนือ่ ง - จดั เตรียมบุคลากร เพ่ือทดแทนบคุ ลากรที่ออกไป - จัดอันดบั คุณภาพ (Ranking) สถาบันการศกึ ษาเพอ่ื การควบคมุ คณุ ภาพและการประกนั คณุ ภาพ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 247  คูม อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง : แนวคดิ ใหมในการพัฒนาเศรษฐกิจ 1.1 เปา หมายการพฒั นาเศรษฐกจิ โดยทัว่ ไป ผบู รหิ ารเศรษฐกจิ มเี ปาหมายที่สําคญั สามประการคือ ก) ดานประสทิ ธิภาพ คือ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ โดยมกั จะพิจารณาจากการขยายตวั ของผลผลติ มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestio Product) ซ่งึ แสดงวาในระยะเวลา 1 ป ประเทศผลิตสินคาและ บริการรวมแลวเปน มูลคาเทาใด ดังนั้น การทป่ี ระเทศมี GDP ขยายตัว จึงหมายถงึ วา สังคมมีการผลติ สนิ คา และบรกิ ารเพิ่มข้ึนเรื่อยๆอยา งตอ เนอื่ ง มีทรัพยากรมากขน้ึ ประชาชนโดยรวมมีความม่ังค่งั มากขนึ้ ซง่ึ การ ขยายตัวไดด ีแสดงวา ระบบเศรษฐกิจมีประสทิ ธิภาพ มกี ารจดั สรรทรพั ยากรทด่ี ี ข) ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ คือ การที่ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่สําคัญไมเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็ว การไมม ี shock ในระบบเศรษฐกจิ ทั้งนี้ ประชาชนโดยทว่ั ไปยอ มไมชอบการเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเรว็ ทาํ ใหป รับตัวไดยาก ในดานเสถยี รภาพนม้ี ักจะมองไดหลายมติ คิ ือ การมเี สถียรภาพในระดับราคาของสนิ คา หมายถงึ การทร่ี ะดับราคาของสินคา ไมเปล่ียนแปลงอยางฉบั พลนั ประชาชนสามารถคาดการณร าคาสนิ คา และบรกิ ารได การมีเสถียรภาพของการมงี านทาํ หมายถึง การทต่ี ําแหนง งานมีความเพียงพอตอความตองการ ของตลาดแรงงาน การมีเสถียรภาพของอตั ราแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา งประเทศ หมายถึง การทอ่ี ตั ราแลกเปล่ยี น เงนิ ตราตา งประเทศไมมกี ารเปล่ยี นแปลงอยางฉับพลนั ซง่ึ จะมีผลตอเสถียรภาพของราคาในประเทศ และ ทําใหว างแผนการทาํ ธรุ กรรมระหวางประเทศมีความยงุ ยากมากขึ้น ค) ดา นความเทาเทียมกัน โดยทวั่ ไป หมายถึง ความเทาเทยี มกันทางรายได เม่ือเศรษฐกจิ มีการเปลี่ยน แปลงไปในทางท่ีดขี นึ้ แตป รากฏวา รายไดของคนในประเทศมคี วามแตกตา งกันมากข้ึนเรือ่ ยๆ แสดงใหเห็น วา มคี นเพียงกลมุ นอยไดประโยชนจ ากการขยายตัวของเศรษฐกิจ สถานการณจ ะเลวรายไปกวา น้อี ีก หาก เศรษฐกิจมกี ารเปลีย่ นแปลงไปในทางท่ีดขี นึ้ แตป รากฏวา มีคนจนมากขึน้ เร่อื ยๆ 1.2 โครงสรา งและเน้ือหาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั ทรงมีกระแสพระราชดํารัสใหผ ูบริหารประเทศและประชาชน เหน็ ถงึ ความสําคัญของการพัฒนาท่ีสมดลุ มีการพฒั นาเปน ลาํ ดบั ขัน้ ไมเนน เพยี งการขยายตัวทางเศรษฐกจิ อยาง รวดเรว็ มาเปน เวลานานแลว เชนพระบรมราโชวาทเมื่อวนั ที่ 19 กรกฎาคม 2517 ทว่ี า \"ในการพัฒนาประเทศนนั้ จําเปน ตอ งทาํ ตามลําดบั ขน้ั เริม่ ดว ยการสรา งพ้นื ฐาน คือความมกี นิ มใี ชข อง ประชาชนกอ น ดว ยวิธีการท่ีประหยัดระมดั ระวัง แตถ ูกตอ งตามหลกั วิชา เมื่อพ้นื ฐานเกดิ ขึ้นม่นั คงพอควร แลว การชวยเหลอื สนบั สนุนประชาชนในการประกอบอาชพี และต้งั ตวั ใหมคี วามพอกนิ พอใชกอ นอื่นเปน พืน้ ฐานน้ัน เปน สิง่ สําคัญอยา งย่งิ ยวด เพราะผูทม่ี อี าชพี และฐานะเพยี งพอ ทีจ่ ะพ่งึ ตนเองยอ มสามารถสราง ความเจรญิ กาวหนาระดับทส่ี ูงข้ึนตอ ไปไดโดยแนนอน สวนการถอื หลกั ทจี่ ะสงเสรมิ ความเจรญิ ใหค อ ยเปน คอยไปตามลําดบั ดว ยความรอบคอบระมัดระวังและประหยดั น้ัน ก็เพ่ือปอ งกนั การผดิ พลาดลมเหลว\" สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 248  คูม อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา และพระราชดํารัสเมอ่ื วันที่ 4 ธันวาคม 2517 \"...ใหเมืองไทยอยแู บบพออยพู อกนิ ไมใ ชว า จะรุงเรอื งอยางยอด แตวา มคี วามพออยพู อกิน มีความสงบ เปรยี บเทียบกบั ประเทศอ่ืนๆ ถาเรารักความพออยพู อกนิ น้ไี ด เรากจ็ ะยอดยิง่ ยวด......\" วกิ ฤติเศรษฐกจิ ในป 2540 แสดงใหเหน็ ปญหาในการแนวทางพฒั นาเศรษฐกจิ และการบริหารเศรษฐกิจ ทั้งภาครฐั และเอกชน ท่ผี า นมายังไมม ีความสมดลุ ไมส อดคลอ งกับพระราชดาํ รัส จงึ ไดมีการประมวลพระ ราชดํารสั เก่ียวกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่ือเปนแนวคิดใหมในการพัฒนาประเทศและไดสรุปเปน หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และขอพระบรมราชานญุ าตใชเปนกรอบในการจัดทาํ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ สังคมฉบบั ท่ีเกา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เปนปรชั ญาช้ถี ึงแนวการดาํ รงอยแู ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แตระดับชมุ ชน จนถงึ ระดับรฐั ท้ังในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหดําเนนิ ไปในทางสายกลาง โดย เฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก า วทนั ตอโลกยุคโลกาภวิ ัฒนความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความจําเปน ท่จี ะตองมรี ะบบภมู คิ มุ กันในตวั ทด่ี พี อสมควร ตอ การมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน ทง้ั น้ี จะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความ ระมัดระวงั อยา งยงิ่ ในการนาํ วชิ าการตา งๆ มาใชใ นการวางแผนและการดาํ เนนิ การทุกขั้นตอน และขณะเดียว กันจะตองเสริมสรา งพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา หนา ทขี่ องรฐั นักทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทกุ ระดบั ใหม สี าํ นึกในคุณธรรมความซอื่ สตั ยส จุ ริต และใหม ีความรอบรทู เี่ หมาะสม ดําเนินชวี ิตดว ยความ อดทน ความเพยี ร มีสติ ปญญาและความรอบคอบ เพือ่ ใหสมดุลและพรอ มตอ การรองรบั การเปลยี่ นแปลง อยางรวดเรว็ และกวางขวางทัง้ ดา นวัตถุ สงั คม ส่งิ แวดลอมและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ไดมีการศกึ ษาโครงสรา งและเนือ้ หา โดยกลมุ พัฒนากรอบแนวคดิ ทาง เศรษฐศาสตรของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยจาํ แนกองคประกอบของปรัชญาเปน กรอบความคิด คณุ ลักษณะ คาํ นิยาม เงอื่ นไข และแนวทางปฏิบัต/ิ ผลท่คี าดวาจะไดรบั คณะทํางานนสี้ รปุ วา กรอบความคดิ ของปรชั ญานี้ เปน การชแี้ นะแนวทางการดํารงอยูแ ละปฏบิ ตั ติ น ทงั้ แนวทางปฏิบัตแิ ละตวั อยางการประยกุ ตท ่ีเกดิ ข้ึน โดยปรชั ญาใชไ ดท งั้ ระดับปจเจกชนครอบครวั ชุมชน ประเทศ ในทนี่ ้ีมองในแงก ารบรหิ ารเศรษฐกจิ (ระดบั ประเทศ) เปน การมองโลกในลักษณะทเ่ี ปน พลวตั มี การเปล่ยี นแปลง มีความไมแ นน และมคี วามเชอ่ื มโยงกับกระแสโลก คือไมใชปดประเทศ แตในขณะเดียว กนั กไ็ มเ ปน เสรีเตม็ ทอ่ี ยางไมม ีการควบคุมดแู ล ไมใ ชอ ยอู ยา งโดดเด่ียวหรอื อยูโดยพึ่งพิงภายนอกทง้ั หมด คณุ ลกั ษณะเนน การกระทาํ ท่พี อประมาณบนพนื้ ฐานของความมเี หตุมีผลและการสรางภูมิคมุ กัน เนื้อหา ความพอเพยี ง คือ ความพอประมาณ ความมีเหตมุ ผี ล มีระบบภมู ิคุมกันทีด่ ตี อ ผลกระทบของ การเปลย่ี นแปลง หากขาดองคประกอบใดก็ไมเ ปน ความพอเพยี งท่ีสมบรู ณ ความพอประมาณ คือ ความพอดี กลา วอยางงา ยๆวาเปนการยืนไดโ ดยลาํ แขง ของตนเอง โดยมกี าร กระทําไมม ากเกินไป ไมน อยเกินไปในมิติตา งๆ เชน การบรโิ ภค การผลิตอยูใ นระดับสมดุล การใชจา ย การ ออมอยใู นระดับทไ่ี มสรา งความเดอื ดรอ นใหกับตนเอง พรอ มรับการเปล่ียนแปลง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 249  คมู อื เตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ความมีเหตุมผี ล หมายความวา การตัดสินใจเก่ียวกับระดบั ความพอประมาณ ในมิติตางๆ จะตอ ง เปน ไปอยางมเี หตุมผี ล ตองเปนการมองระยะยาว คาํ นงึ ถึงความเส่ียง มีการพจิ ารณาจากเหตุปจจัยและขอมลู ท่เี กีย่ วขอ ง ตลอดจนคาํ นึงถงึ ผลท่คี าดวาจะเกดิ การมภี ูมคิ ุมกันในตัวดีพอสมควร พลวตั ในมิติตา ง ๆ ทําใหม ีการเปลย่ี นแปลงในสภาวะตางๆ อยางรวดเร็วข้ึน จึงตอ งมีการเตรยี มตัวพรอ มรบั ผลกระทบทีค่ าดวา จะเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงดา นตางๆ การกระทําท่เี รียกไดวาพอเพยี งไมค ํานงึ ถงึ เหตุการณแ ละผลในปจ จบุ ัน แตจําเปนตอ งคาํ นึงถงึ ความเปน ไป ไดข องสถานการณต างๆท่จี ะเกิดข้นึ ในอนาคต ภายใตขอจํากดั ของขอมูลท่ีมีอยู และสามารถสรา งภูมิคุม กัน พรอ มรบั การเปลย่ี นแปลง ทัง้ นี้ เงอื่ นไขการปฏบิ ัติ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงคือ การมคี วามรอบรู รอบคอบระมดั ระวงั มี คุณธรรมความซอื่ สตั ยสุจรติ ความรอบรู คือ มคี วามรูเกย่ี วกับวชิ าการตา งๆอยางรอบดา น ในเรอ่ื งตา งๆท่เี กย่ี วของ เพอ่ื ใชเ ปน ประโยชนพ ื้นฐานเพื่อนาํ ไปใชในการปฏบิ ตั ิอยา งพอเพยี ง การมีความรอบรยู อมทาํ ใหมีการตดั สนิ ใจท่ถี กู ตอง ความรอบคอบ คอื มกี ารวางแผน โดยสามารถที่จะนาํ ความรแู ละหลกั วิชาตางๆมาพจิ ารณาเชื่อมโยง สมั พนั ธก นั ความระมัดระวัง คอื ความมีสติ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขน้ึ ได ในการนาํ แผนปฏิบัตทิ ต่ี ั้งอยู บนหลกั วิชาตางๆเหลานน้ั ไปใชในทางปฏิบตั ิ โดยเปน การระมดั ระวังใหรูเ ทา ทันเหตุการณท่เี ปลยี่ นแปลงไป ดว ย ในสว นของคณุ ธรรม ความซอ่ื สัตยส ุจรติ ซ่งึ คลุมคนท้งั ชาติ รวมทัง้ เจา หนาที่ นักวิชาการ นักธรุ กิจ มีสองดานคือ ดา นจติ ใจ/ปญญาและดานกระทาํ ในดา นแรกเปน การเนน ความรูคคู ณุ ธรรมตระหนักในคณุ ธรรม มีความซอ่ื สัตยสจุ ริต และมคี วามรอบรูท่เี หมาะสม สว นดานการกระทําหรือแนวทางดําเนนิ ชวี ติ เนน ความอดทน ความเพียร สติ ปญ ญา และความรอบคอบ เงอ่ื นไขนจ้ี ะทาํ ใหการปฏิบัติตามเนื้อหาของความ พอเพยี งเปน ไปได ปรัชญากลาวถึงแนวทางปฏบิ ัติและผลทคี่ าดวาจะไดร ับดวย โดยความพอเพยี งเปนทัง้ วธิ กี ารและผล (End and mean) จากการกระทํา โดยจะทําใหเ กิดวถิ ีการพัฒนาและผลของการพัฒนาทีส่ มดลุ และพรอ มรบั การเปลี่ยนแปลง ความสมดลุ และความพรอ มรบั การเปลี่ยนแปลงหมายถงึ ความสมดลุ ในทกุ ดา น ทง้ั ดาน เศรษฐกจิ สังคม สิ่งแวดลอ มและวฒั นธรรม ในขณะเดียวกนั ความสมดุลของการกระทาํ ทัง้ เหตแุ ละผลจะ นาํ ไปสู ความยงั่ ยนื ของการพฒั นา ภายใตพลวัตทั้งภายในและภายนอกประเทศ แนวทางการจดั การทางเศรษฐกจิ และธุรกิจในอดตี มีจุดออนหลายประการดังกลา วแลว ซ่งึ นําไปสกู าร พัฒนาท่ีไมสมดลุ จนเกิดวกิ ฤติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเปนแนวคดิ ใหม ในการบริหารเศรษฐกจิ ทีท่ ําใหก ารพฒั นาเปน ไปอยา งย่งั ยนื ตามวัตถปุ ระสงคได สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 250  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการกาํ หนดนโยบายเศรษฐกิจ 2.1 นโยบายเศรษฐกิจทส่ี อดคลองกบั ปรชั ญา ในสว นน้เี ปนการวิเคราะหวา จากคุณลกั ษณะและเนอ้ื หาของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงแนวทางในการดาํ เนนิ นโยบายและการ บริหารเศรษฐกิจควรจะเปน อยางไร เพือ่ จะไดบ รรลวุ ตั ถุประสงคดังกลาว โดยพิจารณาจากโครงสรางดาน คุณลกั ษณะ เนอื้ หา และเงือ่ นไข จาก คุณลักษณะ ของปรชั ญานี้ชีใ้ หเ หน็ วา การบรหิ ารเศรษฐกิจจะตอ งเปน ทางสายกลาง รเู ทาทนั เพื่อ การใชประโยชนจากกระแสโลกาววิ ัฒน ดงั นน้ั นโยบายเศรษฐกิจจะไมใ ชการปด ประเทศ ตอ งสง เสรมิ การ คาและความสมั พันธท างเศรษฐกิจระหวา งประเทศ ณฏั ฐพงศ ทองภกั ดีและคณะ(2542) ชี้วา การใชป ระโยชน จากกระแสโลกาภิวฒั นตามแนวนี้ จะสอดคลอ งกับแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรเรือ่ งการผลิตและการคา ทําตาม ความไดเปรยี บโดยเปรียบเทียบของประเทศเปน หลกั การสําคัญ นน่ั คอื การสรางความไดเ ปรยี บอยา งแทจริง ของประเทศ นโยบายเศรษฐกจิ จะตอ งสนบั สนุนการแขง ขันทางการผลิตและการคา เพือ่ ใหสงั คมมีประสทิ ธิ ภาพ และผบู รโิ ภคไดป ระโยชน ไมปกปองอตุ สาหกรรมขนาดใหญ ไมมีความไดเปรียบในการผลติ โดยต้ัง ภาษีนําเขา สงู ซึ่งจะทาํ ใหไมไดป ระโยชนจ ากการคา ระหวา งประเทศ เพราะสินคานําเขา จะมีราคาแพง ตน ทุนการผลติ ในประเทศสูงขนึ้ การสง ออกทําไดยากขนึ้ ในขณะเดยี วกนั ตองมนี โยบายสาํ หรับผเู ดอื ดรอนจาก การกระแสโลกาภิวฒั นใ หป รับตัวได สว น เนอ้ื หา ของปรชั ญาท่กี ลาวถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ผี ล และมีระบบภมู คิ ุมกนั แสดงวา นโยบายเศรษฐกิจตองมคี วามสมดุล สามารถใหเหตใุ หผ ลและชแ้ี จงใหส าธารณชนเขา ใจได มีความโปรง ใส มกี ารคํานึงถึงความเส่ียง และตองมรี ะบบในการบริหารความเสย่ี งเพอ่ื สรางภูมิคุม กัน ความพอประมาณ คอื การอยูไดโ ดยตนเอง ยืนโดยขาของตนเอง มีการคา การติดตอ กับสงั คมอน่ื แต ตนเองอยไู ด ไมพ่งึ พิงแตภ ายนอก ในดานของนโยบายสามารถมองท้ังระดบั ปจเจกชน ชมุ ชนและสังคม ในแงปจเจกชน นโยบายตอ งชว ยใหปจเจกชนยืนบนขาของตนเองได นั่นคอื มิมาตรการใหโ อกาส ทางเศรษฐกิจตามศักยภาพของแตละคน มาตรการใหประชาชนสามารถเขา ถึงการศึกษา การบรกิ ารของรฐั สาธารณปู โภคพนื้ ฐานอยางทวั่ ถงึ รวมทัง้ การเขาถงึ แหลงเงินทุน ในขณะเดยี วกันตอ งมีมาตรการไมใ หม กี าร สรางหนสี้ นิ มากเกินไปจนเกิดความไมพอเพียง ในดานของชมุ ชน นโยบายเศรษฐกิจตอ งสรางชมุ ชนใหม ีความเขมแข็ง เพอ่ื ชว ยใหคนในชมุ ชนยืน ไดด วยตนเอง ชมุ ชนแตละชุมชนยอ มมคี วามแตกตางกนั ตามลักษณะของประชากร ทรพั ยากร วัฒนธรรม ดังน้ัน นโยบายตองใหช มุ ชนพัฒนาความแตกตา ง นโยบายกระจายอํานาจจากสวนกลางจะมสี ว นสําคญั ใน การสรา งสาธารณูปโภคและบริการทส่ี นองตอบตอ ความตองการของชมุ ชนไดด กี วาการดําเนินงานจากสว น กลาง นอกจากน้จี ะตองสง เสรมิ การสรางเครอื ขา ยของชุมชนดวย ในสว นของระดบั ประเทศ ความพอประมาณ คอื การทจ่ี ะมีนโยบายใหความสาํ คญั แกวตั ถปุ ระสงค ท้ังสามดา นคือ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ เสถยี รภาพและความเทา เทียมกัน โดยไมมุงใหม กี ารขยายตวั ทาง เศรษฐกิจมากไปจนไมพอประมาณ เกดิ ปญหาดานเสถียรภาพ ในขณะเดียวกนั กต็ อ งมกี ารขยายตวั ทาง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 251  คมู อื เตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา เศรษฐกิจทสี่ รางความเปน อยทู ด่ี แี กประชาชน โดยมีนโยบายโครงสรา งพ้ืนฐานท่ีเหมาะสม นโยบายการเงนิ การคลงั ทกี่ าํ กับ นโยบายเศรษฐกิจมหภาคของไทยควรเนนเร่อื งเสถยี รภาพ ซ่งึ ในอดตี มาตรการการเงนิ ของ ไทยประสบความสาํ เรจ็ ในการสรางเสถยี รภาพ โดยในปจ จบุ ันนโยบายการเงินแบบ Inflation targeting ก็ เนน เสถยี รภาพดา นราคาเชน กัน (สายนโยบายการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย 2542) นโยบายระดบั ประเทศตองมคี วามสมดุลดา นการออมและการลงทนุ ทง้ั ภาครัฐและเอกชน นโยบายการออมของประเทศมคี วามสําคัญมากข้นึ เม่ือสดั สวนผูสูงอายตุ อ ประชากรมแี นวโนม จะสูง ขนึ้ อยา งตอเน่อื ง ท้งั น้ี การสาธารณสขุ ของประเทศดขี น้ึ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชนจึงดีขึ้นดว ยทาํ ใหคนมี อายุขัยทีย่ าวนานขึ้น ดงั นัน้ จึงสง ผลใหสัดสว นของผูสูงอายุมากขึ้น เมือ่ เทียบกับสดั สวนของผทู ่ีอยใู นวัย ทํางาน ดงั น้นั ผูท่อี ยูวยั ทํางานอาจจะรบั ภาระเลีย้ งท้งั เดก็ และผสู งู อายุไมไหว รฐั บาลจึงจาํ เปน ตองมกี ารชวย เหลือใหป ระชาชนมีการออมในชว งที่ยังอยใู นวยั ทาํ งานเพอ่ื จะไดน ําเงินที่ออมนี้ไปใชจา ยเมือ่ ตนเองเกษยี ณ อายุไปแลว เพ่ือลดภาระของผทู ่ที าํ งานในอนาคต เชน โครงการประกันสงั คมเปนตน ในดา นความมเี หตมุ ีผล ความรอบคอบ การกาํ หนดนโยบายและมาตรการทางเศรษฐกิจ ตองมคี วาม ระมดั ระวัง พจิ ารณาเหตุและผลของการกระทํา โดยคํานงึ ถงึ ผลระยะยาว และตระหนักถงึ ความเสี่ยงทั้งจาก สภาพแวดลอ มและจากมาตรการของรฐั การกําหนดนโยบายของรฐั มีพ้นื ฐานขอ สมมตุ ิในดานดมี ากเกนิ ไป ตองวเิ คราะหด วยวาหากส่งิ แวดลอ มเปล่ยี นในดานรา ย ผลของนโยบายจะเปนอยา งไร เปน ทน่ี าสงั เกตวา ภาวะฟองสบูเกดิ จากในระบบมาจากการทมี่ องเศรษฐกิจในแงด ีเกินไป เชน เมอื่ เศรษฐกจิ ขยายตัวอยา งรวด เร็วกค็ าดวา จะขยายตัวเชน น้ีตลอดไป จนมมี าตรการลงทนุ ขนาดใหญไมมกี ารเผอื่ กรณที ี่เศรษฐกจิ ไมเปน ไป ตามคาด ซ่ึงจะทําใหเ ปนวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ได การลงทุนของรฐั บาลตอ งมีเหตุผล ความรอบคอบ จงึ ตอ งมกี ารวเิ คราะหโครงการเพือ่ ใหเห็นความ คมุ คา ของโครงการ ซ่ึงจะตองพิจารณาทัง้ ทางดา นเศรษฐกิจ การเงิน สงั คม และสิ่งแวดลอมโครงการที่ควร ลงทนุ จะมีความคุมคา ตอ สังคม แสดงถงึ ความพอเพียง การวเิ คราะหโครงการยงั ทําใหเ หน็ ถึงความสามารถ ในการชําระหน้ขี องโครงการรัฐบาลดว ย นโยบายรัฐตองไมส รางความไมรอบคอบใหแ กประชาชน ตัวอยางเชน การประกนั ไมใ หธ นาคาร ลม กอ็ าจทาํ ใหมแี รงจูงใจทผี่ บู ริหารธนาคารไมสนใจความเส่ยี งทจ่ี ะมผี ลตอ การประกอบการของธนาคารได หรอื โครงการเกีย่ วกบั การผอนภาระหนขี้ องประชาชน ตองไมท าํ ใหป ระชาชนมกี ารกูหน้ที ีเ่ กนิ ตวั โดยคาด วา จะไดร ับความชว ยเหลือจากนโยบายรฐั การมีภมู ิคุมกนั คอื นโยบายรัฐบาลตองคํานึงถงึ ผลของนโยบายในระยะยาวไมเพียงผลเฉพาะหนา มีระบบทด่ี ตี อ การจัดการความเสี่ยง เพ่ือปรบั ตวั จากการเปล่ียนแปลง เชน มาตรการเตือนภยั ลวงหนา เพ่อื ใหเตรียมตวั รองรบั การเปล่ียนแปลงหรอื วกิ ฤตไิ ด ระบบเตอื นภัย ลวงหนา ควรมที ง้ั ระดบั ประเทศ และระดบั ภูมภิ าค เพราะความเช่ือมโยงทางเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ ทําใหป ญหาในประเทศหนึง่ จะสามารถกระทบประเทศอื่นในภมู ภิ าคได สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 252  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา มาตรการสรางระบบ Social safety net มีกลไกสรางสวัสดิการหรือเครือขายตางๆ เพอื่ ดแู ลผูเดือดรอ น ไมวา จากการวางงาน ไฟไหม น้าํ ทวม หรอื อุบตั เิ หตุตา งๆ เชน การประกนั การวา งงาน ซง่ึ จะสามารถชวยเหลอื คน ท่ีอาจจะวางงานจากการท่ผี ูผ ลติ ตอ งปดกิจการลงเน่อื งจากผูผลิตขาดความสามารถในการแขงขนั เมอ่ื ประเทศเปด เสรใี นการลงทุนมากข้นึ แตการประกนั การวา งงานนี้ตอ งเปนการรับประกนั ในระยะสั้นหรอื ช่ัวคราวเทา นั้น มฉิ ะนั้นอาจจะเปน สาเหตุทีท่ าํ ใหคนไมท ํางานกนั มากข้ึน เพราะถึงแมไมมีงานทําแตก ็ยงั มี เงินใชจากการทรี่ ัฐบาลชว ยเหลอื นนั่ เอง มาตรการรองรบั ผลของโลกาภิวฒั น ที่อาจจะทาํ ใหม ีผูผลติ ทไ่ี มส ามารถแขงขนั ไดต อ งมกี ารปรับ เปลี่ยนกจิ การ เชน กองทนุ เพ่ือการปรบั ตัวของผปู ระกอบการและแรงงานที่ถูกกระทบ การมเี คร่ืองมือปอ งกันการผันผวนของระบบเศรษฐกจิ เชน มาตรการการคลังหรือการเงนิ กํากับการ เคลอ่ื นยายของเงินทุน เคร่อื งมือปอ งกนั ความเสย่ี งจากความผันผวนของอตั ราแลกเปล่ียน ความรวมมือระดบั ภมู ิภาคเพ่ือปองกนั ความผนั ผวนหรือวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิของประเทศสมาชกิ จะเหน็ ไดอยา งชดั เจนวา เน้อื หาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งยํา้ ใหต ระหนกั ถึง ความสาํ คญั ของการมี ความสมดลุ และมคี วามรอบคอบระมดั ระวังในการดําเนนิ บรหิ ารเศรษฐกจิ นโยบายที่จะทาํ ใหมคี วามรอบรรู อบคอบทจ่ี ะนาํ ไปสู ความระมดั ระวัง คอื มมี าตรการที่ทาํ ใหม ี ระบบขอ มลู ขา วสารทด่ี ี ที่ประชาชนเขา ถึงได การบริหารเศรษฐกิจตอ งมีระบบขอ มูลและการวิเคราะหข อ มลู ท่ีทนั สมยั นโยบายรัฐตอ งสรา งสงั คมเปน สงั คมแหงความรู ประชาชนมีการศกึ ษาทดี่ ี จึงทาํ ใหมคี วามรูความ รอบคอบได การมีคณุ ธรรมและความซอื่ สัตย คอื ระบบสังคมตอ งมี ธรรมาภิบาลทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในดา นของธรรมาภบิ าลภาครฐั การบรหิ ารเศรษฐกิจตองมีนโยบายลดการฉอราษฏรบ ังหลวงซึ่งทาํ ใหมผี ลเสยี ตอทงั้ ดานการขยายตัว ของระบบเศรษฐกจิ และความเทา เทยี มกัน เพราะเปน การใชท รพั ยากรที่ไมม ีประสิทธิภาพ มตี น ทนุ สูงเกนิ ควร นอกจากนีย้ งั มงี านวิจัยช้ใี หเห็นวา คนจนจะถูกกระทบจากการฉอราษฏรบังหลวงมากกวาคนมีเงนิ รฐั จะ ตอ งลดกฎระเบียบท่ไี มจาํ เปน ท่ีเปน โอกาสใหเ จา หนา ทีใ่ ชอํานาจในทางมิชอบ มกี ารใชเ ทคโนโลยสี าร สนเทศใหมากขนึ้ เพือ่ ใหม คี วามโปรงใส รวมทงั้ มีมาตรการใหภาคเอกชนใหบ ริการประชาชนแทนภาครฐั นอกจากนต้ี อ งมีมาตรการลดแรงจงู ใจในการฉอราษฤรบ งั หลวง โดยเพิม่ รายไดของขาราชการ แตเ พม่ิ โอกาส ในการถกู จบั และลงโทษที่หนกั สําหรับผทู ่ที จุ รติ ในดา นของภาคเอกชน การมบี รรษทั ภิบาลคอื การทําใหผบู ริหารไมทุจริตและกระทาํ การโดยคําจึงถึงผลประโยชนต อ ผูมี สวนไดส ว นเสยี ตอธรุ กจิ การบรหิ ารเศรษฐกจิ จะตอ งมีโครงสรางกฎหมายและสถาบัน ใหคุมครองผูถอื หนุ รายยอย มรี ะบบขา วสารขอมลู ท่ดี ีแกผลู งทุนเพื่อใหลงทนุ ในบรษิ ทั ที่มผี ลประกอบการท่ีดี มบี รรษทั ภบิ าล ทดี่ ี มรี ะบบการตรวจสอบภายในที่ดี ลงโทษผบู ริหารทีฉ่ อ โกง สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 253  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2.2 การบรรลเุ ปาหมายทางเศรษฐกิจ หากมีการวางนโยบายและดาํ เนนิ มาตรการทางเศรษฐกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามท่ีได อภิปรายขา งตน สงั คมจะสามารถบรรลุเปาหมายทางเศรษฐกิจในดา นตางๆไดอ ยางสมดลุ ดานการขยายตัว เกิดข้นึ ได โดยใชประโยชนจากกระแสโลกาภวิ ัฒน การผลิตมปี ระสิทธิภาพจากระบบธรรมาภิบาลและ บรรษทั ภบิ าลท่ดี ี การขยายตัวมคี วามพอประมาณ นัน่ คือจะมคี วามยวั่ ยนื ไมใชเ ฉพาะระยะสนั้ และมีความ สมดุล จิรายุ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา และกอบศักดิ์ ภูตระกูล(2546) ชีใ้ หเหน็ วา แนวทางพัฒนาตามพระราชดําริ เปน \"การพฒั นาแบบ ลางพรอมบน ชนบทพรอ มเมอื ง ซง่ึ จะชว ยใหเ กิดความสมดลุ ในระบบเศรษฐกิจ \"เพราะเปน การพัฒนาในทกุ สว นของสังคม\" ดา นเสถียรภาพ คอนขางชดั เจนวาความพอประมาณ ความมีเหตมุ ีผล และการมีภมู ิคมุ กนั คือ การลด ความเสย่ี ง ความผันผวน ไมเปลย่ี นแปลงอยางรวดเรว็ ทาํ ใหเ ศรษฐกิจมีเสถียรภาพ เพระหากวา มีแนวโนมที่ เศรษฐกจิ จะมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ไมพึงประสงค กจ็ ะมีเครอ่ื งมือท่จี ะหลกี เลยี่ ง รวมทัง้ มกี ลไกใน การปรบั ตวั อยางไรก็ตาม ตามหลกั ความสมดุล หากมีเสถยี รภาพในปจ จบุ ันแตส รา งความไมม เี สถียรภาพใน ระยะยาว ก็จะมีปญหาเชน กนั ตัวอยางเชน การมีอตั ราแลกเปล่ยี นเงนิ ตราระหวา งประเทศที่คงท่ี แตใ หมกี าร ไหลเขาของเงนิ ทุนเปน ไปอยางเสรี ทาํ ใหมีแรงกดดันใหอ ตั ราแลกเปลย่ี นเงินตราระหวางประเทศตอ งปรบั เปลี่ยนอยางรุนแรงได และเกดิ shock ขึ้นไดใ นระบบเศรษฐกิจ แนวทางบรหิ ารเศรษฐกิจตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ทาํ ใหเกดิ ความเทาเทยี มกนั เพราะเปน แนวคิด ท่ีคํานึงความสมดลุ ของคนในสงั คม ใหท กุ สว นในสงั คมมคี วามพอเพียงยืนไดดวยตนเองผลจากการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ จะกระจายท่วั ถงึ กวา แนวคิดท่ีจะใหมคี วามเจริญจากสว นบนและหลงั่ ไหลลงสสู วนลา ง การ สรา งภูมิคมุ กันคือ การใหม กี ลไกการบรรเทาผเู ดือดรอ น คือ การมี social safety net มรี ะบบสงั คมท่เี อ้อื อาทร มกี ารดแู ลคนในสังคมทกุ ระดับ เงอื่ นไขทใ่ี หค นมคี วามรอบรซู ้อื สตั ยคอื การใหโอกาสทางการศึกษา การทํา ใหสงั คมมคี ณุ ธรรม เปน ธรรมแกค นท่ัวไป โดยทั่วถึง 3. รัฐกบั เศรษฐกิจพอเพียง Adam Smith ผูไ ดร บั การยกยองเปน บิดาแหงเศรษฐศาสตร เนน ทใี่ หระบบตลาดทํางานอยางเสรี โดยจะ มีมือทมี่ องไมเหน็ นําไปสกู ารจดั สรรทรัพยากรท่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดยบทบาทรัฐที่สําคัญแบงเปน สามดาน (1) การปกปอ งการรกุ รานจากตางประเทศ (2) การรักษาความสงบเรยี บรอยของสังคม ดูแลเกย่ี วขอ งกับการ ปกปอ ง คมุ ครอง ประชาชนภายใตการปกครองของตนเอง (3) การสรา งสาธารณูปโภค ท่เี อกชนไมส ามารถ ทําได ดงั นน้ั ในทศั นะนร้ี ัฐจะไมม บี ทบาทมากนักทเี่ ก่ยี วกับเศรษฐกจิ เศรษฐศาสตรในยคุ ใหม ใหความสําคญั ของบทบาทรฐั ในการบรหิ ารเศรษฐกิจมากขน้ึ โดยภายใต ระบบกลไกตลาด รฐั จะมีบทบาทในการสรา งสถาบนั ตา งๆ ทที่ ําใหระบบตลาดทาํ งานไดดี เชนการกําหนด กรรมสทิ ธิค์ วามเปน เจาของ การออกกฏเกณฑกาํ กับดูแลตลาดและการแลกเปลี่ยน และเขา มาแทรกแซงเมือ่ ตลาดมีความลม เหลวทาํ งานไมไ ดสมบูรณ (Stiglitz J. 2000 pp. 76-89 ) เชน การผกู ขาดโดยธรรมชาติ (Natyral monopoly) การมีผลกระทบภายนอก (Externality) นกั เศรษฐศาสตรเหน็ วา ระบบตลาดในความเปน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 254  คมู ือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา จริงจะไมเ กิดขน้ึ อยางสมบูรณ รฐั ตองเขามามีบทบาทอยางเข็มแขง็ เพอื่ ใหม ปี ระสทิ ธิภาพ เมื่อพิจารณาจากปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การจดั การเศรษฐกจิ ประกอบกับแนวทฤษฏเี ศรษฐ ศาสตร จะมขี อ สรุปไดว า การบริหารเศรษฐกจิ ไมสามารถจะใชระบบกลไกตลาดเพยี งอยา งเดยี วตองอาศยั ภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ รฐั จะตอ งทําใหต ลาดทํางานได และแกไขความลม เหลวของระบบตลาด นองจากน้ี ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชี้ใหเห็นดวยวา รัฐตอ งมบี ทบาททางสังคม ท่จี ะสรา งใหค นในสงั คมมคี วาม พอเพียง มเี หตมุ ผี ล และมภี มู ิคมุ กัน นนั้ คือ เปน บทบาททลี่ ึก ไปกวา การทําใหระบบตลาดทาํ งานตามแนวคดิ เศรษฐศาสตรกระแสหลัก ซ่ึงหากจะมองในแตละดานทีส่ าํ คัญคอื รัฐตอ งสรา งความสมดุลในการจัดการเศรษฐกิจ ก) คํานึงถึงเปาหมายทางเศรษฐกิจทั้งสามดา น ดงั กลาวขา งตน ข) ขจดั ความไมสมดุลในดานตา งๆในระบบเศรษฐกิจ ค) มีระบบท่จี ะสรางความพอ ประมาณ ความมเี หตุมผี ลของคนในสังคม รฐั ตองมรี ะบบการจัดการเศรษฐกจิ มหภาค ตอ งเนน เสถียรภาพและการจดั การความเสย่ี ง โดยไม มองในแงดีเกนิ ไป เพื่อใหร ะบบเศรษฐกจิ สามารถรองรบั การเปล่ียนแปลงไดดี มคี วามยืดหยนุ รองรบั ตอ ความเสี่ยงทจ่ี ะเกิดขนึ้ ในอนาคตได ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งชใ้ี หเ ห็นวา การดําเนนิ ตามปรัชญานี้ เง่อื นไขสําคัญคือ รัฐตอ งมีระบบ ธรรมาภบิ าลท่ีดี นั่นคือ การสรางใหก ารบรหิ ารจดั การทง้ั ภาครฐั มปี ระสทิ ธภิ าพ มีความรับผดิ รบั ชอบ ความ โปรง ใส โดยประชาชนตองมีสว นรวม รฐั เองตอ งมีความพอเพยี ง โครงการและมาตรการรฐั ตอ งไมสรา งความไมพอประมาณ ความไมม ี เหตมุ ผี ล การลงทุนและการกอหน้ขี องภาครฐั ตอ งไมเกนิ ตัวและคํานงึ ถงึ ผลกระทบระยะยาว หากใหการตัด สนิ ใจของรัฐมีเหตมุ ผี ล รัฐจะตอ งมีขอมูลทดี่ ี มกี ารศึกษาเพือ่ วางแผนวางนโยบายท่ดี ี คนในรัฐบาลตองมกี าร ศกึ ษา มีความรูค วามเขาใจในปญหาของประเทศอยา งแทจ ริง ซ่งึ โยงถึงการมรี ะบบการเมืองทีด่ ีดวย ความพอเพยี งดังกลาวน้ี รวมถงึ การท่รี ฐั ตองมีความตระหนกั ถงึ ขอจํากัดหรือความลม เหลวของรัฐ ในการแทรกแซงตลาดเชน กนั เปนธรรมชาตขิ องภาคราชการที่จะมปี ระสทิ ธภิ าพแตกตางจากภาคเอกชน นกั การเมอื งมักจะไมเขา ใจถงึ ปญหาทเ่ี กิดขนึ้ ไดจ ากขอ จํากัดดังนี้ และเขาแทรกแซงตลาดเกินความจําเปน ขอจาํ กัดของรฐั บาลมีประเดน็ ดงั นี้ ขอจาํ กัดดา นขอ มลู การท่รี ฐั เขา แทรกแซงตลาดตอ งมีขอมลู เชน การท่รี ัฐจะทําการผลิตหรือควบคุมการผลติ รัฐบาลตอ งรู ความพอใจและความตองการของผูบรโิ ภค และตน ทนุ ของการผลติ ทัง้ อุตสาหกรรมจึงจะกาํ หนดปรมิ าณและ ราคาทเี่ หมาะสมได รัฐเองจึงมตี นทนุ ทีจ่ ะตอ งหาขอ มูลนั้น การวางนโยบายกาํ กบั ดูแลระบบตลาดกต็ อ งมีขอ มูลทีด่ ี ตัวอยางเชน การกาํ หนดปรมิ าณมลภาวะให โรงงานกําจัด หากจะมปี ระสิทธภิ าพตองรูถงึ ตนทุนการกําจดั มลภาวะและผลกระทบของมลภาวะนั้นจึงจะ สามารถกาํ หนดไดอ ยางเหมาะสม หรอื การปลอ ยกูของธนาคารรัฐใหแกชาวบา นแทนตลาดเงินกูนอกระบบ รัฐอาจจะมีขอมลู ของผูข อกนู อยกวาผใู หกนู อกระบบ ซึง่ มคี วามคุน เคยกับผูขอกูมากกวา สามารถประเมนิ ได สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 255  คูม อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา วา จะสามารถใชหนไี้ ดหรือไม รวมทง้ั มีวิธตี ิดตามหนที้ ่มี ตี น ทนุ ตํ่ากวา กรณขี องรัฐ การปลอ ยกขู องรัฐอาจจะ มีโอกาสเปน หนีเ้ สยี มากขน้ึ เปน ลกั ษณะของความไมพ อเพียงลักษณะหน่งึ ขอ จาํ กดั ของมาตรการตอ พฤตกิ รรมภาคเอกชน มาตรการรฐั หลายมาตรการจะมีผลผา นทางพฤติกรรมหรอื กจิ กรรมของภาคเอกชน จงึ ตองดดู ว ยวา ตลาดหรือภาคเอกชนตอบสนองแคไหน ถาไมม กี ารตอบสนอง มาตรการกไ็ มมีผล ถึงมีการตอบสนองกจ็ ะมี ความเฉื่อย (time lag) จงึ เห็นผลงานชา การแกไ ขปญ หาอาจไมทนั การ เชน บางภาวะรฐั บาลดําเนนิ นโยบาย เรง การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ โดยการมนี โยบายลดอัตราดอกเบ้ีย โดยหวงั ผลใหม กี ารขยายตัวของการลงทนุ ในภาคเอกชน อยา งไรก็ตาม การดวู า จะมกี ารลงทนุ สูงขน้ึ หรือไมนน้ั ตอ งดสู ภาพหรือสภาวะของภาคเอกชน ในชวงเวลานัน้ ดว ย คอื ขึ้นอยูก ับวาเอกชนจะมีการตอบสนองนโยบายลดอตั ราดอกเบ้ียมากนอยหรอื ไมอ ยาง ไร เพราะถา เอกชนไมมกี ารลงทนุ เพม่ิ ขนึ้ ผลลัพธจากการลดอตั ราดอกเบี้ยกจ็ ะไมเกิดขนึ้ เชน กนั สรปุ ในกรณี นี้ คือ รฐั บาลควบคุมเครื่องมอื ไดแ ตตองอยูภายใตพ ฤติกรรมของภาคเอกชนดว ย ขอจํากัดในการดําเนินการของขาราชการ รัฐบาลจะดาํ เนนิ การโดยการส่งั การผานขาราชการ หากขา ราชการมเี ปา หมายตางจากรัฐ เชน ตอ งการ หาผลประโยชนส ว นตวั จากมาตรการรฐั หรือตอ งการอาํ นาจมากกวา การบรกิ ารประชาชนตามนโยบายของ รัฐ รวมถึงกลุม ผลประโยชนก อ็ าจมอี ิทธิพลตอขาราชการ ลักษณะเชนนีท้ าํ ใหน โยบายรัฐไมมปี ระสิทธภิ าพ ซึง่ การมธี รรมาภบิ าลทด่ี ีจะลดปญหานไ้ี ด อยางไรก็ตาม กฎเกณฑแ ละวิธีปฏบิ ตั ิตามระเบยี บราชการก็จะมผี ล ใหม าตรการของรฐั ขาดประสทิ ธิภาพไดเชน กนั ขอ จํากัดทางกระบวนการการเมือง นักการเมอื งมีเปา หมายของตนเอง มีผลประโยชนข องตนเอง ซ่ึงอาจไมใ ชป ระโยชนตอประชาชน การ ออกนโยบายแทนจะเปนตามเปา หมายเศรษฐกจิ ก็อาจเปนเร่อื งการออกนโยบายหรือมาตรการตามประโยชน สว นตวั ซึง่ อาจเรยี กวา คอรปั ชั่นทางนโยบายหรอื มาตรการรฐั ได นอกจากนี้ กระบวนการทางการเมอื งกม็ ขี อจํากดั ในตวั เอง กฎหมายมีความลาชา ในการผานสภา กลมุ การเมืองมีผลประโยชนท แ่ี ตกตางกัน การดําเนนิ มาตรการตางๆจงึ มีความลาชา ขาดประสิทธภิ าพ การเลือกต้งั ทําใหเ กดิ การใชจ ายทีข่ ัดกับปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได มปี รากฏการณทเี่ รยี กวาวงจรการ เลอื กตงั้ (Eiection cycle) เปนลักษณะที่นกั การเมอื งมีวัตถปุ ระสงคท ี่สนองประโยชนข องตวั เอง นน่ั คอื การ ไดรบั การเลือกต้ังใหม ดังนั้น เมอ่ื จะเลอื กตัง้ กจ็ ะมกี ารตงั้ งบประมาณใชจา ยมาก เพื่อเปนการสรางความนยิ ม ตอ ประชาชน งบประมาณมกั จะขาดดุลในชวงกอ นการเลอื กต้ัง ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ช้ีใหเ ห็นบทบาทของรฐั ในการบริหารเศรษฐกิจทกี่ วางกวา แนวคิดเศรษฐ ศาสตรโ ดยท่วั ไป โดยรฐั ตองมีการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจทส่ี งเสรมิ ใหระบบตลาดทํางานไดดแี ละแทรก แซงเม่ือตลาดมีความไมส มบรู ณ และตอ งสรางความพอเพยี งในระบบเศรษฐกิจ ทัง้ ระดับประชาชน ชมุ ชน และประเทศ ยิ่งไปกวา น้ันรัฐเองตอ งมคี วามพอเพียงโดยตัวเองอีกดวย สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 256  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา นโยบายรฐั บาล (พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท) คาํ แถลงนโยบาย ตามทีไ่ ดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตง ตง้ั ใหก ระผมเปน นายกรฐั มนตรี ตามประกาศพระบรม ราชโองการ ลงวันท่ี 1 ตลุ าคม พุทธศักราช 2549 และแตงตงั้ คณะรฐั มนตรีตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวนั ท่ี 8 ตุลาคม พุทธศกั ราช 2549 นนั้ ตามประเพณกี ารปกครอง ประเทศไทยในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข คณะรฐั มนตรจี ึงไดกาํ หนดนโยบายการบริหารราชการแผน ดินเพ่ือนาํ เรียนทานสมาชิกสภานิตบิ ญั ญัตแิ หง ชาตผิ ทู รงเกียรตไิ ดร บั ทราบถงึ เจตนารมณและนโยบายของรัฐบาล ในประการสาํ คญั ในอันทจี่ ะธาํ รงพทิ กั ษรักษาและเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ  มิใหผ ใู ดลว งละเมิดได และมุงประสงคจ ะแกไ ขปญ หาวกิ ฤติของประเทศทัง้ ทางดานการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม การตา งประเทศ และความมนั่ คงของประชาชนชาวไทยท้งั มวล รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ช่วั คราว) พุทธศกั ราช 2549 ไดร ะบุถงึ สาเหตขุ องการ ยึดอํานาจการปกครองแผน ดนิ เม่อื วนั ที่ 19 กนั ยายน พุทธศกั ราช 2549 โดยปรารถนาที่จะแกไขความเสอ่ื ม ศรัทธาในการบรหิ ารราชการแผนดิน ความไรประสิทธิภาพในการควบคุมการบรหิ ารราชการแผน ดินและ การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรฐั ทําใหเ กดิ การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบขึ้นอยางกวางขวาง โดยไมอ าจหาตัว ผูกระทําความผดิ มาลงโทษได อนั เปน วิกฤติการณรายแรงทางการเมืองการปกครอง และปญ หาความขัดแยง ในมวลหมูประชาชนทถ่ี กู ปลุกปนใหแ บงแยกเปนฝก เปนฝายจนเสอ่ื มสลายความ “รู รัก สามัคคี” ของชน ในชาติ อนั เปน วกิ ฤตกิ ารณร ุนแรงทางสงั คมวิกฤติการณต า ง ๆ เหลานท้ี วคี วามรุนแรงมากขนึ้ ซึง่ นับเปน ภยันตรายใหญห ลวงตอระบอบการปกครอง ระบบเศรษฐกจิ และความสงบเรยี บรอ ยของประเทศ จงึ มีความ จาํ เปน รบี ดวนที่จะตอ งฟนฟคู วาม “รู รัก สามัคคี” ระบบเศรษฐกิจและความสงบเรยี บรอ ยของบา นเมอื ง การเสรมิ สรางระบบการตรวจสอบการทจุ ริตทเ่ี ขมแข็ง และระบบคุณธรรมที่ดงี าม การสง เสรมิ และคมุ ครอง สทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน และการคุม ครองสทิ ธมิ นุษยชนอยางเครงครดั การปฏิบตั ิตามกฎบัตรสหประชา ชาติ พนั ธกรณตี ามสนธิสญั ญาหรือความตกลงระหวา งประเทศ การสง เสริมสมั พันธไมตรีกบั นานาประเทศ และการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ขณะเดยี วกนั ก็เรง ดาํ เนินการใหมีการจัดทํา รา งรฐั ธรรมนญู ขน้ึ ใหมดวยการมีสว นรว มอยา งกวา งขวางจากประชาชน ฉะนนั้ เมื่อพิจารณาจากเจตนารมณของรัฐธรรมนญู และสถานการณบานเมอื ง ตลอดจนวตั ถุประสงค ท่ีจะเสริมสรา งสังคมอยูเย็นเปนสุขรว มกันตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 10 คณะรฐั มนตรขี อนาํ นโยบายการบริหารราชการแผนดินเรยี นใหทานประธานสภานิตบิ ญั ญัติแหง ชาติ และทาน สมาชิกผูม ีเกยี รติไดท ราบวารัฐบาลจะดําเนินการ ดังตอ ไปนี้ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 257  คูมอื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา 1. นโยบายการปฏิรูปการเมือง การปกครองและการบรหิ าร การเมืองเปน ปจจัยสาํ คญั ทีท่ าํ ใหการบริหารราชการแผน ดนิ เปนไปโดยราบร่ืน สะทอนความตองการ ของประชาชน แตสถานการณท างการเมอื ง และการบริหารในชว งเวลาท่ีผานมาเกดิ วิกฤติในศรัทธาของ ประชาชนดงั นั้นเพอื่ แกไขวกิ ฤติทางการเมืองและการบริหาร รฐั บาลจงึ กาํ หนดนโยบาย ดังนี้ 1.1 สนับสนุนการจดั ทาํ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับถาวร เพื่อการปฏิรปู การเมอื ง โดยเนน ความสําคัญท่ใี หประชาชนเขามามีสวนรว มในกระบวนการจัดทํารฐั ธรรมนูญในทุกระดบั 1.2 เสรมิ สรางมาตรการในการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบ ทงั้ ในภาคการเมอื ง และภาคราชการ ท้งั ในระดบั ทองถน่ิ และระดับชาติ สง เสริมองคก รอสิ ระและประชาชนในการตรวจสอบ การทจุ ริต ประพฤตมิ ชิ อบ ใหเ กิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล รวมทง้ั การปอ งกันการกระทําทเ่ี ขา ขา ยผล ประโยชนทับซอ นโดยการจัดทาํ พระราชบัญญตั วิ าดว ยความผิดเกยี่ วกบั การขัดกนั ระหวางประโยชนสว น บุคคลและ ประโยชนสว นรวมของผูดาํ รงตาํ แหนงทางการเมอื งและเจาหนา ที่รัฐ 1.3 จัดทําแผนแมบ ทพัฒนาการเมืองท่เี สริมสรางระบบคุณธรรม จริยธรรมทางการเมือง วัฒนธรรม และ การเรียนรูใหมทางการเมอื ง โดยการจัดต้งั “สภาพฒั นาการเมือง” ใหเปน องคกรหลักในการจัดทาํ และ ดําเนนิ การใหแ ผนแมบ ทพฒั นาการเมืองประสบความสาํ เร็จ รวมทงั้ ทําหนา ทปี่ ระสาน ติดตาม กาํ กับการ ดําเนินการตามแผนแมบทพัฒนาการเมอื งใหด ําเนนิ ไปอยา งตอ เนอื่ ง เพอ่ื เปนการสนองตอบเจตนารมณ ของรัฐธรรมนญู 1.4 จดั ทาํ แผนแมบ ทการใชทรัพยากรสอื่ สารของชาติ การใชเ ครอื่ งมอื ส่อื สารของรัฐ เพือ่ ประโยชน สาธารณะ และประโยชนตอ การศกึ ษาทางการเมืองแกป ระชาชน รวมทงั้ การปลกู ฝง ความรู ความเขา ใจเกยี่ ว กบั การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหา กษัตรยิ ท รงเปนประมุข รวมทั้งการเนน การ ทําความเขาใจในเนือ้ หาสาระของการปฏิรูปการเมอื ง 1.5 สงเสริมเสรีภาพในการปฏบิ ตั ิหนาท่ีของส่อื สารมวลชน ควบคกู บั ความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม และ ผลกั ดนั ใหม กี ฎหมายวา ดวยการประกอบกจิ การวิทยุกระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทัศน เพือ่ จัดระบบสอื่ ภาครัฐ สอ่ื ภาคเอกชนและสอ่ื ชมุ ชนใหเปนสื่อสาธารณะอยางแทจ ริง 1.6 สงเสรมิ บทบาทขององคก รภาคเอกชนและภาคประชาชน ใหม ีบทบาทควบคูกบั องคก รภาค ราชการในการพัฒนาศกั ยภาพของประชาสังคมและชมุ ชนทองถน่ิ เพ่อื กอใหเกดิ การรวมกลมทีม่ คี วาม เขมแข็งสามารถพทิ ักษปกปองสทิ ธิและผลประโยชนของตนและสงั คมไทย 1.7 มุงเนนการบริหารทรัพยากรบคุ คลและการจัดองคก รภาครัฐ ใหสอดคลอ งกบั ทศิ ทางการนาํ พา ประเทศไปสูการพัฒนาทีย่ งั่ ยนื สงั คมมคี วามเขมแข็ง และประชาชนมีความสขุ ดว ยการดํารงชีวิตตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใหการรบั ราชการมคี วามเปน มืออาชีพ ขา ราชการและเจาหนาท่ีของรฐั สามารถ ดํารงชีพ อยางพอเพียง มมี โนสจุ ริต ตลอดจนมีสมรรถนะขีดความสามารถในการใหบ ริการประชาชน ตาม แนวทางพระ ราชทาน “เขา ใจ เขาถงึ พัฒนา” สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 258  คูม ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 1.8 สนับสนุนการกระจายอาํ นาจอยา งตอเนอื่ ง ตามครรลองระบอบประชาธปิ ไตย เพอื่ ใหท องถ่นิ สามารถพ่ึงตนเองและปกครองตนเองได ตามเจตนารมณข องประชาชนในทอ งถ่นิ น้นั 2. นโยบายเศรษฐกจิ นโยบายเศรษฐกิจของรฐั บาลยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คือการใชหลักคณุ ธรรมกํากบั การ พฒั นาเศรษฐกจิ ในระบบตลาดเสรี เพื่อขบั เคล่ือนเศรษฐกิจฐานรากซึ่งเปรียบเสมอื นรากแกวของประเทศ เศรษฐกิจระบบตลาด และเศรษฐกิจสวนรวมใหม ีสว นรว มในการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ภายใตก รอบความ ยั่งยนื และความพอดี โดยเนน ใหภ าคเอกชนมีบทบาทนําและผนึกกําลงั รว มกบั ภาครฐั และภาคประชาสงั คม เพิม่ ความเขม แข็งใหแกเศรษฐกจิ ท้ังสามภาคดงั กลาว โดยมนี โยบายหลักดังนี้ 2.1 ภาคเศรษฐกจิ ฐานราก เปน พ้ืนฐานท่สี าํ คัญของระบบเศรษฐกิจไทย ซ่งึ จะตอ งเสริมสรา งใหเกดิ ความเขมแข็งตามแนวทางดงั นี้ 2.1.1 การเกษตรกรรม สนับสนนุ ใหการพัฒนาการเกษตรตามแนวทางทฤษฎใี หมเ ปน ทางเลอื ก สําคญั สําหรับเกษตรกรรายยอย ในขณะท่ขี ยายโอกาสในการพฒั นาผลิตภัณฑ และยกระดบั คุณภาพของผล ผลติ โดยอาศัยเทคโนโลยี การจดั การ และการเชื่อมโยงกบั ระบบตลาด 2.1.2 ผลิตภัณฑช มุ ชนและทองถ่นิ จะไดร บั การสนบั สนุนใหมีคุณภาพเปนทีย่ อมรบั ของ ผูบริโภค ตามศักยภาพทางการตลาดในระดบั ตาง ๆ คอื ระดับภมู ภิ าค ระดับชาติ และระดบั การสง ออก โดย จัดระบบการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการเพื่อเสรมิ สรา งเทคโนโลยีและการจดั การ ควบคไู ปกับ การสนับสนนุ ดา นการตลาด 2.1.3 แรงงาน ซึ่งเปนรากฐานสาํ คัญอกี สว นหนง่ึ ของภาคเศรษฐกจิ ฐานราก จะเสริมสรางความ รว มมือ ระหวา งภาคแรงงาน ภาคเอกชน และภาครฐั ใหครอบคลมุ ถงึ การพัฒนาคณุ ภาพและฝม อื ของแรง งานในระดับตา ง ๆ เพือ่ ใหส ามารถมีผลผลิตและรายไดสูงข้ึนตามมาตรฐานฝม อื แรงงาน ตลอดจนสงเสริม ใหแ รงงานทกุ กลุมมีงานทาํ มีอาชีพเสรมิ ไดร ับการคุมครองและดูแลดานสขุ อนามัย ความปลอดภัยในการ ทาํ งาน ตลอดจนมหี ลกั ประกนั ความม่นั คง รวมทง้ั สวัสดกิ ารแรงงานอยา งทวั่ ถึงและเปน ธรรม 2.1.4 การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของภาคเศรษฐกิจฐานราก ตามแนวทางขา งตน จะดาํ เนินการ ควบคไู ปกับการดแู ลผูท ไี่ มพ รอมหรอื ยงั ไมส ามารถจะปรบั ตวั ได โดยการจัดสวัสดิการสงเคราะหและบรกิ าร ทางสังคมท่จี ําเปน อยา งทั่วถงึ และโดยการดแู ลโอกาสในการเรยี นรู การศกึ ษา ตลอดจนการฝกอาชีพสําหรับ คนเหลาน้ีและลูกหลาน นอกจากนั้น การเติบโตทางเศรษฐกจิ จะตอ งไดรบั การดแู ลมิใหเ กดิ ผลกระทบทาง ลบตอทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มอีกดว ย เพอื่ การน้ี จะปรับปรุงบทบาทของผวู า ราชการจงั หวดั และหนว ยงานภมู ภิ าค โดยปรบั ปรุงระบบ ความสัมพันธระหวา งภมู ิภาค ทองถนิ่ ชมุ ชน และภาคประชาสังคมอยางเหมาะสม เพื่อรวมกันรับผิดชอบ ดูแลผดู อ ยโอกาส ตลอดจนรักษาและดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอมอยา งทั่วถงึ เปน ธรรม และมี ประสทิ ธิภาพ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 259  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 2.2 ภาคเศรษฐกิจระบบตลาด รัฐบาลถอื เปน นโยบายท่ีจะใหกลไกการตลาดสามารถดาํ เนินการได อยางเตม็ ท่ี ภายใตห ลกั คุณธรรมและการสรา งความเปนธรรมในภาคเศรษฐกิจ การขจัดการดาํ เนินการทมี่ ีผล ประโยชนทับซอ น และการแสวงหาผลประโยชนส ว นบุคคล และจะอาศยั กลไกการตลาดเสรเี พม่ิ ประสิทธิ ภาพในการแขงขนั ดวยความเปน ธรรม ดังน้ี 2.2.1 การพฒั นาอตุ สาหกรรม สง เสริมใหมกี ารลงทนุ ทั้งจากในและนอกประเทศในอตุ สาหกรรม ทม่ี ีศักยภาพในการแขงขนั สงู ตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 และใหความสําคญั กับ การลงทนุ เพ่อื เสริมสรางความสามารถดา นเทคโนโลยแี ละการสรา งทรพั ยส นิ ทางปญ ญาของประเทศเปน สว นรวม 2.2.2 วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม จะอาศยั ความเปนพนั ธมิตรระหวา งเอกชนและรัฐผนกึ กาํ ลงั เพือ่ เพ่มิ ประสิทธิภาพอยา งตอ เน่อื งโดยใชว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ตลอดจนการบริหารจัดการใน การสรางความเขม แขง็ ใหแ กวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ มทกุ ประเภท นอกจากนั้น จะใหความสําคญั เปนพิเศษแกวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอมท่ีใชทรพั ยสินทางปญ ญา 2.2.3 การสง ออก สงเสรมิ และผลกั ดนั การสง ออกสนิ คา และบริการ โดยมีภาคเอกชนเปนกลไก ขบั เคลอ่ื น ตลอดจนสรางความเขมแขง็ ของระบบเศรษฐกจิ การคาภายในประเทศ รวมทัง้ สรางเสถียรภาพ ของราคาสินคา ที่มีความเปนธรรมทง้ั ผผู ลิตและผูบ ริโภค 2.2.4 การทอ งเทย่ี ว พฒั นาประเทศไทยเปนแหลงทองเทยี่ วคณุ ภาพ มมี าตรฐานความปลอดภยั และบริการระดับสากล เนนเอกลักษณและวัฒนธรรมไทยควบคกู ับการอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติ สง เสริม การตลาดทองเที่ยวเชงิ รุกทง้ั ในและตางประเทศเพ่อื ดงึ ดดู นักทอ งเท่ยี วคณุ ภาพ 2.2.5 พลงั งาน สงเสรมิ ประสิทธภิ าพและประหยดั การใชพลงั งาน การพัฒนาและใชประโยชน พลงั งานทดแทน การสํารวจและพฒั นาแหลงพลังงานท้งั ภายในประเทศและนอกประเทศ รวมถงึ เขตพัฒนา รวมกนั กบั ประเทศเพอ่ื นบา น การสงเสริมการใชพลงั งาน สะอาด การกําหนดโครงสรา งราคาพลงั งานที่ เหมาะสม และการปรับโครงสรางการบริหารกิจการพลงั งานใหเหมาะสม โดยแยกงานนโยบายและการ กาํ กบั ดแู ลใหม ีความชดั เจน รวมทัง้ สง เสรมิ การแขง ขันในธุรกจิ พลังงานในระยะยาว และการศึกษาวจิ ัยพลงั งานทางเลือก 2.2.6 โครงสรางพ้นื ฐานทางเศรษฐกจิ ใหความสาํ คัญกับการบริหารจัดการโครงสรางพืน้ ฐาน ใหมคี ณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพ ความโปรง ใส และวางรากฐานการทาํ งานอยา งเปนระบบทด่ี ี สรา งบุคลากรทม่ี ี คุณภาพ ยดึ มั่น ความซอื่ สัตย สุจรติ คุณธรรม จรยิ ธรรม เพ่ือสรา งมาตรฐานการบริหารจดั การโครงการทดี่ ี และสนับสนนุ การมีสว นรว มของประชาชนตั้งแตการวางแผนจนถึงการดาํ เนินโครงการ โดยขับเคลอ่ื นโครง การลงทนุ ขนาดใหญท ่อี ยูในแผนแมบ ทและมคี วามพรอมทกุ ดา น เนน การลงทุนประเภททจ่ี ะเพิม่ ประสทิ ธิ ภาพระบบเครอื ขายการจดั สง สินคา และพัสดุ การประหยดั พลงั งาน และลดตน ทนุ การขนสงและปญ หามล พิษ รวมทัง้ โครงการลงทุนตลอดจนการบริหารจดั การทรพั ยากรนํา้ เพ่ือลดความสญู เสียทีจ่ ะเกิดจากอุทกภยั และภัยแลง ในพื้นท่ีเศรษฐกจิ สําคัญ ทั้งนจี้ ะจัดใหม ีการจัดลําดับความสาํ คัญของการลงทนุ โครงการขนาด สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 260  คมู อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา ใหญทีช่ ดั เจนขน้ึ โดยเร็ว 2.2.7 โครงสรางพนื้ ฐานทางปญญา โดยทีป่ ระเทศไทยไดมกี ารลงทุนจาํ นวนมากพอสมควรในดาน โครงสรา งพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ แตโ ครงสรางพ้ืนฐานทางปญญายงั อยใู นฐานะดอ ยกวาประเทศคแู ขง หลาย ประเทศ ดังน้ันรฐั บาลจะจดั ทําแผนแมบ ทโครงสรา งพ้ืนฐานทางปญ ญาขึน้ เพื่อเรงรดั ใหมกี ารสรา งปญ ญา ในสังคม เพ่อื สนบั สนุนเศรษฐกจิ พอเพียง และเพอ่ื สรา งความสามารถของประเทศอยา งยั่งยนื ตลอดจน สนบั สนุนใหภ าครัฐและภาคเอกชนรว มกนั สรา งนวัตกรรม 2.2.8 การจดั การดา นทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม สรา งสมดุลระหวางการอนรุ กั ษและการ ใชป ระโยชนอยางยง่ั ยนื จากทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะอยา งย่งิ ทรัพยากรชวี ภาพ เพอ่ื สรางคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ มทดี่ ที สี่ อดคลอ งกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศ โดยใชม าตรการทางเศรษฐกิจที่ผสมผสานกับหลัก การบริหารจดั การดา นสิง่ แวดลอม เพือ่ ใหเกิดการมีสวนรวมและเกดิ ความเปนธรรมกบั ทุกฝาย 2.2.9 เศรษฐกิจระหวางประเทศ จะดําเนนิ นโยบายความรว มมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศและ การเจรจาการคา ระหวางประเทศท้ังกรอบทวภิ าคแี ละพหุภาคีที่เปน ประโยชนกับประเทศชาติและประชาชน โดยอาศัยการมสี ว นรว มอยางเหมาะสมของภาคประชาสงั คม และใหเปนไปตามขั้นตอนและกระบวนการท่ี ถูกตอ ง 2.2.10 การปรับปรงุ กฎระเบียบดา นธุรกจิ การคา ปรับปรงุ แกไขกฎหมายและกฎระเบยี บการคาใหมี ความทนั สมัย เพือ่ อาํ นวยความสะดวกทางดา นการคา สรางความเปนธรรมและยกระดับขีดความสามารถใน การแขงขนั 2.3 ภาคเศรษฐกจิ สว นรวม 2.3.1 การสรา งภมู คิ ุมกันทางเศรษฐกิจ ประสทิ ธภิ าพเปนรากฐานการเตบิ โตของผลติ ภณั ฑป ระชา ชาตทิ ่ียัง่ ยนื ดงั น้ันรฐั บาลจึงใหความสาํ คัญแกเ ปา หมายในการเพ่มิ ประสิทธภิ าพควบคไู ปกับการวัดความ เจรญิ เตบิ โตของผลิตภณั ฑป ระชาชาติ เพอ่ื การน้จี ะจดั ทาํ แผนแมบทการสรางเสริมประสทิ ธิภาพแหง ชาติ โดยเปน แผนรวมกบั เอกชนสําหรบั ภาคเศรษฐกจิ ท่ีสําคัญ ใหเ สร็จสิน้ ภายใน 6 เดือน 2.3.2 การออม มุงสนบั สนนุ การออมในทุก ระดบั โดยใชนโยบายการออมที่เหมาะสม และสง เสรมิ จิตสาํ นกึ ในการประหยดั เพอื่ ลดหนี้สนิ ในระดับครัวเรอื นและเพอ่ื การดํารงชพี ทีด่ ีในวัยสงู อายุ 2.3.3 การเงินและการคลัง ดําเนนิ นโยบายงบประมาณขาดดลุ เพอื่ ใหสามารถรองรบั การขยายตวั ของเศรษฐกิจอยางเพียงพอ และมกี ารลงทุนทางดา นโครงสรางพ้นื ฐานทีจ่ ําเปนเพ่ือเพมิ่ ขีดความสามารถใน การแขง ขนั ของประเทศและเสรมิ สรา งภมู คิ มุ กนั ทางเศรษฐกิจ ในขณะทีจ่ ะเสรมิ สรา งวินยั ทางการเงินการ คลังภาครัฐ โดยการใชจายอยางมเี หตุผลและประหยัด 3. นโยบายสงั คม รฐั บาลมุงม่ันที่จะสรางสังคมเขม แขง็ ทค่ี นในชาตอิ ยเู ยน็ เปน สุขรว มกนั อยา งสมานฉนั ทบ นพ้ืนฐานของ คุณธรรม โดยมนี โยบาย ดงั น้ี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 261  คูม ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 3.1 สง เสรมิ ความรัก ความสามัคคี ความสมานฉนั ทของคนในชาติ ใหเ กิดความรว มมือกนั ในการ กอบกูและฟน ฟูประเทศชาติในทกุ ดา น โดยการสรปุ บทเรียนจากปญ หาความแตกแยกราวฉานและความลม เหลวในการปอ งกันและแกไ ขปญ หาดังกลา วในอดีต แลวนาํ มาปรับความเขา ใจของประชาชน สรางกระบวน การแกไ ขปญ หาที่เนน ความสมานฉันทของคนในชาติ พรอ มทั้งสง เสริมการเผยแพรต วั อยา งของความรวม มือท่ดี แี ละมีความสขุ ของทุกชุมชนอยา งตอ เนื่อง 3.2 จดั ทาํ แผนปฏริ ปู สงั คมอยเู ย็นเปน สขุ รว มกนั อยางสมานฉันท บนพืน้ ฐานคณุ ธรรมรวมกับภาค ประชาชน ภาคธรุ กจิ ภาคประชาสังคม ภาควชิ าการ ภาคส่อื มวลชน และสถาบนั ศาสนา เพื่อสรา งสังคมไทย ที่ไมทอดทง้ิ กนั สงั คมท่ีชุมชนทองถ่ินและประชาสงั คมเขมแข็ง สังคมคณุ ธรรม และสงั คมประชาธปิ ไตย 3.3 เรง รัดการปฏิรปู การศึกษาโดยยึดคณุ ธรรมนาํ ความรู มงุ มั่นท่ีจะขยายโอกาสทางการศกึ ษาของ ประชาชนใหกวา งขวางและทว่ั ถึง โดยคํานงึ ถึงการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั เสรมิ สรางความตระหนกั ในคณุ คาของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความสมานฉันท สันตวิ ิธี วถิ ชี วี ิต ประชาธปิ ไตย พฒั นาคน โดยใชค ุณธรรมเปน พ้นื ฐานของกระบวนการเรียนรูท่ีเช่ือมโยงความรว มมือของ สถาบันครอบครัว ชุมชนสถาบันทางศาสนา และสถาบันการศึกษา การจัดการศกึ ษา จะเนนการกระจาย อาํ นาจไปสูเขตพน้ื ที่ สถานศกึ ษาและทองถน่ิ รวมทั้งการมสี ว นรว มของประชาชนและภาคเอกชน เพ่ือให การศึกษาสรางคนและสรา งความรสู สู ังคมคณุ ธรรม คณุ ภาพ สมรรถภาพ และประสิทธิภาพ 3.4 พฒั นาสุขภาวะของประชาชนใหครอบคลมุ ทง้ั มิตทิ างกาย จติ สงั คม และปญญา โดยการปฏิรปู ระบบสุขภาพเพอ่ื ลดปจ จยั เสยี่ งจากพฤติกรรม และสภาพแวดลอมทเ่ี นน การมีสวนรวม และพฒั นาระบบ บรกิ ารสขุ ภาพทั้งยามปกตแิ ละฉกุ เฉนิ ที่สมดุลทงั้ การเสรมิ สรา งสขุ ภาพ การปอ งกนั โรค การบรกิ ารรักษา พยาบาล และการฟนฟสู มรรถภาพอยางมคี ุณภาพ ท่วั ถงึ และเปนธรรม และจะเสนอใหมีการออกพระราช บญั ญตั ิสขุ ภาพแหงชาติ 3.5 สงเสรมิ กฬี าพน้ื ฐานและกฬี ามวลชน เพอ่ื ใหประชาชนทุกระดบั มีโอกาสไดเลนกีฬา และออก กําลงั กายเพอื่ สรางเสรมิ สขุ ภาพและสมรรถภาพทีด่ ี มงุ เนนการปลูกฝง ความมนี าํ้ ใจนักกฬี าใหเ ปนคา นิยม เกิดความสมานฉันทของคนในชาติ สนบั สนุนกีฬาเพอ่ื ความเปน เลิศและอาชีพไปสมู าตรฐานในระดับสากล 3.6 สรางความเขมแขง็ ของทุกชมุ ชนทอ งถิน่ และประชาสงั คม ใหสามารถจดั การตนเองเกยี่ วกบั ความเปน อยทู ัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม การปกครอง และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจน สิทธิชุมชน โดยสงเสรมิ บทบาทของครอบครัว ชมุ ชนองคกรอาสาสมัคร ภาคธุรกิจ สถาบันศาสนา สถาบนั การศกึ ษา รวมทงั้ การปอ งกนั และแกไขปญ หาสังคม ปญ หายาเสพตดิ อยา งจริงจงั และตอ เนือ่ ง การดแู ลเดก็ และเยาวชน คนพิการ คนสูงอายุ และผดู อ ยโอกาส การสนับสนนุ สิทธิสตรี ตลอดจนความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ยส ิน 3.7 สงเสรมิ ใหท ุกภาคสวนของสังคมมีสวน รว มในการพัฒนาสังคมไทยใหเ ปนสงั คมทีม่ สี นั ตสิ ุข อยา งย่ังยืน บนฐานของวฒั นธรรมไทย และใชส ่ือทุกรปู แบบในการสรางสรรคส งั คม รักษาสืบทอดศิลป วัฒนธรรมของชาติ และความหลากหลายของวฒั นธรรมทองถ่นิ เพ่อื เชดิ ชูคณุ คา และจิตวิญญาณของความ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 262  คมู ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา เปน ไทย ตลอดจนสรางความสามคั คี เอื้ออาทรสมานฉนั ทของสงั คมและประเทศชาติ 3.8 ปฏริ ปู ระบบกระบวนการยตุ ธิ รรมโดยใหประชาชนเขา มามีสวนรวม ปรับปรุงระบบการสบื สวน สอบสวน การกลนั่ กรองคดีและการพิจารณาวนิ จิ ฉยั ชี้ขาดคดี การควบคมุ และฟน ฟผู กู ระทาํ ผดิ คุมครองสิทธิ เสรภี าพของประชาชน เพ่อื สรางความเปนธรรมในสังคม และใหป ระชาชนเขาถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมได โดยงาย สะดวก รวดเรว็ มีประสทิ ธภิ าพ มกี ารสรา งทางเลอื กในกระบวนการยตุ ธิ รรมเชิงสมานฉนั ท รวมท้ัง ใหชุมชนมีบทบาทในการประนปี ระนอมขอพพิ าท และปอ งกนั เฝา ระวังอาชญา กรรมเพ่อื ลดปรมิ าณคดี ความสญู เสียจากอาชญากรรมและความขดั แยงของสังคม 3.9 สง เสรมิ และพฒั นาประสทิ ธิภาพของหนวยงานและบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม โดยนาํ ระบบ งานดานนติ วิ ิทยาศาสตรท ่ีมีมาตรฐานของเทคโนโลยีที่ทันสมยั มาใชใ นการพฒั นาศักยภาพของหนวยงาน และบคุ ลากรในกระบวนการยตุ ธิ รรม 4. นโยบายการตางประเทศ รฐั บาลมงุ มั่นในการสงเสรมิ ผลประโยชนข องชาติเสริมสรา งความเขา ใจและความเชื่อมั่นของประชา คมระหวา งประเทศ โดยการดาํ เนนิ นโยบายทีเ่ ปน มิตรกบั นานาประเทศ และสานตอความรวมมือระหวา ง ประเทศบนพ้นื ฐานของคุณธรรม ความโปรง ใส คานิยมประชาธิปไตย และการเคารพกฎหมายระหวา ง ประเทศ โดยเฉพาะกฎบัตร สหประชาชาติ และปฏิญญาสากลวาดว ยสิทธิมนษุ ยชน รัฐบาลจึงกําหนด นโยบายดงั น้ี 4.1 ดําเนนิ บทบาทเชงิ รุกในกรอบทวภิ าคีและพหุภาคี เพ่ือสนับสนุนความปรองดองและความมน่ั คงใน ชาติ โดยเฉพาะการแกไขปญ หาสถานการณในภาคใต 4.2 สง เสริมใหเกิดมิตรภาพและความรว มมือกับประเทศเพือ่ นบาน และในระดับอนภุ มู ภิ าค ภมู ิภาค และระหวา งภมู ิภาค เพ่ือใหเกิดเสถยี รภาพ ความมน่ั คงและความเจริญรงุ เรอื งรว มกัน 4.3 เสรมิ สรา งความแข็งแกรง ของอาเซียน โดยเฉพาะอยา งยิ่งการเรงจัดตั้งประชาคมอาเซยี น 4.4 ดาํ เนินบทบาทสรา งสรรคใ นกรอบสหประชาชาติและกรอบพหภุ าคอี นื่ ๆ เพอื่ สง เสรมิ สันติภาพ ประชาธิปไตย สิทธิมนษุ ยชน มนษุ ยธรรม การอนรุ กั ษส่งิ แวดลอม การพฒั นาอยา งย่งั ยนื การแกไขปญหา ขา มชาติ และการสาธารณสุข 4.5 คุมครองสิทธแิ ละผลประโยชนข องคนไทยในตางประเทศ และเสริมสรางบทบาทของชมุ ชนไทยใน ตางประเทศ 5. นโยบายการรักษาความม่นั คงของรัฐ สถานการณค วามเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในยุคโลกาภวิ ัตน ทาํ ใหก ารรักษาความมัน่ คงของรัฐเปน เร่อื งทตี่ องใหค วามสําคญั เปนอยางยง่ิ เนอ่ื งจากปญหาวิกฤตกิ ารณความไมสงบท่ีเกดิ ข้ึน สามารถแพร กระจายความรนุ แรงไดอ ยางรวดเรว็ จนอาจสง ผลกระทบตอความม่นั คงของรฐั และความสงบสขุ ของประชา ชนโดยรวมรฐั บาลจงึ มีนโยบายดงั น้ี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 263  คมู ือเตรียมสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา 5.1 สงเสริมการผนกึ กําลงั ระหวา งภาครัฐภาคเอกชน ภาคสงั คมและวชิ าการ เพื่อการปองกนั ประเทศอยา งตอ เนื่องในยามปกติ และนาํ ไปสูก ารระดมสรรพกาํ ลังเพ่ือยกระดับขดี ความสามารถของกอง ทัพใหเพยี งพอและทนั เวลาในยามไมป กติ ท้งั นใี้ นยามปกติรัฐบาลจะเสริมสรางและใชศักยภาพของกองทัพ สนับสนุนการพัฒนาพลังอํานาจของชาติทุกดาน เพ่ือใหประเทศมีความม่ันคงและม่ังคง่ั ภายใตปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีความสมานฉันท สามารถปอ งกัน บรรเทา และแกไ ขปญ หาท่ีสาํ คัญของชาติ ไดแก ปญหาการกอความไมส งบในพ้ืนทจี่ ังหวดั ชายแดนภาคใต โดยนอ มนาํ แนวทางพระราชทาน “เขาใจ เขาถงึ พัฒนา” และปญหาภยั คุกคามในรูปแบบใหมทเี่ กี่ยวขอ งกับสิ่งแวดลอ ม ผปู ระสบภัยพิบตั กิ ารกอการรา ยรวม ท้ังอาชญากรรมภายในประเทศและท่ีมลี กั ษณะขามชาติประเภทตาง ๆ ซ่ึงรวมไปถึงยาเสพติด ผูห ลบหนเี ขา เมือง แรงงานตางดา วผิดกฎหมาย การคา ส่งิ ของผดิ กฎหมาย การคา มนษุ ย และการกระทําอนั เปนโจรสลัด 5.2 พฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพของกองทพั ใหส อดคลองกับการเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ ม ดา นความม่นั คง มีขีดความสามารถในการปองกัน ปอ งปราม และรักษาผลประโยชนของชาติ สามารถยุติ ความขดั แยงไดร วดเรว็ มีระบบการขาวท่มี ปี ระสิทธภิ าพ มีขีดความสามารถดา นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ทางทหาร รวมทง้ั อุตสาหกรรมปอ งกนั ประเทศ เพอื่ การพึง่ ตนเองทางทหาร และนําไปสกู ารพัฒนาขีดความ สามารถเพือ่ ความตอเนือ่ งในการรบ มีระบบกําลังสํารอง ระบบการระดมสรรพกําลงั และระบบสง กาํ ลงั บาํ รงุ ทเี่ หมาะสมกับสถานการณภยั คุกคาม นอกจากนี้ จะสนับสนนุ การสรา งความรว มมอื ดา นตา งประเทศ และดานความม่ันคงกบั ประเทศเพอ่ื นบาน ประเทศในกลมุ อาเซยี น และมติ รประเทศ เพอื่ ลดความหวาด ระแวง สรางความไวเ น้อื เช่อื ใจสรางสนั ตภิ าพและความสงบสขุ รวมท้ังสนับสนุนภารกิจ เพอ่ื สนั ติภาพและ ปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ มนษุ ยธรรมภายใตก รอบของสหประชาชาตแิ ละผลประโยชนของประเทศเปนหลกั ทา นประธานสภานติ บิ ญั ญตั ิแหง ชาติ และทา นสมาชิกผมู ีเกียรตทิ ี่เคารพ การกาํ หนดนโยบายการบรหิ ารราชการแผนดนิ ของคณะรฐั มนตรีตามทไ่ี ดกลา วมานี้ กระผมขอให ความเช่อื ม่ันวา รฐั บาลจะบริหารราชการแผนดินอยางเต็มกาํ ลงั ความสามารถ ใหลุลว งภายในเวลาอันจาํ กดั โดยยึดมน่ั และรกั ษาคําสตั ยปฏิญาณท่ีไดถ วายตอพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั ในโอกาสที่เขา รบั หนาที่ดวย ความสาํ นกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ และดว ยความต้งั ใจอยางแนว แนแทจ รงิ . สรปุ นโยบายของรฐั บาล พล.อ.สุรยทุ ธ จลุ านนท นโยบายของรัฐบาลประกอบดวย 5 ดาน ดงั นี้ 1) นโยบายการปฏิรปู การเมือง การปกครองและการบรหิ าร 2) นโยบายเศรษฐกจิ 3) นโยบายสงั คม 4) นโยบายการตา งประเทศ 5) นโยบายการรักษาความมนั่ คงของรฐั สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 264  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ศ.ดร.วจิ ติ ร ศรีสอาน รมว.ศึกษาธกิ าร ไดกําหนดนโยบาย “คุณธรรมนําความร”ู โดยมคี วาม คาดหวงั ไปสูเปาหมายระดบั ชาติ คือ \"เปน สงั คมคุณธรรมอุดมปญ ญา อยเู ย็นเปน สขุ รว มกนั \" โดยได กาํ หนดนโยบาย ไว ๖ ประการ คอื ๑. เรงรัดการปฏิรูปการศกึ ษาโดยยดึ คณุ ธรรมนาํ ความรู โดยมงุ สรางความตระหนกั สํานึกในคณุ คา ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง พัฒนาคนโดยใช คุณธรรมเปนพืน้ ฐานของกระบวนการเรียนรู และเช่ือมโยงความรวมมือของสถาบันครอบครวั สถาบันทาง ศาสนา และสถาบันทางการศกึ ษาเรียกวา บวร (บา น วัด โรงเรยี น) ๒. ขยายโอกาสทางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานของประชาชนใหก วางขวางและทัว่ ถงึ โดยไมเก็บคา ใชจา ย โดยเฉพาะ สพท. และ อปท.ตอ งสํารวจเด็กที่เขา เกณฑก ารศกึ ษาภาคบังคบั ลวงหนา ๑ ป เปน หนาท่ขี องรัฐท่ีจะตอ งบอกไดว า จดั โรงเรียนทไี่ หนใหเ ด็ก สว นเด็กจะรบั โอกาสท่ีโรงเรยี นน้ันหรือไม กเ็ ปน สทิ ธิของเขา หนาท่ขี องผเู รยี นก็คอื เมือ่ เขา เกณฑก ต็ องเรยี น หากไมเ รียนกผ็ ดิ กฎหมาย สวนการจดั เงนิ อดุ หนนุ รายหัวทใ่ี หไ มเพยี งพอนนั้ ใน ๓-๔ ปม าน้ไี ดจัดเงนิ อดุ หนนุ รายหวั ในการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานไป ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ลานบาท ขาดไป ๑๕,๐๐๐ ลา นบาท จึงจะจดั ใหเ พ่ิมในโรงเรียนขนาดกลางและ ใหญ สว นโรงเรยี นขนาดเลก็ นอกจากจะเพิ่มใหใ กลก ับคาใชจายจริงของโรงเรียนขนาดกลางแลว ยงั มีตัว บวกใหดวย ซ่งึ จะขอดกู าํ ลงั เงินวา จะเติมใหครั้งเดียว ๑๕,๐๐๐ ลานบาท หรือภายในไมเกิน ๒ ป เชนให ทีละครง่ึ คาดวา จะเห็นผลเรือ่ งการศึกษา ๑๒ ป โดยไมเก็บคาใชจาย และยกระดบั คุณภาพการศึกษาของคน ไทยใหขยบั ถงึ ๙-๙.๕ ป ๓. พัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ สมศ.ไดป ระเมินผลคุณภาพการศึกษา พบวาโรงเรียนเกือบ ๒๐,๐๐๐ โรงอยูในสภาพที่ตอ งปรบั ปรุง กลาววา ผา นเกณฑใ ชไดมีประมาณ ๑ ใน ๓ จึงจะตอ งมกี ารปรับการเรยี นเปลยี่ นการสอน โดยยึดผเู รียน เปนสาํ คัญ คือ พัฒนาการสอนของครู ปรับปรงุ วิธีการเรียนของเดก็ รวมทงั้ แกป ญ หาขาดแคลนครูดวยวธิ กี าร นําเทคโนโลยมี าใช และเนนการแกปญ หาขาดแคลนครูโดยยึดพนื้ ทแี่ ละกลมุ สาระเปนสาํ คัญ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 265  คูม อื เตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา ๔. กระจายอาํ นาจไปสูเขตพื้นทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษา โดยเนน การจดั ระบบการกระจายอาํ นาจใน ๔ ดาน คือ ดา นวชิ าการ บรหิ ารบคุ คล งบประมาณ และการจัดการทั่วไป รวมทงั้ พัฒนาผบู ริหาร ศึกษานเิ ทศก และครูแกนนําของเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาและ โรงเรยี น เพื่อใหเ ปน ผูนําแหง การเปลยี่ นแปลง ใหสามารถขยายผลในพืน้ ท่แี ละในโรงเรยี นของตนเอง ซงึ่ จะ มีจาํ นวนประมาณ ๑๐,๐๐๐ กวา คน โดยจะมีการนาํ รองในโรงเรียนขนาดใหญและกลาง ประมาณ ๑,๕๐๐- ๒,๐๐๐ โรง นอกจากนี้ จะเปลยี่ นฐานะของสถาบันอดุ มศึกษาของรฐั ท่เี ปนสว นราชการ ใหมีการทาํ งานท่ี เบด็ เสรจ็ สิ้นสดุ ในระดบั สภามหาวทิ ยาลยั รวมท้ังการจัดระบบการกระจายอาํ นาจไปสสู ถานศึกษาดา น อาชีวศกึ ษาดว ย ๕. การมีสว นรวมของประชาชน ภาคเอกชน และทอ งถ่ิน โดยการปรบั ปรุงโครงสราง บทบาท ภาระหนา ท่ขี องสมาคมผูปกครองและครู ทบทวนเรอื่ ง คณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการเขตพนื้ ที่การศึกษา เพ่ือใหม ีสวนรว มรบั ผดิ ชอบมากข้ึน รวม ท้ังสงเสริมสนับสนนุ โรงเรียนเอกชนในทกุ ระดบั และประเภท ใหสามารถจดั การศกึ ษาไดต ามนโยบาย และมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ มุง เนนใหค วามอสิ ระและความคลอ งตัวโดยไมเ ลือกปฏิบัติ. ๖. พฒั นาการศกึ ษาเพอ่ื ความสมานฉนั ท สันติวิธี วถิ ีประชาธิปไตย ใน3จงั หวดั ชายแดนภาคใต โดยการพฒั นาการศึกษาตามยุทธศาสตรความม่นั คง สง เสรมิ การมีสว นรว มบาน วดั มสั ยสิ โรงเรียน สง เสริมภาษาไทย จีน มลายู และ ICT สง เสรมิ สอ่ื แบบบรู ณาการดา นภาษา คณิต และสงั คม พัฒนาการศกึ ษาตามยทุ ธศาสตรความมัน่ คง สง เสรมิ การมสี ว นรวมบาน วดั มสั ยิส โรงเรยี น สงเสรมิ ภาษา ไทย จีน มลายู และ ICT สงเสริมสอ่ื แบบบรู ณาการดานภาษา คณติ และสังคม สรปุ นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร 1) เรง รัดการปฏริ ูปการศึกษาโดยยดึ คุณธรรมนาํ ความรู 2) ขยายโอกาสทางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานของประชาชนใหก วา งขวางและท่วั ถึงโดยไมเ ก็บคาใชจ า ย 3) พฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ 4) กระจายอาํ นาจไปสเู ขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา 5) การมีสว นรวมของประชาชน ภาคเอกชน และทอ งถิ่น 6) พฒั นาการศึกษาเพ่อื ความสมานฉันท สนั ตวิ ิธี วถิ ีประชาธปิ ไตย ใน3จงั หวดั ชายแดนภาคใต สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 266  คมู อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา นโยบาย กลยทุ ธ จดุ เนนสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ทส่ี นองตอบตอ นโยบายความรคู ูคณุ ธรรม ของกระทรวงศึกษาธิการ ก. นโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 1. ขยายโอกาสทางการศึกษา 2. การพัฒนาคณุ ภาพ และมาตรฐานการศึกษา 3. พฒั นาคุณธรรม นาํ ความรูตามและประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. การกระจายอาํ นาจและสรางความเขม แขง็ ใหเ ขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา 5. พฒั นาการศึกษาเพ่ือความสมานฉนั ท สนั ติวธิ ี วถิ ีประชาธปิ ไตย ใน3จงั หวัดชายแดนภาคใต ข. จุดเนน ตามนโยบายสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน n ขยายโอกาสทางการศึกษา 1.1 สง เสริมความรผู ูป กครองชมุ ชน ในการเตรียมความพรอ มและพัฒนาเด็กปฐมวยั • ตง้ั เปา หมายพัฒนาเขาถงึ กลมุ ผปู กครองในพื้นทใ่ี นการเลีย้ งดูเด็ก 1.2 เพิม่ โอกาสเดก็ กหลนและ สรา งความเสมอภาคการศกึ ษาภาคบงั คบั • School Mapping หรอื สํารวจขอ มูลใหร ถู งึ จํานวนเด็กเขา เรยี น ตกหลน นอกสัญชาติ ทงั้ เดก็ และนกั เรยี นท่วั ไป พกิ าร และดอยโอกาส • เพมิ่ เปาหมายท่ตี กหลนอยางนอย 25% • ใชร ปู แบบการจดั การศกึ ษาใหเ หมาะกับพน้ื ท่ี 1.3 สง เสริมการเรียนตอ ม.ปลายทกุ ประเภท • เคร่อื ขายพนั ธมิตรการจัดการศกึ ษา ม.ปลาย ทุกประเภทการจดั ทั้งรัฐและเอกชน • เพิ่มอตั ราการศกึ ษาตอ ม.ปลายทุกประเภทอยางนอน 25% สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 267  คมู อื เตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา o ปรบั การเรยี นเปลี่ยนการสอนในการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 2.1 ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 2.1.1 พฒั นาการเรียนการสอนปฐมวัย • เนนการพัฒนาความเปน ตนแบบเพอื่ เปน อนบุ าลทีม่ ีคณุ ภาพ • เจาะพฒั นาโรงเรยี นทเ่ี ตรยี มความพรอ มตา่ํ พืน้ ท่มี ลี กั ษณะเฉพาะทางภูมศิ สตร ภาษา วฒั น ธรรม • การจัดสรรงบประมาณไมก ระจายเงนิ ใหเลอื กพ้นื ที่เปา หมาย 2.1.2 ปรบั ปรุงกระบวนการอา นขียน และคิดคาํ นวณ • ตรวจสอบขอมลู ต้งั เปาหมายเชิงพฒั นาตามกลมุ ประเภทอา นเขยี นและคิดคาํ นวณ • พัฒนาเคร่อื งมือการประเมนิ • ใชการจดั สรรแลกกับเปาหมายในพื้นทม่ี ีปญหา 2.1.3 พัฒนารูปแบบและวิธกี ารคดิ วิเคราะห • พัฒนาการคดิ วเิ คราะหเปนแบบ Package ท่ีไดมีการพฒั นาไวแลว • ต้งั สถานการณส อดแทรกกระบวนการคดิ วเิ คราะหเขา ไปในทกุ รายวชิ า • ปรบั รุงแบบและวิธีการประเมินเพ่ือนาํ ไปพัฒนาความกาวหนา • รวบรวมทาํ Best Practice แลกเปล่ยี นเรียนรูซงึ่ กนั 2.1.4 ยกระดับผลสัมฤทธ์ิวชิ าภาษาไทย อังกฤษ วทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และสงเสริมภาษาจนี • เปาหมายโรงเรียนตนแบบทกุ ประเภทโรงเรียนในฝน โรงเรยี น SBM สงู Mini English ศนู ย ERIC ระดับผลสัมฤทธต์ิ อ งดีและสูง • เปาหมายโรงเรยี นท่ีผลสมั ฤทธต์ิ ่าํ ใหแ บงกลุม โรงเรียนตามประเภทเพ่อื พฒั นาแลว ยกระดับ ไปสูก ลมุ สูงข้นึ • การยกระดบั ภาษาองั กฤษนํา Content and language integraed (CLIL) มาปเู ปน พน้ื ฐาน • ภาษาจีนดาํ เนินการตามแผนยุทธศาสตรก ระทรวงศึกษาธิการ • คณิตศาสตรห าวิธีการตั้งเปาหมายการขับเคลอื นในกลมุ โรงเรยี นประเภทตา งๆ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 268  คมู อื เตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา • วทิ ยาศาสตรใ หข ยายผลกระบวนการจากมหิดลภายใน3 ปร วมทง้ั พฒั นาโรงเรยี นจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั 2.1.5 พฒั นาการสอนเด็กมปี ญหาการเรียนรู (Leaning Disability : LD) • ปพู ืน้ ฐานประเภทเดก็ LD 1.3.1 ประเมินคุณภาพนกั เรยี น • ประเมินผลรายบุคคลทุกคนในระดับชั้น ป.2 ป.5 ม.2 ม.5 เพื่อปรับปรุงและพัฒนา • ประเมินรายบุคคลโดยสุมในระดบั ชนั้ ป.3 ป.6 ม.3 ม.6 เพ่อื ตรวจสอบการพัฒนา • หาวธิ กี ารทดแทนทปี่ ระหยัด คมุ คา และมปี ระสิทธภาพ 1.4 นาํ เทคโนโลยีชวยเพคิ่ ุณภาพสูการยกระดับโรงเรยี นทไี มไดม าตรฐาน • ใชส่ือทกุ ประเภทตงั้ แตส่ิงพิมพไ ปถงึ โทรคมนาคม • ใชใ นเรอื่ งการสรางโอกาสทางการศึกษาและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา • สง เสริมการใชเทคโนโลยีทีไ่ มเกดิ ผลกระบเสยี หายตามมา • ต้งั เปา หมายเร่ืองเกณฑค วามพรอมโดยเฉพาะความเปนผูนาํ เพ่ือแลกกับทรัพยากรเพ่ิม • พฒั นาโรงเรียนไมพ รอมไปสูการมีมาตรฐานและโรงเรียน SBM 1.5 บรหิ ารประสิทธิภาพในการแกป ญหาการขาดแคลนครู • จดั หาครูใหม อบรมครปู จจบุ ันโดยดูจากสัดสว นครูตอนักเรยี นในกลมุ สาระสาํ คญั รวมกลมุ โรงเรียนขนาดเล็กใชค รูรว มกนั แกปญหาขาดแคลนครู p พฒั นาคุณธรรมนาํ ความรูนอ มนํา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู ารเรยี นการสอน 3.1 ปรบั ปรุงหลักสูตรแทรกหลักคณุ ธรรม นาํ ความรูและการประยุกตใชปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี ง • ปรบั ปรุงหลักสตู รขัน้ พื้นฐาน และหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยการสอดแทรกเรอื่ งความพอ เหมาะพอประมาณท่ีเปน ไปตามหลักของเหตแุ ละผลซงึ่ ตอ งมภี มู คิ มุ กันทด่ี ีจากสภาพการณ ท่เี ปล่ยี นไปไมทาํ ใหตนและผอู ื่นไดร บั ผลกระทบเดือดรอ น บนหลกั ของคณุ ธรรมนาํ ความรู สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 269  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา และดาํ รงไวซ ึ่งวฒั นธรรมประเพณที ี่ดงี าม ใหม กี ารสอดแทรกเขาไปในทุกกลมุ สาระการ เรียนรู 3.2 ปฏิรูปการเรยี นรูและกระบวนการเรียนรู ตามหลักคุณธรรมนาํ ความรแู ละปรชั ญา เศรษฐกิจพอ เพียง • ออกแบบหนว ยการเรียนรูและจัดกจิ กรรมผูเรียนโดยการประยุกตใชป รชั ญาเศรษฐกิจพอ เพยี ง และสอดแทรกหลกั คุณธรรมจริยธรรมท่ดี ขี องสังคม • ปรบั ปรุงหลักสตู รส่ือเทคโนโลยสี อดแทรกหลกั คณุ ธรรม วฒั นธรรม นาํ ความรู • จดั บรรยากาศและแหลง เรยี นรูในสถานศึกษาใหเ อ้ือตอ การเสริมสรางคณุ ธรรมนําความรู และนําแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใช • คัดเลือกพฤติกรรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมทีต่ องการใหด าํ รงอยู และท่ีไมพงึ ตอ งการ เพื่อ สรางกิจกรรมเชิงพฒั นาและจัดบรรยากาศเชิงสง เสริม • ผบู รหิ ารเปน แบบอยา งแกค รแู ละผบู ริหาร ครเู ปน แบบอยางแกน ักเรยี น • ใชหลกั ความโปรง ใสตรวจสอบกันไดระหวา งผบู รหิ าร ครู นกั เรียนเพื่อดาํ รงพฤตกิ รรมเชิง คณุ ธรรมและจริยธรรมท่ดี ี • โรงเรียนเสนอโครงการเชิงวิถีคณุ ธรรม จริยธรรมให สพท.พิจารณาและเสนอของบ ประมาณสนับสนนุ • จดั เขา คา ยคณุ ธรรม องคกรนกั เรียน • สานระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรยี น • ประกาศเกยี รตคิ ณุ ใหก บั นกั เรียนมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม • Best Practice เปนแบทีด่ แี ลกเปล่ยี นเรียนรูเพ่ือพฒั นา 3.3 พัฒนาครไู ปสกู ารจัดหลกั สตู รและประยุกตใ ช ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการสอนควบคกู บั การสอดแทรกหลกั คุณธรรมจรยิ ธรรม • ประยกุ ตใชปรชั ญ าเศรษฐกจิ พอเพียงในการนําหลักสตู รไปใชสอน • สอดแทรกหลกั คณุ ธรรมนาํ ความรู ดาํ รงไวซึง่ จริยธรรมและวฒั นธรรมท่ีดีงาม 3.4 สรา งเครอื ขายคุณธรรมของบา น วัด โรงเรยี น ใหเ กดิ ความรว มมือ รวมคิด รว มทาํ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 270  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา q กระจายอํานาจและสรา งความเขม แข็ง ใหเ ขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา 4.1 สง เสรมิ ความเขมแขง็ ของ สพท. • ออกกฏกระทรวงและจดั ระบบเร่ืองการกระจายอาํ นาจและสงเสรมิ โรงเรยี นใหเปน SBM • กําหนดคาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารทรพั ยากร และคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ใน การจัดแบง กลมุ ของสถานศึกษา 2 กลุม และใชเกณฑอ ืน่ เชน การระดมทรพั ยากร ผลการสอบ O- NET คะแนน NT เปนตนเพ่ือคดั เลอื กกลมุ สถานศึกษาทเี่ ขม แข็งและมคี วามพรอ ม • วางระบบในสาํ นักงานในการสนบั สนุน สง เสริมและพัฒนาสถานศึกษาใหมีความพรอ มขนึ้ ไปสู คา ประสิทธิภาพและคุณภาพการบริหารทรพั ยากร และคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ตามคาเปาหมายนโยบาย และเกณฑท ่กี ําหนด • บรหิ ารจัดการสํานกั งานโดยใช ICT • จดั และเกล่ียอตั รากําลัง • พฒั นาบคุ ลากรทีไ่ มพรอ มหวั หนากลมุ ที่เขา สูต าํ แหนงและจา หนาที่ • พฒั นาคณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษา และ อกคศ.ทบทวนการเพิม่ เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาในองค ประกอบของประชากรผรู บั บริการ วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี การคมนาคม และสภาพ พนื้ ท่ีภูมิศาสตร 4.2 สงเสริมความเขม แขง็ ของสถานศกึ ษา ใหป ระยกุ ตใ ชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาบริหารจดั การ ศกึ ษาแบบฐานโรงเรยี น • จัดกลุมความพรอมของสถานศกึ ษา 2 กลุม คือกลมุ ทีม่ คี วามพรอ มสูง และกลุมทตี่ อ งใหก าร สนับสนุน ตามองคประกอบของคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และประสิทธภิ าพ การบรหิ ารทรพั ยากร • สงเสรมิ ความเขม แข็งใหส ถานศึกษาท่ีมคี วามพรอมสูงใหบ รหิ ารจดั การโดยใชโรงเรยี นเปน ฐาน (SBM) ตามหลักการกระจายอํานาจ การมสี ว นรวม บรหิ ารมีองคคณะบุคคล สนองความตอ งการ ของผูมสี วนไดเสยี และรบั ผดิ ชอบผลการดาํ เนินงานภายใตการตรวจสอบควบคุม • สรางความเขาใจทําแนวทางเร่ือสถานศกึ ษาเปนนิติบุคคลไมใชเรือ่ งกระจายอํานาจ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 271  คมู ือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา • พัฒนาการบริหารงานแบบมสี ว นรว มและคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สมาคมครูฯ • สงเสริมการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาลเนนความโปรงใส เปน ธรรม ประโยชน และมี ประสทิ ธิภาพบนพ้นื ฐานการมคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณครู 4.3 จัดระบบการกระจายอํานาจดา นวชิ าการ การบรหิ ารงานบคุ คล งบประมาณ และบรหิ าร ทว่ั ไป • มกี ฎกระทรวงวา ดว ยการกระจายอาํ นาจตามความพรอมของสถานศกึ ษา • มีแนวทางการบริหารจัดการตามความพรอ มทงั้ 2 กลุม • จดั ระบบการกระจายอาํ นาจทั้ง 4 ดา น ของการบรหิ ารจัดการศึกษา 4.4 พัฒนาผนู าํ การเปลย่ี นแปลงเพือ่ การขยายผล • พัฒนา ผอ.สพท. รองผอ.สพท. ศน. ครูแกนนาํ เพอื่ เปนผนู ําการเปลยี่ นแปลงและขยายผลในสพท. 4.5 สงเสริมการมีสวนรวมและพัฒนาองคค ณะบคุ คล • เพมิ่ บทบาทกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา • ปรับปรุงโครงสรางและเพิ่มบทบาท หนาท่ีสมาคมผปู กครองและครู • สง เสริมใหองคการปกครองสว นทอ งถ่นิ จดั การศึกษา รปู แบบสหการ • ใหสิทธิการจัดในพืน้ ท่ที ีร่ ัฐจดั ใหไ มพ อ • รว มกนั จดั โดยโรงเรียนเปนของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อความเปนนิตบิ คุ คลและครเู ปนขาราชการ และใหท องถ่ินเขามาบริหารจัดการ r พฒั นาการศึกษาเพอื่ ความสมานฉันท สันตวิ ิธี วถิ ีประชาธปิ ไตย ใน3จังหวัดชายแดนภาคใต โดยการพัฒนาการศกึ ษาตามยุทธศาสตรค วามมน่ั คง สง เสรมิ การมสี ว นรว มบา น วัด มสั ยสิ โรงเรยี น สง เสรมิ ภาษาไทย จีน มลายู และ ICT สง เสรมิ สอ่ื แบบบรู ณาการดา นภาษา คณิต และสังคม 9.1 พัฒนาการศึกษาตามยุทธศาสตรความม่นั คง 9.2 สง เสรมิ การมสี ว นรว มบา น วดั มสั ยสิ โรงเรียน 9.3 สง เสริมภาษาไทย จนี มลายู และ ICT 9.4 สงเสริมส่ือแบบบรู ณาการดานภาษา คณิต และสงั คม สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 272  คูมอื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา ค. กรอบผลผลติ กลยทุ ธ และจุดเนน กลยทุ ธข อง สพฐ. 1. ผลผลติ สํานกั านคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 1. ผูจบการศึกษา กอ นประถมศกึ ษา 1.1 จัดการศึกษากอ นประถมศกึ ษา 2. ผจู บการศกึ ษา ภาคบังคบั 2.1 จดั การศึกษาประถมศึกษาโรงเรียนปกติ 2.2 จัดกาศกึ ษา ม.ตน โรงเรียนปกติ 2.3 กอ สรา งปรบั ปรุซอ มแซมอาคารเรยี น ส่ิงกอสรา งประกอบโรงเรยี นปกติ 2.4 จดั หาคอมพวิ เตอร และระบบเครอื ขายอนิ เทอรเนต็ ความเร็วสูง 3. ผูจบการศึกษา มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3.1 จัดการศกึ ษา ม.ปลาย โรงเรียนปกติ 4. เด็กพิการไดร ับ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และพัฒนาสมรรถภาพ 4.1 จัดการศึกษานกั เรยี นพกิ าร โรงเรียนศกึ ษาพเิ ศษ 4.2 พัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการ ศูนยการศึกษาพเิ ศษ 4.3 สนบั สนนุ โรงเรียนแกนนํา เรียนรว ม 4.4 กอสรา งปรับปรงุ ซอมแซม อาคารและสิง่ กอ สราง 5. ดอยโอกาสไดรับ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 5.1 จดั การศึกษากอ นประถมศึกษา โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห 5.2 จดั การศึกษาประถมศกึ ษา โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห 5.3 จดั การศกึ ษา ม.ตน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห 5.4 จัดการศกึ ษา ม.ปลาย โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห 5.5 จดั ตัง้ โรงเรยี นประชานเุ คราะห 5.6 กอ สรา งปรบั ปรงุ ซอมแซม อาคารและส่ิงกอ สรา ง สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 273  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา การขบั เคล่อื นนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน เปา หมายตามนโยบาย และกลยทุ ธใ นการทํางานเพือ่ ใหบรรลุตามเปา หมาย แนวทางการทํางาน ใหบ รรลตุ ามเปาหมายของสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ดังน้ี ๑. นโยบายท่ี ๑ คณุ ธรรมนําความรู สูการปฏบิ ัติ ๑.๑ เปา หมายและหลกั การ ๑.๑.๑ คุณธรรมท่พี งึ สงเสรมิ ยังไมรวู า พึงสง เสรมิ อะไรบาง แตที่แนๆ มีสาระสาํ คัญ ๕ เร่ือง คอื เศรษฐกจิ พอเพียง ธรรมาภิบาล สมานฉนั ท คุณธรรมตามหลักสูตรซ่งึ ไดท าํ มาแลว และคุณธรรม ที่คัดสรรโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษาและนักเรยี น มีตวั อยา งท่ที ําไดด มี าก โดยเด็กเปน ผูคดิ เอง คดั สรรเอง และทําเอง จงึ สรา งความรูส กึ เปนเจา ของ เกิดความผกู พัน เรอื่ งนก้ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารยงั ไมส ัง่ การวา ตอ งทํา อะไร แตเ ร่มิ กําหนดคณุ ธรรมที่ตอ งสรา งรวมกัน ซงึ่ สวนหนง่ึ ไดจากการประชมุ ท่ีจังหวดั สรุ าษฎรธานี ซ่งึ รัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการชอบคาํ ท่งี ายๆ และเปนเชิงปฏบิ ัติ ใหม องเหน็ ภาพวา ทาํ อะไร โดยใน เบื้องตน ๘-๙ เรอ่ื ง คือ ความมวี นิ ยั ความซอ่ื ตรง (ซ่งึ จะเปน ตัวนําใหเ กิดความตรงเรอ่ื งอ่นื ๆไดดว ย เชน ตรงตอ เวลา เปน ตน ) ความสะอาด (นอกเหนอื จากความสะอาดดา นกายภาพ ตอ งสะอาดเชงิ อื่นๆดว ย เชน ใจสะอาด) ความสภุ าพ ความมนี าํ้ ใจ ความสามคั คี ความประหยดั มัธยัส และอดออม ท้งั หมดเปนกรอบ คุณธรรม ทีใ่ นการประชมุ ครัง้ น้ี จะเชญิ นักเรียนจากโรงเรียนปรางคก ู จังหวดั ศรีสะเกษ มานําเสนอโครงการ รณรงคเ ร่ือง รักนวลสงวนตัว ทีม่ ีทง้ั นักเรียนหญิงและชาย เขารวมโครงการ เพราะมีการเรียนรกู ารใหเกียรติ ผหู ญิงดวย ๑.๑.๒ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษา และสถานศึกษาทกุ แหง ปรับการดาํ เนินงานใหส อดคลองกบั หลักการ ปรบั การดาํ เนินงานใหสอด คลองกบั แนวทางน้ี โดยทกุ แหงนําไปสูการปฏบิ ตั ิอยางมีธรรมาภบิ าลในสาํ นักงาน เชน ดวู าในการทาํ งาน นั้น เราฟงุ เฟอ เกินไปหรอื ไม และจะปรับเปล่ียนการทํางานอยางไร มีเรอื่ งรองเรยี นหลายเรอ่ื งทเี่ กดิ ข้นึ เนอ่ื ง จากความไมมีธรรมาภิบาลในองคกร จงึ ขอฝากใหช วยปรับเพอื่ ใหเ ปน แบบอยางทดี่ ี ๑.๑.๓ สถานศึกษาทกุ แหง จดั กิจกรรมคุณธรรมนาํ ความรอู ยางตอ เนอ่ื ง กิจกรรมใดท่ี เมอื่ ดาํ เนินการแลว ไมค วรจบเพียงเทาน้นั ตองมีการปลูกฝง ตอ ไปใหเกิดในชีวติ ประจําวัน ๑.๑.๔ สถานศึกษา 10 % เปนแบบอยางได เปนความหวังใหในแตละเขต พื้นท่ี มีโรงเรยี นเปน ตนแบบเรือ่ งน้ี เพยี ง ๑๐% ๑.๒ ความสนบั สนุนจากสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานจะสนับสนุนสํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ดงั น้ี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 274  คูมือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ๑.๒.๑ ระบบจัดการความรู (Knowledge Management : KM) หลายสํานักในสวนกลาง จะจดั ทําเร่ืองน้ี อาจมใี นบางพน้ื ที่ที่ไดจัดทาํ ไปแลว และทําไดด กี ็ทําตอ ไป และถอดบทเรียนดๆี เหลานนั้ มา ขยายผล โดยสวนกลางจะหารูปแบบเพ่ือดวู า จะรวบรวมความรทู ใ่ี นแตล ะเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษารวบรวมไวม า ขยายผล และเผยแพรไดอ ยา งไร ๑.๒.๒ หลกั สูตร คูมอื การอบรม ซง่ึ จดั ทําโดยสาํ นักพัฒนาวชิ าการและมาตรฐานการ ศึกษารวมทั้งที่ สภาการศกึ ษาจะจัดอบรมดวย ๑.๒.๓ ตลาดนดั คุณธรรม จะเปนการจัดควบคูกบั งานแสดงศลิ ปะ เพ่อื ใหค นทยี่ ังไมม ีแนว ทางไดเ ห็นและเกดิ แนวคิดได หากใครทาํ แลว ก็ตอยอดใหดขี ้ึน ทจ่ี งั หวดั พิษณุโลกจะจดั ปลายเดอื นมิถนุ ายน จงึ ขอเชญิ ผวู าราชการจังหวัดดว ย รฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ ารตน่ื เตน กบั งานนม้ี าก เพราะทานเคย เหน็ งานศลิ ปะหตั ถกรรมกทโี่ รงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลัยมากอน จะจําลองมาใหไ ด ขอใหเ ขตชวยเตรยี ม เลอื กผลงานดีๆมานําเสนอดว ย ๑.๒.๔ งบประมาณเพื่อสนับสนนุ การจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ตามโครงการและกจิ กรรม เกย่ี วกับคุณธรรมนาํ ความรู เชน จดั คา ย ๑๕ คาย ไดแ ก คา ยคุณธรรม ลกู เสอื ดนตรี และกีฬา เปน ตน ท่ี สําคญั คือ ขอใหทําดว ยความรสู กึ วาจะเปน เครื่องสงเสรมิ ใหเ กิดคณุ ธรรมนาํ ความรูไ ดจริงๆ เสนอวา ทุกกจิ กรรมในภาคฤดรู อนใหแทรกเรอ่ื งคณุ ธรรม หากเปนไปได ใหเ นน เดก็ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน เพอ่ื ให เดก็ ไดใชเวลาวา งชว งปด ภาคเรยี นฤดรู อ น ๑.๒.๕ แนวทางปรับปรงุ ระบบดแู ลนักเรยี น ระบบสงเสรมิ ความประพฤติ และทกั ษะชีวิต ระบบดูแลนักเรยี นนนั้ ทาํ ไดดีหลายแหง กท็ ําตอ ไป สวนระบบสงเสรมิ ความประพฤตยิ ังทําไดไ มดี จึงขอให ดูแลปรับปรงุ หลายจงั หวัดทําเร่อื งเจาหนาทส่ี งเสริมความประพฤติไดเ ปนมรรคเปนผลมาก ฝากทานผูวา- ราชการจังหวดั ชว ยดูแลเร่ืองน้ีดวย ท้ังนักเรยี นที่อยูใ นโรงเรียนและระหวา งอยูนอกโรงเรยี น และเร่ืองการ ฟนฟทู ักษะชีวิต มตี ัวอยางทดี่ ี ทบี่ านกาญจนาภเิ ษก ทําไดผ ลดีมาก ดังน้ันเรอ่ื งคุณธรรมน้ี สามารถทํากจิ กรรมไดท้งั ในเชิงบวก คอื สรา งภมู คิ ุมกันใหเดก็ และ เชงิ ลบ คือ การแกป ญหาพฤตกิ รรมทีไ่ มพ งึ ประสงค ๒. นโยบายท่ี ๒ การขยายโอกาสทางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ๒.๑ มเี ปาหมาย ดังนี้ ๒.๑.๑ รณรงคใ หเ ยาวชนวยั ภาคบังคบั ไดเรียนทกุ คน จากรายงานของ ดร.วเิ ชียร เกตสุ ิงห ทาํ ไดดมี าก คอื เดิมน้นั เรามีสถิติ Gross Enrolment และ Net Enrolment ท่ีแสดงขอ มูลนกั เรียนท่ี เรียนตอมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเชิง Gross Enrolment 97% และเชิง Net Enrolment 94% แตข องดร.วเิ ชียร เกตสุ งิ ห ติดตามเด็กตามอายโุ ดยจาํ แนกวา ระดับอายตุ า งๆ มเี รยี นอยูกค่ี น และมีกคี่ นแกเ กนิ วยั ท่ีจะเรยี น ระดับมธั ยมศึกษาตอนตนแลว แตยังเรียนอยู ซง่ึ จะไดตัวเลข ๓ ตวั แตม ตี วั เลขทีย่ งั เช่ือไมไ ด ๑๐๐% คือ พบ วา ในจังหวัดปทมุ ธานี มีผลการเรยี นตอ ต่าํ เพราะเด็กไปเรียนที่อ่ืน ซึ่งแมจะเปนตัวเลขท่ียังเชือ่ ไมไ ด ๑๐๐% สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 275  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา แตก ็ไดว ิธีคดิ เพ่อื ใหเ ราไปทาํ ตอ ไดพ อใช เร่อื งที่นาเศราใจ คือ เด็กพกิ ารเรยี นตอ ม.ปลายเพยี ง ๑๖% ทง้ั สาย อาชวี ศกึ ษาและสายสามญั ๒.๑.๒ รณรงคการเรยี นตอ 12 ป ใหส ูงขึน้ ซง่ึ มคี วามเขา ใจกันวา ในชวงช้ันที่ ๔ คอื เด็ก ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ เขา เรียนตอ ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี ๔ มอี ตั ราสงู ถึง ๙๐% แตถา ดตู ามวยั อายุ ๑๕-๑๘ ป จะ พบวา มีการเขา เรียนตา่ํ มาก Gross Enrolment มปี ญ หาทกุ จุด คอื ๕๖% เทานน้ั จึงจะตองทําแผนยุทธศาสตร พเิ ศษเสนอเขาทีป่ ระชมุ คณะรฐั มนตรี ปน ้รี ฐั มนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธิการเนนความโปรง ใส และเปน ธรรม เนน การไมร ับฝากเด็กและรับเงินแปะเจี๊ยะ มีคนแยง วา จะทาํ ไดหรือ กไ็ มรบั รอง แตม เี รอื่ งขอยกตวั อยา งกรณี ผอู าํ นวยการสมพงษฯ โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย กําหนดเด็ก ๕๐ คนตอหอง ไมร ับฝากเกิน กวานี้ พอปตอ มา มาขอลาออก ก็ยับยั้งไว เพื่อใหท า นยดึ หลักการเดมิ ตอ ไปคอื เดก็ ๕๐ คน ตอ หอ ง ใครจะมา ขอฝากเพ่มิ อยา งไรกไ็ มร บั และทาํ มาไดจ นทกุ วนั น้ี ถอื เปนตวั อยางสง เสรมิ คนทาํ ความดี ทยี่ กมาก็เพือ่ ใหเกดิ ความตระหนกั วา ในโอกาสที่ปน ไี้ มมีการเมืองเขา มากระทบการทํางาน ใหถอื เปน โอกาสปรับปรุงการ ทํางาน แตต อ งทําใหจรงิ สรางกติกาใหช ดั เจน อาจจะไมปรอดโปรงในปตอไป แตส กั วนั หน่ึงตอ งเกิดขน้ึ ถาในปแรกๆ ไมส ามารถทําไดต ามเปา แตหากมธี รรมมาภบิ าลมากขึน้ กย็ อ มเกิดผลในระยะยาว รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธิการจงึ ตั้งใจมากทจี่ ะวางกตกิ า ซ่ึงในเวลาปกติทาํ ไมได จึงขอใหใชประโยชนจากโอกาส ทองนใ้ี นการทาํ กตกิ าดงั กลา วใหได ๒.๑.๓ ปรับปรงุ คุณภาพการศึกษาปฐมวยั จะดแู ลการศึกษาปฐมวัยใหเ ปน ตวั อยางดว ย ๒.๑.๔ ลดภาระผูป กครองในเรอื่ งคาใชจาย ฝากดูแลเดก็ ทไี่ ดร บั ทนุ การศึกษา ไมค วร ตอ งเก็บเงนิ คา ใชจ ายเพมิ่ อกี ๒.๒ ความสนับสนนุ จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สิ่งท่ีสาํ นกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานจะสนบั สนนุ การทํางานของสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา คือ ๒.๒.๑ การสาํ รวจสภาพ โดยสํานักนโยบายและแผนฯ จะสํารวจเด็กตกหลน แตก ็นา จะ มกี ลไกอนื่ มาสนับสนนุ ดวย เชน เชิญ อบต. มารว มดวย เพอ่ื ไดข อ มลู จากทกุ ทาง ๒.๒.๒ ประชมุ จัดทาํ School Mapping เพอื่ วางแผนระยะยาว เดมิ การทํา School Mapping จะทาํ เฉพาะชนั้ ประถมศึกษา แตตอไปสํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ตอ งดูทงั้ ระบบคือ ตง้ั แต ประถมศึกษาปท่ี ๑ ไปจนถึงระดับมัธยมศึกษา ซึ่งรวมถงึ โรงเรยี นแกนนาํ เรยี นรวม ท่ขี ยายไมมากพอ ฝาก ความหวังใหท ําแบบที่อมกอย ตามท่สี มเด็จพระเทพรัตนฯ มีรบั ส่งั คือการเดินเทา สํารวจพืน้ ท่ี รว มกบั การ ศกึ ษานอกโรงเรียน และ อบต. ผลคือไดเ ดก็ มาเรียนเพิ่มขึ้น อยากใหล องทําเพ่ือกวาดเด็กใหหมด ลองเสนอ แผนใหท ันเขา ประชมุ คณะรัฐมนตรี และมกี ลมุ โรงเรียนระดับอําเภอทง้ั หลายมสี ภาพเสอ่ื มโทรมมาก จึง ถูกจดั เปน กลมุ ๒ ตอ งพัฒนาใหไดเพอ่ื เปนจุดสกดั เดก็ ไมใ หเ ขามาเรียนในเมอื ง มีตวั อยา งท่ี โรงเรียนเตรียม อดุ มศกึ ษาฯ ลาํ ลูกกา สามารถพลิกโฉมไดม ีนกั เรยี นเพ่ิมมาก โรงเรยี นในฝนกท็ าํ ไดจาํ นวนหนึ่งแตต อ งตอ ยอดไปอกี สว นโรงเรยี นดีเดนดงั ทั้งหลาย ถา ปลอ ยไวโ ดยไมพฒั นา สักวนั ก็จะถดถอย จะตอ งมีแผนทาํ ใหเปน โรงเรียนดมี ากดวย จึงจะตอ งฟนการทาํ School Mapping ในมติ ิใหม สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 276  คมู อื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา ๒.๒.๓ รณรงคสรางความตระหนักระดบั ชาติ ระดบั ทอ งถนิ่ ๒.๒.๔ สนับสนุนการพฒั นารปู แบบ เพอื่ รองรบั รปู แบบตา งๆ เชน เดก็ ตกหลน ที่ไมเรียน ตอ ๑๒ ป ซง่ึ ยงั มีเหลืออยู และเด็กออกกลางคนั หลายโรงเสนอทาํ เชนท่นี ้ําพองศกึ ษา จงั หวัดขอนแกน เขต ๔ มเี ดก็ ไมอ ยากไปโรงเรยี น จงึ จัดใหไปเรยี นการศกึ ษานอกโรงเรยี นในโรงเรียนเดมิ สัปดาหล ะ ๓ วัน ให แตงวตัวตามสบาย ปรากฏวา เด็กดขี ้ึน ไมเคยขาดเรยี น โดยท่ีไมตอ งสง ไป กศน. แตจัดรว มกนั นอกจากนน้ั อาจจัดปวช.รปู แบบตางๆ ซง่ึ มหี ลายโรงเรียนดาํ เนนิ การแลว เมอ่ื วานทานวรากรฯ ไปพูดในทป่ี ระชมุ ผู บรหิ ารโรงเรียนมธั ยมศึกษาวา ดตู ัวบงชที้ างเศรษฐกจิ แลว ตอ ไปจะเหนอื่ ยมาก เพราะสนิ คา สง ออกเรา นําเขา อปุ กรณจากประเทศจนี และอินเดีย เราเพยี งแตเอามาประกอบเทา นั้น ตอ ไปสนิ คาเขาจะมคี ณุ ภาพและถกู กวา ดังนัน้ เราตอ งพฒั นาทกั ษะฝม อื การบริหารจดั การ การคดิ วิเคราะห กลายเปน วาการทีเ่ ราสนับสนนุ ใหเ ดก็ เขา เรยี นตอระดับมหาวิทยาลยั มากๆ นน้ั เปน เรอ่ื งที่คิดผิดหรอื ไม ขอใหล องคดิ วา จะมีสกั กีโ่ รงทีค่ ดิ เรอ่ื งนไ้ี ด อยางนอย ๑ จดุ เพอื่ ใหเ กดิ การเรยี นรู ถา ทาํ ดีจะทาํ ใหดีขึ้นเปนมรรคเปนผลในปห นา ๒.๒.๕ การขยายและการปรับปรงุ โรงเรียนตามยทุ ธศาสตร ซ่งึ ใหไ มเปนตามแรงวิง่ ของ โรงเรยี น แตใ หข้ึนกบั ยทุ ธศาสตรวา แตล ะอําเภอตองมีโรงเรยี นดี ขยายถึงตาํ บล และสนับสนุนทรัพยากรตาม ลําดับ บางพนื้ ท่โี รงเรยี นไมพ อ จะดูแลตามSchool Mapping ๒.๒.๖ พัฒนาระบบดแู ลเดก็ ดอ ยโอกาส ตองมรี ะบบถาวรเพอื่ ดวู า เด็กคนไหนตองการ ความชวยเหลือ เคยฝากทานโกศลฯ ทําเรื่องน้ี คอื จําแนกเดก็ ใหห มดและถาจะชว ยจริงจังตองใชเงินเทาไร ซ่งึ รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารอยากเหน็ การท่ีเราสามารถคนหาและระบุเด็กจากเลข ๑๓ หลกั ไดวา ใครบางควรไดรบั การดูแลอยางไร ๒.๒.๗ ดาํ เนินการเขา ถึงเด็กตกหลน เดก็ ออกกลางคนั และเด็กไมเรียนตอ มีกรณตี วั อยา งที่โรงเรียนปรางคกู มเี ดก็ อายุ ๑๕ ป ตง้ั ทอ ง เปน กรณีที่ตองดูแล เพอื่ ปองกนั ปญหาทจ่ี ะเกิดใน อนาคต ๓. นโยบายท่ี ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั ๓.๑ เปา หมาย ๓.๑.๑ ยกระดบั มาตรฐานโรงเรียน ๑) พัฒนาโรงเรียนเกณฑป รับปรุงเปนพอใชท ุกโรงเรียน ๒) พัฒนาโรงเรยี นเกณฑพ อใชเ ปน ดี ไมตองถึง๘๐% ตามสญก็ได ๓) พฒั นาโรงเรยี นกณฑด ี เปน ดมี าก เคยสัญญาวาจะทํา ๗๐% แตมาวนั นี้ จะทํา ไดเ ทา ไรไมวา กนั ๓.๑.๒ แกป ญหา อา น เขยี น และโภชนาการ ๓ เร่ืองนี้ ท่วั โลกถอื เปน พนื้ ฐานของการ พัฒนาคุณภาพของเด็ก จากการคน ควา ในประเทศอังกฤษพบวา เด็กพัฒนาไมข ้นึ เพราะไมไ ดร บั ประทาน อาหารเชากอ นมาเรียน จงึ ตองลงทนุ เรอ่ื งคณุ ภาพชีวิต หลายพ้นื ทแ่ี ลง มปี ญหาเรอื่ งนํ้า ชว ยใหขอมูลกบั สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 277  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา สํานกั นยายและแผนฯ ดวย โดยเฉพาะเรอ่ื งนาํ้ ท่ใี ชถ ัง ๓ ฝ. เปนสว มไดร างวัลแตกลับไมสามารถกักเกบ็ นา้ํ ได ๓.๑.๓ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ใิ นวชิ าหลัก และการคดิ วเิ คราะห จากนิทรรศการดานหนา ของโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรนี า สนใจมาก ขอเชญิ ชวนใหไ ปศกึ ษาดูดวย ๓.๒ ความสนับสนนุ จากสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ๓.๒.๑ การประเมินมาตรฐานคุณภาพ (National Test) สาํ นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน จะสนับสนุนการสํารวจคะแนน National Test ทว่ั ประเทศ ๓.๒.๒ สนับสนนุ งบประมาณเพอ่ื สนบั สนุนการพฒั นาโรงเรียน ๓.๒.๓ งบประมาณเพือ่ สนับสนุนการแกป ญ หาอาน เขยี น และยกระดับผลสัมฤทธิ์ ๓.๒.๔ รปู แบบในการพัฒนาคดิ วเิ คราะห และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ซ่ึงในเร่ืองนร้ี วมถึง เด็ก LD (Learning Disability) เปนพเิ ศษดวย เพราะละเลยมานาน เนอ่ื งจากเราถือวา ไมใชเด็กพกิ าร แตผล การสํารวจของมหาวิทยาลัย Yale พบวา เดก็ กลุมนีเ้ ปน กลุมประสบปญ หาดานอาชญากรรมสูงท่ีสดุ ซึ่งรปู แบบการพฒั นาการคิดวเิ คราะห จะเปน ตัวชวยได ๓.๒.๕ ICT นอกจากการรับทราบวาควรใชอ ยางไรใหเต็มที่ ขอใหช ว ยบอกสํานกั เทคโนโลยีการเรียนการสอนดว ยวา ใชไมไดเ ทา ไร และเรอื่ งการสง เสรมิ การใชสื่อกบั คอมพิวเตอร รวมทั้ง การอบรมตองการแบบไหน เพราะความรพู ้ืนฐานสว นใหญม แี ลว จงึ นา เปน การอบรมเพอ่ื ตอ ยอดเทคนคิ วิธี การใหมๆ นอกจากน้นั มีหนว ยงานภายนอกเสนอใหค วามสนบั สนนุ การจัดซ้อื คอมพิวเตอรใหโ รงเรยี น กําหนดคุณลกั ษณะสงู มากเกินจําเปน อยากใหเลอื กทพ่ี อดๆี ไมม ากเกินไป แลว ไมใ ชใ หเ ปน ประโยชน ๓.๒.๖ การอบรมในรปู แบบใหม การอบรมมีหลายลกั ษณะ แตทส่ี ําคัญคือตองมีการ ประเมินผล ไมใชเ ปน เพยี งการอบรมใหจ บตามหลกั สูตรเทานัน้ แตต อ งปรับปรงุ ความรูความเขา ใจของผู เขา รบั การอบรมดวย และสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาตองมีฐานขอมูลครทู ุกคน เพ่ือใชใ นการลงทนุ ตอ ยอด พัฒนาบุคลากรตอไป ซง่ึ ตอ งทําใหตอเนอื่ ง และทราบวา ควรจะอบรมอะไรใหใ ครบา ง ฝากการอบรมอาจารย ๓ เชิงประจกั ษ ซึ่งมีการตอ ตา นวา เปน การเยยี วยา ขอช้ีแจงวา ไม ใชการเยยี วยา เพราะการเยยี วยา เปน เรอื่ งทเี่ ขาเคยมสี ทิ ธิ์และตองเสยี สิทธิ์ไป จรงิ ๆ เปน ใหโอกาสพเิ ศษ เพราะลงทุนไปมาก ทําผลงานตรวจไปก็ใชเงินมาก แตไ มผ า น และการตรวจนั้นถา ผา นมากหรอื ผานทัง้ หมด ทาํ ใหผ อู าํ นวยการสํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามีชื่อเสยี ง แตในความเปน จริงคุณภาพการเรียนของเดก็ หรือ คุณภาพของโรงเรียนยังตกตาํ่ ก็ไมน าเปน ผลงานทีค่ วรภาคภมู ใิ จ และการท่คี รูไดรบั เงนิ วิทยฐานะเพมิ่ มาก จะมีผลใหคาใชจา ยตอ หัวลดลง ดงั นัน้ คนท่คี วรได จึงเปน คนที่ควรไดจรงิ ๆเทานน้ั จึงตองจดั อบรมและ ประเมินความรู ทดลองสอนตามสถานการณจําลอง ซึง่ ขอฝากใหดแู ละอยา งเขมงวด ถา มีคุณภาพดแี ละผาน จึงถอื เปน ผลงานผอู าํ นวยการสาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ไมใ ชผา นมากโดยไมมีคุณภาพ ๓.๒.๗ การประเมินผลในชัน้ เรยี น การประเมินผลในชน้ั เรยี น เปนจดุ ออ นมาก มวี ิธีการ ประเมนิ ผลมากมาย แตเราใชเ พียง ๓-๔ วธิ ี ควรสรางความรใู หมในเร่ืองน้ี เราพยายามปรับวธิ ีเรยี น เปลย่ี น สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 278  คมู อื เตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา วธิ สี อนแตก ารประเมนิ ไมเ ปล่ียนก็ไมม ปี ระโยชน เราพัฒนาการสอนมากแตไมว ธิ ีการประเมนิ ไมท ําควบคู ไป ๔. นโยบายที่ ๔ การกระจายอํานาจและการสงเสรมิ ความเขม แขง็ ใหส าํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ าร ศกึ ษาและสถานศกึ ษา ๔.๑ เปาหมาย ๔.๑.๑ สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาเขมแขง็ ไดรบั การกระจายอาํ นาจ และมี ความเปนธรรมาภบิ าล ๔.๑.๒ โรงเรียนมีคุณภาพ เขม แขง็ ไดรับการกระจายอาํ นาจ และบรหิ ารแบบธรรมาภิ บาล SBM ขอยา้ํ วา โรงเรียนใดท่ไี มเ ขาเกณฑ กต็ องไมเ ขา ไมใ ชวาเปนโรงเรียนใหญแ ลว จะตอ งเขา เกณฑ หมด ยกเวนมีเหตุอันควร ๔.๑.๓ มเี ครือขา ยบรหิ ารจัดการดแู ลโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ียังตอ งการความสนับสนุน (School Network Management : SNM) ๔.๒ ความสนบั สนุนจากสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ๔.๒.๑ กฎกระทรวง ๔.๒.๒ การอบรมและการพัฒนาตอเน่อื ง ในเดือนมนี าคม จะเริ่มอบรมหวั หนากลมุ ทกุ กลุม เปนพเิ ศษ เนื่องจากเรารูจ กั กันนอ ยลง ทําใหหการประสานงานมีปญ หา การจดั อบรมจะเปน การฟน ฟู การเปน เครือขา ยทาํ งานกนั ตอไปดว ย ๔.๒.๓ งบประมาณสนบั สนุนสาํ หรบั เครือขายโรงเรียน ๕. นโยบายท่ี ๕ การสง เสริมการมสี วนรวม ๕.๑ เปาหมาย ๕.๑.๑ ความเขม แขง็ และธรรมาภบิ าลของคณะกรรมการสถานศึกษาและองค คณะบุคคลในพื้นที่ มรี ายงานการทํางานของสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาบางเขต เมอื่ เดอื นท่ีแลว ยังพูดเร่อื ง เดมิ คือ นโยบาย ๕ แบบ ท้งั ๆท่เี พ่งิ ประชมุ กันไป แตกลบั ไปแลวยงั พูดเหมือนเดิม จงึ คิดวาจะเชญิ ประธาน กรรมการเขตพื้นทกี่ ารศึกษาไปรวมประชมุ กับคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เพ่อื พูดใหตรงกัน ๕.๑.๒ การเขมแขง็ ของสภาและกรรมการนกั เรียน เปนเรอื่ งท่รี ฐั มนตรีวาการกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารช่นื ชมมาก และไดส งั่ การใหส าํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาไปดาํ เนินการแบบนีบ้ า ง แตก ็ มเี รอื่ งหนกั ใจ คอื มีการใชเ ดก็ เปน เคร่อื งมอื ขบั ไลผอู าํ นวยการโรงเรียน ขอใหช วยปรามเรอ่ื งน้ี ขอยกตวั อยาง วันหนึ่งไดเชญิ นกั เรยี นโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยมาคุย พบวา เปนเดก็ ฉลาด แตกาวราว ซึง่ ในอดีตนัน้ เดก็ สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั จะมคี วามสภุ าพ จงึ ไดบอกไปวา เขาพดู ดีแลว แตค วรเปลย่ี นวิธกี ารพูดเสยี ใหม สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 279  คมู อื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา ยกตัวอยางเร่ืองน้ี เพ่ือใหผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาตอ งไปใกลช ดิ เดก็ เหลานี้ และใหเ ขาทํา ประโยชนใหมาก อาจจะเขาไปดูแลดว ยตนเอง หรือหาคนทนั เกม มิฉะนน้ั จะมีคนฉวยโอกาสใชเ ขาในทาง ทีผ่ ิด ๕.๑.๓ การมีสว นรว มของเครอื ขา ยผูปกครอง ๕.๑.๔ องคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน ฝากทาํ ความเขา ใจวา ปนอี้ งคกรปกครอง สว นทองถิน่ ไดเ งิน ๒ พันลา นเพ่อื รองรบั โรงเรยี นทีจ่ ะถายโอนไป ดงั นน้ั ถามคี นอยากไป กใ็ หไป ใคร ตองการขอยายไปลงตาํ แหนงโรงเรยี นท่ีขอทโี่ อนไป ก็ใหไ ปเลย เพ่อื บรรจคุ นใหมไ ด ๕.๒ ความสนบั สนุนจากสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๕.๒.๑ นโยบายท่ีชดั เจน ๕.๒.๒ การประสานหนว ยงานท่เี กี่ยวขอ ง ๕.๒.๓ งปม. สนบั สนนุ การพัฒนา และการจดั กจิ กรรม ๖. นโยบายท่ี ๖ การพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจ จงั หวัดชายแดนภาคใต ๖.๑ เปาหมาย ๖.๑.๑ พัฒนาการศกึ ษาใหเหมาะสมกบั สภาพพื้นที่ ๖.๑.๒ สงเสริมกิจกรรมเรียนรเู พ่อื ความสมานฉนั ท ๖.๑.๓ สง เสริมความสมั พันธกบั ชมุ ชน แมจะเปน เรื่องภาคใต แตใ นบางพืน้ ท่ีถา ปลอย กอ็ าจเปนเชนน้ีได เชน เชยี งราย เชยี งใหม แมฮองสอน อยาปลอยใหเ รยี นโดยเราไมร ูเร่ือง อาจเปนอยางทางใตก ็ได กรณีสามจังหวัดชายแดนภาคใต พบวาการทพี่ ้นื ทอ่ี ืน่ เขา ไปชว ยนั้น มีประโยชนม ากตอ ความรสู ึกของเขา เชนการไปสงเด็กเขาเรยี นท่โี รงเรยี นสตรีวิทยา เดก็ ดีใจมาก เดก็ ทงั้ โรงเรียนออกมาปรบ มือตอนรบั เขารสู กึ อบอนุ มาก ทั้งๆท่ไี มเคยสนิทสนมกันมากอน ครอู าจารยดูแลใกลช ิด เกิดสายสมั พันธท ีม่ ี คา มาก ซงึ่ มีการจบั คูโรงเรียนพ่ีโรงเรยี นนองเชน นห้ี ลายแหง เปนเรอ่ื งท่ีเขาตนื่ เตนมากทีไ่ ดพบหนา คจู าก จังหวดั อนื่ ๆ หรือเพยี งการเขยี นจดหมายถงึ กเ็ ปน ความช่นื ใจ จงึ ขอใหจ ับคจู ากจิตใจดวย เพือ่ เขารสู กึ วา เปน สว นหนึง่ ของประเทศไทย สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 280  คูม ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา หลกั การ แนวคิดและทฤษฎที างการบรหิ ารการศึกษา 1. ความหมายความสําคัญของการบรหิ าร การบริหาร หมายถึง ศลิ ปะในการทําใหส่งิ ตา งๆ ไดรบั การกระทาํ จนเปนผลสาํ เรจ็ กลาวคอื ผูบรหิ าร ไมใชเปน ผปู ฏิบัติ แตเ ปนผใู ชศลิ ปะทาํ ใหผปู ฏบิ ัตทิ าํ งานจนสําเรจ็ ตามจุดมงุ หมายทผี่ บู ริหารตดั สนิ ใจเลือก ไว การบรหิ าร คือ กระบวนการทาํ งานรวมกับผูอ ื่นเพ่ือใหเ กิดผลสมั ฤทธิต์ ามเปา หมายอยางมีประสิทธิ ภาพ การบริหาร คอื การทํางานของคณะบุคคลตง้ั แต 2 คนขึ้นไป ทรี่ วมปฏิบัตกิ ารใหบ รรลุเปา หมายรวม กนั การบริหาร เปน กระบวนการทางสงั คมทส่ี ามารถมองเห็นได 3 ทาง คอื ทางโครงสราง เปน ความ สมั พันธร ะหวางผูบงั คับบญั ชาและผใู ตบงั คับบญั ชา ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอนของสายการบังคบั บัญชาทางหนาท่ี เปน ข้ันตอนของหนวยงานที่ระบุหนาที่ บทบาท ความรบั ผิดชอบและสิ่งอาํ นวยความสะดวกตางๆ เพื่อให สาํ เรจ็ เปา หมาย ทางปฏบิ ัติเปนกระบวนการท่ีบคุ คลและบคุ คลตอ งการรว มทําปฏิกริ ยิ าซง่ึ กันและกัน 2. ลักษณะเดน ของการบริหาร ลกั ษณะเดนทเ่ี ปนสากลของการบรหิ าร คอื การบรหิ ารตองมีวัตถุประสงคห รือเปา หมาย ตองอาศัย ปจจยั บคุ คลเปนองคประกอบสาํ คญั ตอ งใชทรพั ยากรบริหารเปนองคป ระกอบพื้นฐาน ตองมีลักษณะการ ดาํ เนินการเปน กระบวนการทางสงั คม ตอ งเปน การดาํ เนนิ การรวมกันระหวา งกลมุ บุคคล 2 คนขึ้นไป ตอ ง อาศัยรวมมือรว มใจเพื่อใหภารกจิ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค เปน การรว มมอื ดําเนนิ การอยา งมเี หตุผล มีลกั ษณะเปน การตรวจสอบผลการปฏิบัติงานกับวัตถปุ ระสงคท่ีกาํ หนดไว การบรหิ ารไมม ตี วั ตน แตมอี ิทธิพลตอ ความ เปน อยูของมนษุ ย 3. การบริหารเปนทง้ั ศาสตรและศลิ ป การบริหารเปน สาขาวิชาทมี่ กี ารจดั การระเบียบอยางเปน ระบบ คือ มีหลักเกณฑและทฤษฎที พ่ี ึงเช่อื ถือ ได อนั เกิดจาการคน ควา เชงิ วิทยาศาสตร เพ่อื ประโยชนใ นการบรหิ าร โดยลักษณะนีก้ ารบริหารจึงเปน ศาสตร (Science) เปนศาสตรส งั คม ซ่งึ อยูกลุมเดยี วกบั วชิ าจติ วทิ ยา สังคมวิทยา และรฐั ศาสตร แตถ า พจิ ารณาการบริหารในลกั ษณะของการปฏิบตั ทิ ่ตี อ งอาศยั ความรู ความสามารถ ประสบการณ และทกั ษะของผบู ริหารแตละคน ท่จี ะทํางานใหบ รรลุเปา หมาย ซง่ึ เปน การประยุกตเอาความรู หลกั การและ ทฤษฎีไปรบั ใชในการปฏบิ ตั งิ านเพ่อื ใหเหมาะสมกบั สถานการณ และสิ่งแวดลอม การบริหารกจ็ ะมลี กั ษณะ เปนศลิ ป (Arts) ปจ จยั การบริหาร 4. ปจจัยพืน้ ฐานทางการบรหิ าร ปจจยั พ้นื ฐานทางการบริหารมี 4 อยาง ทเ่ี รียกวา 4 M ไดแ ก คน (Man) เงิน (Money) วสั ดสุ ิ่ง ของ(Materials) การจดั การ (Management) สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 281  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 5. ขอ จาํ กดั ทางการบรหิ าร ไดแก สถานภาพทางภูมิศาสตร ประชากร ทรพั ยากร ลักษณะนิสยั และความสามารถของคนในชาติ ความเชือ่ ถือและความศรัทธา ขนบธรรรมเนียมและประเพณี คา นยิ มและอดุ มการณท างสงั คม 6. ทฤษฎที างการบรหิ าร ทฤษฎี หมายถงึ แนวความคดิ หรือความเชอ่ื ท่ีเกิดข้นึ อยางมหี ลกั เกณฑ มกี ารทดสอบและการสังเกต จนเปนทแ่ี นใ จ ทฤษฎเี ปน เซทของมโนทัศนท่ีเชอ่ื มโยงซ่งึ กันและกัน เปนขอสรปุ อยา งกวางท่พี รรณนาและ อธิบายพฤติกรรมการบรหิ ารองคก รการทางศึกษาอยางเปนระบบ ถา ทฤษฎีไดรับการพิสจู นบ อ ยๆ กจ็ ะกลาย เปนกฎเกณฑ ทฤษฎีเปนแนวความคิดที่มเี หตุผลและสามารถนําไปประยุกต และปฏิบตั ไิ ด ทฤษฎีมบี ทบาท ในการใหคําอธบิ ายเกย่ี วกบั ปรากฏทัว่ ไปและช้แี นะการวจิ ยั ประโยชนของทฤษฎี ทาํ ใหเ กิดความรู ความคิดใหมๆ เกดิ ความกาวหนาทางวิทยาการ คอื ถามีทฤษฎี ก็มกี ารพิสจู นค น ควา เพื่อทดสอบหรอื พสิ ูจนทฤษฎอี ่ืน สามารถใชประกอบการทาํ นายเหตุการณ พฤตกิ รรม และใชแ กไ ขปญ หาได ทฤษฎจี ะชว ยขยายประสทิ ธภิ าพของการทํางาน กลาวคอื ผูบริหารทร่ี ทู ฤษฎจี ะมีทาง เลอื ก และเลือกทางที่เหมาะสมได ทฤษฎเี ปน หลักยึดในการปฏิบัติ ดงั น้ัน ผูทท่ี าํ งานแนวคดิ หรือทฤษฎกี ็จะ เกิดความม่นั ใจในการทาํ งานมากกวาทําไปอยา งเลือ่ นลอย ทฤษฎจี ะชวยช้ีแนะนําการปฏบิ ตั ิ 7. ความสมั พนั ธร ะหวางทฤษฎีกับการปฏบิ ตั ิ ในการบรหิ ารการศึกษาความสัมพันธระหวางทฤษฎีและปฏิบัติ ยงั ไมเปนที่ยอมรับกนั เทา ใดนกั ถึงแม วาทฤษฎจี ะเปนตวั กําหนดกรอบสําหรับผูปฏบิ ตั ิ และเปน ตัวกําหนดความรเู พ่อื ชว ยใหก ารตดั สนิ ใจกระทาํ ไปอยา งมเี หตุผลและสามารถปฏบิ ตั ไิ ดจริงกต็ าม การปฏบิ ตั ทิ ่ีอยูบนพื้นฐานของวธิ ีการไดไ ตรต รองแลวเทา น้นั จึงจะเปน การปฏบิ ตั ิที่คลายคลงึ กับทฤษฎีและวิจยั ไมใชเปนการปฏิบตั ทิ เ่ี กิดจากการหย่ังรอู คติ ความ ศรทั ธาหรอื อํานาจหนาท่ี นักทฤษฎีและนกั วจิ ัยจะใชว ธิ กี ารเชงิ วิจัย จะใชวิธีการเชงิ วทิ ยาศาสตรท่เี ขมงวด กวา นักปฏบิ ัติ เพื่อความมีเหตผุ ล สวนนักปฏบิ ัติจะถูกบงั คบั โดยตําแหนง ความรับผิดชอบและอํานาจหนาท่ี ถึงแมจ ะไมใชวิธีการเชงิ วทิ ยาศาสตรค รบทุกขนั้ ตอน แตก็ยงั ถกู บังคับใหปรบั วธิ ีการใหเ หมาะสม โดยมกี าร ยดื หยุนไดมากข้นึ ทฤษฎจี ะเปน ตวั กาํ หนดทศิ ทางสําหรับการวจิ ยั และการชแ้ี นะทม่ี ีเหตุผลตอการปฏบิ ัติ ทฤษฎีจะถกู ทดสอบขัดเกลาโดยการวิจัย เมือ่ ทฤษฎผี า นการวิจยั แลว จึงนํามาประยกุ ตใชก ับการปฏบิ ัติ ไมมกี ารปฎบิ ตั ิ ใดๆ ทไ่ี มไดอ ยูบนพ้นื ฐานของทฤษฎี ในเม่อื ทฤษฎอี ยูบนพนื้ ฐานของตรรกวิทยา มเี หตุผลแมนยําถูกตอ ง แลว การปฏิบตั กิ ็จะมเี หตุผลและถกู ตองเชนเดียวกนั การปฏิบัตจิ ึงสรา งมาใหเ ห็นทฤษฎี เปนเหตผุ ลท่วี า ทาํ ไมตอ งศึกษาทฤษฎี การศึกษาทฤษฎกี เ็ พราะจะใหก ารปฏบิ ัติไดผลจรงิ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 282  คมู อื เตรียมสอบผูบริหารสถานศกึ ษา 8. หลกั การบรหิ ารท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ Edgar L Morphet กลา วถึงการบรหิ ารทมี่ ีประสทิ ธิภาพ คือ การบรหิ ารที่มผี บู รหิ ารเพียงคนเดียวใน องคการ (Division Of Labor) มกี ารกําหนดมาตรฐานทํางานทชี่ ดั เจน (Standardization) มเี อกภาพในการ บังคบั บัญชา (Unity of command) มีการกระจายอํานาจและความรบั ผดิ ชอบใหแกผ ูร วมงาน (Delegation of Authority and Responsibility) มีการแบง ฝายงานและบคุ ลากรผูรบั ผดิ ชอบใหแ กผ รู ว มงานใหเ ฉพาะเจาะจง ขึ้น (Division of Labor) มีการกําหนดมาตรฐานการทํางานที่ชดั เจน (Span of control) มีการมอบหมายการ ควบคมุ ดแู ลท่เี หมาะสม (Stability) เปด โอกาสใหม กี ารเปล่ยี นแปลงใหมๆ ในองคก ารได (Flexibility) สามารถทําใหค นในองคการเกิดความรูส กึ อบอนุ และปลอดภยั (Security) มีการยอมรับนโยบายสว นบุคคล ที่มีความสามารถ (Personnel Policy) มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านท้ังสว นบคุ คลและองคก าร (Evaluation) สาเหตุที่ทาํ ใหบ รหิ ารลมเหลว ผบู ริหารบางคนประสบความลม เหลวในการบริหาร หรือหากไมลมเหลว ก็ไมป ระสบความสาํ เร็จเทาทค่ี วร ความลมเหลวยอมตอ งมีสาเหตุ ซงึ่ อาจแยกไดดงั น้ี ความลม เหลวทางดา นความรู (Knowledge Failures) ความลม เหลวในเรื่องตางๆ ท้ังทางดานนโยบาย และวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ ความรทู างเนอ้ื หาวชิ าที่จําเปน ตองศกึ ษาไมเขาใจวัตถปุ ระสงคของการศกึ ษาตลอดจนขาด ความรทู างดานกฏหมาย ระเบียบกฎเกณฑต า งๆ ความลมเหลวทางดา นสวนบคุ คล (Personality Failures) ความลมเหลวทางดา นบุคลิกภาพสวนบุคคล มีความสาํ คัญพอๆ กับความลม เหลวทางดานความรู ความลม เหลวทางดา นบุคลกิ ภาพมีสาเหตมุ าจากขาด ความเชื่อมน่ั ในตนเอง ทาํ ใหไมม ีความสามารถในการตดั สินใจ เพราะเกิดความกลัววา จะเกิดความผิดพลาด ผูบ รหิ ารบางคนขาดความสามารถในการทํางานรว มกับผูอ่ืน ไมกระจายความรบั ผิดชอบใหกับผูรว มงานและ ไมสามารถวเิ คราะหแ ละประเมนิ ผูร ว มงานได 9. ปญหาของผูบริหาร ปญหาตางๆ ท่ีเกดิ ข้ึนกบั บุคคลในองคการไมเ พียงแตจ ะเปนผลตอ บุคคลขางเคียงและชุมชน ปญ หา เหลาน้ีไดแ ก ปญ หาเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิที่เปนแบบอยางของบุคลในองคก าร (Typical Problem) ปญ หาเกีย่ ว กบั ความสัมพันธระหวา งผูร วมงานในองคการ (The Problem of interrelationship) ปญหาเกย่ี วกบั การตดิ ตอ ส่อื สาร ท้ังดานเอกสารและคาํ พูดของบคุ คลในองคก าร (The Problem of communication) ปญหาดา นการ เปลี่ยนแปลงตางๆ (The Problem of Change) 10. บทบาทและสมรรถภาพของผูบรหิ าร (Spepgen J . Knezevich แหง USC. 1984 ) ไดแ ก เปนผูกาํ หนดทิศทางการบรหิ าร (Direction Setter) เชน รูเทคนคิ ตา งๆ ของการบริหาร PPBS .MBO QCC เปนตน มีความสามารถกระตนุ คน (Leader Catalyst) ตอ งเปนนักวางแผน (Planner) ตองเปนผูม ีความ สามารถในการตดั สนิ ใจ (Decision Maker) ตองมีความสามารถในการจดั องคการ (Organizer) ตอ งเปน ผูกอ ใหเ กดิ ความเปลย่ี นแปลง (Change Manager) ตองเปนผูใหค วามรว มมือ (Coordinator) ตองเปน ผตู ดิ ตอ ส่ือ สารทีด่ (ี Communication) ตอ งเปน ผูแกป ญหาขดั แยงในองคการได (Conflict Manager) ตอ งสามารถบริหาร ปญหาตา งๆ ได (Problem Manager) ตองรูจักวิเคราะหและจดั ระบบงาน (System Manager) ตองมคี วาม สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 283  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา สามารถในดา นวชิ าการท้งั การเรียนและการสอน (Instructional Manager) ตอ งมีความสามรถในการบริหาร บคุ คล (Personnel Manager) ตองมีความสามารถในการบริหารทรัพยากร (Resource Manager) ตองมีความ สามารถในการประเมินผลงาน (Appraiser) ตอ งมีความสามารถในการประชาสัมพันธ (Public Relater) ตอง สามารถเปนผนู าํ ในสังคมได (Ceremonial Head) 11. ทฤษฎที างการบรหิ ารตางๆ 1) การบริหารเชงิ สถานการณ (Situational Management Theory) หรอื ทฤษฎอี บุ ตั กิ ารณ (Contingency Theory ) การบรหิ ารในยุคนคี้ อนขา งเปนปจจบุ นั ปรัชญาของการบริหารเรมิ่ เปล่ียนแปลงไป จากการมองการบรหิ ารในเชงิ ปรชั ญา ไปสกู ารมองการบรหิ ารในเชิงสภาพขอเทจ็ จรงิ เน่อื งจากในปจ จุบัน มนษุ ยตองประสบกบั ปญ หาอยเู สมอ แนวความคิด เน่อื งจากปจ จบุ ันมนษุ ยตองประสบกับปญหาอยูเสมอ การเลือกทางออกทจี่ ะไปสกู าร แกปญ หาทางการบรหิ ารถอื วา ไมมวี ิธใี ดทด่ี ที ีส่ ุด There is one best way สถานการณตา งหากท่จี ะเปนตวั กาํ หนดวาควรจะใชก ารบริหารแบบใด การบรหิ ารในยคุ นมี้ งุ เนน ความสัมพันธร ะหวางองคก ารกับสภาพ แวดลอ มขององคการ และเปน สวนขยายของทฤษฎีระบบวาทุกๆ สว นจะตอ งสัมพนั ธก นั สถานการณบ าง ครั้งจะตองใชก ารตดั สนิ ใจอยางเฉียบขาด บางสถานการณต องอาศัยการมีสวนรว มในการตัดสนิ ใจ บางครงั้ กต็ องคํานงึ ถึงหลักมนุษยและแรงจงู ใจ บางคร้งั ก็ตองคาํ นึงถงึ เปา หมายหรือผลผลิตขององคกรเปนหลกั การบรหิ ารจงึ ตองอาศยั สถานการณเ ปน ตัวกําหนดในการตดั สินใจ หลักการของการบริหาร โดยสถานการณถือวา การบรหิ ารจะดีหรอื ไมข ึ้นอยูก บั สถานการณ ผูบริหาร จะตองพยายามวเิ คราะหส ถานการณใ หด ีทส่ี ุด เปน การผสมผสานแนวคดิ ระหวา งระบบปด และระบบเปด และยอมรบั หลักการของทฤษฎรี ะหวา งทุกสวนของระบบจะตองสมั พนั ธ และมผี ลกระทบซ่ึงกันและกัน สถานการณจ ะเปน ตัวกําหนดการตดั สินใจ และรูปแบบการบริหารท่เี หมาะสม คํานงึ ถงึ สิ่งแวดลอมและ ความตองการของบุคคลในหนวยงานเปนหลกั มากกวา ทจี่ ะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใชใ นการทาํ งาน โดย ใชป จจยั ทางดา นจติ วทิ ยาในการพิจารณาดวย เนนใหผูบริหารรจู ักใชก ารพจิ ารณาความแตกตางทม่ี อี ยูใ น หนวยงาน เชน ความแตกตา งระหวา งบุคคล ความแตกตางระหวา งระเบยี บกฎเกณฑ วธิ ีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกตา งระหวางความสมั พันธของบคุ คลในองคก ร ความแตกตางระหวางเปา หมายการดาํ เนนิ งานขององคก าร เปนตน นักบรหิ ารท่ีเปน ผูเสนอแนวความคิดทางการบรหิ ารน้ี คอื Fred E.Fiedler 2) ทฤษฎรี ะบบ (System Theory) การเอาแนวความคิดเชิงระบบเขา มาใชในการบริหาร กด็ ว ยเหตผุ ลที่วา ในปจจุบนั องคก รการขยายตวั สลับซับซอ นมากขน้ึ จึงเปน การยากท่พี จิ ารณาถึงพฤติกรรมขององคกรไดห มดทกุ แงท กุ มมุ นกั ทฤษฎี บริหารสมัยใหม จึงหันมาสนใจการศึกษาพฤตกิ รรมขององคการ เพราะคนเปน สวนหนง่ึ ของระบบองคก าร องคก ารเปนสว นหนึ่งของระบบสงั คม สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 284  คูมือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา ความหมาย ระบบในเชงิ บรหิ าร หมายถงึ องคป ระกอบหรือปจ จัยตา งๆ ทีม่ ีความสมั พันธกนั และมีสว น กระทบตอ ปจ จัยระหวา งกนั ในการดําเนินงานเพ่อื ใหบ รรลุวตั ถปุ ระสงคข ององคก าร องคป ระกอบพ้นื ฐานของทฤษฎรี ะบบ ไดแ ก ปจจัยการนําเขา Input กระบวนการ Process ผลผลิต Output ผลกระทบ Impact วิธีการระบบ เปนวธิ กี ารท่ใี ชหลกั ตรรกศาสตร วิทยาศาสตรอ ยางมเี หตุผล และมีความสัมพันธกันไป ตามข้ันตอนชวยใหกระบวนการทง้ั หลายดําเนนิ ไปอยา งตอ เนื่องและสามารถชวยใหก ารบรหิ ารบรรลวุ ัตถุ ประสงคไ ปดวยวิธที างวทิ ยาศาสตรอยางถกู ตอ งและไมล ําเอียง 3) ทฤษฎบี ริหารของ McGreger 3.1 ทฤษฎี X (The Traditional View of Direction and Control) ทฤษฎนี ้เี กิดขอสมมติฐานทวี่ า คน ไมอ ยากทํางาน และหลีกเลย่ี งความรับผดิ ชอบ คนไมท ะเยอทะยานและไมค ิดริเรม่ิ ชอบใหก ารส่งั คนเห็น แกตนเองมากวาองคก าร คนมกั ตอ ตา นการเปลีย่ นแปลง คนมักโง และหลอกงา ย 3.2 ทฤษฎี Y (The integration of Individual and Organization Goal) ทฤษฎขี อนเ้ี กดิ จากขอ สมมติ ฐานท่ีวา คนจะใหความรว มมือ สนบั สนนุ รบั ผดิ ชอบ ขยัน คนไมเ กียจครานและไวว างใจได คนมคี วามคิด ริเร่ิมทาํ งาน ถา ไดร ับการจงู ใจอยา งถกู ตอง คนมักจะพัฒนาวธิ กี ารทาํ งานและพัฒนาตนเองอยูเสมอ ผูบ งั คบั บัญชาจะไมควบคุมผใู ตบงั คบั บัญชาอยา งเขม งวด แตจะสง เสริมใหร จู ักควบคมุ ตนเองมากขน้ึ วิธีการบรหิ าร ตามแนวนี้ จะเปน การรวบรวมบุคคลและเปา หมายโครงการเขาไวดว ยกนั การจงู ใจตองใชวธิ ีการจงู ใจใน ระดบั สูง 3.3 ทฤษฎี Z (Z Theory) (William G. Ouchl) ศาสตราจารยแ หงมหาวิทยาลยั UXLA (Iof California t Los Angeles) ไดรวมเอาหลักการของทฤษฎี X , Y เขา ดว ยกัน แนวความคิดก็คอื องคการตองมหี ลักเกณฑท่ีควบคุมมนษุ ย แตม นุษยก ร็ กั ความเปน อสิ ระ และมีความตอ งการหนาที่ของผบู ริหารจงึ ตอ งปรับเปาหมายขององคก ารใหส อดคลองกบั เปาหมายของ บุคคลในองคก าร ทฤษฎมี อี งคประกอบที่สาํ คัญ 4 ประการ คือ การทาํ ใหปรัชญาทก่ี ําหนดไวบรรลกุ าร พฒั นาผใู ตบงั คบั บญั ชาใหทาํ งานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ การใหความไววางใจแกผ ใู ตบังคบั บัญชา การให ผใู ตบงั คบั บญั ชามีสวนรวมในการตดั สินใจ ทฤษฎีนใ้ี ชหลกั การ 3 ประการ คอื คนในองคก รตอ งซ่ือสตั ยตอกัน คนในองคก ารตอ งมคี วามเปนอัน หนึง่ อันเดยี วกัน คนในองคก ารตอ งมีความใกลชิดเปนกนั เอง 4) การบริหารแบบมีสวนรว ม ความหมาย การบริหารแบบมสี ว นรวมเปน การจูงใจใหผูรวมปฏบิ ัตงิ านในองคก ารไดม สี ว นรวมใน การตัดสินใจ ความรับผดิ ชอบ และรวมมือในการพฒั นา ปฏิบตั ดิ วยความเต็มใจ แนวความคิดพ้ืนฐาน (Basic Assumption) จากทฤษฎี การจงู ใจของ Molivation Theory เชื่อวา มนษุ ยย อมมคี วามตอ งการเหมือนๆ กันตราบใดที่ ไมสามารถตอบสนองความตอ งการไดแ ลวกจ็ ะเกิดปญหาความตอ งการอยเู ร่ือยไป แตถาความตองการไดร ับ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 285  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา การตอบสนองกจ็ ะเลิกสนใจ มนษุ ยตอบความสนองความตอ งการแตกตางกนั ทางดานปรมิ าณ ความตอ งการ ระดบั ต่ําคอ นขา งมีขอบเขตจาํ กัด แตความตอ งการระดับสูงมักจะไมมขี อบเขตจาํ กัด จากทฤษฎกี ารจงู ใจของ Harzberh (Mptovatopm Hygiene Theory) เชื่อวา ปจ จยั ทีจ่ ูงใจใหค นทํางาน คือ ความสําเรจ็ การยกยอ ง ความกาวหนา ลกั ษณะงาน ความรับผิดชอบ ความเจรญิ เตบิ โต จากการศกึ ษาจากพฤติกรรมของมนุษย ของ Aravris ไดเ ผยวา บคุ คลทมี่ ีวฒุ ิภาวะจะมีบุคลกิ ภาพท่ี ตองการเปน ของตนเอง การบริหารแบบมีสวนรว มชวยใหบุคคลไดพ ัฒนาบุคลิกภาพของตนในดา นการ ตดั สนิ ใจ และการควบคมุ การทํางาน การแสดงออก ทัศนคติ และการใชค วามสามารถท่ีจะประสบความ สําเรจ็ ได องคการตองใชค วามสามารถของพนกั งานอยางเตม็ ท่ี เพ่อื กระจายอาํ นาจในการตดั สนิ ใจ และเพ่ือ ตอบสนองตอสภาพแวดลอ มท่ีมคี วามไมแ นน อน และแตกตางกนั อยางรวดเรว็ เทคนิคการใชบรหิ ารแบบมีสว นรวม ไดแ ก การใชกลมุ งานเฉพาะกิจและคณะกรรมการ (Special Task Forces and Committee) กรรมการใหคาํ แนะนํา การใชแนวความของหมุดเชอื่ มโยง (Linking Pin) การตดิ ตอ ส่ือสารแบบประตู การระดมความคิด การฝกอบรมแบตา งๆ การบริหารโดยมีวัตถุประสงค (MBO) วิธกี ารใชก ารบรหิ ารแบบมีสวนรว มสมยั ใหม 1. ระดบั บคุ คล เปน วิธีการพจิ ารณาและปรบั ปรุงบุคคลใหไ ดดีข้นึ 3 แบบ คือ 1.1 การฝก อบรมใหม ีความรูสึกไว (Sensitivity Training) เพ่ือใหเขาใจ และยอมรบั ธรรมชาตขิ อง มนุษย ใหร จู กั ยอมรับและพฒั นาตนเองได เขาใจและยอมรับผูอ่ืนใหม ากขนึ้ ใหมีมนุษยส ัมพนั ธดขี ึ้นเพ่ือให มีความสขุ มีขวัญและกําลงั ใจดีขึ้น เพอื่ ใหม กี ารงานดขี ึ้น 1.2 การวิเคราะหการตดิ ตอ (Transactional Analysis) เปน วิธกี ารติดตอทีแ่ ลกเปลยี่ นดวยภาษาและ ไมใ ชภาษาระหวางบคุ คล Erio Berne ชใี้ หเหน็ วา การติดตอ ระหวางบุคคลมี 3 แบบ คือ แบบพอแม (Parent) ผปู กครอง ผูใ หญ (Adult) เดก็ (Child) 1.3 การนง่ั สมาธิแบบควบคมุ จติ (Transcendental Meditation) คอื การนั่งสมาธิเพอื่ ลดความเครียด และเพอื่ ความคิดสรางสรรค 2. ระดบั กลุม การรวมกลุม แบบครอบครัว (Family Grouping) การฝก อบรมเพยี งในนาม (Nominal Group Training) หมายถงึ บุคคลถกู รวมเขาเปนกลุม แตไมไ ดสื่อสารดว ยวาจา จะเปน การประชมุ พรอ มกนั ท่ีโตะ เพอ่ื แกป ญหา ตองการใชคาํ ถามทเ่ี ปน ลายลกั ษณอกั ษร สมาชกิ จะใชเ วลาเขยี นเพื่อแสดงความคิดเหน็ โดยไมพดู จากัน เทคนคิ เดลไพ (SDelphi Technique)เปนกระบวนการทผี่ ูต ดั สนิ ใจกาํ หนดกลุมท่ีปรกึ ษา และกลุมผตู อบ แลวสรา งแบบสอบถามสง ไปรษณียผตู อบมายังทมี ท่ปี รกึ ษา แลวเอามาสรปุ การตอบแบบ สอบถาม ประโยชนของการบริหารแบบมสี ว นรวม ไดแก ชวยสรา งความสามคั คี และการตอตา นจากพนกั งาน ระดับตาํ่ ชวยใหทราบถงึ ความตอ งการขององคการทั้งหมด ชว ยเพิ่มพนู ประสทิ ธิภาพการทํางานใหสงู ขนึ้ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 286  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา ลดความเฉือ่ ยชาในการทํางาน การยายงานและการหยุดงาน ชว ยลดความขัดแยง และการตอตานจาก พนักงานระดับตํา่ ชวยสรางบรรยากาศในการทาํ งาน และทําใหส ขุ ภาพจิตคนในองคก ารดขี ึ้น ชว ยเพิม่ ผล ผลิตในองคการสรางหลักประชาธปิ ไตยใหเกิดขนึ้ ในองคการ ชว ยลดคาใชจายในการบรหิ ารงาน ใช ทรัพยากรอยางประหยัดและทะนุถนอม ทําใหพนกั งานรสู ึกวาเขาเปน สว นหนง่ึ ขององคการ เปนการแบงเบา ภาระหนาทีข่ องผูบงั คบั บญั ชาในดา นการควบคมุ งานใหลดนอ ยลง และทําใหผลงานดีขึ้น 12. หลกั การ ทักษะและเทคนิคทางการบริหาร 1) การสรา งทีมงาน (Team - Building) ความนํา (Introduction) การนํางานเปนทมี มักจะพบเหน็ กันอยทู วั่ ไป เรม่ิ ตัง้ แตใ นครอบครัวหรือ หนว ยงานของเอกชน รฐั บาล รฐั วิสาหกจิ ทมี งานทีม่ ีประสิทธิภาพจะชวยใหการดาํ เนนิ งานบรรลเุ ปาหมาย ทว่ี างไว ดังนัน้ การสรา งทีมจึงเปนสิ่งท่สี มาชกิ ในทมี จะตองเรยี นรวู า ทาํ อยางไรจะทาํ งานรว มกันไดอ ยา งดี รวมท้งั นักบรหิ ารสามารถสรา งความพรอ มของการทาํ งานเปน ทีมใหเ กดิ ขนึ้ ในหนว ยงานไดอยางไร ซ่งึ ยอ ม จะทําใหเ พ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการทํางานมากขน้ึ ความหมายและความสําคญั ในการสรางทมี ทมี งาน หมายถึง กลุม คนที่ชว ยเหลือซึง่ กันและกันเพื่อให บรรลุวัตถุประสงคร ว มกนั A team may be simply defined as any group of people who mast significant by relate with each other the order to accomplish shared objectives ในเรือ่ งทีม Hall ใหข อคดิ เกย่ี วกับเรอื่ งกลมุ วา กลุม น้นั มีสว นประกอบ 2 ทาง กลุม ไดช ว ยเหลือสมาชกิ กนั เองในการแกปญหาตา งๆ สมาชิกเองกช็ วย เหลือกันและกัน ในการสรา งและรกั ษาไวซ่งึ โครงสรางขององคการ Edgar Schrin ใหค วามหมายของกลุม หรือกลมุ ไววา จํานวนใดๆ ของคนท่ี เกย่ี วขอ งกบั บุคคลอน่ื มคี วามตระหนักทางดา นจติ ใจถึงบุคคลอ่ืน รบั รู เกีย่ วกับพวกเขาวาเปน กลุมๆ หนึง่ อาจกลา วโดยสรุปวา ทมี คอื กลมุ ของบคุ คลทีม่ ีการเก่ยี วขอ งซ่ึงกนั และกัน เพอื่ ใหบรรลเุ ปาหมายท่ีแน นอน การสรา งทมี งานในหนวยงาน หมายถงึ การปรับความสมั พันธต า งๆ ในการทํางานใหด ขี ึ้น ซึ่งความ สัมพันธเ หลานจี้ ะมผี ลโดยตรงตอ การทาํ งานใหส ําเรจ็ ตามเปาหมาย ความสําคัญในการสรางทมี มีวตั ถุ ประสงคเ พอื่ สรา งความไววางใจในหมูสมาชิกของทมี คนเราจะทํางานรวมกันไดด ขี ้นึ เมอื่ มกี ารเปดเผยและ จริงใจตอการกันโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีปญหาหรอื อปุ สรรคทจี่ ะตองแกไ ขรวมกนั การทาํ งานเปน ทีมมี ประสิทธภิ าพมากข้นึ เมอ่ื สมาชกิ ไดชว ยกันเสรมิ สรางทกั ษะความเช่ียวชาญใหเ พิม่ พูนมากขนึ้ ซ่งึ เปน การใช ทรพั ยากรบุคคลทีม่ ีอยูใ นทีมอยางเตม็ ท่ี ประสิทธภิ าพของการทํางานจะลดต่ําลง และความตึงเครียดจะเพมิ่ สูงข้ึน หากหลกี เล่ียงการปอนขอมูลยอนกลับ และวิพากษว ิจารณซ ง่ึ กนั และกนั อยา งสรางสรรค ดงั น้นั การ แสดงความคิดเหน็ ในลักษณะขอมลู ยอ นกลบั จงึ เปนส่งิ จําเปนและเปน ประโยชนอยางย่งิ ในการพัฒนาทีม งาน การสนับสนุนการเรยี นรทู ีจ่ ะรับฟง ความคดิ เห็นและขอ มลู ขา วสารของผอู น่ื อยา งตงั้ ใจ และใหเ กยี รติ ซงึ่ กนั และกัน เปน การพัฒนาทักษะในการแกป ญหารว มกนั เปน การลดความขดั แยง ระหวางบุคคล เนื่องจาก สมาชิกทมี ไดเ รยี นรถู ึงทักษะความสมั พนั ธระหวา งบุคคลมากขึน้ มคี วามพรอ มทจี่ ะปฏิบตั ิงานรว มกนั มากข้ึน สง เสรมิ ความคดิ ริเริ่มสรางสรรคใ นหมูส มาชกิ ทีม สอบครดู อทคอม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook