Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-06 14:51:28

Description: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา
#ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา
#คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Keywords: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา,ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา,คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

337  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา ความแตกตาง้บานสอบค ูร www.sobkroo.comภาวะผูน าํ การแลกเปลย่ี นภาวะผนู ําการเปลยี่ นแปลง คุณลักษณะ - มงุ กระบวนการแลกเปลีย่ นความคิด - มงุ ความสัมพนั ธ ความคิดเปน แบบ เปน แบบคอยพฒั นาอยูภ ายใตส ภาพการ เปลยี่ นโดยสน้ิ เชิงเกิดจากวกิ ฤตการณ แรงจงู ใจ ท่เี ปนการตอบสนอง (Reactive) เปน ลกั ษณะการรเิ ร่ิม (Proactive) อาํ นาจ - รางวัล (ภายนอก) - การเห็นคณุ คา (ภายใน) จดุ เนน - ประเพณปี ฎบิ ัติ - ความมีบุคลกิ พิเศษ ผูน ํา - เนนผลที่ได - วสิ ยั ทัศน - เนน ในกจิ กรรม ช้บี ทบาทชัดเจน - เปนท่ปี รกึ ษา ผฝู ก สอนและครู มี ผใู ตบงั คับบัญชา ตระหนักในความตอ งการตองการจดั การกระจายอาํ นาจใหแตละบคุ คล ให ผลท่ไี ด การแบบวางเฉย อํานาจตดั สนิ ใจ เขาถงึ ไดงา ย เปน ตัว อยา งของคณุ ธรรม - แสวงหาความมนั่ คง เนนความ - ละเวนประโยชนส ว นตน เพื่อองค ตองการของตนเอง การและทํามากกวาที่คาดหวัง - การทํางานทคี่ าดหวัง - กาวกระโดดในการทํางาน นอกจากนน้ั Bass ยงั ไดก ลา วถึงภาวะผูนาํ การเปล่ียนแปลงวา เปนสวนขยายของภาวะ ผนู ําการแลกเปล่ียน เนอื่ งจากภาวะผูนาํ การแลกเปลีย่ นจะเนนเฉพาะเรอื่ ง การจดั การหรอื การแลกเปล่ียน ซ่ึงเกดิ ขน้ึ ระหวา งผนู ํา ผรู ว มงานและผูตาม ซึ่งการแลกเปล่ยี นน้ีจะอยบู นพ้นื ฐานทีผ่ นู าํ ถกเถยี งพูดคุยกนั วามีความตองการอะไร มีการระบเุ ง่ือนไขและรางวัลท่ีผูตามและผรู ว มงานจะไดร บั ถา พวกเขาทําในสงิ่ ท่ี ตองการสําเร็จ แตภาวะผูนาํ การเปลีย่ นแปลงจะปฏบิ ัตติ อ ผูร ว มงานและผูตามมากกวาการกําหนดใหมีการ แลกเปลี่ยนหรือขอตกลงธรรมดา พวกเขาจะมกี ารปฏิบตั ใิ นวิถที างทจี่ ะนําไปสูการบรรลถุ ึงผลงานที่สูงข้นึ โดยการปฏิบัติในองคประกอบใดองคป ระกอบหน่ึงหรือมากกวา ท่เี กีย่ วกบั การมีอิทธิพลอยางมอี ดุ มการณ การสรา งแรงบนั ดาลใจ การกระตุน ทางปญญาและการคาํ นึงถงึ ความเปนปจ เจกบคุ คล จากคํานิยามของภาวะผูนําการเปลีย่ นแปลงอาจสรุปไดว า ภาวะผนู ําการเปลี่ยนแปลงเปน การใหความสาํ คัญของผูรวมงานและผูต ามใหมองเหน็ งานในแงมุมใหม โดยมีการสรา งแรงบนั ดาลใจ กระตนุ ทางปญ ญา หรือการคาํ นึงถงึ ความเปน ปจเจกบคุ คล โดยผูนําจะยกระดบั วุฒิภาวะและอุดมการณ ของผตู าม กระตุน ช้ีนําและมีสว นรว มในการพัฒนาความสามารถของผูตามและผูรว มงาน ไปสูระดบั ความ สามารถท่สี งู ขึน้ มศี กั ยภาพมากข้นึ นาํ ไปสูการบรรลถุ งึ ผลงานที่สูงข้ึน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 338  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 3. ผูบริหารดา นการศึกษาผนู ําการเปล่ียนแปลงเพื่อรองรบั การกระจายอาํ นาจ กระแสแหง การกระจายอาํ นาจทัง้ ดานการปกครอง การบริหารและการจดั การในดานตา ง ๆ นําไปสกู ารผลกั ดันใหเกดิ การเปล่ยี นแปลงขึน้ ในองคก รระดับตา ง ๆ รวมถึงองคก รทางดา นการศกึ ษา ซง่ึ ได มคี วามพยายามทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงการบริหารการศกึ ษาจากรวมอาํ นาจเขาสสู วนกลางใหก ระจายอาํ นาจไป สหู นวยปฏบิ ัติ ดังจะเหน็ ไดจากแผนการศึกษาแหง ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การกระจายอํานาจการจัดการศกึ ษา หมายถงึ การท่อี าํ นาจการตัดสนิ ใจในการดําเนนิ งาน ตา ง ๆ กระจายจากสว นกลางไปยงั หนว ยงานรองลงไปมี 2 ลกั ษณะ คอื แบบมอบอํานาจ หมายถึง การ มอบอํานาจการตัดสินใจบางสวนใหแ กหนวยงานรองไปตัดสนิ ใจและการกระจายอาํ นาจแบบเบ็ดเสร็จ คอื หนวยงานยอยมีความเบด็ เสร็จในการตดั สนิ ใจในการบริหารและรบั ผิดชอบตอผล การปฏบิ ตั ิภารกจิ ของตน เอง มีอิสระในเชิงบริหารและรับผดิ ชอบตอผลการปฏบิ ตั ิภารกิจของตนเอง มีอสิ ระในเชงิ บริหารและการ จัดการ สว นกลางควบคุมเชิงกฎหมายหรือเชงิ นโยบายเทา น้ัน ในทางการศึกษาการกระจายอํานาจมีลกั ษณะ การมอบอํานาจและความรับผิดชอบในการบริหารและการจัดการจากสว นกลางไปยงั สถานศึกษา เพอื่ ให สามารถตัดสนิ ใจในระดบั ของหนวยปฏิบตั ิ ไดแก เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา องคกรปกครองสว นทองถิน่ และ สถานศึกษา นําไปสกู ารพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาโดยรวม ตามเจตนารมณด ังกลา ว ทกี่ ําหนดใหสถานศกึ ษาเปน นติ ิบุคคลเพ่ือใหมีความเปน อิสระ คลองตัว สามารถบรหิ ารจัดการศึกษาในสถานศึกษาไดสะดวก รวดเร็ว ถูกตอ ง มปี ระสิทธิภาพ ดังนัน้ การบรหิ ารการศกึ ษาจะมีลักษณะแตกตา งกันไปจากเดมิ โดยสถานศกึ ษาจะมอี าํ นาจในการบรหิ ารและ จัดการศึกษาดวยตนเองมากข้นึ ทําใหผ ูบ รหิ ารการศกึ ษาและผบู ริหารสถานศึกษาตอ งปรับเปล่ียนบทบาท หนา ที่เพื่อบริหารจัดการศกึ ษาในรปู แบบใหม ทีน่ าํ แนวคิดหลกั ของการบรหิ ารโดยใชส ถานศึกษาเปน ฐาน (SBM) ทเี่ นนในเรอ่ื งของการกระจายอาํ นาจจากสวนกลางและเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาไปยังสถานศกึ ษาตาม พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พุทธศกั ราช 2542 การทําใหสถานศกึ ษามีอิสระ ในการตัดสนิ ใจมากขนึ้ ภายใตก ารบรหิ ารในรปู ของคณะบุคคล คอื คณะกรรมการโรงเรียนหรอื คณะ กรรมการสถานศึกษา ใชว ิธกี ารบริหารแบบมสี ว นรว ม (Participation) ของผูมีสว นไดส วนเสยี ในการ กําหนดนโยบายและแผน การตัดสนิ ใจ การกาํ หนดหลักสูตรทอ งถน่ิ การรว มคิดรว มทํา ผูนําตอ งเนน การสนับสนนุ และอาํ นวยความสะดวก เพ่ือใหการบรหิ ารและการจดั การศึกษาเปนไปตามมาตรฐานการ ศึกษาแหงชาติ และสามารถบรหิ ารคุณภาพใหสงู ยง่ิ ขนึ้ ภายใตบ รบิ ทของการเปลย่ี นแปลงดงั กลาว การปรบั ตัวใหอ งคการและบุคลากรมีความ พรอมรบั การเปลย่ี นแปลงเปน สง่ิ สําคญั การพยายามพัฒนาองคก ารใหเปนองคการสมยั ใหมท ีม่ ุงเนน ความ สําคัญและถูกขบั เคลอ่ื นโดยยุทธศาสตร (Strategy-focused Organization) ที่ดี มกี ารวเิ คราะหอ ยา งเปน ระบบ แตก ารขับเคลอื่ นยุทธศาสตรสกู ารปฏิบตั ิใหเ กดิ ผลนน้ั เปน เรือ่ งทีม่ ีความยากลาํ บากมากและจาํ เปน ตองอาศัย “การบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง” อยางเปนระบบ ในการบริหารการเปลีย่ นแปลงใหบรรลุผล สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 339  คูมือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา สาํ เรจ็ นั้น แตละหนว ยงานจะตองดําเนนิ กิจกรรมท่ีมีความสมั พันธเ ชือ่ มโยงกนั อยางเปน ระบบ ทง้ั ในระดับ องคการและระดับตวั บคุ คล ซง่ึ ในระดบั บุคคลการสรางภาวะผูน าํ การเปล่ียนแปลง ใหมภี าวะผูนําทีม่ ี ประสิทธภิ าพสามารถกําหนดทศิ ทางการเปลย่ี นแปลงไดอยางชดั เจนเปนสิ่งสําคญั มาก ในการสรางภาวะผูนําการเปลีย่ นแปลงแบสและอโวลิโอ ( Bass & Avolio) ไดเ สนอโมเดล ภาวะผนู าํ แบบเต็มรูปแบบโดยใชผลการวิเคราะหองคป ระกอบภาวะผนู าํ ตามรูปแบบภาวะผูนําที่เขาเคยเสนอ ไวใ นป ค.ศ. 1985 โมเดลน้ีจะประกอบดวยภาวะผนู าํ 3 แบบใหญ คอื ภาวะผนู าํ การเปล่ียนแปลง (Transformational leadership) ภาวะผูน ําการแลกเปลยี่ น (Transactional leadership) และภาวะผนู ําแบบ ปลอยตามสบาย (Laissez-faire leadership) หรือพฤตกิ รรมความไมม ภี าวะผูนํา (Non-leadership behavior) ดงั รายละเอยี ดตอ ไปน้ี 1. ภาวะผูนาํ การเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership) เปน กระบวนการท่ีผนู าํ มีอทิ ธพิ ลตอ ผูรวมงานและผตู าม โดยเปล่ยี นแปลงความพยายามของผูรวมงานและผตู ามใหส งู ขึน้ กวา ความ พยายามท่ีคาดหวงั พัฒนาความสามารถของผูรว มงานและผูตามไปสูระดับทีส่ ูงขน้ึ และศกั ยภาพมากขึน้ ทําใหเ กดิ การตระหนกั รใู นภารกจิ และวิสัยทศั นข องทีมและขององคการ จูงใจใหผ ูร วมงานและผตู ามมอง ใหไกลกวาความสนใจของพวกเขาไปสปู ระโยชนของกลมุ องคก ารหรือสังคม ซงึ่ กระบวนการท่ีผูนาํ มอี ทิ ธิ พลตอผรู ว มงานหรอื ผูต ามนี้จะกระทาํ โดยผา นองคประกอบพฤตกิ รรมเฉพาะ 4 ประการ หรอื ทเี่ รียกวา ‘4 l’s” คือ 1.1 การมอี ิทธพิ ลอยา งมีอุดมการณ (Idealized influence of Charisma Leadership : ll or CL ) หมายถึง การท่ผี ูนาํ ประพฤตติ ัวเปนแบบอยา งหรือเปนโมเดลสาํ หรบั ผูต าม ผนู ําจะเปน ทีย่ กยอ ง เคารพ นบั ถอื ศรัทธา ไวว างใจ และทําใหผูตามเกดิ ความภาคภูมิใจเมือ่ ไดร วมงานกนั ผูตามจะพยายามประพฤติ ปฏบิ ัตเิ หมือนกบั ผูน ําและตองการเลียนแบบผูนาํ ของเขา สิง่ ทีผ่ ูน าํ ตอ งปฏิบัติเพื่อบรรลถุ งึ คุณลกั ษณะนี้ คอื ผนู ําจะตองมวี ิสัยทัศนแ ละสามารถถายทอดไปยังผตู าม ผนู าํ จะมคี วามสมํา่ เสมอมากกวา การเอาแตอารมณ สามารถควบคมุ อารมณไดในสถานการณวกิ ฤต ผนู าํ เปนผทู ีไ่ วใจไดจะทําในสิ่งท่ถี กู ตอ ง ผูนําจะเปน ผมู ศี ีล ธรรมและมจี รยิ ธรรมสูง ผนู าํ จะหลกี เลีย่ งท่ีจะใชอ ํานาจเพอื่ ผลประโยชนส วนตนแตจ ะประพฤติตนเพ่อื ให เกดิ ประโยชนแกผูอนื่ และเพ่อื ประโยชนของกลุม ผนู ําจะแสดงใหเห็นถงึ ความฉลาดเฉลยี ว ความมสี มรรถ ภาพ ความต้ังใจ การเชื่อม่ันในตนเอง ความแนว แนในอดุ มการณ ความเช่อื และคา นิยมของเขา ผูน าํ จะ เสรมิ ความภาคภูมิใจ ความจงรกั ภกั ดี และความมั่นใจของผูตาม ทาํ ใหผ ูตามมีความเปน พวกเดยี วกันกบั ผู นาํ โดยอาศยั วสิ ัยทัศนแ ละการมจี ุดประสงครว มกนั ผนู ําแสดงความมัน่ ใจชว ยสรา งความรสู กึ เปน หนงึ่ เดียว กนั เพอ่ื การบรรลุเปา หมายทตี่ องการ ผูตามจะเลียนแบบ ผนู าํ และพฤตกิ รรมของผนู ําจากการสรา งความม่ัน ใจในตนเอง ประสทิ ธภิ าพและความเคารพในตนเอง ผนู าํ การเปลีย่ นแปลงจงึ รักษาอทิ ธพิ ลของตนในการ บรรลุเปาหมายและปฏบิ ตั ิภาระหนา ท่ีขององคก าร 1.2 การสรา งแรงบนั ดาลใจ (Inspiration Motivation : IM) หมายถงึ การท่ีผนู ําจะ ประพฤติในทางทีจ่ ูงใจใหเ กดิ แรงบนั ดาลใจกับผูตาม โดยการสรา งแรงจูงใจภายในการใหความหมายและ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 340  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ทามายในเรอ่ื งงานของผตู าม ผูน าํ จะกระตนุ จติ วญิ ญาณของทมี (Team Spirit) ใหม ีชวี ิตชวี า มกี ารแสดง ออกซึ่งความกระตอื รอื รนโดยการสรา งเจตคตทิ ่ีดแี ละการคดิ ในแงบ วก ผูน าํ จะทาํ ใหผูตามสมั ผสั กบั ภาพ ทง่ี ดงามของอนาคต ผูนาํ จะสรา งและสื่อความหวงั ท่ีผูนาํ ตอ งการอยา งชดั เจน ผูนําจะแสดงการอทุ ศิ ตัวหรือ ความผกู พนั ตอ เปาหมายและวสิ ยั ทศั นร วมกัน ผูน าํ จะแสดงความเชื่อม่นั และแสดงใหเหน็ ความตัง้ ใจอยาง แนวแนวา จะสามารถบรรลุเปาหมายได ผูนาํ จะชวยใหผ ูตามมองขา มผลประโยชนของตนเพอื่ วิสยั ทศั นแ ละ ภารกจิ ขององคการ ผูนาํ จะชว ยใหผ ตู ามพัฒนาความผกู พนั ของตนตอ เปา หมายระยะยาว และบอยครั้งพบ วาการสรา งแรงบนั ดาลใจนเ้ี กดิ ขึน้ ผา นการคาํ นึงถึงความเปน ปจ เจกบุคคล และการกระตนุ ทางปญญา โดย การคาํ นึงถงึ ความเปนปจเจกบคุ คลทําใหผ ูตามรสู ึกวาตนเองมีคุณคา และการกระตุนใหพ วกเขาสามารถจัด การกับปญ หาท่ีตนเองเผชญิ ได สว นการกระตนุ ทางปญ ญาชว ย ใหผูตามจัดการกับอุปสรรคของตน เองและเสรมิ ความคดิ ริเรม่ิ สรางสรรค 1.3 การกระตนุ ทางปญ ญา (Intellectual Stimulation : IS) หมายถงึ การทผี่ ูนํา มีการกระตนุ ผูตามใหตระหนกั ถึงปญหาตา ง ๆ ที่เกิดขึน้ ในหนว ยงาน ทาํ ใหผูตามมีความตองการหาแนวทาง ใหม ๆ มาแกป ญหาในหนวยงานเพ่อื หาขอสรปุ ใหมท่ดี กี วา เดิม เพื่อทําใหเกิดสงิ่ ใหมและสรางสรรค โดย ผนู าํ มกี ารคิดและการแกป ญหาอยางเปน ระบบ มคี วามคิดรเิ ร่มิ สรางสรรค มกี ารตงั้ สมมติฐาน การเปลย่ี น กรอบ (Reframing) การมองปญ หาและการเผชิญกับสถานการณเ กา ๆ ดว ย วถิ ีทางแบบใหม ๆ มกี ารจงู ใจ และสนับสนนุ ความคิดรเิ ร่มิ ใหม ๆ ในการพจิ ารณาปญ หาและการหาคําตอบของปญหา มกี ารใหกาํ ลงั ใจ ผูต ามใหพ ยายามหาทางแกปญหาดว ยวธิ ีการใหม ๆ ผูน ํามกี ารกระตนุ ใหผูตามแสดงความคดิ เห็น และเหตุ ผลและไมวิจารณความคิดของผูตามแมวามนั จะแตกตา งไปจากคามคดิ ของตนเอง ผูนาํ ทําใหผูตามรสู กึ วา ปญ หาท่เี กดิ ขึ้นเปนสง่ิ ทท่ี ามาย และเปนโอกาสทด่ี ีแจะแกปญ หารว มกนั โดยผนู ําจะสรางความเชือ่ มน่ั ให ผูตามวา ปญหาทุกอยา งตองมีวิธีแกไข แมบางปญหาจะมอี ปุ สรรคทุกอยางไดจ ากความรวมมือรว มใจในการ แกปญหาของผรู ว มงานทกุ คน ผูต ามจะไดร บั การกระตุน ใหต ง้ั คาํ ถามตอคา นิยมของตนเอง ความเชื่อและ ประเพณี การกระตนุ ทางปญญาเปน สว นที่สาํ คญั ของการพัฒนาความสามารถของผูต ามในการทีจ่ ะตระหนกั เขาใจและแกไ ขปญ หาดว ยตนเอง 1.4 การคาํ นงึ ถึงความเปนปจเจกบคุ คล (Individualized Consideration : IC) ผนู ําจะ มีความสมั พันธเกีย่ วของกับบคุ คลในฐานะเปนผนู าํ การใหการดูแลเอาใจแสผตู ามเปน รายบคุ คล และทําให ผูตามรสู ึกมคี ณุ คา และมีความสาํ คัญ ผนู ําจะเปนโคช (Coach) และเปนท่ปี รึกษา (Advisor) ของผูต ามแต ละคน เพ่ือการพัฒนาผตู าม ผนู ําจะเอาใจใสเ ปน พเิ ศษในความตองการของปจเจกบคุ คล เพอื่ ความสมั ฤทธ์ิ และเตบิ โตของแตละคน ผูนาํ จะพฒั นาศักยภาพของผตู ามและเพอ่ื นรว มงาน ใหสูงข้นึ นอกจากนผ้ี นู าํ จะมี การปฏิบัตติ อ ผตู ามโดยการใหโ อกาสในการเรยี นรูส ่งิ ใหม ๆ สรา งบรรยากาศของ การใหก ารสนับสนุน คํานึงถงึ ความแตกตางระหวางบุคคลในดา นความจําเปน และความตองการ การประพฤตขิ องผูนําแสดงให เหน็ วาเขาใจและยอมรบั ความแตกตางระหวา งบุคคล เชน บางคนไดรับกาํ ลังใจมากกวา บางคนไดร บั สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 341  คูม ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา อาํ นาจการตดั สนิ ใจดว ยตัวเองมากกวา บางคนมีมาตรฐานท่ีเครง ครดั กวา บางคนมโี ครงสรา งงานที่มากกวา ผูนาํ มกี ารสง เสริมการสือ่ สารสองทาง และมกี ารจัดการดว ยการเดิน ดูรอบ ๆ (Management by walking around) มีปฎสิ มั พันธกับผตู ามเปนการสว นตัว ผนู าํ สนใจในความกงั วลของแตละบุคคล เห็นปจเจกบคุ คล เปน บุคคลท้งั หมด (As a whole person) มากกวาเปน พนกั งานหรือเปน เพียงปจจยั การผลิต ผนู ําจะมีการ ฟง อยางมปี ระสิทธิภาพ มีการเอาใจเขามาใสใ จเรา (Empathy) ผนู าํ จะมีการมอบหมายงานเพ่ือเปน เครื่องมอื ในการพฒั นาผูต าม เปดโอกาสใหผตู ามไดใ ชความสามารถพเิ ศษอยางเตม็ ท่ีและเรยี นรูสิง่ ใหม ๆ ทท่ี า ทาย ความสามารถ ผนู าํ จะดูแลผตู ามวาตอ งการคาํ แนะนาํ การสนบั สนุนและการชวยใหก า วหนาในการทํางาน ทร่ี ับผิดชอบอยหู รือไม โดยผตู ามจะไมรูส ึกวาเขากาํ ลงั ถกู ตรวจสอบ องคประกอบพฤติกรรมเฉพาะท้งั 4 ประการ ( 4l’s) ของภาวะผูนาํ การเปลย่ี นแปลงนีจ้ ะมี ความสมั พนั ธก ัน (Intercorrelated) อยา งไรกต็ าม มีการแบงแยกแตล ะองคป ระกอบเพราะเปนแนวคิดท่ีมี ความเฉพาะเจาะจง และมีความสําคญั ในการวินิจฉัยตามวัตถุประสงคต าง ๆ (Bass. 1997) 2. ภาวะผูนําแลกเปล่ียน (Transaction leadership) เปน กระบวนการท่ผี ูนาํ ใหร างวัล หรือลงโทษผตู าม ข้นึ อยูกับผลการปฏบิ ตั ิงานของผูต าม ผนู ําใชก ระบวนการแลกเปลี่ยนเสรมิ แรงตามสถาน การณ ผูนาํ จงใจผตู ามใหป ฏบิ ตั ิงานตามระดับที่คาดหวงั ไว ผูนาํ ชว ยใหผ ตู ามบรรลุเปาหมาย ผูนาํ ทําให ผตู ามมีความเชือ่ มั่นท่จี ะปฏิบตั งิ านตามบทบาทและเห็นคุณคา ของผลลพั ธทก่ี ําหนด ซึง่ ผนู าํ จะตอ งรถู ึงสิ่งท่ี ผูตามจะตองปฏบิ ตั เิ พ่อื ใหไ ดผลลัพธท ต่ี องการ ผนู ําจูงใจโดยเชอ่ื มโยงความตองการและรางวัลกับความ สาํ เรจ็ ตามเปา หมาย รางวลั สวนใหญเ ปนรางวลั ภายนอก ผูนาํ จะทาํ ใหผูต ามเขา ใจในบทบาท รวมทัง้ ผนู ํา จะตระหนกั ถึงความตอ งการของผูตาม ผนู ําจะรบั รูวา ผูตามตอ งทาํ อะไรเพื่อที่จะบรรลเุ ปา หมาย และเขาใจ วา ความตอ งการหรอื รางวลั ที่พวกเขา ตอ งการจะเช่อื มโยงกับความสาํ เรจ็ ตามเปาหมายอยา งไร ภาวะผูนํา การแลกเปล่ยี นประกอบดว ย 2.1 การใหรางวัลตามสถานการณ (Contingent Reward : CRX) ผูนาํ จะทําให ผตู ามเขา ใจชัดเชนวา ตอ งการใหผ ูตามทาํ อะไรหรือคาดหวงั อะไรจากผตู าม และจากน้ันจะจัดการแลกเปล่ียน รางวลั ในรูปของคํายกยองชมเชย ประกาศความดีความชอบ การจา ยเพ่ิมขึน้ ไดโ บนสั เม่ือผตู ามสามารถ บรรลเุ ปา หมายตามทค่ี าดหวงั ผนู าํ แบบนมี้ กั จงู ใจใหรางวัลเปนการตอบแทน และ มักจูงใจดวยแรงจงู ใจ ขน้ั พื้นฐานหรือแรงจูงใจภายนอก 2.2 การบรหิ ารแบบวางเฉย (Management - by Exception) เปนการบรหิ ารงาน ท่ี ปลอยใหเ ปนไปตามสภาพเดมิ (Status que) ไมพ ยายามเขา ไปยุงเกี่ยวกับการทํางาน จะเขาไปแทรกตอ เมือ่ มีอะไรเกิดผิดพลาดขึน้ หรอื ทาํ งานตา่ํ กวา มาตรฐาน การเสริมแรงมกั จะเปน ทางลบ หรือใหข อมูลยอ นกลับ ทางลบ มกี ารบรหิ ารงานโดยไมป รบั ปรุงเปลี่ยนแปลงอะไร ผนู าํ จะเขา ไปเกีย่ วของก็ตอ เมอ่ื งานบกพรอง หรือไมไดม าตรฐานการบรหิ ารงานแบบวางเฉยแบง ออกเปน 2 แบบ คอื สอบครูดอทคอม

342  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2.2.1 การบรหิ ารงานแบบวางเฉยเชงิ รกุ (Active Management - by Exception : MBE-A) ผูนาํ จะใชวีการทาํ งานแบบกันไวด กี วาแกว ผนู ําจะคอยสังเกตผลการปฏิบตั งิ านของผูต าม และ ชวยแกไขใหถูกตองเพือ่ ปองกนั การเกิดความผดิ พลาดหรือลมเหลว 2.2.2 การบริหารแบบวางเฉยเชิงรับ (Passive Management – by Exception) : MBE-P) ผนู ําจะใชวิธีการทํางานแบบเตม็ และพยายามรักษาสภาพเดมิ ผูนําจะเขา ไปแทรกแซงถา ผลการ ปฎบิ ัติงานไมไ ดต ามมาตรฐานหรือถา มีบางอยางผดิ พลาด 3. ภาวะผนู ําแบบปลอยตามสบาย (Laissez – Faire Leadership : LF) หรอื พฤตกิ รรม ความไมม ีภาวะผูนํา (Non – leadership behavior) เปนภาวะผูนําทไี่ มม ีความพยายาม ขาดความรบั ผดิ ชอบ ไมม ีการตดั สนิ ใจ ไมเต็มใจท่จี ะเลือกยืนอยฝู ายไหน ขาดการมสี ว นรว ม เม่อื ผูตามตอ งการผูนาํ ผนู าํ จะ ไมอยู ไมม วี ิสยั ทศั นเ กยี่ วกบั ภารกิจขององคก าร ไมมคี วามชัดเจนในเปา หมาย ลกั ษณะภาวะผนู ําเต็มรปู แบบน้ี ผูน ําจะแสดงคณุ ลักษณะของแตละคนตามลําดับ สําหรับ รปู แบบโครงรา ง (profile) ที่เหมาะสมที่สดุ แสดงในภาพประกอบ 1 ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com Iua CR MBE – A ACTIVE PASSIVE MBE - P LF INEFFECTIVE ลกั ษณะโครงรางผลลพั ธที่ดีท่สี ุด (Optimal Profile) ของลกั ษณะภาวะผนู าํ จากภาพประกอบ 1 มติ ิที่ 3 (ความลกึ ) ของโครงรา งนี้แทนความถี่ (Frequency) ซึง่ บคุ คลแสดงลกั ษณะเฉพาะของภาวะผนู าํ ในมติ ขิ องการกระทําคอื กระตอื รอื รน (Active) หรือไมก ระตอื รอื รน (Passive) ชวยใหรปู แบบภาวะผนู ํามีความชัดเจนขึน้ และในมิติความมีประสทิ ธิภาพ (Effective) เปน ตัวแทนผลกระทบของรปู แบบภาวะผูนําตอผลการปฏบิ ตั งิ าน ในภาพนีผ้ นู ําแสดงออกถงึ ภาวะผูนาํ แบบปลอ ยตามสบาย (LF) ไมบอยนัก และเพิ่มความถีข่ องรูปแบบภาวะผูน ําการแลกเปล่ยี น คอื การบรหิ ารแบบวางเฉยเชิงรุก การบริหารแบบวางเฉยเชงิ รบั และการใหรางวัลตามสถานการณห รอื การ สอบครดู อทคอม

343  คมู ือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา เสรมิ แรงทางบวก (CR) ในลกั ษณะโครงรา งผลลพั ธที่ดีทสี ุดน้ีแสดงใหเห็นวาองคป ระกอบพฤติกรรมท้งั 4 องคประกอบของภาวะผนู ําการเปลยี่ นแปลงมีการแสดงออกมากทสี่ ดุ ในทางตรงกนั ขาม การแสดงภาวะผนู ําทีม่ ีผลการปฏิบตั ิงานตาํ่ มแี นวโนมไปทางไมม ีความ กระตอื รอื รน และความไมมีประสทิ ธภิ าพตรงกันขามกับภาวะผูน าํ ที่มลี ักษณะโครงรา งผลลพั ธท ่ดี ีทีส่ ุด ดงั แสดงในภาพประกอบ 2 ทแ่ี สดงโครงรางทเ่ี ปน ผลลัพธร ะดบั รองลงมา (Suboptimal profile) ของ ลักษณะภาวะผนู าํ Iua ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com CR MBE – A MBE - P ACTIVE PASSIVE LF INEFFECTIVE ลักษณะโครงรางท่เี ปน ผลลัพธร ะดับรอง (Suboptimal Profile) ของลกั ษณะภาวะผูนาํ จากการทบทวนแนวคิดทฤษฎเี กยี่ วกบั ภาวะผนู าํ การเปลยี่ นแปลงดงั กลาว สามารถ สรปุ ไดว า ภาวะผนู าํ การเปลี่ยนแปลง (Transformational leadership) หมายถึง ระดบั พฤตกิ รรมท่ีผูนาํ แสดงใหเหน็ ในการจัดการหรือการทาํ งาน เปน กระบวนการที่ผูนํามอี ทิ ธพิ ลตอผรู ว มงาน โดยการเปล่ียน สภาพหรอื เปลี่ยนแปลงความพยายามของผูร ว มงานใหส งู ข้ึนกวาความพยายามทคี่ าดหวัง พฒั นาความ สามารถของผรู วมงานไปสรู ะดับทสี่ งู ข้นึ และมีศักยภาพมากขน้ึ ทาํ ใหเกิดการตระหนักรใู นภารกิจและ วิสยั ทศั นข องกลมุ จงู ใจใหผรู ว มงานมองไกลเกนิ กวา ความสนใจของพวกเขาไปสูประโยชนข องกลมุ หรอื สงั คม ซึ่งกระบวนการทผ่ี ูน าํ มีอทิ ธพิ ลตอผูรวมงานจะกระทําโดยผานองคป ระกอบพฤตกิ รรมเฉพาะ 4 ประการ คอื การมีอิทธพิ ลอยางมีอุดมการณ การสรา งแรงบันดาลใจการกระตุนทางปญ ญาและการคาํ นึง ถงึ ความเปนปจ เจกบคุ คล ตามรายละเอยี ด ดังน้ี 1) การมอี ทิ ธิพลอยา งมีอุดมการณ หมายถึง ระดบั พฤตกิ รรมทผี่ นู าํ แสดงใหเ หน็ ในการจัดการ หรอื การทาํ งานที่เปนกระบวนการทาํ ใหผ ูร ว มงานมกี ารยอมรบั เชือ่ มั่นศรัทธา ภาคภมู ใิ จ และไวว างใจในความสามารถของผูนํา มคี วามยนิ ดที จ่ี ะทุม เทการปฏิบัตงิ านตาม สอบครดู อทคอม

344  คูมือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ภารกิจ โดยผูน ําจะมกี ารประพฤติตนเพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนแกผ อู นื่ เสยี สละเพอื่ ประโยชนของกลมุ เนนความ สาํ คญั ในเรอื่ งคานยิ ม ความเชอ่ื และการมเี ปาหมายที่ชัดเจน มคี วามมน่ั ใจท่ีจะเอาชนะอปุ สรรค ผนู ําจะมี คณุ ลักษณะสําคญั ในดานการมีวสิ ยั ทัศน และการถายทอดวิสยั ทศั นไปยงั ผูรว มงาน มีความมุงมน่ั และทมุ เท ในการปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจ มีความสามารถในการจัดการหรือการควบคุมอารมณตนเอง มีการเห็นคุณคา ในตนเอง มศี ลี ธรรมและจรยิ ธรรม 2) การสรางแรงบันดาลใจ หมายถึง ระดบั พฤตกิ รรมทผ่ี นู ําแสดงให เหน็ ในการจดั การหรือการทาํ งานทเ่ี ปน กระบวนการทําใหผ ูร ว มงานมีแรงจูงใจภายในไมเ ห็นแกประโยชน สวนตน แตอ ทุ ิศตนเพื่อกลมุ มีการตง้ั มาตรฐานในการทาํ งานสูงและเชือ่ ม่ันวา จะสามารถบรรลุเปา หมาย มคี วามตั้งใจ แนวแนใ นการทาํ งาน มีการใหก าํ ลังใจผูร ว มงาน มกี ารกระตุนผรู ว มงานใหตระหนกั ถงึ สง่ิ สําคญั โดยผูนําจะมคี ุณลกั ษณะสําคญั ในดานการสรา งการแรงจงู ใจภายในกบั ผรู วมงาน มกี ารสรา งเจตคตทิ ี่ ดีและการคดิ ในแงบวก 3) การกระตุน ทางปญ ญา หมายถงึ ระดับพฤติกรรมทีผ่ ูนาํ แสดงใหเ หน็ ใน การจัดการหรือการทาํ งานทเ่ี ปน กระบวนการ กระตุนผูรว มงานใหเห็นวธิ กี ารหรือแนวทางใหมใ นการแก ปญหา มกี ารพิจารณาวิธีการทํางานแบบเกา ๆ สงเสรมิ ใหผรู ว มงานแสดงความคดิ เหน็ มองปญ หา ในแง มุมตาง ๆ มกี ารวิเคราะหป ญหาโดยใชเ หตุผลและขอ มลู หลกั ฐาน มคี วามคดิ ริเรม่ิ สรา งสรรค โดยผูนําจะมี คุณลกั ษณะสาํ คญั ในการคดิ และการแกป ญหาอยา งเปน ระบบ และมีความคิดรเิ ร่ิมสรา งสรรค 4) การคํานึง ถงึ ความเปนปจ เจกบคุ คล หมายถงึ ระดบั พฤติกรรมท่ีผนู าํ แสดงใหเ ห็นในการจดั การ หรือการทํางานโดย คํานงึ ถึงความแตกตา งระหวา งบคุ คล มีการเอาใจเขามาใสใ จเรา มีการติดตอสื่อสารแบบสองทางและเปน รายบคุ คล เปน พเ่ี ล้ยี งสอนและใหค าํ แนะนาํ และสงเสรมิ พฒั นาผรู วมงานใหพ ัฒนาตนเอง มกี ารกระจาย อาํ นาจโดยการมอบหมายงานใหผูร ว มงาน โดยผนู ําจะมีคุณลักษณะสําคญั ในดา นความเขา ใจในความแตก ตา งระหวา งบุคคล และการเอาใจเขามาใสใจเรา ความสามารถในการติดตอ สอื่ สารระหวางบคุ คลและเทคนคิ การมอบหมายงาน ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 4. คณุ ลกั ษณะผูนาํ การเปลย่ี นแปลงเพือ่ รองรับการกระจายอํานาจ ผนู าํ การเปลี่ยนแปลงเปนบุคคลสําคัญทจี่ ะเปนผนู าํ การเปลี่ยนแปลงขององคก ร สาระ สําคัญในการสรางภาวะผูนาํ การเปลย่ี นแปลงจงึ ตอ งพฒั นาผูนําใหเกดิ คุณลักษณะ ดงั น้ี 1. ACHIEVEMENT มุงผลสาํ เรจ็ 2. ACTIVATOR เร่ิมตนเปน กระตนุ ตนเองเปน 3. ADAPTABILITY มคี วามสามารถปรบั เปลี่ยนได 4. ANALYTICAL เปน นกั วิเคราะหเ ปน อยากจะวิเคราะห 5. ARRANGER เรยี บเรยี งและจัดระบบเปน 6. BELIEVE ความเชื่อม่นั และศรทั ธาตอ ตนเอง 7. COMMANDER เปน นักสั่งการทด่ี ี สอบครูดอทคอม

345  คูมือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 8. COMMUNICATION ส่อื สาร คมนาคม กบั คนเปน 9. COMPETTITITIVE SPIRIT วิญญาณแหง การแขง ขัน 10. CONNECTEMESS เช่อื มโยงกับคนอ่นื ๆ ได 11. CONTEXT บริบท (บริบทโดยรอบ) รูกาลเทศะ 12. DELIVERAGE มุง มัน่ พยายาม จงใจ 13. DEVELOPER นักพัฒนา 14. DISCIPLINARY มีวนิ ยั (ทาํ ไปตามแผนท่ีวางไว) ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 15. EMPATHY เอาใจเขามาใสใ จเรา 16. FAIRNESS ยตุ ธิ รรมกบั คนอื่น ๆ 17. FOCUS จบั ประเด็นได อยาจับจด 18. FUTURISTIC มวี ิสัยทศั น มองอนาคตใหอ อก 19. HARMONY ไมข ดั แยงกับคน เขา ใจคนใหไ ด 20. IDEATION หาแนวคดิ วา เบ้อื งหลกั มาอยางไร 21. INCLUSIVENESS อยาทิ้งคน ทํางานกบั คนใหไ ดด ี 22. INDIVDUAL ปจ เจกชน ใครแปลกก็ยอมรับได 23. INPUT จดั สรร หาสิง่ ทีป่ อนเขาไปได 24. INTELLECTION ชอบคิดดี ๆ เสมอ เขา ใจคดิ เหตผุ ล 25. LEARNER เปนนกั เรยี นรเู ร็ว 26. MAXIMIZER คาํ นึงถึงจดุ ยอดของตนเองเปนเลศิ 27. POSITIVITY มองโลกในแงดี 28. RELATOR มีความสมั พันธทดี่ ี 29. RESPONSIBILITY รับผิดชอบเสมือนเปนของตน 30. RESTORATIVE เปนนักแกป ญ หา ฟน ฟู ปฏิสังขรณ 31. STURDY มัน่ ใจ แขง็ แกรง ไมขุดคุยเรื่องเกา 32. THINK AS YOU ARE IMPORTANT คดิ เสมอวา ตนสาํ คญั 33. STRATEGIC เปนนกั วางแผนกลยทุ ธท่ีเช่ียวชาญ 34. WOOOO….???? ตอ งเปน นกั ออ นคนเปน ...ขอรอ งคน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 346  คูม อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การบรหิ าร 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ขาวสารที่ไดจ ากการนาํ ขอ มลู ดบิ (raw data) มา คํานวณทางสถิตหิ รอื ประมวลผลอยางใดอยา งหน่งึ ซง่ึ ขาวสารทไ่ี ดอ อกมานัน้ จะอยูในรูปทส่ี ามารถ นาํ ไปใชง านไดทันที เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึงกระบวนการตาง ๆ และระบบ งานท่ีชวยใหไ ดสารสนเทศท่ีตอ งการโดยจะรวมถึง 1. เคร่ืองมือและอปุ กรณตา ง ๆ หมายถงึ เครอ่ื งคอมพิวเตอร เครื่องใชสํานกั งาน อปุ กรณค มนาคมตา ง ๆ รวมทง้ั ซอฟตแ วรท ้งั ระบบสาํ เรจ็ รูปและพฒั นาขนึ้ โดย เฉพาะดาน 2. กระบวนการในการนาํ อปุ กรณเครอ่ื งมือตาง ๆ ขา งตนมาใชง าน รวบรวมขอ มลู จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธเปน สารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ ท่สี ามารถนาํ ไปใช ประโยชนตอ ไปได เทคโนโลยขี องระบบสารสนเทศในปจ จุบนั ประกอบดวย - ระบบประมวลผลขอ มลู (Data Processing System) - ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (Management Information System) - ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ (Decision Support System) - ระบบสารสนเทศเพอื่ ผบู รหิ ารระดับสงู (Executive Information System) - ระบบผูเช่ยี วชาญ (Expert System) สารสนเทศกับการตดั สนิ ใจ ในองคการตาง ๆ นนั้ สามารถแบง การทํางานไดเ ปน 4 ระดบั ดว ยกันคือ ระดับวางแผน ยุทธศาสตรระยะยาว (Strategic Planning) ระดับวางแผนการบรหิ าร (Tactical Planning) ระดบั วางแผนปฏบิ ตั กิ าร (Operation Planning) และระดับผปู ฏบิ ตั ิการ (Clerical Planning) โดยใน 3 ระดับแรกนั้นจะจดั อยูในระดบั บรหิ าร (Management) และระดบั สดุ ทา ยจดั อยใู น ระดบั ปฏิบัติการ (Operation) ระบบสารสนเทศจะทําการเก็บรวบรวมขอมลู จากระดับปฏิบตั ิการ และทาํ การประมวลผล เพื่อใหสารสนเทศกบั บุคลากรในระดบั ตาง ๆ ซึ่งในแตล ะระดบั นนั้ จะใชลกั ษณะและปรมิ าณของ สารสนเทศทแ่ี ตกตางไป ระบบสารสนเทศในองคก ารสามารถแทนไดดว ยภาพปร ามดิ ตามรูป สอบครูดอทคอม

347  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา EIS ระดบั วางแผน DSS MIS ยทุ ธศาสตร ระดบั วางแผน การบริหาร ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ระดบั วางแผนปฏิบัติการ ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร DP จากภาพจะเห็นไดว า โครงสรา งระบบสารสนเทศแบบ ปรามิด มีฐานท่ีกวางและบีบแคบ ขน้ึ ไปบรรจบในยอดบนสุด ซึ่งหมายความวาสารสนเทศที่ใชงานจะมีมากในระดบั ลา งและลดหล่ัน นอ ยลงไปตามลาํ ดับจนถึงยอดบนสดุ เชน เดยี วกบั จํานวนบุคลากรในระดับน้นั ๆ 2. บคุ ลากรในแตร ะดบั จะเก่ยี วของกับระบบสารสนเทศ มดี งั นี้ ระดับปฏบิ ตั กิ าร บุคลากรในระดบั น้เี กี่ยวของอยูกบั งานทท่ี าํ ซํา้ ๆ กัน และจะเนน ไปที่การจดั การรายการ ประจําวนั นั่นคือบุคลากรในระดบั นีเ้ ก่ยี วของกบั ระบบสารสนเทศในฐานะผูจัดหาขอมลู เขา สูร ะบบ ตวั อยางเชน เจา หนา ท่ีผทู ําหนา ทปี่ อ นขอ มูลการสั่งการซ้ือของลูกคา เขา สคู อมพวิ เตอรใ น ระบบสารสนเทศเพ่อื การขาย หรอื ตวั แทนการจองต๋วั และขายตั๋วในระบบจองต๋วั เครือ่ งบิน เปน ตน ระดับวางแผนปฏิบตั ิการ บุคคลในระดบั น้ีจะเปนผบู ริหารขนั้ ตนท่ที าํ หนา ท่ีควบคุมการปฏบิ ัติงานประจําวันและ การวางแผนปฏิบัติงานท่เี ก่ียวของกบั ระยะเวลาสน้ั ๆ เชน แผนงานประจําวนั ประจาํ สัปดาห หรือ ประจาํ ไตรมาส ขอ มลู ท่ีผูบรหิ ารระดับนตี้ อ งการสวนมากจะเกีย่ วของกบั ผลการปฏบิ ัตชิ ว งเวลาหนงึ่ ๆ ผูจัดการอาจตองการรายงานสรปุ ผลการขายประจําไตรมาสของพนกั งานขาย เพอ่ื ประเมนิ ผลของ พนกั งานขายแตล ะคน เปน ตน สอบครดู อทคอม

348  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ระดับวางแผนการบรหิ าร บคุ ลากรในระดับน้ี จะเปน ผบู ริหารระดบั กลางซง่ึ ทําหนา ทว่ี างแผนใหบ รรลเุ ปาหมาย ตา ง ๆ เพอ่ื ใหอ งคการประสบความสาํ เร็จตามแผนงานระยะยาวตามทกี่ าํ หนดโดยผูบรหิ ารระดับสงู มกั จะเปนสารสนเทศตามคาบเวลาซง่ึ มีระยะเวลานานกวา ผูบ ริหารข้ันตน และจะเปนสารสนเทศที่ รวบรวมขอมูลท้ังจากภายในและภายนอกองคก ร เชน ของคแู ขง หรือของตลาดโดยรวม เปนตน นอกจากนี้ ผบู รหิ ารระดบั นี้ยงั ตองการระบบทใี่ หร ายงานการวเิ คราะหแบบถา – แลว (What – If) น่ันคือสามารถทดสอบไดวาหากเกดิ เหตกุ ารณเ ชน น้ีแลวตัวเลขหรือสารสนเทศตาง ๆ จะเปลี่ยนเปน เชน ไร เพ่ือใหจําลองสถานการณต าง ๆ ทต่ี องการได ตัวอยา งเชน ผจู ัดการฝายขายอาจตอ งการทราบ ผลการขายประจําปข องบรษิ ัทเทียบคูแขงตาง ๆ รวมท้งั อาจตองการทดสอบวา ถา เพิ่มหรือลดลง โฆษณาในสือ่ ตา ง ๆ จะมีผลกระทบตอ ยอดขายอยา งไรบา ง ระดบั วางแผนยุทธศาสตรร ะยะยาว ผูบ รหิ ารระดบั นี้จะเปน ระดับสูงสุด ซ่ึงเนน ในเรอื่ งเปาประสงคข ององคก ร ระบบสาร สนเทศทตี่ องการจะเนน ท่ีรายงานสรุป รายงานแบบ What – If และการวิเคราะหแนวโนมตา ง ๆ (Trend Analysis) ตัวอยา งเชน ประธานบรษิ ัทอาจตองการรายงานที่แสดงแนวโนมการขายในอกี 4 ปขา งหนาของผลิตภัณฑ 3 ชนิดของบรษิ ทั เพ่อื ดแู นวโนม ในการเตบิ โตของผลติ ภณั ฑตา ง ๆ วา ผลติ ภณั ฑใดจะมแี นวโนม ทม่ี กี วา หรือผลติ ภณั ฑใ ดทีอ่ าจสรา งปญ หาใหบริษทั เปน ตน ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com รายละเอยี ด ระดับวางแผน ระดบั วางแผนการบริหาร ระดบั วางแผนยุทธ ปฏิบตั ิการ ความถ่ี สม่าํ เสมอ ซํ้าซา้ํ ศาสตรร ะยะเวลา ผลลพั ธท่ีได เปนตามทค่ี าด ระยะเวลา อดตี มักจะเปน ประจํา เมื่อตองการ รายละเอยี ด มีรายละเอยี ดมาก แหลงขอ มูล ภายใน อาจไมเ หมือนทคี่ าด มักจะไมเ หมอื นท่คี าด ลักษณะของขอ มลู เปน โครงสรา ง ความแมนยํา มคี วามแมน ยาํ สูง เปรยี บเทยี บ อนาคต ผูใ ช หวั หนางาน ระดบั การตัดสนิ ใจ เกี่ยวกบั งานท่ที าํ ถกู สรุปแลว ถูกสรปุ แลว ภายในและภายนอก ภายในและภายนอก ก่ึงโครงสรา ง ไมเปนโครงสราง ใชการคาดการณบาง ใชก ารคาดการณส งู ผูบริหารระดับสงู ผบู ริหารระดบั สงู จดั สรรทรัพยากรและควบ วางเปา ประสงค คมุ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 349  คมู อื เตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา 3. สารสนเทศในระดบั บรหิ าร 1)ระบบประมวลผลขอ มูล ระบบประมวลผลขอ มูล (Data Processing System หรอื DP) หรอื บางครัง้ เรียกวาระบบ ประมวลผลรายการประจํา (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผล ขอมลู อิเลก็ ทรอนกิ ส (Electronic Data Processing หรือ EDP) เปนการนาํ คอมพิวเตอรม าใชในการ จัดขอ มลู ขัน้ พ้นื ฐาน โดยเนน ทีก่ ารประมวลผลรายการประจําวัน (Transaction) และการเก็บรกั ษา ขอมลู ระบบประมวลผลขอมูลมกั จะทํางานอยูเฉพาะสว นหน่ึงสวนใดของธุรกจิ เทา น้ัน เชน ฝา ย การเงนิ และบัญชี ฝายผลิต ฝายการตลาด เปน ตน โดยแตล ะฝา ยจะมกี ารประมวลผลที่แยกจากกัน ขอ มลู จะถกู ปอนและจดั เกบ็ อยใู นรปู ของไฟล และไฟลต าง ๆ จะถกู แกไ ขระหวางการประมวลผล รายการประจําวัน จากนั้นผลลัพธจะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาทก่ี ําหนด เชน ใบสงของ หรอื รายงานประจาํ เดือน เปนตน ระบบประมวลผลขอมูลมกั จะถกู ใชงานไดถงึ ระดบั ของผูบรหิ ารระดับปฏบิ ตั ิการ (Operational Management) เทาน้นั เนอ่ื งจากระบบชนดิ นีจ้ ะไมย ืดหยนุ และไมส ามารถสนองความ ตอ งการขอ มลู หรือสารสนเทศที่ไมไดจัดเก็บอยูในระบบได อยา งไรกด็ ี ขอมลู ในระบบประมวลผล ขอ มลู จะเปน พื้นฐานที่สาํ คญั สาํ หรบั นําไปประมวลผลในระบบระดับสงู อื่น ๆ ซ่ึงมคี วามยดื หยนุ พอทจี่ ะใหส ารสนเทศเพอื่ ชวยใหผ ูบ รหิ ารสามารถตดั สนิ ใจในสภาวะแวดลอมที่มกั มกี ารเปลี่ยน แปลงได นนั่ คอื ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (Management Information System) 2) ระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ าร สารสนเทศเพ่อื การบรหิ าร (Management Information System) หรอื MIS คอื ระบบบรหิ าร ทีใ่ หสารสนเทศท่ผี ูบริหารตองการ เพอ่ื ใหทํางานไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจะรวมท้งั สารสนเทศ จากภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกยี่ วพนั กับองคก รในอดตี และปจจบุ ัน รวมทงั้ ที่คาดวา จะเปน อนาคต นอกจากนรี้ ะบบ MIS จะตอ งใหสารสนเทศภายในชว งเวลาท่เี ปนประโยชน เพ่อื ใหผ ู บรหิ ารสามารถตดั สินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏบิ ตั ิการขององคกรไดอยางถกู ตอง แมวา ผูบ ริหารที่ไดร ับประโยชนจากระบบ MIS สงู สุดคอื ผบู รหิ ารระดบั กลาง แตโ ดยพ้นื ฐานของระบบ MIS แลว จะเปน ระบบที่สามารถสนบั สนุนขอ มูลใหผูบรหิ ารท้ัง 3 ระดบั คอื ทั้งผู บรหิ ารระดับตน ผูบ รหิ ารระดบั กลาง และผูบริหารระดบั สูง โดยระบบ MIS จะใหร ายงานที่สรปุ สารสนเทศซง่ึ รวบรวมจากฐานขอมลู ท้งั หมดของบริษัท จุดประสงคของรายงานจะเนนใหผ ูบรหิ าร สามารถมองเห็นแนวโนม และภาพรวมขององคก รในปจจุบนั รวมท้ังสามารถควบคุมและตรวจ สอบผลงานของระดบั ปฏิบัตกิ ารดว ย อยา งไรก็ดี ขอบเขตของรายงานจะขน้ึ อยูกบั ลกั ษณะของสาร สนเทศและจุดประสงคในการใชง าน โดยอาจมรี ายงานท่ีออกทุกคาบระยะเวลา รายงานตามตองการ หรือรายงานตามสภาวการณห รือเหตุปกติ ตวั อยา งรายงานท่อี อกโดยระบบ MIS เชน การวิเคราะห สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 350  คมู อื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา การขายแยกตามพ้นื ที่ การวเิ คราะหต นทนุ งบประมาณประจําป การวเิ คราะหก ารลงทนุ และตาราง การผลิต เปนตน คุณสมบัตขิ องระบบ MIS ลักษณะระบบของ MIS ทด่ี ีสามารถสรปุ ไดด ังน้ี - ระบบ MIS จะสนับสนุนการทํางานของระบบประมวลผลและการจัดเก็บขอ มูล รายวนั - ระบบ MIS จะใชฐ านขอ มลู ทถี่ กู รวมเขาดวยกัน และสนบั สนุนการทํางานของ ฝา ยตา ง ๆ ในองคก ร - ระบบ MIS จะชว ยใหผ ูบรหิ ารระดับตน ระดบั กลาง และระดับสูง เรยี กใชขอ มูล ทเ่ี ปนโครงสรา งไดต ามเวลาทต่ี องการ - ระบบ MIS จะมคี วามยดื หยนุ และสามารถรองรบั ความตอ งการขอ มูลท่เี ปลย่ี น แปลงไปขององคกร - ระบบ MIS ตองมรี ะบบรักษาความลับของขอ มลู และกําจดั การใชง านของบคุ คล เฉพาะผูท ่เี กย่ี วของเทานน้ั ความแตกตางของ MIS และ DP - การใชร ะบบฐานขอ มูลรว มกันของ MIS แทนการใชระบบแฟมขอมลู แบบแยก กันของระบบ DP ทาํ ใหม คี วามยดื หยนุ พอที่จะใหส ารสนเทศท่ผี ูบรหิ ารตองการ - ระบบ MIS จะรวบรวมเกบ็ ขอมูลจากฝา ยทํางานตาง ๆ ขณะที่ระบบ DP มกี ารใช งานแยกจากกันในแตละฝา ย - ระบบ MIS จะใหสารสนเทศสาํ หรบั ผบู รหิ ารทุกระดับ ในขณะที่ระบบ DP จะ ใหร ะดับปฏิบัตกิ ารเทา นัน้ - สารสนเทศทผ่ี ูบ ริหารตองการ สวนมากจะไดร บั การตอบสนองทันทจี ากระบบ MIS ในขณะที่ระบบ DP จะตอ งรอใหถ ึงเวลาสรุป (จากรายงาน) 3)ระบบการสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ ระบบการตดั สนิ ใจ (Decision Support System) หรือ DSS เปนระบบทพี่ ฒั นาข้ึนจากระบบ MIS อีกระบบหนง่ึ เนือ่ งจากผทู ีม่ ีหนาท่ีในการตัดสนิ ใจจะสามารถใชป ระสบการณห รือใชข อ มลู ที่ มีอยูแ ลวในระบบ MIS ของบริษทั สําหรับการตัดสนิ ใจไดอยางมปี ระสิทธิภาพในงานปกติ แตบ อย ครั้งทีผ่ ตู ดั สนิ ใจ โดยเฉพาะอยางย่ิงผบู รหิ ารระดบั วางแผนบรหิ ารและวางแผนยุทธศาสตร และ เผชญิ กบั การตัดสินใจท่ีประกอบดว ยปจจยั ท่ซี ับซอ นเกินกวา ความสามารถของมนษุ ยทจ่ี ะประมวล ผลเขาดว ยกนั ไดอยา งถกู ตอง จึงทําใหเ กดิ การสนบั สนุนการตัดสินใจ ซง่ึ เปน ระบบท่สี นบั สนุน ความตองการเฉพาะของผบู ริหารแตละคน (made by order) สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 351  คมู ือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา ในหลาย ๆ สถานการณ ระบบสนับสนนุ การตัดสินใจมหี นาที่ชว ยใหการตดั สินใจเปนไป ไดอยางสะดวก โดยอาจจะชวยผตู ัดสินใจในการเลอื กทางเลอื ก หรอื อาจมกี ารจัดอนั ดบั ใหท างเลอื ก ตา ง ๆ ตามวิธีทีผ่ ูต ัดสินใจจะเปน ระบบสารสนเทศแบบโตต อบได ซึ่งจะใชชุดเครือ่ งมือทปี่ ระกอบ ขึ้นจากทัง้ ฮารด แวรและซอฟตแ วร เพอ่ื ชวยใหผูตดั สนิ ใจสามารถใชงานไดงายที่สดุ เชน การแสดง กราฟกแบบตาง ๆ หรือใชระบบจัดการฐานขอมูล เปน ตน นอกจากนี้ ยังมีการใชโ มเดลการวางแผน การทํานาย รวมทงั้ การใชภาษาในการซักถามท่ใี กลเคียงกบั ภาษามนษุ ย หรือแมแ ตระบบปญ ญา ประดษิ ฐ เพือ่ ใหบริหารสามารถเรียกใชสารสนเทศทตี่ อ งการไดโดยไมจาํ เปนตองขอความชว ย เหลอื จากผเู ชย่ี วชาญเลย คุณสมบตั ิของระบบ DSS ลกั ษณะของระบบ DSS ทีด่ ีสามารถสรุปไดดงั น้ี - ระบบ DSS จะตอ งชว ยผบู ริหารในกระบวนการตดั สนิ ใจ - ระบบ DSS จะถูกออกแบบมาสามารถเรียกใชท ้งั ขอ มลู แบบกง่ึ โครงสรา งและ แบบไมม โี ครงสรา งแนนอนได - ระบบ DSS จะตองสามารถสนับสนุนผตู ดั สินใจไดทกุ ระดับแตจะเนน ท่รี ะดบั วางแผนบรหิ ารและวางแผนยทุ ธศาสตร - ระบบ DSS จะมีรปู แบบการใชง านเอนกประสงค มคี วามสามารถในการจําลอง สถานการณ และมีเครือ่ งมือในการวิเคราะหส ําหรับชว ยเหลอื ผทู ําการตดั สินใจ - ระบบ DSS จะตอ งมีระบบโตตอบกบั ผใู ชไ ดส ามารถใชง านไดง า ย ผูบรหิ ารตอง สามารถใชงานโดยพงึ่ ความชวยเหลือจากผเู ชี่ยวชาญนอ ยที่สดุ หรือไมต องพงึ่ เลย - ระบบ DSS สามารถปรบั ตัวใหเขากบั ขา วสารในสภาพการณต า ง ๆ - ระบบ DSS ตองมรี ะบบกลไกชว ยใหส ามารถเรียกใชข อมลู ทต่ี องการไดอยา ง รวดเรว็ - ระบบ DSS ตองสามารถติดตอ กบั ฐานขอมลู องคก รได - ระบบ DSS ตองทําโดยไมข ้ึนกบั ระบบทํางานตามตารางเวลาขององคกร - ระบบ DSS ตองมีความยืดหยุน พอทจี่ ะรองรบั รูปแบบการบริหารตา ง ๆ ความแตกตางของระบบ DSS และ MIS - ระบบ MIS จะถกู ออกแบบเพือ่ จดั การเฉพาะกบั ผทู ่มี ปี ญ หาทีม่ โี ครงสรา งเทา นั้น ในขณะทีร่ ะบบ DSS ถกู ออกแบบใหส ามารถจัดการกบั ปญหาแบบกง่ึ มีโครงสราง หรอื แบบไมมี โครงสรา งแนน อน - ระบบ MIS จะถกู ออกแบบและสรางขนึ้ เพือ่ สนับสนนุ งานท่ีแนนอน เชน ระบบ บญั ชี การควบคุมสินคาคงคลงั สอบครูดอทคอม

352  คมู ือเตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา - ระบบ MIS จะใหร ายงานหรอื สารสนเทศทส่ี รุปออกมากับผใู ช ในขณะที่ระบบ DSS จะโตต อบโดยทันที - ในระบบ MIS ผูใชไมสามารถขอใหระบบสนับสนุนสารสนเทศสาํ หรับการตัด สินใจทตี่ องการเปน การเฉพาะ หรือในรูปแบบทเ่ี ฉพาะตวั แตในระบบ DSS ผูใ ชส ามารถกาํ หนดได เอง - ระบบ MIS จะใหสารสนเทศท่เี ปน ประโยชนสงู กับผบู ริหารระดบั กลาง ในขณะ ทีร่ ะบบ DSS จะใหสารสนเทศที่เหมาะกบั ทงั้ ผูบรหิ ารระดับกลางและระดบั สงู 4) ระบบสารสนเทศเพอ่ื ผบู รหิ ารระดบั สูง ระบบสารสนเทศเพอื่ ผูบ รหิ ารระดบั สูง (Executive Information System) หรือ EIS เปน ระบบท่ีสรางขน้ึ เพื่อสนบั สนนุ สารสนเทศและการตัดสนิ ใจสําหรับผบู ริหารระดบั สงู โดยเฉพาะ หรือสามารถกลาวไดว าระบบ EIS คอื สว นหนึ่งของระบบ DSS ท่แี ยกออกมา เพ่ือเนน ในการให สารสนเทศท่สี ําคญั ตอ การบริหารแกผ บู รหิ ารระดับสูงสุด ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ลกั ษณะ รายละเอยี ด ระดับการใชง าน มกี ารใชง านบอย ทักษะทางคอมพิวเตอร ไมจาํ เปน ตองมีทกั ษะสูง ระบบจะสามารถใชงานไดงาย ความยดื หยุน สงู จะตอ งการเขา กนั ไดกับรูปแบบการทํางานของผบู รหิ าร การใชงาน ใชในงานตรวจสอบ ควบคุม การสนับสนนุ การตดั สินใจ ผบู รหิ ารระดบั สูง ไมม โี ครงสรางทีแ่ นน อน การสนับสนนุ ขอมูล ทั้งภายในและภายนอกองคก ร ผลลพั ธทีแ่ สดง ตัวอกั ษร ตาราง ภาพและเสยี ง รวมท้ังระบบมัลตมิ ีเดยี การใชงานภาพกราฟก สูง จะใชรูปแบบการนําเสนอตาง ๆ ความเรว็ ในการตอบสนอง จะตองตอบสนองอยางรวดเรว็ ทนั ทีทันใด แสดงลกั ษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศเพอื่ ผบู ริหารระดับสูง ระบบ EIS จะใชขอมูลจากทงั้ ภายในภายนอกองคกร (เชน รายงานจากหนว ยงานของรัฐ บาล หรอื ขอ มลู ประชากร) นํามาสรุปอยูในรูปแบบทส่ี ามารถตรวจสอบ และใชในการตดั สินใจ โดยผูบรหิ ารไดง าย นอกจากน้ี ยังชว ยใหผ ูบรหิ ารดูรายละเอยี ดทต่ี องการในจดุ ตาง ๆ ไดอีกดวย ตัวอยา งของระบบ EIS เชน รายงานเกีย่ วกบั การเงินและสถานะภาพทางธุรกจิ ของบรษิ ทั รวมท้ังอัตราสว นสินทรัพยตอหนส้ี นิ หรือจาํ นวนลูกคา เฉลย่ี ตอนาทีท่ใี ชบริการสนบั สนุนหลัง สอบครดู อทคอม

353  คูม อื เตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศึกษา การขายทางโทรศัพท เปน ตน โดยระบบอาจแสดงลูกศรเพอื่ ใหทราบวา อัตราสวนดขี ้ึนเทา เดิมหรือ แยลง รวมทัง้ ขอมูลทีแ่ สดงอาจใชสีในการแสดงสถานการณต าง ๆ ก็ได ซึง่ ลูกศรหรือสจี ะชว ยให ผูบรหิ ารทราบถงึ แนวโนมไดอยา งรวดเรว็ ระบบ EIS จะถูกออกแบบใหแสดงสารสนเทศขององค กรโดยสรปุ แตใ นขณะเดยี วกันกส็ ามารถดูลึกเขา ไปถงึ รายละเอยี ดทต่ี องการได โดยการเลือกหวั ขอ ท่ีสนใจและสง่ั ใหระบบแสดงขอมลู ในสวนนน้ั เพิม่ เตมิ ้บานสอบค ูร www.sobkroo.comขอ ดี ขอดอ ย งายตอ ผบู รหิ ารระดับสงู ในการใชง าน มีขอจํากดั ในการใชงาน การใชงานไมจ ําเปน ตองมีความรูเรอื่ ง อาจทาํ ใหบ รหิ ารจํานวนมากรูสึกวาไดร บั ขอ มูล คอมพวิ เตอร มากเกนิ ไป ใหส ารสนเทศสรุปของบรษิ ัทในเวลาทตี่ อ งการ ยากตอการประเมินผลประโยชนท่ีไดจ ากระบบ ทําใหส ามารถเขา ใจสารสนเทศไดดขี นึ้ ไมสามารถทําการคํานวณทซี่ บั ซอนได มกี ารกรองขอมูลทาํ ใหประหยัดเวลา ระบบอาจจะใหญเกินกวาท่ีจะจัดการได ทาํ ใหร ะบบสามารถตดิ ตามสารสนเทศไดดีข้นึ ยากตอ การรกั ษาขอมลู ใหท ันสมยั อยตู ลอดเวลา กอใหเ กดิ ปญ หาการรักษาความลบั ของขอมูล สรปุ จดุ เดนและจดุ ดอ ยของระบบสารสนเทศเพ่อื ผบู ริหารระดับสูง ความแตกตางของระบบ EIS และ DDS - ระบบ DSS ถูกออกแบบเพ่ือใหส ารสนเทศท่ีสนับสนุนการตัดสินใจของ ผบู รหิ ารระดับกลางถงึ ระดบั สูง แตร ะบบ EIS จะเนนการใหส ารสนเทศสาํ หรับผบู ริหารระดับสูง โดยเฉพาะ - ระบบ DSS จะมสี วนของการใชง านทีใ่ ชไ มงา ยเทา กับระบบ EIS เนอ่ื งจากระบบ EIS เนนใหผูบรหิ ารระดบั สงู สดุ ใชน ั่นเอง - ระบบ EIS สามารถสรางขึน้ มาบนระบบ DSS เสมอื นเปนระบบซ่งึ ชวยใหสอบ ถามและใชง านขอมูลไดสะดวกข้ึน ซ่ึงระบบ EIS จะสง ตอ การสอบถามนน้ั ไปยังระบบ DSS และ ทําการสรุปขอ มูลท่รี ะบบ DSS สง มาใหอยใู นรูปทผ่ี บู ริหารสามารถเขา ใจไดงา ย ระบบผูเ ช่ียวชาญ (Expert System) ระบบผเู ชี่ยวชาญมีสว นทคี่ ลา ยคลึงกับระบบอืน่ ๆ คอื เปนระบบคอมพวิ เตอรท่ีชว ย ผบู ริหารแกไขปญ หาหรือทาํ การตัดสินใจไดดีข้ึน ระบบผูเชี่ยวชาญจะแตกตา งกบั ระบบอ่นื อยมู าก จะเก่ียวของกับการจดั การความรู (Knowledge) มากกวา สารสนเทศ และถกู ออกแบบใหชว ยในการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 354  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา ตดั สนิ ใจโดยใชว ิธีเดียวกับผูเช่ียวชาญท่มี นษุ ยเปนโดยใชหลกั การทาํ งานดว ยระบบปญญาประดษิ ฐ (Artificial Intelligence) ระบบผเู ช่ยี วชาญจะทาํ การโตตอบกับมนุษยโดยมกี ารถามขอ มลู เพิ่มเติมเพอ่ื ความกระจา ง ใหข อแนะนํา และชว ยเหลอื ในการตดั สนิ ใจ นนั่ คือทํางานคลา ยกบั เปน มนษุ ยผูเช่ียวชาญในการ แกป ญหาน้นั เนื่องจากระบบน้ีคอื การจําลองความรขู องผเู ช่ียวชาญจรงิ ๆมานน่ั เอง โดยผูเ ช่ียวชาญ ใน ท่ีนี้อาจเปนไดท้งั ผเู ชย่ี วชาญในที่นี้อาจเปนไดทง้ั ผเู ช่ยี วชาญในการบริหาร ผูเชย่ี วชาญในเรือ่ ง ภาษีผูเชย่ี วชาญในเรือ่ งยา หรือแมแ ตผเู ชย่ี วชาญในการทาํ อาหารก็ตาม คณุ สมบัติของระบบผูเชยี่ วชาญ ขอ ดีของระบบผูเช่ยี วชาญ จะคอนขา งตางกวาระบบสารสนเทศอืน่ ๆ ดังน้ี - ระบบผูเ ชีย่ วชาญ ชวยในการเก็บความรูของผเู ช่ยี วชาญในดานใดดา นหนึ่งไว ทําใหไมส ูญเสียความรนู ้ัน เม่ือผเู ช่ียวชาญตอ งการออกจากองคกรหรืออาจไมปฏิบตั ิงานได - ระบบผเู ชยี่ วชาญ จะชว ยขีดความสามารถในการตัดสนิ ใจใหก ับผบู ริหารจาํ นวน มากพรอม ๆ กัน - ระบบผูเชี่ยวชาญ สามารถเพ่ิมท้งั ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลใหก ับผตู ดั สนิ ใจ ไดอ ยางมาก - ระบบผเู ช่ียวชาญ จะทําใหการตดั สนิ ใจในแตล ะครัง้ มีความใกลเคียงและไมมี ความขัดแยง กัน - ระบบผูเชย่ี วชาญ ชว ยลดการพึง่ พาบุคคลใดบคุ คลหนึ่ง - ระบบผูเชย่ี วชาญ มคี วามเหมาะสมที่จะเปน ระบบในการฝกสอนเปนอยางมาก สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 355  คมู อื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา การพัฒนาระบบราชการ 1. การบรหิ ารจัดการภาครฐั แนวใหม (New Public Management : NPM) สถาบนั พัฒนาขา ราชการพลเรือน สํานักงาน กพ. ไดจัดทาํ หลกั สูตรการบริหารจดั การภาครัฐแนว ใหม โดยมีสาระสาํ คัญโดยสรุป ประกอบดว ย การปฏิรูประบบราชการ การบรหิ ารมงุ ผลสมั ฤทธิ์ การบริหาร ประชาชนสคู วามเปน เลิศ วฒั นธรรมคานยิ มใหมในการทาํ งานเพื่อประชาชน การสรา งระบบบรหิ ารกิจการ บานเมืองและสังคมที่ดี และการบรหิ ารงบประมาณแบบมุงเนนผลงานเชงิ ยุทธศาสตร ซึ่งมีรายละเอยี ดโดย สงั เขป ดงั น้ี 1. การปฏิรูประบบราชการ การปฏิรปู ระบบราชการ เปน การเปลี่ยนรปู แบบของระบบราชการ ตง้ั แตบ ทบาทหนาที่ โครงสรางอํานาจในระดบั ตา งๆ ระบบบรหิ าร วธิ ีการทํางาน ระบบบรหิ ารงานบคุ คล กฎหมาย ระเบียบ วัฒนธรรม คานยิ ม เพ่อื ทาํ ใหร ะบบราชการมีสมรรถนะสูงในการเปนกลไกการบรหิ ารและจดั การประเทศ ใหสามารถแขงขันในระดบั โลกได วตั ถุประสงคของการปฏริ ปู ระบบราชการ 5 ประการ คือ 1) เพื่อใหร าชการเปน กลไกและเปน เคร่อื งมือท่มี ปี ระสิทธภิ าพของรัฐบาล 2) เพือ่ เสริมสรา งสมรรถนะของประเทศในการแขงขนั ระดับเวทโี ลก 3) เพ่ือสรางความโปรง ใส ความตรงไปตรงมาในการแขง ขนั ระดบั เวทโี ลก 4) เพอ่ื ใหร าชการประกอบดวยเจา หนา ทีท่ ม่ี คี วามสามารถ ซอ่ื สัตยสจุ ริต มจี ติ ใจบรสิ ุทธ์แิ ละเปด กวางตอความตอ งการของประชาชน 5) เพื่อสรางวัฒนธรรมคุณคา ใหมใ นวงราชการ แนวทางการปฏริ ปู ราชการ 7 ประการ 1) การปรบั บทบาทภารกจิ ของภาครัฐ โดยทบทวนภารกิจภาครฐั เนน ใหร ัฐทําเฉพาะในสงิ่ ที่จําเปน และทําไดด ี ปรบั ปรุงโครงสรางอํานาจหนาทข่ี องรฐั บาล คณะรฐั มนตรแี ละขา ราชการประจาํ โดยบทบาท หลักของคณะรัฐมนตรี และรฐั มนตรี อยูทกี่ ารกําหนดนโยบายเชิงกลยุทธใ นระดบั ประเทศ บทบาทของ ขาราชการประจาํ อยูท่กี ารบริหารจัดการเพอ่ื ใหน โยบายบรรลุผล 2) การปรบั ปรุงระบบบริหาร โดยการพฒั นาระบบการบรหิ ารที่มงุ ผลสมั ฤทธ์ิ (Result Based Management System) ขึน้ ในราชการปรบั ปรุงระบบงบประมาณเพอ่ื เนนผลลพั ธ ปรบั ปรงุ ระบบงานบุคคล ภาครัฐ ปรับปรุงงานพัสดุ ปรับปรงุ ระบบงานสารบรรณ ปรับปรุงงานกฏหมาย และปรับปรงุ ระบบการ ตรวจสอบ

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 356  คมู ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 3) การปรบั ปรุงโครงสราง เพื่อแยกงานปฏบิ ตั ิออกจากงานนโยบาย ซ่ึงจะสรา งกลไกความรบั ผดิ ชอบ (Accountability Mechanism) กาํ หนดความสมั พันธทช่ี ัดเจนระหวา งงานสว นกลางและทองถน่ิ หนว ยงานปกติและหนว ยงานพเิ ศษและสรา งรูปแบบองคก ารใหหลากหลาย 4) การปรับปรงุ กลไกและหลกั เกณฑ เพอ่ื ใหมีกฎเกณฑท เี่ หมาะสม ไมหยมุ หยมิ มตี วั ชีว้ ัดการ ทาํ งานท้งั ระดบั องคก รและบุคคล มีระบบทีเ่ ออ้ื ใหผ ูบรหิ ารมีอิสระในการบริหาร และมีระบบรายงานผล ท่ดี เี พื่อเปดเผยขอมลู ตอ สาธารณะอยา งตอ เนอื่ ง 5) การปรบั ปรุงระบบราชการ เพ่อื พฒั นาขา ราชการใหเปน มอื อาชีพ มีคณุ ภาพและคุณธรรม พฒั นา ระบบนักบรหิ ารระดับสงู มรี ะบบบรหิ ารงานบุคคลทเ่ี สมอภาคกับอาชพี อื่น และมีจาํ นวนขา ราชการท่เี หมาะ สม 6) การปรับปรงุ วฒั นธรรมและคา นยิ มของระบบราชการโดยการสรา งวฒั นธรรมการทาํ งานทีเ่ นน ความสามารถและผลงานเนน ความสุจริตสรางวฒั นธรรมและสิง่ แวดลอ มใหเ ออื้ ตอความคิดสรางสรรค กลา คิดกลาทํา กลา เสี่ยง เพอ่ื สิ่งใหมท ี่ดีกวา และสรางวัฒนธรรมการดํารงชพี ท่ีคาํ นงึ ถงึ ความพอดี 7) การปรบั ปรงุ ระบบเทคโนโลยี เพอื่ ทาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในงานอยา งเหมาะสมและ ทันสมยั 2. การบริหารมงุ ผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management : RBM) การบริหารมงุ ผลสมั ฤทธิ์ ไดใชในยโุ รป อเมริกาเหนอื และออสเตรเลีย มากกวา 20 ปแ ลว เปน รปู แบบของการบรหิ ารท่ีเนน ความรบั ผิดชอบ (Accountability) ของรฐั บาลตอประชาชน การบรหิ ารมุง ผลสัมฤทธ์ิมชี ื่อเรยี กไดหลายชือ่ เชน Management for Results, Management by Objectives, Performance Management, Results Based Management หรอื Results Oriented Management ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลติ (Out Put) + ผลลัพธ (Out come) ทรพั ยากรการบริหารมาอยาง ประหยัด (Economy) การบริหารทรัพยากรอยางมีประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) และการไดผลงานท่บี รรลุ เปา หมายขององคก าร (Effectiveness) เทคนิคการบริหารมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ 8 ประการ การบรหิ ารมงุ ผลสัมฤทธิ์ มีเทคนคิ ในการบรหิ ารหลายประการ ซ่งึ สรุปโดยสังเขปดังน้ี 1) การวดั ผลการปฏิบตั งิ าน (Performance Measurement) โดยใชต วั ชี้วดั วัดผลการปฏิบตั ิงานเปรยี บ เทียบกบั เปาหมายท่ตี ัง้ ไว 2) การเทยี บงาน (Benchmarking) เปน พฒั นาองคกรทางลัดโดยศึกษาองคกรในสาขาเดียวกนั ท่ดี ี ทส่ี ดุ แลว วางแผนปฏิบตั ิงานใหไ ดเหมือนองคกรตนแบบ แสวงหากระบวนการทํางานกับวิธีปฏบิ ัติทดี่ ที ี่ สดุ (Best Practice) เพือ่ ปรับปรงุ และพฒั นาองคก ร

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 357  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 3) คณุ ภาพการใหบรหิ าร (Service Quality) พัฒนาการใหบริการเพ่ือใหผรู ับบริการสามารถเขา ถงึ การบริการมคี วามสะดวกในการบรกิ าร (Accessibility and Convenience) งา ยตอ ความเขาใจ (Simplicity) ใหบริการไดอยา งถูกตอง (Accuracy) ความรวดเร็ว (Timeliness) และความปลอดภัย (Safety) 4) การตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน (Performance Auditing) 5) การประเมนิ ผลโครงการ (Project Evaluation) 6) การมอบอํานาจและใหอิสระในการทาํ งาน (Devolution and Autonomy) 7) การวางแผนองคการและแผนกลยทุ ธ (Corporate and Strategic Planning) 8) การทําสญั ญาผลการปฏิบัตงิ าน (Performance Contracting) การบริหารมุงผลสัมฤทธจ์ิ ะประสบ ผลสาํ เร็จตอ งอาศยั ปจจัยสําคัญหลายประการ คือ ผบู ริหารระดับสูงตอ งมคี วามเขา ใจและสนบั สนนุ ดวยการ กาํ หนดพันธกิจและแผนกลยุทธท่ีชดั เจนใชขอมูลผลการปฏิบตั ิงานในการบรหิ ารจดั การ มีการจัดทาํ ระบบ ขอ มลู ผลการปฏบิ ตั งิ านดวยการพฒั นาตัวชี้วดั พัฒนาระบบขอ มูล มกี ารพัฒนาบุคลากรและองคก ารเพื่อให เปน องคก ารแหง การเรยี นรู (Learning Organization) 3. การบริการประชาชนสูค วามเปนเลิศ การบรกิ ารประชาชนถอื วาเปนภารกจิ สาํ คัญทสี่ ุดของราชการ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดบญั ญตั ิแนวทางการบริการประชาชนไวถ ึง 19 มาตรา ต้ังแตม าตรา 71-89 สวน พ.ร.บ.ระเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ไดกําหนดงานบรกิ ารประชาชนไวใ นหลายมาตรา เชน มาตรา 94 การใหความ สะดวก ความเปนธรรม ใหก ารสงเคราะหประชาชน ไมด หู มน่ิ กดขี่ เหยียดหยาม ขมเหงประชาชน เปนตน ทง้ั น้ใี นสวนของระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดว ยการปฏบิ ตั ริ าชการเพือ่ ประชาชนของหนว ยงาน ของรัฐ พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ ขเพิม่ เติม ไดกําหนดแนวทางการปฏิบตั ริ าชการเพื่อประชาชนไว สงั เขปดังนี้ 1) ใหมคี ณะกรรมการวา ดวยการปฏิบัติราชการเพอ่ื ประชาชน มีหนา ทใ่ี หความเห็นเกีย่ วกบั การตี ความและวินจิ ฉัยปญหาการปฏิบตั ิตามระเบียบดังกลา ว และมีอาํ นาจเสนอแนะเกย่ี วกบั การออกประกาศการ พจิ ารณาสั่งการของนายกรัฐมนตรี การปรับปรงุ ระเบยี บ แตงตั้งคณะกรรมการ หรือคณะอนกุ รรมการเพ่อื ปฏบิ ตั งิ านใดๆ และดําเนนิ การอน่ื ตามทก่ี ําหนดไวหรอื ตามทไ่ี ดร ับมอบหมาย 2) ใหหนวยงานของรฐั กาํ หนดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัตริ าชการเพือ่ ประชาชน ดงั นี้ 2.1) ควรดําเนนิ การตามคําขอประชาชนใหแ ลวเสร็จภายในหนึง่ วนั ทําการ 2.2) เรื่องใดไมอ าจดาํ เนินการใหเสร็จภายในหนึ่งวันทําการตอ งออกระเบียบกาํ หนดขน้ั ตอน และระยะเวลาการปฏบิ ัติราชการในเรื่องน้ันๆ 2.3) ระยะเวลาทีก่ ําหนดในระเบยี บควรแลว เสร็จใน 90 วนั เรอ่ื งใดไมอาจเสร็จภายในกําหนด ได การออกระเบยี บเร่อื งนนั้ ตองขออนุมตั ริ ัฐมนตรหี รือปลดั กระทรวง 2.4) ระเบยี บที่ออกมาแลว ตองประกาศใหป ระชาชนทราบทว่ั กนั เรื่องใดทต่ี อ งพิจารณารวมกัน หลายหนวยงาน ตองประสานการออกระเบยี บใหส อดคลองกัน 3) การปรับปรุงการปฏบิ ตั ริ าชการเพ่อื ประชาชน

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 358  คมู ือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศึกษา 3.1) เพอ่ื ประโยชนของสังคมโดยรวมและเพ่ือประโยชนในการอํานวยความสะดวกแกประชา ชน หนว ยงานของรัฐจะออกระเบียบปฏบิ ัติราชการนอกเวลาทาํ การเพื่อบรกิ ารประชาชนก็ได และใหป ระชา ชนผูมายนื่ คําขอรบั บรกิ ารเสียคา ใชจ า ยตามระเบียบกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง 3.2) เพ่อื ประโยชนในการปรบั ปรุงการบรกิ าร กระทรวงการคลังอาจออกระเบยี บเพอ่ื จัดเก็บคา ธรรมเนียมและการจายเงินคา ธรรมเนียมได 4) การรอ งทุกขแ ละการกาํ กบั ใหเ ปน ไปตามระเบียบ 4.1) หากเจา หนาทขี่ องรัฐผใู ดจงใจไมปฏิบตั ิตามระเบียบทาํ ใหเ กิดความเสียหายอยา งรา ยแรง ตอราชการหรอื ประชาชน ใหถ อื วาเปนความผิดวินัยรา ยแรง 4.2) กรณีเจา หนาทข่ี องรัฐไมปฏิบตั ิตามระเบียบ ประชาชนสามารถรอ งเรยี นตอผบู ังคบั บัญชา ของเจาหนาทนี่ ้นั หรอื รองเรียนตอคณะกรรมการโดยตรงกไ็ ด แนวทางการสรา งจติ สํานึกในการใหบริการประชาชน ระเบยี บตา งๆ ที่กลา วมาขางตน เปน เพยี งกรอบทิศทางการปฏิบตั ิงานของเจาหนาท่เี ทา นัน้ หาก จา หนา ทข่ี องรัฐบาลขาดจติ สาํ นึกในการใหบริการ แมจะมรี ะเบยี บท่ดี กี ็ไมส ามารถสรางความสาํ เร็จแลความ พงึ พอใจในการใหบริการแกป ระชาชนได มีหลกั ปฏิบัตใิ นการใหบ ริการทนี่ า สนใจ ดงั นี้ หลกั Service “บริการ” S = Smiling and Symparty: ยิม้ แยมแจมใส เอาใจเขามาใสใจเรา เหน็ อกเหน็ ใจของผูมาขอรับ บรกิ าร E = Early Response :ตอบสนองความประสงคข องผูมาขอรบั บริการอยา งรวดเรว็ ทันใจ R = Respectful : แสดงออกถงึ การใหเกียรติหรอื ความนับถอื ผมู าขอรบั บริการ V = Voluntaries manner : ใหบรกิ ารอยา งเตม็ ใจ ไมใชท ําอยางเสียไมได I = Image Enhancing : รกั ษาภาพลกั ษณข ององคการและของตนเอง C = Courtesy : ออ นโยน ออ นนอม สภุ าพ เรียบรอ ย มมี ารยาททด่ี ี E = Enthusiasm : กระฉับกระเฉง กระตอื รอื รนในการใหบรกิ าร หลกั อทิ ธบิ าท 4 : อทิ ธิบาทเปนเครอื่ งใหถ งึ ความสาํ เรจ็ หรอื หนทางแหงความสําเรจ็ ตามหลกั ของ พทุ ธศาสนา ซง่ึ สามารถนาํ ไปใชไดก บั งานทกุ งาน ประกอบดวย ฉนั ทะ : ความพอใจรักใครในงานบรกิ ารประชาชนที่ทาํ น้นั (ความเต็มใจ) วริ ยิ ะ : ความพากเพียรพยายามทํางานบริการใหด ีท่สี ดุ (ความขยัน,กระตือรือรน ) จติ ตะ : ความเอาใจใส ฝกใฝในการบริการ (ความรบั ผดิ ชอบ ความรวดเร็ว,การใหเ กยี รติ) วมิ งั สา :ความพิจารณาใครค รวญหาเหตุผล เพอื่ ปรบั ปรงุ งานบรกิ ารใหดขี ้นึ เสมอ (ความมปี ญ ญา และใชป ญ ญา)

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 359  คูม ือเตรียมสอบผูบริหารสถานศกึ ษา แนวทางการสรา งจิตสํานึกอาจมหี ลากหลายแนวทาง แนวทางท่ีกลาวมาแลว ขา งตน เปนหลกั ปฏิบตั ิ ท่ดี ี และนา จะมสี วนชวยใหผนู ําไปปฏบิ ัติสามารถพัฒนาการปฏิบัติงาน เพอ่ื บรกิ ารประชาชนใหประสบ ผลสาํ เรจ็ ได 4. วฒั นธรรมคา นิยมใหมในการทํางานเพ่อื ประชาชน วัฒนธรรมและคานยิ มการปฏบิ ัตริ าชการเดมิ ใหค วามสําคัญกับระบบและเปาหมายของทางราชการ ย่ิงกวา ความตอ งการของประชาชน ไมสามารถเกือ้ หนนุ ตอ การปฏบิ ตั ริ าชการในปจ จบุ ันได การทจุ รติ ประพฤติมชิ อบไดแผขยายวงกวา งขน้ึ เกียรตภิ ูมแิ ละศักด์ศิ รขี องอาชพี ราชการลดตํา่ ลง ระบบคุณธรรมถูก แทรกแซง การสรางวัฒนธรรมคา นิยมใหมในการทํางานเพอ่ื ประชาชน จึงเปน สิ่งจําเปน เรงดวนของหนว ย งานภาครฐั วฒั นธรรม คา นยิ มในการทาํ งาน 6 ประการ 1) มุงสรา งประโยชนใหประชาชนและประเทศชาติ เจาหนา ทขี่ อบรัฐไมใ ชผูปกครอง และไมม ที ศั นคติเปนเจาคนนายคน แตม ที ศั นคตแิ ละอุดมการณเ พ่ือสวนรวม ซ่อื สัตย สุจรติ มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มี ระเบียบวินยั มีคุณธรรม มจี ิตบรกิ าร 2) เปนทีเ่ ชือ่ ถอื ศรัทธาของประชาชน เจา หนา ท่ขี องรัฐตองเปนมติ รกับประชาชน ติดตอ งาย พรอ ม ใหค วามชวยเหลอื ยุตธิ รรม ตรงไปตรงมา ไมเลอื กปฏบิ ตั ิและมัน่ คงในอารมณ 3) มคี วามรบั ผดิ ชอบเปน ทพ่ี ึง่ ของประชาชน ทําหนา ทีด่ ว ยความรับผดิ ชอบ เปน ท่ีพึง่ ของประชาชน ได มคี วามกระตือรือรน ทจี่ ะอาํ นวยความสะดวกแกประชาชน 4) ยนื หยดั ในคณุ ธรรม เกียรตภิ มู ิ มศี กั ดศ์ิ รี กลา หาญ ทนทานตอ อุปสรรค ยดึ ถอื ประโยชนข องชาติ และประชาชน 5) ทันสมยั ทันโลก ทันสถานการณ ใฝความรู รจู ักมองการณไกล และมวี สิ ยั ทัศน 6) มีวฒั นธรรมท่ีมงุ ความเปน เลิศของงาน รูจกั เรยี นรรู ว มกัน ยอมรับขอผิดพลาด และปรับปรุงงาน ใหม คี ุณภาพอยเู สมอ คา นิยมสรา งสรรค 5 ประการ เจา หนา ทข่ี องรัฐตอ งสรางสรรคคานิยม 5 ประการ ใหมีขน้ึ ในตนเองใหไ ด ดงั นี้ 1) กลายืนหยัดทําในสิ่งที่ถกู ตอ ง (Moral courage) : ยดึ ในความถูกตองดีงาม ชอบธรรม รจู กั เสยี สละ ไมโ อนออ นผอนตามอทิ ธพิ ลผลประโยชนใ ด ยึดมัน่ ในหลกั วชิ าและจรรยาบรรณวชิ าชพี 2) ซ่ือสตั ย และมีความรบั ผิดชอบ : ปฏบิ ัติหนาทอี่ ยา งตรงไปตรงมา แยกเร่อื งสวนตัวออกจากเรอ่ื ง หนาท่ีการงาน มีความรับผิดชอบตอหนา ท่ี ตอ ประชาชน ตอ ผลการปฏิบัตงิ านและตอหนว ยงาน 3) โปรงใส ตรวจสอบได (Transparency and Accountability) ทํางานอยา งโปรงใส เปด โอกาสให ประชาชนตรวจสอบความถูกตอ งไดแ ละเปดเผยขอ มูล ขาวสารไดตามกฎหมาย 4) ไมเลือกปฏิบตั ิ (Non discrimination) ใหบรกิ ารประชาชนดว ยความเสมอภาค เนน ความสะดวก

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 360  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา รวดเรว็ ประหยัด และถกู ตอ ง มีน้าํ ใจ มีความเมตตา และเอือ้ เฟอ ตอ ผรู บั บริการ 5) มงุ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน (Result Orientation) ทํางานโดยยดึ ผลลพั ธเ ปน หลัก มีการวัดผลลพั ธและ คา ใชจาย ใหง านแลวเสร็จตามกาํ หนด ใชท รพั ยากรอยา งคมุ คา เพ่ือใหเกิดผลดแี กหนว ยงานและสวนรวม การสรางวฒั นธรรมและคานิยมสรางสรรคข องเจาหนา ท่รี ัฐดังกลา ว จะตองดาํ เนินการไปพรอ มกบั การรกั ษาจรรยาบรรณวชิ าชีพ ซ่งึ เปน มาตรฐานความประพฤตทิ างวชิ าชีพ (Professional ethics) และศลี ธรรม ประจําอาชีพ (professional morality) รวมทั้งตอ งมีมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม เพอื่ เปน ปราการ ปองกนั การทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบไมใ หเกิดข้ึนได 5. การสรา งระบบบริหารกจิ การบานเมืองทดี่ ี การบริหารกจิ การบา นเมอื งและสงั คมทีด่ ี (Good Governance) ปรากฏในหนงั สอื แสดงเจตจาํ นง ขอกูเ งินจากกองทุนการเงนิ ระหวางประเทศ (IMF) ไดแ พรหลายออกไปและมีผูใชคําศพั ทไ ทยหลายคํา เชน รัฐมนตรใี ชค ําวา ระบบบรหิ ารกจิ การบา นเมืองและสงั คมที่ดี เพอ่ื ใหเขาใจความหมายไดงา ยข้ึน ระบบบรหิ ารกิจการบา นเมืองและสังคมทีด่ ี เปน แนวทางการจดั ระเบยี บเพอ่ื ใหสังคมของประเทศ ทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน สามารถอยูรว มกันไดอ ยางสงบสุข มคี วามถูกตอ งและเปนธรรม ในอดตี พระมหากษัตรยิ ท รงปกครองประเทศ ดูแลอาณาประชาราษฎรดว ยหลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ ไดแ ก ทาน (การให,แบงปน) ศลี (รกั ษาศลี ) ปริจจาคะ (สละประโยชนส ว นตัว) อาชชวะ (ซือ่ ตรงตอ ตนเอง และผูอนื่ ) มทั ทวะ (ออ นโยนมีสัมมาคารวะ) ตบะ (พวกเพยี รไมเกยี จครา น) อักโกธะ (ระงบั ความโกรธ) อวหิ ิงสา (ไมเ บยี ดเบยี น) ขนั ติ (อดทน) และ อวโิ รธนะ (แนวแนใ นความถูกตอ ง) เมื่อปรบั เปลยี่ นการเมอื ง การปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย กพ็ ยายามที่จะปรปั ปรุงการบรหิ ารกจิ การบานเมอื งใหเ จรญิ รงุ เรือง ขึ้น ซึง่ หลักทศพธิ ราชธรรมก็ยังมคี วามสาํ คัญและจาํ เปนในการปฏิบัติงาน โดยมีการปรบั ปรงุ เพ่ิมเติมใหม ี ความเหมาะสม เชน การมีสวนรว มของผเู กยี่ วขอ ง (Pubic Participation) ความโปรงใสในการทํางาน (Transparency) ความพรอ มรับการตรวจสอบ (Accountability) ความชอบธรรมในการใชอํานาจ (Political Legitimacy) การมีกฎเกณฑท่ยี ุตธิ รรมและชัดเจน (Fair Legal Framework) และการบริหารทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ล (Effectiveness and Efficiency) หลักการสรา งระบบบรหิ ารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี 6 ประการ ระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการสรา งระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังที่ดี พ.ศ. 2542 ไดกําหนดหลกั จาํ เปนทีจ่ ะตอ งรวมมอื กันปฏบิ ตั ิทุกภาคสว นของสังคม ท้ังภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาค ประชาชน ประกอบดวย หลกั ท่ี 1 หลกั นิตธิ รรม ไดแก การตรากฏหมาย กฏ ขอ บงั คบั ตา งๆ ใหท ันสมยั เปน ธรรม และเปน ทยี่ อมรับ จงึ ตอ งมกี ารปรับเปลยี่ น ทบทวน แกไข เผยแพรเ สมอ

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 361  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา หลกั ท่ี 2 หลกั คณุ ธรรม ไดแ ก การยึดมนั่ ในความถูกตอ งดงี ามปฏิบตั ใิ หเ ปน แบบอยา งแกสงั คม และ สนบั สนุนใหประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอ มกัน เพือ่ สรา งความซ่อื สัตย จริงใจ ขยัน อดทน มรี ะเบียบ วินยั ประกอบอาชีพสจุ ริต หลกั ท่ี 3 หลักความโปรงใส ไดแก การปรับปรุงกลไกการทํางานขององคก รทกุ วงการใหมีความ โปรง ใส ประชาชนสามารถเขาถึงขอ มลู ขาวสารไดสะดวกและเขา ใจงาย หลกั ท่ี 4 หลักความมสี ว นรวม ไดแ ก การเปดโอกาสใหประชาชนเขา มามสี ว นรวมรับรแู ละเสนอ ความเห็นในการตัดสนิ ใจปญหาสําคัญของประเทศ หลกั ที่ 5 หลกั ความรับผิดชอบ ไดแ ก ความตระหนักในสิทธหิ นาท่ีความสํานึกในความรบั ผิดชอบ ตอ สังคม การเอาใจใสใ นปญ หาของบา นเมืองและมงุ มนั่ แกป ญ หา รวมถงึ การเคารพในความคดิ เห็นที่ แตกตาง หลกั ที่ 6 หลักความคุมคา ไดแ ก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรอยา งประหยัดเกดิ ประโยชน สงู สดุ มีความคมุ คา ในระยะตอ มารัฐบาลไดประกาศใชพระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลักเกณฑและวธิ กี ารบริหารกจิ การบา น เมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546 กําหนดหลักเกณฑและวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งท่ีดี เพื่อใหสว นราชการรฐั วสิ าหกจิ และขา ราชการ นําไปปฏิบตั ิซึ่งไดเสนอรายละเอียดไวในบทตอ ไป 6. การบรหิ ารงบประมาณแบบมนุ เนนผลงานเชงิ ยุทธศาสตร งบประมาณเปน ปจ จัยบรหิ ารทส่ี ําคญั ตอการขบั เคลือ่ นภารกิจใหบรรลเุ ปาหมาย กอนป พ.ศ. 2525 ประเทศไทยใชร ะบบงบประมาณแบบแสดงรายการ (Line-Item Budgeting) ซ่งึ แสดงการใชเงินเปนรายการ เนนการควบคมุ รายละเอียดการใชจ า ย ขาดความเชื่อมโยง ขาดความคลองตวั ป พ.ศ. 2525 จึงปรับปรงุ ระบบ งบประมาณเปนระบบงบประมาณแบบแผนงาน (Programmer budgeting) ผสมผสานกบั แผนแสดงรายการ แตก็ไมส ามารถแกไขปญ หาตางๆ ท่เี คยมใี หเสรจ็ สิน้ ได ป พ.ศ.2542 คณะรัฐมนตรีไดเ หน็ ชอบแผนปฏิรูป ระบบบรหิ ารภาครัฐและตอ งมกี ารปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณบรหิ ารภาครฐั และตองมกี ารปรบั ปรุงระบบการจดั การงบประมาณเปน ระบบงบประมาณแบบมุงเนน ผลงานเชงิ ยทุ ธศาสตร (Strategy Performance-based budgeting : SPBB) ระบบงบประมาณแบบมุง เนน ผลงานเชงิ ยทุ ธศาสตร (SPBB) มุงเนนที่จะเชอ่ื มโยงการใชท รัพยากร และผลงานท่เี กดิ ข้ึน ซึง่ ตอ งคํานงึ ถงึ ผลผลติ ผลลัพธ ทงั้ ดา นปริมาณ คุณภาพ เวลา และการใชท รัพยากร รวม ถงึ ความพึงพอใจของผูมีสว นไดเสีย การจัดระบบงบประมาณแบบ SPBB จะทําใหม ่นั ใจไดว า ผลผลิตท่ีเกดิ ขึน้ มคี วามเชื่อมโยงกับผลลัพธ สอดคลองกบั เปาหมายและนโยบายของรัฐ มีปรมิ าณ คณุ ภาพ เหมาะสมและ ประชาชนจะไดร บั ผลประโยชนสูงสุด สํานกั งบประมาณไดก าํ หนดมาตรฐานการจดั การทางการเงินรองรบั การบริหารจัดการงบประมาณ แบบมงุ เนน ผลงานเชงิ ยทุ ธศาสตรไ ว 7 Hurdles ประกอบดว ย

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 362  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา 1) การวางแผนงบประมาณ (Budget Planning) หนวยงานของรฐั ตอ งวางแผนกลยทุ ธ (Strategic Planning) และวางแผนงบประมาณรายจา ยลวงหนาระยะปานกลาง (Medium-Term expenditure framework:MTEF) 2) การคิดตน ทนุ กิจกรรมและคาํ นวณตนทุนผลผลิต (Output Costing) เพ่ือนาํ ไปสูการจัดสรรงบ ประมาณที่เนน ผลผลิตและตน ทนุ ตอ หนวยของผลผลติ 3) การจดั ระบบจัดซ้อื จดั จา ง (Procurement management) เพือ่ จัดระบบและขน้ั ตอนการจดั ซ้อื จดั จา ง ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ รัดกมุ และโปรงใส 4) การบรหิ ารการเงนิ และการควบคมุ งบประมาณ (Financial management and fund control) โดย ตั้งมาตรฐานการควบคมุ งบประมาณ และการกําหนดความรบั ผดิ ชอบเรื่องบัญชกี ารเงนิ 5) การบรหิ ารสินทรัพย (Asset management) เพ่อื ใชส ินทรัพยท่มี อี ยูใ หเกิดความคุมคามากท่สี ดุ 6) การรายงานทางการเงนิ และผลการดําเนนิ งาน (Financial and Performance Reporting) เพือ่ แสดง ความโปรง ใส ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลในการใชง บประมาณ 7) การตรวจสอบภายใน (Internal audit) เพ่อื ควบคมุ การใชง บประมาณและปรับปรุงการดําเนินงาน ใหม ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลสงู สดุ หลกั เกณฑและวธิ ีการบริหารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี ตามพระราชกฤษฎกี ารวา ดว ยหลกั เกณฑและ วธิ ีการบริหารกิจการบานเมืองท่ดี ี พ.ศ. 2546 ตามเจตนารมณข องพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผน ดนิ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ตองการ ใชม กี ารปรบั ปรงุ ระบบบริหารราชการเพ่อื ใหสามารถปฏบิ ตั งิ านตอบสนองตอ การพฒั นาประเทศและให บริการแกป ระชาชนไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขนึ้ โดยกําหนดใหก ารบริหารราชการแนวใหมต องมกี าร กาํ หนดนโยบาย เปาหมาย และแผนปฏบิ ตั งิ าน เพื่อใหสามารถประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานในแตล ะระดับได อยางชัดเจนรวมทงั้ ใหม กี รอบการบรหิ ารกิจการบา นเมอื งทีด่ ีเปนแนวทางในการกํากบั นโยบายและการ ปฏิบตั ริ าชการ ในการปฏิรูประบบราชการท่ีผา นมาจะเหน็ วามีเปาหมายหลักอยู 3 ประการ คอื การจดั สว น ราชการใหม โดยคาํ นึงถึงยทุ ธศาสตรของชาตใิ นแตละดา น มีการบรู ณาการภารกิจเพอ่ื ใหส ามารถบรหิ าร จัดการไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ และกาํ หนดอํานาจหนา ที่ของผบู รหิ ารในระดบั ตา งๆ ใหช ดั เจน การพฒั นา การจัดองคกก ารเพอื่ ใหก ารปฏบิ ัติราชการและการพฒั นาบุคลากรใหมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถรองรับการ ปฏริ ูประบบราชการได และการกําหนดแผนปฏบิ ตั ิราชการซึ่งจะนําไปสกู ารบรหิ ารราชการท่ีดี ซง่ึ ผลจาก การปฏิรูประบบราชการจะทําใหร ฐั บาลสามารถกาํ หนดนโยบาย เปาหมายการดําเนนิ งานแตล ะปไดอยา งชัด เจน มีกลไกที่จะพฒั นาองคกรของภาครัฐใหมีประสทิ ธภิ าพ สวนราชการและขาราชการมแี นวทางในการ ปฏิบัตริ าชการทีม่ มี าตรฐานชดั เจนโปรง ใส สามารถวดั ผลการปฏิบัตงิ านได และประชาชนจะไดร ับการ บรกิ ารทรี่ วดเร็ว สามารถมสี ว นรวมในการบรหิ ารงานภาครัฐได

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 363  คูมือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา การจัดกลมุ ปฏบิ ตั ริ าชการ 5 กลมุ ภารกจิ เพ่ือใหส วนราชการในทกุ กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานอนื่ ของรฐั สามารถปฏิบัตงิ านทมี่ ี คณุ ลกั ษณะหลากหลาย เลือกวธิ ีการดาํ เนนิ งานในแตละภารกจิ ไดเหมาะสม จงึ กําหนดแนวทางการปฏิบัติ ราชการเปน 5 กลุมภารกจิ คือ กลุมท่ี 1 ภารกิจทที่ ุกสว นราชการตอ งดาํ เนินการไปพรอ มกนั ในทันที ไดแกเ รอื่ งการบรหิ ารราชการ เพือ่ ประโยชนส ุขของประชาชน การบริหารราชการอยา งมีประสิทธิภาพ การลดขนั้ ตอนและระยะเวลาการ ใหบรกิ าร การพัฒนาคณุ ภาพการใหบ ริการ การอํานวยความสะดวกในการบริการ และการปรับปรงุ ภารกจิ ของสวนราชการ ในปงบประมาณ 2547 มีสวนราชการปฏิบัติราชการในกลมุ ที่ 1 (ภาคบังคบั ) รวม 68 หนวย งาน กลุม ที่ 2 ภารกิจท่ใี หบางสว นราชการดําเนนิ การเพ่อื หาตน แบบ ไดแ ก ภารกจิ ทส่ี วนราชการมีความ พรอ มสามารถดาํ เนนิ การไดเ อง ในปงบประมาณ 2547 มีสว นราชการปฏิบัตริ าชการในกลุมท่ี 2 (ระดบั ทาทาย) จาํ นวน 23 หนว ยงาน กลมุ ที่ 3 ภารกิจท่ีจัดใหมโี ครงการนํารอ ง ไดแ ก ภารกจิ ท่ีสว นราชการมีความพรอมสามารถดําเนิน การได แตไ มสามารถดาํ เนินการตามลาํ พงั ตอ งไดรับความรว มมอื หรือความชวยเหลือจากหนว ยงานอ่ืนหรือ สว นราชการทีเ่ ปน สว นราชการยทุ ธศาสตร ปง บประมาณ 2547 มีกระทรวงเขา รว มดําเนินการ 10 กระทรวง และจังหวดั 75 จังหวดั กลุมที่ 4 ภารกจิ ท่ีตองมกี ารศกึ ษาจดั ทําคูม อื แนวทางดําเนินการกอน ไดแก ภารกิจที่การดาํ เนินงาน ตองอาศยั ความเช่ียวชาญเฉพาะดานซึ่งตอ งมกี ารศึกษาวเิ คราะหท ช่ี ัดเจนกอนท่จี ะขยายผลไปสูก ารปฏบิ ัติ กลุม ท่ี 5 ภารกจิ ที่ตอ งรอรัฐบาลใหม ไดแก ภารกจิ ทไ่ี ดก ําหนดเงอื่ นไขใหรัฐบาล หรือคณะรฐั มนตรี ทีเ่ ขารบั หนา ท่ดี ําเนินการ หรือภารกิจที่กําหนดใหส วนราชการเตรียมการเพอ่ื รอรฐั บาลชุดใหม สาระสาํ คัญของการดาํ เนินการตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมืองทดี่ ี เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั ริ าชการสามารถสนองตอบตอ การปฏิรูประบบราชการไดต ามทม่ี งุ ประสงค พระ ราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546 จึงไดกาํ หนดแนวทางการ ปฏบิ ัตริ าชการไว ซงึ่ มีสาระสําคัญ ดังน้ี เปาหมายการบริหารกิจการบา นเมืองท่ีดี 7 ประการ การบริหารกจิ การบานเมอื งทดี่ ี เปนการบรหิ ารราชการเพื่อใหบรรลเุ ปาหมายในแตละเรื่อง ไดแ ก เกิดประโยชนสุขของประชาชน เกดิ ผลสัมฤทธิต์ อภารกิจของรัฐ มีประสทิ ธิภาพและเกดิ ความคมุ คาใน เชิงภารกจิ ของรฐั ไมมขี นั้ ตอนการปฏบิ ัติงานเกนิ ความจําเปน มีการการปรบั ปรุงภารกิจของสวนราชการ ให ทันตอ สถานการณ ประชาชนไดรบั การอาํ นวยความสะดวกและไดร บั การตอบสนองความตอ งการ และ มกี ารประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการอยา งสม่าํ เสมอ

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 364  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา สาํ หรบั แนวทางการปฏิบตั ิราชการเพอ่ื ใหบ รรลเุ ปาหมายของการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีในแต ละเร่ือง มีสาระโดยสงั เขปดงั นี้ 1. การบริหารราชการเพอื่ ใหเกิดประโยชนสขุ ของประชาชน เปาหมายการปฏิบตั ิราชการเพอื่ ประชาชน มงุ ใหเ กิดความผาสกุ และความเปนอยทู ีด่ ีของประชาชน มคี วามสงบปลอดภยั ของสงั คมและเกดิ ประโยชนส งู สุดตอประเทศชาติ โดยมแี นวทางดาํ เนินการดังน้ี 1) ภารกจิ ของรฐั และสวนราชการ ตองมีวัตถปุ ระสงคเพื่อใหบรรลเุ ปาหมาย เพอ่ื ใหเกดิ ความผาสกุ และความเปน อยทู ีดขี องประชาชน ความสงบ และปลอดภัยของสังคม และเกิดประโยชนส ูงสดุ ตอ ประเทศ 2) การปฏบิ ตั ิภารกจิ ตอ งเปน ไปโดยซอื่ สัตยส ุจรติ ตรวจสอบได มงุ ใหเ กดิ ประโยชนสขุ แกประชา ชนท้งั ระดบั ทองถิน่ และระดบั ประเทศ 3) กอนดําเนินการภารกจิ ใด ตองมกี ารศกึ ษาวเิ คราะหค วามเปนไปได ความเหมาะสม ประโยชนที่ ไดรับ มคี วามโปรงใส มีกลไกตรวจสอบได กรณีทมี่ ีผลกระทบตอประชาชนตอ งมีการรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชน หรือมกี ารชแี้ จงทาํ ความเขา ใจ 4) ตองรบั ฟงความคิดเห็นและความพงึ พอใจของประชาชนและของสังคมโดยรวม เพ่ือปรับปรุง การปฏบิ ตั ริ าชการใหเหมาะสม 5) เม่ือมปี ญหาอุปสรรคตอ งจดั การแกไ ขโดยดวน กรณีเกีย่ วขอ งกับสว นราชการอ่ืนตอ งแจง ให ทราบเพื่อแกไ ขโดยเร็ว และแจง ก.พ.ร. ทราบดวย 2. การบรหิ ารราชการเพ่อื ใหเกดิ ผลสัมฤทธต์ิ อ ภารกจิ ของรฐั การบรหิ ารราชการแบบมงุ สมั ฤทธผ์ิ ล มุงเนนใหไดผลลัพธ (Out Come) ตรงตามวัตถปุ ระสงค (Objective) จงึ ตอ งมกี ารจดั ทาํ ขอ ตกลงวา ดวยการทํางานใหทกุ ระดบั (Performance agreement) แนวทางการพัฒนาการปฏิบัตริ าชการของสวนราชการ สวนราชการตองมีการพฒั นาการปฏิบัติราชการเพือ่ ใหเกดิ การบรหิ ารราชการแบบมงุ ผลสมั ฤทธิ์ ดงั น้ี 1) ตองกําหนดวิสยั ทัศน พันธกจิ วัตถปุ ระสงค และเปา หมาย ทเี่ นนผลผลติ และผลลัพธท ช่ี ัดเจน ไม เนน งานประจาํ 2) ผบู ริหารทกุ ระดบั มงุ ม่ันสเู ปาหมาย และปฏบัตงิ านทส่ี อดคลองกบั พันธกจิ หลัก 3) กําหนดตวั ช้วี ดั ผลการปฏบิ ตั ิงาน เพอื่ ใหสามารถตดิ ตามการปฏิบัติงานไดและสามารถเทยี บเคยี ง ผลการปฏิบัตกิ บั องคกรอ่นื ที่มลี กั ษณะงานใกลเคยี งได 4) การจดั สรรงบประมาณ ใหส วนราชการพจิ ารณาจากผลสัมฤทธิข์ องงานเปนหลกั รวมทง้ั การให คา ตอบแทน สวสั ดกิ าร รางวัลใหประเมนิ ผลจากการปฏิบตั ิงาน 5) ขาราชการในสวนราชการตอ งรบั รูพันธกิจหลักและเปา หมายเพอ่ื รวมกัน รับผิดชอบขับเคลอ่ื น การทาํ งาน

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 365  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 6) กระจายอาํ นาจการตัดสินใจไปยังระดบั ตางๆ เพ่ือใหเกดิ ความรับผิดชอบและความรวดเรว็ ในการ บริการประชาชน 7) พฒั นาองคก รใหเ ปน องคก รแหง การเรยี นรู เพ่อื สรา งความเขม แข็งทนั สมัยเสมอ 8) ขา ราชการกระรอื รอื รน มสี วนรว มรับผิดชอบตอองคกร และพัฒนาระบบการทาํ งานทม่ี ีประสิทธิ ภาพอยูเสมอ การพัฒนาการปฏบิ ัติราชการของสวนราชการดงั กลา ว ตองสามารถวัดผลสฤั ทธข์ิ องภารกิจที่กระทํา ไดอ ยา งชดั เจน การบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการที่เนนความรว มรว มมอื ระหวา งสว นราชการทเ่ี ก่ียวขอ ง ยอ มสงผลสมั ฤทธิใ์ หสงู ยิง่ ขึ้น จึงตอ งมีการบูรณาการการทาํ งานระหวา งสว นราชการตา งๆ ทเี่ กย่ี วของกนั ไป ดวย 3. การบรหิ ารราชการอยางมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคุมคาในเชงิ ภารกิจของรัฐ การบริหารราชการของสว นราชการเพ่อื ใหมปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ความคุมคา สว นราชการตอง ปฏบิ ตั ิโดยยดึ หลักการ ดงั น้ี 1) หลกั ความโปรงใส สวนราชการตองกาํ หนดเปา หมายแผนการทํางาน ระยะเวลาแลวเสรจ็ และงบ ประมาณของแตล ะงานหรือโครงการ และประกาศเผยแพรใหขา ราชการและประชาชนทราบท่ัวกันเพ่อื สราง ความชดั เจนในการปฏิบตั งิ าน สรา งความรูสึกที่ดแี ละเกดิ การยอมรบั ผลการปฏบิ ตั ริ าชการจากประชาชน 2) หลกั ความคมุ คา เปนการแสดงใหเ ห็นถึงประสิทธภิ าพของการบริหารราชการ โดยพจิ ารณา เปรียบเทยี บระหวางปจจยั นาํ เขา (input) กบั ผลลพั ธ (out come) ท่เี กิดขนึ้ ซ่ึงสว นราชการตอ งจัดทําบญั ชตี น ทุนในงานบรกิ ารสาธารณะและประเภทตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทีก่ รมบญั ชีกลางกาํ หนด สาํ หรับประเมนิ ความคมุ คา เปนการวเิ คราะหการปฏบิ ตั งิ านของแตล ะสว นราชการวา ประโยชนท ี่ เกิดข้ึนเม่อื เทียบกบั การใชทรัพยากรบังเกิดความคมุ คาหรือไม การประเมนิ ประโยชนท เี่ กดิ ขึน้ ในพิจารณาถงึ ประโยชนดา นอ่ืนทไ่ี มอาจคาํ นวณเปนตัวเงนิ ดวย ในสวนราชการจัดซอื้ จัดจา งตองดาํ เนนิ การโดยเปด เผยและเท่ยี งธรรม พจิ ารณาถงึ ประโยชน ผลเสีย ทางสงั คม ภาระตอ ประชาชน คณุ ภาพ ราคา การดูแลรักษา ทัง้ นไ้ี มตองเปนราคาตาํ่ สุดในการจดั ซ้ือหรือจัด จา งเสมอไป ใหย ึดหลักความคมุ คา เปนสําคญั 3) หลักความรบั ผิดชอบเพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั ริ าชการมคี วามชดั เจนท้งั บทบาทภารกจิ และกําหนดระยะ เวลา โดยเฉพาะงานท่เี ก่ียวขอ งหลายหนวยงาน จงึ ใหส ว นราชการกําหนดความรบั ผดิ ชอบของสวนราชการ และกาํ หนดระยะเวลาการปฏิบตั ิราชการใหช ดั เจน ประกาศใหส ว นราชการอืน่ ทราบดว ย กรณีสว นราชการมิ ไดดําเนนิ การตามทีก่ าํ หนดใหถอื วาเปนการประมาท เลินเลอ อยางรายแรง การสั่งราชการปกตใิ หส่ังเปน ลายลักษณอักษร เวน แตมคี วามจาํ เปนจะสง่ั ดว ยวาจาก็ได ใหผูรบั คาํ ส่ังบันทึกไวเปนลายลกั ษณอ ักษร เมอ่ื ปฏิบตั ิเสรจ็ แลวใหบันทกึ รายงานผูสงั่ ทราบโดยอางอิงคําสง่ั ดวยวาจา ดวย

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 366  คมู อื เตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 4. การลดขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน การปฏบิ ัติงานของสว นราชการเกยี่ วกบั การอนุญาต การอนุมัติ และการปฏิบตั ริ าชการ หรอื การ ดําเนนิ การอน่ื เพ่อื ใหเกดิ ความสะดวก รวดเรว็ มวี ิธดี าํ เนินการไดดังน้ี 1) การกระจายอํานาจการตัดสินใจ โดยสวนราชการจัดใหม ีการกระจายอํานายการตัดสนิ ใจเก่ยี วกับ การอนุญาต อนุมตั ิ การปฏบิ ตั ริ าชการหรือการดําเนนิ การอื่นใด ใหผูทม่ี ีหนา ท่รี บั ผิดชอบในเร่อื งนนั้ โดยตรง เพอื่ ใหเกิดความสะดวก รวดเร็ว ลดข้ันตอนในการใหบรกิ ารประชาชน 2) การจดั ระบบควบคุม กํากับ ติดตาม ดแู ลการใชอาํ นาจ เม่อื สวนราชการดําเนินการกระจายอาํ นาจ ไปยงั ผูรบั ผิดชอบในระดับตา งๆ แลว สว นราชการตองกาํ หนดหลักเกณฑใ นการควบคมุ กาํ กับติดตามดแู ล การใชอ าํ นาจและความรบั ผดิ ชอบ ซง่ึ หลักเกณฑที่กําหนดขนึ้ ตองไมส รา งข้นั ตอนทไี่ มจาํ เปนขน้ึ 3) การใชเทคโนโลยีสารสนเทศหรอื โทรคมนาคม หากสว นราชการสามารถใชเทคโนโลยสี าร สนเทศ หรอื โทรคมนาคม เพือ่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิราชการและลดคา ใชจา ยรวมทง้ั ไมเกิดผลเสียหาย แกทางราชการ เมอื่ ไดด ําเนนิ การแลว ตอ งเผยแพรใ หประชาชนทราบ 4) การกําหนดหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารหรือแนวทางในการกระจายอาํ นาจ ก.พ.ร. โดยความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรี จะกาํ หนดหลักเกณฑและวธิ กี ารหรอื แนวทางในการกระจายอํานาจการตดิ สินใจความ รับผิดชอบระหวางผูมอบอาํ นาจและผรู ับมอบอํานาจ รวมทง้ั การลดขนั้ ตอนการปฏิบัตริ าชการใหส วนราช การถอื ปฏิบัตกิ ไ็ ด 5. การปรบั ปรงุ ภารกิจของสวนราชการ การทบทวนภารกิจของสวนราชการเปนส่งิ สําคัญทตี่ องปฏบิ ตั ิเพือ่ จะไดมีการปรับปรุงหรอื เปลยี่ น แปลงภารกิจใหเหมาะสมอยูเสมอมีสาระสาํ คัญ ดงั น้ี 1) การทบทวนภารกจิ 1.1) สว นราชการตองทบทวนภารกิจตามระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กาํ หนดเพือ่ ตรวจสอบวา ภารกจิ ใดจาํ เปน ตองดาํ เนนิ การตอไป ภารกิจใดสมควรยกเลกิ ปรับปรุง หรอื เปลีย่ นแปลงไป โดยคาํ นงึ ถงึ แผนการบริหารราชการแผนดิน นโยบายขอรบั งบประมาณประเภทความคุมคา และหากเห็นควรเปลีย่ น แปลงตองเสนอคณะรัฐมนตรเี พ่อื ปรับปรงุ อํานาจหนา ท่ีโครงสราง อัตรากําลงั สวนราชการใหส อดคลอ งกนั 1.2) ในกรณีที่ ก.พ.ร. ไดว ิเคราะหภารกิจขอรัฐทส่ี วนราชการใดดาํ เนินการอยู เหน็ วาสมควรยก เลิก ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง หรอื เพ่ิมเตมิ ใหเสนอคณะรฐั มนตรีพจิ ารณา เม่อื คณะรฐั มนตรเี ห็นชอบแลวให สวนราชการดาํ เนนิ การปรับปรงุ ภารกิจ อาํ นาจหนา ท่ี โครงสรา งและอตั รากาํ ลังตอ ไป 1.3) หลงั จากมกี ารยบุ เลิก โอน หรอื รวมสว นราชการจากการปรับปรงุ ภารกจิ แลว หามจัดตง้ั สวนราชการท่ีมีภารกจิ หรืออํานาจหนาที่ ลกั ษณะเดยี วกัน หรือคลายคลึงกนั ขึน้ อกี เวน แตจ ะมเี หตผุ ลสําคัญ จําเปน เกยี่ วกับการเปลีย่ นแปลงแผนการบรหิ ารราชการแผน ดนิ หรือเพอ่ื รกั ษาความม่ันคงของรัฐ เศรษฐกิจ หรอื ผลประโยชนของประเทศ

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 367  คูมือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา 2) การทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ 2.1) สวนราชการมีหนาทส่ี าํ รวจและทบทวน เพอ่ื ยกเลกิ ปรับปรุง หรือจดั ใหมี กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ บังคับ และประกาศทอ่ี ยใู นความรับผิดชอบ เพอื่ ใหทันสมัย เหมาะสมกับสภาวการณสอดคลอง กบั ความจําเปนทางเศรษฐกจิ สังคม และความมั่นคงของประเทศโดยคาํ นงึ ถงึ ความสะดวก รวดเร็ว และลด ภาระของประชาชน 2.2) สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มหี นา ท่ี ตรวจสอบกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ของทกุ สว นราชการ ทไ่ี มเหมาะสม เปนอปุ สรรค หรือเปนภาระความยุง ยากแกประชาชน เพ่อื เสนอใหมี การปรบั ปรุงแกไ ข หรือยกเลิก ถา สว นราชการไมเ หน็ ดว ยกับขอ เสนอจะตองเสนอใหค ณะรัฐมนตรวี ินิจฉยั 6. การอาํ นวยความสะดวกและตอบสนองความตอ งการของประชาชน สวนราชการตอ งดําเนนิ การเพอ่ื อาํ นวยความสะดวกและ ตอบสนองความตองการของประชา ชน ดงั นี้ 1) การกาํ หนดระยะเวลาการปฏบิ ตั ิงาน สว นราชการตอ งกําหนดระยะเวลาแลวเสร็จของงาน แตล ะงาน แลวประกาศใหประชาชนและขา ราชการทราบ สวนราชการใดไมไดกาํ หนดระยะเวลาแลวเสรจ็ หรอื กาํ หนดไวแ ต ก.พ.ร. เหน็ วาชา เกนิ ควร ก.พ.ร. อาจกําหนดเวลาแลวเสร็จใหส วนราชการน้นั ปฏบิ ตั กิ ไ็ ด 2) การจัดระบบเครือขา ยสารสนเทศ สว นราชการตอ งจัดใหมรี ะบบเครือขา ยสารสนเทศ เพ่อื อาํ นวยความสะดวกแกประชาชนท่ีมาติดตอสอบถามหรือขอขอมลู หรือแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั การ ปฏิบัตริ าชการของสวนราชการ การจัดระบบเครือขายสารสนทศ ตองจดั ทาํ ในระบบเดียวกบั กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สารจัดใหมขี น้ึ สว นราชการใดไมส ามารถดําเนนิ การได อาจขอใหกระทรวงเทคโนโลยสี าร สนเทศและการส่ือสารชว ยดําเนนิ การก็ได 3) การับฟง คาํ รองเรียน ขอเสนอแนะ หรือความคิดเห็นเมอื่ สว นราชการไดรบั คาํ รอ งเรยี น ขอ เสนอแนะหรอื ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั วิธกี ารปฏิบตั ิ ตองดาํ เนนิ การแกไขแลว แจง ผูรองเรยี นใหรบั ทราบ 7. การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ เพื่อเปนการวดั ผลการปฏิบัตริ าชการวามผี ลสมั ฤทธต์ิ รงตามเปาหมายท่ีกาํ หนดไวห รอื ไม จึงตองมีการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการซ่งึ มีแนวทางดาํ เนนิ การ ดงั น้ี 1) สวนราชการตองจัดใหมคี ณะผปู ระเมินอสิ ระดําเนนิ การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของ สวนราชการ เกีย่ วกับผลสัมฤทธ์ิของภารกจิ คุณภาพการใหบรกิ าร ความพงึ พอใจของผูรบั บริการ ความ คมุ คา ตามหลกั เกณฑ วิธกี าร และระยะเวลาท่ี ก.พ.ร. กําหนด 2) สวนราชการอาจประเมินภาพรวมของผูบังคบั บญั ชาแตล ะระดบั หรือหนวยงาน ซ่งึ ตอ ง กระทาํ เปนความลับ 3) การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของขา ราชการ ใหส วนราชการประเมินโดยคํานงึ ถงึ ผลรวม การปฏิบัติงานเฉพาะตวั ของขาราชการประโยชนแ ละผลสัมฤทธิ์ท่หี นวยงานไดร บั

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 368  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 4) สวนราชการใดทีผ่ ลการดําเนนิ การใหบริการทม่ี คี ณุ ภาพเปนไปตามเปาหมายเปน ท่ีพึงพอใจ ของประชาชน ให ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรีจดั สรรเงนิ เพม่ิ พเิ ศษเปน บําเหนจ็ ความชอบแกสวนราชการน้นั หรอื หากสวนราชการสามารถเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการปฏิบัตงิ านได ก.พ.ร. อาจเสนอขอจดั สรรเงนิ รางวัลการ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพใหได 2. แผนพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550) คณะรฐั มนตรีไดมมี ติเหน็ ชอบแผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550) เม่ือวันที่ 19 พฤษภาคม 2546 ตามทค่ี ณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร) เสนอ เพือ่ สรา งความเปนเลศิ ของระบบราชการไทยใหส ามารถรองรับกบั กระแสการเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดข้นึ ได สาระสาํ คญั ของแผนยทุ ธ ศาสตรก ารพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550) มีดังนี้ วิสัยทศั น พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปน เลศิ สามารถรองรบั การพัฒนาประเทศไทยในยคุ โลกา- ภวิ ัฒน โดยยดึ หลักการบริหารกจิ การบานเมืองท่ีดี และประโยชนสขุ ของประชาชน เปา ประสงคหลกั 4 ประการ (Goals) 1. พัฒนาคณุ ภาพการใหบริการประชาชนทีด่ ีขน้ึ (Better Service Quality) 2. ปรบั บทบาท ภารกิจ และขนาดใหมีความเหมาะสม (Rightsizing) 3. ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานใหอ ยใู นระดับสูงและเทยี บเทา เกณฑ สากล (High Performance) 4. ตอบสนองการบรหิ ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย (Democratic Governance) ยุทธศาสตรก ารพฒั นาระบบราชการไทย 7 ประการ 1. การปรบั เปล่ยี นกระบวนและวธิ ีการทาํ งาน 2. การปรับปรุงโครงสรางการบริหารราชการแผนดิน 3. การรื้อปรบั ระบบการเงนิ และงบประมาณ 4. การสรา งระบบบรหิ ารงานบุคคลและคา ตอบแทนใหม 5. การปรับเปลย่ี นกระบวนทศั น วัฒนธรรม และคานิยม 6. การเสริมสรา งระบบราชการใหทนั สมัย 7. การจัดระบบราชการใหประชาชนเขามามสี วนรวม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 369  คูมือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา ตวั ชวี้ ัดความสาํ เร็จตามเปา ประสงคห ลัก 4 ประการ 13 ตวั ช้ีวดั 1. พฒั นาคุณภาพการใหบริการประชาชนทีด่ ี 1) ประชาชน รอ ยละ 80 โดยเฉลยี่ มคี วามพงึ พอใจในคณุ ภาพการใหบริการของหนวยงาน ราชการ 2) ขัน้ ตอนและระยะเวลาการปฏิบตั ริ าชการเพ่อื ใหบ รกิ ารประชาชนลดลงไดม ากกวา รอ ยละ 50 โดยเฉล่ยี ภายในป พ.ศ. 2550 2. ปรับบทบาท ภารกจิ และขนาดใหม ีความเหมาะสม 1) ปรมิ าณจาํ นวนของภารกิจที่ไมใ ชภารกจิ หลักของสวนราชการ(Non Core functions) ลดลงไมนอยกวา รอ ยละ 80 ภายใน ป พ.ศ. 22550 2) หนวยราชการจํานวนไมนอ ยกวา รอยละ 90 ไดดาํ เนินการใหเปนไปตามเจตนารมณ ของมาตรา 3/1 แหง พระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผนดนิ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หรือปฏบิ ตั ิตาม พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกิจการบานเมอื งท่ีดี พ.ศ. 2546 ภายในป พ.ศ. 2550 3) กฎหมายที่ไมม คี วามจาํ เปนหรอื เปนอุปสรรคตอการพัฒนาประเทศไดร บั การปรบั ปรงุ แกไขหรอื ยกเลกิ ไมนอยกวา 100 ฉบบั ภายในป 2550 4) รกั ษาสัดสว นเงินงบประมาณแผนดนิ ตอผลิตภัณฑมวลรวมรายไดประชาชาติ ไมใหเกนิ รอยละ 18 โดยเฉลย่ี ระหวา ง พ.ศ. 2546-2550) 5) ปรบั ลดจาํ นวนขา ราชการลงอยา งนอย รอ ยละ 10 ภายใน ป พ.ศ. 2550 และหรือ เพ่ิมความสามารถของกาํ ลังคนใหไดใ นระดบั เดียวกัน 3. ยกระดับขดี ความสามารถและมาตรฐานการทํางานใหอยูในระดบั สูงเทยี บเทา เกณฑส ากล 1) แตล ะหนว ยราชการไดรับการรบั รองคณุ ภาพมาตรฐานอยางนอ ย 1 กระทรวงงานหลัก ภายในป พ.ศ.2550 2) ขา ราชการไดร บั การพัฒนาขีดความสามารถ (Com potencies) ตรงตามท่ีกําหนดไวอ ยาง นอ ย รอยละ 80 โดยเฉลย่ี ภายใน ป พ.ศ. 2550 3) สว นราชการอยางนอ ย รอยละ 90 ไดร ับการพฒั นาการใหบริการ หรือสามารถดาํ เนินงาน ในรูปแบบรฐั บาลอเิ ล็กทรอนิกสไ ดภายในป พ.ศ. 2550 4. ตอบสนองตอ การบรหิ ารปกครองในระบอบประชาธิปไตย 1) ประชาชนรอ ยละ 80 โดยเฉลี่ย มีความเชือ่ มัน่ ศรัทธาเกย่ี วกบั ความโปรงใส และใส สะอาดในวงราชการ ภายในป พ.ศ. 2550 2) หนวยงานราชการไมนอยกวา รอ ยละ 80 ไดว างมาตรการหรอื ดาํ เนนิ กิจกรรมทเี่ ปด โอกาสใหป ระชาชนเขา มามีสว นรวม ภายใน ป พ.ศ. 2550 3) ปญ หาความขัดแยง หรือกรณขี อพพิ าทรองเรียนระหวางฝายปกครองและประชาชนเพิ่ม ขนึ้ ไมเกินรอ ยละ 20 ตอ ป โดยเฉล่ียระหวางป พ.ศ. 2546-2550

370  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา การนาํ ยุทธศาสตรไปสกู ารปฏบิ ัติ (เงอ่ื นไขความสําเร็จ) ในการนาํ แผนยทุ ธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546 - พ.ศ. 2550) ไปสกู ารปฏบิ ตั ิ อยา งประสบความสําเรจ็ นั้น จาํ เปนตองอาศยั ปจจยั เก้อื หนนุ หลายประการ กลาวคือ 1) ภาวะผูนําและความเปน เจา ของในการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง 2) การแกไขกฎหมายอันเปน อปุ สรรคตอ การพฒั นาระบบราชการ 3) การเชอื่ มโยงและบรู ณาการสรรพกําลังของทกุ ภาคสวนในการพัฒนาระบบราชการ 4) การจัดสรรงบประมาณเพอ่ื การพฒั นาระบบราชการใหแ กสว นราชการตางๆ เคร่ืองมือในการนาํ ยุทธศาสตรไ ปสกู ารปฏิบัติ 1) การตราและบงั คบั ใชพ ระราชกฤษฎกี าวาดวยการบรหิ ารราชการทีด่ ี 2) การใชวธิ สี รา งแรงจูงใจในรูปของตัวเงนิ และไมใชตัวเงิน 3) การสรา งกระแสแรงกดดันจากบคุ คลภายนอก 4) การติดตามและประเมินผล ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com  คูมอื เตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา สวนท่ี 4 ผบู รหิ ารการศึกษามืออาชพี • ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการศึกษา • วนิ ัย คุณธรรม จรรยาบรรณ มาตรฐานวชิ าชพี ผบู ริหาร • คณุ ลกั ษณะผูบริหารมอื อาชพี • ผูบริหารกบั การจัดการความรู การสรา งองคกรแหง การเรียนรู • คอมพิวเตอรและอนิ เตอรเนต็ สาํ หรบั ผูบรหิ าร • ความรทู ัว่ ไปสําหรบั ผูบรหิ าร สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 371  คมู ือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา 1. ความเปน มา พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 กาํ หนดใหวชิ าชพี ครู ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา และผบู ริหารการศกึ ษา เปนวชิ าชพี ควบคมุ (วชิ าชพี ควบคมุ อน่ื ใหเ ปนไปตามกฎกระทรวง) ผูทจ่ี ะประกอบ วิชาชีพควบคุมไดร บั อนญุ าตจากคุรสุ ภาจึงจะประกอบวิชาชพี ได ดงั นนั้ ผปู ระกอบวิชาชพี ครู ผูบริหาร สถานศึกษา ผูบ ริหารการศึกษา และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอืน่ ทีจ่ ดั การศกึ ษาในสถานศึกษาปฐมวัย การศึกษา ขน้ั พื้นฐานและวุฒศิ กึ ษาตํา่ กวาปรญิ ญาท้งั ของรฐั และเอกชน จะตองมใี บอนุญาตประกอบวิชาชพี (มาตรา 43 ใหว ชิ าชพี ครู ผูบริหารสถานศกึ ษา และผบู ริหารการศกึ ษา เปน วิชาชพี ควบคมุ จะประกอบวิชาชีพ ควบคมุ ได จะตองไดร บั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ) 2. ประเภทของใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ใบอนญุ าต หมายถึง ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ ซึ่งออกใหผูป ฏบิ ตั งิ านในตําแหนงทางการศกึ ษา ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี มี 4 ประเภท คอื 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ผูบริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี บคุ ลากรทางการศึกษาอนื่ (ศกึ ษานิเทศก) ผูป ระกอบวชิ าชีพควบคุมทุกตําแหนงจะตอ งมีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพทุกคน เมื่อจะประกอบ วชิ าชพี ผูบริหารสถานศึกษา ผบู รหิ ารการศึกษา หรือบคุ ลากรทางการศึกษาอนื่ กจ็ ะตอ งมใี บอนุญาต ประกอบวชิ าชีพประเภทน้ันๆ อีก 3. การขอขนึ้ ทะเบียนรบั ใบอนญุ าต ผปู ระสงคขอขึ้นทะเบยี นรับใบอนุญาตใหยนื่ คําขอตอเลขาธกิ ารคุรสุ ภาตามแบบทก่ี าํ หนด พรอ ม ดว ยเอกสารและหลกั ฐาน ดงั ตอไปน้ี 1. ครูซ่งึ เปน สมาชกิ คุรุสภาตามพระราชบัญญตั ิครู พทุ ธศักราช 2488 อยูแลว กอ นพระราชบญั ญตั ิ สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ใชบังคบั ใหย ืน่ คําขอตอเลขาธิการคุรุสภา ตามแบบทก่ี ําหนด พรอมดว ยเอกสารและหลกั ฐาน ดังตอไปนี้ 1) สําเนาทะเบยี นบา น หรือสาํ เนาบตั รประจาํ ตัวประชาชน หรือสําเนาบตั รประจาํ ตัวเจาหนาที่ ของรฐั สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 372  คมู อื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 2) สาํ เนาบัตรสมาชิกครุ ุสภาหรอื หนังสอื รบั รองการเปนสมาชกิ ครุ สุ ภาตามพระราชบัญญัติ ครูพทุ ธศกั ราช 2488 หรอื หลักฐานอ่ืนทใ่ี ชแ ทนกันได 3) รูปถา ยหนา ตรงคร่ึงตวั ไมส วมแวนตา ขนาด 1 น้วิ ซ่ึงถา ยไวไมเ กนิ หกเดอื น จํานวน 2 รูป 2. ครู ซ่ึงตอ มาลาออก หรือเกษียณอายุราชการ หรอื พนจากหนา ทคี่ รูตัง้ แตวันที่พระราชบญั ญตั ิ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ใชบงั คับ ผูใ ดประสงคข อข้ึนทะเบียนรบั ใบอนุญาต ใหย นื่ คําขอตอเลขาธกิ ารคุรุสภาตามทกี่ าํ หนด พรอ มดว ยเอกสารและหลกั ฐานดงั กลาวตามขอ 1 3. ผูประกอบวิชาชีพครูซึ่งไดร ับการบรรจุแตงตั้งใหท าํ การสอนอยใู นวนั ท่พี ระราชบญั ญัติสภาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 มีผลใชบงั คบั ท่มี วี ฒุ ปิ รญิ ญาทางการศกึ ษาหรือปรญิ ญาอ่นื ท่ี ก.ค.กําหนดใหเปน คณุ วฒุ ทิ ี่ใชใ นการบรรจแุ ละแตงตัง้ เปนขา ราชการครกู อนวันที่พระราชบญั ญตั ิสภาครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ใชบ งั คับ ใหยื่นคาํ ขอตอเลขาธกิ ารครุ สุ ภาตามแบบที่กาํ หนดพรอม ดว ยเอกสารและหลักฐานตามขอ 1 ยกเวน (2) 4. ครอู ตั ราจางตามสญั ญาจางทม่ี ีวฒุ ปิ ริญญาทางการศกึ ษา หรือปริญญาอ่ืนที่ ก.ค. กําหนดใหเปน คุณวุฒทิ ี่ใชใ นการบรรจุและแตงต้ังเปนขา ราชการครกู อนวันทีพ่ ระราชบญั ญตั สิ ภาครูและบคุ ลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2546 ใชบงั คบั ใหย ่ืนคําขอตอเลขาธกิ ารคุรุสภาตามแบบที่กําหนด พรอ มดวยเอกสารและหลัก ฐานตาม ขอ 1 ยกเวน (2) 5. ผมู ีวุฒปิ ริญญาทางการศึกษาหรอื ปริญญาอ่นื ท่ี ก.ค. กําหนดใหเ ปน คุณวฒุ ทิ ใี่ ชใ นการบรรจแุ ละ แตง ตง้ั เปนขาราชการครูกอนวันท่พี ระราชบญั ญัตสิ ภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ใชบ งั คบั ผูใ ดประสงคขอข้นึ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าต ใหย่นื คาํ ขอตอเลขาธิการครุ ุสภาตามแบบทกี่ ําหนดพรอ มดว ย เอกสารและหลกั ฐาน ดังตอไปน้ี 1) สาํ เนาทะเบียนบา น หรือสาํ เนาบัตรประจําตวั ประชาชน หรือสําเนาบัตรประจําตวั เจาหนา ท่ี ของรฐั 2) หลกั ฐานแสดงวุฒกิ ารศกึ ษา 3) รปู ถายหนา ตรงครงึ่ ตวั ไมส วมแวน ตาดาํ ขนาด 1 นว้ิ ซ่งึ ถา ยไวไมเกนิ หกเดือน จาํ นวน 2 รูป 6. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ผบู ริหารการศกึ ษา และบุคลากรทางการศกึ ษาอน่ื ซงึ่ ปฏิบตั ิงานในตาํ แหนง ดังกลา วอยกู อ นพระราชบญั ญัติสภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ใชบ ังคบั ใหย นื่ ขอขนึ้ ทะเบียน รับใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ครู และยน่ื คําขอขึ้นทะเบยี นรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ผบู ริหารสถาน ศึกษา ผูบรหิ ารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื แลว แตกรณีตอ เลขาธิการคุรุสภาตามแบบที่กาํ หนด พรอมดวยเอกสารและหลกั ฐานตาม ขอ 1 7. ผูด ํารงตําแหนงศกึ ษานิเทศกอยกู อนวนั ทีพ่ ระราชบญั ญตั ิสภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ใชบ งั คับ ใหย ่นื คําขอขึ้นทะเบียนรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ครู และย่นื คาํ ขอทะเบียนรับ ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครู และย่นื คําขอทะเบียนรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี บคุ ลากรทางการศึกษา อน่ื ตอเลขาธกิ ารคุรุสภาตามแบบทกี่ าํ หนด พรอ มดว ยเอกสารและหลกั ฐานตามขอ 1 สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 373  คูมอื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 8. ใหว ุฒิปรญิ ญาทางการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มผี ลใชบงั คบั เปน คณุ วฒุ ทิ ่ใี ชในการขอรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู การยื่นคําขอ ผูยื่นคําขอจะตอ งชําระเงินคาขน้ึ ทะเบียนรับใบอนญุ าตในอัตราทก่ี ําหนดตาม ประกาศของรัฐมนตรี และใหผ ทู ีม่ ีคุณสมบัตยิ ืน่ คําขอภายในหนง่ึ รอ ยยีส่ ิบวนั นับแตวนั ทข่ี อ บังคบั นใ้ี ชบ ังคับ และในระหวา งท่ียังไมไ ดยืน่ คําขอ ใหม ีสิทธิประกอบวชิ าชีพเสมือนเปนผไู ดร บั ในอนุญาตรวมทั้งในระหวาง ดําเนินการออกใบอนุญาต กใ็ หม ีสทิ ธปิ ระกอบวิชาชีพเสมือนเปนผูไดร บั ใบอนุญาต 4. ผลกระทบของใบประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา 1. สามารถประกอบอาชีพทางการศกึ ษาโดยถกู ตองตามกฎหมาย หากไมม ีใบอนุญาตประกอบวชิ า ชีพจะถกู ลงโทษตามมาตรา 78 ของ พรบ.สภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 คอื จําคกุ ไมเ กิน หน่งึ ป หรือปรบั ไมเ กินสองหมืน่ บาท หรอื ทัง้ จําทัง้ ปรับ (ฝา ผนื ม.43 :ทีก่ ําหนดใหต องมีใบอนุญาตฯถงึ ทาํ การใดๆ ได) มาตรา 79 ของ พรบ.สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 คอื จาํ คุกไมเ กินสามป หรือปรับไมเ กนิ หกหมืน่ บาท หรือทั้งจาํ ทง้ั ปรับ (ฝาผนื ม.56 : ทแี่ สดงตนวามสี ิทธปิ ระกอบวชิ าชีพ หรือ ผบู ริหารสถานศกึ ษารบั ผูไมม สี ิทธปิ ระกอบวชิ าชพี หรอื ผูถ ูกสัง่ พกั ใชใ บประกอบวิชาชีพมาทําการสอน) 2. ไดรบั เงินเดือน เงนิ วิทยฐานะ ตามพระราชบญั ญตั ิวา ดวยเงินเดอื นและเงนิ วทิ ยฐานะขาราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 3. ตองปฏิบตั ิตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชพี เพ่ือมใิ หถ ูกเพิกถอนและพกั ใชใบประกอบ วชิ าชพี โดยตองปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวิชาชพี 3 ดา น ไดแ ก มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชพี มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานและ มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น และตอ งปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี 5 ดา น ประกอบดว ย จรรยาบรรณตอตนเอง จรรยาบรรณตอวชิ าชีพ จรรยาบรรณตอผรู บั บริการ จรรยาบรรณ ตอผรู ว มประกอบวชิ าชีพและจรรยาบรรณตอสังคม มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชพี ของผูบ รหิ ารสถานศึกษา นยิ ามศพั ท วชิ าชพี ทางการศกึ ษา หมายความวา วชิ าชพี ทางการศึกษาทที่ ําหนาทีห่ ลักทางดานการเรยี นการสอนและการสงเสริม การเรียนรูของผูเรยี นดวยวิธกี ารตา ง ๆ รวมทัง้ การรับผดิ ชอบการบรหิ ารสถานศึกษาในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพนื้ ฐาน และอดุ มศึกษาทีต่ ํ่ากวา ปรญิ ญา ทัง้ ของรฐั และเอกชน และการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษา ในระดับเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาตลอดจน การสนับสนุนการศึกษา ใหบริการหรอื ปฏบิ ัติงานเกี่ยวเนอ่ื งกับการจัด กระบวนการเรยี นการสอน การนเิ ทศและการบรหิ ารการศึกษาในหนว ยงานการศึกษาตาง ๆ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 374  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ผูประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา” หมายความวา ครู ผูบริหารสถานศกึ ษา ผบู ริหารการศกึ ษา และบุคลากร ทางการศกึ ษาอื่น ซึ่งไดรบั ใบอนญุ าตเปน ผปู ระกอบวิชาชพี ตามพระราชบัญญัติสภาครแู ละบคุ ลากรทางการ ศกึ ษา พ.ศ. 2546 ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา หมายความวา บุคคลซงึ่ ปฏบิ ัตงิ านในตาํ แหนงผบู รหิ ารสถานศึกษาภายในเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา และ สถานศกึ ษาอน่ื ทจี่ ัดการศึกษาปฐมวัย ข้ันพน้ื ฐาน และอดุ มศกึ ษาตํา่ กวาปริญญา ทง้ั ของรฐั และเอกชน มาตรฐานความรแู ละประสบการณว ชิ าชพี หมายความวา ขอ กําหนดเกีย่ วกับความรูแ ละประสบการณใ นการจัดการเรยี นรู หรอื การจัดการ ศึกษา ซ่ึงผูตองการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองมเี พียงพอทส่ี ามารถนําไปใชในการประกอบวชิ าชีพได มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน หมายความวา ขอ กาํ หนดเก่ียวกับคุณลกั ษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านและการพฒั นา งาน ซ่ึงผปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาตอ งปฏิบตั ติ าม เพื่อใหเกิดผลตามวตั ถุประสงคและเปาหมายการ เรียนรู หรือการจดั การศกึ ษา รวม มาตรฐานการปฏบิ ัติตน หมายความวา จรรยาบรรณของวิชาชีพที่กําหนดขน้ึ เปน แบบแผนในการประพฤตติ น ซึง่ ผูประกอบ วชิ าชีพทางการศกึ ษาตอ งปฏิบัตติ าม เพื่อรกั ษาและสงเสรมิ เกยี รติคณุ ชอ่ื เสยี ง และฐานะของผปู ระกอบ วชิ าชีพทางการศึกษาใหเปนทีเ่ ชื่อถือศรทั ธาแกผรู บั บริการและสังคม อนั จะนํามาซ่งึ เกยี รติและศกั ดศ์ิ รแี หง วิชาชพี มาตรฐานความรแู ละประสบการณว ิชาชพี ผปู ระกอบวิชาชีพผูบรหิ ารสถานศึกษา ตองมีมาตรฐานความรูและประสบการณ วชิ าชีพ ดังตอ ไปนี้ ก) มาตรฐานความรู มีคุณวฒุ ไิ มตํ่ากวา ปริญญาตรีทางการบรหิ ารการศกึ ษา หรอื เทยี บเทา หรือคุณวฒุ ิอน่ื ท่ีคุรุสภารับรอง โดยมีความรู ดังตอ ไปนี้ - หลกั และกระบวนการบริหารการศึกษา -นโยบายและการวางแผนการศกึ ษา - การบริหารดานวชิ าการ - การบรหิ ารดา นธุรการ การเงนิ พัสดุ และอาคารสถานที่ - การบรหิ ารงานบุคคล - การบรหิ ารกิจการนักเรียน -การประกันคณุ ภาพการศึกษา -การบริหารจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 375  คูม อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา - การบริหารการประชาสัมพันธแ ละความสมั พนั ธช ุมชนุ - คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสําหรบั ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา นอกจากคณุ วุฒิตามวรรคหน่ึงตอ งผา นการฝก อบรมหลักสูตรการบริหารสถานศึกษาท่ี คณะกรรมการครุ สุ ภารับรอง ข) มาตรฐานประสบการณว ิชาชีพ ดังตอไปนี้ - มีประสบการณดานปฏบิ ตั กิ ารสอนมาแลว ไมนอ ยกวา หา ป หรือ - มีประสบการณด านปฏิบัติการสอนและตองมีประสบการณใ นตําแหนง หัวหนาหมวด หรอื หัวหนา สาย หรือหัวหนางาน หรอื ตาํ แหนงบรหิ ารอ่นื ๆ ในสถานศึกษามาแลว ไมน อ ยกวาสองป มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผปู ระกอบวชิ าชีพผบู รหิ ารสถานศึกษา และผบู รหิ ารการศกึ ษาตอ งปฏบิ ตั ิงาน ตามมาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน ดังตอไปน้ี - ปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเก่ยี วกบั การพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศกึ ษา - ตดั สนิ ใจปฏิบัตกิ จิ กรรมตาง ๆ โดยคาํ นึงถึงผลท่จี ะเกดิ ขน้ึ กบั การพฒั นาของบุคลากร ผเู รียน และชุมชน - มุงมัน่ พฒั นาผูรว มงานใหสามารถปฏบิ ัติงานไดเต็มศกั ยภาพ - พัฒนาแผนงานขององคก ารใหส ามารถปฏบิ ัติไดเ กิดผลจรงิ - พฒั นาและใชนวตั กรรมการบริหารจนเกิดผลงานทม่ี คี ุณภาพสงู ข้ึนเปนลาํ ดบั - ปฏบิ ัตงิ านขององคการโดยเนนผลถาวร - รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาไดอ ยางเปน ระบบ -ปฏิบตั ิตนเปนแบบอยางท่ดี ี -รวมมอื กับชุมชนและหนวยงานอนื่ อยา งสรางสรรค - แสวงหาและใชข อมูลขา วสารในการพัฒนา - เปนผนู ําและสรา งผูนํา -สรา งโอกาสในการพฒั นาไดทุกสถานการณ จรรยาบรรณของวชิ าชพี (มาตรฐานปฏบิ ตั ติ น) ผูประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวชิ าชพี และแบบแผน พฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ประกอบดวย 1. จรรยาบรรณตอตนเอง ผูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ งมวี ินยั ในตนเอง พฒั นาตนเองดา นวิชาชีพ บคุ ลกิ ภาพ และ วิสยั ทศั น ใหท ันตอการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองอยูเสมอ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 376  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา 2. จรรยาบรรณตอวิชาชพี ผปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งรัก ศรัทธา ซื่อสตั ยสจุ รติ รับผดิ ชอบตอวิชาชพี และเปน สมาชิกทีด่ ขี ององคกรวิชาชพี 3. จรรยาบรรณตอ ผูรบั บรกิ าร ผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ งรัก เมตตา เอาใจใส ชว ยเหลอื สง เสริม ใหกาํ ลงั ใจแกศ ิษย และผูรับบรกิ าร ตามบทบาทหนาทีโ่ ดยเสมอหนา ผูป ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ งสงเสริมใหเ กิดการเรียนรู ทกั ษะ และนิสัยทีถ่ กู ตองดงี าม แกศ ิษย และผรู ับบรกิ าร ตามบทบาทหนาทอ่ี ยางเตม็ ความสามารถ ดวยความบรสิ ุทธิ์ใจ ผปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตองประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน แบบอยางทด่ี ี ทั้งทางกาย วาจา และ จติ ใจ ผูประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตองไมก ระทําตนเปน ปฏิปกษตอ ความเจรญิ ทางกาย สติปญญา จติ ใจ อารมณ และสังคมของศษิ ย และผรู ับบรกิ าร ผปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดว ยความจรงิ ใจและ เสมอภาค โดยไมเ รียกรบั หรือยอมรบั ผลประโยชนจากการใชต าํ แหนงหนาท่ีโดยมชิ อบ 4. จรรยาบรรณตอ ผูร ว มประกอบวิชาชพี ผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พงึ ชวยเหลือเกือ้ กลู ซ่ึงกันและกันอยางสรางสรรคโ ดยยึดม่ัน ในระบบคณุ ธรรม สรางความสามัคคใี นหมูคณะ 5. จรรยาบรรณตอสังคม ผูประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปน ผนู ําในการอนรุ กั ษแ ละพฒั นา เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญ ญา ส่งิ แวดลอม รกั ษาผลประโยชนของ สวนรวม และ ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข สอบครดู อทคอม

377  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา ครูกบั คณุ ธรรมนาํ ความรู 1. หลกั การใชค ุณธรรมนําความรู การศกึ ษาเปนรากฐานของทกุ สงิ่ และตอ งควบคกู ับคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ซึง่ ในยุคปจ จุบันนบั วนั จะ มีเหลอื นอยลงทกุ ที การทีบ่ คุ คลในสังคมมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมลดนอยลงนี้ สาเหตุสวนหน่ึงเกดิ จาก ระบบการศกึ ษาไมสงเสริมใหค นมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และการขาดการชนี้ าํ ทีด่ ีและการเปนแบบอยาง ทไ่ี มดีใหแ กเ ด็กและเยาวชนของคนในสงั คม ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ครูจงึ เปนอกี สว นหนง่ึ ขององคประกอบทถี่ กู กลาวถงึ ท่ีจะตองเขา ไปรวมรับผิดชอบและแกไ ข ใหก บั สังคมเปนความคาดหวังและทพ่ี ่งึ ของสังคม เพราะครู คอื ผูท่ีอบรมสัง่ สอน ถา ยทอดวชิ าความรู เปนผูท่ีรบั การเคารพนบั ถอื ยกยอง ดังบทกลอนของคุณเนาวรตั น พงษไ พบลู ย “ใครคอื ครู ครูคอื ใครในวันน้ี ใชอ ยทู ี่ปรญิ ญามหาศาล ใชอ ยูที่เรียกวา ครอู าจารย ใชอยูนานสองนานในโรงเรียน ครูคอื ผชู ี้นาํ นาํ ทางความคิด ใหร ถู กู รผู ิดคิดอา นเขยี น ใหรูทุกขร ยู ากพากเพยี ร ใหรูเปล่ียนแปลงสรู สู รา งงาน ครูคือผยู กระดบั วญิ ญาณมนุษย ใหสูงสุดกวาสตั วเ ดียรัจฉาน ปลกุ สํานกึ สง่ั สมอุดมการณ มีดวงมานเพอ่ื มวลชนใชตนเอง ครูจงึ เปนนักสรา งผยู ิ่งใหญ สรา งคนจริงสรางคนกลาสรางคนแกง สรา งคนใหไดเปนตัวของตัวเอง ขอมอบเพลงนีม้ าบูชาครู” ครูถกู สงั คมยกยอ งใหเ ปนปูชนียบุคคล เปน ผูประเสรฐิ และประสาทความรคู วามเปน คนและ อบรม สง่ั สอนใหค นเปน คนดีของสงั คม ครตู องเปน คนดี ถา ยทอดดี วางตวั ดี เปน ท่ีเคารพ และเปน ท่เี ชื่อถอื ของลกู ศษิ ย ดงั นน้ั ครจู ึงตองมีคุณธรรมและจริยธรรมและนํามาประยกุ ตใชใ นการปฏบิ ตั ิงาน และดาํ รงชีวิตอยางมงุ ม่ันและยั่งยนื มากกวาดา นอืน่ ๆ 1.1 คุณธรรมจรยิ ธรรมทจ่ี ําเปน สําหรบั ครู 1.1.1 ความหมาย ศ.นพ.ประเวศ วะสี ไดใหความหมายวา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คือ การเปน ผมู จี ติ ใจสูง ไมเ ห็นแกตวั ฝายเดยี ว แสดงออกโดยการไมเ บียดเบียน มคี วามเมตตา กรุณา มงุ ชว ยเหลือผูอ ืน่ ใหพ น ทุกข คุณธรรม จรยิ ธรรม คอื คณุ สมบัตขิ องความเปน มนุษย อนั เปน ไปเพอื่ ความสุขของตนเองและการอยูรว ม กัน หรือ ศีลธรรม สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 378  คูม อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ศ.ดร.สัญญา สัญญาวิวฒั น ไดใหความหมายวา คุณธรรม คอื คณุ ความดี คนที่มี คณุ ธรรม คือ คนดี คนดจี ะมองเห็นคนอ่นื เปนคนเหมอื นเขา จะไมเอารดั เอาเปรียบ ดูถกู เหยยี ดหยาม และ เมตตา กรณุ า กตัญู รูคุณ รศ.ดร. ทศิ นา แขมมณี ไดใหค วามหมายวา “คุณธรรม จริยธรรม” เปน คุณลักษณะ หรอื สภาวะภายในจิตใจของมนุษยที่เปนไปในทางทีถ่ กู ตอ ง ดงี าม ซ่งึ เปนภาวะนามธรรมอยใู นจติ ใจ สว นจรยิ ธรรมเปน การแสดงออกทางประพฤติปฏบิ ตั ิ ซ่งึ สะทอนคุณธรรมภายในใหเ หน็ เปนรปู ธรรม จากความหมายดังกลา วขางตน จะเห็นไดว า “คุณธรรม จรยิ ธรรม” มีลกั ษณะท่ีมีสวน คลา ยคลึงและสัมพันธ หมายถึง คุณความดี สิ่งทดี่ ีงาม ถูกตองและเหมาะสม ซง่ึ คณุ ธรรมนน้ั จะเปน สภาวะภายในจติ ใจ สวนจรยิ ธรรมน้ันจะเปน การแสดงออกทางประพฤติปฏบิ ตั ทิ ีส่ อดคลองกับหลกั คณุ ธรรม อันเปน การสะทอนคุณธรรมภายในใหเห็นเปนรปู ธรรมน่ันเอง 1.1.2 ความสาํ คัญและความจาํ เปน ครูตองตระหนักถงึ ความสําคัญของตนในการเปนผมู คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ครูเปนบุคคล สําคญั ของเดก็ และสงั คมในการเปนบคุ คลแบบอยาง การเปน ผูน ํา และการเปนตน แบบท่ดี ขี องการเปน ผูมคี ุณธรรม จริยธรรม ในการปฏบิ ัตหิ นาทีแ่ ละการดาํ รงชวี ติ เพ่อื เสรมสรา งพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหเกดิ ข้นึ แกเดก็ โดยการสรา งความศรทั ธา ท้งั บุคลกิ ภาพภายนอกและภายใน ครูจะตองใหค วามสําคญั ของการเปน ผทู ีม่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เปนอันดบั แรก ครูตอ งเปน คนดี วางตัวดี เปน ท่เี คารพและนาเชื่อถือของลูกศษิ ย อีกทัง้ ยังตองเปนผูที่รอบรู มีทัศนะทีก่ วางไกลและลกึ มองเห็นชีวิตของตนเองทง้ั ในปจ จบุ ันและอนาคต และชวงมองอนาคตของเดก็ ประคบั ประคองสนบั สนุน และสงเสรมิ ใหเ ด็กเจรญิ กาวหนา อยา งเต็มท่ี ดงั น้นั คุณธรรม จรยิ ธรรมสาํ หรับครู เปน ส่งิ ที่จาํ เปน สาํ หรับ ผูท่เี ปนครูอยางยิง่ 1.1.3 คณุ ธรรม จริยธรรม ของครูท่ีสนบั สนนุ การบรหิ ารงานในโรงเรยี น คุณธรรม จริยธรรม ของครทู ี่สนับสนุนการบรหิ ารงานในโรงเรยี น คอื การตรงตอเวลา การเคารพสิทธแิ ละหนาท่คี วามยุติธรรม การทํางานดวยความเตม็ ใจ และการชว ยเหลอื ซ่ึงกันและกัน ซึ่งคณุ ธรรมจริยธรรมเหลา นี้ จะทาํ ใหบ รรยากาศในการทาํ งานเตม็ ไปดว ยความรกั ใคร สามคั คี และเกิดการ ทํางานเปน ทีม อันจะมผี ลทาํ ใหการบริหารในโรงเรยี นเกดิ ความสาํ เร็จและพัฒนาได 1.1.4 คณุ ธรรมและจริยธรรมท่ตี องตระหนักและตอ งปฏบิ ัติ 1. การมีความละอายในการทําความช่ัว ทําความทจุ ริตทั้งปวง และเกรงกลวั และสะดุง กลัวตอ ความช่ัวท้ังปวง ซ่ึงคณุ ธรรมขอ นช้ี ว ยใหโ ลกมีความเปนระเบยี บเรยี บรอ ยไมเ ดือนรอ นวุนวาย 2. การมีความอดทน รูจ ักอดกล้ันตอ ความยากตาง ๆ ที่คนอน่ื ท่มี ตี อตนและมีความสงบ เสงีย่ มและความออนนอ มถอมตน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 379  คมู อื เตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา 3. มีสติสัมปชญั ญะเตม็ เปย มอยูตลอดเวลา รบั ผดิ ชอบตอหนาที่ของตนสม่ําเสมอไมมีการ ลมื ตวั หรือละเลยตอ หนาทีต่ า ง ๆ 4. รูจ ักอุปการะ คอื ทาํ คณุ ประโยชนใ หแกผูอื่น นกึ ถงึ ประโยชนข องผอู ื่นเปนท่ีต้งั พรอ ม ทจี่ ะใหความอนเุ คราะหแกผ อู ืน่ ในงานในหนาที่และความรบั ผดิ ชอบของตน ไมม ีอคตใิ นการปฏบิ ัติตอ ผูรว มงานตอศิษยหรอื นกั เรียนและบคุ คลอื่น ๆ 5. มคี ณุ ธรรมประจําตนในการทีท่ าํ งานในหนาท่ขี องตนใหส ําเร็จ (อทิ ธิบาท) 4 ประการ มีความพอใจและเอาใจใสในหนาท่กี ารงานของตน มีความพากเพยี รในการประกอบการงาน เอาใจใสใน การงาน ไมท อดทิ้งและหม่นั ตรติ รองพจิ ารณาหาเหตผุ ลและวธิ ีจะทําใหก ารงานเจรญิ กา วหนา อยูเ สมอ 6. มคี ณุ ธรรมอนั ประเสริฐ (พรหมวิหาร) 4 ประการ คอื มี ความเมตตา ปรารถนาจะให ผูอื่นเปนสขุ มคี วามกรณุ า สงสาร คิดหาทางใหผ ูอ่นื พนจากทกุ ข มีมทุ ิตาปราบปลม้ื ยนิ ดีในความสําเรจ็ ความกา วหนา ของผอู ื่นและมอี ุเบกขา ความวางเฉย เห็นอกเห็นใจผไู ดรับความทกุ ข 7. มคี ุณธรรมเปนเครือ่ งผกู นํ้าใจอ่นื และบคุ คลท่ัวไป (สงั คหวัตถ)ุ 4 ประการ อยเู ปนการ ประจําคือ ใหปน สงิ่ ของแกบ คุ คลที่ควรใหปน มีความเอ้อื เฟอ เผอ่ื แผแ กผูอน่ื ตามสมควรแกก รณี (ทาน) มวี าจาออ นหวาน สุภาพเรียบรอ ย (ปย วาจา) ประพฤติตนเปน ผูท ําคุณประโยชนต อ ผูอ น่ื (อัตถจริยา) และ เปนคนไมถ อื ยศศกั ดเิ์ ขา กันไดกับผูรวมงานทกุ คน ตามความเหมาะสมตามฐานะของตน (สมานัตตา) 8. หมั่นศึกษาหาความรรู อบตัว ใหมีความรอบรู เพอื่ เปนผทู ่ีทันตอ เหตกุ ารณ บคุ คลและ ปญ หาตาง ๆ ทเี่ กิดขึ้นในหนาท่ีการงาน (พาหสุ ัจจะ) 9. ประพฤติตนใหหา งจากอบายมขุ หรือทางแหง ความเส่ือมตา ง ๆ ไมกระทําตนใหเ ปน ผเู บียดเบยี นตนเอง ผอู ่ืน ผูรวมงาน หรอื นกั เรียน นักศกึ ษาทกุ คนและบคุ คลทวั่ ไป 1.1.5 คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณครู คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณครู เปนดานหนง่ึ ของสมรรถนะครู ทคี่ ุรสุ ภากําหนด ใหค รูทกุ คน จะตอ งปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชพี ครขู อง คุรุสภา 2548 มีดังน้ี จรรยาบรรณตอตนเอง 1. ผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตองมวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดานวิชาชพี บุคลิกภาพและวสิ ัยทศั นใ หทันตอ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยูเสมอ จรรยาบรรณตอวิชาชีพ 2. ผูประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ งรกั ศรทั ธา ซอื่ สตั ยส ุจริต และรบั ผิดชอบตอ วชิ า ชีพ เปน สมาชิกทดี่ ีขององคก รวชิ าชพี จรรยาบรรณตอ ผูร ับบรกิ าร 3. ผูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตองรกั เมตตา เอาใจใส ชว ยเหลือ สง เสรมิ ใหกําลงั ใจแกศษิ ยแ ละหรือผรู บั บริการตามบทบาทหนาท่โี ดยเสมอหนา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 380  คูมอื เตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 4. ผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ งสง เสริมใหเกดิ การเรียนรู ทกั ษะ และนิสยั ท่ีถกู ตอ งดีงามแกศษิ ย และหรือผูรับบรกิ าร ตามบทบาทหนา ทอี่ ยางเต็มความสามาร ดว ยความบริสุทธิ์ใจ 5. ผปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาตอ งประพฤติ ปฏิบัตติ นเปนแบบอยางทีด่ ี ทงั้ ทางกาย วาจา และจติ ใจ 6. ผูประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ งไมก ระทําตนเปน ปฏิปก ษ ตอความเจรญิ ทางกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจ อามรณแ ละสงั คมของศิษย และหรอื ผูรบั บริการ 7. ผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตองใหบ ริการดวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม เรยี กรับหรือยอมรบั ผลประโยชนจ ากการใชตําแหนง หนาที่โดยมชิ อบ จรรยาบรรณตอ ผรู ว มประกอบวชิ าชีพ 8. ผูป ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา พึงชวยเหลอื เกือ้ กลู ซึง่ กนั และกนั อยางสรางสรรค โดยยึดมนั่ ในระบบคณุ ธรรม สรา งความสามัคคใี นหมูค ณะ จรรยาบรรณตอ สังคม 9. ผปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พึงประพฤติปฏบิ ัตติ น เปน ผนู ําในการอนุรกั ษและ พฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปญ ญา สิง่ แวดลอม รักษาผลประโยชนข องสวนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข 1.1.6 คุณลักษณะของครทู ด่ี ี 10 ประการ 1. ความมรี ะเบียบวินยั หมายถึง ความประพฤติ ทงั้ ทางกาย วาจา และใจ ทแี่ สดงถึง ความเคารพในกฎหมาย ระเบียบประเพณีของสังคม และความประพฤตทิ ี่สอดคลอ งกับอุดมคติ หรือความ หวังของตนเอง โดยใหยึดสว นรวมสาํ คัญกวา สวนตัว 2. ความซ่อื สตั ยสุจรติ และความยตุ ิธรรม หมายถึง การประพฤติท่ีไมทําใหผ อู ่นื เดือดรอน ไมเอาเปรียบ หรอื คดโกงผูอ นื่ หรือสว นรวม ใหยดึ ถอื หลักเหตุผลระเบยี บแบบแผน และกฎหมายของ สงั คมเปนเกณฑ 3. ความขยัน ประหยัด และยึดมนั่ ในสัมมาอาชพี หมายถงึ ความประพฤติที่ไมท ําใหเ สยี เวลาชีวติ และปฏบิ ตั กิ ิจอันควรกระทําใหเกิดประโยชนแ กต น และสังคม 4. ความสาํ นกึ ในหนา ทแี่ ละการงานตาง ๆ รวมไปถึงความรบั ผิดชอบตอ สังคม และ ประเทศชาติ หมายถึง ความประพฤติท่ไี มเ อารดั เอาเปรียบสงั คมและไมก อ ความเสยี หายใหเ กดิ ขึ้นแกส ังคม 5. ความเปน ผูมคี วามคิดริเรม่ิ วิจารณ และตัดสนิ อยา งมเี หตุผล หมายถงึ ความประพฤติ ในลักษณะสรางสรรค และปรบั ปรุง มีเหตผุ ลในการทาํ หนา ที่การงาน 6. ความกระตือรอื รนในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มคี วามรักและเทิดทนู ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย หมายถึง ความประพฤตทิ ่สี นับสนนุ และใหค วามรว มมือ ในการอยูรว มกันโดยยึด ผลประโยชนข องสังคมใหมากทส่ี ดุ สอบครูดอทคอม

381  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 7. ความเปน ผูม ีพลานามัยท่สี มบูรณท้งั ทางรางกาย และจิตใจ หมายถงึ ความมน่ั คงและ จิตใจ รจู ักบาํ รุงรกั ษากายและจิตใจใหสมบรู ณ มีอารมณแ จม ใส มีธรรมมะอยูในจิตใจอยางมน่ั คง 8. ความสามารถในการพงึ่ พาตนเอง และมอี ุดมคติเปน ท่พี ึ่ง ไมว านหรือขอความชว ย เหลือจากผอู นื่ โดยไมจาํ เปน 9. ความภาคภมู ิ และการรูจกั ทาํ นบุ าํ รงุ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และทรพั ยากรของชาติ หมาย ถงึ ความประพฤติท่แี สดงออกซง่ึ ศิลปะ และวฒั นธรรมแบบไทย ๆ มีความรกั และหวงแหนวฒั นธรรมของ ตนเองและทรพั ยากรของชาติ 10. ความเสียสละ และเมตตา อารี กตญั ูกตเวที กลาหาญ และความสามคั คี หมายถงึ ความประพฤติท่ีแสดงออกถงึ ความแบงผนั เก้อื กลู ผอู ืน่ ในเรื่องของเวลา กําลงั กาย และกาํ ลังทรัพย 1.2 การนําคุณธรรม จริยธรรม มาใชใ นการปฏบิ ัตงิ านและการดํารงชีวติ จากกฎกระทรวงฯ ในเรอ่ื งการกระจายอํานาจการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาดา นบริหาร บคุ คล ขอ 15 (12) การสงเสริมวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรมสาํ หรบั ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ดังน้นั ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จงึ ตองมกี ารพัฒนาเพอ่ื รองรับ การเปลีย่ นแปลงในฐานะที่เปน ผนู ํา และเปน แบบอยางท่ดี ขี องศิษย ทีใ่ หค วามเคารพนบั ถือ และ มศี รัทธาตอ ครู นอกจากนั้นยังมีผลตอ การ ประเมินเพื่อเลอื่ นวิทยฐานะอกี ดว ย การนําคุณธรรมจริยธรรมมาใชในการปฏิบัติงานการดํารงชวี ิต ปฏบิ ัติได โดยยึดแนวพระบรมราโชวาท พระราชดํารสั แนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมทางศาสนา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com คณุ ธรรม จริยธรรม กรอบตัวชีว้ ดั คุณลกั ษณะ 1. คณุ ธรรม 4 ประการ 1. การรักษาความสัจ ความจรงิ ใจตอ ตนเองท่ีจะประพฤตปิ ฏิบัติ แตส ิ่งท่ีเปนประโยชน และเปน ธรรม 2. คา นยิ มพนื้ ฐาน 5 ประการ 2. การขมใจตนเอง ฝกใจตนเอง ใหป ระพฤตปิ ฏิบัติอยูในความ สัจ สจุ ริต ความดนี นั้ 3. การอดทน อดกลัน้ และอดออมท่ีจะไมประพฤติลวงความสจั สุจรติ ไมว า จะดว ยเหตปุ ระการใด 4. การรูจ กั ละวาง ความชวั่ ความทจุ รติ และรจู กั เสียสละ ประโยชนส ว นนอ ยของตน เพือ่ ประโยชนสว นใหญข องบานเมอื ง 1. พง่ึ ตนเอง ขยนั หมั่นเพียร และมคี วามรบั ผิดชอบ 2. ประหยดั และ ออม 3. มีระเบียบวินยั และเคารพกฎหมาย 4. ปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรมทางศาสนา 5. จะรักชาติ ศาสน กษัตรยิ  สอบครูดอทคอม

382  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 3. แนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ดํารงตนในทางสายกลาง : พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู ิคุนกนั ในตวั ที่ดี 4. ความกตญั ูกตเวทีตอ บุพการี 2. ดาํ รงตนดวยเงอ่ื นไขความรู : รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวงั และผูมีพระคณุ 3. ดาํ รงตนดว ยเงอ่ื นไขคุณธรรม : ซื่อสตั ย สุจริต สตปิ ญ ญา ขยนั อดทน แบง 1. ใหความอุปการะชว ยเหลอื ดแู ลตอบพุ การี 2. มีความเอ้ือเฟอ เผือ่ แผตอผมู ีพระคุณ 3. ใหความเคารพรกั และเชอ่ื ฟง ตอบพุ การี และผูม ีพระคุณ 4. มีความออนนอ มถอมตนตอ บุบพารีและผูมพี ระคณุ ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 1.3 ตามรอยเบื้องพระยคุ ลบาท ประเดน็ สําคญั เกีย่ วกับเรอื่ งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของขาราชการอยูเรอ่ื งหนงึ่ ทสี่ มควร นํามากลา วในทน่ี ้ี คือ เรอ่ื งการครองตนของขา ราชการนนั้ ขอท่ีนาคิดอยา งยงิ่ คือ พระบรมราโชบายเกีย่ ว กับ “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว ซึ่งมิใชจะใชไดเฉพาะแตในแงของการจดั การ ทรพั ยสินของบานเมอื ง หรอื ของกลุมคนกลุม ใดกลมุ หนึง่ เทาน้ัน แมแ ตใ นหมขู าราชการกเ็ ปน แนวปฏิบัติ ทเี่ หมาะสม แตไ มม กี ารลวงสมยั เปน แนวดาํ เนนิ ชวี ิตที่อาจตัดปญหา ทจ่ี ะนําไปสูการฉอ ราษฎรบ งั หลวงได เปน อนั มาก การไมท ะเยอทะยานอยากจะมีชวี ติ ความเปนอยูอยางหรหู รา โออ า และใชจ า ยฟมุ เฟอ ย มาสู คณุ สมบตั ปิ ระจาํ ตัวบุคคล ปรบั ตนเองใหพอกนิ พออยู รจู กั ประหยดั คอื รจู ดั ใชจ ายทรพั ยท ่ีหามาได ส่งิ ท่ี จาํ เปน แกก ารครองชีพไมใชจา ยฟุมเฟอ ย รูจกั พนิ จิ พจิ ารณาวาสิ่งใดควรซ้ือหรือไมค วรซ้อื รวมตลอดทง้ั แบง ปน รายไดส ว นหน่ึงเกบ็ ออมไวใ ชจา ยเมือ่ คราวจาํ เปนจะไดไ มตองหยิบยมื ผูอ ่ืนมาแกป ญหา หรือ ประพฤติ มิชอบเพอ่ื ใหพนจากภาระหนีส้ นิ การถอื เอาระบบเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน หลักดําเนนิ ชวี ติ จะ มแี ตท างไดเทา นนั้ นอกจากน้ี ในการปฏิบัตหิ นาทีร่ าชการจะปฏบิ ตั ิอยางไรกด็ ี การครองตนของทานจะครอง ตนอยางไรก็ดี ทางทด่ี ที ่สี ดุ ทานจะศกึ ษาไดก ็คอื การศกึ ษาจากพระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว และการครองพระองควาทรงทาํ อยา งไร นน่ั เปน ตวั อยางที่ดที ส่ี ดุ อาจจะอาศัยมาเปน ตวั อยางไดใน ทกุ โอกาสและทกุ สถานการณ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 383  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา คณุ ลกั ษณะผบู รหิ ารมอื อาชีพ 1. ความหมายผบู ริหารมอื อาชีพ มืออาชพี หมายถงึ การทาํ งานดว ยความรคู วามสามารถ ความตัง้ ใจจรงิ และทํางานใหเ กดิ ผลงานดีทส่ี ุดมอื อาชพี จะมลี กั ษณะ ดังนี้ 1) มีการใหบ ริการสงั คมไมซ าํ้ ซอ นกับวชิ าชีพอ่นื นัน้ คือ มคี วามรคู วามชํานาญพเิ ศษเฉพาะ อาชีพนนั้ ๆ 2) ใชวิธกี ารแหงปญญา มืออาชีพทํางานโดยใชส มองเปน หลัก ใชความรูเปน หลกั ในการทาํ งาน 3) มีอิสระในการดําเนนิ งาน มอื อาชีพมีสิทธิจ์ ะทํางานของตนเองโดยอสิ ระ รับผดิ ชอบไดโ ดย ไมตองมกี ารควบคุมผอู ่ืนมากนัก ทํางานเพื่อใหเ กดิ ผลงานเปน หลัก 4) ผปู ระกอบวิชาชีพผานการศึกษาระดบั สูงโดยปกตมิ อื อาชีพตอ งเรียนนานมกั จบปรญิ ญาตรี อยางตํา่ 5) มีจรรยาบรรณของวชิ าชีพ มืออาชพี ตองรกั ษาความรับผดิ ชอบและจรยิ ธรรมของอาชพี ของ ตนอยางเครงครัด 6) มคี วามม่นั คง มีสถาบนั วชิ าชีพ มอื อาชีพมักทาํ งานแลวไดร ายไดด ี มรี ายไดสูงมีศักด์ิศรีในสังคม คณุ ลกั ษณะของการเปนมอื อาชพี คอื คณุ ลักษณะหรือพฤติกรรมของผปู ระกอบอาชีพมืออาชีพท่ีมีแนวปฏิบัตทิ จ่ี ะนําไปสูความ สําเรจ็ เชน 1) ขยัน ซ่อื สัตย ประหยัด อดทน ตรงตอเวลา 2) เปนคนเกง เปนคนดี มคี วามกลา หาญ รับผิดชอบ ตดั สนิ ใจอยางชาญฉลาด 3) สุภาพ ตรงตอเวลา ละเอยี ดลออ รจู กั แสวงหากลั ยาณมติ ร 4) ใชคุณธรรมเปนเครอ่ื งชน้ี าํ อาชพี 5) ฝก ฝนพัฒนาตนเองอยเู สมอ เปนตน นักบริหารมืออาชพี คอื ผทู ี่ทาํ หนา ทีเ่ ปน ผบู ริหารงาน กิจการตางๆใหสําเรจ็ โดยอาศยั ความรคู วามสามารถของตนเอง และความรวมมือของผูอน่ื ลักษณะเดนของผูบ ริหารมืออาชีพมีดงั น้ี 1) มคี วามรอบรูทนั ตอเหตุการณ 2) มกี ารตดั สินใจที่ดี รวดเรว็ แมนยําและถกู ตอง 3) สามารถจับประเดน็ ไดร วดเร็ว ออกความเห็นได 4) ยอมรับการเปลีย่ นแปลงพรอมทจ่ี ะปรบั ตัว สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 384  คูม อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 5) มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ เครง ครดั เรื่องเวลา 6) ซ่อื สตั ยมีคุณธรรม ยดึ ม่ันในจรรยาวิชาชพี 7) เชอื่ มนั่ ในตนเอง มมี นุษยสมั พนั ธทดี่ ี สามารถประสานงานไดเ ยีย่ ม 2.รูปแบบการดาํ เนินการของผูบริหารมอื อาชพี การบริหารสถานศึกษาของผูบ ริหารสถานศกึ ษามืออาชพี ในยคุ โลกาภวิ ตั นท ่ีจะสมั ฤทธผิ์ ล อยางมี ประสทิ ธผิ ลและประสิทธิภาพภาพจาํ เปน ตองอาศยั ลักษณะเฉพาะหลายประการในเร่อื งนี้ ธีระ รญุ เจริญ ไดเสนอลกั ษณะการบริหารของผบู ริหารสถานศกึ ษามืออาชพี ไวดังน้ี 1. ยึดคณุ ภาพนักเรยี นเปนเปา หมายสูงสุดในการบรหิ ารสถานศึกษา 2. ใชม าตรฐานการศึกษาของชาติและมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานเปน แนวทางการบรหิ ารจดั การ 3. ยดึ หลกั การการบรหิ ารฐานโรงเรยี นเปน กรอบกาํ กับการบริหาร 4. ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล ตลอดทง้ั จรรยาบรรณวิชาชพี การบรหิ ารในกระบวนการบริหารอยาง ตอ เนื่อง 5. ใหกระบวนการกลุมในการทํางานและแกปญหา การมสี ว นรว มของทุกคนที่เกย่ี วของเปน ยอดปรารถนา 6. พฒั นาโรงเรียนใหเ ปน องคกรแหงการเรยี นรูอ ยา งแทจริง ตลอดทงั้ มีสมรรถภาพในการจัดการ ความรู 7. ใชกรอบแนวทางจากกฎหมาย ระเบียบแบบแผนทเี่ กี่ยวของในการจัดการศึกษา โดยปรบั ใหส อดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของสถานศึกษาท่ีรบั ผิดชอบ 3. การเปนผบู ริหารสถานศึกษามืออาชพี ในยุคปฏิรปู การศึกษาจําเปนตอ งใชผบู รหิ ารการศกึ ษาและผูบริหารสถานศึกษามืออาชีพ จึงจะนํา โรงเรียนบรรลคุ วามสาํ เรจ็ ตามภารกิจและบทบาทหนา ท่ีของโรงเรียน การเปนผูบ รหิ ารมอื อาชีพจะตองอาศัย ความรคู วามสามารถและคณุ ลักษณะทเ่ี อ้ือโดยเฉพาะ และอาศยั กระบวนการบริหารท่ีเนนการมีสวนรวม ของบุคลากรและทุกฝา ย ทุกสถาบนั ทุกองคกรทเี่ กี่ยวขอ งภายนอกสถานศกึ ษาและบริหารโดยใชองคคณะ บุคคล ตลอดทั้งนําการบริหารโดยใชโ รงเรยี นเปน ฐาน (SBM) ตามแนวการกระจายอํานาจการบรหิ าร ซึ่ง เนนผลประโยชนข องผมู ีสว นไดสว นเสยี คอื นกั เรียนและชุมชนมาประยกุ ตใชอยา งเหมาะสม การบรหิ ารกจิ การใด ๆ ทเี่ ก่ียวกับสาธารณะในยคุ โลกาภวิ ัตนม ีความจาํ เปนตอ งอาศัยผบู รหิ ารมือ อาชีพจึงจะทาํ ใหธุรกจิ ตา ง ๆ เหลา น้นั ดาํ เนนิ การไปดวยดี และบรรลจุ ดุ มงุ หมายท่กี ําหนดไว ท้ังน้ีเพราะ การเปลย่ี นแปลงดา นเศรษฐกจิ สงั คม และความกา วหนา ทางเทคโนโลยเี ปน ไปอยา งรวดเรว็ อยา งไรพ รมแดน และกระทบกระเทอื นไปทุกประเทศทัว่ โลก สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 385  คมู อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา ในดา นการจดั การศึกษาก็ไมมเี วน มีความจําเปน ตองอาศยั ผบู ริหารการศึกษาและบริหารสถานศึกษา มอื อาชีพ จงึ จะทําใหก ารบริหารและการจัดการศึกษาประสบความสาํ เรจ็ และเปนไปตามแนวทางท่พี ึง ประสงค ใหมีองคกรวิชาชีพครู ผบู ริหารสถานศกึ ษา และผบู รหิ ารการศกึ ษา...มอี าํ นาจ หนาที่กาํ หนดมาตรฐานวชิ าชีพออกและเพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี กํากบั ดแู ล การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชพี รวมทัง้ พัฒนาวชิ าชีพ... มาตรา 53 หมวด 7 พ.ร.บ.การศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี2) พ.ศ. 2545 1. การเปลีย่ นแปลงในดานเศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยีเปน ไปอยา งรวดเร็วและตลอดเวลา ซึ่งกอใหเ กดิ ความสลบั ซบั ซอนและปญ หาอยา งไมมสี น้ิ สุด จาํ เปน ตองอาศัยผูนําทมี่ วี สิ ัยทศั น ความรู ความ สามารถ และมคี ุณธรรมในการดําเนินการ จึงจะทําใหองคกรประสบความสําเร็จตามความมงุ หมายทีค่ าดไว 2.พ.ร.บ.การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 เปนกฎหมายแม บทในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาอบรมตามทีร่ ฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดบญั ญัติ ไว พ.ร.บ.การศกึ ษาแหงชาติดงั กลา วไดก ําหนดเก่ียวกบั (1) จดุ มุง หมายของการศกึ ษา (2) หลกั การ (3) สิทธแิ ละหนาทท่ี างการศึกษา (4) ระบบการจัดหรือรูปแบบการจัดการศกึ ษา (5) แนวการจดั การศึกษา (6) การบรหิ ารและการจัดการศึกษา (7) มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา (8) การจดั ระบบครู คณาจารยแ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา (9) การจัดระบบทรพั ยากรและการลงทุนเพ่ือการศึกษา (10) การ สง เสรมิ เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา ซงึ่ เปน การปฏริ ปู การศกึ ษาทง้ั ระบบ ในการดําเนินการตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษาใน พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาตดิ งั กลา วจะประสบผลสาํ เร็จ จําเปน ตอ งอาศยั องคก รปฏิบตั ิคอื สถานศกึ ษา ซง่ึ หมายถึงการปฏิบตั หิ นาทีข่ องผบู รหิ าร ครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษาอน่ื ทีม่ ีความรคู วามเขา ใจและสามารถดําเนนิ การตามแนวทางการจัดการศึกษาไดอ ยางดแี ละ ผูบ รหิ ารสถานศึกษาจะตอ งเปนผูนาํ การปฏิรปู ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 3. การบริหารการศกึ ษาเปนวชิ าชีพชั้นสูง (Professional) อาชพี หน่งึ เพราะการบรหิ ารการศึกษา ดําเนินการตามเกณฑว ิชาชพี ชั้นสงู อื่นกลาวคือ: 1) มีลกั ษณะการบริหารเฉพาะของตนแตกตา งจากวชิ าชีพอื่น 2) มคี วามอสิ ระในการใหบ รกิ าร 3) ใชวิถีแหงปญ ญาศกึ ษา วิเคราะหอยางลกึ ซ้งึ 4) มกี ารศกึ ษามากพอคือ ระดับปริญญาตรีขึ้นไป สอบครดู อทคอม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook