Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-06 14:51:28

Description: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา
#ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา
#คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Keywords: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา,ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา,คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 138  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา กฎหมายหลกั ของการจดั การศึกษา กอ นท่ีจะไดศ ึกษาและเรยี นรูสาระสําคญั ของกฎหมายท้ังกฎหมายการศึกษา กฎหมายปฏิบัตริ าชการ และระเบียบกฎหมายที่สถานศกึ ษาควรทราบ ดงั ทจ่ี ะกลา วตอ ไปน้ี อาจใหม คี วามเขาใจในเบ้อื งตน เกี่ยวกับ กระบวนการกฎหมาย(นติ ิบญั ญัติ) เพื่อเปนความรพู น้ื ฐาน ดงั นี้ 1. ตามรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (ปจ จบุ นั ยกเลิกการใชแ ลว และจะมี รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยฉบับใหม แตกระบวนการกค็ งไมแ ตกตางกันในหลักการ) กาํ sนดให การเสนอรางกฎหมาย (นติ ิบัญญตั )ิ กระทําได 3 ทาง คือ คณะรฐั มนตรี สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร ผูมสี ทิ ธิ เลือกต้ังไมน อยกวา 50,000 คน 2. กระบวนการพจิ ารณารางพระราชบญั ญัติของรัฐสภา (ท้งั สภาผแู ทนราษฎร วฒุ สิ ภา หรือสภานติ ิ บัญญตั ิแหงชาติ แลวแตกรณี) มกี ารพจิ ารณา 3 วาระ คอื วาระท่ี 1 จะพิจารณาและลงมติวา จะรับหลักการ หรือไมร บั หลกั การแหงรา งพระราชบญั ญตั ิน้นั วาระที่ 2 เปน การพิจารณาในรายละเอยี ด ชื่อราง คาํ ปรารภ พจิ ารณาเรยี งตามลําดับมาตรา จะมกี ารอภปิ รายไดเฉพาะทีม่ ีการแกไ ข หรอื ที่มีการสงวนคําแปรญตั ตหิ รือ สงวนความเห็นไวเ ทา น้นั วาระท่ี 3 ลงมตวิ า เห็นชอบหรือไมเห็นชอบ โดยไมม ีการอภิปราย หากสภาไมเห็น ชอบรา งพระราชบญั ญัตินน้ั ก็ตกไป แตหากสภาเหน็ ชอบประธานสภาผูแทนราษฎรก็จะเสนอรางพระราช บัญญตั ินน้ั ตอ วุฒสิ ภาเพือ่ พจิ ารณาตอไป เมอ่ื วฒุ ิสภาเห็นชอบแลว ประธานวุฒิสภา หรือ (สภานติ ิบญั ญตั ิ แหง ชาติ ทาํ หนา ท่แี ทนรฐั สภา เชน ตามรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศกั ราช 2549) เสนอนายกรัฐมนตรี นําทลู เกลา ฯใหพระมหากษัตรยิ ท รงลงพระปรมาภิไธย นําลงประกาศในราชกจิ จานุเบก ษา มีผลบังคบั ใชเ ปน กฎหมาย สว นกฎหมายอนื่ ท่ีไมใชพระราชบัญญตั ิ ใหออกโดยฝา ยบริหาร หรอื องคกร ปกครองสว นทอ งถ่ิน 3. ลําดบั ชัน้ ของกฎหมาย ในประเทศไทย มลี าํ ดบั ความสาํ คัญหรือลาํ ดบั ชั้นของกฎหมาย ตามลาํ ดบั คอื 1) รัฐธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สดุ 2) กฎหมายท่ีรัฐธรรมนญู ใหฝายนติ ิบญั ญตั ิ (รฐั สภา) เปน ผูออก ไดแ ก ระมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกาํ หนด ประกาศ พระบรมราชโองการใหใ ชบ ังคบั ดังเชนพระราช บญั ญัติ และประกาศกาศคณะปฏวิ ตั ิ 3)กฎหมาย ทฝี่ า ยบริหาร เปน ผูอ อก คอื พระราช กฤษฏกี า กฎกระทรวง ประกาศ กระทรวง/กรม อาศัยอํานาจตามความใน พ.ร.บ.และ4)กฎหมาย ทอี่ งคก รสว นทอ งถ่ิน เปน ผูออก เชน เทศบัญญัติ ขอ บญั ญตั จิ งั หวดั ขอบงั คบั สุขาภิบาล ประกาศตา ง ๆ ของทองถิน่ เปนตน 4. ประมวลกฎหมาย ไดแ ก ประมวลรษั ฎากร กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา กฎหมายแพงและพาณิชย กฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง กฎหมายท่ดี นิ และกฎหมายอาญา 5. สง่ิ ทตี่ อ งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ไดแ ก รัฐธรรมนญู พระราชบัญญัติ พระราชกาํ หนด พระราช กฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศ ระเบยี บ คําส่งั กฎ ขอกําหนด ขอบงั คับ บัญญัติ คาํ วินิจฉยั เอกสารที่ กฎหมายระบุใหป ระกาศ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 139  คมู อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา 1. พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี2) พ.ศ. 2545 สาระสําคัญของพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2542 และท่แี กไ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับที2่ ) พ.ศ. 2545 มดี งั ตอไปนี้ 1) ความมุงหมายของการจดั การศกึ ษา การจัดการศึกษาตองเปน ไปเพ่อื พฒั นาคนไทยใหเปนมนษุ ยที่สมบรณู ทั้งรางกาย จติ ใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดํารงชวี ิต สามารถอยรู ว มกบั ผอู ื่นไดอ ยางมีความสุข ในกระบวนการเรยี นรูตอ งมุงปลกู ฝงจิตสาํ นึกทีถ่ ูกตองเก่ยี วกับการเมอื งการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ รจู กั รกั ษาและสง เสริมสทิ ธิ หนาท่ี เสรีภาพ ความเคารพ กฎหมาย ความเสมอภาค ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย มีความภาคภูมิใจความเปนไทย รจู ักรกั ษาผลประโยชน สว นรวมและของประเทศชาติ รวมทงั้ สง เสริมศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน ภมู ิปญญาไทย และความรูอ นั เปน สากล ตลอดจนอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม มีความ สามารถในการประกอบอาชพี รจู ักพึ่งตนเอง มีความรเิ รม่ิ สรางสรรค ใฝร แู ละเรียนรูด วยตนเองอยา งตอเนอ่ื ง 2) หลักการจัดการศึกษาและหลกั การจัดระบบ โครงสรา งสวนราชการ หลักการจัดการศกึ ษาใหยึดหลักดงั น้ี 1) เปนการศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรับประชาชน 2) ใหสังคมมีสว นรวมในการจดั การศกึ ษา 3) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรใู หเ ปนไปอยา งตอเนอื่ ง หลักการจดั ระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศกึ ษา ใหยดึ หลกั ดังน้ี 1) มเี อกภาพดานนโยบาย และมคี วามหลากหลายในการปฏิบตั ิ 2) มีการกระจายอํานาจไปสูเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา สถานศกึ ษา และองคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน 3) มีการกาํ หนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาทุกระดับและประเภท การศึกษา 4) มีหลกั การสง เสรมิ มาตรฐานวชิ าชพี ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา และการพฒั นาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเน่อื ง 5) ระดมทรพั ยากรจากแหลง ตาง ๆ มาใชใ นการจัดการศึกษา 6) การมสี ว นรว มของบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องคการชุมชน องคกรปกครองสว นทอ งถิ่น เอก ชน องคก รเอกชน องคกรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอนื่ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 140  คูมอื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 3) สทิ ธแิ ละหนา ทที่ างการศึกษา การจดั การศึกษา ตองจัดใหบุคคลมีสทิ ธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานไมนอ ย กวา สบิ สองป ท่ีรฐั ตองจดั ใหอยางทั่วถึงและมคี ุณภาพโดยไมเกบ็ คา ใชจ าย การจัดการศกึ ษาสาํ หรบั บคุ คลซงึ่ มคี วามบกพรอ งทางรา งกาย จติ ใจ สตปิ ญญา อารมณ สังคม การสอื่ สารและการเรยี นรู หรอื มีรางกายพกิ าร หรือทพุ พลภาพหรือบคุ คลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมผี ดู แู ลหรือดอ ยโอกาส ตอ งจดั ใหบคุ คลดัง กลาวมีสทิ ธแิ ละโอกาสไดร ับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานเปนพิเศษ การศึกษาสาํ หรับคนพกิ ารในวรรคสองใหจ ดั ตงั้ แตแรกเกดิ หรอื พบความพกิ ารโดยไมเสียคา ใชจาย และใหบ คุ คลดงั กลา วมสี ิทธิไดร ับส่ิงอํานวยความสะดวก ส่อื บริการและความชว ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษา ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง การ จัดการศึกษาสาํ หรบั บคุ คลซึง่ มคี วามสามารถพิเศษ ตองจดั ดวยรูปแบบทีเ่ หมาะสมโดยคาํ นึงถึงความสามารถ ของบคุ คลนนั้ 4) ระบบการศกึ ษา การจัดการศึกษามีสามรปู แบบ คือ 1) การศกึ ษาในระบบ 2) การศกึ ษานอกระบบ และ 3) การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5) แนวการจดั การศกึ ษา การจดั การศกึ ษาตองยึดหลกั วาผูเ รียนทกุ คนมีความสามารถเรยี นรูและพฒั นาตนเองได และถือวา ผูเรยี นมคี วามสาํ คญั ทสี่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ งสง เสริมใหผ เู รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและ เตม็ ตามศกั ยภาพของผเู รียน การศึกษา ท้งั การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย ตองเนนความ สาํ คัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรยี นรู และบรู ณาการตามความเหมาะสมของแตล ะระดบั การศกึ ษา ในเรอ่ื งตอ ไปนี้ 1) ความรเู รอ่ื งเกี่ยวกับตนเอง และความสมั พนั ธข องตนเองกบั สังคม ไดแ ก ครอบครวั ชมุ ชน ชาติ และสงั คมโลก รวมถึงความรูเก่ยี วกับประวัตศิ าสตรความเปน มาของสงั คมไทยและระบบการเมอื งการปก ครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ 2) ความรูและทกั ษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทง้ั ความรคู วามเขาใจและประสบการณ เรอื่ งการจดั การ การบํารุงรกั ษา การใชป ระโยชนจ ากทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอมอยางสมดลุ ย่ังยนื 3) ความรูเกย่ี วกบั ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม การกฬี า ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใ ชภ ูมิปญ ญา 4) ความรู และทักษะดา นคณิตศาสตร และดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยางถกู ตอ ง 5) ความรู และทักษะในการประกอบอาชพี และการดํารงชีวิตอยา งมคี วามสุข สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 141  คูมือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา สาํ หรบั การจดั กระบวนการเรียนรู ใหส ถานศึกษาและหนวยงานทเี่ กย่ี วขอ งดาํ เนนิ การ ดังตอ ไปน้ี 1) จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมใหส อดคลองกบั ความสนใจและความถนัดของผเู รียนโดยคาํ นึงถึง ความแตกตา งระหวา งบุคคล 2) ฝก ทักษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ สถานการณ และการประยกุ ตค วามรมู าใช เพ่ือปองกันและแกไขปญหา 3) จัดกจิ กรรมใหผเู รียนไดเ รียนรจู ากประสบการณจ รงิ ฝก การปฏิบตั ใิ หทําได คดิ เปนและทําเปน รกั การอานและเกดิ การใฝรอู ยา งตอ เน่ือง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรดู า นตาง ๆ อยา งไดส ดั สวนสมดลุ กนั รวมท้งั ปลูกฝง คณุ ธรรม คานิยมท่ีดงี ามและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคไวใ นทุกวิชา 5) สง เสรมิ สนับสนนุ ใหผ สู อนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรยี น และอํานวยความ สะดวกเพือ่ ใหผ เู รยี นเกิดการเรียนรู และมคี วามรอบรู รวมทงั้ สามารถใชการวจิ ัยเปน สว นหนึง่ ของกระบวน การเรยี นรู ทั้งน้ี ผูส อนและผูเ รยี นอาจเรยี นรไู ปพรอ มกันจากสอื่ การเรยี นการสอนและแหลงวทิ ยาการ ประเภทตา ง ๆ 6) จัดการเรียนรูใหเกิดข้นึ ไดทกุ เวลาทุกสถานทมี่ กี ารประสานความรวมมือกับบดิ ามารดา ผปู ก ครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝา ย เพอ่ื รวมกนั พฒั นาผูเรียนตามศกั ยภาพ ใหค ณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานกําหนดหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ใหสถาน ศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐานมหี นา ที่จดั ทําสาระของหลักสูตรตามวตั ถุประสงคใ นวรรคหนึง่ ในสวนท่ีเกีย่ วกบั สภาพ ปญ หาในชุมชนและสงั คม ภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคเ พื่อเปน สมาชิกที่ดขี องครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 6) การบรหิ ารและการจัดการการศกึ ษาระดับเขตพ้ืนท่แี ละสถานศกึ ษา การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใหย ึดเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา โดยคาํ นึงถึงปริมาณสถาน ศกึ ษา จํานวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมดานอืน่ ดว ย เวนแตการจัดการศกึ ษาขนึ้ พ้ืนฐานตาม กฎหมายวา ดวยการอาชีวศกึ ษา ใหร ฐั มนตรโี ดยคําแนะนําของสภาการศึกษา มอี ํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาํ หนด เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ในแตล ะเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา ใหม คี ณะกรรมการและสาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา มีอํานาจหนา ท่ี การกาํ กบั ดูแล จัดต้งั ยบุ รวม หรือเลกิ สถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานในเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประสาน สงเสริมและ สนับสนนุ สถานศึกษาเอกชนในเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ประสานและสง เสรมิ องคก รปกครองสว น ทอ งถ่นิ ให สามารถจดั การศึกษาสอดคลอ งกบั นโยบายและมาตรฐานการศึกษา สงเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศกึ ษา ของบุคคล ครอบครวั องคก รชมุ ชน องคก รเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอน่ื ทจ่ี ัดการศกึ ษาในรปู แบบทีห่ ลากหลายในเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 142  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ใหก ระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศกึ ษา ทง้ั ดานวชิ าการ งบประมาณ การบริหาร งานบคุ คล และการบรหิ ารทว่ั ไป ไปยงั คณะกรรมการและสํานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา และสถานศกึ ษาใน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาโดยตรง 7) มาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา มีระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดับ ประกอบดวย ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน และระบบการประกันคณุ ภาพภายนอก ใหห นวยงานตน สงั กัดและสถานศึกษาจดั ใหมรี ะบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและใหถ ือวาการประกันคณุ ภาพ ภายในเปน สวนหนงึ่ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาทต่ี องดาํ เนนิ การอยา งตอ เนอ่ื ง โดยมีการจดั ทาํ รายงาน ประจาํ ปเสนอตอ หนว ยงานตน สังกัด หนวยงานทีเ่ กย่ี วขอ ง และเปดเผยตอสาธารณชน เพ่ือนาํ ไปสกู ารพัฒนา คุณภาพ 8) ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจัดใหม รี ะบบ กระบวนการผลติ การพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทาง การศึกษาใหมีคณุ ภาพและมาตรฐานทเี่ หมาะสมกบั การเปน วิชาชีพชั้นสงู โดยการกํากับและประสานให สถาบันท่ที ําหนา ท่ผี ลิตและพัฒนาครู คณาจารย รวมทง้ั บคุ ลากรทางการศึกษาใหม คี วามพรอมและมีความ เขมแขง็ ในการเตรียมบุคลากรใหมและการพฒั นาบุคลากรประจําการอยางตอเนอ่ื งรฐั พงึ จดั สรรงบประมาณ และจดั ตงั้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางเพยี งพอ ใหมอี งคก รวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศกึ ษา และผบู ริหารการศึกษา มฐี านะเปนองคก รอิสระภาย ใตการบริหารของสภาวิชาชพี ในกาํ กบั ของกระทรวง มอี าํ นาจหนา ท่กี าํ หนดมาตรฐานวชิ าชีพ ออกและ เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี กาํ กบั ดแู ลการปฏิบตั ิตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี รวม ทงั้ การพฒั นาวิชาชีพครู ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา และผบู รหิ ารการศกึ ษาใหครู ผูบริหารสถานศกึ ษา ผบู รหิ ารการ ศกึ ษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทง้ั ของรัฐและเอกชนตองมีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ตามท่ีกฎหมาย กําหนดการจัดใหมีองคกรวชิ าชีพครู ผบู ริหารสถานศกึ ษา ผบู รหิ ารการศึกษา และบุคลากรทางการศกึ ษาอนื่ ใหม อี งคก รกลางบรหิ ารงานบคุ คลของขา ราชการครู โดยใหค รแู ละบุคลากรทางการศึกษาท้ังของ หนว ยงานทางการศกึ ษาในระดบั สถานศกึ ษาของรฐั และระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษา เปน ขา ราชการในสังกัด องคกรกลางบรหิ ารงานบุคคลของขา ราชการครู โดยยึดหลกั การกระจายอํานาจการบริหารงานบคุ คลสเู ขต พน้ื ที่การศึกษา และสถานศกึ ษา ใหม กี ฎหมายวาดว ยเงนิ เดอื น คาตอบแทน สวสั ดิการ และสิทธปิ ระโยชน เกื้อกูลอื่น สําหรบั ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือใหม รี ายไดท ี่เพยี งพอและเหมาะสมกับฐานะ ทางสังคมและวิชาชพี ใหม กี องทนุ สง เสริมครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา เพอื่ จัดสรรเปนเงนิ อุดหนุนงานรเิ รมิ่ สรา งสรรค ผลงานดเี ดน และเปนรางวัลเชิดชเู กยี รตคิ รู คณาจารย และบุคลากรทางการ ศึกษา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 143  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 9) ทรัพยากรและการลงทุนเพอื่ การศึกษา ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทนุ ดานงบประมาณ การเงนิ และทรพั ยสินท้ังจากรัฐ องคก ร ปกครองสว นทอ งถิน่ บุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก รชุมชนเอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ สถาบนั สังคมอน่ื และตา งประเทศมาใชจ ดั การศกึ ษา ใหสถานศึกษาของรัฐทเ่ี ปนนิติบุคคล มีอํานาจในการปกครอง ดูแล บาํ รุงรักษา ใช และจดั หาผล ประโยชนจ ากทรพั ยส นิ ของสถานศึกษา ท้ังท่ีเปนท่ีราชพัสดุ ตามกฎหมายวาดว ยที่ราชพัสดุ และทเ่ี ปนทรัพย สินอืน่ รวมทัง้ จดั หารายไดจากบรกิ ารของสถานศึกษา และเก็บคา ธรรมเนียมการศึกษาทีไ่ มข ัดหรอื แยง กับ นโยบาย วตั ถุประสงค และภารกิจหลกั ของสถานศึกษาบรรดาอสังหารมิ ทรพั ยท ส่ี ถานศึกษาของรัฐท่เี ปนนติ ิ บุคคลไดมาโดยมผี ูอทุ ิศให หรอื โดยการซือ้ หรือแลกเปลย่ี นจากรายไดของสถานศึกษา ไมถ ือเปน ทีร่ าชพสั ดุ และใหเปน กรรมสทิ ธ์ิของสถานศึกษา บรรดารายไดแ ละผลประโยชนข องสถานศึกษาของรฐั ที่เปน นิตบิ คุ คล รวมท้ังผลประโยชนเ กดิ จากท่ีราชพัสดุ เบ้ยี ปรบั ทเี่ กดิ จากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบ้ียปรบั ทีเ่ กดิ จากการ ผดิ สญั ญาการซอ้ื ทรพั ยส นิ หรือจา งทําของท่ีดาํ เนนิ การโดยใชเงินงบประมาณไมเปนรายไดที่ตองนาํ สง กระทรวงการคลังตามกฎหมายวา ดว ยเงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวธิ ีการงบประมาณ บรรดารายไดแ ละ ผลประโยชนข องสถานศกึ ษาของรฐั ท่ีไมเ ปนนติ ิบคุ คล 10) เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา รฐั ตอ งจดั สรรคลนื่ ความถ่ี สือ่ ตวั นําและโครงสรางพ้นื ฐานอ่ืนท่ีจําเปนตอ การสง วทิ ยุกระจาย เสียง วิทยุโทรทศั น วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรปู อ่นื เพอื่ ใชประโยชนสาํ หรับการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั การทํานุบาํ รงุ ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรมตามความจาํ เปน รัฐตอ งสงเสริมและสนบั สนนุ ใหมกี ารผลติ และพัฒนาแบบเรยี น ตาํ รา หนังสือทางวชิ าการ สอ่ื สง่ิ พิมพอ ่ืน วสั ดอุ ปุ กรณ และเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาอ่นื โดยเรงรดั พฒั นาขดี ความสามารถในการผลติ จดั ใหมีเงินสนบั สนนุ การผลิตและมีการใหแ รงจูงใจแกผ ผู ลติ และพัฒนาเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา ทงั้ นี้ โดยเปด ใหม กี ารแขง ขนั โดยเสรอี ยา งเปนธรรม ผเู รียนมสี ทิ ธิไดรบั การพัฒนาขดี ความสามารถในการใชเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาในโอกาส แรกท่ีทําได เพอ่ื ใหม คี วามรูและทักษะเพยี งพอท่จี ะใชเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาในการแสวงหาความรูด ว ยตน เองไดอยา งตอ เนือ่ งตลอดชีวิต รฐั ตองสงเสริมใหมกี ารวิจยั และพฒั นา การผลิตและการพฒั นาเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา รวม ทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการใชเ ทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา เพอื่ ใหเกิดการใชท่ีคมุ คา และ เหมาะสมกบั กระบวนการเรียนรูข องคนไทย โดยสรปุ แลว พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ เปนกฎหมายแมบทในการจัดการศึกษาของชาติ กาํ หนดใหมีปฏริ ปู ครง้ั ใหญใ นดาน การจัดการเรยี นเรียนรู ปรับโครงสรา งหนวยงาน ปฏริ ูปครแู ละบคุ ลากร การศกึ ษา มรี ะบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พัฒนาสอ่ื เทคโนโลยฯี และระดมทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 144  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2. พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 พระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 เปนกฎหมายทอี่ อกตามพระ ราชบญั ญัตปิ รับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และพระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มสี าระสาํ คญั จะนําเสนอเฉพาะมาตราทส่ี ําคญั ดังน้ี 1) มาตรา 6 ใหจัดระเบียบราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดงั นี้ 1) ระเบยี บบริหารราชการในสวนกลาง 2) ระเบยี บบริหารราชการเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 3) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐ ท่จี ัดการศกึ ษาระดับปรญิ ญาทเ่ี ปนนติ ิบคุ คล หมวด 1 การจัดระเบียบบริหารราชการในสว นกลาง (มาตรา 9-32 ) 2) มาตรา 9 ใหจัดระเบยี บบรหิ ารราชการในสวนกลาง ดังน้ี 1) สํานักงานปลัดกระทรวง 2) สวนราชการที่มหี ัวหนาสว นราชการ ขน้ึ ตรงตอ รัฐมนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ 3) มาตรา 10 การแบงสวนราชการในสว นกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหเ ปนไปตามพระราช บัญญัตนิ ้ี โดยใหม หี วั หนาสว นราชการขึ้นตรงตอ รฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ี 1) สาํ นกั งานรฐั มนตรี 2) สาํ นกั งานปลัดกระทรวง 3) สํานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา 4) สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 5) สาํ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา 6) สํานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา สว นราชการตาม 2) 3) 4) 5) และ6) มฐี านะเปนนิตบิ คุ คลและเปนกรม 1) เปน แคส ว นราชการ หมวด 2 การจดั ระเบียบบริหารราชการเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา (มาตรา 33-39) 4) มาตรา 34 ใหจัดระเบียบบริหารราชการของเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ดังน้ี 1) สํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา 2) สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน หรือสวนราชการท่เี รยี กชอ่ื อยางอ่นื การแบงสว นราชการภายในตาม 1) ใหจ ดั ทาํ เปนประกาศกระทรวง และใหระบุอาํ นาจหนา ที่ของ แตล ะสว นราชการไวใ นประกาศกระทรวง ทงั้ นี้ โดยคําแนะนาํ ของคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน การแบงสว นราชการภายในตาม 2) และอํานาจหนา ทข่ี องสถานศึกษา หรือสวนราชการทีเ่ รยี กชื่อ อยา งอน่ื ใหเปนไปตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาแตล ะเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษากาํ หนด สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 145  คูมอื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา การแบงสว นราชการตามวรรคสองและวรรคสามใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑท ่กี ําหนดในกฎ กระทรวง 5) มาตรา 35 สถานศกึ ษาทจี่ ัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐานตาม มาตรา 34 (2) เฉพาะทเี่ ปน โรงเรียนมีฐานะ เปนนติ ิบคุ คล เมือ่ มีการยุบเลิกสถานศึกษาตามวรรคหน่ึง ใหค วามเปนนติ บิ คุ คลสนิ้ สุดลง 6) มาตรา 38 ใหมคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สถานศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาระดบั ตา่ํ กวา ปรญิ ญา และสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาของแตละสถานศึกษา เพ่ือทําหนา ทกี่ าํ กับสงเสรมิ และสนับสนนุ กิจการ ของสถานศกึ ษา ประกอบดวยผูแทนผูปกครอง ผแู ทนครู ผแู ทนองคกรชมุ ชน ผูแ ทนองคก รปกครองสวน ทอ งถิน่ ผแู ทนศิษยเกา ของสถานศึกษา ผูแทนพระภกิ ษสุ งฆห รอื ผแู ทนองคก รศาสนาอน่ื ในพื้นท่ี และผูท รง คุณวุฒิ จาํ นวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ วธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและกรรมการ วาระการดาํ รงตําแหนง และการพนจากตําแหนง ใหเ ปนไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง องคประกอบ อาํ นาจหนา ที่ หลกั เกณฑ วิธกี ารสรรหา และจํานวนกรรมการ ในคณะกรรมการสถาน ศกึ ษาสําหรับสถานศึกษาบางประเภททีม่ ีสภาพ และลกั ษณะการปฏบิ ตั ิงานแตกตา งไปจากสถานศกึ ษาขั้น พืน้ ฐานโดยทั่วไป อาจกาํ หนดใหแ ตกตา งไปตามสภาพและลกั ษณะการปฏิบัตงิ านตลอดทง้ั ความจําเปน เฉพาะของสถานศกึ ษาประเภทน้ันได ท้ังน้ี ตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ใหผ ูบรหิ ารสถานศึกษาเปน กรรมการ และเลขานุการของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 7) มาตรา 39 สถานศกึ ษาและสว นราชการตาม มาตรา 34 (2) มีอาํ นาจหนาที่ตามท่กี ําหนดไวใ หเปน หนา ทข่ี องสว นราชการน้ันๆ โดยใหม ผี อู ํานวยการสถานศกึ ษา หรอื หวั หนา สวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอน่ื เปนผบู ังคบั บญั ชา ขา ราชการและมอี ํานาจหนาท่ี ดงั น้ี 1) บริหารกจิ การของสถานศกึ ษาหรอื สว นราชการใหเ ปนไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ของทาง ราชการและของสถานศกึ ษาหรอื สวนราชการ รวมทัง้ นโยบายและวตั ถปุ ระสงคข องสถานศึกษาหรอื สวน ราชการ 2) ประสานการระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา รวมทงั้ ควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่ และทรพั ยส ินอ่ืนของสถานศึกษาหรือสวนราชการใหเ ปนไปตามกฎหมาย ระเบยี บและขอ บังคบั ของทาง ราชการ 3) เปน ผูแ ทนของสถานศกึ ษาหรือสว นราชการในกจิ การทั่วไป รวมทั้งการจดั ทาํ นติ กิ รรมสญั ญาใน ราชการของสถานศกึ ษา หรอื สวนราชการตามวงเงนิ งบประมาณท่ีสถานศึกษาหรือสวนราชการไดรับตามที่ ไดรบั มอบอํานาจ 4) จัดทํารายงานประจาํ ป เกีย่ วกบั กิจการของสถานศึกษาหรอื สว นราชการเพื่อเสนอตอ คณะกรรมการ เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 146  คูมือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา 5) อาํ นาจหนาที่ในการอนุมัตปิ ระกาศนยี บตั ร และวฒุ ิบตั รของสถานศกึ ษาใหเ ปนไป ตามระเบยี บท่ี คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานกําหนด 6) ปฏิบตั ิงานอืน่ ตามท่ไี ดรับมอบหมายจากรัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ าร ปลดั กระทรวง เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดม ศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา และผูอาํ นวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา รวมทั้งงานอ่ืน ท่ีกระทรวงมอบหมาย สถานศึกษาและสวนราชการตาม มาตรา 34 (2) จะใหมรี องผอู ํานวยการหรือรองหัวหนาสวนราช การรองจากผอู าํ นวยการ หรือหวั หนาสวนราชการเพ่อื ชว ยปฏบิ ตั ริ าชการก็ได หมวด 3 การจดั ระเบียบบริหารราชการในสถานศกึ ษาของรัฐระดับปริญญานติ ิบุคคล (มาตรา 40-43 ) หมวด 4 การปฏบิ ัติราชการแทน (มาตรา 44-47 ) 8) มาตรา 45 อาํ นาจในการสั่ง การอนญุ าต การอนุมตั ิ การปฏิบัติราชการหรือการดาํ เนินการอ่ืน ท่ผี ู ดาํ รงตาํ แหนง ใดในพระราชบัญญตั นิ ี้จะพึงปฏบิ ัตหิ รือดาํ เนนิ การตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอบงั คับหรอื คําส่ัง ใด หรอื มติของคณะรฐั มนตรีในเร่ืองใด ถากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคบั หรอื คาํ สั่งนนั้ หรือมติของคณะรฐั มนตรใี นเรือ่ งน้นั มิไดก าํ หนดเรอื่ งการมอบอาํ นาจไวเปน อยางอนื่ หรอื มิไดห ามเรื่องการมอบอาํ นาจไว ผู ดํารงตําแหนงนั้นอาจมอบอํานาจใหผ ดู าํ รงตําแหนง อ่ืนปฏิบัติราชการแทนได โดยคาํ นึงถงึ ความเปน อสิ ระ การบรหิ ารงานท่คี ลอ งตัวในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา และของสํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาทบี่ ญั ญตั ิ ใน มาตรา 44 (1) และ (2) ดังตอ ไปนี้ 6) ผอู าํ นวยการสถานศึกษาหรอื ผดู ํารงตําแหนงเทียบเทา อาจมอบอํานาจใหข า ราชการในสถาน ศึกษา หรอื ในหนวยงานทเ่ี รยี กชอื่ อยา งอ่ืนได ตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษากําหนด 7) ผดู ํารงตําแหนง (1) ถงึ (6) อาจมอบอาํ นาจใหบุคคลอื่นไดตามระเบยี บท่ีคณะรัฐมนตรีกําหนด การมอบอาํ นาจตามมาตรานีใ้ หท ําเปน หนังสือ คณะรัฐมนตรอี าจกาํ หนดใหมกี ารมอบอาํ นาจในเรอื่ งใดเรื่องหน่งึ ตลอดจนการมอบอํานาจใหท าํ นติ ิ กรรม ฟองคดี หรือดําเนนิ คดแี ทนกระทรวงหรอื สว นราชการตาม มาตรา 10 หรอื กาํ หนดหลักเกณฑ วิธกี าร หมวด 5 การรกั ษาราชการแทน (มาตรา 48-56 ) 9) มาตรา 54 ในกรณที ่ไี มมีผูดํารงตําแหนงผอู ํานวยการสถานศกึ ษา หรอื มแี ตไมอ าจปฏบิ ัตริ าชการได ใหรองผูอาํ นวยการสถานศึกษารกั ษาราชการแทน ถา มีรองผอู ํานวยการสถานศกึ ษาหลายคนใหค นใดคน หนง่ึ รักษาราชการแทน ถาไมม ีผูดํารงตาํ แหนงรองผูอํานวยการสถานศกึ ษา หรือมแี ตไ มอ าจปฏิบตั ริ าชการ ไดใ หผ อู าํ นวยการสาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาแตงตั้งขาราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึง่ เปนผูร กั ษา ราชการแทนกไ็ ด ใหนาํ ความในวรรคหนง่ึ มาใชบงั คบั กบั สวนราชการท่เี รียกชือ่ ยา งอน่ื และมีฐานะเทยี บเทา สถานศกึ ษาดวยโดยอนโุ ลม สอบครดู อทคอม

147  คมู ือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา 10) มาตรา 55 ใหผ รู กั ษาราชการแทนตามความในพระราชบญั ญตั นิ มี้ อี าํ นาจหนาท่ีเชน เดยี วกบั ผซู ่ึง ตนแทน สรปุ สาระสําคญั ของการปฏริ ปู โครงสรา งหนว ยงานการศึกษาตาม พรบ.ระเบยี บบรหิ ารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั น้ี 1) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีอํานาจหนาที่เก่ยี วกับการสงเสริมและกํากับดแู ลการศกึ ษาทุกระดบั และ ทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษา สนบั สนุนทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา สงเสรมิ และ ประสานงานการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกีฬาเพ่อื การศกึ ษารวมทัง้ การติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการจัดการศกึ ษา และราชการอืน่ ตามที่มีกฎหมายกําหนด ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 2) การแบง สวนราชการในกระทรวงศึกษาธิการ ไดมกี ารจัดระเบียบราชการในกระทรวง ดงั น้ี 1) ระเบียบบริหารราชการในสว นกลาง 2) ระเบียบบริหารราชการเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา 3) ระเบียบบริหารราชการในสถานศกึ ษาของรฐั ทีจ่ ดั การศึกษาระดับปรญิ ญาทเี่ ปนนติ ิบุคคล (ไดแ ก มหาวทิ ยาลัย วิทยาลยั หรอื สถาบนั ท่จี ัดการศึกษาในระดับปริญญา การบริหารจัดการใหเ ปนไปตาม กฎหมายของสถานศึกษาน้ันๆ) 2.1) การจัดระเบยี บบริหารราชการในสวนกลาง ประกอบดว ย 1) สํานักงานปลดั กระทรวง 2) สว นราชการที่มหี วั หนาสวนราชการ ข้ึนตรงตอ รัฐมนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธิการ การแบง สวนราชการในสว นกลางของกระทรวงศึกษาธกิ ารใหแ บง เปน ดงั นี้ และมหี วั หนา สว นราชการข้นึ ตรงตอรัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1) สํานกั งานรัฐมนตรี 2) สํานักงานปลดั กระทรวง 3) สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา 4 ) สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน 5) สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา 6) สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา สว นราชการตาม 2) 3) 4) 5) และ6) มีฐานะเปนนติ บิ ุคคลและเปนกรม 2.2) การจัดระเบียบบรหิ ารราชการของเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา แบง เปนดังนี้ 1) สํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา 2) สถานศึกษาทจี่ ัดการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน หรอื สวนราชการท่ีเรยี กชื่ออยา งอน่ื การแบงสวนราชการภายในตาม 1) ใหจดั ทําเปน ประกาศกระทรวง และใหระบุอํานาจหนา ที่ของ แตล ะสว นราชการไวใ นประกาศกระทรวง ทงั้ นี้ โดยคําแนะนาํ ของคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน การแบงสว นราชการภายในตาม 2) และอาํ นาจหนา ที่ของสถานศึกษา หรอื สวนราชการท่เี รียกชื่อ อยา งอื่น ใหเ ปน ไปตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาแตละเขตพื้นที่การศกึ ษากําหนด และการ แบง สว นราชการดังกลา ว ใหเปนไปตามหลกั เกณฑท ่กี าํ หนดในกฎกระทรวง สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 148  คูมือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา สถานศกึ ษาท่ีจัดการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เฉพาะท่ีเปนโรงเรียนมฐี านะเปนนติ ิบคุ คล เมอื่ มกี ารยุบเลิก สถานศกึ ษาตามวรรคหน่งึ ใหความเปนนิติบคุ คลสิ้นสดุ ลง 2.3) การจัดระเบยี บสว นราชการทเ่ี ปน สถาบนั อุดมศกึ ษา ท่ีสอนระดับปริญญา และเปนนติ ิบุคคล ไดแกส ถาบนั อุดมศกึ ษาทัว่ ไป 3) โครงสรางการบริหารของสํานกั งานเขตเขตพื้นท่กี ารศึกษาและสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาเปน เขตบริหารและจดั การศึกษา กําหนดข้ึนโดยมาตรา 37 ของ พรบ.ระเบยี บ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พศ. 2546 ประกอบไปดวย 178 เขต ซึง่ รฐั มนตรวี า การกระทรวง ศึกษาธิการ เปน ผปู ระกาศจัดต้ัง การบริหารงานโดยผอู าํ นวยการสํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาเปน ผบู ังคับ บัญชาขา ราชการและมีหนาท่ีกาํ กับ ดูแล และสง เสรมิ สนับสนุน และประสานงานสง เสริมกระจายอํานาจ หนาท่แี ละบทบาทการดาํ เนนิ งานใหแกส ถานศกึ ษาและหนวยงานทางการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา เปนสาํ นกั งานทที่ าํ หนาทเ่ี ปน สาํ นักงานเลขานุการคณะกรรมการ เขตพน้ื ที่การศกึ ษา แบง สว นราชการภายในเปนกลุมดงั น้ี กลมุ อาํ นวยการ กลมุ นโยบายและแผน กลมุ สง เสรมิ การจดั การศกึ ษา กลุมบรหิ ารงานบคุ คล กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา หนวย ตรวจสอบภายใน และกลมุ สงเสรมิ การจัดการศกึ ษาเอกชน (บางเขตพ้ืนที่)โดยกลมุ สงเสรมิ ประสทิ ธภิ าพ การจัดการศึกษาไดถ กู ยบุ เลิกแลว (วันที่ 7 กรกฎาคม 2549) สถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานสังกดั เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามีฐานะเปน นิตบิ ุคคล มีผูอาํ นวยการสถานศึกษาเปน ผบู งั คับบญั ชา มกี ารกํากบั ติดตามการบริหารกจิ การสถานศกึ ษาโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา มรี ะบบ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา สถานศกึ ษามหี นาท่ีใหบรกิ ารดา นการเรียนการสอนท่ีมคี ุณภาพ และจดั สถาน ศกึ ษาใหมคี ุณภาพ ใหส ถานศึกษาขัน้ พื้นฐานแบง สว นราชการตามกฎกระทรวงวาดว ยการแบง สวนราชการ ในสถานศกึ ษาสงั กัดเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาและระเบยี บคณะกรรมการเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา โดยแบง สว นราชการ ภายในออกเปน กลุมหรือศนู ย เชน กลมุ บรหิ ารงานวิชาการ กลุมบริหารงบประมาณ กลมุ บริหารงานบุคคล หรือกลุมบรหิ ารงานทัว่ ไป โดยขออนมุ ัตติ อ เขตพ้นื ที่การศกึ ษา สถานศกึ ษาอาจแบง สว นราชการในกลมุ เปน กลุมงาน ก็ไดโ ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 4) หนว ยงานทไ่ี มเ ปน สว นราชการสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (ตามเจตนากฎหมาย) เชน 1) สภาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (ครุ ุสภา) 2) สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา 3) สถาบนั พฒั นาและสง เสรมิ ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา 4) สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 5) สาํ นกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 6) สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 149  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 3. พระราชบัญญตั ิสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 พระราชบญั ญัติสภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มสี าระสําคญั ดงั นี้ 1) นยิ ามศพั ทท ่ีสาํ คัญ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี ไดแ ก “วิชาชพี ” หมายความวา วชิ าชพี ทางการศกึ ษาที่ทาํ หนา ที่หลักทางดานการเรยี นการสอนและ การสง เสริมการเรยี นรขู องผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ รวมท้งั การรับผิดชอบการบริหารสถานศกึ ษาในสถาน ศึกษาปฐมวัย ขัน้ พื้นฐานและอุดมศกึ ษาท่ีตา่ํ กวา ปริญญาท้ังของรฐั และเอกชน และการบริหารการศกึ ษานอก สถานศึกษาในระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนการศึกษา ใหบ รกิ ารหรือปฏิบตั งิ านเก่ยี ว เน่ืองกบั การจดั กระบวนการเรียนการสอน การนเิ ทศ และการบรหิ ารการศกึ ษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ “ ผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา” หมายความวา ครู ผบู รหิ ารสถานศึกษา ผูบรหิ ารการศกึ ษา และบุคลากรทางการศกึ ษาอนื่ ซ่ึงไดร บั ใบอนุญาตเปน ผูประกอบวิชาชีพตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ “คร”ู หมายความวา บคุ คลซงึ่ ประกอบวิชาชพี หลักทางดานการเรยี นการสอนและการสง เสรมิ การเรียนรูของผูเรยี นดว ยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาปฐมวยั ขน้ั พ้นื ฐานและอุดมศึกษาท่ีต่ํากวา ปรญิ ญาท้ัง ของรฐั และเอกชน ”ผบู รหิ ารสถานศึกษา” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏบิ ตั งิ านในตาํ แหนงผบู ริหารสถานศกึ ษาภาย ในเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา และสถานศกึ ษาอนื่ ทจ่ี ดั การศกึ ษาปฐมวยั ขั้นพ้นื ฐาน หรอื อดุ มศกึ ษาต่ํากวา ปรญิ ญาท้ัง ของรัฐและเอกชน “ผูบริหารการศกึ ษา” หมายความวา บคุ คลซ่งึ ปฏบิ ตั ิงานในตาํ แหนง ผูบรหิ ารนอกสถานศกึ ษา ในระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา “บคุ ลากรทางการศกึ ษาอน่ื ” หมายความวา บคุ คลซึง่ ทาํ หนา ทีส่ นับสนุนการศึกษาใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกีย่ วเนอ่ื งกับการจดั กระบวนการเรยี นการสอน การนเิ ทศ และการบริหารการศกึ ษาในหนว ย งานการศกึ ษาตาง ๆ ซ่ึงหนวยงานการศึกษากาํ หนดตาํ แหนง ใหต อ งมคี ุณวฒุ ทิ างการศกึ ษา “ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพซง่ึ ออกใหผปู ฏบิ ตั ิงานในตาํ แหนง ครู ผบู รหิ ารสถานศึกษา ผบู ริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืน ตามพระราชบญั ญัติน้ี 2) ใหมสี ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เรียกวา “คุรสุ ภา” มีฐานะเปน นิติบคุ คล ในกาํ กบั ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2.1)วัตถุประสงค ของคุรสุ ภา ดังตอไปนี้ 1) กําหนดมาตรฐานวิชาชพี ออกและเพกิ ถอนใบอนญุ าต กาํ กับดแู ลการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน วิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทัง้ การพฒั นาวชิ าชพี 2) กาํ หนดนโยบายและแผนพฒั นาวชิ าชีพ 3) ประสาน สงเสรมิ การศึกษาและการวจิ ยั เก่ยี วกับการประกอบวชิ าชพี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 150  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 2.2) อาํ นาจหนา ทข่ี องคุรุสภา ดังตอไปนี้ 1) กาํ หนดมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี 2)ควบคุมความประพฤตแิ ละการดาํ เนินงานของผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาใหเปนไปตาม มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี 3) ออกใบอนญุ าตใหแ กผ ขู อประกอบวิชาชีพ 4) พักใชใ บอนุญาตหรอื เพิกถอนใบอนุญาต 5) สนบั สนุนสง เสรมิ และพัฒนาวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี 6) สงเสริม สนบั สนนุ ยกยอง และผดงุ เกยี รตผิ ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา 7) รบั รองปริญญา ประกาศนยี บัตร หรอื วฒุ บิ ัตร ของสถาบนั ตาง ๆ ตามมาตรฐานวชิ าชพี 8) รับรองความรแู ละประสบการณทางวิชาชีพ รวมท้ังความชํานาญในการประกอบวิชาชพี 9) สง เสริมการศกึ ษาและการวจิ ัยเกี่ยวกบั การประกอบวิชาชีพ 10) เปน ตัวแทนผูประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาของประเทศไทย 11) ออกขอบงั คับของคุรสุ ภาวา ดวย ก) การกาํ หนดลกั ษณะตองหามตามมาตรา 13 ข) การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพกั ใชใ บอนญุ าต การเพกิ ถอนใบอนญุ าต และ การรับรองความรู ประสบการณท างวชิ าชพี ความชํานาญในการประกอบวิชาชพี ค) หลกั เกณฑและวิธีการในการขอรบั ใบอนญุ าต ง) คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตองหามของผูข อรบั ใบอนญุ าต จ) จรรยาบรรณของวชิ าชีพ และการประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซ่งึ ความเสื่อม เสียเกยี รติศกั ด์ิแหง วิชาชีพ ฉ) มาตรฐานวชิ าชพี ช) วธิ กี ารสรรหา การเลอื ก การเลือกตั้ง และการแตง ตั้งคณะกรรมการครุ ุสภาและคณะ กรรมการมาตรฐานวชิ าชพี ซ) องคประกอบ หลักเกณฑ วิธกี ารคดั เลอื กคณะกรรมการสรรหา ฌ) หลกั เกณฑแ ละวิธกี ารสรรหาเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ญ) การใด ๆ ตามท่กี ําหนดในพระราชบัญญัตนิ ้ี 12) ใหคําปรึกษาหรอื เสนอแนะตอคณะรฐั มนตรเี กี่ยวกบั นโยบายปญ หาการพฒั นาวิชาชีพ 13) ใหคําแนะนําหรือเสนอความเหน็ ตอรัฐมนตรเี กย่ี วกบั การประกอบวิชาชพี หรือการออกกฎ กระทรวง ระเบียบ และประกาศตาง ๆ 14) กําหนดใหมคี ณะกรรมการเพ่อื กระทาํ การใด ๆ อันอยูใ นอํานาจหนา ทข่ี องครุ สุ ภา 15) ดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามวัตถปุ ระสงคข องครุ สุ ภา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 151  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 3) องคป ระกอบและอาํ นาจหนา ท่คี ณะกรรมการครุ ุสภา 3.1) องคประกอบคณะกรรมการครุ ุสภา กรรมการคุรุสภามีจาํ นวน 39 คน ประกอบดว ย 1) ประธานกรรมการ ซ่งึ คณะรัฐมนตรีแตง ตั้งจากผทู รงคณุ วุฒิท่มี คี วามรู ความเช่ียวชาญ และ ประสบการณสงู ดานการศกึ ษา มนุษยศาสตร สงั คมศาสตร หรือกฎหมาย 2) กรรมการโดยตาํ แหนง ประกอบดว ย ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ผูอาํ นวยการ สาํ นักบรหิ ารงาน คณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน และหวั หนา สํานกั งานคณะกรรมการมาตรฐาน การบรหิ ารงานบุคคลสว นทองถ่นิ 3) กรรมการผทู รงคุณวุฒิจาํ นวนเจด็ คน ซึ่งคณะรฐั มนตรีแตงตง้ั จากผูท ีม่ คี วามรู ความเชยี่ วชาญ และประสบการณสงู ดา นการบริหารการศึกษา การอาชีวศกึ ษา การศึกษาพเิ ศษ มนุษยศาสตร สังคมศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และกฎหมาย ดา นละหนง่ึ คน ซึง่ ในจาํ นวนนีต้ องเปน ผูท ี่เปน หรอื เคยเปน ครู ผูบ ริหารสถานศกึ ษา หรอื ผบู ริหารการศกึ ษาไมนอยกวา สามคน 4) กรรมการซง่ึ ไดรับแตง ตั้งจากผดู าํ รงตําแหนง คณบดีคณะครุศาสตร หรือศึกษาศาสตร หรือ การศึกษา ซึ่งเลือกกนั เองจากสถาบนั อุดมศึกษาของรัฐจาํ นวนสามคน และจากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จํานวนหนึง่ คน 5) กรรมการจากผปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ซึ่งเลือกตัง้ มาจากผูประกอบวชิ าชพี ทางการ ศึกษาจาํ นวนสิบเกาคน ในจํานวนน้ตี องเปนผูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาทดี่ าํ รงตําแหนง ครู ผูบริหาร สถานศกึ ษา ผบู ริหารการศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศึกษาอื่น และมาจากสงั กดั เขตพื้นที่การศกึ ษา สถาบัน อาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถนิ่ ตามสัดสวนจํานวนผปู ระกอบวิชาชพี ทาง การศึกษา 6) ใหเลขาธิการครุ ุสภาเปน เลขานุการ 3.2)อํานาจหนา ที่ของคณะกรรมการครุ สุ ภา มีดังตอไปนี้ 1) บรหิ ารและดําเนนิ การตามวตั ถุประสงคแ ละอาํ นาจหนาที่ของครุ ุสภาซึ่งกําหนดไวในพระ ราชบัญญัติน้ี 2) ใหค ําปรึกษาและแนะนาํ แกค ณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ 3) พิจารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณค ําส่งั ของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพตามมาตรา 54 4) เรง รดั ใหพ นักงานเจา หนา ทีส่ ว นราชการ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี ปฏิบตั ิตาม อาํ นาจและหนา ทีท่ ีก่ ฎหมายกาํ หนด 5) แตง ตั้งคณะอนุกรรมการเพอ่ื กระทาํ การใด ๆ อนั อยใู นอาํ นาจและหนา ที่ของคณะกรรมการ ครุ ุสภา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 152  คมู ือเตรียมสอบผูบ ริหารสถานศึกษา 6) ควบคมุ ดูแลการดําเนินงานและการบริหารงานทวั่ ไป ตลอดจนออกระเบยี บ ขอบังคับ ประกาศ หรือขอกําหนดเกย่ี วกับสาํ นกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ในเร่อื งดังตอไปน้ี ก) การจดั แบง สว นงานของสํานักงานเลขาธิการครุ สุ ภาและขอบเขตหนา ทขี่ องสวนงาน ข) การกําหนดตําแหนง คณุ สมบตั ิเฉพาะ อัตราเงินเดือน คาจาง และคา ตอบแทนอ่ืนของ พนกั งานเจาหนา ทขี่ องคุรสุ ภา ค) การคัดเลอื ก การบรรจุ การแตง ตงั้ การถอดถอน วนิ ยั และการลงโทษทางวนิ ยั การออก จากตําแหนง การรองทุกข และการอุทธรณการลงโทษของเจาหนา ที่ รวมท้ังวิธกี าร เงอ่ื นไขในการจา ง พนกั งานเจา หนา ท่ีของครุ สุ ภา ง) การบรหิ ารและจดั การการเงิน การพสั ดุ และทรพั ยส ินของคุรสุ ภา จ) กําหนดอํานาจหนา ทแ่ี ละระเบยี บเกี่ยวกบั การปฏบิ ัติหนา ท่ขี องผูตรวจสอบภายใน 7) กาํ หนดนโยบายการบริหารงาน และใหค วามเหน็ ชอบแผนการดําเนินงานของสาํ นกั งาน เลขาธิการคุรุสภา 8) ปฏบิ ตั ิการอ่นื ใดตามท่ีกฎหมายกาํ หนดไวใหเ ปนอํานาจและหนาทขี่ องคณะก.ก.คุรสุ ภา 9) พจิ ารณาหรอื ดําเนินการในเรอ่ื งอนื่ ตามที่รัฐมนตรมี อบหมาย 4) คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี 4.1 องคประกอบคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี มคี ณะกรรมการ จาํ นวน 17 คน ประกอบดวย 1) ประธานกรรมการซึง่ รฐั มนตรแี ตง ต้งั จากกรรมการผทู รงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการครุ ุสภา 2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแ ก เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เลขาธกิ ารคณะ กรรมการการอาชวี ศกึ ษา และเลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 3) กรรมการผทู รงคุณวฒุ จิ ํานวนส่ีคนซ่งึ คณะกรรมการคุรสุ ภาสรรหาจากผูทรงคณุ วุฒิท่มี คี วาม รู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณส งู ดานการศกึ ษา การบริหาร และกฎหมาย 4) กรรมการจากคณาจารยใ นคณะครศุ าสตร ศึกษาศาสตร หรือการศึกษา ท้ังของรัฐและเอกชน ที่มกี ารสอนระดบั ปริญญาในสาขาวิชาครุศาสตร ศกึ ษาศาสตร การศกึ ษา ซง่ึ เลอื กกนั เองจาํ นวนสองคน 5) กรรมการจากผูป ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาจํานวนหกคน ซงึ่ เลอื กตง้ั มาจากผปู ระกอบวชิ า ชีพทางการศึกษาท่ดี าํ รงตําแหนง ครทู ี่มปี ระสบการณด านการสอนไมนอยกวาสบิ ป หรอื ดาํ รงตําแหนง อาจารย 3 หรือมีวิทยฐานะเปนครูชาํ นาญการขึ้นไป ผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาท่ดี ํารงตําแหนงผูบรหิ าร สถานศึกษาท่มี ีประสบการณในตําแหนง ไมนอยกวาสบิ ป ผปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาที่ดาํ รงตาํ แหนง ผู บรหิ ารการศึกษาทม่ี ีประสบการณใ นตําแหนงไมน อยกวาสบิ ป และบุคลากรทางการศึกษาอนื่ ทีม่ ีประสบ การณในตาํ แหนงไมนอ ยกวาสิบป 6)ใหเ ลขาธกิ ารคุรุสภา เปนกรรมการและเลขานกุ าร สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 153  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 4.2) อํานาจหนา ทค่ี ณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ มดี งั ตอไปนี้ 1) พจิ ารณาการออกใบอนญุ าตใหแ กผ ูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา และการพกั ใชห รือเพิก ถอนใบอนญุ าต 2) กาํ กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา 3) สง เสรมิ พฒั นา และเสนอแนะคณะกรรมการครุ สุ ภากําหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณ ใน การประกอบวิชาชพี 4) สงเสรมิ ยกยอ ง และพัฒนาวชิ าชีพไปสูความเปนเลศิ ในสาขาตาง ๆ ตามท่กี าํ หนดในขอ บังคับของครุ สุ ภา 5) แตงตัง้ ทปี่ รึกษา คณะอนุกรรมการ หรอื มอบหมายกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี เพื่อกระทาํ การ ใด ๆ อันอยใู นอาํ นาจและหนา ท่ขี องคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี 6) ปฏบิ ัตกิ ารอื่นใดตามทก่ี ฎหมายกาํ หนดไวใหเปน อํานาจและหนา ทข่ี องคณะกรรมการมาตร ฐานวิชาชีพ 7) พิจารณาหรือดาํ เนนิ การในเร่ืองอ่ืนตามทีร่ ฐั มนตรหี รอื คณะกรรมการครุ ุสภามอบหมาย 5) สาํ นักงานเลขาธิการคุรสุ ภา มีหนาท่ีดังตอไปน้ี 1) รับผดิ ชอบเกยี่ วกบั การดาํ เนินงานของคุรสุ ภา 2) ประสานและดําเนินการเกี่ยวกบั กจิ การอ่นื ทคี่ ุรสุ ภามอบหมาย 3) จดั ทาํ รายงานประจาํ ปเกี่ยวกบั การดําเนินงานเสนอตอ ครุ สุ ภา 6) ใหว ิชาชีพครู ผบู ริหารสถานศึกษา และผบู รหิ ารการศกึ ษาเปน วิชาชีพควบคุม ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ การกาํ หนดวิชาชพี ควบคุมอืน่ (เชนศกึ ษานเิ ทศก) ใหเ ปน ไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ผูใ ดประกอบวชิ าชีพท่ไี ดรบั การยกเวนไมต องมีใบอนุญาต ไดแ ก 1) ผทู ีเ่ ขามาใหความรูแ กผเู รยี นในสถานศกึ ษาเปนคร้งั คราวในฐานะวิทยากรพเิ ศษทางการ ศกึ ษา 2) ผทู ่ีไมไดประกอบวิชาชพี หลักทางดานการเรียนการสอนแตใ นบางครง้ั ตอ งทาํ หนาที่สอน ดวย 3) นกั เรียน นกั ศึกษา หรอื ผูรับการฝกอบรมหรือผูไดร บั ใบอนญุ าตปฏบิ ตั ิการสอน ซง่ึ ทําการ ฝกหัดหรืออบรมในความควบคุมของผูประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ซ่งึ เปน ผใู หก ารศึกษาหรือฝกอบรม ท้ังนี้ ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงื่อนไขทค่ี ณะกรรมการคุรสุ ภากําหนด 4) ผูทจ่ี ัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5) ผทู ี่ทาํ หนาทีส่ อนในศนู ยการเรยี นตามกฎหมายวา ดว ยการศกึ ษาแหงชาติ หรอื สถานทเี่ รียนท่ี หนว ยงานจัดการศกึ ษานอกระบบและตามอธั ยาศัย บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง สว นทอ งถิน่ องคก รเอกชน องคก รวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการ แพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอน่ื เปนผจู ัด สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 154  คูมือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศึกษา 6) คณาจารย ผบู ริหารสถานศึกษา และผบู รหิ ารการศึกษาในระดบั อดุ มศึกษาระดับปริญญาท้งั ของรฐั และเอกชน 7) ผูบริหารการศึกษาระดบั เหนือเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 8) บคุ คลอื่นตามท่ีคณะกรรมการคุรุสภากาํ หนด 7) คณุ สมบัติและลักษณะตอ งหา ม ของผูขอรบั ใบอนุญาต มดี งั ตอไปน้ี ก) คณุ สมบตั ิ ไดแ ก 1) มีอายไุ มต าํ่ กวาย่ีสบิ ปบ ริบูรณ 2) มวี ฒุ ปิ ริญญาทางการศึกษา หรือเทยี บเทา หรือมีคณุ วฒุ อิ น่ื ท่ีคุรุสภารบั รอง 3) ผา นการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รปริญญาทางการศึกษาเปน เวลา ไมน อยกวา หนึ่งป และผานเกณฑก ารประเมินปฏบิ ัติการสอนตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่อื นไขท่คี ณะ กรรมการครุ ุสภากําหนด ข) ลกั ษณะตองหา ม ไดแ ก 1) เปน ผมู ีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือบกพรองในศีลธรรมอันดี 2) เปน คนไรความสามารถหรอื คนเสมอื นไรค วามสามารถ 3) เคยตองโทษจําคกุ ในคดีท่คี ุรุสภาเหน็ วา อาจนํามาซึง่ ความเสือ่ มเสยี แหงวิชาชีพ 8) หา มมใิ หผใู ดแสดงดว ยวิธใี ด ๆ ใหผอู ่ืนเขาใจวาตนมสี ทิ ธหิ รือพรอ มจะประกอบวิชาชีพ โดยไมไ ด รบั ใบอนญุ าตจากคุรสุ ภา และหามมิใหส ถานศกึ ษารับผูไ มไ ดรับใบอนญุ าตเขาประกอบวชิ าชพี ควบคมุ ใน สถานศกึ ษา เวนแตจ ะไดร ับอนญุ าตจากคุรสุ ภา 9)ผซู ่งึ ไดร บั ใบอนญุ าตตอ งประกอบวิชาชพี ภายใตบงั คับแหง ขอจํากดั และเงื่อนไขตามขอบงั คับ ของคุรุสภา 10)ผซู ่งึ ไดร บั ใบอนญุ าตตอ งประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชีพตามทีก่ ําหนดใน ขอ บังคบั ของคุรสุ ภา 11) มาตรฐานวชิ าชีพ ประกอบดว ย 1) มาตรฐานความรแู ละประสบการณว ิชาชีพ 2) มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน 3) มาตรฐานการปฏิบตั ติ น 12) มาตรฐานการปฏิบัตติ น คือจรรยาบรรณของวชิ าชพี 5 ดา น ประกอบดวย 1) จรรยาบรรณตอ ตนเอง 2) จรรยาบรรณตอวิชาชพี 3) จรรยาบรรณตอ ผูรับบริการ 4) จรรยาบรรณตอผรู ว มประกอบวิชาชีพ 5) จรรยาบรรณตอสังคม สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 155  คูมอื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 13) โทษผปู ระพฤตผิ ดิ มาตรฐานวชิ าชพี ที่เปนอาํ นาจของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ ใหลงอยางใด อยา งหนึง่ ดงั ตอ ไปน้ี 1) ยกขอกลาวหา (ไมมีโทษ) 2) ตักเตอื น 3) ภาคทัณฑ 4) พกั ใชใ บอนุญาตมกี าํ หนดเวลาตามทเ่ี ห็นสมควร แตไ มเ กินหาป 5) เพกิ ถอนใบอนุญาต (เทา อายใุ บอนุญาต คอื 5ป หรือเทาทอ่ี ายยุ ังเหลอื ) 14) สมาชกิ ของคุรุสภามีสองประเภท ไดแก สมาชกิ สามัญ สมาชกิ กิตติมศักดิ์ โดยมาชกิ กติ ตมิ ศกั ดิ์ เปน ผทู รงคณุ วุฒซิ ึ่งคณะกรรมการคุรสุ ภาแตง ตงั้ โดยมติเปนเอกฉันท 15) คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวสั ดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สก.สค.) 15.1) วตั ถปุ ระสงค การสง เสริมสวัสดกิ ารและสวสั ดิภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ดงั ตอ ไปนี้ 1) สง เสรมิ สวสั ดกิ าร สวสั ดภิ าพ สทิ ธปิ ระโยชนเ ก้อื กลู อนื่ และความม่ันคงของผปู ระกอบวชิ า ชีพทางการศึกษาและผปู ฏบิ ตั ิงานดานการศึกษา 2) สงเสรมิ ความสามัคคีและผดุงเกยี รติของผปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาและผปู ฏิบัติงาน ดา นการศกึ ษา 3) สง เสริมและสนับสนุนการจดั การศึกษาของกระทรวงในเรอื่ งส่ือการเรยี นการสอน วัสดุ อปุ กรณก ารศึกษาและเร่อื งอ่นื ทเี่ กีย่ วกบั การจดั การศกึ ษา 4) สง เสริมและสนบั สนนุ การศกึ ษาวจิ ยั เกี่ยวกบั การพฒั นา การดําเนินงานดานสวสั ดกิ าร สวสั ดภิ าพและผดงุ เกียรติของผปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา 15.2 ) องคประกอบคณะกรรมการสง เสริมสวสั ดกิ ารและสวัสดิภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มจี ํานวนกรรมการ 23 คน ประกอบดวย 1) ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปนประธาน 2) กรรมการโดยตําแหนง ไดแ ก เลขาธิการสภาการศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เลขาธกิ าร ครุ สุ ภา และเลขาธกิ ารคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) กรรมการผูท รงคุณวุฒิ จาํ นวนสามคน ซงึ่ คณะรัฐมนตรแี ตงตั้งจากผทู ีม่ คี วามรู ความเชย่ี วชาญและประสบการณส งู ในดานสวสั ดิการสังคม บริหารธรุ กิจ และกฎหมาย ดา นละหน่งึ คน 4) กรรมการท่ไี ดรบั การเลอื กตั้งจากผปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาจาํ นวนสิบสองคน ในจาํ นวนน้ีตองเปน ผปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาทีม่ าจากสังกัดเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา สถาบนั อาชีวศกึ ษา สถานศึกษาเอกชน และองคกรปกครองสวนทอ งถิ่น 5)ใหเลขาธิการคณะกรรมการสงเสรมิ สวสั ดกิ ารและสวัสดภิ าพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เปน กรรมการและเลขานุการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 156  คูมอื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา 15.3) อํานาจหจาทคี่ ณะกรรมการสงเสริมสวสั ดิการและสวสั ดิภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีดังตอไปนี้ 1) ดาํ เนนิ งานดา นสวัสดกิ าร สวสั ดภิ าพ สิทธปิ ระโยชนเ ก้ือกลู อน่ื และความมนั่ คงของผู ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา และผูปฏบิ ัติงานดานการศกึ ษา 2) สงเสรมิ สนับสนนุ ยกยอ ง และผดุงเกียรตขิ องผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา และผปู ฏบิ ัติ งานดานการศกึ ษา 3) สงเสรมิ ใหผ ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา และผปู ฏิบัตงิ านดา นการศกึ ษาไดร บั สวสั ดกิ าร ตาง ๆ ตามสมควร 4) ใหค วามเห็น คําปรกึ ษา และคาํ แนะนาํ ในเรอื่ งการสง เสริมสวสั ดิการ สวัสดิภาพ สิทธิ ประโยชนแ ละความมั่นคงของผูประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา และผปู ฏบิ ัติงานดา นการศึกษาแกหนวยงาน ท่เี กย่ี วของ 5) ดาํ เนินงานและบรหิ ารจดั การองคการจดั หาผลประโยชนของสาํ นกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ สวสั ดิการและสวัสดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 6) ออกขอ บงั คบั และหลกั เกณฑใ นการดาํ เนินกจิ การตามอาํ นาจหนาท่ขี องคณะกรรมการสง เสริมสวสั ดิการและสวัสดิภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 7) แตงต้งั คณะกรรมการ หรอื คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายใหก รรมการสงเสรมิ สวัสดิการ และสวัสดิภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่อื กระทาํ การใด ๆ แทน 8) สรรหาและแตง ตัง้ เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมสวสั ดิการและสวัสดิภาพครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษา 9) ดําเนนิ การใหเปน ไปตามวัตถุประสงคใ นการบรหิ ารงานสาํ นักงานคณะกรรมการสงเสริม สวัสดกิ ารและสวัสดภิ าพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 16) อํานาจหนาที่สํานกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ สวัสดิการและสวัสดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการ ศึกษา (นิตบิ คุ คล ในกาํ กบั ของกระทรวงศึกษาธิการ) มดี ังตอ ไปนี้ 1) รับผดิ ชอบเก่ียวกบั การดาํ เนินงานของคณะกรรมการสง เสริมสวสั ดกิ ารและสวสั ดิภาพครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2) ประสานและดาํ เนินการเกยี่ วกบั กจิ การอ่นื ท่ีคณะกรรมการสงเสริมสวสั ดิการและสวัสดภิ าพ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามอบหมาย 3) จดั ทํารายงานประจําปเกยี่ วกบั การดาํ เนินงานเสนอตอ คณะกรรมการสง เสริมสวสั ดิการและ สวัสดภิ าพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา โดยสรุป พระราชบัญญัตสิ ภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 เปน กฎหมายวิชาชพี ครู กลาวถึง ผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตอ งมีใบประกอบวชิ าชพี มมี าตรฐานวิชาชีพ มีคุรสุ ภาเปน องคกร วิชาชีพ และสก.สค.เปนองคก รดูแลเรื่องสวัสดกิ ารและสวัสดิภาพขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา สอบครูดอทคอม

157  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 4. พระราชบญั ญัติระเบยี บขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 สาระสําคัญของพระราชบัญญตั ิระเบยี บขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มดี งั นี้ 1.คณะกรรมการบริหารบคุ คลของขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในระดับชาติ เขตพนื้ ท่ี การศึกษาและสถานศึกษา ไดแก 1.1) คณะกรรมการบรหิ ารบุคคลของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ใหมคี ณะกรรรมการบริหารงานบคุ คลของขา ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษาคณะหนง่ึ เรียกวา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com \"คณะกรรมการขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา\" เรียกโดยยอ วา \"ก.ค.ศ.\" (มาตรา 7) 1.1.1)องคประกอบ ก.ค.ศ. มจี าํ นวน 21 คน ประกอบดวย 1) รฐั มนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธิการเปน ประธานกรรมการ 2) ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการเปนรองประธานกรรมการ 3) กรรมการโดยตําแหนง จาํ นวน 5 คน ไดแก - เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน - เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา - เลขาธกิ ารกรรมการการอดุ มศกึ ษา - เลขาธิการคุรุสภา - เลขาธกิ าร ก.พ. 4) กรรมการผูทรงคุณวุฒมซิ ึง่ ครม. แตง ตง้ั จาํ นวน 7 คน 5) กรรมการผูแ ทนขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งมาจากการเลอื กตง้ั จาํ นวน 7 คน 1.1.2) วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการผทู รงคุณวุฒมแิ ละกรรมการผูแทนขาราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา มวี าระอยใู นตําแหนงคราวละ 4 ป แตอ าจไดร ับเลอื กต้งั ใหมไดอ กี แตจ ะดํารง ตาํ แหนง ตดิ ตอ กันเกิน 2 วาระมไิ ด (มาตรา 13) 1.1.3) อาํ นาจและหนา ท่ขี อง ก.ค.ศ. มดี ังตอ ไปน้ี (มาตรา 19) 1) เสนอและใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเก่ยี วกับนโยบายการผลิตและการบริหารงานบุคคล ของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ 2) กําหนดนโยบาย วางแผนและกาํ หนดเกณฑอ ัตรากาํ ลังของขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ ศึกษา รวมทัง้ ใหค วามเห็นชอบจํานวนและอัตราตําแหนง ของหนว ยงานการศึกษา 3) เสนอแนะและใหค าํ ปรึกษาแกคณะรฐั มนตรีในกรณีท่ีคา ครองชีพเปลย่ี นแปลงไปมาก หรือ การจดั สวสั ดิการหรอื ประโยชนเก้ือกลู สาํ หรับขาราชการและบุคลากรทางการศึกษายังไมเ หมาะสม เพอ่ื ให คณะรฐั มนตรีพจิ ารณาในอนั ทจ่ี ะปรบั ปรุงเงนิ เดือนวทิ ยฐานะ เงนิ เดอื นประจาํ ตาํ แหนง เงินเพ่ิม คา ครองชพี สวัสดกิ ารหรือประฌยชนเ ก้อื กลู สาํ หรบั ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหเหมาะสม 4) ออกฎ ก.ค.ศ. ระเบยี บ ขอ บงั คับ หลักเกณฑ วธิ กี ารและเง่อื นไขการบรหิ ารงานบุคคลของ ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา กฎ ก.ค.ศ. เม่อื ไดรับอนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรีและประกาศใน พระราชกิจจานเุ บกษาแลว ใหใ ชบังคบั ได สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 158  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา 5) พจิ ารณาวนิ จิ ฉัยตีความปญ หาทีเ่ กิดขน้ึ เนอื่ งจากการใชบงั คบั พระราชบัญญัตนิ ี้ เม่อื ก.ค.ศ. มีมติเปน ประการใดแลวใหหนว ยงานการศึกษาปฏิบตั ติ ามนน้ั 6) พัฒนาหลกั เกณฑ วธิ กี าร และมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล รวมทั้งการพิทกั ษระบบ คุณธรรมของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 7) กาํ หนดวธิ ีการและเง่อื นไขการจางเพอื่ บรรจแุ ละแตง ตัง้ บคุ คลเพอื่ ปฏบิ ัตหิ นาที่ ในตําแหนง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในหนวยงานการศึกษา รวมทัง้ กําหนดอัตราเงนิ เดือนหรอื คาตอบแทน 8) สง เสริม สนบั สนนุ การพัฒนา การเสริมสรา งขวัญกาํ ลังใจและการยกยองเชิดชูเกียรติ ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 9) สง เสริม สนบั สนุนใหม ีการจดั สวสั ดิการและสิทธปิ ระโยชนเ กื้อกลู อ่นื แกข าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศกึ ษา 10) พิจารณาต้งั อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่การศกึ ษา และคณะอนกุ รรมการอ่ืนเพือ่ ปฏิบตั ิหนาท่ตี ามท่ี ก.ค.ศ. มอบหมาย 11) สงเสรมิ สนับสนุน ประสานงาน ใหคาํ ปรกึ ษา แนะนําช้ีแจงดา นการบรหิ ารงานบคุ คลแก หนว ยงานการศึกษา 12) กาํ หนดมาตรฐาน พจิ ารณาและใหคาํ แนะนําเกยี่ วกบั การการดาํ เนินการทางวินยั ออกจาก ขา ราชการ การอทุ ธรณ และการรอ งทกุ ขต ามทีก่ าํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั นิ ี้ 13) กาํ กบั ดูแล ตดิ ตาม ตรวจสอบและปรเมนิ ผลการบรหิ ารงานบุคคลของขาราชการครแู ละ บุคลากรทางงการศึกษาเพ่อื รักษาความเปนธรรม และมาตรฐานดานการบริหารงานบุคคลตรวจสอบและ ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ในกรณีใหม ีอาํ นาจเรยี กเอกสารและหลกั ฐานจากหนว ยงานการศึกษา ให ผูแทนของหนวยงานการศึกษา ขา ราชการหรอื บุคคลใดมาชแี้ จงขอเทจ็ จริงและใหม อี าํ นาจออกระเบยี บ ขอบงั คบั รวมท้งั ใหส ว นราชการ หนว ยงานการศึกษา ขาราชการหรอื บคุ คลใดรายงานเก่ียวกบั การบริหาร งานบคุ คลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีอยูในอาํ นาจหนาทไี่ ปยงั ก.ค.ศ. 14) รายงานและเสนอแนะตอ รฐั มนตรีเจา สังกดั ในกรณีทป่ี รากฏวา สวนราชการ อ.ก.ค.ศ. เขต พน้ื ท่กี ารศึกษา คณะอนุกรรมการหรือผูมหี นา ที่ปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั ิน้ี ไมป ฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัติ หรอื ปฏิบัติการโดยขัดแยงกับแนวทางตามทกี่ าํ หนดในพระราชบญั ญัติน้ี เม่ือรัฐมนตรเี จาหนา ทีส่ ังกัดไดร ับ รายงานและขอเสนอแนะจาก ก.ค.ศ. แลว ใหพิจารณาสง่ั การใหส ว นขาราชการ หนวยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่ีการศึกษา คณะอนกุ รรมการ หรอื ผูมีหนา ท่ปี ฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญตั ินปี้ ฏบิ ัตไิ ปตามนั้น 15) พจิ ารณารับรองรองคุณวฒุ ิของผูร บั ปรญิ ญา ประกาศนียบัตรวชิ าชพี หรือคุณวุฒอยางอ่ืน เพอ่ื ประโยชนใ นการบรรจแุ ละแตง ต้งั เปน ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาและการกําหนดอตั ราเงิน เดือนหรอื คาตอบแทนท่คี วรไดรบั 16) กําหนดอตั ราคา ธรรมเนยี มในเรอื่ งปฏบิ ตั กิ ารตา ง ๆ ตามทก่ี ําหนดมนพระราชบัญญตั นิ ี้ สอบครดู อทคอม

159  คูมือเตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศึกษา 17) พิจารณาจัดระบบระเบียบประวัติและแกไขทะเบียนประวตั กิ ับวนั เดือน ปเกดิ และควบคุม การเกษียณอายรุ าชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 18) ปฏิบตั ิหนาที่อ่นื ตามทบี่ ัญญัติไวใ นพระราชบัญญัตนิ ี้ หรอื ตามกฎหมายอืน่ 1.2) คณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาประจําเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ใหมี \"คณะอนกุ รรมการขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาประจําเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา\" เรียกโดยยอวา \"อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา\" (มาตราท่ี 21) 1.2.1)องคป ระกอบ ของอ.ก.ค.ศ. มจี าํ นวน 9 คน ประกอบดว ย ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 1) ประธานอนุกรรมการซึ่งอนุกรรมการเลือกกนั เอง 1 คน 2) อนกุ รรมการโดยตําแหนง จาํ นวน 3 คน ไดแ ก - ผแู ทน ก.ค.ศ. - ผแู ทนครุ ุสภา - ผูอาํ นายการสํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา เปนอนุกรรมการและเลขานุการ 3) อนกุ รรมการผูท รงคณุ วฒุ ิ จํานวน 3 คน 4) อนกุ รรมการผูแ ทนขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จาํ นวน 3 คน 1.2.2) อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา มีอาํ นาจและหนาที่ดงั ตอไปนี้ (มาตรา 23) 1) พิจารณากําหนดนโยบายการบรหิ ารงานบุคคลสําหรับขาราชการครูและบคุ ลากรทางการ ศึกษาในเขตพนื้ ที่การศกึ ษา รวมทั้งการกําหนดจาํ นวนและอตั ราตําแหนงและเกล่ียอตั รากาํ ลังใหส อดคลอง กบั นโยบาย การบรหิ ารงานบุคคล ระเบยี บ หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กาํ หนด 2) พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบการบรรจแุ ละแตง ตงั้ ขาราชการครุและบุคลากรทางการศกึ ษา ในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา 3) ใหค วามเหน็ ชอบเกยี่ วกบั การพจิ ารณาความดคี วามชอบของผูบริหารสถานศกึ ษา ผู บรหิ ารการศกึ ษาในหนวยงานการศึกษาในเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ในเขตพ้นื ที่การศึกษา 4) พิจารณาเกยี่ วกับเร่ืองการดําเนนิ การทางวินยั การออกจากขา ราชการ การอุทธรณ และการ รอ งทุกขตามท่ีกําหนดไวใ นพระราชบัญญตั นิ ้ี 5) สง เสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นา การสง เสริมสรา งขวัญกาํ ลังใจ การปกปอ งคุมครองระบบ คณุ ธรรม การจัดสวสั ดกิ ารและการยกยองเชดิ ชูเกยี รตขิ า ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในหนวยงาน การศกึ ษาในเขตพื้นที่การศกึ ษา 6) กํากับ ดแู ล ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารงานบุคคลของขาราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษาในหนว ยงานการศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา 7) จดั ทาํ และพัฒนามาตรฐานขอ มลู ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในหนวยงาน การศึกษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา สอบครูดอทคอม

160  คูมอื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 8) จดั ทํารายงานประจาํ ปเ กยี่ วกบั การบริหารงานบุคคลของขา ราชการครูและบุคคลากรทาง การศึกษาในหนว ยงานการศึกษาเพอื่ เสนอ ก.ค.ศ. 9)พจิ ารณาใหความเหน็ ชอบเร่ืองการบริหารบคุ คลในเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาทไี่ มอ ยใู นอํานาจ หนา ท่ีของผบู รหิ ารของหนวยงานการศึกษา 10) ปฏิบัตหิ นา ที่ตามทบี่ ญั ญตั ไิ วในพระราชบญั ญัตนิ ี้ กฎหมายอนื่ ตามท่ี ก.ค.ศ. มอบหมาย 1.3) คณะกรรมการสถานศกึ ษา มีอาํ นาจและหนา ที่เกีย่ วกับการบริหารงานบุคคล สาํ หรบั ขาราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษา ดังตอ ไปน้ี (มาตราที่ 26) ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 1) กาํ กับ ดแู ลบรหิ ารงานบุคคลในสถานศึกษาใหส อดคลอ งกบั นโยบาย กฎระเบยี บ ขอบังคับ หลกั เกณฑและวิธกี ารตามท่ี ก.ค.ศ.และ อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษากําหนด 2)เสนอความคดิ ตอ งการจํานวนและอตั ราตําแหนง ของขาราชการครูและบคุ ลากรทางศกึ ษา ในสถานศึกษาเพือ่ เสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาพจิ ารณา 3) ใหค วามคิดเหน็ เก่ยี วกบั การบริหารงานบุคคลของขาราชการครแู ละบคุ ากรทางการศึกษา ในสถานศึกษาตอ ผูบริหารสถานศึกษา 4) ปฏิบัติหนา ที่อนื่ ตามทบี่ ัญญัตไิ วใ นพระราชบัญญัตนิ ี้ กฎหมายอ่นื หรือตามท่ี อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามอบหมาย สวนจํานวน สัดสว นและองคป ระกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาเปน ไปตามระเบยี บ กฎหมายทีเ่ ก่ียวของ 2. การดําเนินตามพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ใหเปน ไปตามหลัก การบริหารกจิ การบานเมอื งทีด่ ี โดยยดึ หลกั คณุ ธรรม ความเสมอภาคระหวา งบคุ คลและหลกั การไดร บั การ ปฏบิ ตั แิ ละการคมุ ครองสิทธิอยางเสมอภาคเทาเทยี มกนั ไมมกี ารเลอื กปฏิบตั โิ ดยไมเ ปนธรรม (มาตรา 30) 3. คณุ สมบัติท่วั ไป ของผซู ่ึงจะเขารบั ราชการเปนขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 1) อยภู ายใตกฎหมายวา ดว ยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (ตอ งมีอนญุ าตประกอบวิชาชพี ) 2) มีคณุ สมบัติทั่วไป 13 ประการ 4. ใหมบี ัญชอี ตั ราเงินเดอื น เงินวิทยฐานะและเงนิ ประจาํ ตําแหนง ของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทาง การศกึ ษา โดยแยกตา งหากจากบัญชีเงินเดอื นและเงินประจาํ ตาํ แหนงของขา ราชการพลเรอื น ยกเวนบุคลากร ทางการศกึ ษาตามมาตรา 38 ค (2) (มาตรา 31) 5. ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา อาจไดร บั เงินเพิ่มสําหรบั ตาํ แหนง ที่มเี หตพุ ิเศษ (มาตรา 33) และเงนิ เพิ่มคาครองชีพชวั่ คราวตามภาวะเศรษฐกจิ (มาตา 34) 6. ตําแหนง ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามี 3 ประเภท คอื (มารา 38) 1) ตําแหนงซึง่ มีหนาทีเ่ ปน ผสู อนในหนวยงานทางการศกึ ษา ไดแก 1.1 ครูผชู วย 1.2 ครู 1.3 อาจารย 1.4 ผชู ว ยศาสตราจารย 1.5 รองศาสตราจารย 1.6 ศาสตราจารย สอบครดู อทคอม

161  คูม อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 2) ตําแหนง ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาและผูบริหารหารศกึ ษา ไดแ ก 2.1 รองผูอาํ นวยการสถานศึกษา 2.2 ผูอํานวยการสถานศึกษา 2.3 รองผูอ ํานวยการสํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา 2.4 ผูอาํ นวยการสํานาํ งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 2.5 รองอธิการบดี 2.6 อธกิ ารบดี 2.7 ตําแหนง ท่ีเรยี กชอ่ื อยางอื่นตามท่ี ก.ค.ศ.กําหนด 3) ตําแหนงบคุ ลากรทางการศกึ ษาอืน่ ไดแก ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 3.1 ศกึ ษานิเทศก 3.2 ตําแหนงที่เรยี กชื่ออยางอื่น ๆ ตามท่ี ก.ค.ศ.กําหนด 7. ตําแหนงขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทม่ี วี ิทยฐานะ 1) ตําแหนงครูมวี ทิ ยฐานะ ไดแก 1.1 ครชุ าํ นาญการ 1.2 ครูชํานาญการพิเศษ 1.3 ครเู ชีย่ วชาญ 1.4 ครูเชี่ยวชาญพิเศษ 2) ตําแหนงผบู ริหาร มีวทิ ยฐานะ ไดแ ก 2.1 รองผูอํานวยการชํานาญการ 2.2 รองผูอํานวยการชาํ นาญการพเิ ศษ 2.3 รองผอู ํานวยการเช่ยี วชาญ 2.4 ผอู าํ นวยการชาํ นาญการ 2.5 ผูอ าํ นวยการชํานาญการพเิ ศษ 2.6 ผูอาํ นวยการเชี่ยวชาญ 2.7 ผูอํานวยการเชยี่ วชาญพเิ ศษ 3) ตําแหนง ผบู ริหารการศกึ ษามวี ทิ ยฐานะ ไดแ ก 3.1 รองผอู ํานวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาชํานาญการพเิ ศษ 3.2 รองผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาเช่ยี วชาญ 3.3 ผอู ํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาเชยี่ วชาญ 3.4 ผอู าํ นวยการสํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาเช่ียวชาญพเิ ศษ 4) ตาํ แหนงศึกษานิเทศกม ีวิทยฐานะ 4.1) ศึกษานเิ ทศกชํานาญการ 4.2) ศกึ ษานเิ ทศกช ํานาญการพเิ ศษ 4.3) ศึกษานเิ ทศกเ ชยี่ วชาญ 4.4) ศกึ ษานิเทศกเชยี่ วชาญพิเศษ 8. ตาํ แหนง คณาจารยตอ ไปนี้เปน ตําแหนง ทางวิชาการ (มาตรา 40) 1) อาจารย 2) ผูชว ยศาสตราจารย 3) รองศาสตราจารย 4) ศาสตราจารย 9. การบรรจบุ คุ คลเขา รับราชการเปน ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 1) ใหบ รรจจุ ากผูสอบแขงขันได (มาตรา 45) 2) ยกเวน กรณที ี่มีความจาํ เปนหรือมเี หตุพเิ ศษ ท่ี อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนที่การศึกษาไมสามารถ ดาํ เนินการสอบแขง ขันได หรือการสอบแขงขนั อาจทาํ ใหไ มไดบุคคลตองตามประสงคข องทางราชการ (ม. 50) หรือหนว ยงานทางการศึกษามีเหตผุ ลและมคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ เพ่ือประโยชนราชการทจี่ ะตอ งบรรจุ แตง ตัง้ บคุ ลากรซ่ึงมคี วามรู ความสามารถ มีความชํานาญการหรอื เช่ยี วชาญระดับสูงเขา รบั ราชการ (ม. 51) สอบครูดอทคอม

162  คมู อื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 10. อ.ก.ค.ศ.เขตพ้ืนท่ีการศึกษาเปน ผูดาํ เนินการสอบแขง ขัน แตอ าจมอบใหหนวยงานการศึกษาทม่ี ี ความพรอมเปนผูด าํ เนนิ การสอบแขง ขนั ได (มาตรา 47) 11. ก.ค.ศ.อาจกําหนดใหต ําแหนง ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาบางตําแหนงเปนสัญญาจาง ปฏิบตั งิ านรายป โดยมสี ภาพเปนขาราชการหรือเปนพนกั งานราชการโดยไมต อ งเปน ขา ราชการ (มาตรา 52) 12. ผบู งั คับบญั ชาตอไปน้เี ปน ผมู อี ํานาจสั่งบรรจุและแตง ต้ังบคุ ลากรในเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา (มาตรา 53) 1) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สาํ หรับตําแหนง 1.1) ตําแหนงท่ีมีวทิ ยฐานะพเิ ศษ โดยอนุมัติ ก.ค.ศ. ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 1.2 ) ตาํ แหนงผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา โดยอนุมตั ิ ก.ค.ศ. 2) ผอู าํ นวยการเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา โดยอนุมตั ิของ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา 2.1) รองผูอํานวยการสถานศึกษา 2.2) ผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา 2.3) รองผอู าํ นวยการสํานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา 2.4) ตาํ แหนง ผบู รหิ ารที่เรียกช่ืออยางอื่นตามมาตรา 38 ข (7) 2.5) ตาํ แหนง ศึกษานิเทศก 2.6)ตาํ แหนง บุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืนตามมาตรา 38 ค (2) 2.7) ตาํ แหนง ท่มี วี ทิ ยฐานะชาํ นาญการ ตําแหนงวทิ ยฐานะชาํ นาญการพิเศษและเชี่ยวชาญ 3) ผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา โดยอนุมตั ขิ อง อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา สาํ หรบั ตําแหนง 3.1) ตาํ แหนงครผู ชู ว ย 3.2) ตําแหนง ครู 3.3) ตาํ แหนง บุคลากรทางการศึกษาอ่นื ตามมาตรา 38 ค (2) ในสถานศกึ ษา 13. ใหม กี ารประเมนิ ตําแหนง และวทิ ยฐานะสําหรับตาํ แหนงทีม่ ีใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี เปน ระยะ ๆ เพื่อดํารงไวซ ึง่ ความรู ความสามารถหรือความเชย่ี วชาญในตําแหนง และวทิ ยฐานะทไ่ี ดร ับการบรรจแุ ตง ตง้ั กรณขี าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาผูใ ดไมผา นการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านใหม ีการพฒั นา ขาราชการครใู หดาํ เนินการในมาตราเกยี่ วกบั การเลอื่ นขน้ั เงินเดอื น งดเงนิ ประจาํ ตาํ แหนงหรือเงนิ วทิ ยฐานะ หรือใหอ อกจากราชการ (มาตรา 59) 14. กําหนดใหผไู ดรับการบรรจุและแตงตง้ั ในฐานะครู มกี ารเตรียมความพรอ ม และพัฒนาอยางเขมขน ในตาํ แหนง ครูผชู ว ย เปนเวลา 2 ป กอนแตง ต้ังใหดาํ รงตําแหนง ครู (มาตรา 56) 15. กําหนดใหการยายขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาไปดํารงตําแหนงในหนวยงานการศกึ ษา อ่ืน ภายในเขตพื้นทกี่ ารศึกษาหรอื ตางเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาจะตองไดร ับอนมุ ัตจิ าก อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ของผูประสงคแ ละผรู ับยา ยแลวแตก รณี (มาตรา 59) 16. ใหม กี ารยา ยสบั เปลี่ยนหนา ท่หี รอื ยา ยขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ซ่งึ ดาํ รงตาํ แหนง ผูอ าํ นวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาหรอื ตําแหนง ที่มีลักษณะบริหารตามที่ ก.ค.ศ.กําหนด โดยยดึ หลกั การใหผูป ฏบิ ตั ิหนาทีใ่ นตาํ แหนง หนึ่งดังกลา วไดไมเกิน 4 ป เวน แตมเี หตผุ ลและมคี วามจําเปน เพือ่ ประโยชน ราชการ จะใหปฏบิ ัติหนา ท่ีตดิ ตอกันในคราวเดยี วกันไดคราวละ 1 ป แตต อ งไมเ กิน 6 ป (มาตรา 60) สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 163  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศึกษา 17. การเล่อื นข้ันเงินเดอื นใหท าํ ในรปู คณะกรรมการ โดยยดึ หลักคุณธรรม มีความเท่ยี งธรรมเปดเผย โปรง ใสและพจิ ารณาจากผลการปฏิบัตกิ ารเปนหลัก และความประพฤติในการรักษาวนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี ถาครผู นู ั้นเปนครใู หพจิ ารณาผลการปฏบิ ตั งิ านทีเ่ ปน ประโยชนต อผเู รียน เปนหลกั (มาตรา 73) 18. กาํ หนดใหมีขนั้ เงินเดอื นประสทิ ธภิ าพในตําแหนงที่มวี ทิ ยฐานะ เพอ่ื ใหปฏบิ ตั ิงานบังเกดิ ผล และ มคี วามกา วหนา และไดมาตรฐานงานของทางราชการ (มาตรา 74 ) 19. กําหนดใหม เี งินวิทยพัฒน กรณีผูท มี่ ผี ลงานหรือผลการปฏบิ ตั ิงานดีเดนหรอื ผูท ่ีไดร ับการยกยอ ง เชดิ ชเู กยี รติ (มาตรา 75) 20. กําหนดใหม ีการจดั สวัสดกิ ารแกครอบครัวของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทีถ่ ึงแก ความตายอันเนื่องมาจากการปฏบิ ัติหนาทร่ี าชการ (มาตรา 77) 21. กําหนดใหข า ราชการครฯู มีสิทธไิ ดเ ลอื่ นขั้นเงินเดือนในระหวางลาไปศกึ ษาตอ ฝกอบรม หรือวิจยั กรณไี ปตามความจําเปน หรอื เปน ความตอ งการของหนว ยงานหรอื คุณวุฒขิ าดแคลน (มาตรา 81) 22. กําหนดหลกั การเชนเดียวกับบทบญั ญัติวนิ ัยและการรกั ษาวินัย ตามกฎหมายวาดวยระเบียบ ขา ราชการพลเรือนและเพิม่ เตมิ หลักการดังตอ ไปน้ี 1) กาํ หนดใหข าราชครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตองไมก ลนั่ แกลง กลา วหา หรอื รอ งเรียนผูอ ่ืน โดยปราศจากความจรงิ ถาเปน เหตุใหผ ูอืน่ ไดรับความเสียหายอยา งรา ยแรงเปน ความผิดวินยั อยา งรา ยแรง (มาตร 89) 2) กําหนดใหขา ราชครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ ง ตอ งไมก ระทาํ การหรือยอมใหผูอน่ื กระทาํ การหาประโยชนอ นั อาจทาํ ใหเสื่อมเสยี เกียรตศิ ักดใิ์ นตาํ แหนง หนาที่ของตน การกระทําตามวรรคหนึง่ ถา เปน การกระทาํ โดยมีความมุงหมายจะใหเ ปน การซ้อื ขาย หรือใหไดร บั แตงตงั้ ใหด ํารงตําแหนงหรอื วทิ ยฐนะ ใดโดยไมชอบดว ยกฏหมายหรือเปนการกระทําอนั มลี กั ษณะเปนการใหห รอื ไดมาซง่ึ ทรพั ยสินหรอื สิทธิ ประโยชนอ ่นื เพื่อใหตนเองหรือผอู ่นื ไดรับการบรรจุและแตง ตั้งโดยมชิ อบหรือเสือ่ มเสยี ความเทย่ี งธรรม เปนความผิดวินยั อยา งรายแรง (มาตรา 90) 3) กําหนดใหข าราชครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตองไมคดั ลอกหรือลอกเลยี นผลงานทางวชิ าการ ของผอู ื่นโดยมชิ อบหรือนาํ เอาผลงานทางวิชาการของผูอน่ื หรือจางวานใหผ ูอืน่ ทําผลงานทางวิชาการ เพอื่ ใชในการขอปรับปรงุ การกําหนดตําแหนง การเลอื่ นตําแหนง การเล่อื นวทิ ยฐานะหรือการใหไ ดรับเงนิ เดือน ในระดบั ทส่ี ูงขนึ้ การฝาฝนหลกั การดงั กลาวเปนความผิดวินยั อยางรา ยแรง (มาตร 91) 4 ) กําหนดใหขา ราชครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตองวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏบิ ัติ หนา ทโ่ี ดยตองไมเ ขาไปเกยี่ วของกับการดาํ เนนิ การใดๆ อันมีลกั ษณะเปนการทุจรติ โดยการซือ้ สิทธหิ รอื ขายเสยี งในการเลอื กต้งั สมาชิกรฐั สภา สมาชิกทอ งถิ่น ผูบ รหิ ารทองถิ่น หรอื การเลอื กต้งั อื่นที่มีลกั ษณะเปน การสง เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การฝา ฝน หลกั การดงั กลาวเปน ความผิดวนิ ยั อยา งรา ยแรง (มาตรา 93) สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 164  คูมือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 5) กําหนดใหขาราชครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีเสพยาเสพตดิ หรือสนับสนนุ ใหผอู นื่ เสพยาเสพ ตดิ เลน การพนันเปนอาจณิ หรอื กระทําการลวงละเมดิ ทางเพศตอผูเ รียนหรอื นกั ศกึ ษาไมว า จะอยใู นความรบั ผิดชอบของตนหรืไม เปน ความผดิ วินัยอยางรายแรง (มาตร 94) 6) ผบู งั คบั บญั ชาท่มี ีพฤตกิ รรมปกปอง ชว ยเหลือเพอื่ ใหผ ูอ ยูใ ตบังคบั บญั ชาถูกลงโทษทางวินยั หรอื ปฏบิ ตั หิ นา ที่โดยไมสจุ รติ ใหถอื วา ผูบงั คับบัญชาผนู ้ันกระทําผิดวินัย (มาตรา 95) 23. กาํ หนดใหโ ทษทางวินัยมี 5 สถาน คือ (มาตร 96) 1) ภาคทณั ฑ 2) ตดั เงินเดอื น 3) ลดข้นั เงินเดือน 4) ปลดออก 5) ไลออก 24. กาํ หนดใหการดําเนินการทางวนิ ัยแกข าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรณอี ันมมี ูลวากระทาํ ผิดวินัยอยา งรายแรงหรือไมรายแรง ตองแตง ต้ังคณะกรรมการสอบสวนเพื่อใหไดความจริงและยุตธิ รรมใน การสอบสวนจะตองแจงขอกลาวหาและสรปุ พยานหลักฐานทส่ี นบั สนุนขอกลา วหาเทา ที่มีใหผถู กู กลาวหา ทราบ เพอ่ื ใหผถู กู กลา วหามีโอกาสช้แี จงและนาํ สบื แกข อกลา วหา (มาตรา 98) 25. การแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนความผดิ วินยั อยา งรา ยแรง จะแตง ตัง้ ไดเ มื่อมกี รณีอันมมี ูลวา กระทําผดิ วนิ ัยอยางรา ยแรงเทา น้ัน (มาตรา 98) 26. กาํ หนดใหผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา หรอื ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา หรือเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หรอื ผูบังคบั บัญชาสูงสุดของหนว ยงานทางการศกึ ษามีอาํ นาจแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนความผิดวนิ ัยอยา งรา ยแรงได (มาตรา 98) 27. องคก รที่มอี าํ นาจพิจารณาความผิดอยา งรา ยแรง (มาตรา 100) 1) ก.ค.ศ.พจิ ารณาตามตําแหนง อธกิ ารบดี ผูอ ํานวยการสํานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา ตาํ แหนง ซงึ่ มีวิทยฐานะเช่ยี วชาญพเิ ศษและตาํ แหนง ศาสตราจารย 2) อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ที่การศึกษาสาํ หรับขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา นอกจากขอ 33.1 28. การรายงานกานดําเนินการทางวนิ ยั กาํ หนดไวด งั นี้ (มาตรา 104) 1) กรณีความผิดทางวินยั อยา งไมรายแรง ใหร ายงานสิ้นสดุ ท่ี อ.ก.ค.ศ.เขตพืน้ ท่ีการศึกษา 2) กรณีความผดิ วินยั อยางรา ยแรง ใหร ายงานส้นิ สดุ ท่ี ก.ค.ศ. 29. กาํ หนดใหก ารออกจาราชการเหมอื นกับทก่ี าํ หนดไวตามพระราชบัญญัติระเบยี บขา ราชการ พล เรอื น พ.ศ.2535 แลว ยงั กําหนดใหอ อกจากขา ราชการ เพราะถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชพี และผู นัน้ ไมสามารถไปดาํ รงตาํ แหนงอ่ืนไมมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (มาตรา 107) เมือ่ ครบกาํ หนด 30 วนั นบั แตวนั เพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี (มาตรา 109) 30. การอุทธรณ 1) การอุทธรณค าํ สั่งลงโทษภาคทัณฑ ตดั เงินเดอื น หรอื ลดขน้ั เงินเดือน ใหอ ุทธรณต อ อ.ก.ค.ศ.เขตพนื้ ที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ.ต้งั หรือ ก.ค.ศ.แลวแตก รณี (มาตรา 121) 2) การอุทธรณคําสั่งลงโทษปลดออก ไลออกหรือถูกส่ังใหอ อกจากราชการ ใหมสี ิทธอิ ุทธรณ หรือรองทกุ ขตอ ก.ค.ศ. (มาตรา 122) สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 165  คูม อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา 31. การรอ งทุกข 1) ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาผูใดถูกสง่ั ใหอ อกจากขาราชการมสี ทิ ธร์ิ องทกุ ขตอ ก.ค.ศ. (มาตรา 122) 2) ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาผใู ดเห็นวา ตนไมไ ดร บั ความเปนธรรมหรอื มีความ คับขอ งใจเน่อื งจากการกระทาํ ของผบู ังคับบัญชาหรอื การแตงต้งั คณะกรรมการการสอบสวนทางวนิ ยั มีสิทธ์ิ รองทุกขต อ .อ.ก.ค.ศ.เขตพนื้ ที่การศกึ ษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ.ตัง้ หรือ ก.ค.ศ.แลวแตก รณี (มาตรา 123) 5. พรบ.เงินเดอื น เงินวทิ ยฐานะ และเงินประจาํ ตําแหนง ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2547 พรบ.เงนิ เดอื น เงินวิทยฐานะ และเงินประจําตาํ แหนงขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 เปนกฎหมายท่อี อกพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพ่ิมเตมิ (ฉ.2) พ.ศ. 2545 มาตรา 55 ทกี่ ําหนดใหม กี ฎหมายวาดวยเงินเดือน คา ตอบแทน สวัสดิการ และสทิ ธปิ ระโยชนเกอ้ื กลู อืน่ สําหรบั ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพอ่ื ใหมรี ายได ทพ่ี อเพียงและเหมาะสมกบั ฐานะทางสงั คม และวชิ าชีพ มีสาระสาํ คญั คอื 1) กําหนดใหม ีอัตราเงนิ เดอื น เงนิ วทิ ยฐานะ(บัญชี) สาํ หรบั ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ไี ด รับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การศกึ ษา(ตามกฎหมายสภาคร)ู เชน ครผู ูช ว ย ครู ผอู ํานวยการโรงเรยี น รองผอู ํานวยการโรงเรียน ศึกษานเิ ทศก รองผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา และผูอํานวยการสํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา เจาหนาทบี่ รหิ ารการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทีม่ ีใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี 2) กําหนดใหขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทไ่ี มม ีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ไดแก บคุ ลากรทางการศึกษา ท่ีปฏิบตั งิ านในสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา เชน บุคลากร 6 เจาหนา ท่บี ริหารงาน ทั่วไป 7 เจา หนา ท่ีการเงนิ และบัญชี 5 นิติกร 7 เปน ตน หรือขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาตาม ขอ 1ท่ถี ูกพกั ใชห รือเพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ใหไ ดร บั เงนิ เดือนตามบญั ชอี ัตราเงนิ เดือน และ เงนิ ประจําตาํ แหนงของขาราชการพลเรอื นตามกฎหมายขาราชการพลเรือนโดยอนุโลม 3) เงนิ วทิ ยฐานะ และเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ไมถ ือวาเปนเงนิ เดอื น 4) ให ก.ค.ศ. เสนอและใหค ําปรึกษาแก รมต.ศธ. เพอ่ื เสนอปรับปรงุ บญั ชอี ัตราเงนิ เดือน เงนิ วทิ ยฐานะ เงนิ ประจําตาํ แหนง คาครองชพี สวสั ดิการ ประโยชนเก้ือกูลตอ ครม. เม่ือคาครองชพี เปล่ยี นแปลงไปมาก หรือ การจัดสวัสดิการ ประโยชนเก้อื กลู ไมเ หมาะสม แตตอ งพจิ ารณาความเหมาะสม ความเปนธรรม ความ แตกตางจากขา ราชการอ่นื สภาวะเศรษฐกจิ การคลงั ประเทศและปจ จัยอนื่ ทจ่ี ําเปน ดวย 5) การปรับบัญชีอตั ราเงนิ เดือน เงินวทิ ยฐานะ เงินประจาํ ตําแหนง ใหสงู ขน้ึ ตามขอ 4 ใหป รบั รอ ยละ เทา กนั และไมเ กนิ รอ ยละ10 ของอตั ราปจจบุ นั การปรบั ใหท าํ เปนพระราชกฤษฎีกา หากปรบั แลวมเี ศษ ไมถงึ 10 บาท ใหปรบั ขึน้ เปน 10 บาท 6) บญั ชอี ัตราเงนิ ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีไดร บั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 166  คมู อื เตรียมสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา ประกอบไปดวย อนั ดับ เรยี กใหเขา ใจงายๆวาแทง (6 อันดับ(แทง) ไดแ ก ครูผูชวย อนั ดบั ค.ศ.1 อันดบั ค.ศ.2 อนั ดบั ค.ศ.3 อนั ดบั ค.ศ.4 และอันดับ ค.ศ. 5) และข้ัน ( มที ัง้ หมด 24 ขัน้ มีข้นั เตม็ เชน ขน้ั ท่ี 5 และมขี ้ันครงึ่ เชน 5.5 แตล ะอันดบั จะมจี าํ นวนข้นั ตา งกนั ) ดงั น้ี 6.1) ครูผชู วย มี 14 ขนั้ (หากรวมขัน้ ครงึ่ กม็ ี 28 ข้ัน) ขัน้ ตํ่าสดุ 7,630 (8,360)บาท ขั้นสูงสดุ 16,190 บาท (บัญชีอัตราเงินเดอื นท่ปี รับใหม 1 ตลุ าคม 2548) 6.2) อนั ดับ ค.ศ.1 มี 21 ข้นั ขนั้ ตาํ่ สดุ 7,630 (11,470) บาท ขนั้ สูงสุด 26,440 บาท 6.3) อันดับ ค.ศ.2 มี 20 ขัน้ ขัน้ ตา่ํ สุด 12,040(14,810) บาท ขั้นสงู สุด 32,250 บาท 6.4) อันดบั ค.ศ.3 มี 24 ขน้ั (มากสุด) ข้ันต่ําสุด 12,040(18,180) บาท ขั้นสงู สดุ 45,620 บาท 6.5) อนั ดับ ค.ศ.4 มี 20 ข้ัน ขน้ั ตาํ่ สุด 22,330 บาท ข้นั สูงสดุ 48,600 บาท 6.6) อนั ดับ ค.ศ.5 มี 19 ข้ัน ขนั้ ต่ําสุด 27,450 บาท ขนั้ สงู สุด 61,860 บาท ตวั เลขในวงเล็บ เชน อันดับ ค.ศ.1 (11,470) บาท หมายถึง ขนั้ ประสทิ ธภิ าพ 7) กาํ หนดบัญชีอัตราเงนิ วทิ ยฐานะของขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาที่มีใบประกอบวชิ าชพี จําแนกเปนตําแหนง และวิทยฐานะโดยสรุป ดงั น้ี 7.1) อตั รา 3,500 บาท ตอเดอื น สําหรับ 1)ครู 2)ศึกษานเิ ทศก 3)รองผอู าํ นวยการสถานศึกษา และ4)ผูอํานวยการสถานศกึ ษา ทม่ี ีวิทยฐานะชาํ นาญการ 7.2) อัตรา 5,600 บาท ตอ เดือน สาํ หรับ 1)ครู 2)ศึกษานิเทศก 3)รองผอู ํานวยการสถานศึกษา และ 4)ผอู ํานวยการสถานศึกษา 5) รองผอู ํานวยการ สพท. ท่ีมวี ิทยฐานะชํานาญการพเิ ศษ 7.3) อตั รา 9,900 บาท ตอเดอื น สําหรับ 1)ครู 2)ศกึ ษานิเทศก 3)รองผูอํานวยการสถานศกึ ษา และ 4)ผอู าํ นวยการสถานศึกษา 5) รองผอู าํ นวยการ สพท. 6) ผูอ ํานวยการ สพท. ท่มี ีวทิ ยฐานะเช่ยี วชาญ 7.4) อัตรา 13,000 บาท ตอ เดอื น สาํ หรบั 1)ครู 2)ศกึ ษานิเทศก 3)ผอู าํ นวยการสถานศึกษา และ 5)ผูอํานวยการ สพท. ท่ีมีวทิ ยฐานะเช่ียวชาญพิเศษ 8) ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาผใู ด เมอ่ื ไดรบั วทิ ยฐานะใด เม่อื เปลยี่ นตําแหนง ก็จะไดร ับ วิทยฐานะน้นั ตดิ ตัวมาดว ย เชน เปน ครชู ํานาญการพิเศษ เมอ่ื สอบคดั เลือกผอู าํ นวยการสถานศกึ ษาได ก็จะ ไดร บั การบรรจแุ ตง ตัง้ (เปล่ียนตาํ แหนง)เปนผูอ ํานวยการสถานศึกษาชาํ นาญการพิเศษ ไดร ับเงนิ วทิ ยฐานะ ตามกฎหมายดว ย อน่งึ เกย่ี วกับกฎหมายนม้ี อี ีกฉบับหน่ึงทีเ่ กีย่ วขอ งกับเรอ่ื งเงนิ เดอื น คือ พระราชบญั ญัติเงินเดอื นและ เงนิ ประจาํ ตําแหนง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2547 กฎหมายฉบบั นีไ้ มมีผลตอ ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา แตจะเก่ยี วของกับขา ราชการพลเรอื นในมหาวิทยาลยั ที่เปน สถาบันทางการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ ขาราชการพลเรือนอืน่ เดมิ ทีข่ า ราชการครทู ไี่ ดร ับเงินประจําตาํ แหนงตามกฎหมายนี้ กจ็ ะไมไ ดร ับตาม กฎหมายน้ี เพราะไดรับตามพระราชบญั ญตั เิ งนิ เดอื น เงนิ วิทยฐานะ และเงนิ ประจําตาํ แหนง ขา ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2547 แลว สอบครูดอทคอม

167  คูม ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา กฎหมายปฏบิ ตั ิราชการ 1. พระราชบัญญัติคมุ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 พระราชบญั ญตั ิคมุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 มีสาระสําคญั พอสังเขปดังนี้ 1) เดก็ คอื บุคคลท่มี ีอายตุ ่ํากวา18 ปบ รบิ ูรณ 2) คณะกรรมการคุม ครองเดก็ แหง ชาติ มี 23 คน ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com - รมต.พัฒนาสังคมและความมนั่ คงมนษุ ย เปนประธาน - กรรมการตองมผี หู ญิง ไมน อยกวา 1ใน3 3) มคี ณะกรรมการคมุ ครองเดก็ ระดบั จงั หวดั 22 คน - ผวู าราชการจงั หวัดเปนประธาน ผอ.สพท.เปนกรรมการ - พฒั นาสงั คมฯเปน กรรมการเลขาฯ - มผี หู ญิง ไมน อยกวา 1ใน3 4) คณะกรรมการฯมีหนาที่สงเคราะห คุม ครองสวัสดภิ าพเดก็ สง เสริมความประพฤติเด็กและอื่นๆ 5) มขี อหามมิใหบคุ คลอืน่ ผปู กครองปฏิบตั ติ อเดก็ หากฝาฝน เปนความผดิ (คํานงึ ประโยชนสูงสดุ เดก็ ) 6) ผพู บเหน็ เดก็ ตกในสภาพทตี่ อ งสงเคราะห คุมครอง ตองชวยเหลือ แจงเจา หนาที่ ผคู มุ ครองสวสั ดิภาพ 7) เด็กพงึ จะไดร บั การสงเคราะหมี 8 ประเภท 8) เดก็ ทีจ่ ะไดรบั การคุมครองสวสั ดิภาพมี 3 ประเภท 9) กาํ หนดใหโรงเรียนจดั ระบบงาน กจิ กรรม แนะแนว ใหค ําปรึกษาฝก อบรม นร. 10)นกั เรยี นท่กี ระทาํ ความผดิ ตอ งถูกลงโทษตามระเบยี บท่ี ศธ.กําหนด 11) เด็กพงึ จะไดรับการสงเคราะหมี 8 ประเภท ดังน้ี 1) เด็กกําพรา เด็กเรรอน 2) เดก็ ที่ถูกทอดทิ้ง พลดั หลง 3) เดก็ ทผ่ี ูป กครองไมส ามารถอุปการะเลยี งดูได เชน ถกู จําคุก กกั ขัง พกิ ารทพุ พลภาพ เจ็บปวยโรคจติ 4) เด็กที่ผปู กครองประกอบอาชีพไมเหมาะสม 5) เด็กท่ไี ดร บั การเลย้ี งดูโดยมิชอบ 6) เดก็ พกิ าร 7) เด็กที่อยใู นสภาพยากลําบาก 8)เด็กทคี่ วรไดรบั การสงเคราะหต ามกฎกระทรวง 12) เด็กทพี่ งึ ไดร ับการคุมครองสวสั ดภิ าพ 3 ประเภท ไดแ ก 1) เด็กทีถ่ ูกทารุณกรรม 2) เด็กทเี่ สย่ี งตอ การประทําผิด 3) เดก็ ที่ไดร ับการคมุ ครองตามกฎกระทรวง 13. กําหนดใหมีบทลงโทษสําหรบั ผทู ีก่ ระทาํ ตอ เดก็ (ม.26) 1) ทารณุ กรรมตอรางกาย จติ ใจ 2) จงใจละเลยสิง่ จําเปนตอ การดํารงชวี ิต 3) บังคับ จงู ใจ ขเู ข็ญ ใหเดก็ ประพฤตติ ัวไมเ หมาะสม 4) โฆษณาเพ่ือรับ ยกเดก็ ใหบ คุ คลอน่ื 5)บังคับ ขเู ขญ็ ใหเ ดก็ ขอทาน เลนกฬี าทารุณกรรม อนาจาร 6) จําหนาย แลกเปล่ยี นใหเสพสุรา บุหร่ี 7)ใชจางวานเดก็ ใหทํางานอันตรายตอ รา งกาย จิตใจเลนการพนัน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 168  คูมอื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 14) กําหนดบทลงโทษสสาํ หรับผูก ระทาํ ตอเด็ก (ม.27 ม.50 ม.61) 1) ม.27 เผยแพรขอ มูลเด็กทําใหเกดิ ความเสยี หาย จิตใจ ช่ือเสยี ง เกียรติคณุ สทิ ธิ แสวงหาประโยชน 2) ม.50 ผคู ุมครองสวสั ดิภาพเด็กเปด เผยชื่อ ขอมลู ทาํ ใหเ กดิ ความเสียหายแกเดก็ 3) ม.61 เจาของ ผปู กครองสวัสดิภาพ ผูเล้ยี งเดก็ ในสถานรับแรก สถานสงเคราะห สถานคุมครองฯ ทาํ รายทารุณรา งกาย จิตใจเด็ก หรอื ดูแลดวยความรุนแรง 2. พระราชกฤษฎีกาวา ดวยหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทีด่ ี พ.ศ.2546 พระราชกฤษฏีกาวา ดว ยหลักเกณฑและวธิ กี ารบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี มสี าระพอสงั เขปดังน้ี 1) วตั ถปุ ระสงคของการบรหิ ารราชการแผนดินตามกฎหมายน้ี พระราชกฤษฎกี าดงั กลา ว เปน เร่ืองของการกาํ หนดขอบเขต แบบแผน วิธปี ฏิบัตริ าชการ เพอ่ื ใหการ บริหารราชการบรรลุเปาหมาย และวตั ถปุ ระสงค ดังน้ี 1.1)ตองบริหารเพอื่ ประโยชนส ุขของประชาชน โดยยดึ ประชาชนเปนศูนยก ลาง (citizen centered) เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการของประชาชนและกอใหเ กิดผลกระทบในทางท่ีดตี อการพัฒนาชวี ติ ของประชาชน 1.2) ตองหวังผลสมั ฤทธิ์ โดยยดึ การบริหารแบบบรู ณาการ ซง่ึ มงุ เนนผลลพั ธทเ่ี กิดขน้ึ จากการปฏิบัติงาน ทส่ี อดคลองเปนไปในแนวทางเดียวกันโดยการจัดทาํ คํารับรองการปฏบิ ัตริ าชการไวลว งหนาทส่ี ามารถแสดง ผลและวัดผลงานไดอยา งชดั เจน 1.3) ตองมปี ระสิทธิภาพและคมุ คา ในการดาํ เนินภารกจิ ของรัฐจะตอ งมกี ารเปรียบเทยี บตน ทุนคา ใชจ าย ทใี่ ชในการดาํ เนินงานทัง้ ภายในหนว ยงานตนเอง และระหวา งหนวยงานในกรณีท่เี ปน การดําเนินภารกจิ ใน ลกั ษณะเดียวกนั ท่ีนาํ มาเปรยี บเทียบกนั ได เพอ่ื ดผู ลลัพธท่ีเกดิ ขึน้ วามคี วามคุมคา กบั เงนิ ลงทนุ ที่เกดิ จากภาษี ของประชาชนหรือไม หากไมคมุ คากไ็ มควรดาํ เนนิ การตอ ไป 1.4) ตอ งลดเวลาและขัน้ ตอน โดยการลดข้นั ตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการลงจากที่เปน อยูเดมิ มอบอาํ นาจการตดั สนิ ใจใหกับผูที่อยูใ กลชิดกับประชาชน จดั บรกิ ารใหป ระชาชนสามารถรบั บรกิ ารใหแ ลว เสร็จ่ ในท่เี ดียวกัน เพอื่ ใหประชาชนไดรบั บริการท่สี ะดวกและรวดเรว็ ยิง่ ขนึ้ 1.5) ตอ งจดั ระเบียบองคกรทุกหนวย โดยจะตองมีการทบทวน และปรบั ปรุงกระบวนการขั้นตอนทํางาน ใหมอ ยูเสมอสวนราชการจึงควรจัดลําดับความสําคญั และความจําเปนของงาน หรือโครงการทีจ่ ะทาํ ใหส อด คลอ งกบั แผนการบรหิ ารราชการแผน ดนิ และงบประมาณของประเทศ ซง่ึ อาจมีผลตองพจิ ารณายบุ เลกิ สวน ราชการที่ไมจาํ เปน และการปรบั ปรุงกฎหมาย กฎระเบยี บตา งๆ ใหเหมาะสม 1.6) ตองอาํ นวยความสะดวกแกประชาชน ในการปฏิบตั ริ าชการของสว นราชการ ตอ งมงุ เนน ถงึ ความ ตองการและความพงึ พอใจของประชาชนผรู ับบรกิ ารเปนหลัก ดังนน้ั จึงตอ งมีการสาํ รวจความตอ งการของ ประชาชน และความพงึ พอใจของผรู ับบริการอยา งสมา่ํ เสมอ เพือ่ จะไดจดั สง่ิ อาํ นวยความสะดวกและเปดเผย ขอมูลขาวสารทใี่ หป ระชาชนทราบและเขาใจงายเวลามาติดตอ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 169  คูมอื เตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 1.7) ตอ งประเมินผลอยางสมํา่ เสมอ สว นราชการตอ งสรางระบบการควบคมุ ตนเอง โดยมีการตรวจสอบ ตดิ ตาม วัดผลการปฏบิ ัติงานอยา งสมาํ่ เสมอ ซงึ่ จะทําใหสามารถผลกั ดนั การปฏิบตั ิงานของหนวยงานให บรรลเุ ปาหมายไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ / นอกจากนี้ยงั จะชว ยใหการพิจารณาใหบาํ เหนจ็ ความชอบและรางวัล แกข าราชการเปน ไปตามผลการปฏิบัติงานอยางจรงิ จงั 2) หลักการสรา งระบบบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งและสังคมท่ดี ี 6 ประการ ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรีวา ดว ยการสรางระบบบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งและสังทด่ี ี พ.ศ. 2546 ไดก าํ หนดหลักจาํ เปน ทจี่ ะตอ งรวมมอื กนั ปฏิบตั ทิ กุ ภาคสว นของสงั คม ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกจิ เอกชน และ ภาคประชาชน ประกอบดว ย 2.1) หลักท่ี 1 หลักนติ ิธรรม ไดแ ก การตรากฏหมาย กฏ ขอ บงั คบั ตางๆ ใหทันสมยั เปน ธรรม และ เปน ทยี่ อมรบั จงึ ตองมกี ารปรับเปลีย่ น ทบทวน แกไ ข เผยแพรเสมอ 2.2) หลักท่ี 2 หลักคณุ ธรรม ไดแ ก การยดึ ม่ันในความถูกตองดงี ามปฏบิ ัติใหเปน แบบอยา งแกสังคม และสนบั สนุนใหประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอ มกัน เพอ่ื สรา งความซ่อื สตั ย จรงิ ใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย ประกอบอาชีพสุจรติ 2.3) หลกั ที่ 3 หลักความโปรงใส ไดแก การปรบั ปรงุ กลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมี ความโปรง ใส ประชาชนสามารถเขาถงึ ขอมูลขา วสารไดสะดวกและเขา ใจงา ย 2.4) หลักท่ี 4 หลกั ความมีสว นรว ม ไดแก การเปด โอกาสใหป ระชาชนเขามามสี ว นรว มรับรแู ละ เสนอความเหน็ ในการตัดสินใจปญ หาสําคัญของประเทศ 2.5) หลักท่ี 5 หลกั ความรับผดิ ชอบ ไดแ ก ความตระหนกั ในสิทธิหนา ที่ความสาํ นึกในความรับ ผดิ ชอบตอ สงั คม การเอาใจใสในปญ หาของบา นเมืองและมุงมนั่ แกป ญ หา รวมถงึ การเคารพในความคดิ เห็น ที่แตกตาง 2.6) หลักที่ 6 หลักความคุมคา ไดแก การบรหิ ารจัดการและใชทรพั ยากรอยางประหยดั เกดิ ประโยชนสงู สุด มคี วามคมุ คา เมอื่ สวนราชการปฏบิ ัตริ าชการเปน ไปตามจดุ มงุ หมายของพระราชกฤษฎีกานีแ้ ลว สง่ิ ทีป่ ระชาชน จะไดร บั คอื 1) ไดรบั รเู ปา หมาย แผนการทาํ งาน ระยะเวลาแลว เสรจ็ ของงาน/โครงการ และงบประมาณ ของสว น ราชการตา งๆ ท่ีไดม กี ารดาํ เนินการไป 2) ไดร บั รถู ึงผลการจดั ซ้ือจดั จา งของสว นราชการ และเกิดความเปนธรรมในกระบวนการจดั ซือ้ จัดจา ง กับหนวยงานของรฐั 3) ไดร ับรรู บั ทราบและไดร บั ผลจากการท่ีสว นราชการตางๆ ไดจ ัดใหมกี ารกระจายอาํ นาจการตัดสินใจ เพอ่ื ใหเ กิดความรวดเร็วและเปนการลดข้นั ตอนการปฏิบตั ริ าชการ 4) รับรูและสามารถเขา ตรวจดูถึงขั้นตอนและระยะเวลาการดาํ เนนิ การรวมทงั้ ระยะเวลาแลวเสร็จ และรายละเอยี ดตา งๆ ของสว นราชการ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 170  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 5) ไดร บั ความรวดเร็วและความสะดวกในการตดิ ตอ สอบถาม ขอทราบขอมูล ขออนญุ าต หรือขอ อนมุ ตั ในเรื่องใดๆ ท่ีเปน อาํ นาจของสว นราชการในกระทรวงเดยี วกนั จากศูนยบรกิ ารรว มโดยไมต องไป ติดตอกบั อกี หลายสว นราชการ รวมทง้ั ในจงั หวัดและอําเภอดวย ท่จี ะจัดใหมีศูนยบ ริการรวม 6) สามารถแสดงความคิดเหน็ และขอ เสนอแนะแกส วนราชการเพ่อื ใหปรบั ปรงุ แกไขกฎหมายหรอื ระเบียบตา งๆ ของแตละสวนราชการเพอื่ ใหเกดิ ความสะดวกรวดเรว็ ใหม ากขึ้น และดขี ้ึน และลดภาระของประชาชนลง 7) ในกรณที ม่ี ีขอของใจเกี่ยวกับการปฏบิ ัติงานของสวนราชการและไดม ีหนงั สอื สอบถามไปแลว จะ ไดร ับการประกันวา สวนราชการนัน้ ๆ จะตอ งตอบคําถามขอสงสัยโดยเรว็ ภายในเวลาไมเ กนิ 15 วัน หรอื ตาม ระยะเวลาทีไ่ ดประกาศไว 8) จะไดร ับการอาํ นวยความสะดวกในเร่ืองการรบั ขอมูลทางระบบเครอื ขา ยสารสนเทศจากสวนราชการ 9) จะไดร ับทราบขอมลู และสามารถตรวจสอบขอ มลู เกย่ี วกบั งบประมาณรายจายแตล ะปร วมทง้ั เกย่ี วกบั การจัดซือ้ จดั จางท่สี ว นราชการจะดาํ เนนิ การในปง บประมาณนนั้ ๆ 2. พระราชบญั ญตั ขิ อ มลู ขาสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 1) เจตนารมณ / หลักการ / แนวคดิ การใหประชาชนมโี อกาสไดร บั ขอมูลขาวสารเกี่ยวกบั การดําเนินการตา งๆ ของรฐั เปนส่งิ จําเปนเพ่ือ ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเหน็ และสทิ ธิทางการเมอื งไดอยางถูกตองเปน จรงิ อนั เปนการสงเสริมให มคี วามเปน รัฐบาลโดยประชาชนมากขนึ้ เปน การพฒั นาระบอบประชาธปิ ไตยใหมนั่ คงและใหประชาชนรู สทิ ธิของตนเองอยางเต็มท่ี ปกปก รักษาประโยชน คมุ ครองสิทธิสว นบคุ คลเกี่ยวกับขอ มลู โดยมขี อยกเวน อัน ไมต องเปด เผยทแ่ี จงชดั และจาํ กดั เฉพาะขอมลู ขาวสารท่หี ากเปดเผยแลวจะเกดิ ความเสียหาย 2) สาระสาํ คัญ ขอ มูลขา วสาร หมายความวา ส่ิงที่สอ่ื ความหมายใหร เู รื่องราว ขอ เทจ็ จริง ขอ มูล หรือสิง่ ใดๆ ไมว า การส่อื ความหมายนั้นจะทาํ ไดโ ดยสภาพของสงิ่ น้นั เอง หรอื โดยการผานวธิ ีการใดๆ และไมวาจะจัดทําไวใน รูปแบบของเอกสารแฟม งาน หนงั สือ แผนผงั ภาพวาด ภาพถา ย ฟล ม การบนั ทึกภาพ หรือเสียงโดยเครอ่ื ง คอมพิวเตอร หรอื วิธีอน่ื ใดทท่ี าํ ใหส ่งิ บันทกึ ไวป รากฏได ขอ มลู ขา วสารของราชการ หมายความวา ขอมูลขา วสารทอ่ี ยูในความครอบครองหรอื ควบคุมดแู ล ของรฐั ไมวา จะเปนขอ มลู ขา วสารเกีย่ วกับการดาํ เนนิ งานของรัฐ หรอื ขอ มลู ขาวสารเกีย่ วกับเอกชน หนวยงานของรัฐ หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทอ งถิน่ รฐั วิสาหกิจ (ที่มหี ุนสว น 50% ขึน้ ไป) ราชการสังกัดรฐั สภา ศาล เฉพาะในสว นทไ่ี มเ กีย่ วขอ งกับการพจิ ารณา พิพากษา องคก รควบคมุ การประกอบอาชพี หนว ยงานอสิ ระของรัฐ และหนว ยงานอื่นตามทกี่ าํ หนดใน กฎกระทรวง เจา หนา ที่รัฐ หมายความวา ผซู งึ่ ปฏิบตั ิงานในหนว ยงานของรัฐ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 171  คูม ือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา ขอมูลขาวสารสว นบคุ คล หมายความวา ขอ มูลขา วสารเกย่ี วกับส่งิ เฉพาะของตัวบุคคล เชน การ ศกึ ษา ฐานะการเงนิ ประวัตสิ ขุ ภาพ ประวตั ิอาชญากรรม หรือประวัตกิ ารทํางาน บรรดาที่มีชอื่ ของผูนนั้ หรอื มเี ลขหมาย รหสั หรอื บอกลักษณะอื่นทีท่ าํ ใหร ูตวั ผนู ้ันได เชน ลายพิมพนว้ิ มอื แผนบนั ทึกลกั ษณะเสียงของ คณะ หรือรูปถา ย และใหหมายความรวมถึงขอ มูล ขา วสารเกย่ี วกับสงิ่ เฉพาะตวั ของผูถงึ แกก รรมดว ย ลกั ษณะการเปดเผยขอมลู ขา วสาร 1) ขอ มูลขาวสารทีเ่ ปด เผยได 1.1 ขอมลู ขา วสารท่ลี งพมิ พในราชกิจจานุเบกษาแลว ทงั้ นเี้ ฉพาะทีจ่ ัดใหมีขึ้นโดยสภาพอยา งกฎ หรือใหมีผลเปนการทัว่ ไปตอเอกชนที่เกยี่ วขอ ง 1.2 ขอมลู ขาวสารอ่ืน ตามที่คณะกรรมการกาํ หนด 2) ขอมลู ขา วสารทีไ่ มตองเปดเผย ประกอบดวย 2.1 ขอ มลู ขา วสารของทางราชการทีก่ อ ใหเ กิดความเสียหายตอ สถาบันพระมหากษตั ริยจ ะเปดเผย มิได 2.2 ขอ มลู ขา วสารทหี่ นวยงานของรัฐ หรือเจาหนาทีข่ องรฐั อาจมคี าํ ส่ังมิใหเ ปดเผยได (โดยคํานึง ถงึ การปฏิบัติหนาทตี่ ามทีก่ ฎหมายของหนวยงานของรฐั ประโยชนส าธารณะ และประโยชนของเอกชนท่ี เกี่ยวขอ งประกอบกัน) คือ 1) การเปด เผยจะกอใหเกดิ ความเสยี หายตอความมั่นคงของประเทศ ความสัมพนั ธของประเทศ หรอื ความมนั่ คงในทางเศรษฐกิจ หรือการคลังของประเทศ 2) การเปด เผยจะใหก ารบงั คบั ใชก ฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไมอ าจสาํ เร็จตามวตั ถุ ประสงคได 3) ความเหน็ หรอื คําแนะนาํ ภายในหนว ยงานของรฐั ในการดําเนนิ เรือ่ งใดเร่ืองหนึ่ง แตท งั้ นี้ไม รวมถึงการรายงานทางวิชาการ รายงานขอเทจ็ จรงิ หรอื ขอ มลู ขา วสารท่ีนํามาใชในการนําความคิดเห็นหรอื คาํ แนะนําภายในดังกลา ว 4) การเปดเผยจะกอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอชีวิตหรอื ความปลอดภัยของบุคคลใดบคุ คลหนึง่ 5) รายงานทางแพทย หรอื ขอมลู ขา วสารสว นบุคคล ซึง่ เปดเผยจะเปนการรกุ ล้าํ สทิ ธิสว นบคุ คล โดยไมส มควร 6) ขอมลู ขา วสารของทางราชการท่มี กี ฎหมายคุมครองมิใหเปดเผยหรอื ท่ีมีผูใหมาโดยไม ประสงคใ หทางราชการนาํ ไปเปดเผยตอ ผูอ่ืน 7) กรณีอืน่ ตามทก่ี ําหนดในพระราชกฤษฎีกา ทัง้ นค้ี ําส่ังใหเปด เผยขอ มูลขา วสารของทางราชการจะกําหนดเงอ่ื นไขอยางไรกไ็ ดแตต องระบุ เหตุผลและประเภทของขอ มูลขา วสารไวด ว ยและใหถอื วาคําสงั่ เปดเผยขอ มูลขาวสารของทางราชการเปน ดุลยพินจิ สอบครูดอทคอม

172  คมู อื เตรียมสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา 3) ขอมูลขา วสารท่บี คุ คลยอมมีสทิ ธเิ ขาตรวจดู ขอสาํ เนา หรอื ขอสําเนาทม่ี ีคาํ รับรองถูกตองของ ขอมูลขาวสารได เชน 1) แผนงานโครงการงบประมาณรายจา ยประจําป 2) คมู ือหรอื คาํ สัง่ เกย่ี วกับการปฏบิ ัตงิ านของเจา หนาทข่ี องรัฐ 3) มติคณะรัฐมนตรี ฯลฯ การขอขอมูลขาวสาร การรองเรียน และการอทุ ธรณ 1) การขอขอ มูลขาวสาร ควรทําเปนหนงั สอื ลงลายมือชื่อและลงสําเนา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 2) การรองเรยี นตอคณะกรรมการขอมลู ขา วสารของทางราชการ สามารถดาํ เนนิ การดว ยเหตุ 2.1 ไมจ ดั พมิ พขอมลู ขาวสาร ลงในราชกจิ จานเุ บกษา 2.2 ไมจ ดั ทําขอ มูลขาวสารใหด ู 2.3 ไมจดั ทําขอมูลขา วสารใหตามทข่ี อ 2.4 ฝาฝนไมป ฏิบัตติ าม พ.ร.บ. 2.5 ไมไดรับความสะดวกโดยไมมีเหตอุ นั ควร 3) การอทุ ธรณคําสงั่ มใิ หเ ปดเผยขอ มูลขา วสารราชการใหอทุ ธรณต อคณะกรรมการวนิ ิจฉยั การ เปด เผยขอ มูลขาวสารสาขาตา งๆ ดวยเหตุ คือ 3.1 ไมเปด เผยขอมลู ขา สาร 3.2 ไมฟงคําคัดคา นการเปดเผยขอมลู ขา วสารสวนบุคคล 3.3 ไมแกไขเปลย่ี นแปลง หรอื ลบขอ มูลขา วสารสวนบุคคล ทงั้ นี้ การอทุ ธรณใ หอุทธรณภายใน 15 วนั นบั แตวันไดรับแจง ผมู อี าํ นาจสงั่ ใหเปด เผยขอมูลขา วสาร เจา หนาท่ีของรัฐมีอํานาจสัง่ ใหเ ปดเผยขอมูลขาวสารของทางราชการ ตามกฎกระทรวง มีดงั น้ี ขาราชการพลเรอื น ขาราชการฝายตลุ าการท่เี ปน ขา ราชการธรุ การ ขา ราชการฝา ยอัยการท่ีเปน ขา ราชการธรุ การพลเรอื นในมหาวทิ ยาลัย ขาราชการครู ขา ราชการรัฐสภาสามญั หรือขา ราชการกรงุ เทพ มหานคร ซึง่ มีหนาท่คี รอบครองหรอื ควบคมุ ดแู ลขอ มลู ขา วสารน้นั และเปน ผูด ํารงตําแหนง ต้ังแตร ะดบั 6 ข้ึนไป หนาท่ีของหนวยงานของรัฐเกยี่ วกับขอ มลู ขา วสารราชการ 1) ตอ งจดั ขอ มลู ขาวสารราชการตอไปนใี้ หป ระชาชนตรวจดไู ด ดงั ตอ ไปนี้ 1.1 จัดสถานท่ใี นการคนหาและศึกษาขอมูลขา วสารราชการ 1.2 จดั ดัชนีทีร่ ายละเอียดเพียงพอสาํ หรบั การคน หาดว ยตนเอง 1.3 จดั ใหมขี อ มลู ขา วสารใหต รวจดไู ดส ะดวก 1.4 จะกาํ หนดระเบยี บปฏิบตั ิเพ่ือรกั ษาความเปนระเบยี บเรยี บรอ ย หรอื ความปลอดภยั กไ็ ด 1.5 การดาํ เนินการจดั ขอ มูลขาวสารราชการ อาจจัดไวทหี่ องสมดุ ของหนว ยงานอ่ืน หรือ ของเอกชนที่ตง้ั อยบู รเิ วณใกลเ คียงกับที่ต้งั ของหนวยงานของรฐั ก็ได 2) การเปดเผยขอ มลู ขาวสารสวนบุคคลทอ่ี ยใู นความควบคมุ ดูแลของตนหรอื หนวยงานของรัฐ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 173  คูม ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา แหงอื่นโดยปราศจากความยนิ ยอมเปน หนงั สอื ของเจาของขอ มูลทใี่ หไวล วงหนา หรือในขณะน้นั มไิ ด เวน แตเ ปนการเปดเผยกรณตี อไปน้ี 2.1 เปด เผยตอเจา หนาท่ีของรฐั ในหนว ยงานของตนเพอื่ ไปใชตามอํานาจหนา ทข่ี องหนว ย งานน้ัน 2.2 เปนการใชข อมูลปกติ ตามวัตถุประสงคของการจัดใหมรี ะบบขอ มลู ขา วสารสวนบุคคล น้ัน 2.3 เปด เผยตอหนว ยงานของรฐั ที่มีหนาทดี่ านการวางแผน หรอื สถิติ หรือสาํ มะโนตางๆ ซึ่งมีหนา ที่ตองรักษาขอมูลขา วสารสวนบุคคลไวไ มใ หเปดเผยตอไปยังผอู ่ืน 2.4 เปน การใหเพ่ือประโยชนในการศกึ ษาวจิ ยั โดยระบชุ ือ่ หรือสวนทที่ าํ ใหรูวาเปน ขอมลู ขาวสารสวนบคุ คลทเ่ี ก่ยี วของกบั บุคคลใด 2.5 เปด เผยตอหอสมดุ แหง ชาติ กรมศลิ ปากร หรือหนว ยงานอนื่ ของรฐั ตามมาตรา 26 วรรค 1 หรือตรวจดูคุณคา ในการเก็บรักษา 2.6 เปดเผยตอเจาหนาท่ีของรฐั เพือ่ การปองกันการฝาฝนหรือไมปฏบิ ัติตามกฎหมายการ สบื สวน การสอบสวน หรอื การฟองคดี ไมว าเปนคดีประเภทใด 2.7 เปน การใหเพอื่ ความจําเปน ในการปองกนั อนั ตรายตอ ชวี ิต หรือสุขภาพของบคุ คล 2.8 เปด เผยตอ ศาลและเจาหนาทข่ี องรัฐหรือหนวยงานของรัฐ หรือบคุ คลทม่ี ีอํานาจตาม กฎหมายทจ่ี ะขอขอเทจ็ จริงดังกลาว 2.9 กรณอี ่ืนที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา เง่อื นไขการปฏบิ ตั กิ ารเปดเผยขอ มูลขาวสาร 1) การเปด เผยขอมลู ขา วสารใด แมจะเขาขา ยตอ งมีความผิดตามกฎหมายใดใหถอื วาเจาหนาทีข่ อง รฐั ไมตอ งรบั ผดิ ชอบเปนการกระทาํ โดยสจุ รติ 2) การเปด เผยขอมูลขาวสารไมเ ปน เหตใุ หหนว ยงานของรฐั น้ันพน จากความรับผิดตามกฎหมาย จะพึงมี 3. พระราชบญั ญตั วิ ธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 1) เจตนารมณ / หลักการ / แนวคดิ การดาํ เนินงานทางปกครองตอ งมีหลักเกณฑแ ละข้นั ตอนทีด่ าํ เนินงานเปน ไปโดยความถูกตองตาม กฎหมาย มปี ระสิทธภิ าพในการบงั คับ สามารถรกั ษาประโยชน อํานวยความเปนธรรมแกป ระชาชน อีกทั้ง ยังเปนการปองกันการทุจรติ และประพฤติมชิ อบในวงราชการ ซึง่ มีหลักเกณฑทปี่ ระกันความเปน ธรรมหรอื มมี าตรการในการปฏิบัตริ าชการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 174  คูม อื เตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 2) สาระสาํ คัญ วธิ ีปฏบิ ัติราชการทางการปกครอง หมายความวา การเตรียมการและการดาํ เนนิ การของเจา หนาท่ี เพ่อื ใหม ีคําสง่ั ทางการปกครองหรอื กฎ และรวมถึงการดําเนนิ การใดๆ ในทางการปกครองตาม พ.ร.บ. น้ี คําส่งั ทางการปกครอง หมายความวา การใชอ ํานาจตามกฎหมายของเจาหนา ทมี่ ผี ลเปน การสรา งมติ ิ สัมพนั ธข ้นึ ระหวางบคุ คลในอันที่จะกอ เปลยี่ นแปลง โอน สงวน ระงบั หรือ มีผลกระทบตอ สถานภาพของ สทิ ธหิ รือหนา ทีข่ องบุคคลไมว าจะเปน การถาวรหรอื ชั่วคราว เชน การส่ังการ การอนญุ าต การอนมุ ตั ิ การ วนิ จิ ฉัย อุทธรณ การรบั รอง และการรับจดทะเบียน แตไ มหมายความถงึ การออกกฎ และการอ่นื ท่ีกาํ หนด ในกฎกระทรวง ขอ หา มในการพจิ ารณาทางการปกครอง เจา หนา ท่ที จ่ี ะทาํ การพิจารณาทางการปกครองไมไ ด คอื 1. เปนคูกรณีเอง 2. เปน คหู มั้นหรอื คูสมรสของคกู รณี 3. เปน ญาตขิ องคูกรณหี รอื บพุ การี หรอื ผูสืบสันดานพี่นอ ง ลกู พล่ี ูกนอ ง นับไดเพยี งใน 3 ขัน้ หรือญาติเกีย่ วพันทางการแตง งานนบั ไดเ พยี ง 2 ชน้ั 3. เปนหรอื เคยเปนผแู ทนโดยชอบธรรม 4. เปน ผพู ิทกั ษหรือผแู ทนของคกู รณี 5. เปนเจา หนหี้ รอื ลูกหน้ี 6. เปน นายจา งของคูก รณี สิทธิของคูกรณี 1. เจาหนา ทตี่ องใหโอกาสของคกู รณีไดทราบขอเทจ็ ริงและมโี อกาสโตแ ยงและแสดงพยานหลัก ฐานอยา งเพียงพอ 2. คูก รณมี สี ิทธขิ อตรวจดูเอกสารที่จาํ เปน ตองรเู พ่ือการโตแ ยง หรือชแ้ี จงหรือปอ งกนั สทิ ธิของตนได แตถ ายังไมไ ดทําคาํ ส่ังทางการปกครองในเรอื่ งนั้นคูกรณไี มม สี ิทธิขอตรวจดเู อกสารอนั เปนตนรางคําวนิ จิ ฉยั เจา หนา ทีอ่ าจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรอื พยาน หลกั ฐาน ถา เปนกรณที ตี่ องรกั ษาไวเปนความลบั ลกั ษณะคําส่ังทางการปกครอง 1. คําสัง่ ทางการปกครองอาจทาํ เปนหนังสือหรอื วาจาหรือในการสอ่ื ความหมายในรูปแบบอน่ื กไ็ ด แตต องมขี อความหรอื ความหมายท่ชี ดั เจนเพียงพอที่จะเขา ใจได 2. คําส่ังทางการปกครองทกี่ าํ หนดเปนหนงั สอื ตองจัดใหมเี หตผุ ลดวย 3. คําสง่ั ทางการปกครองที่อาจอทุ ธรณหรอื โตแยง ไดใ หระบกุ รณีและระยะเวลาสําหรับการอุทธรณ หรือโตแยงไวได ถาไมมกี ารแจง หรือการแจง ใหม หากระยะดงั กลาวสัน้ กวา หนงึ่ ป ใหขยายเปน หน่งึ ปนับ ตัง้ แตว นั ท่ไี ดรบั คาํ สงั่ ทางการปกครอง 4. ผลของคําสงั่ ทางการปกครอง ใชย ืนยนั ตอบคุ คลต้ังแตขณะท่ผี ูน้ันไดรับแจงเปนตน ไป ตราบเทา ทยี่ ังไมม ีการเบิกถอน หรือสนิ้ ผลโดยเงอื่ นเวลาหรอื โดยเหตอุ ่ืน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 175  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา การอทุ ธรณค ําส่ังทางการปกครอง 1. กรณคี ําส่ังใดไมออกโดยรัฐมนตรีและไมม ีกฎหมายกําหนดข้ันตอนอทุ ธรณภายในฝายปกครอง ไวเปนการเฉพาะ ใหคกู รณอี ทุ ธรณค ําสัง่ ทางการปกครองนน้ั โดยย่นื ตอเจา หนาทผี่ ทู ําคําสัง่ ภายใน 15 วนั นับต้งั แตว นั ท่ีตนไดร บั แจง คาํ ส่ังดังกลา ว 2.คําอุทธรณตองทําเปน หนงั สือ โดยแจง ขอโตแยงและขอ เทจ็ จรงิ หรอื ขอกฎหมายทอ่ี า งองิ ประกอบดวย 3. ใหเจา หนา ท่พี จิ ารณาคําอทุ ธรณแ ละแจงผูอทุ ธรณโดยไมชกั ชา แตตอ งไมเ กนิ 30 วนั นับแตว ันที่ ไดรับอุทธรณ 4. ถาเจา หนา ท่ีไมเ ห็นดวยกับคาํ อทุ ธรณไ มทั้งหมดหรือบางสว นกใ็ หเรงรายงาน ความเหน็ พรอ มท้งั เหตผุ ลไปยังผมู อี าํ นาจพิจารณาคาํ อุทธรณภายในกาํ หนด 30 วนั และใหผ ูม อี ํานาจใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับแตว นั ท่ไี ดรับรายงาน การเพกิ ถอนคาํ สง่ั ทางการปกครอง 1. คาํ ส่งั ทไ่ี มช อบดว ยกฎหมายอาจถูกเพิกถอนท้ังหมด หรอื บางสวนโดยจะใหมผี ลยอ นหลังหรอื มี ผลในอนาคตไปถงึ ขณะหนึ่งตามทก่ี าํ หนดก็ได 2. การเพกิ ถอนคาํ สง่ั ทางการปกครองทไี่ มช อบดวยกฎหมาย ซ่ึงเปนการใหเ งินหรอื ทรพั ยสินหรือ ผลประโยชนท ีม่ ิอาจแบง แยกได ใหคํานึงถึงความเชือ่ โดยสจุ ริตของผรู บั ประโยชใ นความคงอยขู องคําสง่ั ทาง การปกครองนัน้ กบั ประโยชนส าธารณะประกอบกนั 3. ในกรณีที่เพกิ ถอนคําสั่งใหมีผลยอนหลงั การคืนเงินทรพั ยสินหรอื ประโยชนท ผ่ี รู บั คําส่ังไดไป ใหนาํ บทบญั ญตั ิวา ดว ยลาภมคิ วรไดในประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยมาใชบังคับโดยอนโุ ลม 4. พระราชบญั ญัตจิ ดั ตั้งศาลปกครอง และวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ฉ.2 (2545) ฉ.3 (2548) 1) เจตนารมณ / หลกั การ / แนวคดิ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทยไดบญั ญตั ใิ หจ ดั ต้ังศาลปกครองขึ้นเพ่อื ใหม อี าํ นาจพิจารณา พิพากษาคดีทีม่ ขี อพพิ าททางกฎหมายปกครองระหวา งเอกชนกับหนว ยงานของรฐั หรือเจา หนาท่ขี องรฐั หรือหนว ยงานของรัฐหรือเจาหนาท่ีของรัฐดว ยกัน เกยี่ วกบั การกระทาํ หรือการละเวน การกระทําที่หนว ยงาน ของรฐั หรอื เจา หนา ที่ของรัฐตอ งรบั ผิดชอบในการปฏิบัตหิ นาที่ตามกฎหมาย ซ่ึงตามอาํ นาจหนา ทข่ี องศาล ปกครองดังกลาวเปนเร่อื งท่ีเกย่ี วขอ งกับการออกกฎหรือคาํ สั่งทางปกครอง การกระทําละเมดิ ในทางปกครอง หรือการทาํ สญั ญาทางปกครอง อันเปนเรอื่ งของกฎหมายมหาชน ซง่ึ ระบบการพิจารณาและพิพากษาคดีจํา เปน ตอ งมีกระบวนการเปน พเิ ศษตางจากคดีปกติทวั่ ๆ ไป เพราะผลแหง คําพพิ ากษาอาจกระทบถึงการบริหาร ราชการแผน ดิน หรือตองจายเงินภาษอี ากรของสว นรวมเปน คาชดเชยหรือคาเสยี หายแกเอกชน ในขณะเดยี ว กนั เอกชนจะอยใู นฐานะเสียเปรยี บทไี่ มอ าจทราบขอ มูลจากหนว ยงานของรฐั ไดในการพิจารณาจึงจาํ เปนตอง ใชระบบไตสวน เพือ่ หาขอ เทจ็ จริงทแ่ี ทจ รงิ และตองมตี ุลาการที่มีความเชย่ี วชาญเปนการเฉพาะ ซ่ึงสามารถ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 176  คูมือเตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา ตรวจสอบไดจ ากฝา ยบริหาร ฝา ยนิติบญั ญัตแิ ละประชาชนทั่วไปซงึ่ จะถูกกระทบในทางใดทางหนึง่ จาก คําพิพากษาของศาลปกครองรวมทั้งตอง มหี นว ยงานธรุ การของศาลปกครองทเ่ี ปน อิสระ เพ่อื ใหเปนไปตาม เจตนารมณของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย 2) สาระสาํ คัญ หนาที่ของศาลปกครอง มหี นาที่พิจารณาพพิ ากษาคดีทางปกครอง ซ่งึ เปน ขอพิพาทระหวางหนวย งานรฐั รฐั วสิ าหกจิ และองคกรปกครองสว นทอ งถิน่ กบั เอกชน และรวมท้งั ขอ พพิ าทระหวา งหนว ยงานของ รฐั ดว ยกัน เหตุแหงการพิพาท 1. หนวยงานของรัฐ ปฏิบัตหิ นา ที่ไมช อบดวยกฎหมาย 2. หนวยงานของรฐั ไมส ุจริต 3. หนวยงานของรัฐ ปฏบิ ัติไมชอบดวยเหตผุ ล (ไมเปนธรรม) 4. หนว ยงานของรัฐ ละเลยตอหนา ท่ี 5. หนวยงานของรัฐ ปฏิบัตหิ นาท่ีลา ชาเกินสมควร 6. หนวยงานของรัฐ ไมป ฏิบัตติ ามสญั ญาทางปกครอง 7. หนว ยงานของรัฐ ทําละเมิดตอประชาชน เจา หนา ที่ของรฐั คอื ผปู ฏิบตั ิงานในหนวยงานทางการปกครอง คณะกรรมการหรือบคุ คลซ่ึงใช อาํ นาจตามกฎหมาย ออกกฎ คําสงั่ ทีม่ ผี ลกระทบตอ บุคคล และบุคคลที่อยใู ตบงั คับบญั ชาหรอื กาํ กับดูแล ของหนว ยงานและเจา หนาทีด่ ังกลาว การกระทาํ ท่ไี มช อบดวยกฎหมาย ไดแก การออกกฎ คาํ สงั่ หรอื การกระทาํ อน่ื ใด เนอื่ งจากกระทํา โดยไมมอี าํ นาจหรือนอกเหนืออํานาจหนาทีห่ รอื ไมถูกตอ งตามกฎหมาย หรอื ไมถ กู ตอ งรูปแบบ ขั้นตอน หรอื วิธกี ารอนั เปน สาระสําคัญที่กาํ หนดไวสําหรับการกระทํานั้น การอทุ ธรณคาํ พิพากษาของศาลปกครองช้นั ตน ตองอทุ ธรณภายใน 30 วนั ผูม สี ิทธิฟอ งคดีปกครอง 1. ผูไ ดรบั ความเสยี หายหรือเดอื ดรอ น 2. ผูซง่ึ มขี อ โตแ ยงเกยี่ วกบั สัญญาทางปกครอง 3. ผตู รวจการแผนดนิ ของรฐั สภาพจิ ารณาเหน็ วาไมช อบตามรฐั ธรรมนูญ การฟอ งไมตอ งทาํ ตามแบบและไมตอ งเสยี คา ธรรมเนยี มเวนแตคดีพพิ าทเกยี่ วกับสญั ญา ทางปกครองท่ีขอใหใ ชเ งิน คําฟอ ง คําฟอ งทําเปนหนังสือใชถ อ ยคําสภุ าพระบุรายละเอียด ดังน้ี 1. ชื่อ ทีอ่ ยู และลงลายมือชือ่ ของผูฟอ งคดี 2. ช่ือหนว ยงานหรอื เจาหนา ท่ีของรัฐทเี่ ก่ยี วขอ ง 3. รายละเอียดเกยี่ วกับการกระทาํ ทเี่ ปน เหตแุ หง การฟองคดี สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 177  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 4. ขอ เท็จจริงเก่ยี วขอ งและคาํ ขอทต่ี องการใหศาลปกครองพพิ ากษา การยนื่ ฟอง ผฟู อ งตองยืน่ ดวยตนเองตอ เจาหนาทีศ่ าลปกครองหรือ จะสงไปรษณยี ล งทะเบยี น ฟอ งตอศาลที่มีเขตอาํ นาจ ผฟู อ งคดีมีภูมลิ ําเนาอยู หรือศาลชนั้ ตนท่ีมูลคดเี กิดขึ้น หรอื สถานท่ีทํางานเฉพาะ ของศาลปกครองหรอื ศาลปกครองช้นั ตน ท่ีมีคาํ พิพากษา (กรณเี ปนการอุทธรณคาํ พพิ ากษา) อายุความฟอ งคดี 1. คดที ่ัวไป 1.1 ภายใน 30 วนั นบั แตว ันทร่ี ู หรือควรรูถงึ เหตุแหง การฟองคดี 1.2 พนกาํ หนด 90 วัน นับแตวนั ที่ผฟู องคดีมหี นังสือฟอง เพื่อใหป ฏิบัตติ ามกฎหมายและ ยงั ไมไดร บั หนงั สอื ชแี้ จงแลว แตไมมีเหตผุ ล 1.3 มีกฎหมายกําหนดเปน อยา งอืน่ 2. คดีเกี่ยวกับการทําละเมิด หรือความรับผดิ ชอบอยางอื่นของหนวยงานทางการปกครอง หรือ เจาหนาท่ีของรัฐมีอายคุ วาม 1 ป นบั แตวันทคี่ วรรู หรือควรรถู ึงเหตแุ หง การฟองคดีแตไมเกิน 10 ป นับแต วนั ท่มี เี หตแุ หงการฟองคดี 3. คดีเกยี่ วกบั การคุมครอง ประโยชนส าธารณะจะยน่ื เมอื่ ไรกไ็ ด ผลแหงคําพพิ ากษาของศาลปกครอง 1. สง่ั การ : มงุ ยกเลกิ เพกิ ถอนคาํ สง่ั ไมถ กู ตอง : ใหงดเวน การกระทํา 2. ยกเลิก : ทาํ ใหค าํ สัง่ นน้ั สนิ้ ผล (นบั แตม คี าํ พพิ ากษา) 3. เพิกถอน : ใหมผี ลเหมอื นไมมีคําส่ังนัน้ เลย 4. แกไ ข : เปลี่ยนแปลงคาํ สั่งใหหนักขน้ึ หรอื เบาลง ประเดน็ อนื่ ทนี่ าสนใจ 1. ศาลปกครอง ประกอบดวยศาลปกครองช้นั ตน และศาลปกครองสูงสดุ 2. ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาอนุญาตการขอยกเวนคา ธรรมเนยี มศาลได 3. กรณีที่ตองชาํ ระคา ธรรมเนยี มศาล คกู รณีสามารถยน่ื คําขอตอ ศาลใหย กเวน คา ธรรมเนยี มได วา ตนไมม ที รพั ยส นิ เพยี งพอทจี่ ะจายเปนคา ธรรมเนยี มศาลได ภายใน 15 วันนับตง้ั แตวันรบั แจง หรือย่ืน อทุ ธรณค ําสง่ั น้ันตอศาลปกครองสูงสุดได 5. พระราชบัญญัติความรบั ผดิ ทางละเมิดของเจา หนา ที่รัฐ พ.ศ. 2539 1) เจตนารมณ/ หลกั การ/ แนวคิด การทเ่ี จาหนา ทดี่ าํ เนนิ กจิ การตา งๆ ของหนว ยงานของรฐั นั้น หาไดเ ปน ไปเพื่อประโยชนอ นั เปน การ เฉพาะตัวไม การปลอ ยใหความรบั ผิดทางละเมิดของเจาหนา ท่ี ในกรณีทป่ี ฏบิ ัตงิ านในหนา ที่และเกดิ ความ เสยี หายแกเ อกชนเปน ไปตามหลักกฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย จึงเปน การไม เหมาะสมกอ ใหเกดิ ความเขาใจผิดวา เจาหนา ท่ีจะตองรบั ผดิ ในการกระทาํ ตา งๆ เปนการเฉพาะตวั เสมอไป สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 178  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา เมอ่ื การทท่ี าํ ไปทําใหหนว ยงานของรฐั ตองรับผดิ ตอ บคุ คลภายนอกเพียงใดกจ็ ะมีการฟองไลเบย้ี เอาจาก เจาหนาท่ีเตม็ จํานวนนน้ั ทงั้ ท่ีบางกรณีเกดิ ข้นึ โดยความไมตง้ั ใจ หรอื ความผดิ พลาดเพียงเล็กนอยในการ ปฏิบตั ิหนา ท่ี นอกจากนน้ั ยงั มีการนําหลักเรอ่ื งลูกหนรี้ วมในระบบกฎหมายแพง มาใชบ งั คบั ใหเ จาหนาที่ ตอ งรว มรบั ผดิ ในการกระทาํ ของเจา หนา ทผ่ี อู นื่ ดวย ซ่ึงระบบน้ันมงุ หมายแตจ ะไดเงินครบ โดยไมคํานงึ ถงึ ความเปน ธรรมท่ีจะมตี อ แตละคน กรณี เปนการกอ ใหเกดิ ความไมเ ปนธรรมแกเจา หนาทแ่ี ละยังเปน การ บ่ันทอนกาํ ลังขวญั ในการทํางานของเจา หนา ทด่ี ว ย จนบางคร้ังกลายเปน ปญหาในการบรหิ ารเพราะเจา หนาที่ ไมก ลาตัดสนิ ใจดําเนินงานเทา ทีค่ วร เพราะเกรงความรบั ผิดชอบท่จี ะเกดิ แกตน อนึ่ง การใหคณุ ใหโทษแก เจา หนาทีเ่ พ่ือควบคมุ การทํางานของเจาหนาทยี่ ังมีวธิ ีการในการบรหิ ารงานบคุ คล และการดาํ เนินการทาง วินยั กาํ กบั ดูแลอีกสวนหน่ึงอนั เปนหลกั ประกนั มใิ หเ จาหนา ท่ที ําการใดๆ โดยไมรอบคอบอยแู ลว ดังนนั้ จงึ สมควรกําหนดใหเ จาหนา ที่ตองรบั ผดิ ทางละเมดิ ในการปฏบิ ัตงิ านในหนาทเ่ี ฉพาะเม่ือเปนการจงใจกระทาํ เพ่อื การเฉพาะตวั หรอื จงใจใหเ กิดความเสยี หายหรอื ประมาทเลินเลอ อยา งรา ยแรงเทานนั้ และใหแบง แยก ความรบั ผดิ ของแตล ะคน มิใหน ําหลกั ลกู หนร้ี ว มมาใชบ งั คบั ทงั้ นี้ เพอ่ื ใหเกิดความเปนธรรมและเพิ่มพูน ประสทิ ธิภาพ ในการปฏิบัติงานของรฐั 2) สาระสําคัญ กรณที เี่ กดิ ละเมดิ ขึน้ แกเอกชน ในกรณที ี่เจา หนาทไ่ี ดป ฏิบตั กิ ารไปตามหนาทีแ่ ลวเกดิ ละเมิดขึ้นแก เอกชนพระราชบัญญตั ินไี้ ดก ําหนดใหหนว ยงานของรฐั ทีเ่ จา หนา ทนี่ ั้นสังกดั อยูเ ปนผรู ับผิดชอบโดยตรง ในผลแหงละเมดิ น้ัน และผเู สยี หายสามารถฟอ งรองใหห นวยงานของรฐั ชดใชคาสนิ ไหมทดแทนแกตนได เทา น้ัน จะฟองรอ งเจา หนาท่ไี มไ ด หรือแมแตในกรณีท่เี จาหนา ท่ีน้ันไมไดสงั กดั หนวยงานของรฐั แหงใด ผเู สียหายกจ็ ะฟอ งเจาหนาท่ีน้ันโดยตรงไมได จะตอ งฟองกระทรวงการคลงั แทน แตถา การละเมิดนั้นไมไ ด เกดิ จากการกระทาํ ในการปฏบิ ตั หิ นาท่ี ผูเสียหายกจ็ ะตองฟอ งตัวเจาหนาท่ีผทู าํ ละเมิดเทานั้น จะฟอ งหนวย งานของรัฐไมไ ด อยางไรกด็ ี ในกรณที ่ีเกิดการละเมิดข้นึ แลว และผเู สยี หายไดฟอ งคดีตอศาล โดยฟองใหหนวยงาน ของรฐั รบั ผิดชดใชค า สินไหมทดแทนหากในกรณีนั้นหนวยงานของรัฐพิจารณาแลว เห็นวาเปนเรอื่ งท่ี เจา หนา ที่ ตอ งรบั ผดิ เปนสวนตัวหรอื เจาหนาทต่ี อ งรว มรบั ผดิ ในฐานะสว นตัวดวย หนวยงานของรฐั กม็ ีสทิ ธิ ขอใหศ าลเรียกเจาหนาท่เี ขามาเปน คคู วามในคดีได หรอื ถา ผูเ สยี หายฟอ งใหเ จา หนา ทช่ี ดใชคาสนิ ไหมทด แทนและในกรณนี ัน้ เจา หนาทีพ่ จิ ารณาแลว เหน็ วา เปนเรือ่ งทหี่ นว ยงานของรฐั ตองรบั ผดิ หรือตองรวมรบั ผิดดวย เจา หนาทก่ี ม็ สี ทิ ธขิ อใหศ าลเรียกหนว ยงานของรัฐเขามาเปน คูค วามในคดีไดเ ชน เดยี วกนั สําหรบั การ ฟองเรียกคา สินไหมทดแทนดังกลาวน้ี ผเู สียหายก็จะตอ งฟองเสยี ภายในเวลา 1 ป นับแตว นั ที่ผูเสียหายรูถงึ การละเมดิ และรตู ัวผจู ะตองชดใชคาสนิ ไหมทดแทน หรือภายใน 10 ป นับแตว นั ท่ีมกี ารทําละเมิด มฉิ ะน้นั กจ็ ะหมดอายุความฟอ งรอ ง ทั้งนี้ ตามมาตรา 448 แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย แตในคดีทีผ่ ูเ สยี หาย ฟอ งหนว ยงานของรัฐหรือเจาหนาทใ่ี หชดใชคาสนิ ไหมทดแทนนั้น ถา หากศาลพิจารณายกฟองเนอ่ื งจาก หนวยงานของรฐั หรอื เจา หนาทซี่ งึ่ ถกู ฟองน้ัน ไมใ ชผตู องรบั ผิดชดใชค าสนิ ไหมทดแทน อายคุ วามในการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 179  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา ฟองรองผูท่ตี อ งรับผดิ แตไมไดถ กู เรยี กเขา มาในคดีน้นั จะขยายออกไปอีกจนถงึ 6 เดอื น นับแตว นั ท่ีคํา พิพากษานั้นถึงท่สี ดุ สําหรับการเรียกรอ งใหห นวยงานของรัฐชดใชค า สนิ ไหมทดแทนน้ัน ผเู สยี หายไมจ ําเปน ตอ งฟองรอง เปน คดีตอศาลเสมอไป ผเู สียหายจะยน่ื คาํ ขอตอหนว ยงานน้ันเองเพอ่ื ใหพิจารณาชดใชค าสินไหมทดแทนก็ ไดใ นกรณีเชน นี้หนวยงานของรฐั ก็จะตอ งพจิ ารณาคาํ ขอน้ันโดยไมชกั ชา และตองใหแลว เสร็จภายใน 180 วันแตหากพิจารณาไมเ สร็จภายในกาํ หนดเวลาน้นั ก็ตอ งรายงานปญ หาและอปุ สรรคใหรฐั มนตรีเจา สังกัด หรอื รัฐมนตรีผกู ํากบั ดแู ลทราบและอาจขอขยายระยะเวลาออกไปไดอ ีก 180 วันเม่ือหนวยงานพิจารณา วินจิ ฉัยเปน ประการใดแลว หากผูเ สียหายไมพอใจก็สามารถรอ งทกุ ขต อ คณะกรรมการวินิจฉยั รองทกุ ข ตอ ไปไดภ ายใน90 วนั นับแตวนั ท่ไี ดรบั แจงคําวินจิ ฉยั ของหนว ยงานของรฐั หรอื ผเู สยี หายกม็ สี ิทธนิ าํ คดไี ป สูศาลปกครอง ไดภายในกาํ หนดเวลาดงั กลา วเชน เดยี วกนั แมวา เจา หนาท่จี ะไมต อ งรับผดิ โดยตรงตอ ผูเสียหายในการชดใชค า สนิ ไหมทดแทนก็ตามแตก็ไมไ ด หมายความวา เจา หนาทจี่ ะหลดุ พนจากความรับผดิ ทั้งหมดไปเสยี ทีเดยี ว กลา วคอื เจาหนาทต่ี อ งรับผดิ ชอบ ในจํานวนคาสินไหมทดแทนนั้นดว ย ถาหากตนไดก ระทําใหเกดิ การละเมดิ ขึน้ ดวยความจงใจหรือประมาท เลนิ เลอ อยา งรา ยแรง ในกรณีเชนน้ีเม่อื หนวยงานของรฐั ไดช ดใช คาสนิ ไหมทดแทนใหแ กผเู สียหายไปแลว ก็มีสทิ ธิมาไลเบีย้ เอาแกเจาหนา ทไี่ ด แตหนวยงานของรัฐจะมสี ิทธไิ ลเบย้ี ไดมากนอยเพยี งใดนัน้ จะตอ ง พจิ ารณาถงึ ระดับของความรา ยแรงแหง การกระทาํ และความเปนธรรมในแตละกรณเี ปนเกณฑ โดยเจา หนาที่ อาจจะไมตอ งถูกไลเบ้ยี จนเตม็ จํานวนของความเสียหายก็ได และถา การละเมดิ นน้ั เกดิ จากความผิดหรอื ความ บกพรองของหนวยงานของรฐั หรอื เกดิ จากระบบการดาํ เนินงานสวนรวม กต็ อ งหกั สวนแหงความรับผดิ น้ัน ออกเสียดวยจะใหเจาหนาทตี่ องรบั ผิดชดใชคา สนิ ไหมทดแทนในสวนนไ้ี มได นอกจากน้นั ถา การละเมิดเกิด จากการกระทําของเจา หนาที่หลายคน เจาหนา ทแี่ ตละคนก็จะรับผิดชอบแตเฉพาะการละเมิดในสว นที่ตน เปน ผกู ระทําเทา นัน้ ไมต องรวมรบั ผดิ ไปถึงในสว นที่คนอนื่ เปนผูก ระทําดว ย คอื ไมใ หถ ือวาเจา หนา ทท่ี กุ คน เปนลูกหนร้ี ว มกนั ในมลู ละเมิดนน้ั หรอื ถา เจาหนาท่ไี ดชดใชค าสนิ ไหมทดแทนใหแกผูเสยี หายไปกอน เจาหนา ทกี่ ม็ สี ิทธิมาไลเบยี้ เอาจากหนวยงานของรัฐไดในทาํ นองเดียวกันสิทธิในการไลเ บีย้ ในท้ังสองกรณี นีม้ ีอายคุ วาม 1 ปน บั แตว นั ทห่ี นว ยงานของรัฐหรือเจา หนาที่ไดช ดใชคาสินไหมทดแทนใหแ กผเู สียหาย ในกรณีทห่ี นวยงานของรฐั ไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแ กผเู สียหายไปแลว และเปน กรณที เี่ จา หนา ท่ี ตอ งรบั ผิดชดใชค า สนิ ไหมทดแทนนน้ั ดวย หนว ยงานของรัฐก็มอี ํานาจออกคาํ สงั่ เรียกใหเ จา หนาท่ชี ําระเงิน คาสนิ ไหมทดแทนดงั กลา วภายในเวลาทก่ี าํ หนดไดโ ดยไมตอ งฟอ งคดีตอ ศาล กรณีที่เกดิ ละเมดิ ขึ้นแกห นวยงานของรฐั ในกรณที ่เี จา หนาทีไ่ ดก ระทาํ ละเมิดตอหนวยงานของรฐั ไมว าจะเปนหนวยงานของรฐั ที่เจา หนาท่นี ้นั สังกัดอยู หรอื หนว ยงานอื่นของรัฐกต็ ามถาการละเมดิ นัน้ ไมได เกิดจากการกระทําในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี กรณีก็ตองบังคบั กันไปตามบทบญั ญัตแิ หง ประมวลกฎหมายแพง และ พาณิชย อนั เปนหลักท่ัวไปในเร่อื งละเมดิ แตถ าเกิดจากการกระทาํ ในการปฏิบตั หิ นา ท่ีแลวการจะเรียกให สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 180  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา เจาหนาที่นนั้ ตอ งรับผิดชดใชคาเสียหายก็ตอ งพิจารณาไปตามหลักเกณฑเ ดียวกนั กบั กรณที เี่ จาหนา ท่ีกระทาํ ละเมิดตอเอกชนทก่ี ลาวไวแลว ขา งตน กลา วคือเจา หนาทีจ่ ะตอ งรับผดิ ชดใชคา สินไหมทดแทนใหแกหนว ย งานของรฐั กต็ อเมอ่ื ไดกระทําไปโดยจงใจหรือประมาทเลนิ เลออยางรายแรงเทา น้ัน หากไมไ ดจงใจหรอื ไม ไดประมาทเลนิ เลออยางรายแรง หรือประมาทเลินเลอเรอื่ งเล็กนอยตามปกตธิ รรมดาเจาหนาที่กไ็ มตองรับ ผดิ ชดใชคาสนิ ไหมทดแทนใหแกห นว ยงานของรัฐสาํ หรบั กรณีทเ่ี จาหนา ท่ีตอ งรบั ผดิ การจะเรยี กใหเจาหนา ทช่ี ดใชคาสินไหมทดแทนไดเ ทาใดก็จะตองพจิ ารณาถงึ ระดับความรา ยแรงแหง การกระทาํ และความเปน ธรรมในแตละกรณไี ป เจาหนาทอี่ าจไมตองชดใชจนเต็มจํานวนกไ็ ดและถา หนว ยงานของรัฐหรือระบบ การดาํ เนินงานสว นรวมก็มสี วนผดิ หรือมคี วามบกพรอ งอยูดว ย ก็ตอ งหักสวนแหงความรับผดิ นั้นออกจะให เจาหนา ที่ตองรับผิดชอบในสวนนไ้ี มไ ด รวมทง้ั ในกรณที ีก่ ารละเมิดนนั้ เกดิ จากเจา หนา ท่หี ลายคนเจาหนาที่ แตละคนก็รับผิดเฉพาะสว นทตี่ นไดก ระทําละเมดิ เทา นนั้ ไมต องรบั ผิดอยางลกู หนี้รว ม แตไ มว าการละเมิด นน้ั จะเกิดจากการกระทาํ ในทางปฏิบัติหนา ที่หรือไมก ต็ ามสิทธเิ รยี กรองคา สนิ ไหมทดแทนในท้งั 2 กรณนี ้นั จะมอี ายุความ 2 ป นบั แตวันทีห่ นว ยงานของรฐั รถู งึ การละเมดิ และรูตวั เจา หนาท่ี ผูจะพึงตองชดใชค าสนิ ไหมทดแทน อยางไรกด็ ใี นกรณีหนวยงานของรัฐทเ่ี สียหายเหน็ วาเจา หนา ที่ไมตองรับผิดแตกระทรวงการ คลังตรวจสอบแลวเห็นวา เจาหนาท่ีตองรับผิด อายุความในการใชส ทิ ธเิ รยี กรองคา สินไหมทดแทนจะมี กําหนด 1 ปน บั แตวนั ท่ีหนวยงานของรัฐมคี าํ ส่ังตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ในกรณีท่เี จาหนาทีก่ ระทําการละเมิดตอ หนว ยงานของรัฐอนั เปน การกระทาํ ในการปฏบิ ัตหิ นา ที่ หนว ยงานของรัฐก็มอี าํ นาจออกคําสง่ั ใหเจา หนา ท่นี ัน้ ชําระเงินคาสนิ ไหมทดแทน ภายในเวลาทก่ี าํ หนดได โดยไมต อ งฟองคดีตอศาลในทาํ นองเดยี วกับการใชส ทิ ธิไลเ บ้ียในกรณีท่ีเกิดการละเมิดข้นึ แกเอกชนดังกลาว ขา งตน แตถา ไมไ ดเ ปนการกระทาํ ในการปฏบิ ตั ิหนา ที่ หนว ยงานของรัฐก็ไมมอี ํานาจเชนนัน้ ตอ งฟอ งรอ ง เปนคดีไปตามปกติ 6. พรบ.รบ.บริหารราชการแผน ดนิ พ.ศ. 2534 และแกไขเพ่มิ เตมิ (ฉ.5) พ.ศ. 2545 และ(ฉ.6) พ.ศ. 2546 มสี าระสาํ คญั ดังนี้ สว นที่ 1 การจดั ระเบียบบริหารราชการสวนกลาง (มาตรา 7-8) หมวด 1 การจดั ระเบยี บราชการในสาํ นกั นายกรฐั มนตรี (มาตรา 9-17) หมวด 2 การจดั ระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง (มาตรา 18-24) หมวด 3 การจัดระเบียบราชการซ่งึ สังกัดสํานกั นายกรัฐมนตรหี รอื กระทรวง (มาตรา 25-30) หมวด 4 การจดั ระเบยี บราชการในกรม (มาตรา 31-37) หมวด 5 การปฏิบตั ริ าชการแทน (มาตรา 38-40) หมวด 6 การรักษาราชการแทน (มาตรา 41-50) สวนท่ี 2 การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการสวนภมู ิภาค (มาตรา 51) หมวด 1 จงั หวดั มาตรา (52-60) หมวด 2 อาํ เภอ (มาตรา 61-68) สอบครดู อทคอม

181  คูมอื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา สว นที่ 3 การจดั ระเบียบบริหารราชการสวนทอ งถิ่น (มาตรา 69-71) บทเฉพาะกาล (มาตรา 72-75) สาระสาํ คัญของพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผนดินท่ีควรทราบ มีดังนี้ มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญตั นิ ีต้ องเปนไปเพ่อื ประโยชนส ุขของประชาชน เกิด ผลสมั ฤทธิต์ อภารกิจของรัฐ ความมปี ระสิทธิภาพ ความคมุ คาในเชิงภารกจิ แหง รัฐ การลดข้นั ตอนการปฏิบตั ิ งานการลดภารกิจและยบุ เลกิ หนวยงานที่ไมจ าํ เปน การกระจายภารกิจทรัพยากรใหแ กท อ งถ่ิน การกระจาย ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com อาํ นาจตดั สนิ ใจ การอํานวยความสะดวก และการตอบสนองความตองการของประชาชน ท้งั นี้ โดยมีผูรบั ผิด ชอบตอ ผลของงาน การจดั สรรงบประมาณ และการบรรจแุ ละแตง ต้งั บุคคลเขา ดํารงตําแหนง หรือปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ตอ งคํานึงถงึ หลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏบิ ตั ิหนา ทข่ี องสวนราชการ ตอ งใชวธิ ีการบริหารกิจการบาน เมอื งท่ดี ี โดยเฉพาะอยางย่งิ ใหค ํานงึ ถึงความรับผดิ ชอบของผปู ฏิบตั ิงาน การมสี วนรวมของประชาชน การ เปดเผยขอ มลู การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ตามความเหมาะสมของแตละภารกจิ มาตรา 7 ใหจ ดั ระเบียบบริหารราชการสว นกลาง ดงั น้ี 1) สํานักนายกรฐั มนตรี 2) กระทรวง หรอื ทบวงซงึ่ มฐี านะเทยี บเทา กระทรวง 3) ทบวง ซ่งึ สงั กดั สาํ นกั นายกรัฐมนตรหี รอื กระทรวง 4) กรม หรือสวนราชการท่เี รยี กชอื่ อยา งอ่นื และมฐี านะเปนกรม ซึ่งสงั กัดหรือไมสังกัดสํานัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรอื ทบวง สํานักนายกรฐั มนตรีมีฐานะเปนกระทรวง สว นราชการตาม 1) 2) 3) และ 4) มีฐานะเปนนิตบิ คุ คล มาตรา 8 การจัดต้งั การรวม หรือการโอนสว นราชการตาม มาตรา 7 ใหตราเปนพระราชบัญญัติ การ จัดต้ังทบวงโดยใหสังกัดสํานกั นายกรัฐมนตรีหรอื กระทรวง ใหระบไุ วในพระราชบญั ญัตดิ วย การจัดต้งั กรม หรอื สวนราชการทเี่ รยี กชื่ออยางอน่ื และมฐี านะเปน กรม ซ่งึ ไมส งั กดั สํานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรอื ทบวง ใหร ะบกุ ารไมสงั กัดไวในพระราชบัญญตั ิดวย มาตรา 51 ใหจ ัดระเบยี บบริหารราชการสวนภูมภิ าค ดงั นี้ 1) จังหวัด (มฐี านะเปนนติ บิ ุคคล) 2) อําเภอ มาตรา 70 ใหจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการสวนทองถน่ิ (มีฐานะเปน นิติบคุ คล) ดังนี้ 1) องคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั 2) เทศบาล 3) สขุ าภบิ าล 4) ราชการสว นทองถิ่นอน่ื ตามที่มกี ฎหมายกําหนด เชน - องคการบริหารสว นตาํ บล - กรุงเทพมหานคร หรือ - เมอื งพัทยา เปน ตน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 182  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 8. พระราชบญั ญัติปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มีสาระสาํ คัญ ดังน้ี หมวด 1 สาํ นักนายกรัฐมนตรี (มาตรา 6-7) หมวด 2 กระทรวงกลาโหม (มาตรา 8-9) หมวด 3 กระทรวงการคลงั (มาตรา 10-11) หมวด 4 กระทรวงการตางประเทศ (มาตรา 12-13) หมวด 5 กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกฬี า (มาตรา 14-15) หมวด 6 กระทรวงการพฒั นาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย( มาตรา 16-17) หมวด 7 กระทรวงเกษตรและสหกรณ (มาตรา 18-19 ) หมวด 8 กระทรวงคมนาคม (มาตรา 20-21) หมวด 9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม (มาตรา 22-23) หมวด 10 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (มาตรา 24-25 ) หมวด 11 กระทรวงพลงั งาน( มาตรา 26-27) หมวด 12 กระทรวงพาณิชย (มาตรา 28-29 ) หมวด 13 กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 30-31) หมวด 14 กระทรวงยตุ ิธรรม (มาตรา 32-33 ) หมวด 15 กระทรวงแรงงาน (มาตรา 34-35) หมวด 16 กระทรวงวฒั นธรรม (มาตรา 36-37 หมวด 17 กระทรวงวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ม.38-39 ) หมวด 18 กระทรวงศึกษาธกิ าร (มาตรา 40-41 ) หมวด 19 กระทรวงสาธารณสขุ (มาตรา 42-43) หมวด 20 กระทรวงอุตาหกรรม (มาตรา 44-45) หมวด 21 ไมส งั กัดสํานกั นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม (มาตรา 46) บทเฉพาะกาล มาตรา (47-60) สาระสาํ คัญของพระราชบัญญัตปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 ที่ควรทราบมดี ังน้ี มาตรา 40 กระทรวงศึกษาธกิ าร มีอํานาจหนาที่เกย่ี วกบั การสง เสริมและกาํ กับดูแลการศึกษาทุกระดับ และทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา สงเสริม และประสานงานการศาสนา ศิลป วฒั นธรรม และการกฬี า เพอ่ื การศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา และราชการอ่นื ตามท่ีมีกฎหมายกําหนดใหเปน อํานาจหนาที่ของ กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร หรือสวนราชการท่ีสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 183  คูม ือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา มาตรา 41 การจัดระเบียบราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดว ยการนัน้ (พรบ.ระเบยี บบริหารราชการกรทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546) มาตรา 46 สวนราชการไมสงั กัดนายกรฐั มนตรี กระทรวง หรือทบวง มดี งั ตอไปน้ี 1) สาํ นกั ราชเลขาธกิ าร มอี ํานาจหนาท่ีเก่ียวกบั การเลขานกุ ารในพระองคพระมหากษัตริย 2) สํานักพระราชวงั มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกบั การจดั การพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรพั ยสนิ และผลประโยชนข องพระมหากษตั รยิ  3) สํานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหงชาติ มอี ํานาจหนาทเี่ กยี่ วกับกิจการพระพทุ ธศาสนา สง เสรมิ พฒั นาพระพุทธศาสนาและดแู ลรกั ษาศาสนสมบตั ติ ามกฎหมายวาดวยคณะสงฆ 4) สํานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ มีอํานาจ หนาที่เก่ียวกับการประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎกี า 5) สํานกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหงชาติ มอี ํานาจหนา ที่เกยี่ วกบั การวจิ ัยและอํานาจหนาทที่ ่ี กําหนดไวในกฎหมาย 6) ราชบณั ฑิตยสถาน มอี าํ นาจหนาทเ่ี กยี่ วกับการคนควา วิจัย และเผยแพรทางวชิ าการ 7) สาํ นกั งานตํารวจแหงชาติ มีอํานาจหนา ที่เกย่ี วกับการรักษาความสงบเรียบรอ ย 8) สํานักงานปองกนั และปราบปรามการฟอกเงิน มีอํานาจหนาทีเ่ ก่ยี วกับการดาํ เนนิ การใหเปน ไป ตามมติของคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการฟอกเงินและคณะกรรมการธรุ กรรม 9) สํานกั งานอัยการสูงสดุ มีอํานาจหนา ท่ีเกย่ี วกับการดําเนนิ คดีอาญาท้งั ปวง ดําเนินคดีแพง และ ใหค าํ ปรึกษาดานกฎหมายแกร ฐั บาลและหนวยงานของรัฐ สวนราชการท่ี 1) 2) 3) 4) 5) 6) และ 7) มีฐานะเปน กรม อยใู นบังคับบญั ชาของนายกรัฐมนตรี สวนราชการท่ี 8) และ 9) มีฐานะเปน กรม อยใู นบังคับบัญชาของรฐั มนตรวี าการกระทรวงยตุ ิธรรม 9. พรบ.กําหนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอํานาจใหแ กองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน พ.ศ. 2542 1) เจตนารมณ / หลักการ / แนวคดิ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทยไดบ ัญญัตใิ หม ีกฎหมายกาํ หนดแผนข้นั ตอนการกระจายอาํ นาจ เพอ่ื พัฒนาการกระจายอาํ นาจใหแกท องถิ่นเพ่มิ ขนึ้ อยา งตอเนื่อง โดยมสี าระสําคญั เกี่ยวกบั การกําหนด อาํ นาจหนา ทใ่ี นการจัดระบบการบรหิ ารสาธารณะและการจัดสรรสดั สว นภาษีอากรขององคก รปกครอง สวนทองถ่ิน(อปถ.) และใหมคี ณะกรรมการเพื่อทาํ หนาทีด่ ังกลาว 2) สาระสาํ คัญ 2.1 องคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ หมายถงึ ทองถน่ิ เปนอสิ ระในการปกครองตนเอง ตามเจตนารมณ ของประชาชนในทองถนิ่ สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 184  คูมือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 2.2 รปู แบบองคก รปกครองสวนทอ งถิ่นของไทย เปนองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล องคการบรหิ าร สวนจังหวดั เทศบาลตาํ บล เทศบาลเมอื ง เทศบาลนคร กรงุ เทพมหานคร เมืองพัทยา 2.3 องคก รปกครองสวนทอ งถิ่นมีความอิสระในการกาํ หนดนโยบาย การปกครอง การบรกิ าร การบริหารงานบคุ คล การเงินและการคลงั รวมท้งั มอี ํานาจของตนเองโดยเฉพาะ 2.3.1 จัดทาํ แผนการกระจายอาํ นายและแผนปฏิบตั ิการเพ่ือขอความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรี และรายงานตอ รฐั สภา 2.3.2 กาํ หนดการจดั ระบบการบริการสาธารณะ 2.3.3 ปรับปรุงสดั สว นภาษี อากร และรายได 2.3.4 กําหนดหลกั เกณฑแ ละขนั้ ตอนการถา ยโอนภารกิจจากสว นกลาง และราชการสวนภูมิ ภาคใหแกองคก รปกครองสวนทอ งถิน่ 2.3.5 ประสานการถายโอนขาราชการ ขา ราชการสวนทอ งถน่ิ และพนักงานรฐั วสิ าหกิจ 2.3.6 เสนอแนะตอ คณะรฐั มนตรีใหม กี ารกระจายอาํ นาจ การอนมุ ตั ิหรือการอนุญาตตามที่ กฎหมายบญั ญตั ิ 2.3.7 เสนอแนะมาตรการดา นการเงิน การคลัง การภาษีอากร การงบประมาณและการรกั ษา วินยั ทางการเงนิ การคลัง ขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ 2.3.8 เสนอแนะและเรงรัดการตราพระราชบญั ญัติ พระราชกฤษฎีกา ออกกฎกระทรวง ประกาศ ขอ บงั คบั 2.3.9 เสนอแนะตอ คณะรัฐมนตรีใหจ ัดเงนิ งบประมาณทีจ่ ดั สรรเพม่ิ ขน้ึ ใหแกองคกรปกครอง สว นทอ งถ่นิ เน่อื งจากการถายโอนภารกจิ สวนกลาง 2.3.10 พจิ ารณาหลกั เกณฑการจดั สรรเงนิ อดุ หนุนใหแ กองคกรปกครองสว นทองถนิ่ และจัด ระบบตรวจสอบและการมีสว นรวมของประชาชนในทองถ่นิ 2.4 การกําหนดอํานาจและหนาทใ่ี นการจัดระบบการบริการสาธารณะ เปน การกาํ หนดอาํ นาจหนา ท่ี ขององคป กครองสวนทองถ่ิน ไดแ ก เมืองพัทยา กรงุ เทพมหานคร องคก ารบริหารสวนจงั หวดั องคก าร บรหิ ารสวนตําบล ใหรบั ผิดชอบดําเนนิ การในกิจการท่ีไดร บั จากหนว ยราชการและรัฐวิสาหกจิ ยกเวน กิจการ ทหารศาลยตุ ธิ รรม และอัยการ 2.5 การจดั สัดสวนภาษีและอากร เปนการแบง รายไดใ หก บั องคกรปกครองสว นทองถน่ิ ตามลกั ษณะ ขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ ประเภทตางๆ ไดแ ก ภาษโี รงเรอื น ท่ดี ิน ปาย และบํารงุ ทอ งท่ี ภาษีธุรกจิ คา ธรรมเนยี มรถยนต อากรตา งๆ คา ภาคหลวง คาธรรมเนยี ม การจดทะเบยี นและนติ กิ รรม คาธรรมเนยี มการ ขออนุญาตและใบอนญุ าตตางๆ ฯลฯ 2.6 แผนการกระจายอาํ นาจใหแ กองคก รปกครองสวนทอ งถิ่น 2.6.1 ใหถ ายโอนกิจการบริหารสาธารณะท่รี ฐั ดาํ เนินการแกองคก รปกครองสวนทองถน่ิ ภายใน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 185  คูม อื เตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 4 ป ไดแ ก ภารกจิ ซาํ้ ซอน ภารกิจท่รี ฐั จัดใหบ รกิ ารในเขตขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ และกระทบ ถึงองคก รปกครองสว นทองถ่ิน และภารกิจทด่ี าํ เนนิ งานตามนโยบายของรัฐบาล 2.6.2 กาํ หนดขอบเขตความรบั ผิดชอบในระยะแรก อาจคาํ นงึ ถงึ ความพรอ มขององคก ร ปกครองสว นทองถ่ินแตละแหง ตามสภาพและปจ จัยอน่ื ๆ แตทัง้ นต้ี องไมเ กนิ ระยะเวลา 10 ป 2.6.3 กาํ หนดการจัดสรรภาษอี ากร เงินอดุ หนุนและรายไดอน่ื ใหแกอ งคก รปกครองสว น ทองถน่ิ โดยภายใน พ.ศ. 2544 ใหองคกรปกครองสว นทองถิน่ มรี ายไดเ พ่ิมข้นึ คิดเปนสดั สว นตอ รายได ของรฐั บาล ไมนอ ยกวารอยละยส่ี บิ และภายใน พ.ศ. 2549 มรี ายไดเ พมิ่ ข้นึ คดิ เปน สดั สวนตอรายไดของ รฐั บาล ไมน อ ยกวา รอ ยละสามสบิ หา (ขอนี้ถูกยกเลกิ โดย ฉบับที่ 2 แลว) 2.6.4 ใหร ัฐจัดสรรเงินอดุ หนุนใหก ับองคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ ในการจดั ตั้งงบประมาณ ประจําป 10. พรบ.กําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอาํ นาจใหแ ก อปถ. (ฉบับท2ี่ ) พ.ศ. 2549 พรบ.กําหนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอาํ นาจใหแก องคกรปกครองสวนทองถิน่ (ฉบับที2่ ) พ.ศ. 2549 มีผลบงั คบั ใชว นั ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2550 มสี าระสาํ คัญคือ ยกเลิกความในขอ (4) มาตรา 30 ของพระราชบัญญตั ิกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจให แก องคก รปกครองสว นทองถน่ิ พ.ศ. 2542 โดยกําหนดการจดั สรรภาษีและอาการ เงินอดุ หนุนและรายไดอน่ื ใหแ กอ งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ เพอ่ื ใหสอดคลองกบั การดาํ เนินการตามอํานาจหนาทข่ี อง อปถ. แตล ะ ประเภทอยางเหมาะสม โดยตง้ั แตป ง บประมาณ 2550 เปนตนไป ใหอ ปถ.มีรายไดค ดิ เปน สัดสวนตอ รายได สทุ ธิของรัฐบาลไมน อยกวารอ ยละยี่สิบหา (25) โดยมีจุดมุงหมายทจ่ี ะให อปถ.มรี ายไดเพ่ิมขนึ้ คิดเปน สัดสว น ตอ รายไดสุทธิของรัฐบาลในอัตราไมนอยกวารอยละสามสิบหา(35) โดยการจัดสรรสดั สว นทเ่ี ปน ธรรมแก อปถ.และคํานึงถึงรายได อปถ. น้นั ดว ย การเพม่ิ สดั สว นรายไดของ อปถ.ตอ รายไดสุทธิของรฐั บาลตามวรรคหนึง่ ใหเ พ่ิมขนึ้ ตามระยะเวลา ที่เหมาะสมแกการพฒั นาให อปถ.สามารถดําเนินการกจิ การสาธารณะไดด ว ยตนเอง และใหเ ปนไปตาม ภารกิจท่ีถา ยโอนใหแ ก อปถ.ทถี่ า ยโอนเพิม่ ข้นึ ภายหลงั ปง บประมาณ 2549 เปนตนไป แตไมสากรณีจะเปน ประการใด เงนิ อุดหนนุ ทจี่ ดั สรรใหต องมจี ํานวนไมนอยกวาเงนิ อุดหนนุ ที่ อปถ.ไดรบั จัดสรรในปง บ ประมาณ 2549 สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 186  คูม อื เตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา กฎหมายปฏิบตั ิราชการระดับสถานศึกษา 1. พระราชบญั ญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 เปน กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาภาคบงั คบั สรุปสาระสาํ คัญดังนี้ 1. กอนเขาเรียน 1 ป คณะกรรมการเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ตอ งจดั ทาํ 1) ทาํ ประกาศสง เดก็ เขาเรียน - นบั อายุตามกฎ ศธ. (ครบ7ปบริบรู ณป ใ ด=ยา งเขา ปที่ 7 ในปนั้น) (ปเกิด มค. - ธค.+7 = ปก ารศึกษาเขา เรยี น) 2) จดั สรรโอกาสเขาเรยี นระหวา ง รร.การศึกษาภาคบงั คบั (สาํ หรบั เด็ก ป.6 เขา ตอ ม.3) 3) แจง สถานศึกษา ปดประกาศ ( - สพท. - สาํ นักงาน อปถ. - สถานศึกษา - แจงเปนหนงั สอื ให ผปู กครองทราบ - สพท . รร. ประชาสัมพนั ธ) 2. ผูปกครองฯ ผูม เี ด็กอยอู าศัยดว ยขอผอ นผันการสง เดก็ เขาเรยี น (กรณจี ําเปน ) 1) เขา เรยี นกอนอายุยางเขา ปที7่ ( - จบการศึกษากอ นประถมศกึ ษา - ไมจ บแตผปู กครองรอ งขอ/ผาน เกณฑก ารประเมินความพรอม ท่กี ก.เขตฯกําหนด) 2) เขาเรยี นหลังอายยุ างเขาปที7่ / ตอ ม.1 ( - โรคติดตอ รายแรงเปน อุปสรรค ตอ งรักษาตัวนาน - จาํ เปน /เหตสุ ุดวสิ ัยอน่ื ใด) 1.3 ยืน่ ตอ ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา และใหผ ูบรหิ ารพิจารณาโดยต้งั กรรมการ - คณะกรรมการ 5 คน พิจารณา ตามหลกั เกณฑ (กก.เขตฯกาํ หนด) (ผอ.เปน ประธาน + ครู ป.1+ กรรมการ 2 คน (ผปู กครอง 1 คน)+ รอง ผอ.ฯ เปน กก. และเลขานุการ) - แจงผลใหผ ปู กครองทราบ 1.4 ผปู กครองท่ีมเี ด็กในวยั การศึกษาภาคบงั คบั ( - สงเดก็ เขา เรียนในวันแรก เวนแตเหตุจําเปนสดุ วสิ ัย - ภายใน มิถุนายน (ขอ มูล10 มิย.) รร.รายงาน สพท. 1.5 ไมเปนผปู กครองฯ ผทู ีม่ เี ด็กอาศยั อยดู ว ย (แจง สพท.ภายใน 30 วนั นบั แตเ ดก็ มาอยดู ว ย) 1.6 ผูปกครองไมส ง เด็กเขาเรยี น - ป.1+ ม.1 ภายใน 7 วนั ไมสง ทาํ หนงั สอื แจง เตอื น รายงาน กก.เขต - ยังไมเขาเรียน สพท. แจงเตอื นสงเด็กโดยพลนั - ยงั ไมเขา เรยี น สพท. แจงประสานเจาหนา ทตี่ าม พรบ.ฯ ตรวจสอบติดตาม 1.7 เจาหนา ท่ตี ามกฎหมาย (ประกาศ ศธ.) 7 คน - ผอ.สพท. - ผูบ รหิ าร รร. – กาํ นันผูใหญบ า น - เปน เจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา - ตรวจกลางวัน/แสดงบัตร/ยืน่ หนงั สือ/กรอกขอ มูล - แจงใหส งเด็กเขา เรียน 1.8 ผปู กครองไมสงเด็กเขา เรียน( ปรบั ไมเ กิน 1 พันบาท (ม.13)) สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 187  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 1.9 ผูมีเดก็ อยูอาศัยดว ย /ไมรายงาน/ ใหขอมูลเทจ็ ( ปรบั ไมเ กิน 1 หมืน่ บาท (ม.16)) 1.10 ไมอ ํานวยความสะดวกใหเจาหนา ทตี่ ามกฎหมาย ( ปรบั ไมเกนิ 1 พนั บาท (ม.14)) 1.11 กระทําการไมใหเ ด็กเขาเรยี น (ปรับไมเ กนิ 1 หมนื่ บาท (ม.15)) 1.12 การติดตามเด็กขาดเรียน หากนกั เรียนหยดุ เรยี นติดตอกนั เกนิ 5 วัน หยุดเรยี นเกิน 7 วันใน 1 เดือน (รร.แจงสงเด็กเขา เรยี น โดยพลนั ) เตือน 2 ครั้งแลว แจง สพท. สพท.ตดิ ตาม/ดาํ เนินการตามอาํ นาจหนา ท่ี 1.13 การจาํ นายเดก็ มี 5 สาเหตหุ รือกรณี 1) ยายโรงเรยี น 2) ถงึ แกก รรม 3) หยุดเรียนติดตอนาน ไมมีตัวตน (กรณ1ี -3 ขอจําหนายตอ สพท.) 4) อายุพน เกณฑก ารศึกษาภาคบังคบั 5)จบการศกึ ษา (ป.6 /ม.3)(กรณี 4 - 5 รร.จําหนา ย รายงาน สพท.) 2. ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวาดวยการลงโทษ นร.นศ. พ.ศ. 2548 ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวาดวยการลงโทษ นร.นศ. พ.ศ. 2548 มสี าระสําคญั ดังน้ี 1) นักเรียนทกี่ ระทาํ ความผดิ ตองถกู ลงโทษ ไดแ ก การประพฤตฝิ า ฝนระเบยี บขอบังคบั สถานศึกษา (โรงเรียนตอ งออกระเบียบ) และไมเ ปนไปตาม กฎ ศธ.วาดวยความประพฤติ นร. 2) โทษมี 4 สถาน 1) วา กลาวตักเตอื น: ผิดไมร ายแรง 2) ทาํ ทณั ฑบน: ผดิ รบ.รร. ศธ,เสียชอื่ เสียง,เตอื นแลว, เปน หนังสอื เชิญบิดามารดามารบั รอง 3) ตัดคะแนนความประพฤต:ิ ตามรบ.รร. บันทกึ ขอมลู 4) ทาํ กจิ กรรมเพือ่ ปรับพก:สมควรปรบั เปลย่ี น/ศธ.ระบุ 3) สาํ หรับการลงโทษ 1) ขอ หา ม: วธิ ีรุนแรง แบบกลนั่ แกลง โกรธพยาบาท ขอ คํานงึ : อายแุ ละความรา ยแรงพฤตกิ ารณ 2) เจตนาแกนิสยั ความประพฤติทไ่ี มดีใหสํานักในความผดิ ประพฤติตัวเปน คนดี 3) ผูบ รหิ ารหรือผทู ่ผี บู รหิ ารฯมอบหมาย:ลงโทษ 3. กฎกระทรวงวาดว ยความประพฤติ นร. นศ. พ.ศ. 2548 กฎกระทรวง นก้ี าํ หนดวานกั เรียนตองไมประพฤติตนผิด 9 ประการดงั นี้ 1) หนีเรียน ออกนอกโรงเรียน/ไมไ ดร บั อนญุ าต 2) เลน/จัดใหมีการเลนพนันผดิ กาํ หมาย 3) พกพาอาวุธ/ระเบดิ /ไมใชแ ตป ระทุจรา ยได 4) ซอื้ จําหนาย แลกเปลี่ยนเสพสุรา บุหร่ี ยาเสพตดิ 5) ลกั ทรัพย กรรโชก ขมขู บงั คับขนื ใจ รดี ไถ 6) กอเหตทุ ะเลาวิวาท ทาํ รา ยรางกาย เตรียมการ 7) แสดงพฤติกรรมชูส าว ในทส่ี าธารณะ 8) คาประเวณี 9) ออกนอกทพ่ี ักเท่ียวเตร รวมกลมุ สรา งความเสียหาย สอบครดู อทคอม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook