Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

1 คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-06 14:51:28

Description: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา
#ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา
#คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Keywords: คู่มือ แนวข้อสอบ ผู้บริหารสถานศึกษา,ข้อสอบผู้บริหารสถานศึกษา,คู่มือผู้บริหารสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 39  คูม ือเตรียมสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 40  คมู ือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา 4. การพัฒนาสมรรถนะ (Competency) ตามหลักสตู รการพฒั นาเพอ่ื ใหม ีและเลอื่ นวิทยฐานะชํานาญการ พเิ ศษและเชยี่ วชาญ สํานักงานคณะกรรมการขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ไดกาํ หนดหลกั เกณฑวิธกี ารพัฒนา ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอนแตงตั้งใหมีหรอื เลอ่ื นวทิ ยฐานะชาํ นาญการพิเศษและเชยี วชาญ ตามหนงั สือสาํ นกั งานคณะกรรมการขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ท่ี ศธ.0206.2 / ว.2 ลงวันท่ี 13 มกราคม 2549 โดยกาํ หนดใหม กี ารพฒั นาสมรรถนะ (Competency) ตามโครงสรางหลกั สตู รและเนื้อหา พอสังเขปดงั น้ี การนําหลักสมรรถนะ (Competency) มาใชในการประเมินบุคลากร การนำหลักสมรรถนะ (Competency) มาใชใ นการประเมินเพือ่ ใหม ีและเล่อื นวิทยฐานะขาราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามวี ทิ ยฐานะและเล่อื นวิทยฐานะ โดยทีม่ าตรา 54 แหง พระราชบญั ญัตริ ะเบียบขาราชการครูบุคลากรทางการศกึ ษาพ.ศ. 2547 กาํ หนดวา การใหขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีวทิ ยฐานะใด และการเลอ่ื นเปนวิทยฐานะใด ตอ งเปน ไปตามมาตรฐานวทิ ยฐานะ ตามมาตรา 42 ซึ่งผานการประเมิน ทงั้ น้ี ใหค าํ นึงถงึ ความประพฤติ ดา นวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี ประสบการณ คุณภาพการปฏบิ ัติงานความชํานาญ ความเชย่ี วชาญ ผลงานทเ่ี กิดจากการปฏิบัตหิ นา ท่ีในดานการเรียน การสอน ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 41  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา ท่ี ก.ค.ศ.กาํ หนด ก.ค.ศ. จงึ กําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารใหขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษามี วทิ ยฐานะและเลื่อนวทิ ยฐานะ ตามหนงั สอื สํานักงานคณะกรรมการขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ ศธ 0206.3/ว 25 ลงวนั ที่29 ธันวาคม พ.ศ.2548 โดยมีสาระสําคัญ สรปุ สังเขปดงั นี้ 1. หลักเกณฑ วธิ ีการ 1. มคี ณุ สมบตั ดิ า นประสบการณการดาํ รงตําแหนงตามคุณสมบตั เิ ฉพาะสําหรับวทิ ยฐานะ ท่ีจะแตง ตงั้ 2. ไดรบั เงนิ เดือนไมตํ่ากวา ข้ันตาํ่ ของอนั ดบั เงนิ เดือนของวิทยฐานะที่จะแตง ตัง้ 3. ไดป ฏบิ ตั งิ านตามหนาที่และความรับผดิ ชอบ และมีผลงานทเี่ กิดจากการปฏิบตั ิหนา ท่ใี น ตําแหนง นัน้ ยอ นหลงั 2 ปตดิ ตอกัน มีคุณภาพเหมาะสมกับวทิ ยฐานะทีข่ อรับการประเมิน 4. เปน ผผู านการประเมนิ ดา นตา ง ๆ ตามที่ ก.ค.ศ.กําหนด ดังนี้ 4.1 ความประพฤตดิ า นวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 4.2 คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน เปน การประเมนิ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ าน 4.3 ผลงานท่เี กดิ จากการปฏิบตั หิ นาที่ เปน การประเมินความรู ทักษะ และผลทเี่ กดิ ข้นึ สาํ หรับวิทยฐานะชาํ นาญการพเิ ศษใหประเมนิ ความรูใ นการปฏบิ ัติงานดวย 5. การเลอื่ นวทิ ยฐานะสามารถเลอื่ นขามวทิ ยฐานะไดเฉพาะวิทยฐานะชาํ นาญการเปน วิทยฐานะ เช่ยี วชาญ 6. การใหมวี ทิ ยฐานะและเลอ่ื นวิทยฐานะสําหรับวทิ ยฐานะชาํ นาญและชาํ นาญการพเิ ศษให อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา เปนผูพิจารณาอนุมตั ิ สว นวทิ ยฐานะเช่ยี วชาญและเชย่ี วชาญพเิ ศษให ก.ค.ศ. เปนผูพ จิ ารณาอนมุ ัติ 7. เปน ผูผ านการพฒั นากอ นแตงต้ังตามหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ. กําหนด สําหรบั วิทยฐานะ ชาํ นาญการพเิ ศษ และเชีย่ วชาญ ผลการพฒั นาใหนาํ ไปใชในการขอกาํ หนดใหมีและเล่ือนวทิ ยฐานะไดภายใน 5 ป นับแตวันท่ี ผูนน้ั สําเร็จหลกั สตู รการพฒั นาขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ นแตงต้งั ใหด ํารงวิทยฐานะ 8. การประเมนิ ผลงานทีเ่ กดิ จากการปฏบิ ตั ิหนา ทซ่ี ่งึ สง ผลถงึ ผเู รยี นใหพจิ ารณาจากการปฏบิ ตั ิจรงิ ความสําเรจ็ ของช้ินงาน และเอกสารหรือผลงานอื่นที่ผูข อรบั การประเมินเสนอ 9. การประเมนิ ผลงานทางวชิ าการสําหรบั วทิ ยฐานะเชยี่ วชาญ และเช่ียวชาญพิเศษ ใหพ จิ ารณา ประเมินจากเอกสารผลงานทางวชิ าการ โดยอาจใหผ ูขอนําเสนอและตอบขอ ซกั ถามดว ย ในกรณีที่คณะกรรมการประเมินเห็นสมควรใหปรบั ปรงุ ผลงานทางวชิ าการใหดาํ เนนิ การปรบั ปรุง ตามขอ สงั เกตของคณะกรรมการประเมนิ ภายในเวลา 6 เดอื น และใหน าํ เสนอคณะกรรมการประเมินชุด เดิมพจิ ารณา สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 42  คูม ือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 10. การพจิ ารณาอนมุ ัติผลการประเมิน ใหอนมุ ตั ิไดไมก อ นวันท่สี ํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาหรือ สาํ นักงาน ก.ค.ศ. แลวแตก รณี ไดรบั ผลงานทีเ่ กิดจากการปฏบิ ัติหนาท่ีและผลงานทางวิชาการ ในกรณีที่มี การปรบั ปรุงผลงานทางวิชาการ ใหอนมุ ัติไดไ มก อนวนั ทส่ี ํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา หรือสาํ นกั งาน ก.ค.ศ. แลวแตก รณี รับผลงานทางวิชาการทีไ่ ดรับปรงุ สมบรู ณ 11. การดําเนินการใหม ีและเลอื่ นวิทยฐานะในกรณีปกติควรดําเนนิ การใหแลวเสร็จภายในเวลา 1 ป นบั จากวนั ท่ีผขู อสงคําขอ 12. เมอื่ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรอื ก.ค.ศ. แลว แตก รณี พิจารณาผลการประเมินและมมี ติ เปน ประการใดแลว ใหถือเปน อันสน้ิ สดุ 13. สํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาใหห มายถงึ สว นราชการดวย และ อ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาให หมายถงึ อ.ก.ค.ศ. ท่ี ก.ค.ศ. ต้ังดวย 2. องคป ระกอบการประเมิน การประเมินเพือ่ ใหม ีหรือเลอื่ นวิทยฐานะของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประกอบดว ย การประเมิน 3 ดานตา ง ๆ ดงั น้ี 1. ความประพฤติดานวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ 2. คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน 3. ผลงานท่ีเกิดจากการปฏิบัตหิ นา ที่ 3.1 ผลงานทเี่ กิดจากการปฏิบัตงิ านในหนา ท่ี (วิทยฐานะชาํ นาญการพเิ ศษ ทดสอบความรู ในการปฏบิ ตั งิ านดว ย) 3.2 ผลงานทางวชิ าการ 3. การประเมนิ คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน (สมรรถนะ) สาํ หรับการประเมนิ ดา นทีส่ องคือการประเมินการปฏิบัติงาน โดยประเมินจากสมรรถนะ สองสวน ไดแก สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจาํ สายงาน ซ่งึ แตกตา งกันตามตาํ แหนงสายงาน ไดแ ก 1.สมรรถนะหลกั ใชส ําหรับประเมินทกุ สายงาน ไดแก 1.1 การมงุ ผลสัมฤทธิ์ 1.2 การบริการท่ีดี 1.3 การพฒั นาตนเอง 1.4 การทาํ งานเปนทีม สอบครูดอทคอม

43  คมู อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา 2.,สมรรถนะประจาํ สายงาน ไดแ ก ผูส อน บริหารสถานศกึ ษา บริหารการศึกษา นเิ ทศการศกึ ษา 1) การออกแบบการเรยี นรู 1) การแสวงหาขอ มูลและสารสนเทศ 2) การพัฒนาผูเรยี น 2) การวิเคราะหแ ละสงั เคราะห 3) การบริหารจดั การชน้ั เรยี น 3)การสอ่ื สารและการจูงใจ 4)การพฒั นาทักษะตนเอง 4) การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร 5) การสอ่ื สารและการจงู ใจ 5) การยืดหยุนผอนปรน 6)การวิเคราะหและสังเคราะห 6) การเปน ผูน ําในการเปลยี่ นแปลง 7)การมีวสิ ัยทัศน 7) การมวี สิ ยั ทศั น 8) การใหค วามสําคัญแกผ ูอนื่ 8) การใหค วามสําคัญแกผ ูอ ่ืน ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com สําหรบั การประเมนิ สมรรถนะประจาํ สายงานใหม ีการประเมนิ ในแตละวิทยฐานะแตล ะตาํ แหนง ตางกันไป เชน ประเมินตําแหนงผูบ ริหารใหม ีวิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษ ใหประเมนิ สมรรถนะการวิเคราะห และสงั เคราะห การส่ือสารและการจงู ใจ การพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร และการมีวสิ ัยทศั น ประเมนิ ตาํ แหนง ครชู ํานาญการพเิ ศษ ใหป ระเมินสมรรถนะการออกแบบการเรียนรู การพัฒนาผูเรียนและการบรหิ ารจัดการ ชัน้ เรยี น เปนตน ในทน่ี จี้ ะยกตัวอยา งกรอบการประเมินสมรรถนะสายบริหารการศกึ ษาและบริหารสถานศึกษา ซงึ่ อธบิ ายความหมาย ตัวชวี้ ดั และเกณฑก ารประเมนิ รายสมรรถนะ ดงั นี้ สมรรถนะท่ี 1 การมงุ ผลสัมฤทธ์ิ : ความมุง มัน่ ในการปฏบิ ัตงิ านในหนาทใี่ หมีคุณภาพ ถูกตอ ง ครบถวน สมบรู ณ มคี วามคดิ ริเรม่ิ สรางสรรค และมกี ารพฒั นาผลงานใหม ีคุณภาพอยา งตอเน่อื ง ตัวบงชี้ คะแนนผลการตัดสนิ (ใหว งกลมลอ มรอบตัวเลข) 1.1 คุณภาพงานดานความ 4-ผลงานมีความถกู ตอง ครบถวนสมบรู ณเกอื บ ถูกตองครบถวนสมบรู ณ ทกุ รายการ และเปนแบบอยางได 3-ผลงานมีความถูกตอ ง ครบถว นสมบูรณเปนสวนใหญ 2-ผลงานครบถวนสมบูรณ แตม ขี อผดิ พลาดเล็กนอ ย 1-มผี ลงานเปน ไปตามทไี่ ดร ับมอบหมายแตม ี ขอ ผิดพลาดคอ นขางมาก สอบครูดอทคอม

44  คูม อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 1.2 ความคดิ ริเรม่ิ สรางสรรค 4-มีการทดลองวิธีการหรอื จดั ทําคูมอื ประกอบการ การนํานวตั กรรม/ทางเลอื ก พฒั นางานใหม ๆ โดยมกี ารจัดทํารายงานการ ใหม ๆ มาใชเ พ่ือเพ่มิ พฒั นาทเ่ี ปน รูปธรรมชดั เจน และมีการเผยแพร ประสิทธภิ าพของงาน ในวงกวา ง 3-มีการทดลองวธิ กี ารหรือจดั ทําเอกสารประกอบการ พัฒนางานใหม ๆ โดยมกี ารบนั ทึกหรอื กลาวถึง ในเอกสาร/หลักฐานลักษณะใดลักษณะหนงึ่ ไมมี ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com การเผยแพรในวงกวา ง 2-มีการนํานวตั กรรม/วิธกี ารใหม ๆ มาใชใ นการ พฒั นางาน สามารถระบลุ ักษณะ/ประเภทนวัตกรรม ได แตไ มมกี ารบนั ทกึ ไวเปน ลายลกั ษณอกั ษร 1-ปฏบิ ัตงิ านตามแนวทางปกติ ยังไมม กี ารนํา นวตั กรรม/วิธีการใหม ๆ มาใช 1.3 ความมงุ ม่ันในการ 4-มุงมน่ั กระตือรือรน ในการพัฒนาผลงานทกุ รายการ พัฒนาผลงานอยา งตอเนื่อง ทีไ่ ดร บั มอบหมาย จนปรากฎผลงานทม่ี ีคุณภาพ เปน ท่ยี อมรับในองคกรและนอกองคกรท่เี ก่ยี วของ 3-มงุ ม่ัน กระตือรอื รนในการพัฒนาผลงานทไี่ ดรบั มอบหมาย จนผลงานเปนทยี่ อมรับในองคก ร 2-มงุ ม่ัน กระตอื รอื รน ในการพฒั นาผลงานใหบ รรลุ เปา หมาย 1-มีการพฒั นาผลงานในบางรายการที่ไดรบั มอบหมาย 2. การบรกิ ารทด่ี ี : ความตั้งใจในการปรับปรุงระบบริการใหมปี ระสิทธิภาพ เพื่อตอบสนอง ความตอ งการของผรู บั บรกิ าร ตัวบง ช้ี คะแนนผลการตดั สิน (ใหวงกลมลอมรอบตัวเลข) 2.1 การปรับปรงุ ระบบ 4-ศึกษาความตอ งการของผรู บั บรกิ าร นาํ ขอ มูล บรกิ าร มาปรับปรุงและพฒั นาระบบบริการในเกอื บทกุ รายการอยางตอ เน่ือง 3-ศึกษาความตอ งการของผรู บั บรกิ าร นําขอ มลู มา ปรับปรงุ และพฒั นาระบบบริการเปน สวนใหญ สอบครูดอทคอม

45  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 2-ศึกษาความตองการของผูรบั บริการ นาํ ขอมลู มา ปรบั ปรุงและพฒั นาระบบริการเปน บางครั้ง 1-ปรบั ปรงุ ระบบรกิ ารเมอ่ื มคี าํ ถามหรือขอเรียกรอง 2.2 ความพงึ พอใจของ 4-ผรู ับบริการรอ ยละ 80 ขนึ้ ไป มคี วามพงึ พอใจระดบั มาก ผรู ับบรกิ ารหรือผูเ กย่ี ว 3-ผรู ับบริการรอยละ70-79มีความพงึ พอใจระดับมาก ของ 2-ผรู ับบรกิ ารรอยละ 60-69 มีความพงึ พอใจระดับมาก 1-ผูรับบริการนอยกวารอ ยละ 60 มคี วามพงึ พอใจ ระดับมาก ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 3. การพัฒนาตนเอง : การศึกษา คนควา หาความรู ตดิ ตามองคค วามรูและเทคโนโลยใี หม ๆ ใน วงวิชาการและวิชาชีพเพ่ือพฒั นาตนเองและพัฒนางาน ตัวบง ช้ี คะแนนผลการตัดสนิ (ใหว งกลมลอมรอบตวั เลข) 3.1 การศึกษา คนควา 4-มชี ว่ั โมงเขาประชุม อบรม สมั มนาไมน อยกวา 20 หาความรู ดว ยการเขา ชว่ั โมง/ป และมกี ารจดั ทาํ เอกสารนําเสนอตอ ทป่ี ระชุม ประชุมทางวชิ าการ เพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรูอ ยางนอ ย 2 รายการ/ป อบรม สัมมนา หรอื เปน ทยี่ อมรับในองคก รและนอกองคกรทเ่ี กีย่ วของ วธิ ีการอืน่ ๆ 3-มีชว่ั โมงอบรมไมน อยกวา 20 ชว่ั โมง/ป และมีการ จดั ทาํ เอกสารนําเสนอตอ ท่ีประชุมเพื่อแลกเปล่ียน เรยี นรูอ ยางนอ ย 1 รายการ/ป 2-มีชวั่ โมงอบรมไมน อ ยกวา 20 ช่ัวโมง/ป หรอื มีการ จัดทาํ เอกสารนําเสนอตอ ทปี่ ระชมุ เพ่อื แลกเปลย่ี น เรียนรูอยา งนอย 2 รายการ/ป 1-มีชัว่ โมงอบรมไมนอยกวา 20 ชั่วโมง/ป หรือมกี าร จดั ทําเอกสารนําเสนอตอ ทป่ี ระชมุ เพ่ือแลกเปลย่ี น เรยี นรอู ยา งนอย 1 รายการ/ป 3.2 การรวบรวมและ 4-มกี ารสงั เคราะหข อมูลความรู จัดเปน หมวดหมู ประมวลความรูในการ ปรับปรงุ ใหทันสมัย รวบรวมองคค วามรสู ําคญั พัฒนาองคก รและวิชาชีพ เพอ่ื ใชในการพฒั นางานอยา งตอ เนือ่ ง 3-มกี ารรวบรวม ประมวลความรู จัดเปนหมวดหมู สอบครูดอทคอม

46  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา และปรับปรงุ ใหท ันสมยั เพอื่ ใชในการพฒั นางาน 2-มีการรวบรวม ประมวลความรู จัดเปนหมวดหมู เพื่อใชในการพฒั นางาน 1-มกี ารรวบรวมขอมลู เพ่อื ใชใ นการพฒั นางานแตไมไ ด จัดเปน หมวดหมู 3.3 การแลกเปลี่ยน ความ 4-เขาประชมุ แลกเปล่ยี นเรียนรูภายในหนวยงาน คดิ เหน็ ดานวิชาการในหมู รอ ยละ 80 ข้นึ ไปของจาํ นวนกจิ กรรมทีห่ นวยงานจดั ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com เพ่อื นรวมงาน 3-เขา ประชมุ แลกเปลย่ี นเรียนรภู ายในหนว ยงาน รอยละ 70-79 ของจาํ นวนกิจกรรมทีห่ นว ยงานจัด 2-เขา ประชุมแลกเปลย่ี นเรียนรภู ายในหนว ยงาน รอยละ 60-69 ของจํานวนกจิ กรรมที่หนวยงานจัด 1-เขา ประชมุ แลกเปลยี่ นเรียนรภู ายในหนว ยงาน นอ ยกวารอ ยละ 60 ของจํานวนกิจกรรมทหี่ นวยงานจดั 4. การทาํ งานเปนทีม : การใหความรวมมอื ชวยเหลือ สนับสนุน เสรมิ แรง ใหก ําลังใจแกเ พ่ือนรว ม งาน การปรับตว เขากบั บุคคลอนื่ หรือ แสดงบทบาทผูน าํ ผตู าม ไดอ ยา งเหมาะสม ตวั บง ช้ี คะแนนผลการตัดสนิ (ใหว งกลมลอมรอบตวั เลข) 4.1 การใหค วามรว มมอื 4-ใหค วามรว มมือ ชว ยเหลือ สนบั สนนุ เพอื่ นรว มงาน ชวยเหลือ สนบั สนุนเพอ่ื น สมาํ่ เสมอเกอื บทกุ ครัง้ รวมงาน 3-ใหค วามรว มมือ ชวยเหลือ สนบั สนนุ เพอ่ื นรว มงาน เปน สวนใหญ 4.2 การแสดงบทบาท 2-ใหค วามรวมมือ ชว ยเหลือ สนับสนุน เพ่อื นรวมงาน ผนู าํ หรือผตู ามไดอ ยา ง เปน บางคร้ัง เหมาะสม 1-ใหความรวมมือ ชวยเหลือ สนบั สนนุ เพื่อนรวมงาน นาน ๆ ครงั้ 4-แสดงบทบาทผูนํา/ผตู ามในการทํางานรวมกบั ผูอ นื่ อยางเหมาะสมเกอื บทุกโอกาส/สถานการณ 3-แสดงบทบาทผนู าํ /ผูต ามในการทาํ งานรวมกบั ผอู ่นื อยา งเหมาะสมกโั อกาส/สถานการณ เปน สว นใหญ 2-แสดงบทบาทผูน าํ /ผตู ามในการทาํ งานรวมกบั สอบครดู อทคอม

47  คมู อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา ผอู น่ื อยางเหมาะสมในบางโอกาส/สถานการณ 1-แสดงบทบาทผนู าํ /ผูตามในการทาํ งานรว มกบั ผูอื่นไมเหมาะสมกับโอกาส/สถานการณ ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com4.3 การปรบั ตัวเขากับ4-ใชทักษะการบรหิ ารจดั การในการทาํ งานรวมกับ สถานการณแ ละกลมุ คน บคุ คลหรอื คณะบุคคลในหนว ยงานของตนและ ท่ีหลากหลาย ตา งหนว ยงานไดท กุ กลมุ อยางมีประสิทธภิ าพใน เกือบทกุ สถานการณ 4.4 การเสรมิ แรงให กาํ ลงั 3-ใชทักษะการบริหารจดั การในการทํางานรว มกับ ใจ สง เสรมิ สนับสนุน บุคคลหรอื คณะบุคคลในหนวยงานของตนและ เพ่ือนรว มงานในการ ตางหนวยงานไดท ุกกลมุ อยา งมีประสทิ ธิภาพใน ปฏิบัตงิ าน สถานการณสวนใหญ 2-ทาํ งานรวมกบั บุคคลหรอื คณะบุคคลในหนวยงาน ของตนไดทกุ กลุมอยางมีประสิทธิภาพ 1-ทํางานรว มกบั บคุ คลหรอื คณะบุคคลในหนวยงาน ไดเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะกลุม 4-ใหเกียรติ ยกยอง ชมเชย ใหก าํ ลังใจเพือ่ นรว มงาน ในโอกาสท่เี หมาะสมเกอื บทกุ คร้งั 3-ใหเกียรติ ยกยอ ง ชมเชย ใหก าํ ลงั ใจเพอื่ นรวมงาน ในโอกาสที่เหมาะสม เปนสว นใหญ 2-ใหเกยี รติ ยกยอง ชมเชย ใหกาํ ลงั ใจเพ่ือนรวมงาน ในโอกาสทเี่ หมาะสม เปนบางครั้ง 1-ใหเ กยี รติ ยกยอง ชมเชย ใหกาํ ลงั ใจเพือ่ นรว มงาน ในโอกาสท่เี หมาะสม นาน ๆ ครง้ั 5. การวิเคราะหแ ละสังเคราะห : ความสามารถในการทาํ ความเขาใจสิ่งตา ง ๆ แลว แยกประเดน็ เปน สว นยอย ตามหลักการหรือกฎเกณฑทก่ี าํ หนด สามารถรวบรวมสง่ิ ตา ง ๆ จดั ทาํ อยา งเปนระบบ เพ่อื แกปญ หา หรือพฒั นางาน รวมท้งั สามารถวเิ คราะหอ งคก รหรอื งานในภาพรวมและดําเนนิ การแกปญ หาอยา งเปนระบบ สอบครดู อทคอม

48  คูม อื เตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา ตัวบง ช้ี คะแนนผลการตัดสนิ (ใหวงกลมลอมรอบตัวเลข) 5.1 การวิเคราะหสภาพ ปจ จุบนั ปญหา ความ 4-ระบุสภาพปจ จบุ ัน ปญหาความตอ งการของงานและ ตอ งการของงานและเสนอ แนวทางการปองกัน แกไ ขปญ หาทหี่ ลากหลายและ ทางเลอื กหรอื ปฏิบตั ิได โดยมกี ารบนั ทึกไวเ ปนหลกั ฐาน แนวทางปองกนั แกไข 3-ระบสุ ภาพปจจบุ นั ปญ หาความตอ งการของงานและ ปญ หางานในความรับผิด แนวทางการปอ งกนั แกไขปญหาทีห่ ลากหลาย ชอบ โดยมีการบันทกึ ไวเปนหลกั ฐาน 2-ระบสุ ภาพปจ จุบัน ปญหาความตอ งการของงานและ แนวทางการแกไ ขปญ หาบางลกั ษณะไมห ลากหลาย มกี ารบันทกึ ไวเปนหลกั ฐาน 1-ระบุสภาพปจ จุบนั ปญหาของงานได แตไ มชดั เจน ในเรื่องแนวทางการแกไขปญ หา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 5.2 ความเหมาะสมของ 4-องคป ระกอบของแผนงาน/โครงการมคี วามสอดคลอ ง แผนงาน/โครงการในความ สัมพนั ธกบั ทุกองคป ระกอบและสอดคลอ งกับ รบั ผิดชอบ นโยบาย/ยุทธศาสตรการพัฒนาองคกรและมกี าร ระบุตวั ช้วี ดั ความสาํ เร็จอยา งชดั เจน 3-องคป ระกอบของแผนงาน/โครงการมีความสอดคลอง สมั พันธก ับทกุ องคป ระกอบและสอดคลองกบั นโยบาย/ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาองคกร 2-หลกั การและเหตุผล วัตถุประสงคและกิจกรรมของ แผนงานโครงการสอดคลอ งกนั แตองคประกอบอื่น ยังไมส อดคลองสัมพนั ธกนั 1-วัตถุประสงคของแผนงาน/โครงการสอดคลองกับ หลักการและเหตุผล แตกจิ กรรมไมสอดคลองกนั 5.3 ความคดิ รเิ รม่ิ เชิงระบบ 4-มีการวเิ คราะหจ ดุ เดน จุดดอ ย ภาวะคกุ คาม หรอื ในการแกปญ หาหรอื โอกาสความสําเร็จของงานหรือองคก ร จัดทําแผนงาน/ พฒั นางาน โครงการรองรบั ดาํ เนินกิจกรรมและประเมนิ ผลการ แกปญ หาหรือพัฒนางาน โดยนาํ ผลการประเมิน ไปใชพฒั นางานอยา งตอเนอื่ ง 3-มีการวิเคราะหจุดเดน จดุ ดอย ภาวะคุกคาม หรือ สอบครูดอทคอม

49  คูม ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา โอกาสความสาํ เร็จของงานหรือองคกร จัดทําแผนงาน/ โครงการรองรบั ดําเนนิ กจิ กรรมและประเมนิ ผลการ แกปญหาหรอื พัฒนางาน โดยนําผลการประเมนิ ไปใชพ ัฒนางานเปน บางคร้งั 2-มีการวิเคราะหปญ หางาน ดาํ เนินกจิ กรรมและ ประเมินผลการแกป ญ หาหรือพัฒนางาน แตไ ม ปรากฎรอ งรอยการนาํ ผลการประเมนิ ไปใช 1-มีการสาํ รวจปญหาการทํางานอยางงาย ดาํ เนิน กจิ กรรมโดยไมปรากฎรอ งรอยการประเมินผลงาน ท่ีชัดเจน 6. การส่อื สารและจงู ใจ : ความสามารถในการพดู เขียน สื่อสาร โตต อบในโอกาสและสถานการณ ตาง ๆ ตลอดจน สามารถชักจูง โนม นา วใหผ ูอืน่ เหน็ ดวย ยอมรับ คลอยตาม เพื่อบรรลจุ ุดมงุ หมายของการ สอื่ สาร ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ตัวบงช้ี คะแนนผลการตัดสนิ (ใหว งกลมลอ มรอบตวั เลข) 6.1 ความสามารถในการ 4-พดู เขยี น สือ่ สาร โตตอบในโอกาสตาง ๆ ใหผอู ืน่ พูดและเขยี นในโอกาส เขา ใจไดอ ยางรวดเรว็ และชัดเจนเกือบทกุ ครัง้ ตาง ๆ 3-พดู เขียน ส่ือสาร โตต อบในโอกาสตา ง ๆ ใหผ ูอ ่ืน เขา ใจไดอ ยา งรวดเร็ว และชัดเจนเปนสวนใหญ 2-พดู เขยี น ส่อื สาร โตตอบในโอกาสตาง ๆ ใหผ ูอ น่ื เขาใจไดอ ยา งรวดเรว็ และชดั เจนเปน บางคร้งั 1-พดู เขยี น ส่อื สาร โตต อบใหผ อู นื่ เขา ใจไดย ากหรอื ตอ งมีการอธิบายเพ่มิ เตมิ บอยคร้งั 6.2 ความสามารถในการ 4-สามารถสืบคน ขอ มลู ผา นเครอื ขา ยอนิ เตอรเ น็ตและ สอ่ื สารผา นส่ือเทคโนโลยี นําเสนอผลงานโดยใชสือ่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร ไดดวยตนเอง 3-สามารถสบื คนขอ มลู ผานเครอื ขา ยอินเตอรเนต็ และ นําเสนอผลงานโดยใชส อ่ื เทคโนโลยีคอมพิวเตอรได 2-สามารถสืบคนขอมูลผานส่ือเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรไ ด 1-ใชส่อื เทคโนโลยีคอมพิวเตอรไดไ มคลอ ง หรอื ตอ งมี ผูช ว ยเหลอื อยางใกลช ดิ สอบครดู อทคอม

50  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 6.3 ความสามารถในการ 4-สามารถนําเสนอขอ มูลสารสนเทศในดานแนวคิด จงู ใจ โนมนา ว หลักวชิ า เพือ่ พูดโนม นาว พดู จูงใจใหผ ูอ ่ืนคลอ ยตาม ใหผูอ่นื เหน็ ดว ย ยอมรับ เพ่อื บรรลจุ ดุ มงุ หมายของการสื่อสาร เกอื บทกุ คลอ ยตาม เพอื่ บรรลจุ ุดมุง สถานการณ หมายของการสอื่ สาร 3-สามารถนําเสนอขอ มูลสารสนเทศในดา นแนวคดิ หลกั วชิ า เพ่อื พดู โนมนาว พดู จงู ใจใหผ ูอนื่ คลอยตาม เพ่ือบรรลจุ ดุ มงุ หมายของการสอ่ื สาร เปน สว นใหญ ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 2-สามารถนําเสนอขอมลู สารสนเทศในดา นแนวคดิ หลกั วิชา เพ่ือพูดโนมนาว พูดจงู ใจใหผ ูอ ื่นคลอยตาม เพ่ือบรรลุจดุ มุงหมายของการสื่อสารบางสถานการณ 1-สามารถนาํ เสนอขอมูลสารสนเทศในดานแนวคดิ หลกั วชิ า เพ่ือพูดโนมนา ว พดู จงู ใจใหผอู ื่นคลอยตาม ไดน อ ยมาก 7. การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร : ความสามารถในการใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ และชว ยแกป ญหาใหแกเ พื่อน รว มงานและผเู ก่ียวของ มสี วนรว มในการพฒั นาบุคลากร ปฏิบตั ติ นเปนแบบอยา ง รวมทัง้ สงเสรมิ สนับสนุน และใหอ กาสผรู วมงานไดพฒั นาในรูปแบบตา ง ๆ ตวั บง ชี้ คะแนนผลการตัดสิน (ใหว งกลมลอ มรอบตวั เลข) 7.1 การใหคาํ ปรกึ ษา แนะนํา 4-ใหคําแนะนําเสนอทางเลือกในการแกไ ขปญหา และชว ยแกป ญหาแกเพือ่ นรวม ทส่ี มเหตุผล หลากหลายเปนไปไดจนเพ่ือนรวมงาน งานและผเู ก่ียวขอ ง สามารถแกป ญหาไดเกือบทุกครัง้ จนเปนที่พ่ึงของ เพือ่ นรวมงานในองคก ร 3-ใหค ําแนะนาํ เสนอทางเลือกในการแกไขปญหา ที่สมเหตผุ ล หลากหลายเปนไปไดจนเพ่ือนรวมงาน สามารถแกปญหาไดเ ปนสว นใหญ 2-ใหคาํ แนะนําเสนอทางเลือกในการแกไขปญ หา ท่สี มเหตผุ ลเปน ไปได จนเพื่อนรว มงานสามารถ แกป ญ หาได เปน บางครั้ง 1-ใหคําแนะนําเสนอทางเลือกในการแกไขปญ หา แตเพือ่ นรว มงานนาํ ไปใชไดนอ ยมาก สอบครดู อทคอม

51  คูมือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com7.2 การมสี ว นรว มในการ4-รว มคดิ รว มทาํ และรว มตดั สินใจในกระบวนการ พัฒนาบคุ ลากร พัฒนาบุคลากรของหนว ยงานอยา งตอเน่อื ง 3-รวมคิด รวมทํา ในการพฒั นาบคุ ลากรของหนว ยงาน 7.3 ปฏิบัตติ นเปนแบบอยาง 2-รวมปฏบิ ตั ิในการพฒั นาบุคลากร และสรา งเครอื ขา ยการพัฒนา 1-รวมรบั รู ใหความรว มมือภายใตเ งอื่ นไขขอ ตกลง บคุ ลากร ของหนว ยงาน 4-เปน แบบอยางและรว มสรา งเครอื ขายการพัฒนา 7.4 การสง เสรมิ สนับสนุน บุคลากรระดบั เขตพน้ื ที่และระดบั ประเทศ และใหโอกาสเพือ่ นรวมงาน 3-เปน แบบอยา งและรวมสรางเครอื ขายการพฒั นา ไดพัฒนาในรปู แบบตาง ๆ บุคลากร ระดับกลมุ สถานศกึ ษา 2-เปน แบบอยางและรว มสรางเครือขา ยการพัฒนา บคุ ลากร ระดบั สถานศกึ ษา/กลมุ สาระ/หนวยงาน 1-เปนแบบอยางในการปฏิบตั ิงาน แตมบี ทบาทในการ สรางเครือขา ยพฒั นาบคุ ลากรนอ ยมาก 4-จดั กิจกรรม/โครงการ/สนับสนุนใหเ พือ่ นรวมงาน และผเู กยี่ วขอ งไดม โี อกาสพัฒนาศักยภาพอยาง หลากหลายและตอ เน่อื ง 3-จัดกจิ กรรม/โครงการ/สนบั สนนุ ใหเ พ่อื นรวมงาน และผูเกยี่ วขอ งไดม โี อกาสพัฒนาศกั ยภาพอยาง หลากหลายเปนบางป 2-จดั กิจกรรม/โครงการใหเ พ่อื นรวมงานและผเู กี่ยวของ ไดมีโอกาสพฒั นาศักยภาพบางลกั ษณะบางโอกาส 1-จดั กิจกรรม/โครงการพัฒนาศักยภาพใหเ พื่อนรว มงาน ตามทีร่ องขอ ไมม แี ผนการปฏิบตั ิงานท่ชี ดั เจน 8. การมวี ิสยั ทัศน : ความสามารถในการกําหนดวสิ ยั ทัศน ทศิ ทาง หรอื แนวทางการพฒั นาองคก ร ทเ่ี ปน รปู ธรรม เปนทยี่ อมรบั และเปน ไปไดใ นทางปฏิบตั ิ การยอมรับแนวคดิ /วธิ ีการใหม ๆ เพอื่ การพฒั นา งาน สอบครดู อทคอม

52  คูมือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา ตัวบง ชี้ คะแนนผลการตัดสนิ (วงกลมลอมรอบตวั เลข) 8.1 การใชกระบวนการมสี วน 4-เปดโอกาสใหเพอื่ นรว มงานหรอื ผเู กี่ยวของรอ ยละ รวมในการกาํ หนดวสิ ัยทัศน 80 ขนึ้ ไป มีสว นรวมในการกําหนดวสิ ยั ทศั นหรือ หรือทศิ ทางการพัฒนาองคก ร ทิศทางการพฒั นาองคกร 3-เปด โอกาสใหเพอ่ื นรว มงานหรือผเู กย่ี วของสว นใหญ หรอื รอยละ 70-79 มสี ว นรวมในการกําหนดวสิ ัยทศั น หรอื ทิศทางการพัฒนาองคก ร 2-เปดโอกาสใหเ พอ่ื นรวมงานหรือผเู กยี่ วของ รอ ยละ 60-69 ของสมาชกิ ในองคก ร มสี วนรว มในการกําหนด วิสัยทศั นห รือทิศทางการพฒั นาองคกร 1-กาํ หนดวิสยั ทศั นโ ดยคณะทาํ งานเฉพาะกลุม หรือ สมาชกิ ในองคกร นอยกวา รอ ยละ 60- มีสวนรว ม ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 8.2 ความทันสมัยและสรา ง 4-วิสัยทัศน/ ทศิ ทางการพัฒนางาน สะทอนถึงความ สรรคของวสิ ัยทัศน หรือทศิ ทาง มงุ มั่น คา นิยม มีความชัดเจน ทนั สมัย สอดคลอ ง การพัฒนางานและความสอด กับนโยบายของหนว ยงานท่สี งั กัด มีการวเิ คราะห คลองกบั นโยบายขององคก ร ทบทวนและปรับปรงุ อยางตอเนือ่ ง ทีส่ งั กัด 3-วสิ ยั ทศั น/ทิศทางการพฒั นางาน สะทอนถึงความ มงุ มน่ั คา นิยม มีความชดั เจน ทนั สมัย สอดคลอ ง กับนโยบายของหนวยงานที่สังกดั มีการวิเคราะห ทบทวนและปรบั ปรุงบางสว น ในรอบ 2 ปท ผ่ี า นมา 2-วิสยั ทัศน/ ทศิ ทางการพัฒนางาน สะทอ นถงึ ความ มุงม่ัน คา นยิ ม มคี วามชดั เจน ทนั สมัย สอดคลอ ง กับนโยบายของหนวยงานที่สังกัด แตไ มมีการ ปรบั ปรุงเลย ในรอบ 2 ปท ผ่ี า นมา 1-วสิ ัยทศั น/ ทิศทางการพัฒนางานไมช ดั เจนเทา ที่ควร ไมป รากฎรองรอยหลักฐานทส่ี ะทอ นวสิ ัยทัศนท่ีเปน รูปธรรม สอบครูดอทคอม

53  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 8.3 ความเปนรปู ธรรม ความ 4-พันธกจิ และวัตถุประสงคในการพัฒนางาน เปนไปได หรือ โอกาสความ สอดคลองกบั วสิ ยั ทศั น พรอ มทัง้ กาํ หดยุทธศาสตร สาํ เร็จตาม วสิ ยั ทศั น หรือแนวทางการพัฒนางานที่เปนรูปธรรม มีแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมรองรบั อยา ง ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ครอบคลมุ และชดั เจน 3-พันธกจิ และวัตถุประสงคใ นการพฒั นางาน สอดคลอ งกบั วิสัยทัศน พรอ มทั้งกําหดยทุ ธศาสตร หรือแนวทางการพัฒนางานทเี่ ปนรูปธรรม มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมรองรบั อยางชดั เจน ประมาณ 3 ใน 4 ของพันธกจิ 2-พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงคใ นการพัฒนางาน สอดคลอ งกบั วิสยั ทัศน พรอมทงั้ กําหดยทุ ธศาสตร หรือแนวทางการพฒั นางานที่เปนรูปธรรม มีแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมรองรบั ประมาณ ครึง่ หน่งึ ของพนั ธกจิ 1-พนั ธกิจและวตั ถปุ ระสงคใ นการพฒั นางานไม สอดคลอ งกับวิสัยทัศนห รือแนวทางการพัฒนางาน ยงั ไมเปนรูปธรรม ชดั เจน 8.4 การยอมรับการปรบั เปลยี่ น 4-มีการวิเคราะห ทบทวนภาวะแวดลอมขององคก ร เทคนิค วิธกี าร เมือ่ สถานการณ อยางตอ เน่ือง แสวงหาขอมูล เปด ใจรับ/กระตนุ / แวดลอ มเปลีย่ นไป สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนเทคนิควธิ กี ารทํางาน เมอื่ สถานการณเ ปลยี่ นแปลงไป 3-เปดใจรับ/สงเสริมใหม ีการปรับเปลยี่ นเทคนคิ วิธีการทาํ งาน เม่อื มีผเู สนอแนะหรอื ใหขอ คดิ เห็น ภายใตส ถานการณเปล่ยี นแปลงไป 2-เปด ใจรบั /สงเสริมใหมีการปรับเปลยี่ นเทคนิค วิธีการทํางาน เม่ือสถานการณห รอื ภาวะแวดลอ ม ขององคก รมกี ารปรับเปลีย่ นคอนขา งมาก 1-ยอมรับการปรบั เปลย่ี นเทคนคิ วิธกี ารทาํ งานใน สถานการณจําเปน หรอื ตามเงอื่ นไขบงั คบั สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 54  คูม อื เตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา การนําหลกั สมรรถนะ (Competency) มาใชในการคัดเลือกบุคลากรบุคลากร สาํ นักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ไดก าํ หนดหลกั เกณฑและวิธกี าร คดั เลือกขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพือ่ บรรจแุ ละแตง ต้ังใหดาํ รงตาํ แหนงรองผูอ าํ นวยการและ ผูอ าํ นวยการสถานศึกษา ตามหนังสอื ท่ี ศธ 0206.3/ว 7 ลว.27 ม.ิ ย. 2549 โดยกําหนดใหม กี ารประเมิน สมรรถนะทางการบรหิ าร ไวใ นหลักสตู รการคัดเลือก ดังน้ี จะเหน็ ไดวา ระบบสมรรถนะ (Competency) ไดถกู นาํ มามาใชเ ปนฐานในการพฒั นา การประเมนิ และการคัดเลือกเขาสูตําแหนงของขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ดงั นน้ั สมรรถนะมีความสําคญั และจําเปนสําหรับขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จงึ ตองพฒั นาใหตนเองมสี มรรถนะอยูเ สมอ อนั จะนํามาซ่งึ ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ตั งิ านและความกาวหนาในตําแหนง หนา ทต่ี อ ไป สําหรับตาํ แหนง ผูบริหารการศกึ ษาและผูบ ริหารสถานศึกษา สมรรถนะทางการบริหารทจี่ าํ เปนจะ ตองรูแ ละพฒั นาใหเกดิ ขน้ึ ไดแ ก การมุง ผลสมั ฤทธ์ิ การบริการท่ีดี การพัฒนาตนเอง การทาํ งานเปน ทีม การวิเคระหแ ละการสงั เคราะห การสอ่ื สารและการจงู ใจ การพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร และการมีวิสยั ทัศน ซง่ึ รายละเอยี ดจะกลาวไวในหัวขอตอ ไป สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 55  คมู ือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศึกษา สมรรถนะทางการบรหิ าร (การมงุ ผลสัมฤทธ)์ิ ก. ความหมายการมงุ ผลสัมฤทธิ์ (Management for Results) 1. ความหมายตามทศั นะ ก.พ. การมงุ ผลสัมฤทธิ์ หมายถงึ : ความมงุ ม่ันจะปฏบิ ัตริ าชการใหด หี รือใหเกินมาตรฐานทม่ี อี ยู โดย มาตรฐานน้ีอาจเปน ผลการปฏิบตั ิงานทีผ่ า นมาของตนเอง หรือเกณฑวดั ผลสัมฤทธทิ์ ่ีสว นราชการกําหนด ข้ึน อีกทง้ั ยังหมายรวมถงึ การสรางสรรคพัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเปาหมายท่ยี ากและ ทาทายชนิดทอ่ี าจไมเ คยมี ผใู ดสามารถกระทาํ ไดม ากอน 2. ความหมายตามทัศนะของ ก.ค.ศ. การมงุ ผลสมั ฤทธิ์ : ความมงุ ม่นั ในการปฏบิ ตั ิงานในหนา ท่ีใหมีคุณภาพ ถูกตอง ครบถว นสมบูรณ มีความคิดรเิ รม่ิ สรางสรรค และมกี ารพฒั นาผลงานใหมีคุณภาพอยางตอ เนอื่ ง ประกอบดว ยตวั ช้วี ดั คือ - คุณภาพงานดา นความถูกตอ ง ครบถวนสมบรู ณ - ความคิดริเริม่ สรา งสรรค การทาํ นวตั กรรม/ทางเลือกใหม ๆ มาใชเ พ่ือเพิม่ ประสทิ ธภิ าพของาน - ความมงุ มน่ั ในการพัฒนาผลงานอยางตอ เน่อื ง ข. แนวคดิ สาระสาํ คญั การมงุ ผลสัมฤทธ์ิ 1. ความหมายของการบรหิ ารมงุ ผลสัมฤทธิ์ ( Management for Results) การบริหารมงุ ผลสัมฤทธิ์( Management for Results) มีช่อื เรียกแตกตางกนั ไป เชน Management by Objectives, Performance Management, Results based Management , Results Oriented Management หมายถึง การบริหารโดยมุง เนน ทผ่ี ลลัพธ หรือ ความสมั ฤทธิผลเปน หลักโดยใชก ระบวนการประเมินผลงาน ท่ีอาศัยตัวชว้ี ดั เปน ตัวสะทอนผลงานใหออกมาเปน รูปธรรม ซ่ึงผลการประเมนิ นีจ้ ะนาํ มาใชต อบคาํ ถามถึง ความคมุ คาในการทาํ งาน ใชแสดงผลงานตอสาธารณะเพอื่ ปรบั ปรุงกระบวนการทํางานใหดยี ง่ิ ขึ้น การบริหารมุงผลสมั ฤทธิ์ เปนระบบบรหิ ารท่กี ําหนดวตั ถุประสงค รวมทง้ั ระบบองคก ารโดยมกี าร วางแผนและจัดลําดับสําคัญของงานทีจ่ ะตอ งดาํ เนนิ การดว ยความรว มมือ และความเต็มใจของผบู ริหาร ทุกระดบั ในองคก ารที่จะรวมมอื กนั บรหิ ารงานใหบ รรลุวตั ถปุ ระสงคต ลอดจนมกี ลไกควบคมุ ตรวจสอบการ ปฏิบัตงิ านใหเ ปนไปตามเปา หมายทก่ี ําหนดไว ท้ังน้ที กุ คนในองคการท่ีเกยี่ วขอ งรว มกนั ปฏิบัติงาน โดยมี วัตถปุ ระสงคของงานเปนหลกั และใชว ตั ุถุประสงคน ีเ้ ปน เครือ่ งมือประเมินผลการปฏบิ ัตกิ าร ภาพขางลา ง นี้แสดงความสมั พนั ธระหวา งจดุ ประสงคห รือผลสัมฤทธิ์ การปฏิบตั ิงาน และการประเมนิ ผล ซึง่ เปน องค ประกอบของการบริหารตามแนวความเชื่อน้ี สอบครูดอทคอม

56  คมู ือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา ้บานสอบค ูร www.sobkroo.comกลาวโดยสรปุ การบริหารงานมงุ ผลสมั ฤทธิ์ คอื การบรหิ ารงานที่เนนผลสมั ฤทธ์ิ(Results) โดยมี ตัวชี้วดั (Indicators) ทีเ่ ปนรูปธรรม ผลสมั ฤทธิอ์ าจเขยี นเปน สมการ ไดดงั น้ี ผลสมั ฤทธ์ิ(Results) = ผลผลิต(Outputs) + ผลลพั ธ(Outcomes) 2. แนวคดิ การบริหารมงุ ผลสมั ฤทธิ์ การบรหิ ารมุงผลสัมฤทธจ์ิ ะเนน ทผ่ี ลลพั ท( Outcomes) ของงาน โดยจะใหค วามสําคญั ทกี่ ารกาํ หนด พันธกิจ และวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ/ งานเปา หมายท่ชี ดั เจน มกี ารกําหนดตัวช้วี ดั ผลการทาํ งานหลัก (Key Performance Indicator – KPI) ไวอ ยางชดั เจน เปน ทเี่ ขาใจของทุกคนในองคก าร การบรหิ ารมุงผลสมั ฤทธอ์ิ าจอธิบาย ไดอ ีกแบบวา เปน การ - จัดหาใหไดทรพั ยากรการบริหารมาอยา งประหยัด (Economy) - บรหิ ารทรพั ยากรอยางมีประสิทธภิ าพ (Efficiency) - ไดผลงานท่ีบรรลุเปาหมายขององคการ(Effectiveness) สามารถเขียนเปน กรอบแนวคดิ ไดดงั ภาพขางลางน้ี โครงการ ผลสัมฤทธ์(ิ Results) วตั ถุประสงค ปจจัยนําเขา กิจกรรม ผลผลติ ผลลัพธ Objectives Input Processes Output ( Outcomes) ความประหยดั ความมีประสทิ ธิภาพ ความมีประสิทธิผล สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 57  คูมอื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา โดยแตล ะคํา มีความหมายดงั น้ี 1) ความประหยัด (Economy) คือ การใชท รยั ากรนอ ยทสี่ ุดในการผลิต 2) ความมปี ระสิทธิภาพ(Efficiency) คือการเปรยี บเทยี บระหวา งปจ จยั นาํ เขา กบั ผลผลติ 3) ความมปี ระสทิ ธผิ ล คอื การเปรียบเทยี บระหวา งวัตถปุ ระสงคก ับผลลพั ธของโครงการ 4) วัตถปุ ระสงค(Objectives) คือ เปาหมายของผลสัมฤทธขิ์ องงานท่ตี อ งการในระยะส้นั กลาง ยาว 5) ปจจยั นาํ เขา (Input) คือ ทรัพยากรท่ใี ชใ นการผลติ และการบรกิ าร หรอื การปฏิบตั ิงานน้นั 6) กจิ กรรม (Processes) คอื กระบวนการทาํ งาน ไดแก การนําปจจยั นาํ เขา ทงั้ หลายมาผาน กระบวนการเพ่อื ใหเ กดิ มลู คาเพิ่มตามมาตรฐานคณุ ภาพทีไ่ ดกาํ หนดไว 7) ผลผลิต(Output) คือ ผลงานหรอื บริการท่ีองคกรนั้นจดั ทาํ ขนึ้ โดยกจิ กรรมที่เกิดผลงานนั้นจะอยู ภายใตการควบคุมขององคก าร 8) ผลลพั ธ (Outcomes) เปนผลกระทบทเี่ กิดจากผลผลติ หรอื ผลงานท่ีไดท ําข้ึน ซงึ่ จะกอ ใหเ กิดการ เปลยี่ นแปลงตอ ผรู บั บริการอนั เนอื่ งมาจากการดาํ เนินการ 9) ผลสมั ฤทธ(ิ์ Results) คือ ผลรวมของผลผลิตและผลลัพธ 3. กระบวนการบรหิ ารมุงผลสมั ฤทธ์ิ ระบบการบริหารมุง ผลสมั ฤทธ์ิ จะตองมขี นั ตอนหรือกระบวนการทีส่ ําคญั คือ 1. กระบวนการกาํ หนดวัตถปุ ระสงคแ ละการวางแผน การบรหิ ารในปจจุบันเนน การมสี วนรว ม ของบคุ ลากรทุกฝาย และทุกระดับท่เี กี่ยวขอ ง ดังน้ันในการกาํ หนดวัตถปุ ระสงคแ ละการวางแผนนี้ ผูบงั คับ บัญชาและผใู ตบ งั คับบัญชากําหนดวัตถปุ ระสงครวมกนั แลว จึงวางแผนปฏบิ ตั ิงานรว มกัน โดยจัดลาํ ดบั ความสําคญั ของงานทีจ่ ะทาํ กําหนดระยะเวลา งบประมาณและมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน 2. กระบวนมอบหมายงานและหนา ที่รบั ผิดชอบ โดยการแจงใหผ ใู ตบงั คบั บัญชาไดร บั ทราบถงึ ขอบเขตอํานาจหจาทีท่ ่มี ีอยู และสามารถกําหนดวัตถุประสงคในการทํางานดวยตนเอง โดยมอบหมายความ ไววางใจและความเปน อสิ ระในการทํางานให และตอ งแจง ใหผใู ตบ ังคับบญั ชาทราบถึงงานหลัก และมาตร ฐานงานทตี่ อ งการ เพอ่ื เปนแนวในการปฏบิ ัตงิ าน ใหเ ปนไปตามเปาหมายรวมขององคการ การมอบหมาย งานและหนา ท่รี ับผิดชอบ ควรใหผ ูใตบ ังคับบญั ชา ไดเ สนอแนวคิดและยอมรบั ในบทบาทหนาท่ีของตนเอง และผบู งั คับบัญชาพรอมทีจ่ ะใหคําปรกึ ษาหารอื และความชว ยเหลือเมอื่ ผใู ตบ ังคบั บัญชาตองการ 3. ตรวจสอบและแกไขปรบั ปรงุ งานอยา งเปน ระบบ โดยมีเปา หมายเพอ่ื ใหค วามชวยเหลอื แนะนาํ ท้ังน้เี พือ่ ใหก ารดําเนนิ งานไดก าวหนา ไปตามกาํ หนด และหากมีสงิ่ ใดทค่ี วรปรบั ปรุงแกไ ขใหบ รรลุเปาหมาย ที่ตงั้ ไวอยา งทันการณ 4. การประเมินผลงาน การประเมินเนน ผลงานและวตั ถุประสงค โดยมีหลกั สําคัญ คือ 4.1 ผูประเมินและผรู ับการประเมินมีวัตถุประสงคแ ละปจจยั การประเมนิ เดยี วกนั ซงึ่ ไดมาจากการ การกาํ หนดรวมกัน ตัง้ แตก ารวางแผนดาํ เนินงาน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 58  คูม ือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 4.2 จุดมุงหมายของการประเมินเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพงานมากกวาการพิจารณาความดีความชอบ หรอื การลงโทษ และนําไปใชใ นการพัฒนาบคุ คล 4.3 เนนการวัดผลการปฏบิ ตั งิ านขัน้ สุดทา ย เพ่อื ความสาํ เรจ็ ของผลงานและการแกไ ขปญ หาท่ี เกดิ ข้นึ 4.4 ใชว ตั ถุประสงคแ ละผลงานเปนชี้วัดท่ีสําคัญ 4.5 เมอ่ื การประเมนิ ผลงานสิน้ สดุ ลง ผูป ระเมนิ และผูรบั การประเมินมโี อกาสปรึกษาหารือรว มกนั ในการกาํ หนดวัตถุประสงคและการวางแผนงานตอไป ดงั แผนภาพ 4. ความสาํ คัญของระบบบรหิ ารมงุ ผลสัมฤทธ์ิ 1) ชว ยใหก ารกําหนดการวดั ผลและประเมินทช่ี ัดเจนวา ในหนว ยงานแตล ะหนวยงานขององคการ ไดสรา งสรรคป ระโยชนใ หแกอ งคก ารเพยี งใด 2) ทาํ ใหเ กดิ การประสานงานในกลุมผูปฏบิ ัตงิ าน เนือ่ งจากไดกาํ หนดเปาหมายและมาตรการรวมกนั 3) ชว ยแกไขหรือปอ งกนั ปญหาเกย่ี วกับการกาํ หนดขอบเขตความรบั ผดิ ชอบของแตละคนในกลุม และองคกร 4) เปน กระบวนการที่นําไปสูผลท่ตี อ งการทงั้ ในสวนขององคืการและบุคคล 5) เปน เครื่องมอื กําหนดขอบเขตของอาํ นาจและความรับผดิ ชอบในการควบคมุ งานของหวั หนา งาน แตล ะคน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 59  คูมอื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 6) เปน เครื่องชวยในการจดั สรรงบประมาณของหนว ยงานและกําลงั คน 7) เปน เครอ่ื งชว ยกาํ หนดหรือวดั ความสามารถวา ผใู ดควรจะมีความกา วหนา หรือควรไดรับการ สนับสนนุ หรือสงเสรมิ เพยี งใด ทั้งน้ี เงอ่ื นไขสาํ คญั บางประการคอื 1) นโยบายผบู รหิ ารระดบั สงู ตองชดั เจน ไมคลุมเครือ 2) การมอบหมายอาํ นาจหจา ทีแ่ ละความรับผิดชอบตอ งชดั เจน 3) ตอ งบริหารแบบมีสว นรว ม 4) มีการตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ านอยางจริงจัง 5. ลักษณะขององคก รที่บริหารมุงผลสัมฤทธ์ิ ลกั ษณะขององคการท่ีบริหารมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ มดี ังนี้ 1) มพี นั ธกิจ วัตถุประสงคองคก ารชดั เจน มีเปา หมายเปน รปู ธรรมโดยเนนที่ผลผลติ และผลลัพธ 2) ผูบ ริหารทกุ ระดับมเี ปาหมายท่ชี ัดเจน 3) เปา หมายวัดไดอ ยางเปนรูปธรรม โดยมตี วั ช้ีที่สามารถวดั ได 4) การตัดสนิ ใจจดั สรรงบประมาณใหห นวยงานจะพิจารณาจากผลสัมฤทธขิ์ องงานเปนหลกั 5) เจาหนาทท่ี กุ คนรจู ักรบั ผิดชอบตอ ผลงานทีไ่ ดกาํ หนดไวตามกาํ ลังความสามารถ 6) มกี ารกระจายอาํ นาจการตัดสนิ ใจ การบริหารเงนิ การบริหารคน สหู นวยงานระดบั ลาง เพอ่ื ให สามารถทาํ งานบรรลุผลไดอ ยางเหมาะสม 7) มรี ะบบสนบั สนุนการทํางาน เรอ่ื งระเบียบการทํางาน สถานที่ อุปกรณใ นการทาํ งาน 8) มีวัฒนธรรมและอุดมการณรวมกนั ในการทํางานทีส่ รา งสรรค 9) เจาหนาท่ีมีขวญั และกาํ ลังใจที่ดี 6. เทคนิคท่ีเกี่ยวขอ งกบั การบริหารมุง ผลสัมฤทธิ์ 1) การวัดผลการปฏบิ ัตงิ าน (Performance Measurment) การวดั ผลการปฏิบตั ิงานประกอบดวย การกําหนดเปาหมายและการเทียบผลการปฏบิ ัตงิ านกับเปาหมายท่ตี ้ังไว การวดั ผลการปฏบิ ตั ิงานมที ั้งการ วัดโดยใชตัวชว้ี ัดงา ยๆ หรอื ตอ งใชร ะบบการวดั ทซ่ี ับซอนและสามารถวัดไดห ลายแงม ุม เชน ความประหยัด (Economy) ความมปี ระสิทธภิ าพ(Efficiency) ความมีประสทิ ธิผล (Effectiveness) หรือคณุ ภาพบรกิ าร (Service Quality) วัตถุประสงคห ลักของการวดั ผลการปฏิบตั งิ านในองคการของรัฐ คือ เพือ่ การสนับสนนุ การ ตดั สนิ ใจที่ดขี ้ึนของผูบ รหิ าร เพอื่ ใหก ารปฏิบตั งิ านโครงการ บรรลผุ ลท่เี ปน ประโยชนตอสังคมสมตาม ความคาดหวงั ของประชาชน นอกจากนั้น การวดั ผลการปฏิบตั ิงานยังสามารถใชประโยชนในการปรับปรุง การปฏิบัติงานขององคก าร การปรับปรงุ การมอบอํานาจและการกระจายความรับผิดชอบภายในการจดั สรร งบประมาณ และการใหแ รงจงู ใจแกเจา หนาท่ดี ว ย สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 60  คมู อื เตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา 2) การเทียบงาน(Benchmarking) แนวคิดของการเทียบงาน สามารถเขาใจไดไมยาก เริ่มจากการ หาองคการท่ปี ฏิบัติงานดที ี่สุดในสาขาเดียวกนั กบั องคกรที่เราทาํ อยู แลวทาํ การศกึ ษาอยา งละเอียดวา องคการน้นั ทาํ ไมถึงทํางานปนะสบความสําเรจ็ สงู สุดอยา งน้นั จากนน้ั ก็วางแผนทจี่ ะยกระดบั ผลการปฏบิ ตั ิ งานของเราใหถึงระดบั องคการตน แบบ ดําเนินการตามแผนที่กาํ หนดไว พรอ มทั้งติดตามดูผลงานท่ีเกดิ ข้นึ ซ่ึงการเทยี บเคียงงานคือ การอาศัยฐานของการวัดผลการปฏิบัตงิ านแลว เปรยี บเทียบผลสัมฤทธข์ิ องงานและ กระบวนการทาํ งานกบั วิธปี ฏบิ ตั ทิ ีด่ ีที่สุด(Best Practice) เพอื่ หาทางปรบั ปรงุ กระบวนงานใหด ขี ึน้ และ สามารถเทยี บไดก ับผลการปฏิบัติงานขององคก ารทเ่ี ปนตวั เทียบ 2) คุณภาพการใหบรกิ าร(Service Quality) จุดเนนของเรือ่ งคณุ ภาพการใหบ รกิ ารอยูท่ีการให หนว ยงานของรัฐสนใจและตอบสนองตอความตอ งการของผูรบั บรกิ ารท้ังในเรอ่ื งการใหบ ริการทัง้ ในเรือ่ ง การใหบ รกิ ารและผลสัมฤทธิ์ของงาน ผูรบั บรกิ ารจะทาํ หนาทีเ่ ปน ทัง้ ผูประเมิน และผเู สนอแนะความเห็น ในการจะปรบั ปรงุ บริการตอไป เร่ืองคณุ ภาพการใหบ ริการนีเ้ ปนเร่อื งท่ีจะมีผลกระทบหรือเก่ียวของโดย ตรงกบั ผรู ับบรกิ ารมากทสี่ ุด องคประกอบของครุ ภาพการใหบ ริการ ไดแ ก การเขาถงึ ความสะดวกในการไป รบั บรกิ าร ความไมยุงยากหรอื งายตอการเขา ใจ การใหบริการอยางถูกตอง การบรกิ ารท่ีรวดเรว็ และการให บรกิ ารท่ีปลอดภัย 3) การตรวจสอบผลการปฏิบัตงิ าน(Performance Auditing) คอื การตรวจสอบความถกู ตอ งของ การจดั ทําขอ มูลผลการปฏบิ ตั งิ าน ซึง่ จะมไี ดท ั้งการตรวจสอบจากภายนอกและการตรวจสอบจากภายใน องคกร ในปจ จบุ นั จดุ เนนในการตรวจสอบอยทู ผี่ ลการปฏิบัติงานแทนการตรวจสอบปจจยั นาํ เขาหรือกระ บวนการทาํ งาน การตรวจสอบบัญชี หรอื ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิหนา ท่ตี ามกฎ ระเบยี บ เร่มิ ลดความสําคัญ ลงแตจะมาดูท่ีความสาํ เรจ็ ของโครงการ และผลสมั ฤทธ์ขิ องงานมากยิ่งข้ึน 4) การประเมนิ โครงการ(Project Evaluation) เปน กระบวนการท่ีศกึ ษาวา การวัดผล โดยจะดถู งึ ความคุม คา ของนโยบายหรือโครงการของรฐั เม่อื เสรจ็ สน้ิ โครงการแลว โดยพยายามแจกแจงความสมั พันธ ของเหตุและผลและอธบิ ายผลการปฏิบตั ิงานที่ไดผล การประเมินสามารถใชเ ปนตวั กระตนุ ใหเ กดิ การเปลย่ี น แปลงได เพราะจะชป้ี ระเด็นปญ หาทเ่ี กิดขน้ึ และมขี อเสนอแนะทางแกไ ขไวให 5) การมอบอาํ นาจและใหอ สิ ระในการทาํ งาน(Devolution and Autonomy) การมอบอาํ นาจและให อสิ ระในการทํางาน ถอื เปนเรอื่ งทส่ี ําคัญมากในการปรับปรงุ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ผบู รหิ ารองคกรจะไดรับ อิสระในหลายเรอื่ ง เชน การตัดสินใจดาํ เนินงาน การบริหารการเงิน การบรหิ ารงานบคุ คล และจะมีการยก เลกิ ขอ จาํ กดั กฎ ระเบยี บทเ่ี ปน อุปสรรคท้งิ ไปโดยแลกเปล่ยี นกับความรบั ผิดชอบตอผลสัมฤทธ์ิของโครงการ 6) การวางแผนองคก ารและแผนกลยุทธ( Corporate and Strategic Planning) เปนการกาํ หนด กรอบการทาํ งานทีก่ วางไกลใหแกก ารบรหิ ารมุง ผลสัมฤทธิ์ การเนน ทผ่ี ลสาํ เร็จอาจจะทาํ ใหม องแตผลระยะ สั้น แผนองคกรและกลยุทธน ้ที ําหนา ท่เี ปนตัวเชื่อมประสานระหวางวัตถปุ ระสงคร ะดับสูงขององคการกบั สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 61  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา เปาหมายโครงการในระดบั ปฏบิ ัติ และยงั สามารถใชในการประสานแผนงานระดบั กรม กระทรวง เพอ่ื ให ทํางานรว มกนั อยา งมปี ระสิทธิภาพได 7) การทําสัญญาผลการปฏบิ ัติงาน(Performance Contractiog) การทาํ สัญญาผลการปฏบิ ตั ิงาน มีไดท้งั การสญั ญาภายในองคก าร และสัญญาที่ผบู ริหารทํากับผมู ีอาํ นาจเหนือกวาภายนอกองคก าร การทํา สญั ญาจะครอบคลุมเรอื่ งขอตกลงผลการปฏิบตั ิงานประจําป ขอตกลงเร่ืองบประมาณ ขอ ตกลงเกีย่ วกับการ จัดซอ้ื จัดจางและขอ ตกลงเก่ยี วกบั การบรหิ ารภายในดวย การทาํ สญั ญาโดยปกติจะเปน การตกลงรว มกัน ระหวางผูใหสัญญา(ผคู วบคมุ ) ที่จะใหงานสําเรจ็ ตามเงอื่ นไข พรอ มท้งั ระบุการใหรางวลั หรอื การลงโทษ กรณีทมี่ ผี ลงานสงู หรอื ตา่ํ กวา เปา หมาย ประเดน็ ทีน่ าสนใจเพ่มิ คอื เรอ่ื งการจดั ทําขอตกลงภายใตก ารทํางาน ในระบบราชการวา ควรจะมกี ารดําเนินอยางไร จึงจะเหมาะสมกบั สภาพการทํางานท่มี คี วามซบั ซอ นมากกวา ในภาคเอกชน นอกจากน้นั ยงั มีเทคนิคทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั การบรหิ ารมงุ ผลสัมฤทธิ์ เชน 1) PPBS (Planning Programming Budgeting System) เปนระบบท่ใี ชใ นการวางแผนและจดั ทาํ งบประมาณ โดยมขี ั้นตอน 4 ข้นั ตอน คอื การวางแผน(Planning) การจดั ทําโปรแกรม (Programming ) การจัดทํางบประมาณ (Budgeting) และการประเมินระบบงาน (System Evaluation) 2) PERT-CPM(Project Evaluation and Review Technigue Critical Path Modle) เปน เทคนิค การวเิ คราะหภ ารกจิ กจิ กรรมท่ีตองดาํ เนินการกอ นหลัง และพิจารณาวา กิจกรรมตางๆ เหลา นนั้ กจิ กรรมใด อาจทาํ พรอ มกนั ได พรอมทั้งกาํ หนดระยะเวลาทตี่ องใชใ นการจดั ทาํ กิจกรรมตางๆ สรปุ ออกมาเปน แผน ดาํ เนนิ งานพรอมเสนทางการดําเนนิ งาน 3) เทคนิควิธใี นการบรหิ ารจดั การ และการตดั สนิ ใจ เปนเทคนิคทีน่ ํามาประยุกตใ ชใ นการตดั สนิ ใจ และจดั การโดยยอ 5 เทคนคิ คือ ทีมสนบั สนุน การระดมสมอง การรวมพลงั เดลฟาย องคกรในฝนและ ซีนารโิ อ สรุปพอสังเขป ดงั น้ี 3.1) ทีมสนบั สนนุ (Advocate Teams) เปน การจัดตง้ั ทีมงาน 2 ทีมหรือมากกวา ใหท ํางานอยา ง อิสระในการหาทางแกปญหา ซึ่งผูม ีอาํ นาจตัดสินใจจะตัดสนิ ใจแกปญ หาจากคําแนะนําทท่ี มี งานแตล ะทมี 3.2) การระดมพลังสมอง(Brainstorming) เปนการใชก จิ กรรมกลมุ ในการใหค วามคดิ เห็นภายใน เวลาท่กี ําหนด โดยไมส นใจความเปนไปไดใ นการปฏิบตั งิ านจรงิ หลงั จากมกี ารระดมพลงั สมองแลว ขอที่ แนะนาํ ไวจ ะถกู นําไปตรวจสอบ เพอื่ ดูวาเร่อื งใดเปนประโยชนและสามารถนาํ ไปแกป ญหาได ทีมสนับสนนุ สามารถชวยในการตดั สนิ ใจเร่อื งเปาหมาย และการแกไขปญหาในโครงการตางๆ ทมี น้ที ํางานอยา งหนกั ใช เวลา 2-5 วนั ในการอภปิ รายเพอ่ื วางแผนทําโปรแกรมและเสนอรายงาน 3.3 ) เดลฟาย(Delphi) เปน เทคนิคการใหเ ขยี นแสดงความคิดเหน็ อยา งหลากหลาย แลวรวบรวม มาสรุปเปน ประเด็นสําคญั โดยทําซ้าํ หลายครงั้ จนกวาจะไดผลลพั ธที่สามารถจะสรปุ เปน แนวเดยี วกันได สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 62  คูม อื เตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา 3.4) องคกรในฝน(The Possible Organization) เปนการรวบรวมขอเสนอแนะทีเ่ ปน ไปไดของ บคุ คลตา งๆ ในการพัฒนาองคก ารเปนไปตามท่ตี อ งการ ซึง่ ทาํ ได 2 แนวทางคอื แนวทางที่ 1 ใหความสนใจ กับรายละเอียดจากการจินตนาการ ซงึ่ ทาํ ได 2 แนวทาง คอื แนวทางท่ี 1 ใหค วามสนใจกับรายละเอยี ดจาก การจนิ ตนาการ องคกรในฝน ของบคุ คลตา งๆ แนวทางที่ 2 ใหบุคคลกลมุ ตางๆคิดถึงการพัฒนาองคกรอสิ ระ 3.5 ) ซนี าริโอ (Scenario) เปนกจิ กรรมทช่ี ว ยในการวางแผน การตดั สนิ ใจ การพยากรณอ นาคต ซึง่ จะเนน กระบวนการที่นําไปสูการดาํ เนนิ การทเี่ หมาะสมในอนาคตทเ่ี ปน ไปไดจริงๆ การกลาวถงึ อนาคต อยา งเลือ่ นลอยไมนบั วาเปน ซนี ารโิ อ ซนี ารโิ อ แบงไดเปน 2 ประเภท คือ 3.5.1) ซีนารโิ อเพอื่ การพัฒนา (Developmental Scenario) จดั ทําขึ้นในปจ จบุ นั โดยการใช สารสนเทศ จินตนาการ ตรรกสาสตร เพือ่ สนองแนวทางท่ีสามารถดําเนินการไดในอนาคต 3.5.2) ซนี ารโิ อตามเปา หมาย (Goal- based Scenario) ทําโดยกาํ หนดเปา หมายไวก อนแลว เสนอโอกาส หรือวิธกี ารทจ่ี ะทาํ ใหบรรลเุ ปา หมายนัน้ 7. การตดิ ตามประเมินผลระบบมงุ ผลสมั ฤทธิ์ ประกอบไปดว ยข้นั ตอนทส่ี าํ คัญไดแ ก 1) กาํ หนดผลสัมฤทธท์ิ ่ตี อ งการ 2) กําหนดตวั ชว้ี ัดผลสาํ เรจ็ ของงาน 3) เลือกวธิ ีการเก็บรวบรวมขอ มลู 4) กําหนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน 5) รายงานผลสมั ฤทธ์ิ 6) ใชป ระโยชนข อมลู การวดั ผลการปฏบิ ัติ 8. การกําหนดตัวช้วี ัดผลการปฏบิ ตั งิ าน ตวั ชวี้ ัดผลการปฏบิ ัติงาน(Key Performance Indicators) ท่ีเหมาะสมจะเปนตัวชว้ี ัดท่ีแสดงเปา หมาย ของกิจกรรมของหนว ยงานทีเ่ กี่ยวโยงกบั พันธกิจ องคก าร ตวั ชี้วดั 5 ประเภททมี่ ักใชในระบบการวดั ผล สมั ฤทธข์ิ องโครงการภาครฐั 1) ตัวช้วี ัดปจ จัยนาํ เขา (Input Indicators) ไดแ ก ทรัพยากรท่ใี ชในโครงการ 2) ตัวชว้ี ดั ผลผลติ (Output Indicators) จะแสดงจาํ นวนสง่ิ ของทผี่ ลติ ไดหรือจํานวนหนวยทไ่ี ดให บริการตอ ผูร บั บรกิ าร 3) ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ (Outcome Indicators) จะรายงานผลสัมฤทธข์ิ องโครงการ 4) ตวั ชี้วดั ประสทิ ธภิ าพและความคมุ คา(Efficiency and Cost – effectiveness ) จะแสดงคาใชจาย ตอ หนว ยของผลผลติ และผลลพั ธ 5) ขอ สนเทศเชิงอธิบาย(Explanatory Indicators) ขอ มูลนีจ้ ะเกี่ยวกบั องคประกอบทม่ี ผี ลกระทบ ตอ การปฏิบตั ิงานขององคการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 63  คูม ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 9. เงื่อนไขความสําเรจ็ ของการบริหารมุงผลสัมฤทธ์ิ เงอื่ นไขความสําเรจ็ ของการบริหารมงุ ผลสมั ฤทธิป์ ระกอบดว ย 9.1 ผูบริหารระดับสูงใหค วามเขา ใจและสนบั สนุน โดย 1) ใหความสาํ คญั และเขา ไปมสี วนรว มในกระบวนการกาํ หนดพันธกจิ และแผนกลยุทธ วตั ถุประสงค เปา หมายของโครงการเพ่อื ใหเ กดิ ผล 2) ใชขอมูลผลการปฏบิ ัตงิ านในการบรหิ าร ซ่ึงจะเปน ขอ มูลท่ีชว ยใหผ บู รหิ ารสามารถปรับปรงุ เกณฑม าตรฐานในการทาํ งานใหดยี ่งิ ข้นึ แกป ญหาไดถ ูกจดุ ข้นึ 9.2 การจัดทาํ ระบบขอ มูลผลการปฏบิ ตั ิงาน โดย ระบบขอมลู สามารถแสดงระดับการเปล่ยี นแปลง ของผลลัพธส ูเปาหมายขององคก รได 1) การพัฒนาตัวช้วี ัด ตองเลือกตัวชีว้ ดั ใหครอบคลมุ ความตอ งการของผมู ีผลประโยชนเ กย่ี วขอ ง และผมู สี ว นไดเ สียกบั งานนน้ั รวมถงึ ตวั ชวี้ ดั ทีแ่ สดงถงึ ความพึงพอใจของผรู ับบรกิ าร 2) การพัฒนาระบบขอ มูลผลการปฏบิ ตั ิงาน เปนการจัดทาํ ขอมลู ท่สี ะทอนผลงานจริง ทันเวลา และมปี ริมาณขอ มูลทเ่ี หมาะสม โดยมีคา ใชจา ยทป่ี ระหยัด 9.3 การพัฒนาบุคลากรและองคการ โดย 1) ผูบริหารทกุ คนตองใหค วามรใู นการวางแผนกลยทุ ธ การวัดผลการปฏิบัตงิ าน เพื่อการตดั สิน ใจในการทาํ งานประจาํ วนั 2) การฝกอบรมเปน เรือ่ งสาํ คัญท่ีตอ งวางแผนอยางรอบคอบ เพราะถือวา เปนการเปลีย่ นแปลง พฤตกิ รรมการทํางานของเจา หนา ทแ่ี ละวฒั นธรรมการทาํ งานขององคการ จากการทาํ งานที่ตองระวังไมใ ห ผดิ กฎระเบยี บมาเปนการทํางานท่คี ํานึงถึงผลสัมฤทธขิ์ องงาน ความคุมคา เงินที่ลงทุน และการตอบสนอง ความตอ งการของประชาชนผูร บั บริการ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 64  คมู อื เตรยี มสอบผูบริหารสถานศกึ ษา สมรรถนะทางการบรหิ าร (การบรกิ ารทด่ี ี) ก. ความหมายการบริการที่ดี (Service Mind-SERV) 1. ความหมายตามทัศนะ ก.พ. การบริการท่ดี ี หมายถึง ความตงั้ ใจและความพยายามของขา ราชการในการใหบรกิ ารเพอ่ื สนองความ ตอ งการของประชาชนตลอดจนของหนวยงานภาครฐั อืน่ ๆที่เกีย่ วของ 2. ความหมายตามทศั นะของ ก.ค.ศ. การบริการทด่ี ี หมายถงึ ความตง้ั ใจในการปรับปรุงระบบบรกิ ารใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือตอบสนอง ความตองการของผูร ับบรกิ าร ประกอบดว ยตัวชีว้ ดั คือ - การปรบั ปรงุ ระบบบริการ - ความพงึ พอใจของผรู ับบริการหรอื ผเู กย่ี วขอ ง ข. แนวคดิ สาระสาํ คญั ของการบรกิ ารท่ีดี (Service Mind-SERV) 1. ความหมายของการใหบริการทีดี บรกิ าร คือ สิ่งทจี่ ับตอง สมั ผัสหรือตองไดยากและเส่ือมสภาพไปไดงาย บริการจะทําขึ้นทนั ทีและ มุงสงมอบใหผ ูรับบรกิ ารทันทีหรอื เกอื บจะทนั ที การบริการท่ีดี หมายถึง การบริการที่ทําใหประชาชน(ลกู คา)พงึ พอใจ แตต อ งไมผ ิด กฎระเบยี บของ สว นราชการ และไมกอใหเกิดความเสียหายแกสวนงานราชการ การบริการประชาชน หมายถึง งานท่ีหนวยงานรัฐจะตองดําเนินการใหกับประชาชน หรือใหกับ สวนราชการดวยกันเอง เนื่องจากเปนอํานาจหนาท่ีที่ไดรับมอบหมายจะดวยกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ใดๆ ก็ตาม ทั้งนอ้ี าจเปนการบรกิ ารใหกบั ประชาชนโดยตรง หรือการบรกิ ารทางออม ดงั นัน้ การบรกิ ารทีด่ ี คอื การดําเนินการท่ีเอื้ออํานวยทางจิตวิทยา ใหเ กิดความพึงพอใจแกผ รู บั บริการ ผใู หบ รกิ ารไมว า หนว ยงานองคกรรฐั หรอื เอกชน จะตอ งมจี ิตสํานึกในการใหบ รกิ ารอยตู ลอดเวลา สาํ หรบั ภาคราชการ การใหบ รกิ ารประชาชนถอื เปน นโยบายสว นหนึง่ ของการปฏริ ูประบบราชการ ทีต่ อ งการจะ พัฒนาการใหบ รกิ ารใหม ีประสทิ ธภิ าพ สะดวก รวดเร็ว สมประโยชนของประชาชน ซง่ึ ตองมกี ารปรบั ปรุง ระบบโครงสรา งการบริการ จัดหาเครือ่ งมอื สิง่ อาํ นวยความสะดวกในการบริการและพัฒนาขา ราชการให เปน ผบู ริการท่ีดี และจะเห็นไดว าในปจ จุบันหนวยงานราชการจะใหความสําคัญกบั เรือ่ งการบริการประชา ชนเปนอยางย่ิง มกี ารดําเนินการเสร็จเรยี บรอยในท่ีเดยี ว ทเี่ รยี กวา One stop service หรือการบริการแบบ เบด็ เสรจ็ สามารถแขงขนั กบั เอกชนได เชน การทาํ บตั รประจําตัวประชาชน การคัดสําเนาเอกสาร การขอ อนุญาตจัดทําใบขับข่ี โดยใชเวลาไมกีน่ าทีก็เสรจ็ เปน ตน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 65  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 2. ลักษณะของงานบรกิ ารประชาชน งานบรกิ ารประชาชนอาจมลี ักษณะแตกตา งกัน ดงั น้ี 1) งานบริการประชาชนโดยตรง หมายถึง งานบริการท่ีหนวยงานของรัฐน้ันไมไดรับคําขอจาก ประชาชนโดยตรง เชน ประชาชนยื่นคําขอซ้ือขายที่ดินที่กรมท่ีดิน หรือประชาชนยื่นคําขอเสียภาษีรถยนต ประจาํ ปทก่ี รมการขนสง ทางบก หรือประชาชนขอรับหลักฐานเก่ียวกบั การศึกษา เปนตน 2) งานบริการประชาชนทางออม หมายถึง งานบริการที่หนวยงานของรัฐนั้น ไมไดรับคําขอจาก ประชาชนโดยตรง แตประชาชนไดย่ืนคําขอท่ีสวนราชการอ่ืน แตสวนราชการที่ไดรับคําขอจะพิจารณาหรือ ดําเนินการในเรื่องนั้นๆ ใหแลวเสร็จได จะตองสงคําขอท่ีไดรับนั้นไปใหหนวยงานอื่นที่เก่ียวของพิจารณา ตามอํานาจหจาที่ที่กําหนดไวกอนดวย เชน ผูประกอบการขอรับเงินชดเชยคางานกอสราง ตามสัญญาแบบ ปรับราคาได ท่ีหนวยงานของรัฐผูวาจาง เมื่อหนวยงานของรัฐผูวาจางไดรับคําขอแลวตองสงคําขอดังกลาว ใหสํานักงบประมาณพิจารณาอนุมัติ พรอมกับสงกรมบัญชีกลางเพ่ืออนุมัติฎีกา กรณีดังกลาวนี้ การบริการ ของสาํ นักงบประมาณ และกรมบัญชกี ลางเปน การบริการประชาชนทางออม 3) งานบริการระหวางสวนราชการ หมายถึง งานบริการที่หนวยงานของรัฐจะกระทําภารกิจใดได จําเปนตองไดรับอนุญาต อนุมัติหรือความเห็นชอบจากสวนราชการอ่ืนตามท่ีมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรอื มตคิ ณะรัฐมนตรีกําหนด 3. คุณภาพการใหบริการประชาชนของหนวยงานรฐั 3.1 ความหมายของคุณภาพ คุณภาพของบริการ ผลผลิต สินคา ข้ึนอยูกับมุมมองของลูกคาหรือผูรับบริการเปนสําคัญ จะประกอบไปดว ย ความตองการ(Needs) ของลกู คา และความคาดหวัง (Expectation) ของลกู คา คุณภาพ หมายถงึ 1) การทาํ ไดต ามขอกาํ หนดและมาตรฐานขององคกรใดๆ ตอ งมีขอกําหนด(Specification) และมาตรฐาน(Standards) ที่เปนของตนเอง เพอื่ ใหไ ดผลการปฏบิ ตั ิงาน(Performance) ตามทีต่ องการ และ เพ่อื ทาํ การปรบั ปรงุ แกไ ขใหดขี น้ึ อยา งตอ เนอื่ งหรือเพอ่ื ใหผลลัพธท ไี่ ดม ีความเบย่ี งเบนไปจากระดับที่ได คาดหวงั ไวใ หนอยที่สุด 2) สินคา ผลติ ภัณฑน้ี เหมาะสมกับการใชงาน(Fitness for use) เกิดความพึงพอใจของลูกคา ท่ีนํา ไปใชง านในระดับที่ตอ งการ 3) ลักษณะและคุณลักษณะโดยรวมของผลติ ภัณฑหรือบริการทีแ่ สดงใหเ หน็ ไดวา มีความสามารถท่ี จะทาํ ใหเกดิ ความพึงพอใจไดตามความตอ งการท่ไี ดระบุไว โดยเนน ความสาํ คัญของครุ ภาพไปท่ีขอ กาํ หนด และมาตรฐาน ตามที่ไดร ะบไุ วหรอื ไดแสดงเปน นยั ไว สําหรับการพสิ จู นว า บริการหรอื ผลิตภณั ฑ หรอื สนิ คานัน้ สามารถทาํ ไดต ามความตองการที่ได ระบุไวหรือแสดงไวเ ปน นัยคอื สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 66  คมู อื เตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา 2) นาํ ขอปฏิบัตทิ งั้ วธิ ีการและขอปฏบิ ัติตา งๆเพ่อื ใหไดม าซ่ึงคณุ ภาพ เขยี นเปน เอกสารไว 3) นําสิ่งท่ไี ดจ ากการปฏบิ ตั ิจรงิ และผลลพั ธจ ากการปฏบิ ัติบนั ทกึ ลงบนแบบฟอรมตา งๆท่ไี ด กาํ หนดไว ซึ่งเรียกวา บันทกึ คุณภาพ(Quality Records) แลวเก็บไวเ ปนหลักฐานเพอ่ื ยนื ยนั วา ทาํ ไดต ามท่ี ปฏิบตั ิ 3.2 การสรา งคณุ ภาพการใหบ ริการประชาชนของรัฐ 3.2.1 ปรับปรงุ ระบบวิธีการทํางาน ดงั นี้ 1) ปรับปรุงงานใหง า ย (Work Simplification) 2) คิวซ (ี QC) 3) การบรหิ ารแบบ TQM 4) การปรบั ร้ือระบบงาน(Reengineering) 5) กําหนดหลักเกณฑข ัน้ ตอน ระยะเวลาเอกสารประกอบ คาธรรมเนียม วิธีการดาํ เนนิ การ ใหชัดเจนเปน รายลกั ษณอกั ษร 6) ปรบั ปรุงการจัดบริการแบบเบด็ เสรจ็ ทจี่ ุดเดียว 7) ใหผ ปู ฏิบตั ิกําหนดคุณภาพมาตรฐานการใหบริการ โดยการมสี วนรวมของประชาชน 8) เผยแพรประชาสัมพันธก ารบรกิ าร 9) มรี ะบบการประเมนิ ผลแบบเปด 10) ใหร างวลั บุคคล หนวยงานท่ีมกี ารพฒั นาการใหบ รกิ าร 3.2.2 ปรับปรงุ สิ่งแวดลอมในสถานท่ที าํ งาน ดงั น้ี 1) สถานที่ทาํ งานจัดใหเ ปนระเบยี บเรียบรอ ย เปนสดั เปนสว น 2) สถานทจี่ อดรถ 3) การจดั สถานทน่ี ัง่ รอรับบรกิ าร 4) ความมีระเบียบเรียบรอย ความสะอาดในสถานที่บรกิ าร 5) มีเจา หนา ทีป่ ระชาสมั พนั ธชีแ้ จง 6) จดั ภูมทิ ศั นท่สี วยงาม 7) เจาหนา ทผี่ ูใหบริการ แตง กายสะอาดเปน ระเบยี บเรยี บรอย ปด ปายช่ือผใู หบริการ 3.2.3 ปรบั ปรงุ ตัวเจา หนา ท่ีผใู หบ ริการ ดงั นี้ 1) ใหมจี ติ สาํ นึก มที ัศนคติที่ดใี นการใหบริการ สรางจิตวิญญาณบริการ 2) หวั หนางาน กํากบั กวดขัน อยา งจรงิ จัง 3) หัวหนา ทาํ ตัวอยา งท่ีดี เปน ผูนาํ มศี รทั ธาในการใหบริการโดยไมตองบงั คับ สราง วัฒนธรรมใหม 4) ใหรางวลั หรอื การลงโทษ 4) พฒั นาใหม ีความรอบรู ทักษะในการใหบ ริการ โดยเฉพาะผใู กลชิดกับประชาชน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 67  คูม อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา (ตอ งมีคณุ ภาพ) 3.2.4 คณุ ลักษณะของผูใหบ รกิ ารท่ีดี ควรมลี ักษณะดงั น้ี 1) เปน มิตร จูงใจ เอ้อื เฟอ เอ้อื อาทรผูมารบั บรกิ าร 2) ซื่อสัตย ยตุ ธิ รรม เสมอภาค สะอาด โปรงใส 3) รอบรู เชี่ยวชาญ รบั ผิดชอบตอหนาท่ี 4) ใหเ กียรติผูอื่น เอาใจเขามาใสใ จเรา สภุ าพ ไมเลอื กปฏบิ ัติ 5) กระฉบั กระเฉง คลอ งแคลว คงเสนคงวา 6) ไมทจุ รติ ไมใ ชอ าํ นาจในทางทผี่ ิด พรอมสาํ หรบั การตรวจสอบ 7) มปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล 3.3 การปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการใหบ รกิ ารประชาชนภาครฐั การปรบั ปรงุ และพฒั นาคุณภาพการใหบ ริการประชาชนเปนนโยบายสวนหน่งึ ของการปฏิรปู ระบบราชการ แตก ารจะพัฒนาการใหบริการใหม ีประสิทธภิ าพ สะดวก รวดเร็ว สมประโยชนของประชาชน (และภาคธรุ กิจเอกชน) ผูใหบ ริการน้ัน จะตอ งมีปจ จัยอืน่ ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ งหรือมผี ลกระทบ ซงึ่ จาํ เปน ตอ ง ปรบั ปรุงหรือปฏิรูปดวยในบางกรณี ไดแก 1) โครงสรา ง หนว ยงาน ปรบั ปรงุ บทบาทภารกจิ 2) การมอบอาํ นาจ การกระจายอํานาจ 3) การปรับปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบียบ 4) การมีเครือ่ งมือเครอ่ื งใชท ที่ ันสมยั แนวคดิ ในการปรบั ปรงุ งานบรกิ าร ประกอบไปดวย 10 ขน้ั ตอนที่สําคัญคือ 1) ไดขอมลู พอ :มขี อมลู ตรงประเดน็ เห็นงาย แนใ จวาผูรับบรกิ ารไดร ับ 2) มคี วามแนใ จวาเขาใจถกู : งา ยๆดว ย Feedback 3) มเี ครื่องมือ ข้นั ตอน วธิ ีการ ทักษะท่เี หมาะสม : ดานทกั ษะฝก อบรมเปน ระยะ ๆ 4) อยา เปดโอกาสใหม ีการลืม : หลกี เลย่ี งสั่งงานดว ยวาจา ทาํ บนั ทกึ งาน (list) 5) ทําใหก ารทาํ งานงา ยขึ้น : ลดขัน้ ตอน ปรบั ปรงุ การควบคุม และแสดงผล 6) ใหเ วลาเพียงพอที่จะทาํ 7) สรา งแรงจงู ใจและความนา สนใจของงาน 8) แจงกลับความผิดพลาดทันที : ตรวจสอบ ทบทวน 9) ปรับปรงุ การตรวจจบั ความผิดพลาด 10) ลดผลกระทบจากความผดิ พลาดใหน อยลง 3.4 การสรางจติ สํานกึ การใหบ ริการประชาชนของรัฐ 1) การบรกิ ารเปน หนา ท่ีของขา ราชการ ปจ จยั สําคญั ทีส่ ดุ ที่ทําใหก ารปรับปรงุ การใหบรกิ ารภาครัฐ ประสบผลสําเร็จไดคอื การมที รัพยากรมนุษยท ่ีมีจิตสํานกึ ในการใหบรกิ ารและปรารถนาทจ่ี ะปรับปรุง สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 68  คูม ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา บรกิ ารภาครัฐ ท้งั นเ้ี นอ่ื งจากการบริการเปนกระบวนการของกจิ กรรมในการสง มอบบริการจากผูใหบ รกิ าร ไปยงั ผรู บั บริการ ไมใ ชส่ิงที่จบั ตองไดชดั เจนแตออกมาในรูปของเวลา สถานท่ี รปู แบบ และท่ีสําคญั เปนสิ่ง ท่เี อ้อื อาํ นวยทางจติ วิทยาใหเกดิ ความพึงพอใจ ดงั นนั้ จติ สาํ นกึ ในการใหบรกิ าร จึงเปนกุญแจสาํ คัญในการ ปรบั ปรงุ บริการภาครัฐ 2) คณุ ลกั ษณะของการบรกิ ารทด่ี ี การบริการทดี่ ี(SERVICE) ของเจาหนา ทหี่ รอื หนวยงานรฐั ควร ยึดหลกั การในการปฏบิ ัติเพอ่ื บริการท่ดี ตี ามอกั ษรของศัพทไดดงั น้ี 2.1) S = Smilling & Sympathy คือ การยม้ิ แยม เอาใจเขามาใสใ จเรา เหน็ อกเหน็ ใจตอความลาํ บาก ยงุ ยาก ของผูมารบั บริการ 2.2)E = Early Response คอื ตอบสนองตอ ความประสงคจ ากผูมารับบรกิ ารอยางรวดเรว็ ทันใจ โดยไมต องใหเ อยปากเรียกรอ ง 2.3)R = Respectful คือ การแสดงออกถงึ ความนับถอื ใหเ กยี รตผิ ุมารับบรกิ าร 2.4)V = Voluntariness maner คอื การใหบ ริการท่ีทาํ อยา งสมคั รใจ เต็มใจทํา ไมใชทํางานอยา ง เสียไมไ ด 2.5)I = Image Enhancing คอื การรกั ษาภาพลกั ษณข องผูใ หบ รกิ ารและภาพลกั ษณของ องคก ารดวย 2.6)C= Courtesy คอื ความออ นนอ ออนโยน สภุ าพ มมี ารยาทดี 2.7)E = Enthusiasm คอื ความกระฉับกระเฉง กระตอื รือรนขณะบรกิ ารและใหบริการมากกวา ทีผ่ รู ับบริการคาดหวังเอาไว 3.5 การพฒั นาสูความเปนเลศิ การใหบ รกิ าร หนว ยงานท่ีจะใหบ ริการทีเ่ ปน เลิศได จะมคี ุณลักษณะขอใดขอหนึง่ หรือหลายๆ ขอ ดังตอไปนี้ 1) วางระบบขาราชการสมั พนั ธท ด่ี ี 2) หนวยงานมีการรณรงคและปลูกฝงจติ สํานึกตอ การใหบ ริการทีด่ เี ยี่ยมแกประชาชน 3) มกี ารพฒั นาและปรบั ปรุงระบบบรหิ าร 4) หนว ยงานเหลา นตี้ ระหนกั วา ปฏิบัตกิ ารใดๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ในหนวยงาน ลวนมีผลกระทบตองาน บริการประชาชนเสมอ 5) หนว ยงานเหลา น้ีสามารถบรหิ ารระบบงาน เพื่อใหมาตรฐานการใหบรกิ าร ท่วี างไวส ูงนั้นเปน ความจรงิ ได 6) มกี ารฝกอบรมใหท ั้งระดบั หวั หนาและผูป ฏิบตั ิงาน 7) มกี ารกําหนดบทบาทหนาทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบอยางชดั เจน 8) มรี ะบบการจงู ใจและใหก ําลงั ใจขา ราชการท่ีใหบ ริการดเี ดน 9) มรี ะบบการประเมินผลการปฏบิ ัติงานทมี่ ีประสิทธิภาพ 10) มกี ลไกภายในองคก รที่ชว ยเกอื้ หนุนใหเกดิ คานิยมการใหบรกิ ารที่ดีแกประชาชน สอบครูดอทคอม

69  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา 3.6 การบริหารงานบริการจากธรุ กิจสูราชการ 1) ธรรมชาตแิ ละลักษณะเฉพาะของการบริการ ไดแ ก 1.1) ความไมมีตัวตน (Intangibility) : ยอ มเปนเจา ของโดยถาวรไมได 1.2) ความแยกจากกนั ไมไ ด (Inseparability) : ลกู คามีสวนรวมในการผลิต 1.3) การเก็บรกั ษาไมได(Perishability) : ยอ มไมม ีสนิ คาคงคลัง 1.4) ความตอ งการทีไ่ มแนนอน(Fluctuating Demand) : ลูกคาและเวลาเปล่ยี น ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 1.5) ความแตกตางในการบริการแตละคร้งั (Variability or Heterogeneity) 2) มุมมององคป ระกอบการบรกิ ารของผูใหบริการ ไดแก 2.1) องคประกอบดานผลผลติ 2.2) ชองทางการใหบริการ สถานทแี่ ละเวลา 2.3) กระบวนการใหบรกิ าร 2.4) พนกั งาน 2.5) ผลิตภาพและคุณภาพ 2.6) ราคาและคาใชจายอนื่ 2.7) การสงเสรมิ การตลาดและใหค วามรู 2.8)สิ่งแวดลอมทางกายภาพ หลักฐานทางวัตถุ 3) มมุ มององคป ระกอบการบรกิ ารของผรู บั บรกิ าร ไดแ ก 3.1) คณุ คา ที่จะไดร ับ 3.2) ความสะดวก 3.3) การดูแลเอาใจใส 3.4) ความสําเร็จในการสนองความตองการ 3.5) ตน ทุน 3.6) การตดิ ตอ สอื่ สาร 3.7) ความสบาย 4) องคประกอบของคุณภาพในงานบรกิ าร โปรดอยา ลมื วา “ลกู คา มักตดั สินเกี่ยวกับคณุ ภาพของบริการที่เขาไดร ับจากการประเมนิ บคุ คล ที่เปนผูใ หบ ริการ” องคป ระกอบของคณุ ภาพในงานบรกิ ารจึงประกอบไปดว ย 4.1) สง่ิ ท่สี มั ผสั ได 11% 4.2) ความเชอ่ื ถือและไววางใจ 32 % 4.3) ความรวดเรว็ 22 % 4.4) การรบั ประกนั 19 % 4.5) การเอาใจใสลกู คา เปนรายบุคคล 16% สอบครดู อทคอม

70  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศึกษา 4. ปจ จยั ในการใหบริการท่ีดี ปจจัยในการใหบริการท่ีดีนอกจากกลา วมาขอ งตนแลว ยงั มีสวนสําคัญอกี ไดแ ก 1) อาคารสถานที่ โดยเฉพาะหองนา้ํ หอ งนาํ้ ตอ งสะอาด ปราศจากกล่ินเหม็น มีภูมิทัศน ท่ีดี รวมถึงมี กฎ ระเบยี บตาง ๆ หรอื อุปกรณ เครอื่ งมอื เคร่อื งใช ในสาํ นกั งาน หนว ยงานตองใหก ารเรยี นรู และฝกอบรม พนกั งานทําความสะอาดและหรอื พนกั งานผูใหบรกิ ารดว ย 2) บุคลากรในองคการทส่ี าํ คญั ไดแ ก ผูบงั คับบัญชา ผูป ฏบิ ตั งิ าน และเพื่อนรวมงาน ซงึ่ บุคคลทงั้ 3 กลุม เกย่ี วพันกนั ตลอดตง้ั แตหัวหนา ลูกนอง เพือ่ นรว มงานหากทาํ ใหการบริการตา ง ๆดีข้นึ หากหวั หนา ไมเปนตัวอยางทดี่ ี ลกู นอ งจะไมป ฏบิ ตั ิ หัวหนาเปน ตวั อยางทดี่ ี แตล กู นองไมปฏบิ ตั ิ งานก็ไมด ี หัวหนา กับลูกนอง ปฏิบัติงานดแี ลว แตเพื่อนรวมงานบางคนทํางานไมไ ดเ ร่อื ง ทําใหเสียหายกนั ทัง้ หมด เพราะ ฉะนั้นทัง้ 3 บุคคล ตอ งชวยกันในการใหบ ริการทด่ี ี 5. สามเหล่ียมแหง บรกิ าร (The Service Triangle) Karl Albrecht ไดเสนอแนวคดิ ปจจัยสาํ คัญในการปฏบิ ัตกิ ารบรกิ าร อันเปรยี บเสมือนดานแตละ ดา นของรปู สามเหล่ยี มดา นเทา ซึ่งภายในบรรจผุ รู ับบรกิ ารไว หากขาดปจ จยั ดา นหน่งึ ไปสามเหลยี่ มน้จี ะไม ครบดาน เปน รูปสามเหลีย่ มตอ ไปไมได น่นั คอื องคกรจะใหบ ริการทดี่ ีตอไปไมไ ด เรียกรปู นี้วา สามเหล่ยี ม แหงการบริการหรอื The Service Triangle ดังแผนภาพ ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com กลยุทธก ารบรกิ าร พนักงาน ผูร ับบริการ ระบบงาน แผนภาพ แสดงปจ จยั แหงสามเหล่ยี มแหง บรกิ าร(The Service Triangle) จากหลกั การนีจ้ ะเหน็ วา การสรางความประทับใจใหกบั ประชาชน ตองจัดการเพือ่ ใหป จจยั แหง สามเหลย่ี มแหง บรกิ าร(The Service Triangle) นมี คี วามเหมาะสมและสอดคลองกนั คือ 1) กลยุทธในการใหบริการ(Strategy) หรอื วตั ถุประสงคหลัก อนั ใชเปนแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ตองกาํ หนดไวเพื่อทาํ ใหก ารปกบิ ตั ิเขา สูเปาหมาย โดยมคี วามยืดหยนุ ตวั พอเพียง มคี วามแมนยํา ตรงเขา เปาหมายไดด ี โดยหลักฐานของการสนองตอบความตอ งการของประชาชนไดอยา งจริงจัง สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 71  คูมือเตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา 2) ระบบงาน(System) หรอื กระบวนการ อนั ตองเนน ใหระบบการบรกิ ารประชาชนเปน เรอื่ ง เรียบงาย ประชาชนสบายใจเมื่อมาใชบ ริการ ไมย ุง ยากซบั ซอ นดเู ปนเจาขนุ มลู นาย ประชาชนตอ งเขา ใจงายๆ เขา พบปรกึ ษาหารือไดงาย เปนกันเอง มีความคลอ งตัวสงู กฎระเบียบเปน ส่ิงทชี่ ว ยเออ้ื อาํ นวยประโยชน ตอ ประชาชน ทําใหบ ริการดีไมเ ปน ตวั จาํ กดั การบรกิ าร 3) ขาราชการ(Staff) ผูใหบ รกิ ารในทกุ ระดบั ตองไดรับการสรรหา พมั นาและปรบั พฤตกิ รรม ตลอดจนวธิ กี ารทาํ งานใหมีลักษณะเนน ความสําคัญของประชาชน นน้ั คือมจี ิตสาํ นกึ ตอ การใหบริการทดี่ ี การจะทําใหส ามเหล่ยี มแหงการบรกิ ารสัมฤทธ์ิผล ตองไดรับความรวมมือรวมใจจากขา ราชการ ทกุ คนทุกฝา ย โดยทําเปน แผนพัฒนาการบริการขององคืกรขึ้นใหชดั เจน 6. บทบาทของผูใหบรกิ ารในภาคปฏบิ ัติ บทบาทของผใู หบริการทัง้ ทเ่ี ปนหัวหนา งานหรือหัวหนาทีม และผูใหบ รกิ ารในภาคปฏบิ ัตจิ รงิ ควร เปนดงั นี้ 1) บทบาทหวั หนา ทีมงาน หรือ หัวหนา ทมี บรกิ าร เราควรมีบทบาท คณุ ลักษณะ และมคี วามรบั ผิดชอบ ดังน้คี ือ 1.1 เปน ผพู ฒั นาการใหบ ริการ 1.2 หวั หนาทมี บรกิ ารยงั มีหนาทใี่ นการใหบ ริการดวย 1.3 หวั หนา ทมี บรกิ าร เปน ผตู รวจสอบคุณภาพวา ลูกนองปฏิบตั ติ ามที่เราสอนหรอื เปลา ถาเขา ปฏบิ ัตกิ ็ใหค ะแนน หากไมป ฏบิ ตั ิกว็ ากลา วตักเตอื นตอ ไป 1.4 หัวหนาทีมบริการท่ีดีมีควรมีลักษณะท่ีดี ไดแก มีภาวะผูนํา มีคุณธรรม มีความรอบรูในงาน บริการไดด ี 1.5 พฤติกรรมการใหบรกิ ารท่ดี ี เชน พดู จาสภุ าพ ไพเราะ นิ่มนวล ไมดูถกู เหยยี ดหยาม ลามปาม หรอื รังเกยี จ ใหข อมูล ใหค าํ แนะนําไดถ ูกตอ ง แกไขปญ หาไดท ุกเรอ่ื ง ไมปฏิเสธทนั ทีแตมที างเลือกให 2) ผใู หบ ริการ ในฐานะทเ่ี ปน ผใู หบริการ ตอไปนี้เปนตัวอยางการบริการที่กําหนดเปนกฎการให บรกิ าร12 ขอ ทม่ี กั ใชบอ ย ๆในหนว ยราชการ ไดแ ก 2.1 กฎขอ ท่ี 1 การใหบ รกิ ารทีด่ ี เปน หนาท่ีของขาราชการทุกคน 2.2 กฎขอ ท่ี 2 การใหบริการท่ดี ี ตองมที ัศนคติท่ดี ีตอหนว ยงาน ตอเพือ่ นรวมงานตองาน ตอตัว เราเอง(ขาราชการ) เราเองตองมีความภมู ใิ จตอ ประชาชนเพราะประชาชนเปนผเู สียภาษใี หร ัฐบาล เพราะเรา รบั เงินเดือนโดยไดมาจากการเสยี ภาษีของประชาชน ฉะน้ันเราจึงตองรับใชประชาชนและควรมองประชา ชนในแงด ีอยางเสมอภาคกัน 2.3 กฎขอท่ี 3 การใหบริการที่ดี ตองรูวาทําดีแลวไดอะไร ทําดีไดดี ทําช่ัวไดช่ัว บริการดีไดดี บรกิ ารไมดไี ดไ มดี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 72  คมู ือเตรียมสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา 2.4 กฎขอที่ 4 การใหบริการทด่ี ตี องมเี ปาหมายในการใชบริการ ตามปรัชญาของการใหบ รกิ าร คอื เราจะใหบรกิ ารที่ตอบสนองความคาดหวังของประชาชนดวยความตง้ั ใจ เตม็ ใจ และจรงิ ใจทกุ คร้ัง ความคาดหวังของประชาชนในการใชบ ริการ เชน ความสะดวกสบาย ใชบ ริการงา ย ไดรบั คําแนะนํา ตองการความเปน มติ รและเปนกันเอง ตองการความปลอดภยั เสียคาใชจ ายนอย มีรอยยมิ้ ทท่ี ีป่ ระทบั ใจ ไดรบั เกยี รติ ไมด ูถกู ไมพ ูดจากระโชกโฮกฮาก แกไขปญหาได มีปญหาอะไรกช็ ว ยกันได ทําเรือ่ งยากให เปนเร่ืองงาย มีคนเขา ใจ ไมถ กู บงั คบั เปนตน 2.5 กฎขอท่ี 5 การใหบรกิ ารท่ดี ีตอ งไมคิดวา ผใู ชบ รกิ ารรูทกุ อยา งเหมือนทเ่ี รารู เชน การจะไป ขอสรา งบา นน้นั ตองมีหลกั ฐาน เอกสารอะไรบาง ถึงราชการจะอนญุ าตใหม ีการสรา งบานใหม ขอเลขที่ บานใหม เราเปนเจาหนาทอี่ ยาโกรธประชาชน ควรใหคาํ แนะนําในการใหเขาเตรียมหลกั ฐานใหถูกตอ ง อยา คิดวา ประชาชนรูเ พราะในระเบียบกฎหมายมีบอกไว พวกทา นควรจะแนะนําใหถ กู ตอ ง 2.6 กฎขอที่ 6 การใหบ ริการท่ดี ี ตองมที กั ษะในการพูด การถามและการฟง 2.7 กฎขอท่ี 7 การใหบริการท่ีดี ตองมีวิธีทําใหประชาชนหายโกรธ ผูใชบริการโกรธเพราะอะไร ในการไมไดส ง่ิ ทตี่ อ งการ หรอื ไดในส่ิงท่ไี มต องการ 2.8 กฎขอที่ 8 การใหบริการที่ดี ตองมีการใหบริการที่เกินความคาดหวัง เชน เราไปทานสุกี้แลว กลิ่นปากแรงมาก ในรานก็แถมหมากฝรั่งใหดับกลิ่นปาก หนวยงานราชการใหบริการท่ีเกินความคาดหวัง หรือไม ทําอยางไรไดบางไหม เชน คัดสําเนาทะเบียนบานแถมซองพลาสตกิ คุณยายแก ๆเขามาติดตองาน ทะเบยี นราษฎรไมต องเสยี คาธรรมเนียม 2.9 กฎขอที่ 9 การใหบริการที่ดีตองไมปฏิเสธทันที ตองมีทางเลือกสามารถแกไขใหประชาชน หรือลกู คา ได 2.10 กฎขอท่ี 10 การใหบ รกิ ารท่ีดี ตอ งมีทาทางในการใหบ ริการที่ดี 2.11 กฎขอที่ 11 การบริการท่ีดี ตอ งตรงตอเวลา พรอ มใหบริการตลอด 2.12 กฎขอที่ 12 ทําอะไรตองบอก บอกอะไรตองทํา เชน อยากใหประชาชนมาติดตอขอ จดทะเบยี นสมรส ตอ งนาํ หลักฐานอะไรบา ง ตอ งบอกประชาชนใหทราบ แลว ใหประชาชนทําตามนั้น 7. ตัวอยางระบบการใหบริการทด่ี ใี นสวนราชการ ระบบการใหบริการในสว นราชการนน้ั พอจะประมวลไดวาควรจะมีลักษณะ 1) การบริการที่ดีตองคํานึงถึงธรรมชาติของมนุษย ที่ตองการใหคนมาแบงเบาความทุกข การบริการตองกอใหเกิดความรูสึกผอนคลายและลดความเครียด ฉะนั้น ภาพลักษณโดยรวมของการบริการ จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ไมวาจะเปนการยิ้มให ใจเย็น การยิ้มแยมแจมใส เต็มใจบริการดวยความโอบออม อารี วจไี พเราะ สงเคราะหทุกคน ยากจนไมเกยี่ ง มีนํ้าใจเอ้ืออาทร และบริการรวดเรว็ 2) การบริการ ตองใหผูรับบริการใชเวลาอยูในพื้นที่ใหบริการนอยที่สุด เนื่องจากหนวยราชการ มักมีลักษณะคับแคบ หรือหากเปนสถานที่เด่ียวก็มักจะมีที่ตั้งอยูไกล การสัญจร คมนาคมไมสะดวก ฉะนั้น สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 73  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศกึ ษา การบริการจึงตองรวดเร็วและมีความละเอียดถ่ีถวนในการบริการ จะไดไมตองกลับมารับบริการอีกครงั้ หรือ ในทางตรงกันขาม อาจจัดรูปแบบการบริการเคล่ือนที่โดยรวมการบริการหลาย ๆ บริการของสวนราชการ ไปเสียทีเดียวกนั ในลักษณะการบริการแบบองคร วม 3) การบริการท่ีดีตองคํานึงถึงสภาพแวดลอม ตลอดจนลักษณะทางภูมิทัศน สรางบรรยากาศของ หนวยบริการใหนารับบริการ มีความสะดวกครบถวน หรือใหขอมูลการบริการท่ีจําเปน เชน หากไมมีการ บริการถายเอกสารจะไปใชบริการไดท่ีไหน ราคาเทาไร รานถายรูปใกลท่ีสุดอยูท่ีไหน มีรานอาหารบริการ ราคาประหยัด ซึ่งหากติดเที่ยงจะไดมีที่รับประทานอาหารได มหี องน้ําบริการโดยไมล็อคกุญแจในกรณีสวน ราชการที่อยูนอกศาลากลาง ซ่ึงอาจแยกมา 1 หองตางหาก มีทางเดินของผูพิการหรือคนชรา อาจมีสวน หยอมเล็ก ๆ เพ่ือใหเกิดความเพลินตาเพลินใจ หรือมีหนังสือพิมพ หนังสือนิตยสารตาง ๆ ใหอาน เพ่ือเกิด ความเพลดิ เพลนิ หากบรกิ ารลาชา ไปบางกพ็ อรอได 4) การบริการที่มุงเนนประสิทธิภาพสูงสุด โดยเริ่มตั้งแตการดูเอกสารท่ีเกี่ยวของใหครบถวน ถูกตอง หากมีความผิดพลาดตองรีบบอกและอธิบายใหเกิดความเขาใจ มีการกําหนดข้ันตอนและเวลาที่ควร แลวเสร็จของการบริการ มีแผนผังแผนภูมิข้ันตอนบริการตลอดจนรูปถาย ช่ือ ของผูรับผิดชอบในแตละ ขั้นตอน การใหบริการน้ัน ๆ มีแผนประกาศบอกเอกสารที่จําเปนตอการรับบริการในแตละเร่ือง ตองใช เอกสารสําคัญอะไรบาง มีขอกําหนดอะไรบาง เชน ตองมาดวยตนเองหรือไม การมอบฉันทะจะทําอยางไร หลักฐานใชอะไรบาง มีคาบริการหรือไม ถามีตองเปนอัตราท่ีแนนอน เปดเผยทั่วกัน เชน จดทะเบียนสมรส ไมม ีคา ใชจ าย จดทะเบียนหยา 100 บาท เปนตน 5) การบริการท่ีดี ควรมุงการบริการสูความเปนเลิศ โดยมีการพัฒนาระบบการใหบริการอยูเสมอ โดยตองพัฒนาท้ังระบบ ตั้งแตการตอบคําถามใหได ใครคือผูรับบริการ การบริการน้ันเปนการบริการทาง ตรงหรือทางออม บริการทางตรง หมายความถึงผูรับบริการไดรับประโยชนจากการบริการนั้นโดยตรง เรียก วาถึงมือ ถึงบาน ก็จะมีองคประกอบที่ควรวิเคราะหหาคําตอบกอนการใหบริการ คือมีความเขาใจในบริการ น้ัน ๆ หรือไม มีความพรอมท่ีจะตอบสนองหรือไม ท้ังความพรอมเรื่องคน เร่ืองของวัสดุอุปกรณตาง ๆ ความพรอมแตละพ้ืนที่ภายใตกระบวนการของระบบบริการ คือ กฎระเบียบ ข้ันตอน ตลอดจนเง่ือนไขของ การใหบริการ การบริหารการบริการนั้น ๆ สภาพแวดลอมเอ้ืออํานวยตอการบริการน้ัน ๆ หรือไม การออก แบบระบบมาตรฐานใหบริการ เชน การกาํ หนดระยะเวลาทก่ี ารบริการจะแลวเสร็จในแตล ะขั้นตอน ความถูก ตองของการบริการ ความรวดเร็วของการบริการ เปนตน และการประเมินผลการบริการเพื่อพัฒนาระบบ บริการ ประการสําคญั ท่สี ดุ ของการบรกิ ารเปน เลศิ กค็ อื การมจี ติ วญิ ญาณการบริการของขาราชการทุกคน สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 74  คูมือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา สมรรถนะทางการบรหิ าร (การพัฒนาตนเอง) ก. ความหมายของการพฒั นาตนเอง (Expertise-EXP) 1. ความหมายตามทัศนะ ก.พ. การพัฒนาตนเองหรือการสง่ั สมความเช่ียวชาญในงานอาชีพ หมายถึง ความขวนขวาย สนใจใฝร ู เพอ่ื สง่ั สม พัฒนา ศกั ยภาพ ความรูความสามารถของตนในการปฏบิ ตั ริ าชการ ดวยการศึกษา คน ควา หาความ รู พฒั นาตนเองอยางตอเน่อื ง อกี ทัง้ รจู กั พฒั นา ปรบั ปรงุ ประยุกตใ ชความรเู ชงิ วิชาการและเทคโนโลยีตางๆ เขา กบั การปฏบิ ัติงานใหเ กดิ ผลสัมฤทธิ์ 2. ความหมายตามทัศนะของ ก.ค.ศ. การพัฒนาตนเอง หมายถงึ การศกึ ษาคน ควาหาความรูตดิ ตามองคความรแู ละเทคโนโลยีใหม ๆ ใน วงวิชาการและวิชาชพี เพอื่ พัฒนาตนเองและพัฒนางาน ประกอบดว ยตวั ชว้ี ัด คือ - การศกึ ษาคนควาหาความรู ดวยการเขาประชุมวิชาการ อบรม สัมมนา หรอื วชิ าการอ่นื ๆ - การรวบรวมและประมวลผลความรูในการพฒั นาโรงเรยี นและพัฒนาวชิ าชพี - การแลกเปล่ยี นความคิดเห็นดานวิชาการในหมเู พอ่ื นรว มงาน ข. แนวคิด สาระสาํ คัญของการพฒั นาตนเอง (Expertise-EXP) 1. ความหมายของการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเอง หมายถงึ การที่บุคคลกาํ หนดวตั ถุประสงคหรอื เปาหมายในชวี ิตของตนเองไวลว ง หนา และหาวิธีพฒั นาการดําเนินชีวิตใหบ รรลุเปาหมายทวี่ างไว การพฒั นาตนเองที่ดคี วรมีท้ังศาสตรแ ละ ศิลป ท่เี รียกวาศาสตร คือ ระบบความคิด และความรูเชิงวิชาการ สว นศลิ ป คอื การนาํ เอาศาสตรต าง ๆ ทไ่ี ด เรยี นรูนัน้ มาประยกุ ตใชแ บบผสมผสาน ปรับเปลีย่ น ดัดแปลง แกไขใหเ หมาะสมกับตนเอง 2. ความสําคญั ของการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเองจัดเปนวธิ ีการสรา งเสริมความเจริญกาวหนา ทางอาชพี ใหแกนกั วชิ าชีพทุกสาขา การพัฒนาตนเองเพ่ือใชป ระกอบการทํางานมคี วามสําคญั มใิ ชเ ฉพาะนักวิชาชีพเทานัน้ ยังมคี วามสําคัญตอ สภาวะแวดลอมของการทาํ งาน และความสัมพันธข องบคุ คลภายในองคก รอีกดว ย จึงอาจกลาวโดย สรปุ ถึงความสาํ คญั ของการพัฒนาตนเองได ดังนี้ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 75  คมู ือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศกึ ษา 1. เทคโนโลยขี า วสารมีความกา วหนา ไปมาก ฉะนั้นนกั วชิ าชพี จะตองมกี ารพฒั นาตนเองทางดา น ขอ มูลขา วสารอยูเสมอ เพ่อื ใหทันตอ ความกาวหนา ของวทิ ยาการและเทคโนโลยีใหม ๆ ตลอดจนนาํ มา ประยกุ ตใ ชใ นงานอาชีพไดอยางเหมาะสม 2. การพัฒนาตนเองเปนสง่ิ ที่จาํ เปนสาํ หรบั นกั วิชาชพี ท่จี ะสรา งความกาวหนาใหแกต นเองในดา น วชิ าชพี เพ่ือการเปนนักวชิ าชพี ทีม่ คี ณุ ภาพ 3. การพฒั นาตนเองเปน กลวิธีเบอ้ื งตนทจี่ ะนาํ ไปสกู ารปรับปรงุ โครงสรางขององคก ร 4. การพฒั นาตนเองในการประกอบอาชีพของบคุ คลใดบคุ คลหนึ่ง ยอ มสง ผลทางออ มแกส งั คมใน ทางท่ดี ี นอกจากจะชว ยขจดั ปญหาตา ง ๆ ในสวนตัวแลว ยังบังเกดิ ความเจรญิ กาวหนาทงั้ ตอตนเองและสงั คม สว นรวม 5. การทบี่ ุคคลจะมภี าวะความเปนผูนาํ ไดดนี ั้น ก็ตอ งเร่มิ ตนที่ตนเองกอ น ตอ งฝกหัดใหม กี ารพัฒนา ตนเองในทกุ ๆ ดาน 6. ความเปน ปกแผนของประเทศชาตติ อ งอาศัยปจ จัยหลาย ๆ ดา น ปจจัยที่สาํ คัญก็คือพลเมอื งของ ชาตจิ ะตองมีคณุ ภาพควบคกู ับคณุ ธรรม ฉะนัน้ การพฒั นาตนเองของบคุ คลทุกสาขาอาชีพจึงมีบทบาทสําคัญ อยางยิง่ ตอ ความเจรญิ กา วหนาของประเทศชาติ 7. การสรางภาพลกั ษณท่ีดขี องงานอาชพี ก็ตอ งอาศัยการพฒั นาตนเองของพนกั งานหรอื เจาหนาที่ ในหนวยงานเปนจุดเริม่ ตน ฉะนน้ั การพฒั นาตนเองของบุคคลไมว า จะอยูในสาขาอาชีพใดจะมบี ทบาทที่ สาํ คญั อยา งตอ ภาพลกั ษณของสาขาอาชพี นน้ั ๆ 3. สาเหตขุ องการพฒั นาตนเอง สาเหตุทตี่ อ งมีการพัฒนาตนเอง สรุปไดดงั น้ี 1. ความเจริญกาวหนาทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี หนว ยงานและองคกรตาง ๆ มีการนาํ คอมพวิ เตอรเขามาใชในการพัฒนางานกนั มากยิ่งขน้ึ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรเองกม็ ีการพฒั นาไปมากเชนกนั ฉะนนั้ นกั คอมพิวเตอรจ ะตอ งพฒั นาตนเองใหม ีความรูทที่ ันสมัยและกาวทันเทคโนโลยที ม่ี ีการพัฒนาไป อยา งรวดเร็ว 2. ความสลับซับซอนของระบบงาน สืบเนอ่ื งมาจากากรพฒั นาทางเทคโนโลยแี ละการขยายขอบขา ย ของงานอาชีพคอมพิวเตอรทงั้ ในวงการธรุ กิจและอสุ าหกรรม รวมทั้งงานในดานอ่นื ๆที่มาเกี่ยวของอกี มาก มาย งานบางอยา งมีรายละเอยี ดของระบบการทํางานทย่ี งุ ยากหรอื ซับซอนแตกตา งกันออกไป ฉะน้นั จงึ จาํ เปน ทีผ่ ูปฏิบตั ิงานทางดา นคอมพิวเตอรจะตองมคี วามรคู วามเขาใจ และสามารถปรบั ตวั ใหเขา กับความ เปล่ียนแปลงตา ง ๆ เหลาน้นั ได 3. การสนองนโยบายของหนว ยงาน การทาํ งานท่เี ปนองคกรภาครัฐบาลหรือภาคเอกชน ถึงแมจ ะมี จุดมงุ หมายทแ่ี ตกตางกนั กลาวคือ องคก รที่เปนภาครฐั บาลดาํ เนินการโดยมุง ใหบริการประชาชน มักจะ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 76  คมู อื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา คํานงึ ถงึ ผลประโยชนสวนรวมมากกวาสว นตน ผดิ กบั องคกรของเอกชนน้ันที่มุงแสวงหาผลกาํ ไร ถึงแมจ ะ มีความแตกตางกนั ในจดุ มุงหมาย แตก็มนี โยบายอยางหน่ึงทเ่ี หมอื นกัน คอื การพัฒนาบคุ ลากรในหนว ยงาน ใหม ีคุณภาพในการทํางาน 4. การเปลีย่ นแปลงตําแหนงหนาท่กี ารงาน เมือ่ มกี ารเปลย่ี นแปลงตําแหนง หนา ท่ีในการทาํ งานยอ ม ตอ งมีการปรับตวั เพอ่ื ใหเ ขา กับการเปลีย่ นแปลงตาง ๆ ของตําแหนงหนาท่หี รอื งานใหม ๆ ฉะน้นั นักวิชาชพี จึงจาํ เปน จะตองมีการพัฒนาตนเองอยูเสมอ จะไดรจู ักวธิ ีการทํางาน และสามารถยนื หยัดไดโดยไมห วั่นไหว เม่อื ตอ งเผชญิ กบั ปญหาและอปุ สรรคตาง ๆ ทีเ่ กดิ จากความเปล่ยี น 5. ปญหาเก่ียวกับคณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ปญ หาท่ีเกีย่ วกับคุณธรรมเปนปญ หาที่ เกิดข้นึ มากในหลาย ๆ อาชีพ มิใชแตเ ฉพาะในงานอาชพี คอมพวิ เตอรเ ทา น้นั และเปนปญ หาที่สง ผลกระทบ ตอ สงั คมสว นรวม ทงั้ ภาครัฐบาลและเอกชนไดเลง็ เห็นสญั ญาณอันตรายทจ่ี ะเกิดขึ้นซ่งึ สงผลกระทบตอ อนาคตของประเทศชาติ จงึ ไดสง เสริมใหบคุ ลากรไดพ ฒั นาและปรับปรงุ ตนเองในดานคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม โดยใชวธิ ีการ ตา ง ๆ เขา มาชวยสง เสริม อาทิ การจดั อบรม และรณรงค เพือ่ เปนการกระตนุ ใหบ คุ ลากรหนั มาเอาใจใสและ พฒั นาตนเองในดานคุณธรรมและจรยิ ธรรมอยางตอเนือ่ ง 4. ประโยชนข องการพัฒนาตนเองในงานอาชพี ในการทํางานไมวาสาขาอาชพี ใดก็ตาม ยอมตอ งมีการปรับตัวเพือ่ ใหเ กิดความคลอ งตวั และประสบ ความสําเรจ็ ในงานอาชพี คาํ นึงถึงความรับผิดชอบตอสงั คมดว ย จะเห็นไดวา การพฒั นาตนเองในงานอาชพี นนั้ มผี ลดีทงั้ ตอ ตนเองและยังสง ผลดแี กส งั คมสว นรวมอีกดว ย สรปุ ไดวา การพัฒนาตนเองในงานอาชพี มี ประโยชน ดงั นี้ 1) ชว ยเพ่มิ พนู ความรูค วามสามารถ 2) ชวยใหเกดิ ความเชอื่ มั่นในตนเอง 3) ชว ยใหเ กิดประสทิ ธิภาพในการทํางาน 4) ชวยใหเกิดการยอมรับนบั ถือในสงั คมวชิ าชีพ 5) ชวยใหเกิดความกา วหนาในตาํ แหนง หนาท่กี ารงาน 6) ชวยใหมีความสขุ ในการทํางาน 7) ชว ยใหเ กดิ ความคิดสรา งสรรคใ นการสรางผลงาน ประโยชนของการพฒั นาตนเองหากพจิ ารณาแยกตามผลท่จี ะเกิด พอสรุปได ดงั นี้ 1) คณุ ประโยชนของการพฒั นาท่จี ะเกดิ ข้ึนกบั ตนเอง คือ 1) การประสบความสาํ เร็จในการดาํ รงชวี ิต 2) การประสบความสาํ เร็จในการประกอบอาชพี การงาน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 77  คูม อื เตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา 3) การมีสุขภาพอนามยั สมบรู ณ 4) การมคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง 5) การมคี วามสงบสุขทางจิตใจ 2) คณุ ประโยชนจากการเกี่ยวขอ งกบั บุคคลอน่ื และสงั คม 1) การไดร บั ความเช่ือถือและไววางใจจากเพ่อื นรว มงานและบุคคลอ่ืน 2) ความสามารถรวมมอื และประสานงานกบั บุคคลอ่ืน 3) ความรับผดิ ชอบและความมานะอดทนในการปฏบิ ตั ิงาน 4) ความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรคเ พื่อพฒั นางาน ความเปนอยแู ละสภาพแวดลอ ม 5) ความจริงใจ เสียสละ และความซือ่ สัตยส จุ รติ 6) การรกั และเคารพหมูคณะ และการทําประโยชนเ พื่อสว นรวม การจะพัฒนาตนเองไดนนั้ จะตอ งมีปจ จยั สาํ คญั คอื ฝน เชน ฝน ทาํ ในสงิ่ ทีด่ ี และฝน ไมทําในสงิ่ ท่ไี มด ี เปนการฝกวนิ ยั แกต นเองไปดวย ฝก คอื ฝก ทําบอย ๆ จนกลายเปนนสิ ยั ที่ดีตอ ไปขม ใจ อยาเพิ่งเลิก จงทําดตี อ ไปและลดตวั ถอมตัว จะทําใหยอมทําตามคาํ สอนหรือสงิ่ ดี ๆ ในชีวติ ได ไมม อี ตั ตาสูง อหงั การ ไมเกนิ และจะ เปนคนนารกั สามารถชื่นชมยกยอ งคนอน่ื ได ทําใหม ีมิตรมากขนึ้ 5. หลกั การพฒั นาตนเอง การพฒั นาตนเองอยา งถูกวธิ ีและตอเนื่องยอ มนาํ ไปสูค วามสาํ เรจ็ จะตอ งมหี ลักในการพัฒนา ตนเอง ดงั น้ี 1) การพฒั นาตนเองตามหลกั ทัว่ ไป ดังน้ี 1.1 การรูจ กั หนา ท่ี 1.2 การมีเหตุผล 1.3 การฝกการทาํ งานทีเ่ ปน ระบบ 1.4 การสรา งความเชอ่ื มั่นในตนเอง 1.5 การสรางความสัมพนั ธกับบคุ คลใน 2) การพฒั นาตนเองตามแนวพระราชดําริ การพฒั นาตนเองตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดก ลา วถงึ วธิ กี าร ทาํ งานทไ่ี ดผล 10 ประการ กลา วคอื 2.1 ความรูความสามารถ เปน ความรูค วามสามารถทเ่ี บ็ดเสร็จของผปู ฏบิ ัติ ประกอบกับความ มรี ะเบยี บแบบแผนในการปฏบิ ัติงาน อนั จะเปน ปจ จยั ท่ที ําใหการทํางานไดผล สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 78  คูมือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 2.2 การรจู ักประยุกตใ ช การจะทํางานใหส ําเรจ็ นั้นผปู ฏบิ ัติตองรจู ักประยุกตใ ช ดงั น้ี - พิจารณาใหร อบคอบกอนทีป่ ระกอบกิจการใด ๆ - พจิ ารณาใหว างใจเปน กลาง จะชวยใหปฏิบตั ไิ ดถ ูกตอ งเหมาะสม - พิจารณาถงึ สภาพความเปนอยขู องทองท่ีและผลสะทอนทอี่ าจเกิดขึน้ - พยายามหยบิ ยกทฤษฎีทางวชิ าการมาปรับใชใ หเ หมาะสม 2.3 การคดิ อยางรอบคอบ ไดแก ใชความคิดใหเ ปน เครอ่ื งชว ยความรู จะไดใ ชความรูใหถ กู ตอง ใชค วามจรงิ ใจอันเท่ยี งตรงตามเหตผุ ล และมีความเท่ยี งธรรมจะไดสรรคส รางประโยชนไ ดอ ยางสมบูรณ และมีประสทิ ธิภาพ 2.4 การใชป ญญา ไดแ ก - ปญ ญา คอื ความรคู วามเฉลยี วฉลาด จดั เปนความสามารถพิเศษที่มีอยใู นตัว บุคคล - ตอ งใชป ญญาในการคดิ อานอยเู สมอ จงึ จะมัน่ คงแข็งแรง เพราะตองใชปญ ญาตลอดชวี ติ - ไมควรประมาทปญ ญาของตนเองและผูอ่ืน ดงั แนวพระบรมราโชวาทที่พระราชทานไว 2.5 การมีสติและสงบสาํ รวม สตเิ ปน ของคูกบั ปญ ญา และทรงใหความหมายของสตวิ า \"เปน ความระลกึ ได ความรูสกึ ความไมวิปลาส ความรูจกั รับผิดชอบ\" สว นความหมายของคําวา สงบสํารวม หมาย ถึง ความเรียบรอยเปน ปกติ ทง้ั จติ ใจและการกระทาํ การรจู กั สาํ รวมระวังกายใจใหส งบเปน ปกตินัน้ จะชวย ใหม กี ารยงั้ คิดในการทํางานทกุ อยาง 2.6 ความจริงใจและการมสี ัจจะ บคุ คลผูปรารถนาความสําเร็จและความเจรญิ จะตองเปนผทู ี่ ยอมรบั ความจริงและยดึ มั่นในความจริง มีความจรงิ ใจท้งั ตอ ตนเองและผูอนื่ อยา งม่นั คง ตอ งมสี จั จะ คือ ความจรงิ ทง้ั ในดา นคาํ พดู และการกระทํา แลปฏบิ ัตใิ หไ ดโดยเครง ครัดครบถว น 2.7 การมีวนิ ัย หมายถงึ การมีระเบยี บ ซึ่งสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภท ไดแ ก การมีวินัย ทางกาย คอื การปรบั กริ ิยามารยาทใหเปนผทู ่รี จู ักขวนขวายหาความรู เพ่ือนาํ พาไปสูความสาํ เรจ็ และ การมี วินยั ทางใจ คอื การเปนผูที่รจู กั ยง้ั คิดและคิดอยา งมีเหตุมีผล 2.8 การรจู กั ประสานกบั ผอู ่นื ไดแ ก - งานแตล ะช้นิ จะตองปฏิบัติใหประสานสอดคลองกัน และพฒั นาไปพรอ ม ๆ กนั ฉะนน้ั จึง ตองมีการเตรียมตัวทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านประสานกับบคุ คลอ่นื อยา งฉลาด - ตอ งเปด ใจใหกวา ง หนกั แนน และมเี หตุผล มีวจิ ารณญาณ เห็นแก ประโยชนสวนรวมเปน สําคัญ 2.9 การสรางสรรคแ ละการพัฒนา ไดแก - การสรางสรรคค วามเจรญิ กา วหนานัน้ ตอ งเริม่ ตน ทก่ี ารศกึ ษาพน้ื ฐานเดิมมากอ น รักษาสว น ท่ีมอี ยแู ลวใหค งไว แลวสรา งเสรมิ โดยอาศยั หลักวชิ า และความคิดพิจารณาตามกําลังความสามารถ - การพัฒนาปรับปรงุ ควรคอ ย ๆ ทําดวยสติ ไมตอ งรีบรอ น ผลทเี่ กดิ ข้ึนจะแนนอนและไดผ ลดี สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 79  คูม ือเตรยี มสอบผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา 2.10 การวางแผนในการทาํ งาน ไดแ ก - งานทุกอยางจําเปนตองมโี ครงการทีแ่ นน อนสําหรับการดําเนินงาน - ตอ งต้งั เปาหมาย ขอบเขต และหลักการไวใหแนน อน เพราะจะชวยใหป ฏบิ ตั ิไดต รงและ ถูกตองเหมาะสม - ตอ งมีอุดมการณแ ละหลักการท่มี ั่นคง จึงจะทํางานใหญ ๆ ไดส ําเร็จ - ตอ งมงุ ม่ันทํางานดว ยความซอื่ สตั ยสจุ รติ และมคี ุณธรรม 3) การพัฒนาตนเองตามแนวพุทธศาสนา การพฒั นาตนเองตามแนวพระพุทธศาสนา (หลกั ทศพิธราชธรรม)มาใชในการพฒั นา ดงั นี้ 3.1 ทาน คอื การให เปน หลักปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาตนเองสําหรับที่จะใชในการอุปการะเกอื้ หนุน จนุ เจือซงึ่ กันและกนั 3.2 ศลี คือ การรักษากาย วาจา ใจใหตง้ั อยอู ยา งเปน ปกติ เวน จากการประพฤติทุจรติ เมื่อบคุ คลไม ประพฤตผิ ดิ ไมเ บยี ดเบียนกัน ความสงบสขุ ยอ มเกดิ ขึ้น ดังน้นั จงึ ถือไดวา ศลี เปน หลักธรรมสําหรับพฒั นาตน เองใหมคี วามเจริญกาวหนา ทง้ั ในชีวติ สว นตัวและอาชีพการงาน 3.3 ปริจจาคะ คือ การสละสง่ิ ท่ีเปนประโยชนน อย เพื่อประโยชนที่มากวาหรอื ยิ่งกวา ในการพัฒนา ตนเองในงานอาชพี ปรจิ จาคะ กค็ อื การสละเพอื่ รักษาหนา ท่ี รกั ษากจิ ทพ่ี งึ กระทาํ รักษาคณุ ความดี เพอ่ื ความ สขุ ความเจริญในการอยรู ว มกัน ทํางานรว มกนั 3.4 อาชชวะ คือ ความเปนผซู ื่อตรง ซ่ือตรงตอตนเอง บุคคล องคก ร มิตรสหาย และหนาทีก่ ารงาน ท้ังน้ีจะตองใชป ญ ญาเขามาประกอบในการปฏบิ ัตงิ านตา ง ๆ จึงจะเขา ใจวา ตองปฏบิ ัติอยา งไรจึงจะเรยี กวา ซ่ือ ตรง ฉะนั้นในการพัฒนาตนเองบุคคลจึงควรปฏิบัตติ นเปนคนซ่อื ตรงโดยใชป ญ ญาพิจารณา 3.5 มัททวะ คอื ความออนโยน มีอัธยาศยั ไมตรอี ันออนโยน มีสัมมาคารวะตอผูใ หญ ออ นนอ มถอม ตน ไมด ือ้ ดงึ ถอื ตนวางอํานาจ 6. ตบะ คือ ความเพียร ผทู ่ีมีความเพียรสามารถปฏบิ ตั ิหนาที่ใหบ รรลคุ วาม สําเรจ็ ไดดว ยดี ผทู ปี่ ฏบิ ัตไิ ดม กั เปน คนทมี่ ีความอดทนสูง ผูที่ตอ งการใหงานทท่ี าํ ประสบความสําเรจ็ ควรยดึ ถอื และนําหลกั ธรรมขอ นไ้ี ปประพฤติปฏบิ ตั ิ 3.7 อักโกธะ คือ ความไมโ กรธ ตลอดจนถงึ ไมพยาบาทมงุ รายผอู น่ื ความไมโ กรธมีขึ้นไดก เ็ พราะ ความเมตตา หวงั ความสุขความเจรญิ ซงึ่ กันและกัน ถา หากมีความเมตตาอยูเปน ประจํากจ็ ะไมโ กรธ หลัก ธรรมขอนีเ้ หมาะทผี่ ูเปนผูปกครองหรือผทู ี่มีตาํ แหนง เปน หวั หนา จะนําไปใชในการบริหารงานเปน อยา งยิง่ 3.8 อวหิ งิ สา คอื ความไมเ บียดเบียน ไมก อทกุ ขใ หแกผ ูอืน่ ตลอดจนสตั วน อยใหญด ว ยเหน็ แก ความสนกุ ของตน การที่จะไมเบียดเบียนได จะตองมีความกรุณา เพราะความกรณุ านนั้ ตรงกนั ขามกับ อวหิ งิ สา อนั ไดแ ก ความสงสาร คดิ ท่จี ะชวยเขาใหพนทกุ ข หลกั อวิหิงสานเี้ หมาะสําหรบั การพัฒนาตนเอง การบรหิ ารงาน และการพฒั นางาน 3.9 ขันติ คอื ความอดทน อดทนตอ การตรากตราํ ประกอบการการงานตา ง ๆ อดทนตอ ถอ ยคาํ อัน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 80  คูมือเตรียมสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา ไมพึงประสงค หรอื ส่งิ อนั ไมช อบใจตา ง ๆ ในการอยรู ว มกนั หรือรวมงานกนั ของคนหมมู ากนน้ั จะตอ ง ประสบกับสงิ่ ทมี่ าปะทะอารมณหรือสงิ่ อันไมพึงใจบอยครง้ั ถาไมตง้ั อยใู นขันติ ถาไมตั้งอยูในขันติ กจ็ ะเกิด การวิวาทแกงแยง และความวุนวายอยางอ่นื อีกมาก ฉะน้ันหลกั ธรรมขอนจี้ งึ เหมาะที่จะนํามาใชพ ัฒนาตนเอง เพอื่ ใหเกดิ ความสงบสขุ แลทํางานดวยความราบรน่ื 3.10 อวโิ รธนะ คอื ความไมผิด ผิดในท่นี ้หี มายถงึ ผิดจากความถูกตองทกุ อยา ง ทคี่ นทว่ั ไปทําผิด เพราะไมร วู าผิด หรอื รวู า ผิดแตย งั ดื้อดงึ ทาํ ทง้ั ๆ ทร่ี ู ถาปลอ ยใหเปนเชนนไี้ ปเรอ่ื ย ๆ ก็จะไมรูจกั ผิด ไมอาจ ปฏิบตั ใิ นสง่ิ ทถี่ ูกตองไดเ ลย ถา คนในสงั คมปฏบิ ตั ติ นไมถูกตอ งตามทาํ นองคลองธรรม ทุกก็จะอยกู ันอยา ง ไมเปนสขุ แตถาทกุ ฝายมุง ความถกู ตอ ง 6. องคประกอบของการพัฒนาตนเอง ประกอบดว ย 2 ลกั ษณะ คือ 6.1 ดานพฤตกิ รรม (ภายใน) หมายถึง การพัฒนาบคุ ลิกภาพ การพัฒนาจติ ใจ เพอื่ ใหบคุ คลมคี วาม เจริญดว ยศีล สมาธิ และปญ ญา จะไดน ําปญญาไปใชในการพฒั นาสิง่ แวดลอมดา นอ่ืน ๆ ตอ ไป อยางถูกตอ ง เหมาะสม และเปน ธรรม 6.2 ดานส่ิงแวดลอม (ภายนอก) หมายถงึ การพัฒนาดานทักษะความสัมพันธกับภายนอก เชน การ ทาํ งานเปนทมี ภาวะผูนาํ การประสานงาน การมีมนุษยสัมพันธ แรงจูงใจ 7. การพัฒนาบคุ ลิกภาพของผบู รหิ าร บคุ ลกิ ภาพของผบู ริหาร(PERSONALITY DEVELOPMENT) มีความสาํ คญั สําหรบั ผบู ริหารเปน อยา งยิง่ ผูบรหิ ารทม่ี ีบคุ ลกิ ภาพดียอมไดรับการยอมรับนบั ถือจากผูใตบ งั คับบญั ชา เม่ือการยอมรับเกดิ ข้นึ การ บรหิ ารงานยอ มดําเนินไปไดอยา งราบรื่นองคป ระกอบของบคุ ลกิ ภาพ บคุ ลกิ ภาพของบคุ คลประกอบดว ย องคประกอบ 4 ประการ ไดแ ก บคุ ลกิ ภาพทางกาย บคุ ลิกภาพทางอารมณแ ละจิตวทิ ยา บุคลิกภาพทางสงั คม และบุคลิกภาพทางสตปิ ญ ญา 7.1 การพฒั นาบุคลกิ ภาพทางกาย บคุ ลิกภาพทางกายแบงเปนองคประกอบยอย 2 ประการ ไดแ ก ประการแรก คือ รูปลักษณภายนอกของผูบริหารเปนประการแรกท่ีปรากฏแกสายตา ผูคน ความสะอาดของรางกายเปนความสําคัญอันดับแรกการแตงกายเรียบรอยเหมาะสมกับตําแหนง วัย และสถานการณ มีความสําคัญอันดับตอมา สองสิ่งนี้ประกอบกันเขาเปนบุคลิกภาพภายในอกของบุคคล นั้น ๆ บุคลิกภาพสวนน้ี จะเปนตัวสื่อสารใหบุคคลท่ีพบเห็นรูจักทานในเร่ืองตาง ๆ ดังตอไปนี้คือ ระดับ การศึกษา ตําแหนง ฐานะทางเศรษฐกิจ ชนช้ันในสังคม จากสายตาของเขาเอง โดยไมตองใชภาษา พูด ดานวิชาการบางทานเรียกสิ่งน้ีวา การส่ือสารที่ไรศัพท ผูบริหารท่ีขาดการใสใจในสิ่งน้ี การส่ือสาร ที่ไดศ ัพทอาจจะส่ือสารใหผูพ บเห็นเขา ใจในเร่อื งตางๆของทา นผิดไปจากความจรงิ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 81  คูมือเตรยี มสอบผูบ ริหารสถานศกึ ษา ประการที่สอง คือบุคลิกภาพภายในผูบริหารตองมีความสามารถในการพูดการโตตอบที่ดี มีความฉลาดแหลมคมในการสนทนาเปนผูนํากลุมได และตองมีขอมูลอยางเพียงพอ เพื่อประกอบการตอบ โตอยางแหลมคมได ดังน้ันผูบริหารจําเปนตองอานหนังสืออยูเสมอจะไดทันสมัย และไวตอการส่ือสารทาง ภาษาพูดอยางมีประสิทธิภาพองคประกอบยอยสองบประการนี้รวมกันเปนองคประกอบของบุคลิกภาพทาง กายของผบู ริหารท่ีจะกอ ใหเกดิ การยอมรับจากผูใตบ ังคบั บญั ชา 7.2 บุคลิกภาพทางอารมณ และจติ วทิ ยา ผูบริหารท่ีมีบุคลิกภาพดีตองเปนผูมีความม่ันคงทางอารมณไมหงุดหงิดฉุนเฉียวบนวาตลอด เวลามีความกลาหาญในการเผชิญกับอุปสรรคตาง ๆ อยางไมยอทอตอความยากลําบาก มีจิตใจเปน ประชาธิปไตย เคารพสิทธิ รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน รูจักชมเชยพูดจาโนมนาว จูงใจคนใหทํางานเพื่อ ความเจรญิ กาวหนา ของสถานศึกษาและสงเสริมความกาวหนาของผูใ ตบ ังคับบญั ชา ผูบ ริหารทมี่ ีบุคลิกภาพดี ตองรกั ษาอารมณได ทนตอ ความหวาเหวา ไดม ากกวาผอู นื่ และระงบั ความโกรธไดอ ยา งรวดเร็ว 7.3 บคุ ลกิ ภาพทางสังคม ผบู ริหารควรเปน ผนู าํ ในการศึกษาหาความรูในพิธกี ารตา งๆตามปทสั ถาน(norms)ของสงั คม เพอ่ื จะไดป ฏิบตั ิตามมารยาทสากลไดอยา งถกู ตอ งสามารถเปน ตวั อยางใหคําแนะนําแกผใู ตบังคบั บญั ชา ตลอด ทง้ั คนรอบขา งได 7.4 บุคลิกภาพทางสตปิ ญญา ผูบรหิ ารทมี่ ีบคุ ลิกภาพดี ตอ งมคี วามคิดริเรม่ิ สรา งสรรคพอท่ีจะเปนผูนาํ กลุม สามารถคดิ สรางสิ่ง ท่เี ปนประโยชนแกสถานศึกษาได ซ่งึ อาจสรปุ ไดว าสตปิ ญญาและความรอบรใู นวิชาชีพของผบู ริหาร เปน สิง่ สาํ คัญมากในการบรหิ าร องคป ระกอบท้ัง 4 ดา นของบุคลิกภาพที่ดขี องผูบ ริหารนน้ั นบั ไดวาทกุ ดานมคี วามสําคญั เทา เทยี มกนั สมควรทผ่ี บู รหิ ารควรตระหนกั หมัน่ ฝก ฝนจนเปน ภาพลกั ษณท ีป่ รากฏแกสายตาของคนทัว่ ไป เพราะนัน่ คอื สิง่ สําคัญอยางย่งิ ในการจูงใจใหผ ูใตบังคบั บัญชายอมรับนบั ถอื อันจะสง ผลถึงการรว มมือรว ม ใจในการปฏิบตั ิงานอกี ดวย 8. การพัฒนาสผู บู รหิ ารการเปลี่ยนแปลง 8.1 สมมุติฐานเกีย่ วกบั บุคลิกภาพ ในการเปนผบู รหิ ารทีด่ ี ทา นควรรูจกั สไตล หรอื ลลี าทีเ่ ปน เอกลกั ษณข องทา น จึงควรเร่มิ ตนจากการคน หาตวั ตนของผูบ ริหารเสียกอ นวา เปน คนอยา งไร มาทาํ ความ เขาใจเบอ้ื งตนเกยี่ วกบั บุคลกิ ภาพ - บุคลิกภาพ คอื คุณลักษณะเฉพาะตัว ทําใหผบู ริหารแตกตางจากคนอน่ื สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 82  คูมือเตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา - คนมที ้งั จุดดแี ละจดุ แขง็ ผูบรหิ ารตอ งคน หาขอดีขอดอยของตนใหพบ - บุคลิกภาพของคนนนั้ สามารถเปลี่ยนแปลงได อยาทอ ถอยกับจุดออนท่สี ามารถปรบั ปรงุ ได - บคุ ลิกดนี ําสูค วามสําเรจ็ บคุ ลกิ ดเี ปนใบเบกิ ทางใหผ บู ริหารไปสเู ปา หมายความสาํ เรจ็ - ความสาํ เร็จ = ดี + เกง + จังหวะ แมผ บู รหิ ารจะมบี คุ ลิกดีเพียงใด กโ็ ปรดเขา ใจสจั ธรรมของ ชีวิต น่ันคอื ความสาํ เร็จมใิ ชสตู รสาํ เรจ็ มีหลายปจ จัยประกอบกัน ผูบ รหิ าร ตองใชค ุณลกั ษณะและคณุ สมบัติ หลายประการ รวมทง้ั มีโอกาสที่ดี 8.2 สวนประกอบของบคุ ลิกภาพ บุคลิกภาพ มีองคประกอบหลายสว น ไดแ ก 1) ทางกาย คือ กริยาทาทาง รปู ราง สผี วิ ทรงผม เสือ้ ผาอาภรณ นาํ้ เสียง และสมรรถภาพ เชน แขง็ แรง ออนตวั อดทน คลองแคลว รวดเรว็ 2) สตปิ ญญา คือ ความสามารถทางภาษา (แตงกลอน) ความสามารถคํานวณ ความจํา และรู จกั พลิกแพลง 3) อารมณ คอื ความรสู ึกนึกคิด ซง่ึ มี - หลากหลายรปู แบบ เชน โลภ โกรธ หลง ฮกึ เหิม รื่นเรงิ เหงาหงอย - มรี ะดบั เชน รุนแรง มาก ปานกลาง นอ ย - มขี นั้ ตอนตามลําดับทจ่ี ะเกิดตดิ ตามมา กอ นจะปลอ ยโฮรอ งให ตอ งรสู กึ หอ เหี่ยว ตาแดง หนา ยน คอตก น้าํ ตาไหล - มีกลมุ อารมณ คือ โกรธ อจิ ฉา เกลียด ยนิ ดี พอใจ ช่ืนชอบ เฉย และปลง - แสดงออกไดหลายรูปแบบ เชน ซอนเรน เปดเผย และเก็บกด 4) สงั คม การวางตนในกลมุ คน - มเี พ่ือนฝูง/ โดดเดย่ี ว - เปนทยี่ อมรับของกลมุ - ชอบแสดงออก/ เก็บตวั 8.3 ปจ จัยท่สี งผลตอบคุ ลิกภาพ ไดแ ก 1) วยั อายุมากขึน้ จะสะสมประสบการณไ ดมากกวา คนอายุนอย แตล ดความกระฉบั กระเฉง ไปดว ย 2) ประสบการณ/ การเรียนร/ู การฝกอบรม คนที่ผานหลายเวที ยอ มมีโอกาสเขาถึงขอมลู ได มากกวา 3) อาชพี ตา งอาชพี ทําใหตา งวิธคี ดิ วิธีทาํ 4) จังหวะ/ โอกาส ทกุ คนอาจทํางานนั้นไดส ําเร็จ หากไดโ อกาส แตป ญหาคอื ไมมโี อกาส 5) ผสู นับสนุน/ ผทู าํ ลาย การสนบั สนุนหรอื การขดั แยงจากผูคนรอบขา งชวยหรอื ทํารา ยโอกาส แหง ความสําเร็จ สอบครดู อทคอม

83  คมู ือเตรยี มสอบผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 6) ตําแหนง หนาท่ี ผอู ยใู นตําแหนงสงู จะคิดทําการส่ิงใด จะ มีทมี งานชว ยเหลือ สว นผูนอ ย ตองคอยทาํ งานตามคาํ สัง่ จะเห็นไดวา ผบู รหิ ารท่ีคนยอมรับ ผบู รหิ ารทีด่ ี มคี วามสําเรจ็ ไมใชใ ครๆกเ็ ปน ได หากแตตอ งมี คุณลักษณะทส่ี ําคัญ ไดแก การมบี คุ ลิกภาพทด่ี ี การมีอุปนิสัยท่นี าเชือ่ ถอื พฤตกิ รรมทีถ่ กู ทํานองคลองธรรม และทํางานดแี ละมีภาวะผนู าํ 9.ทฤษฎแี นวคิดเกีย่ วกบั การพัฒนาตนเอง จากที่กลาวแลว การพฒั นาตนเอง หมายถงึ การเสรมิ สรางตนเองใหบ รรลุมุงหมายแหง ชีวติ โดยไม เบียดเบยี นสิทธิของคนอนื่ เปนการสรางสรรค พฒั นาชีวติ และการงานของตนใหส งู เดน มีคณุ ประโยชนและ มคี วามสุข จะเห็นไดว า การพัฒนาตนใหเ จรญิ กาวหนา ในหนาที่การงาน และมสี ภาพของชีวิตที่ดีขึ้นเปน สิ่ง ท่ีทุกคนมงุ มาดปรารถนา สาํ หรบั จดุ หมายแหงชีวติ ของบคุ คลนน้ั อาจมดี ังตอ ไปนค้ี ือ การพึ่งตนเองและเลี้ยง ตนเองได การประสบความสาํ เร็จในชวี ติ การงาน และการทําประโยชนแ กส ังคม สาํ หรับ แนวคิดทฤษฎีทีเ่ กี่ยวของกับการพฒั นาตนเอง Abraham Maslow ไดเสนอ ทฤษฎแี รงจงู ใจ เปนการแบง ตามลําดับข้ันของความตอ งการ (Hierachy of Needs) ้บานสอบค ูร www.sobkroo.com ความ 55 ตอ งการ ความสําเร็จในชีวติ (Need for Self –Actualization) 4 4 ความตองการมี ศักดิ์ศร(ี Need for esteem) 33 ความตอ งการความรัก (Need for Love) 2 ความตอ งการความปลอดภยั (Need for Safety) 1 ความตองการทางดานรางกาย (Physiological Needs) : เสื้อผา เครือ่ งนุง หม ที่อยูอาศัย ฯลฯ สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 84  คูมอื เตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา ความตองการจากขน้ั ต่าํ สุด จะตอ งไดร ับความพึงพอใจเสยี กอ น จงึ จะมคี วามตองการขน้ั สูงตอไป ตามแนวคิดของ Maslow บคุ คลจะมคี วามตองการเพมิ่ ขนึ้ ตามลําดบั บุคคลบางคนใชเวลานานอยูในข้นั ใด ขน้ั ใดขั้นหนง่ึ หรอื มลี กั ษณะข้ึน ๆ ลง ๆ ในการไดรบั ความพึงพอใจในความตอ งการน้ัน ๆ Maslow ชใ้ี ห เหน็ วา การทท่ี าํ ใหเ กิดความพึงพอใจในความตอ งการน้นั ไมใชก ารกระตน หรือจงู ใจ เพราะเม่ือบคุ คลไดรับ ความพอใจแลว ความตอ งการวนั นั้นกจ็ ะไมใ ชการจงู ใจอีกตอไป การพฒั นาตนเองเพ่อื ความสมหวงั ในชีวิต คือความสาํ เรจ็ ในอาชีพการงาน บันได ของการกาวไป สสู งิ่ ดดี ังนี้ บนั ได 9 ชั้นเพอ่ื ความสมหวังของชวี ติ ดังน้ี 9 ความสมหวังของชวี ิต 8 การทําประโยชนแกสังคม 7 การประกอบอาชพี ทชี่ อบธรรม 6 การมีสุขภาพทางรางกายและจติ ใจดี 5 การเพิม่ ประสบการณแ ละความสามารถ 4 การแสวงหาความรเู พ่มิ เติม 3 การมีทศั นคติ ความประพฤติและนิสยั ที่ดี 2 การมีจดุ หมายแหง ชวี ิต 1 ความตง้ั ใจจริงท่ีจะพฒั นาตนเอง บคุ คลทีร่ ดู ีวาตนเองตองการอะไรในชีวิต ไดก า วมาไกลมากแลว ในการท่ีจะไดร บั สง่ิ น้นั หากทา น ถามคนฉลาดสักคนหน่ึงวาเขาตอ งการอะไรมากท่ีสดุ เขายอมจะตอบทานวา สง่ิ ทเ่ี ขาตองการเหนอื ส่ิงอนื่ ใด กค็ ือ “ฉลาดยิ่งข้นึ ไปอกี ” และมันเปนสันดานทชี่ อบกลของมนุษย แตมนั กเ็ ปนความจรงิ ท่คี นทีป่ ระสบ ความสําเรจ็ ในชวี ิตสว นใหญจะทาํ งานหนักข้นึ เพอ่ื ใหเกิดประโยชนเ พ่ิมขึน้ ยิ่งกวา เพื่อใหได เงนิ เพยี งอยา ง เดยี ว คํากลา วขา งบนทั้งหมดนาจะกระตุนเราใหเราเกิดความตอ งการทีจ่ ะพัฒนาตนเอง เพราะการทเ่ี รายนื หยดุ น่ิงอยกู บั ท่ี ในขณะทีส่ ่งิ แวดลอ มรอบตวั เราเปลี่ยนแปลงพัฒนาอยตู ลอดเวลา กเ็ หมือนกับวา เราเดนิ ถอย หลงั รวมทัง้ ไมสามารถตามผอู ่ืนทนั ได นวัตกรรมใหม (Innovation) ของส่งิ ตาง ๆ ไดเ กดิ ข้นึ ใหมม าก มาย เชน คอมพวิ เตอรเ พ่ือสิ่งแวดลอ ม คอมพวิ เตอรมือถอื เพอื่ การเกบ็ ขอมูล โนต บคุ ใหมท่ีมีขนาดเล็ก มาก โทรศพั ทท ่สี ามารถเห็นหนา ผรู บั หุน ยนตท่สี ามารถทํางานแทนคนได เปนตน ความคิดสรางสรรค คือความสามารถคดิ หาคําตอบใหม ๆ หรือมีคําตอบมากมายใหกับแตล ะปญ หารวมถงึ ความสามารถของ คน การที่จะนาํ ไปสสู ิง่ ใหม ๆ อนั รวมหมายถงึ ความคิดทฤษฎแี ละผลผลิตที่จบั ตอ งได ท้งั หมดน้จี ะถอื วา สอบครดู อทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 85  คมู อื เตรียมสอบผบู รหิ ารสถานศึกษา เปนความคดิ สรา งสรรคจะตองเปน ประโยชนตอมวลมนษุ ยชาตยิ งิ่ วงกวางเทา ไรก็ยิ่งดี การปรบั ตัวในยคุ โลกาภิวัตนหรอื โลกไรพรมแดน เปน กระแสท่ไี มมีใคร ฝนหรอื หามได ถา ปรบั ตวั ชา กระตวมกระเตีย้ มกจ็ ะ อยลู าหลังหรอื ถูกกลนื หรือลบไปจากโลกนี้ หรือท่ฝี รง่ั ชอบพดู วา ถกู “Wipe out of the map” ในยคุ ของ ขอมลู คงไมม ีใครปฏเิ สธวา ขอมลู และขาวสารคือ อํานาจท่จี ําเปน ในการทจ่ี ะอยรู อดและเจรญิ ตอไป คนท่ี มวี ิถที ัศนย าวไกล(Vision) มขี อ มลู มาก เรว็ ทันสมยั และถูกตองเพอ่ื นํามาประกอบกบั ประสบการณแ ละ วจิ ารณญาณสวนตวั คนทใ่ี ชสมองครบ 4 สวน หรือ Whole Brain Thinking คือ คนท่ีมีความคดิ สราง สรรคส ูงและมี Vision องคการตา ง ๆ ตองการผูนาํ ทมี่ วี ิถที ัศน เพ่ือนาํ “ผูตาม” ไปสูจ ดุ หมาย แตถ า กลบั กันไดผ ูตามมาเปน หวั หนา ของผมู ี Vision กเ็ ปน กรรมขององคก ารหรอื หนว ยงานนัน้ หนวยงานราชการ มกั จะตกในสภาพน้ี และจะถงึ ยคุ วิกฤตขิ องราชการซึ่งเคยรุง เรืองและดงึ ดดู คนดมี ีฝมือมาสูระบบ การที่จะพัฒนาองคการใหทนั กับการเปลยี่ นแปลงไดตอ งมกี ารพัฒนาบคุ ลากร ปรชั ญา หรอื แนวความคิด การพัฒนาบคุ คลควรเริม่ ตนจากความเชือ่ ทว่ี า คนในองคการมคี วามสามารถที่จะทาํ งานและพัฒนาตนเอง กลาวโดยสรปุ การพฒั นาตนเอง หมายถึง การทบ่ี ุคคลกําหนดวัตถปุ ระสงคห รือเปาหมายใน ชีวิตของตนเองไวล วงหนา และหาวธิ พี ัฒนาการดาํ เนนิ ชวี ิตใหบรรลุเปาหมายที่วางไวท ํางาน มคี วามสําคัญ มใิ ชเฉพาะนกั วชิ าชพี เทานัน้ ยงั มีความสาํ คญั ตอสภาวะแวดลอมของการทํางาน และความสมั พันธของ บุคคล ภายในองคก รอกี ดวย สาเหตุทีต่ องมีการพฒั นาตนเอง เพราะความเจรญิ กาวหนาทางวิทยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยี ความสลบั ซับซอนของระบบงาน และปญ หาเกี่ยวกบั คุณธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ขอ ดขี องการพัฒนาตนเองในงานอาชพี มที ัง้ ตอตัวนักวชิ าชพี เอง และสังคมสวนรวม การพัฒนาตนเองใน งานอาชพี อาศยั หลัก 3 ประการ คอื การพัฒนาตนเองตามหลกั ทัว่ ไป การพฒั นาตนเองตามแนวพระราชดาํ ริ และการพัฒนาตนเองตามแนวพทุ ธศาสนา โดยมีวิธกี ารท่ีคลา ยคลึงกัน และมีจุดมงุ หมายไปในทางเดียวกนั คือ มงุ สง เสรมิ และพัฒนาใหบุคคลทาํ งานอยา งมคี วามสุขและประสบความสาํ เร็จในงานอาชีพ ในการพฒั นา ตนเองของผบู รหิ ารตองเนน การพฒั นาบุคลภิ าพ และพัฒนาตนเองใหส อดคลอ งกบั โลกของยุคโลกาภิวฒั น สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 86  คมู ือเตรยี มสอบผูบรหิ ารสถานศึกษา สมรรถนะทางการบริหาร (การทาํ งานเปน ทีม) ก. ความหมายของการทํางานเปนทีม (Teamwork-TW) 1. ความหมายตามทศั นะ ก.พ. การทํางานเปน ทมี หรอื การรวมแรงรวมใจ หมายถงึ ความต้งั ใจที่จะทาํ งานรว มกับผูอน่ื เปน สวน หนึง่ ในทีมงาน หนว ยงาน หรือองคกร โดยผูป ฏบิ ัตมิ ีฐานะเปนสมาชกิ ในทมี มิใชในฐานะหัวหนา ทมี และ 2 ความสามารถในการสรา งและดาํ รงรักษาสัมพันธภาพกับสมาชกิ ในทมี 2. ความหมายตามทัศนะของ ก.ค.ศ. การทาํ งานเปนทมี หมายถึง การใหค วามรว มมอื ชว ยเหลอื สนับสนนุ เสรมิ แรง ใหกาํ ลังใจแกเ พอื่ น รวมงาน การปรบั ตวั เขา กบั บุคคลอนื่ หรือแสดงบทบาทผูนํา ผูต ามไดเ หมาะสม ประกอบดว ยตัวชว้ี ัด - การใหค วามรวมมอื ชว ยเหลือ สนับสนุน เพอ่ื นรว มงาน - การแสดงบทบาทผูนําหรอื ผตู ามไดอยางเหมาะสม - การปรบั ตัวเขา กับสถานการณ และกลมุ คนท่หี ลากหลาย - การเสรมิ แรง ใหกาํ ลงั ใจ สงเสรมิ สนบั สนุนเพ่อื รวมงานในการปฏบิ ัตงิ าน ข. แนวคดิ สาระสําคญั ของการทาํ งานเปนทีม (Teamwork-TW) 1. ความหมายของการทาํ งานเปนทีม การทาํ งานเปน ทมี หมายถงึ การรว มกันทาํ งานของสมาชิกที่มากกวา 1 คน โดยที่สมาชกิ ทุกคนนน้ั จะตองมีเปา หมายเดียวกันจะทําอะไรแลว ทกุ คนตอ งยอมรบั รวมกัน มกี ารวางแผนการทํางานรวมกัน ทํางานเปน ทมี หมายถึง การทบี่ ุคคลหลายคนกระทาํ กิจกรรมรว มกัน เพ่ือใหบ รรลผุ ลสําเร็จ มีการ แบง หนา ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบรว มกนั มคี วามสัมพันธกนั และมจี ดุ ประสงคหรือความคาดหวงั รว มกนั การทํางานเปน ทีม จึงมีความสําคัญในทกุ องคก ร การทาํ งานเปนทมี เปนสิ่งจําเปนสาํ หรับการเพ่มิ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลของการบริหารงาน การทํางานเปน ทีมมีบทบาทสําคัญทีจ่ ะนาํ ไปสูความสําเร็จ ของงานท่ตี อ งอาศยั ความรว มมือของกลุมสมาชกิ เปนอยางดี 2.องคป ระกอบของการทํางานเปน ทมี 1. ดานสมาชิกในกลมุ กลุมจะทํางานรวมกันไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ สมาชกิ ควรมีคุณสมบัติ ดังน้ี 1.1 มเี จตนาทด่ี ีและต้งั ใจทาํ งาน 1.2 มที กั ษะในการทาํ งานนนั้ เชื่อในความสามารถของเพื่อนสมาชิกดวยกัน สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 87  คมู อื เตรียมสอบผูบริหารสถานศึกษา 1.3 มีความรว มมือและประสานงานกนั อยา งดีและยอมรบั กนั 1.4 มมี นุษยสัมพนั ธท ด่ี ี มคี วามไวเ นื้อเช่อื ใจกัน พยายามเขา ใจพฤติกรรมของบุคคลอ่นื 2. ดานประธานกลมุ กลุมควรมผี นู ําที่มคี วามสามารถ มคี ณุ สมบตั ขิ องผูนําทีด่ ี คือ อดทน ตั้งใจฟง ไมห งุดหงิดในความลาชา และความไมก า วหนาของกลุม 2.2 รจู ักนําเอากระบวนการจูงใจมาใช 2.3 เอาใจใสตอ กลมุ เพิ่มพูนความรใู หแกส มาชกิ 2.4 รจู กั ใชข อขัดแยงเพอื่ การสรางเสรมิ และสรา งสรรค โดยใหท ุกคนเขา ใจวา ความขดั แยง ยอมเกิด ขน้ึ ไดเ สมอในกลมุ และอาจกอ ใหเ กดิ ประสทิ ธิภาพในองคก ารได ทาํ ใหเกิดเปาหมายและวธิ กี ารท่ดี ีกวาเดมิ 3. ดานการจัดทีมงาน 3.1 มีเปาหมายกาํ หนดไวช ดั เจน 3.2 มคี วามไวเ น้ือเช่ือใจและยอมรับซึ่งกนั และกัน 3.3 มีการส่อื สารระบบเปด 3.4 มวี ธิ กี ารทํางานเปน ระบบ 3.5 มีความเปน อันหน่ึงอันเดยี วกนั และมบี รรยากาศสง เสรมิ ซงึ่ กนั และกัน 3. ลักษณะของทมี ท่ีดี ลกั ษณะที่สาํ คญั ของทมี ทด่ี ี มี 4 ประการ ไดแก 1. การมีปฏสิ มั พนั ธทางสงั คมของบุคคล หมายถึง การทสี่ มาชิกตงั้ แต 2 คนขึ้นไปมีความเก่ียวขอ ง กันในกิจการของกลมุ / ทีม ตระหนักในความสําคญั ของกนั และกนั แสดงออกซ่ึงการยอมรับ การใหเกยี รติ กนั สําหรับกลมุ ขนาดใหญม ักมปี ฏิสมั พันธก นั เปนเครือขา ยมากกวา การติดตอ กันตวั ตอตัว 2. มีจดุ มุง หมายและเปาหมายรวมกนั หมายถึง การทสี่ มาชิกกลมุ จะมีสวนกระตุนใหเกดิ กจิ กรรม รวมกนั ของทมี / กลุม โดยเฉพาะจุดประสงคของสมาชิกกลุมท่ีสอดคลอ งกบั องคก าร มกั จะนํามาซ่งึ ความ สาํ เร็จของการทํางานไดงาย 3. การมโี ครงสรา งของทมี / กลมุ หมายถงึ ระบบพฤตกิ รรม ซง่ึ เปนแบบแผนเฉพาะกลมุ สมาชกิ กลุม จะตอ งปฏิบัติตามกฏหรือมติของกลมุ ซงึ่ อาจจะเปน กลมุ แบบทางการ (Formal Group) หรอื กลุม แบบไมเ ปน ทางการ (Informal Group) ก็ได สมาชิกทุกคนของกลุมจะตองยอมรบั และปฏิบตั ติ ามเปน อยางดี สมาชกิ กลมุ ยอ ย อาจจะมีกฎเกณฑแบบไมเ ปน ทางการ มคี วามสนิทสนมกันอยา งใกลช ดิ ระหวา งสมาชิกดว ยกนั 4. สมาชิกมีบทบาทและมีความรูสกึ รวมกัน การรกั ษาบทบาททม่ี ่นั คงในแตละทมี / กลมุ จะมีความ แตกตางกันตามลักษณะของกลุม รวมท้ังความรคู วามสามารถของสมาชิก โดยจกี ารจดั แบง บทบาทและหนา ท่ี ความรบั ผดิ ชอบ กระจายงานกันตามความรู ความสามารถ และความถนดั ของสมาชิก สอบครูดอทคอม

้บานสอบค ูร www.sobkroo.com 88  คมู ือเตรยี มสอบผบู ริหารสถานศึกษา การทาํ งานเปน ทมี เปน แรงจูงใจสําคญั ท่จี ะผลกั ดนั ใหท านเปนผูนาํ ที่ดี ถา ทา นประสงคท่จี ะนําทมี ให ประสบความสําเร็จในการทํางาน ทานจําเปนตอ งคน หาคุณลกั ษณะของการทาํ งานเปนทีมใหพ บระลกึ ไว เสมอวาทุกคนมอี ิสระในตัวเอง ขณะเดยี วกนั กเ็ ปน สวนหนง่ึ ของทีม แลวจึงนําเอากลยุทธใ นการสรางทมี เขา มาใชเพ่ือใหท ุกคนทํางานรวมกนั และประสบความสาํ เร็จ 4. คณุ ลักษณะของทมี ทป่ี ระสบผลสําเรจ็ ทีมท่จี ะประสบความสําเรจ็ ในการทาํ งานคอื กลุมของบคุ คลทท่ี ํางานรวมกนั เพอื่ ใหบรรลุเปา หมาย ของทีม ตอไปนเี้ ปน สง่ิ ที่ทานและเพ่ือนรว มทีมจะตองยดึ ถือเปน กรอบเพอ่ื ทํางานรว มกัน ดงั นี้ มีความเปน หน่ึงเดียวกัน จดั การดว ยตนเอง พ่งึ พาตวั เอง ขนาดของกลุมที่พอเหมาะ 1. มีความเปนหน่งึ เดียวกนั สมาชิกของทมี ทีป่ ระสบความสาํ เร็จในการทํางานจะตองมีความเปน หนึ่งเดียวกนั ทุก ๆ คนจะถกู ดงึ เขา มาในทศิ ทางเดียวกันเพือ่ ใหบรรลุความสาํ เร็จในงาน และ / หรอื บรรลุ เปา หมายรวมกนั โดยท่วั ไปแลวงาน และ / หรือเปาหมายอาจบรรลไุ ดเ มือ่ ทาํ งานรวมกันแทนทีจ่ ะตา งคน ตางทาํ ทีมงานทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพจะมลี ักษณะโดดเดนและสมาชกิ ทุกคนมีความรูสึกวาตนเองมสี วนรวมใน ความสําเร็จดว ย 2. จดั การดวยตนเอง ทีมงานที่ประสบความสําเร็จในการทาํ งานมีแนวโนมวาจะสรางโครงสรา ง เฉพาะตนขนึ้ มา เนื่องจากสมาชิกยอมรบั บทบาท ของตนในเวลาตา ง ๆ กนั คลอ ยตามความจาํ เปน ความ ตอ งการและความสามารถของตน บางคนอาจมปี ระสบการณใ นงานเฉพาะอยางจึงอาจเปน คนจัดการให คนอนื่ ๆ ทําตาม คนอนื่ ๆ กจ็ ะทําหนาที่ในกจิ กรรมของตนไปในงานทเี่ ขาคนุ เคย พฤตกิ รรมเหลานี้จะถกู พฒั นาไปในแนวของโครงสรางองคกร และสมาชกิ ทกุ คนจะตองปฏิบัติตาม 3. พ่ึงพาตวั เอง สมาชิกของทมี ทีป่ ระสบความสาํ เร็จในการทาํ งานจะรว มมอื กบั คนอื่น ๆ เพอ่ื ทาํ งาน ชิ้นใดชิน้ หนึง่ หรือทาํ ใหเ ปาหมายสําเร็จอยางไมห ลีกเลย่ี ง รวมกนั ทํางานตามกาํ ลังความสามารถของตนเอง ใหค ําปรกึ ษาแนะนาํ และชกั จงู เม่อื จาํ เปน รวมประสานงานในหนา ท่แี ละแกไขปญหาอุปสรรครว มกัน ทกุ คน ตา งเอือ้ อาทรชวยเหลือกันและมคี วามเปน หนง่ึ เดียวกนั ถา มีบคุ คลหน่ึงบุคคลใดทาํ งานเกินกําลังหรอื ประสบ ปญ หายุงยากอนั ใดพวกเขาจะรวมมือกัน เชน อาจปกปดคนทม่ี าทาํ งานสายหรือ เลิกงานกอนเวลา 4. ขนาดของกลุมท่พี อเหมาะ โดยทว่ั ไปแลว ทมี งานที่ประสบความสําเรจ็ ในการทํางานมักจะมีขนาด พอเหมาะไมใ หญโ ตเกนิ ไปนัก เพ่อื ใหสมาชกิ ทุกคนในกลมุ สามารถเขา มามสี วนรวมสรา งสรรคแ ละจดั การ ดวยตัวเองได แบงงานกนั ทาํ อยางยุติธรรม แบงปน ความคดิ เหน็ และความรสู ึกอยางเปดเผย รวมกนั คดิ แก ปญ หาอยา งฉับไวและทนั กาล สมาชกิ สกั 5 คนตอ ทมี เปน ขนาดทีก่ ําลงั พอดี ถา มากไปกวา นั้นอาจเสียเวลา ในการอภิปรายกลมุ ในขณะทส่ี มาชิกคนหน่งึ หรอื สองคนกําลงั ทาํ งาน คนอน่ื ๆ อาจไมเขาไปมีสวนรวมมาก สอบครูดอทคอม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook