Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-07-05 11:21:48

Description: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผู้เขียน รศ.ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล
ตุลาคม 2554

*
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (๒๕๕๔). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุดรธานี : อักษรศิลป์การพิมพ์.

Keywords: ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์,สมชาย วรกิจเกษมสกุล

Search

Read the Text Version

(1) คานา หนังสอื ระเบียบวธิ กี ารวิจัยทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ผู้เขียนไดศ้ กึ ษาคน้ คว้า จากเอกสารตารา ผลงานวจิ ยั และจากประสบการณใ์ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวชิ านี้ แลว้ นามาเรยี บเรียงเนื้อหาทีม่ คี วามสมั พันธต์ อ่ เน่ืองกนั เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษาทงั้ ในระดับปรญิ ญาตรีและ ระดับบณั ฑติ ศกึ ษาไดใ้ ชป้ ระกอบการศกึ ษา ค้นควา้ และเป็นแนวทางในการศึกษาแสวงหาความรู้ ท่เี ก่ียวกบั การดาเนินการวจิ ัยอย่างง่ายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ท้งั นผ้ี เู้ ขียนขอขอบพระคุณผูเ้ ขยี นเอกสาร ตารา และงานวิจัยทุกท่านท่ีผ้เู ขียนได้นามาใช้ใน การอ้างอิง และเรียบเรียงเป็นเอกสารตาราฉบบั นี้ และขอบพระคุณผทู้ ี่มสี ว่ นเกย่ี วข้องทใ่ี หค้ วามช่วยเหลือ และกาลงั ใจในการจดั ทาหนงั สือฉบับน้จี นกระทง่ั เปน็ เอกสารตาราท่ีสาเรจ็ สมบรู ณ์ และหากท่านท่ีไดน้ า เอกสารฉบบั นี้ไปใช้และมีข้อเสนอแนะทีม่ อบใหแ้ กผ่ ู้เขียน ซึ่งผู้เขยี นมคี วามยินดีท่จี ะรบั และนามา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้หนงั สือฉบบั นใ้ี ห้มคี วามถูกต้อง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น สมชาย วรกจิ เกษมสกุล ตลุ าคม 2554

(3)

สารบญั เรื่อง หน้า คานา.......................................................................................................................................... (1) สารบัญ....................................................................................................................................... (3) บทที่ 1 ความร้เู บ้ืองตน้ เกยี่ วกบั การวิจัย............................................................................................ 1 วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์......................................................................................................... 2 ทฤษฏี............................................................................................................................. ........ 5 การวจิ ยั ................................................................................................................................... 9 สาระสาคัญบทท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เก่ยี วกับการวจิ ัย.................................................................3..1... คาถามเชงิ ปฏิบัตกิ ารบทที่ 1 ความรู้เบื้องตน้ เก่ียวกบั การวจิ ัย.............. ………………………. 33 บทที่ 2 กระบวนการวจิ ัย................................................................................................................ 35 กระบวนการวิจยั .................................................................................................................... 35 ปญั หาการวิจัย........................................................................................................................ 46 สาระสาคญั บทท่ี 2 กระบวนการวจิ ัยและการวเิ คราะห์ปญั หาการวิจัย.............................. 57 คาถามเชิงปฏบิ ตั กิ ารบทท่ี 2 กระบวนการวิจยั และการวเิ คราะหป์ ญั หาการวจิ ัย......................5..8... บทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง........................................................................5..9. เอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง................................................................................................5..9 กรอบแนวคิดในการวิจัย........................................................................................................ 77 สาระสาคัญบทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง........................................ 83 คาถามปฏิบัติการบทท่ี 3 การทบทวนเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง................................ 85 บทท่ี 4 ตวั แปรและสมมตุ ฐิ าน........................................................................................................ 87 ตวั แปร.................................................................................................................................... 87 สมมตุ ิฐาน.................................................................................................................... ...........1. 05 การทดสอบสมมุตฐิ าน........................................................................................................... 116 สาระสาคญั บทที่ 4 ตัวแปรและสมมุตฐิ าน..............................................................................1..2..8. คาถามปฏิบตั กิ ารบทท่ี 4 ตวั แปรและสมมุตฐิ าน................................................................ 130 130

(4) สารบญั (ตอ่ ) เรอื่ ง หน้า บทที่ 5 การออกแบบการวจิ ัย.......................................................................................................... 131 การออกแบบการวจิ ยั ........................................................................................................ 131 สาระสาคญั บทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ัย..................................................................................1. 54 คาถามปฏิบตั กิ ารบทท่ี 5 การออกแบบการวจิ ยั .................................................................. 156 บทที่ 6 การสุม่ ตัวอยา่ ง................................................................................................................... 157 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง...................................................................................................... 157 การสมุ่ ตัวอยา่ ง....................................................................................................................... 159 สาระสาคญั บทท่ี 6 การส่มุ ตวั อยา่ ง...........................................................................................184 คาถามเชงิ ปฏบิ ัติการบทที่ 6 การสมุ่ ตัวอยา่ ง.............................................................................1...8..6. บทที่ 7 โครงการวิจยั ................................................................................................................... 187 โครงการวิจยั ..............................................................................................................................187 การประเมนิ โครงการวจิ ยั ....................................................................................................... 199 สาระสาคญั บทที่ 7 โครงการวจิ ัย........................................................................................ 207 คาถามเชงิ ปฏิบตั ิการบทที่ 7 โครงการวจิ ัย………………………………………………………………… 209 บทที่ 8 เครือ่ งมอื วิธีการท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล.................................................................. 211 การเก็บรวบรวมข้อมลู ........................................................................................................... 211 เครื่องมือ วธิ ีการทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ......................................................................... 213 สาระสาคญั บทที่ 8 เครื่องมือ วธิ กี ารที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล………………………………. 261 คาถามเชิงปฏบิ ัติการบทที่ 8 เครื่องมือ วธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ...................... 263 บทที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจยั ......................................................... 265 ความเทีย่ งตรง...........................................................................................................................265 ความเชอื่ มั่น...............................................................................................................................274 คณุ ภาพของเคร่ืองมือในการวจิ ยั ................................................................................................2..88 สาระสาคญั บทท่ี 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย............................ 293 คาถามเชิงปฏิบตั กิ ารบทที่ 9 การตรวจสอบคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย............ 295

(5) สารบัญ(ต่อ) เรือ่ ง หนา้ บทที่ 10 สถิตเิ ชิงพรรณนา............................................................................................................. 297 สถติ ิ............................................................................................................................. ........... 297 ขอ้ มลู ...................................................................................................................................... 300 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ................................................................................................................. 306 การแจกแจงความถี่.............................................................................................................. 308 การวดั แนวโนม้ เข้าส่สู ่วนกลาง............................................................................................... 311 การวดั การกระจาย................................................................................................................. 323 การวดั ตาแหนง่ และการเปรยี บเทยี บ ...................................................................................... 333 สหสมั พันธ์............................................................................................................................. 337 สาระสาคญั บทท่ี 10 สถติ ิเชิงพรรณนา................................................................................ 339 คาถามเชงิ ปฏบิ ัติการบทที่ 10 สถติ เิ ชิงพรรณนา……………………………………………………….. 342 บทที่ 11 สถิตเิ ชงิ อ้างอิง.................................................................................................................... 345 ความสัมพนั ธ์ระหว่างประชากร กลมุ่ ตวั อยา่ งและการใชส้ ถติ ิเชิงอา้ งองิ ................................ 345 การแจกแจงแบบปรกติ........................................................................................................... 346 หลกั การและองคป์ ระกอบของการทดสอบความมีนยั สาคัญทางสถิติ...................................... 347 ปัญหาการเลอื กใชส้ ถติ ิ.............................................................................................................. 351 ประเดน็ ทีไ่ ม่ควรปฏบิ ัตใิ นการทดสอบนัยสาคญั ทางสถิติ...........................................................3..51 การทดสอบคา่ ท.ี .................................................................................................................... 352 การวิเคราะห์ความแปรปรวน.................................................................................................. 366 การทดสอบไครส์ แควร์......................................................................................................... 379 สาระสาคัญบทที่ 11 สถิติเชิงอ้างองิ ………………………………………………………………………… 387 คาถามเชิงปฏิบตั ิการบทท่ี 11สถติ ิเชงิ อ้างองิ …………………………………………………………….. 390 บทที่ 12 รายงานการวิจัย.................................................................................................................. 393 ความหมายของรายงานการวิจัย............................................................................................... 393 ความสาคัญของรายงานการวจิ ัย............................................................................................ 393 องค์ประกอบของการเขียนรายงานการวิจัย.............................................................................. 394 กระบวนการเขียนรายงานการวิจัย............................................................................................ 408 การอ้างองิ ...................................................................................................................................409

(6) สารบญั (ต่อ) เร่อื ง หน้า บรรณานกุ รมและเอกสารอ้างองิ ....................................................................................................4.11 หลักการในการเขยี นรายงานการวจิ ยั ...................................................................................... 414 การประเมนิ งานวิจยั ................................................................................................................. 415 การเผยแพรผ่ ลการวจิ ยั ..................................................................................................... ...... 420 สาระสาคัญบทที่ 12 รายงานการวิจัย………………………………………………………………………….. 423 คาถามเชงิ ปฏบิ ตั ิการบทที่ 12 รายงานการวิจัย………………………………………………………………. 425 บรรณานกุ รม........................................................................................................................................ 427 ภาคผนวก ตารางค่าสถิติ.................................................................................................................. 437 ตารางภาคผนวกที่ 1 ตารางเลขสุม่ ของSnedecor.................................................................... 437 ตารางภาคผนวกที่ 2 การแจกแจงแบบท(ี t-distribution).......................................................... 438 ตารางภาคผนวกที่ 3 การแจกแจงแบบเอฟ(F-distribution)ทร่ี ะดบั นัยสาคัญทางสถิติ .10…… 439 ตารางภาคผนวกที่ 4 การแจกแจงแบบเอฟ(F-distribution)ท่ีระดับนยั สาคญั ทางสถิติ .05….. 440 ตารางภาคผนวกท่ี 5 การแจกแจงแบบเอฟ(F-distribution)ทร่ี ะดับนัยสาคัญทางสถติ ิ .01.... 441 ตารางภาคผนวกที่ 6 การแจกแจงไครส์ แควร์(2-distribution)........................................... 442 ตารางภาคผนวกท่ี 7 การกาหนดขนาดตัวอยา่ งจากประชากรของ Krejcie and Morgan….. 444 ตารางภาคผนวกที่ 8 เทียบค่าเปอรเ์ ซนไทลใ์ ห้เป็นคะแนนทีปกติ............................................. 445

(7) สารบญั ภาพ ภาพท่ี หนา้ 1.1 โครงสร้างความรู้ทางวทิ ยาศาสตร.์ ..................................................................................... 4 1.2 วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ทน่ี ามาใชใ้ นการวจิ ัย..................................................................... 5 1.3 ระบบของทฤษฏี............................................................................................................ ... 7 1.4 ความสมั พนั ธ์ระหว่างทฤษฏแี ละขัน้ ตอนของการวิจัย....................................................... 8 1.5 ความหมายของการวจิ ัย...................................................................................................... 9 1.6 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งวทิ ยาการวจิ ัย และปรากฏการณจ์ รงิ .................................................11 1.7 การวิจัยแบบตดั ขวาง..........................................................................................................16 1.8 การวิจัยแบบต่อเน่ือง.......................................................................................................... 16 1.9 ความมุ่งหมายของการวิจยั จากกว้างสู่ลึก-เฉพาะ.................................................................18 1.10 วิธีการแสวงหาความรู้แบบอนุมานของอรสิ โตเติล.......................................................... 21 1.11 วิธีการแบบอนุมาน........................................................................................................... 22 1.12 วิธกี ารแสวงความรู้แบบอปุ มานตามแนวคิดของฟรานซิส เบคอน................................. 23 1.13 วิธีการแสวงหาความรดู้ ้วยวิธีการอุปมานแบบสมบูรณ์.................................................. 23 1.14 วธิ กี ารแสวงหาความร้ดู ้วยวิธีการอปุ มานแบบไม่สมบูรณ.์ .............................................. 24 1.15 วิธีการแสวงหาความร้ดู ้วยวธิ กี ารอปุ มานแบบเบคอเนียน................................................ 24 1.16 วิธีการแสวงหาความรดู้ ้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์.......................................................... 25 2.1 กระบวนการพฒั นาจากองค์ความรเู้ ดิมจนกระท่ังได้รบั องค์ความรใู้ หม.่ .......................... 35 2.2 กระบวนการวจิ ัยของนแู มน................................................................................................ 36 2.3 กระบวนการวจิ ยั ของมสั นคิ และเบริกส์.............................................................................. 37 2.4 กระบวนการการวิจยั ของจมุ พล สวสั ดิยากร...................................................................... 38 2.5 กระบวนการวิจยั ตามแนวคดิ ของพรุน................................................................................ 39 2.6 วงจรขน้ั ตอนการวิจัยของนงลักษณ์ วิรชั ชยั ......................................................................... 40 2.7 ความสัมพนั ธ์ของข้ันตอนในการดาเนินการวจิ ยั ทม่ี คี วามสัมพันธแ์ ละเชื่อมโยงกนั .......... 41

(8) สารบัญภาพ(ต่อ) ภาพท่ี หน้า 2.8 กระบวนการวจิ ัยท่ีสงั เคราะห์ขน้ึ ........................................................................................ 42 2.9 การวิจัยเพอ่ื แก้ไขปัญหาท่เี กิดขึ้น....................................................................................... 46 2.10 การวจิ ยั เพอ่ื ป้องกันปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ................................................................................ 46 2.11 การวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการปฏิบัต.ิ ........................................................................................ 46 2.12 องคป์ ระกอบของปัญหาการวจิ ัย................................................................................... 48 2.13 ขั้นตอนการวเิ คราะหป์ ญั หา........................................................................................... 51 2.14 ความสัมพันธข์ ององค์ประกอบในการกาหนดปญั หาการวิจยั ....................................... 52 2.15 การวิจยั เพอ่ื สารวจว่า “มีอะไรบ้าง”............................................................................... 54 2.16 การวจิ ัยเพื่อศึกษาว่า “มีอะไรบ้าง และเป็นอยา่ งไร”...................................................... 54 2.17 การวิจยั เพือ่ พัฒนา “เปลี่ยนแปลง ปรับปรุงให้เกิดพฒั นาการ”........................................5.5 2.18 การวจิ ยั เพือ่ วิจัยและพฒั นา “มอี ะไรบา้ ง อย่างไร และจะได้เปลี่ยนแปลง ปรับปรงุ ใหเ้ กิดพฒั นาการ”...............................................................................................5..5.. 3.1 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งทฤษฎี สมมุตฐิ าน งานวิจัย และ เอกสารหรืองานวจิ ัย ท่ีเกี่ยวขอ้ ง...................................................................................................................... 62 3.2 ขัน้ ตอนของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง.................................................. 67 3.3 ประโยชนข์ องการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง............................................. 74 3.4 กรอบแนวคดิ แบบแผนภาพ.......................................................................................... 80 3.5 ความสัมพนั ธท์ ฤษฎแี ละกรอบแนวคดิ ลกั ษณะต่าง ๆ.................................................. 80 3.6 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างกรอบแนวคิดการวจิ ัยกับการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัย ทเ่ี กีย่ วข้อง..................................................................................................................... 81 4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคดิ ทฤษฏี ตวั แปรที่ศึกษา และการนยิ ามตวั แปร................. 88 4.2 ตัวแปรแทรกซอ้ น......................................................................................................... 90 4.3 ตวั แปรสอดแทรก.............................................................................................................. 90 4.4 ความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปร........................................................................................... 90

(9) สารบัญภาพ(ตอ่ ) ภาพที่ หน้า 4.5 ประเภทความสัมพนั ธ์ของตัวแปร.............................................................................. 93 4.6 ความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรต้น 1 ตัวกบั ตวั แปรตาม 1ตวั .......................................... 93 4.7 ความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรตน้ 1 ตัวกับตวั แปรตามหลายตวั ...................................... 94 4.8 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรตน้ หลายตัวกบั ตัวแปรตามตวั เดยี ว................................ 94 4.9 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปรต้นหลายตัวกับตวั แปรตามหลายตวั ................................ 95 4.10 ความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงบวก..................................................................... 95 4.11 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรในเชงิ ลบ..................................................................... 96 4.12 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรเปน็ ศูนย.์ .................................................................... 1 96 4.13 การนยิ ามตัวแปรเชิงโครงสร้างเปน็ นยิ ามเชงิ ปฏิบัติการ........................................... 1 97 4.14 ความสัมพันธ์ระหว่างคานยิ ามเชิงมโนทัศน์ คานยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร และ 5 กคาวเคราจมรัดอ่ืสกงัมมรพือะันททธาใี่ ร์ ชแะ้ใบหนบวกสา่างุ่มรกว..า.ิจ.ร.ัย.ก....า....ห.....น......ด....ป......ัญ......ห......า....ก....า....ร....ว....ิจ.....ยั.......แ.....ล.....ะ....ต.....ัว....แ.....ป.....ร.........................................................................................................1..65 99 4.15 101 4.16 103 4.17 การนาตวั แปรควบคุม(ระดับ)มาเป็นตวั แปรท่ีศึกษา.................................................16 103 4.18 ทาใหต้ วั แปรควบคมุ คงท.่ี ........................................................................................ 17 104 4.19 การปรบั ค่าทางสถติ ิ.................................................................................................. 18 104 4.20 กกคารวระากบมาวสหนมั นกพดาันรสกธม์รามะหุตหนิฐวดา่านสงมอสมยม่าุตมงฐิุตงาฐิ่านยา.น.....ก.....า....ร....ว....จิ....ยั.....ก.....บั......ส....ม.....ม.....ตุ.....ิฐ....า....น.....ท.....า....ง....ส.....ถ....ิต.....ิ.......................................................................................1290 107 4.21 110 4.22 111 4.23 การกาหนดสมมุตฐิ านแบบซับซ้อน....................................................................... 22 111 4.24 การทดสอบสมมุตฐิ านแบบทางเดยี วหรือหางเดียวท่รี ะดบั นัยสาคญั ทางสถิติ 24 ท.่ี 05........................................................................................................................2...5 117 4.25 การทดสอบสมมุตฐิ านแบบสองทางหรือสองหางท่รี ะดบั นัยสาคญั ทางสถติ ทิ ี่.05 118 4.26 กระบวนการทดสอบสมมตุ ิฐาน............................................................................... 27 118 30 31 31

(10) สารบญั ภาพ(ตอ่ ) ภาพที่ หน้า 5.1 ความสมั พันธข์ องความแปรปรวนของตัวแปร........................................................... 134 5.2 การศึกษาแบบกลุ่มเดียว One –Shot Case Design.........................................................1..42 5.3 แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น....................... 144 5.4 แบบแผนการเปรียบเทยี บกลุ่มแบบคงท.่ี ................................................................... 145 5.5 แบบแผนการทดลองก่อนเรยี นและหลงั เรยี นแบบมกี ลุ่มควบคุม................................. 146 5.6 แบบแผนการทดลองการทดสอบหลังการทดลองแบบมกี ลุ่มควบคมุ ........................ 148 5.7 แบบแผนแบบNon-equivalent Control Group design...............................................1..49 5.8 แบบแผนการทดลองแบบอนกุ รมเวลา........................................................................ 150 5.9 แบบแผนการทดลองแบบอนกุ รมเวลาและมีกลุ่มควบคุม............................................ 151 5.10 หลกั การจาแนกแบบแผนการวจิ ัยในการวิจยั เบ้ืองตน้ กง่ึ ทดลอง และ 1 ทดลองจรงิ ....................................................................................................................1 152 5.11 แบบแผนการทดลอง กลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง................................................... 5.12 แบบกลมุ่ เดยี วสอบก่อน 2 คร้ังและสอบหลงั 2คร้ัง................................................. 5 153 6.1 ความสมั พนั ธ์ระหว่างประชากรทวั่ ไป ประชากรตามสมมตุ ิฐานประชากรเฉพาะ 6 153 15 การวจิ ยั และกลมุ่ ตัวอยา่ ง......................................................................................... 159 6.2 กระบวนการสุ่ม.......................................................................................................... 16 160 6.3 การสมุ่ กลุ่มตัวอย่างแบบช้นั ภูม.ิ ................................................................................. 17 163 6.4 การสุม่ กลมุ่ ตัวอย่างแบบกลมุ่ ..................................................................................... 18 164 6.5 การสมุ่ กลมุ่ ตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน....................................................................... 165 6.6 องค์ประกอบในการกาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่าง................................................... 19 177 6.7 ความสมั พนั ธข์ องระดบั นัยสาคัญกบั ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ ง.................................... 20 178 6.8 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งขนาดของกลุ่มตัวอย่างกับความคลาดเคล่ือน........................... 22 180 7.1 ลกั ษณะการเขียนความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหาการวิจัย.............................24 191 8.1 มาตรการวดั แบบเทอร์สโตน......................................................................................25 224 27 30

(11) สารบัญภาพ(ตอ่ ) ภาพท่ี หนา้ 8.2 วิธีการประมาณคา่ รวมตามวธิ ีการของลิเครทิ ์............................................................. 226 8.3 มาตราวัดท่ีใชก้ ารจาแนกความหมายของคา.................................................................. 230 8.4 กระบวนการใชแ้ บบสอบถามเก็บข้อมลู .................................................................. 236 8.5 กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ.์ ..................................................... 242 8.6 ลกั ษณะของคาถามทใ่ี ชใ้ นการสัมภาษณ์................................................................... 246 8.7 บทบาทของผสู้ งั เกตและส่ิงที่จะสังเกต....................................................................... 249 8.8 กระบวนการเกบ็ ข้อมลู โดยการสังเกต...................................................................... 253 9.1 การตรวจสอบความเทยี่ งตรงตามเน้ือหา.................................................................... 266 9.2 การตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชงิ สภาพ....................................................................... 267 9.3 การตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชงิ พยากรณ.์ .................................................................. 267 9.4 การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสรา้ ง................................................................ 268 9.5 ความเช่อื มนั่ ของเครื่องมือในการวิจัย..................................................................... 274 9.6 ขน้ั ตอนวิธกี ารทดสอบซา้ .......................................................................................... 275 9.7 ขั้นตอนวิธีการทดสอบแบบสมมูล............................................................................ 276 9.8 ข้ันตอนวิธกี ารทดสอบแบบซ้าและสมมลู ................................................................ 277 9.9 ข้ันตอนวิธกี ารทดสอบการแบ่งครงึ่ แบบทดสอบ.................................................... 278 9.10 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความยาวของแบบทดสอบและความเชือ่ มัน่ .......................... 286 9.11 ความสัมพันธร์ ะหว่างความเชอ่ื มน่ั กับความเท่ียงตรง............................................... 288 10.1 ความสัมพนั ธ์ของระดบั ข้อมูล.................................................................................... 302 10.2 การจาแนกการวิเคราะหต์ ามจุดประสงค์................................................................... 307 10.3 การแจกแจงเปน็ โคง้ ปกติ กรณีที่ข้อมูลชุดเดียวกนั มคี า่ เฉลยี่ เลขคณิต มธั ยฐาน และฐานนิยม เท่ากัน................................................................................................ 322 10.4 การแจกแจงเปน็ เบซ้ า้ ย กรณีที่ข้อมูลชดุ เดียวกันมคี า่ เฉลย่ี เลขคณิต มธั ยฐาน ฐานนยิ ม................................................................................................................ 322

(12) สารบญั ภาพ(ตอ่ ) ภาพที่ หนา้ 10.5 การแจกแจงเปน็ เบข้ วา กรณีที่ขอ้ มูลชดุ เดียวกันมีคา่ เฉลี่ยเลขคณิต มธั ยฐาน  ฐานนยิ ม...................................................................................................................... 322 11.1 ความสัมพนั ธ์ระหว่างประชากร กล่มุ ตวั อย่างและการใช้สถิติ................................ 345 11.2 การแจกแจงแบบโคง้ ปรกต.ิ .................................................................................... 347 11.3 การทดสอบสมมุติฐานแบบทางเดยี วหรือหางเดยี วทรี่ ะดับนัยสาคัญทางสถิติ ท่.ี 05....................................................................................................................... 349 11.4 การทดสอบสมมตุ ฐิ านแบบสองทางหรือสองหางท่รี ะดบั นยั สาคญั ทางสถติ ิ ท.่ี 05........................................................................................................................ 350 11.5 ประเภทของการทดสอบค่าที..................................................................................... 354 11.6 การทดสอบคา่ ทีแบบกลมุ่ เดยี ว.................................................................................. 355 11.7 การทดสอบคา่ ทีแบบสองกลุ่มอิสระ............................................................................... 358 11.8 การทดสอบคา่ ทีแบบสองกลุ่มอสิ ระ............................................................................ 358 11.9 แนวคิดการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบทางเดยี ว.................................................... 365 12.1 การอภิปรายผลการวิจัย............................................................................................... 404 12.2 ส่วนประกอบของรายงานการวจิ ัย.............................................................................. 407

(13) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1.1 ความแตกต่างระหวา่ งวทิ ยาศาสตรก์ ับสามัญสานึก....................................................... 2 1.2 การเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหวา่ งการวจิ ยั เชงิ ทดลองกึ่งทดลองและไม่ทดลอง… 18 4.1การเปรียบเทยี บลกั ษณะของลักษณะของตัวแปรตน้ /อสิ ระ และตวั แปรตาม/ผล........... …88 4.2 ความคลาดเคลอื่ นในการทดสอบสมมตุ ฐิ าน.................................................................. 119 4.3 เปรยี บเทียบข้ันตอนการทดสอบสมมุติฐานของพิชเชอร์ ,นยี แ์ มนและเพียรส์ ัน และโคเฮนและฮิวเบอรต์ ี้.............................................................................................. 125 6.1 วิธีการสุ่มตัวอยา่ งแบบใชแ้ ละไมใ่ ช้ความน่าจะเป็นและเง่ือนไขการใช้........................ 167 6.2 ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งทร่ี ะดับความเชอ่ื ม่ัน 95 %(Z=1.96) เมอื่ ความคลาดเคลอ่ื น(E) เป็น 1%,2%,3%,4%,5% และ 10 %...........................................................................1.7. 2 6.3 ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งทร่ี ะดบั ความเชื่อมน่ั 99 %(Z=2.58) เมอ่ื ความคลาดเคลอ่ื น (E) เปน็ 1%,2%,3%,4%และ 5 %............................................................................1...73 6.4 การสุ่มของยามาเนดัดแปลงใชใ้ นการคิดคานวณขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยประมาณโดยใชร้ อ้ ยละ..........................................................................................174 6.5 ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างของเครซี่ และมอรแ์ กน ที่ระดับความเช่ือม่นั 95 % หรือมีความคลาดเคลอ่ื นที่เกดิ ขนึ้ 5 %......................................................................1.75 6.6 ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งทพี่ ิจารณาจากจานวนประชากร(คิดเป็นรอ้ ยละ)...................... 176 7.1 แผนปฏบิ ัตกิ ารดาเนินการวิจัย..................................................................................... 195 7.2 ตวั อยา่ งแบบประเมินคุณภาพโครงการวจิ ัย................................................................ 201 7.3 เกณฑใ์ นการพิจารณาให้คะแนนประเด็นในโครงการวจิ ัย............................................. 205 8.1 นา้ หนกั ของคะแนนจากความคิดเหน็ ในเชิงบวกและเชิงลบ.......................................... 227 8.2 เปรียบเทยี บขอ้ ดี-ข้อจากดั ของการใชแ้ บบสอบถาม....................................................... 237 8.3 ขอ้ ดี-ขอ้ จากัดของการสมั ภาษณร์ ายบุคคล..................................................................... 239 8.4 ข้อดี-ข้อจากดั ของการสมั ภาษณ์เป็นกลุ่ม....................................................................... 241 8.5 ข้อดีและข้อจากดั ของการสังเกตแบบมโี ครงสร้าง....................................................... 250 8.6 แบบจดบันทกึ แผนภูมิการมสี ว่ นรว่ มในการสงั เกต.........................................................2.56 8.7 แบบตรวจสอบรายการกระบวนการสร้างแบบทดสอบ................................................ 256 8.8 ข้อดแี ละข้อจากดั ของเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยใชก้ ารสังเกต........................................... 258 9.1 รูปแบบของแบบตรวจสอบที่ใหผ้ ้เู ชยี่ วชาญพิจารณาความเท่ยี งตรงเชิง เนื้อหา ของเครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวดั ผล..................................................................................... 269

(14) สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า 10.1 ความแตกตา่ งของความหมายสถติ ิในฐานะข้อมลู กับวธิ กี าร...................................... 298 11.1 แสดงผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบทางเดยี ว.................................................. 370 12.1 แบบตรวจสอบรายการในการประเมินคุณภาพงานวิจัย.............................................. 417

บทท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เกย่ี วกบั การวิจยั “คเวสนา ปรมา วิชชา” การวิจยั นามาซึ่งยอดแหง่ ความรู้ (Research leads to the summit of knowledge) (สุชาติ โสมประยรู และวรรณี โสมประยูร,2547 : 81) ในการศึกษาพฤตกิ รรมของมนษุ ย์หรอื สัตว์ เป็นประเดน็ ท่มี ีความยงุ่ ยากและความซับซอ้ น ในการแสวงหาข้อค้นพบเพื่อที่นามาใช้ในการบรรยาย อธิบาย คาดคะเน หรอื ควบคุมมนุษยห์ รือสตั ว์ ให้เกดิ พฤตกิ รรมตามทต่ี อ้ งการ ดงั น้ันมนุษย์จาเปน็ จะตอ้ งมี “วธิ ีการ” ทจ่ี ะนามาใช้แสวงหาขอ้ มลู ท่นี ามา พจิ ารณาวเิ คราะหส์ งั เคราะห์และประเมินคา่ เพ่ือหาขอ้ สรปุ /องคค์ วามรู้รว่ มกัน โดยท่ี “วิธีการ” ในการแสวงหาความรคู้ วามจริงของมนุษยไ์ ดม้ ีววิ ฒั นาการต่อเน่อื งกนั มาอย่างยาวนานโดยเริ่มต้นจาก วธิ กี ารที่ไม่มรี ะบบชดั เจน อาทิ เช่อื ไสยศาสตร,์ เชอ่ื ผู้มีอานาจ/หมอผี หรอื การลองผดิ ลองถกู เป็นต้น จนกระท่ังไดก้ ้าวเขา้ สใู่ นปัจจุบันทีม่ นษุ ย์ได้พฒั นา “วธิ กี าร” ที่ค่อนขา้ งจะเป็นระบบที่ชดั เจนโดยไดน้ า กระบวนการทางวิทยาศาสตร์(Scienti c Method)มาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ การทสี่ ามารถ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งไดท้ กุ ข้นั ตอน โดยท่ีเรยี ก “วิธกี าร” น้ีวา่ “การวจิ ยั (Research)” ในปัจจุบัน“การวิจยั ” เป็นศาสตรท์ ไ่ี ด้รับการยอมรบั จากนักวชิ าการและบุคคลทวั่ ไป ในนานาอารยประเทศวา่ เป็นวิธกี ารทม่ี ีประสทิ ธภิ าพในการนามาใชด้ าเนนิ การแสวงหาขอ้ มูลหรอื องค์ความรู้ตามจดุ มุ่งหมายไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง แม่นยา และมคี วามน่าเชอื่ ถือ และสามารถทจี่ ะนา ผลการวิจัยทีไ่ ด้รับไปใช้ในการแกป้ ญั หาหรอื พัฒนาได้อยา่ งสอดคล้องความต้องการอยา่ งแทจ้ รงิ โดยเฉพาะในวงการศกึ ษาท่มี ีความเช่ือวา่ “การวิจยั ” เป็นเครือ่ งมอื ในการแสวงหาความรหู้ รือแนวทาง แกป้ ญั หาที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในมหาวิทยาลยั ได้กาหนดใหบ้ ัณฑิตในการศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ทีจ่ ะสาเรจ็ การศกึ ษาจะต้องปฏิบตั ิการวิจยั (งานวทิ ยานพิ นธ)์ ที่เปน็ สว่ นหนึ่งของการได้รบั ปรญิ ญาใน การศกึ ษาระดับมหาบณั ฑติ หรอื ดษุ ฎีบัณฑติ และในพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 30 ไดก้ าหนดว่าการปฏบิ ัติงานในวิชาชพี ครใู ห้ครผู สู้ อนไดใ้ ชก้ ารวิจยั เปน็ เคร่อื งมือในการพัฒนาการเรยี นรู้ ของผูเ้ รยี น

หน้าที่ 2  บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกับการวิจัย วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ 1. ความหมายของวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์(Science) หมายถงึ ความรูท้ ่ีได้โดยการสังเกตและค้นควา้ จากการประจกั ษ์ ทางธรรมชาติ แลว้ จัดเข้าเปน็ ระเบียบ(ราชบณั ฑติ ยสถาน,2546 : 1075)โดยที่วทิ ยาศาสตร์จะมี ความแตกต่างจากสามัญสานึก(Common Sense) (สนิ พนั ธพ์ุ ินิจ,2547:17 ; Kerlinger,1986 : 3-5) ดงั แสดงในตารางที่ 1.1(Kerlinger,1986 : 5) ตารางที่ 1.1 ความแตกตา่ งระหว่างวทิ ยาศาสตร์กับสามญั สานกึ ลกั ษณะ วิทยาศาสตร์ สามญั สานึก ใชค้ วามรู้สกึ นกึ คิดของ การเป็นระบบ มรี ะเบียบแบบแผนตาม ตนเอง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ความนิยมเป็นเกณฑ์ การทดสอบทฤษฏแี ละ ทดสอบอย่างเปน็ ระบบ ใชค้ วามคดิ ของตนเอง สมมตุ ฐิ าน และเชิงประจักษ์ อ้างเหตผุ ลไมช่ ดั เจน การควบคมุ มกี ารควบคุม ไมม่ รี ะบบและการควบคมุ ตามทฤษฏี ปรากฏการณห์ รือตัวแปร การอธิบายปรากฏการณ์ อธิบายด้วย ความระมัดระวงั โดย ใชห้ ลักความเป็นจรงิ การศึกษาความสัมพนั ธ์ มรี ะบบทชี่ ดั เจน มีการ ของปรากฏการณ์ ควบคุมท้งั สาเหตุและผล วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธกี ารแสวงหาความรู้อย่างมีระเบียบ แบบแผน มกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลทเ่ี ปน็ ระบบ มีการทดสอบขอ้ เท็จจรงิ ใหญแ่ ละข้อเท็จจริงยอ่ ยมากกว่า การสมมตุ ใิ หเ้ ป็นความจรงิ เป็นวิธกี ารท่จี อห์น ดิวอี้ พัฒนาจากวธิ ีการนิรนยั ของอริสโตเติล และวิธีการ อปุ นยั ของฟรานซิส เบคอน แล้วจดบนั ทกึ ในหนังสือ “มนษุ ยค์ ดิ อย่างไร(How We Think)” ทปี่ ระกอบดว้ ย 5 ข้ันตอน ดังนี้(Kerlinger,1986 : 11-13 : Best and Khan,1998 : 5)

 ระเบยี บวิธีการวจิ ัยทางพฤตกิ รรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 3 1.1 การกาหนดปัญหา เป็นการพิจารณาจากสถานการณแ์ ละปรากฏการณ์วา่ มีปัญหา อปุ สรรคอะไรทเี่ กิดขึน้ และมีความตอ้ งการทจี่ ะหาคาตอบที่จะนาไปสกู่ ารแกไ้ ขปัญหาอุปสรรค หรือ พฒั นาให้ดขี น้ึ 1.2 การกาหนดสมมุตฐิ าน เปน็ การนาเสนอขอ้ คาดคะเนทีเ่ กย่ี วกบั ความสัมพนั ธ์ของ ตัวแปร หรอื ปรากฏการณ์ทจ่ี ะเกิดขึ้นตามสาเหตุท่ีไดจ้ ากการศึกษาแนวคดิ ทฤษฏี หรือการศกึ ษาท่ผี ่าน มา และถา้ พบว่ากาหนดสมมุตฐิ านไมถ่ ูกตอ้ งก็จะต้องศึกษาแนวคิด ทฤษฏีใหมเ่ พ่ือกาหนดสมมุติฐานใหม่ 1.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู เปน็ การศึกษาหาขอ้ มูลจากกลุ่มเปา้ หมาย หรือปรากฏการณ์ นั้น ๆ รวมทั้งการใชป้ ระสบการณ์ องค์ความรู้ และความเข้าใจ ท่ีอาจจะมคี วามสอดคล้องหรอื ไมส่ อดคลอ้ งกับการกาหนดสมมตุ ิฐานไวล้ ว่ งหนา้ 1.4 การวิเคราะห์ข้อมลู เป็นการนาขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการเก็บรวบรวมมาวเิ คราะหด์ ว้ ยวิธกี าร ทางสถิติ หรือวิธกี ารเชงิ คณุ ภาพเพื่อทดสอบสมมุติฐานท่กี าหนดไว้ 1.5 การสรปุ ผล เปน็ การสรปุ ผลตามขอ้ มูลที่ได้จากการวเิ คราะหก์ บั สมมตุ ิฐานทก่ี าหนดขึน้ ว่าจะยอมรบั หรือปฏเิ สธสมมุติฐานหลัก 2. ขอ้ ตกลงเบ้ืองต้นของวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ มีขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ (Assumption)ในการดาเนินการ ดงั นี้(สนิ พันธพ์ุ นิ ิจ, 2547:17 ) 2.1 ข้อมูลท่เี กบ็ รวบรวมต้องเปน็ ข้อมลู ตามธรรมชาติไม่ใช่สิง่ สมมุติ และถ้าเปน็ ข้อมูลทไ่ี ด้จาก การจัดกระทาจะตอ้ งกาหนดขอบเขตที่อยู่ภายใตเ้ งื่อนไขและสถานการณ์เดียวกันเท่านั้น 2.2 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติบางอยา่ งจะมคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ดงั น้นั จะตอ้ งจาแนกเป็น หมวดหม่ใู ห้ถูกต้องตามหลกั เกณฑ์ เพ่ือให้เกิดความเที่ยงตรงและความเชื่อม่นั ในการได้รบั ขอ้ มลู และ ผลการศึกษา 2.3 อัตราการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ทใ่ี ชเ้ วลาสนั้ และเวลานานท่ีแตกตา่ งกนั จะมี ผลตอ่ ปรากฏการณท์ เ่ี กิดข้ึนตามธรรมชาติ 2.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลายและใชเ้ ครือ่ งมือชว่ ยในการเก็บ รวบรวมข้อมลู ทเี่ หมาะสม จะทาให้ไดร้ บั ข้อมลู ทสี่ มบรู ณ์ ถูกตอ้ ง และเปน็ ข้อมลู ทเ่ี ป็นธรรมชาติ 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยเลือกใชว้ ธิ ีการทางสถิตทิ ี่เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั ขอ้ ตกลง เบื้องตน้ ของของสถิตแิ ตล่ ะประเภท 2.6 การดาเนินการเก็บขอ้ มลู หรือการนาผลไปใชอ้ ยู่ในสถานการณ์ปกติท่ีไม่มเี หตุการณ์ทีม่ ี อิทธพิ ลต่อปรากฏการณแ์ ละข้อเทจ็ จรงิ

หน้าท่ี 4  บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกยี่ วกับการวิจัย 3. โครงสรา้ งความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ในการเปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งการบรรยาย/พรรณนาและการอธิบายใหม้ ี ความชดั เจนข้นึ ตามระดับความรู้ในโครงสร้างความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีดงั นี้ (Punch,1998 : 14-18) 3.1 ความรรู้ ะดับที่ 1 เป็นความรู้จากข้อเท็จจริง(Discrete Fact)ท่เี ปน็ ปรากฏการณ์ทางสังคม ทีเ่ กดิ ตามธรรมชาติ หรือข้อเทจ็ จรงิ ท่วั ๆ ไป 3.2 ความรรู้ ะดบั ที่ 2 เปน็ ความรู้ท่ไี ดจ้ ากการวิเคราะห์ข้อเทจ็ จริงและปรากฏการณ์ตาม ธรรมชาตแิ ลว้ สรปุ ผลขอ้ มูลดว้ ยเหตผุ ลเชงิ ประจักษ์(Empirical Generlization)ให้สอดคลอ้ งกับ ขอ้ เทจ็ จรงิ และสามารถทดสอบได้ 3.3 ความรูร้ ะดบั ที่ 3 เป็นความรูร้ ะดบั ทฤษฏที ี่ใชอ้ ธบิ ายปรากฏการณ์ทางสังคมทใ่ี ช้ความรู้ใน ระดบั ท่ี 1 และ 2 ในการพรรณนาปรากฏการณ์นัน้ ๆ ท่ีแสดงระดับความรตู้ ามโครงสร้างความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ดงั แสดงในภาพที่ 1.1 (Punch, 1998 :18) ความรู้ระดบั ทฤษฏีทีใ่ ช้อธบิ าย ท่ี 3 ปรากฏการณ์ ความรู้ระดบั สรุปเหตุผล 2 สรุปเหตุผล 3 ที่ 2 สรปุ เหตผุ ล 1 ข้อเทจ็ จริง ขอ้ เท็จจริง ขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ เท็จจรงิ ความรู้ระดับ ท่ี 1 ข้อเทจ็ จริง ข้อเท็จจรงิ ภาพท่ี 1.1 โครงสร้างความรทู้ างวิทยาศาสตร์ 4. หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ในการวิจยั ไดใ้ ช้หลักการวิทยาศาสตรใ์ นการดาเนินการวจิ ยั ดงั นี้ 4.1 ความเปน็ ระบบ (Systematic) กล่าวคอื การวจิ ยั เป็นการศึกษาอย่างเป็นขัน้ ตอน ตามลาดบั ของเหตุและผล โดยจัดเปน็ ระบบที่ถูกต้องและสอดคล้องตามหลักของตรรกศาสตร์ ไมค่ วรจะ เปน็ เพยี งการเกบ็ รวบรวมข้อเท็จจรงิ บางอย่างเท่าน้ัน แต่ควรไดม้ ีการแสวงหาคาอธิบายขอ้ เทจ็ จริงอย่าง มีเหตผุ ล และเป็นระบบ 4.2 การศกึ ษาปฏสิ ัมพันธ์(Interaction)ท่ีเกิดขึ้นระหว่างพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์น้ัน ๆ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือหลากหลายท่ีจะใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูลนามาวเิ คราะห์ เพื่อให้ไดร้ ับผลลัพธ์ทแ่ี สดง ได้อยา่ งชดั เจนในปฏสิ ัมพันธเ์ ชิงเหตแุ ละผลทเี่ ปน็ ไปได้ และมคี วามน่าเช่อื ถือ

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 5 4.3 ลกั ษณะความเป็นพลวัตร(Dynamic)ของพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ย่อมจะเกิดขึ้นเสมอ ๆ ตามเวลาท่มี ีการเปลี่ยนแปลง และจะต้องแสวงหาวิธกี ารที่จะใช้อธบิ ายพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ใน เชิงเหตุและผลทีม่ คี วามเปน็ ไปไดต้ ลอดเวลา 5. วิธกี ารทางวิทยาศาสตรท์ นี่ ามาใชใ้ นการวจิ ัย ในการวจิ ัยใด ๆ ไดน้ าวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ดังนี้ (เทียนฉาย กรี ะนนั ทน,์ 2544 : 6-7) 5.1 วธิ ีการอุปมาน(Deductive Method) เป็นการพจิ ารณาจากส่วนใหญ่ท่ีใช้อธบิ ายส่วนที่ เลก็ กวา่ หรอื เปน็ การศกึ ษาส่งิ ที่ไม่รจู้ ากสง่ิ ที่รแู้ ล้ว กล่าวคือ เปน็ การใช้ทฤษฏี ทม่ี ีอยแู่ ลว้ ในการอธิบาย พฤติกรรมหรือปรากฏการณท์ ี่เกิดขน้ึ ว่าเปน็ อย่างไร 5.2 วธิ ีการอนุมาน(Inductive Method) เปน็ การพจิ ารณาจากส่วนเล็ก ๆท่ีเป็นประเด็นท่ี เฉพาะเจาะจง แตม่ ีความสมั พันธใ์ นเชงิ เหตุผลแล้วนาไปใชอ้ ธบิ ายพฤตกิ รรมหรอื ปรากฏการณ์ทีเ่ กิดขน้ึ ท่วั ไป ดังแสดงวิธกี ารทางวิทยาศาสตรท์ นี่ ามาใชใ้ นการวิจยั ในภาพท่ี 1.2 (ปรับจากBabbie,1998 :59) ทฤษฎี วธิ ีการอปุ มาน วธิ กี ารทาง วิธีการอนมุ าน การอ้างอิง วิทยาศาสตร์ สมมุติฐาน การสงั เกต ภาพที่ 1.2 วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรท์ น่ี ามาใช้ในการวิจยั ทฤษฏี 1. ความหมายของทฤษฏี ทฤษฏี(Theory) หมายถึง สิ่งทแี่ สดงความสัมพนั ธข์ องตัวแปรอยา่ งมีเหตุและผลทจี่ ะสามารถ นาไปอธิบายปรากฏการณ์ได้อยา่ งเปน็ ระบบ หรอื จาแนกทฤษฏอี อกเปน็ 3 ลักษณะ ดังน้ี 1) ทฤษฏีเป็นข้อเสนอท่ปี ระกอบดว้ ยความสัมพนั ธ์ของแนวคิดต่าง ๆ 2)ทฤษฏแี สดงให้เห็นความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งแนวคดิ ทจี่ ะนาไปอธิบายปรากฏการณ์ และ 3) ทฤษฏีทาหนา้ ที่อธิบายปรากฏการณ์ (Kerlinger,1986 :8) ทฤษฏี หมายถึง ข้อความ หรือข้อสรุป ทป่ี รากฏอยู่ในรูปของประโยคเชงิ เหตผุ ล เพอ่ื ใช้บรรยาย อธบิ าย และทานายปรากฏการณ์ หรอื เชื่อมโยงความสมั พันธ์ของประเดน็ ตา่ ง ๆทเ่ี กีย่ วข้องกบั ปรากฏการณ์ ภายใต้สภาวะแวดลอ้ มใดหนง่ึ หรือหลากหลายสภาวะแวดลอ้ ม(ปาริชาต สถาปติ านนท์, 2546 : 88)

หน้าท่ี 6  บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับการวจิ ยั สรุปไดว้ ่าทฤษฏี เปน็ ข้อความทแี่ สดงความคดิ รวบยอด ความเปน็ เหตุและผลของความสัมพันธ์ ระหวา่ งตวั แปรตา่ ง ๆ เพอ่ื ทจ่ี ะไดน้ าไปใช้ในการอธิบายและพยากรณ์ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ข้ึนอยา่ งมีระบบ ระเบยี บ 2.ธรรมชาติของทฤษฏี ในการนาทฤษฏตี า่ ง ๆ มาใช้ จะต้องศกึ ษาความเป็นธรรมชาตขิ องทฤษฏี มีดังนี้ (ศิริชยั กาญจนวาสี,2545 : 47-48) 2.1. ทฤษฏเี ป็นส่ิงท่สี ร้างขึน้ มาอยา่ งสมเหตผุ ล บนพน้ื ฐานของขอ้ ตกลงเบ้ืองตน้ หรือเงอื่ นไข บางอยา่ งทไี่ ดจ้ ากการสังเกตข้อมูลหรอื หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ดงั นั้นทฤษฏีจงึ เปน็ สง่ิ ที่ยังไมส่ ามารถพิสจู น์ ไดว้ ่าถกู หรือผดิ ดว้ ยข้อมลู หรือหลักฐานทีม่ ีอยูใ่ นขณะนั้น 2.2 ทฤษฏีเป็นภาพรวมหรือภาพความคิดโดยทัว่ ไปของปรากฏการณท์ ี่จะสามารถใช้อธบิ าย/ นริ นยั สถานการณ์เฉพาะ หรอื ใช้ในการกาหนดสมมตุ ฐิ านทเี่ ปน็ กลยทุ ธ์ควบคมุ การดาเนนิ งานให้ บรรลเุ ปา้ หมายในสถานการณ์เฉพาะต่าง ๆ ได้ 2.3 ทฤษฏีเปน็ ส่ิงทมี่ ีพัฒนาการเกดิ ขนึ้ เสมอ หมายถึง ทฤษฏถี ูกสร้างเพื่อชนี้ าหรอื ให้ ความกระจา่ งต่อปญั หาต่าง ๆ ทง้ั ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ดงั นน้ั เม่ือมขี ้อมลู หรือหลกั ฐานท่ี สมบรู ณ์ยอ่ มมกี ารปรบั ปรงุ หรือพฒั นาทฤษฏที ี่ดีกวา่ ข้ึนไปเร่ือย ๆ 2.4 ทฤษฏที ี่ดี ควรใช้อธิบายระบบความสัมพันธร์ ะหวา่ งแนวคิดท่ีมลี กั ษณะเรยี บงา่ ย ทมี่ คี วามสอดคล้องสัมพันธ์กันภายใน และสามารถตรวจสอบเพื่อขัดแยง้ หรือสนบั สนนุ ได้ ดว้ ยขอ้ มลู เชิงประจักษ์ 3. องคป์ ระกอบของทฤษฏี ในทฤษฏีใด ๆ จะมีองคป์ ระกอบของทฤษฏี ดงั น้(ี ปารชิ าต สถาปติ านนท์,2546:88) 3.1 ประเด็นต่าง ๆ ที่เก่ยี วกับปรากฏการณ์หน่ึง ๆ 3.2 คานยิ าม หรอื คาอธิบายความหมายของประเด็นเหล่านัน้ ทีเ่ ป็นประโยคบอกเล่าท่รี ะบุ ความคดิ รวบยอดอย่างครบถ้วน มคี วามชัดเจนที่เรียกวา่ “นิยามเชงิ ปฏิบัติการ” 3.3 หลักการ ข้อเทจ็ จริง และสมมุติฐานเกีย่ วกับปรากฏการณ์ในด้านต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ อาทิ สาเหตใุ นการเกดิ ปรากฏการณ์ ขน้ั ตอนในการเกิดปรากฏการณ์ และความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ประเด็นตา่ ง ๆในเชงิ เหตผุ ล ตลอดจนกระท่ังข้อตกลงเบ้อื งต้นในการศึกษาปรากฏการณ์น้ัน ๆ 4. ระบบของทฤษฏี ระบบของทฤษฏี(Theoretical System) (Hoy and Miskel,1991 อา้ งองิ ใน จนั ทรานี สงวนนาม,2545 : 4) เปน็ ข้ันตอนแสดงท่ีมาของทฤษฏีทเ่ี ร่ิมตน้ จากความคดิ รวบยอดทห่ี ลากหลายนามา สรปุ เปน็ ข้อสรุปเบ้ืองตน้ แลว้ ใชว้ ิธกี ารอนุมานให้เปน็ สมมุติฐานแลว้ จงึ นาไปเก็บรวบรวมข้อมูลดว้ ย วิธีการอปุ มานที่ใช้ข้อมลู เชงิ ประจักษ์เพ่ือตรวจสอบว่าข้อสรปุ ดังกล่าวเป็นจริง ดงั แสดงในภาพท่ี 1.3 (Hoy and Miskel,1991 อ้างองิ ใน จนั ทรานี สงวนนาม,2545 : 4)

 ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 7 ความคิดรวบยอด ข้อสรุป ความคิดรวบยอด ทว่ั ไป อนุมาน สมมตุ ิฐาน การทดสอบ เชิงประจักษ์ อุปมาน หลกั การและกฏ ภาพที่ 1.3 ระบบของทฤษฏี 5. ประเภทของทฤษฏี ทฤษฏใี ด ๆ สามารถจาแนกได้ ดังน้ี 5.1 ทฤษฏีหลกั (Grand Theory) เป็นทฤษฏีทไ่ี ดจ้ ากการวเิ คราะหเ์ ชิงอนุมานโดยใช้หลัก ตรรกวิทยาแลว้ ไดป้ ระเดน็ ทเ่ี ช่ือมโยงกันอย่างเป็นระบบ เพอ่ื ใช้อธิบายปรากฏการณ์ใด ๆ ในสงั คม ท่ีคลา้ ยกฎทใ่ี ช้ไดท้ วั่ ไป และสามารถทดสอบความถูกต้องได้ดว้ ยวธิ กี ารเชงิ ประจักษ์ 5.2 ทฤษฏีพ้ืนฐาน(Grounded Theory) เปน็ ทฤษฏจี ากการหาข้อเทจ็ จรงิ เชงิ อุปมาน/ การปฏบิ ตั ิจริง โดยการสงั เกต/เก็บข้อมูลภายใตป้ รากฏการณน์ นั้ ๆ แลว้ นามาสรปุ ผลท่ีจะตอ้ งพสิ จู นค์ วาม ถูกต้องต่อไป 6. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทฤษฏแี ละขั้นตอนของการวจิ ัย ในการศึกษาปรากฏการณ์ใด ๆ จาเปน็ จะตอ้ งกาหนดแนวคิด ที่ไดม้ าจากทฤษฏแี ละ ปรากฏการณ์ โดยกาหนดเปน็ วตั ถุประสงค์ของการศึกษา ที่จะต้องมกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ปรากฏการณน์ นั้ ๆ แล้วนาข้อมลู มาวิเคราะห์เพื่อจดั ระเบียบ หมวดหมู่ เพื่อสรุปผลการวจิ ัยทีจ่ าเป็นต้อง ใชแ้ นวคดิ หรือทฤษฏใี นการตีความหมาย และถ้าผลการวิจัยแตกตา่ งจากทฤษฏที ่ศี ึกษาอาจจะต้องมกี าร ปรับเปลีย่ นทฤษฏใี ห้มีความถูกตอ้ งต่อไป ในสว่ นของการวจิ ยั ทฤษฏเี ปรยี บเสมอื น “แผนท่ี” ในการเดนิ ทางไปสสู่ ถานท่ีใด ๆ ที่บคุ คล จะตอ้ งศกึ ษาค้นคว้า ทาความเขา้ ใจกบั เสน้ ทางก่อนการเดนิ ทาง ในทานองเดียวกนั ในการทางานวิจยั ผูว้ จิ ยั จะต้องทบทวน ทฤษฏี แนวคิด และงานวจิ ัยเพ่ือรับทราบข้อคน้ พบ สมมตุ ฐิ าน ขอ้ จากดั และ คาอธบิ ายทเ่ี กี่ยวข้องกบั ประเดน็ ท่ีตนเองสนใจ ตลอดจนเพื่อแสวงหาประเดน็ คาถามที่มคี ุณค่าใน การวิจัย(ปารชิ าต สถาปติ านนท์, 2546:88) ดงั แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฏแี ละขน้ั ตอนของ การวจิ ยั ในภาพที่ 1.4(ท่ีมา : ปารชิ าต สถาปิตานนท,์ 2546:88)

หนา้ ที่ 8  บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกบั การวจิ ัย การสรุปผล ปัญหาการวิจัย ประเดน็ การวิจยั การวิคราะห์ขอ้ มูล ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัย การเก็บขอ้ มูล กรอบแนวคิด ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง การออกแบบการวิจยั ภาพท่ี 1.4 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งทฤษฏีและขั้นตอนของการวิจยั 7.ประโยชน์ของทฤษฏตี ่อการวิจัย สนิ พนั ธพุ์ ินจิ (2547:21) ได้นาเสนอประโยชน์ของทฤษฏีที่มตี ่อการวิจยั ดงั นี้ 7.1 กาหนดกรอบการวิจัย ทฤษฏีจะเป็นแนวทางในการกาหนดตัวแปรที่ศกึ ษา จะมี การออกแบบการวิจัย และเก็บรวบรวมข้อมลู อย่างไร 7.2 จาแนกและลาดบั ข้อเท็จจรงิ ของตัวแปรใหเ้ ปน็ หมวดหมู่โดยใช้ทฤษฏีเปน็ กฎเกณฑ์ เพอ่ื ให้ ศึกษาไดง้ ่ายขึน้ 7.3 กาหนดกรอบแนวคดิ การวิจัย เปน็ การศึกษาความคิดรวบยอดเชงิ ทฤษฏจี ากเอกสารและ งานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง เพ่ือท่ีจะไดน้ ามากาหนดกรอบแนวความคิดในการวจิ ัยที่แสดงความสัมพันธ์ ของตัวแปรได้อย่างชดั เจน 7.4 กาหนดสมมุตฐิ าน ในการศึกษาความคิดรวบยอดเชิงทฤษฏีจะชว่ ยทาให้สามารถกาหนด สมมตุ ิฐานที่ถูกตอ้ งตามหลกั ของเหตแุ ละผลท่รี ะบุไว้ 7.5 กาหนดวธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ท่จี ะต้องใช้ทฤษฏใี นการวเิ คราะห์วา่ จะสามารถ เกบ็ ข้อมลู ด้วยวธิ กี ารใดบ้าง เพอื่ ใหเ้ กิดความครอบคลมุ ในปรากฏการณน์ ้ัน ๆ 7.6 การสรปุ ข้อเท็จจริง ในงานวจิ ัยบางเรอ่ื งที่มีความซบั ซอ้ นของข้อมูลที่นามาใช้ จะต้อง ใช้ทฤษฎที ่เี กย่ี วข้องมาเปน็ มาตรฐานในการตรวจสอบ อภิปรายผล และสรุปผลการวจิ ยั 7.7 การพยากรณ์ เปน็ การใชท้ ฤษฎีในการคาดคะเนปรากฏการณท์ ่เี กิดขึ้นและไม่สามารถ เก็บรวบรวมขอ้ มูลมาวเิ คราะหเ์ พ่ือสรุปผลได้

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 9 การวจิ ยั 1.ความหมายของการวิจัย การพิจารณาวิจยั ผา่ นรากศัพทล์ ะตนิ Research Re + Search Again Cercier อีกคร้ัง/ซ้า ๆ การค้นหา/การแสวงหา การแสวงหาแบบซา้ ๆ ภาพที่ 1.5 ความหมายของการวิจยั การวิจยั หมายถงึ การคน้ ควา้ หาขอ้ มูลอย่างถ่ถี ว้ นตามหลักวิชา(ราชบัณฑิตยสถาน,2546: 1072) สอดคล้องกับ OXFORD Advanced Learner’s Dictionary (1994 :1073) ที่นาเสนอว่า การวิจัย มา จากคาว่า Research ทีร่ ะบุความหมายว่า “Careful Study and Investigate” ท่หี มายถงึ การวจิ ัยเป็น การศึกษาและการสืบคน้ ความร้อู ย่างใดอย่างหนึ่งดว้ ยความระมัดระวงั อย่างละเอียดถี่ถ้วน การวจิ ัย หมายถงึ การศกึ ษา ค้นควา้ วิเคราะหห์ รือทดลองอย่างมีระบบ โดยใชอ้ ปุ กรณห์ รือ วธิ กี าร เพอ่ื คน้ หาขอ้ เท็จจริง หรือค้นหาหลกั การสาหรบั นาไปใช้ตัง้ กฎ ทฤษฏี หรือแนวทางปฏบิ ัติ (สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาต,ิ 2547 :45) การวจิ ยั เป็นกระบวนการค้นหาข้อเทจ็ จริง หรือปรากฏการณท์ างธรรมชาติอย่างมีระบบระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายท่ีชดั เจนเพ่ือให้ได้ความรู้ทีเ่ ชื่อถือได้(บุญธรรม กิจปรดี าบริสทุ ธ์ิ,2533 : 1) การวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู้ความจริงดว้ ยวธิ กี ารทม่ี รี ะบบ มีความเชื่อถือโดยใช้ ระเบยี บวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือให้ได้ความรใู้ หม่ท่เี ปน็ คาตอบปัญหาตามวตั ถุประสงคท์ ีก่ าหนด ไวอ้ ย่างชดั เจน(นงลักษณ์ วริ ัชชัย,2543:47) การวจิ ยั หมายถงึ กระบวนการแสวงหาความรคู้ วามเข้าใจท่ีถูกต้องในสิง่ ท่ีตอ้ งการศึกษา มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การจดั ระเบยี บข้อมูล การวเิ คราะหแ์ ละตีความหมายผลทไ่ี ดจ้ ากการวเิ คราะห์ ทัง้ นี้เพ่ือให้ได้มาซ่ึงคาตอบท่ีถูกตอ้ ง(สชุ าติ ประสิทธิร์ ัฐสนิ ธ์,ุ 2546 : 1) การวิจยั หมายถึง การศึกษาปรากฏการณ์โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทใ่ี ช้ข้อมูล เชิงประจกั ษ์ทน่ี ามาทดสอบสมมตุ ฐิ าน และมีแนวคิดหรอื ทฤษฏีสนับสนุนสมมุตฐิ านท่ที ดสอบ (Kerlinger.1986 :10)

หน้าท่ี 10  บทที่ 1 ความรู้เบอื้ งตน้ เก่ยี วกับการวิจยั การวจิ ยั คือ การวเิ คราะห์และบนั ทึกการสงั เกตภายใต้การควบคุมอย่างเป็นระบบระเบียบ และเปน็ ปรนัย ท่ีจะนาไปสู่การสรา้ งทฤษฏี หลักการ หรือการวางนยั ทวั่ ไปโดยใชว้ ธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ (Best and Khan,1998: 18) การวจิ ยั หมายถึง การใชค้ วามรพู้ ้ืนฐานทมี่ ีอยสู่ าหรบั การศึกษา ค้นคว้าความรูใ้ หม่ด้วยวธิ ีการ ทีเ่ ปน็ ระบบ มีการทดสอบสมมุตฐิ านท่นี า่ เชอ่ื ถอื เพื่อให้ได้ความร้ทู ส่ี อดคล้องกบั ข้อเท็จจริงและสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้(Burns and Grove, 1997 : 3) สรปุ ได้ว่าการวจิ ัย เปน็ กระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนทช่ี ัดเจนปราศจากอคติ สว่ นตัว สามารถตรวจสอบได้ ทผี่ วู้ ิจัยนามาใชศ้ กึ ษา ค้นควา้ ขอ้ เท็จจริง เพอ่ื นาไปใช้อธบิ ายปรากฏการณ์ ทางสังคม หรือพฒั นาเปน็ กฎ ทฤษฏี หรอื นาไปใชใ้ นการแก้ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ได้อย่างถูกต้อง แมน่ ยา และ เช่ือถอื ได้ 2. ลกั ษณะที่สาคญั ของจุดมุ่งหมายของการวิจัย จดุ มุง่ หมายของการวจิ ัยมลี กั ษณะที่สาคัญ ดงั นี้ (Best,1981 : 18-20) 2.1 เปา้ หมายของการวิจยั คือ มงุ่ หาคาตอบเพื่อนามาใช้แกป้ ญั หา โดยศึกษาความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งตัวแปรที่มีความเปน็ เหตุและเปน็ ผลซึ่งกนั และกนั อย่างชดั เจน 2.2 การวิจัยเปน็ การสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีท่ใี ช้ในการคาดคะเนเหตุการณท์ ี่จะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต หรอื เป็นการศึกษาข้อมูลจากกล่มุ ตวั อย่างเพือ่ ทีน่ าผลสรปุ อ้างองิ ไปสปู่ ระชากร 2.3 การวิจยั เปน็ การเก็บรวบรวมข้อมลู หรอื ปรากฏการณ์ที่สังเกตไดม้ าใชใ้ นการสรปุ ผล โดยทปี่ ญั หาในบางปญั หาไมส่ ามารถทาการวิจัยได้เน่ืองจากไมส่ ามารถเก็บรวบรวมข้อมลู ได้ 3. แนวคดิ พน้ื ฐานของการวจิ ัย ในการวจิ ยั ใด ๆ มจี ดุ มุ่งหมายเพ่ืออธบิ าย พยากรณ์ หรือควบคมุ ปรากฏการณ์โดยใชว้ ิธกี าร ทางสถิตเิ พ่ือให้เกิดผลสรปุ ท่ีถูกตอ้ ง ชดั เจน ในการทาความเขา้ ใจที่สอดคล้องกันและเกิดความเช่อื มัน่ ดงั นั้นผวู้ จิ ยั และผ้ทู ีเ่ กี่ยวข้องจาเป็นจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดพ้นื ฐานของการวิจัย ดังน้ี 3.1 กฎเหตแุ ละผลของธรรมชาติ (Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดทีร่ ะบวุ า่ ปรากฏการณ์ใด ๆ ท่เี กิดขึน้ น้ันจะสามารถแสวงหาสาเหตทุ ี่กอ่ ใหเ้ กดิ ปรากฏการณน์ ้นั ไดเ้ สมอ ๆ หรอื เมอ่ื กาหนดสถานการณใ์ ด ๆ ท่เี ปน็ สาเหตยุ อ่ มจะหาผลลพั ธท์ เี่ กิดขน้ึ ไดเ้ ช่นเดียวกัน 3.2 กฎความเปน็ ระบบของธรรมชาต(ิ Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดทีร่ ะบุว่า ปรากฏการณใ์ ด ๆ ท่เี กิดขน้ึ ตามกฎของเหตแุ ละผลของธรรมชาติจะมรี ูปแบบของความสัมพนั ธ์ของ ตวั แปรทค่ี อ่ นข้างจะชัดเจน อาทิ Y = f(x) หรือ y = ax+b เปน็ ตน้ เพอื่ ท่ผี ้วู ิจัยจะได้นารูปแบบ ดงั กลา่ วไปใช้อธบิ ายในปรากฏการณท์ ่เี กิดขึน้ โดยทวั่ ๆ ไปได้ 3.3 กฎความสัมพนั ธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature)เป็นแนวคดิ ท่ีระบวุ ่า ในการเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ท่ีแตกตา่ งกันนัน้ จะมีความมากนอ้ ยของตวั แปรที่เป็นสาเหตแุ ละ ตัวแปรผลทแี่ ตกตา่ งกัน

 ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยทางพฤตกิ รรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าที่ 11 3.4 กฎองคป์ ระกอบหลักของธรรมชาต(ิ Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่ ระบุว่าตัวแปรสาเหตุ และตวั แปรผลทเ่ี กดิ ขนึ้ น้ัน ๆ ไม่ไดเ้ ป็นความสัมพันธ์เชงิ เดย่ี ว แต่จะมตี วั แปร อืน่ ๆ (ตัวแปรแทรกซ้อน/สอดแทรก) ท่มี กั จะมาเกย่ี วข้องอยเู่ สมอ ๆ 3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคดิ ทรี่ ะบุวา่ ในปรากฏการณ์ ใด ๆ นน้ั ความรคู้ วามจริงทเ่ี กิดขน้ึ ตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มคี วามนา่ จะเป็นในการเกิดขึน้ ทค่ี ่อนขา้ งสงู ดงั ที่ไรเลย์(Riley . 1963:52 อ้างองิ ใน สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ัฐสินธ,ุ์ 2546 : 12) ทไ่ี ดน้ าเสนอ ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิทยาการวจิ ยั และปรากฏการณจ์ ริง ดงั แสดงในภาพท่ี 1.6 วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล แนวคิด/ทฤษฏี วิธกี ารทใ่ี ช้เก็บ ผลการ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ ปรากฏการณ์ วตั ถปุ ระสงคแ์ ละ ข้อมลู จรงิ สมมตุ ฐิ านการวิจยั ระเบียบ วธิ ีการวิจัย การตคี วามหมาย/ แปลความหมายทใี่ ช้ รวบรวมข้อมลู วิธีการตคี วามหมาย/ แปลความหมายทใ่ี ช้ ข้อมูล ภาพท่ี 1.6 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างวิทยาการวจิ ัย และปรากฏการณจ์ รงิ

หน้าท่ี 12  บทที่ 1 ความร้เู บือ้ งต้นเกี่ยวกบั การวจิ ัย จากภาพที่ 1.6 สามารถอธบิ ายได้วา่ ในการศกึ ษาปรากฏการณ์ใด ๆ จะต้องใช้แนวความคิดทาง ทฤษฏที ีน่ ามากาหนดวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ที่จะนาไปสวู่ ิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีจะนามาวิเคราะห์ใหเ้ ป็น ขอ้ ค้นพบของการวิจัยที่ต้องใช้ทฤษฏหี รือแนวคิดในการตีความหมายและถา้ ข้อค้นพบจากปรากฏการณ์ แตกตา่ งจากแนวคิด/ทฤษฏีท่ีมอี ย่จู ะได้นาไปแกไ้ ข ปรับปรงุ ทฤษฏใี ห้มคี วามถกู ต้องย่ิงขึ้น 4. คุณลักษณะของการวจิ ยั เบสสแ์ ละคาน(Best and Khan,1998 :18-25)และไวร์มา(Wiersma,2000:3) ไดน้ าเสนอ คณุ ลกั ษณะของการวจิ ยั ท่ีคลา้ ยกัน มดี ังนี้ 4.1 การวจิ ัย เป็นการแกป้ ัญหาที่ชว่ ยให้สามารถบรรลุเปา้ หมายสดุ ท้าย ที่เป็นการค้น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรตา่ ง ๆ อยา่ งมเี หตุผล 4.2 การวิจยั เปน็ การพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์ และทฤษฎีทีส่ ามารถนาไปใชอ้ ้างอิงหรอื คาดการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่อาจจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต 4.3 การวิจยั มแี นวคิดพนื้ ฐานของการได้รบั ข้อมลู ท่สี รุปจากประสบการณ์ท่ีไดจ้ ากการสงั เกต หรอื ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ (Empirical) ดงั นน้ั ในบางคาถามทีน่ ่าสนใจไม่สามารถทจ่ี ะนามาดาเนนิ การวิจยั ได้ เพราะไม่สามารถสงั เกตหรอื แสวงหาข้อมลู เชงิ ประจักษ์ได้ 4.4 การวจิ ัยจาเป็นจะต้องมีกระบวนการสงั เกตท่ีถูกตอ้ ง ชัดเจน และบรรยายปรากฏการณ์ท่ี เกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างชดั เจน โดยใช้เครอื่ งมือในการวจิ ยั เชิงปรมิ าณหรือวิธกี ารของการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ 4.5 การวจิ ัย เป็นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลใหมจ่ ากแหล่งปฐมภูมิ หรอื ใชข้ อ้ มูลทีม่ ีอยแู่ ล้วใน การตอบคาถามตามจดุ ประสงค์ใหม่ ไมใ่ ชเ่ ป็นการจัดระบบใหม(่ Reorganizing) โดยการนาขอ้ มูล ท่ีผอู้ ืน่ ค้นพบแลว้ มาสรุปอีกครัง้ หนงึ่ เพราะทาให้ไม่ไดร้ ับความร้ใู หม่ ๆ 4.6 การวจิ ยั จะตอ้ งมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวจิ ยั และการวิเคราะหท์ ี่ถูกต้อง ชัดเจน ท่ีจะทาใหไ้ ด้ขอ้ สรุปการวจิ ัยที่มปี ระสิทธภิ าพ 4.7 การวจิ ัย จะตอ้ งเปน็ การดาเนนิ การโดยใชค้ วามรูค้ วามชานาญของผู้วิจัยท่จี ะต้องรับรู้ ปญั หาท่ตี นเองจะทาวจิ ยั และปญั หาดงั กลา่ วมีบุคคลใดประเด็นใดทีไ่ ด้ทาวิจัยไปแล้วบ้าง รวมท้งั เรียนรู้ คาศัพท์เฉพาะทใี่ ช้ ความคดิ รวบยอดและทักษะทางเทคนิค ที่จะสามารถนามาใชใ้ น การวเิ คราะห์ข้อมลู ได้อย่างถูกตอ้ ง 4.8 การวิจยั จะต้องกาหนดวตั ถุประสงค์ โดยใช้ของเหตุผลตามหลกั ความเปน็ จรงิ ที่จะ สามารถทดสอบได้และวธิ กี ารที่เหมาะสม เพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปทเี่ ปน็ จรงิ มีเหตผุ ล และจะต้องไมม่ ีอคติของ ผูว้ ิจยั มาเกย่ี วข้อง 4.9 งานวิจยั จะต้องเป็นการดาเนินการแสวงหาคาตอบท่ีนามาใชต้ อบคาถามของปัญหาที่ ยังไมส่ ามารถแก้ไขได้

 ระเบียบวธิ กี ารวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 13 4.10 การวิจยั เปน็ กิจกรรมที่จะต้องดาเนินการดว้ ยความอดทน ไมเ่ ร่งรีบ และจะต้อง ยอมรบั /เผชญิ อปุ สรรคในวิธีการได้มาของคาตอบในการวจิ ัย 4.11 การวิจัย จะตอ้ งมีการจดบันทกึ ข้อมลู และจัดทารายงานการวิจัยดว้ ยความระมดั ระวงั ในการใช้คาท่มี คี วามหมาย วิธกี ารดาเนินการวิจยั หรอื การอา้ งองิ ข้อมูลท่ีไดน้ ามากล่าวอ้างองิ อย่างถูกต้อง สรุปได้ว่า การวจิ ัย เป็นวิธกี าร ๆ หนงึ่ ทม่ี นุษยใ์ ช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ที่มีระบบและขัน้ ตอนชัดเจน และมีการกาหนดจดุ มุ่งหมายของการวิจัย ในแตล่ ะคร้ังอย่างชดั เจนวา่ ต้องการอะไร ที่ผวู้ ิจัยจะใชเ้ ปน็ แนวทางในการแสวงหาคาตอบ เพื่อใช้อธบิ าย พยากรณ์ และควบคมุ ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขนึ้ น้นั ๆ 5. ธรรมชาตขิ องการวิจยั ในการวิจัยมธี รรมชาติของการวจิ ยั ทีผ่ ู้วิจยั ควรรับทราบ เพ่อื ใหก้ ารวจิ ัยมีการดาเนนิ การ ทถ่ี ูกต้อง และมีความสอดคล้องกนั ดงั น้ี (พิชิต ฤทธ์ิจรูญ,2544 :16-17) 5.1 การวจิ ัยเป็นกระบวนการเชิงประจกั ษ์ หมายถึง การวิจยั เปน็ กระบวนการแสวงหาคาตอบ ท่ตี อ้ งใชข้ ้อมูลเชิงประจักษ์ท่มี ีความถกู ต้อง เชอื่ ถือได้ และมีความชัดเจนทีส่ ามารถตรวจสอบได้ 5.2 การวจิ ยั เปน็ การดาเนินการท่ีเป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเปน็ การดาเนนิ การตามข้ันตอน วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method)ทมี่ ีการวางแผนอยา่ งมีเหตุผลและลาดบั ข้ันตอนท่ชี ดั เจน ที่จะทาใหไ้ ด้ขอ้ คน้ พบทถ่ี ูกต้องและน่าเช่ือถอื 5.3 การวจิ ัยมีจุดมุง่ หมายที่ชัดเจน หมายถึง การวจิ ยั เป็นการดาเนนิ การทมี่ ีจุดมุ่งหมายใน 4 ลักษณะ คือ บรรยาย อธบิ าย พยากรณ์ และควบคมุ ในปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขนึ้ 5.4 การวจิ ัยมีความเทย่ี งตรง(Validity) หมายถงึ การวิจยั ใด ๆ จาเปน็ ตอ้ งมีความเที่ยงตรง ใน 2 ลกั ษณะ ได้แก่ ความเที่ยงตรงภายใน ที่สามารถระบุไดว้ ่าผลการวิจัยที่ได้เกดิ จากตัวแปรที่ศึกษา เท่าน้นั หรือผลการวิจยั สามารถใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และความเท่ยี งตรง ภายนอก ทจ่ี ะสามารถนาผลการวิจยั ทีไ่ ด้ไปใช้ในสถานการณท์ มี่ ีความคลา้ ยคลงึ กันไดอ้ ย่างครอบคลมุ 5.5 การวจิ ัยมีความเชอื่ มน่ั (Reliability) หมายถงึ การวิจยั ต้องมีความคงเสน้ คงวาใน การดาเนนิ การวิจัย(การออกแบบการวิจยั สถานการณ์)ท่ีการวิจยั จะดาเนินการซา้ ก่คี รั้งด้วย การดาเนนิ การวิจยั แบบเดมิ ๆ กจ็ ะไดผ้ ลการวจิ ัยที่คล้ายคลงึ กัน 5.6 การวจิ ัยมีเหตผุ ล หมายถึง การวจิ ัยเปน็ การดาเนินการทจี่ ะต้องมีเหตุผลทีช่ ัดเจนใน การดาเนินการทกุ ขน้ั ตอนเพ่ือใหไ้ ด้ผลการวจิ ัยทถี่ ูกต้อง มคี วามนา่ เช่ือถือและสามารถตรวจสอบ ไดอ้ ย่างชดั เจน 5.7 การวิจยั เป็นการแกป้ ัญหา หมายถงึ การวิจัยเป็นการดาเนนิ การทจ่ี ะเรม่ิ ตน้ ด้วยปัญหาที่ เกยี่ วพนั กันระหว่างปญั หา(ตัวแปรตาม)กับวิธีการแกป้ ัญหา(ตวั แปรต้น)แล้วจึงจะใชว้ ิธกี ารทาง วิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการในการดาเนนิ การตรวจสอบการแกป้ ัญหานัน้ ๆ

หน้าท่ี 14  บทที่ 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกับการวิจัย 5.8 การวจิ ัยต้องมกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจยั ในแตล่ ะครั้งจะต้องมีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ใหม่เพ่ือตอบคาถามตามวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั นน้ั ๆ แตถ่ า้ ใช้ข้อมูลเดิมจะต้องมี การกาหนดวตั ถุประสงค์ใหม่ทน่ี าขอ้ มลู ทม่ี ีอยแู่ ล้วมาสังเคราะห์เพื่อใหเ้ กิดคาตอบของปัญหาท่ีชัดเจน ตามที่กาหนด 5.9 การวิจัยมีวธิ กี ารที่หลากหลาย หมายถึง การวิจยั จะมวี ธิ กี ารในการดาเนินการวจิ ยั ทีใ่ ห้ ผู้วิจัยไดเ้ ลอื กใช้อย่างหลายหลายวิธีการตามความเหมาะสมของปัญหาการวิจัย วัตถปุ ระสงค์ หรอื การดาเนนิ การวิจยั 5.10 การวจิ ยั ต้องใชศ้ ักยภาพของผวู้ ิจยั หมายถึง การวจิ ัยทมี่ ีประสทิ ธิภาพจะตอ้ งดาเนินการ โดยทผ่ี ู้วิจยั ทมี่ ีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณใ์ นการวิจัยทีจ่ ะสามารถดาเนินการวจิ ยั ตั้งแต่การ วเิ คราะหป์ ญั หาการวิจัยจนกระทง่ั ไดผ้ ลการวิจยั ถูกตอ้ ง และนา่ เชื่อถือ 6. ประเภทของการวิจยั ในการจาแนกประเภทของการวจิ ัยน้นั นักวจิ ัยไดจ้ าแนกออกเปน็ หลากหลายลักษณะตาม กฎเกณฑท์ ใ่ี ชพ้ จิ ารณา ดังนี้ 6.1 จาแนกตามประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั หรอื เหตผุ ลในการวจิ ยั จาแนกออกเปน็ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้ 6.1.1 การวจิ ัยพ้นื ฐานหรือการวจิ ัยบรสิ ุทธ์ิ(Basic Research or Pure Research) เปน็ การวจิ ยั ที่มวี ัตถุประสงคใ์ นการแสวงหาความร้คู วามจริงเชงิ ทฤษฎี/ปรากฏการณ์ ทน่ี ามาใชใ้ น การสนบั สนนุ หรือขัดแย้งกบั กฎเกณฑ์ หรอื ทฤษฎที มี่ ีอยู่ หรืออาจเป็นการค้นพบหลกั เกณฑ์ องค์ความรู้พนื้ ฐาน หรือทฤษฎีใหม่ ๆ ท่สี ามารถใช้อธิบายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง โดยทไี่ มไ่ ดม้ ุ่งเน้นประโยชนข์ องการคน้ พบเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในปัจจบุ ัน อาทิ การศึกษาทฤษฎี โครงสรา้ งของพรรคการเมืองไทย การศึกษาเกีย่ วกบั ทฤษฎีพนั ธุกรรมของมนุษย์ เป็นต้น 6.1.2 การวจิ ยั การนาไปใช้(Applied Research) เป็นการวจิ ยั ทีม่ ีวตั ถุประสงคใ์ น การนาผลการวิจยั จากการวิจัยพืน้ ฐานมาใช้ประโยชน์ต่อการดารงชวี ติ ของมนุษย์ได้ในปัจจุบนั ตัดสินใจ หรอื แกป้ ญั หาทเี่ กิดข้ึน และถ้าเปน็ การวิจยั เพ่ือใช้แก้ไขปัญหาท่เี กดิ ข้นึ เฉพาะเร่ือง จะเรียกว่า การวิจัย เชงิ ปฏิบัตกิ าร(Action Research) อาทิ การวิจยั ทางการแพทย์ (การคน้ พบยารักษาโรคใหม่ ๆ ) การวิจยั ทางการเกษตรหรือการวจิ ยั เชงิ ประเมนิ (การประเมินโครงการการฝึกอบรม) เป็นต้น 6.2 จาแนกตามลักษณะ(ความลกึ /ความกวา้ ง)ของข้อมูล จาแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะ ดังนี้ (สชุ าติ ประสทิ ธริ์ ฐั สินธุ,์ 2546 : 21-22) 6.2.1 การวจิ ัยเชิงปรมิ าณ(Quantitative Research) เป็นการวจิ ัยทเ่ี ก็บรวบรวมข้อมลู จากตวั แปรท่มี ลี ักษณะเป็นตัวเลขทรี่ ะบุระดบั ความมาก/น้อยของปรากฏการณ์ตามเกณฑ์ที่กาหนดให้ คอ่ นข้างชดั เจน ท่ที าให้งา่ ยและสะดวกต่อผวู้ ิจัยในการนาผลมาวเิ คราะหเ์ พื่อหาขอ้ สรุปท่ีสอดคล้อง กบั จุดมงุ่ หมายของการวจิ ยั ค่อนขา้ งงา่ ย เนอื่ งจากมีความชัดเจนของผลสรปุ ที่ได้เปน็ ตัวเลขทางสถิติ

 ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 15 ท่ีเปน็ ท่ยี อมรับของบคุ คลโดยท่วั ไป และจะใชศ้ กึ ษากับงานวิจัยทกี่ าหนดตัวแปรหลาย ๆ ตัว 6.2.2 การวจิ ัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) เปน็ การวจิ ยั ที่เก็บรวบรวมข้อมลู จากตัวแปรท่มี ลี ักษณะเป็นข้อความที่บรรยายลกั ษณะ เหตุการณ์หรอื อธิบายปรากฏการณท์ เ่ี กิดข้ึนว่า เป็นอย่างไรตามสภาพแวดลอ้ ม ทาให้มีการสรุปผลการวจิ ยั เชงิ ลกึ ที่ค่อนขา้ งมีความซับซ้อน และ มผี ูก้ ลา่ วว่าผลสรุปการวจิ ัยจะข้ึนอยู่กับมมุ มองหรือประสบการณ์ส่วนบุคคลของผ้วู จิ ยั ในการพจิ ารณา ปรากฏการณน์ ั้น ๆ 6.3จาแนกตามระเบยี บวธิ ีวจิ ัย(Methodology) จาแนกได้ 2 ลกั าณะ ดังน้ี 6.3.1การวจิ ัยเชิงประวตั ศิ าสตร์(Historical Research) เปน็ การวิจยั ที่มีวตั ถปุ ระสงค์ ใช้ข้อมูลที่เกดิ ข้ึนในอดตี ท่มี หี ลักฐานปรากฏอยู่ อาทิ รปู ภาพ สิง่ พิมพ์ บนั ทึกเหตกุ ารณ์ หรอื ซากวสั ดุ ต่าง ๆ เปน็ ต้น หรอื ข้อมูลจากการบอกเลา่ ของบคุ คลที่อยู่ในเหตุการณ์นนั้ ๆ เพอ่ื ใช้ศึกษาเหตกุ ารณ์ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในอดีตแล้วนามาใช้กาหนดเปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิตามหรือใช้ปรับปรงุ แก้ไขสถานการณ์ ในปจั จุบันหรอื วางแผนแนวทางในอนาคตให้มีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น 6.3.2 การวจิ ัยเชิงบรรยาย(Descriptive Research) เป็นการวิจยั ทมี่ ีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใชบ้ รรยายคณุ ลักษณะ หรอื ปรากฏการณ์ท่เี กิดข้นึ ตามสภาพการณ์ธรรมชาติของปรากฏการณ์น้นั ๆ ในปจั จุบัน โดยทผี่ ู้วิจยั เป็นบุคคลที่เข้าไปศึกษา จาแนกเปน็ ประเภทย่อย ๆ 3 ลกั ษณะ มีดังน้ี 6.3.2.1 การวิจัยเชิงสารวจ(Survey Research) เป็นการวจิ ยั ท่มี ีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใช้บรรยายคุณลกั ษณะหรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึน้ วา่ เป็นอยา่ งไร อาทิ การสารวจโรงเรยี น/ชมุ ชน/ ประชามติ เปน็ ต้น 6.3.2.2 การศกึ ษาความสมั พันธ์ (Interrelationship Studies) เปน็ การวจิ ัยท่ี มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อใชบ้ รรยายความสัมพนั ธ์ของคณุ ลกั ษณะ หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดขน้ึ อาทิ การศึกษา เฉพาะกรณี(Case Study) การศกึ ษาสหสมั พนั ธ์(Correlation) การศึกษาเปรยี บเทียบสาเหตุ การศกึ ษา ติดตามผล หรอื การวเิ คราะห์เอกสาร เปน็ ต้น 6.3.2.3 การศึกษาพฒั นาการ(Developmental Studies) เป็นการวิจัยท่มี ี วัตถุประสงคเ์ พือ่ ใช้บรรยายการเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดขึน้ เม่ือระยะเวลาผ่านไป จาแนกได้ 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1) การศกึ ษาความเจริญงอกงาม(Growth Studies) ทจี่ าแนกเป็น การศึกษาระยะยาว(Longitudinal Approach)ทจ่ี ะใช้เวลานานในการศึกษาเหตุการณใ์ ด ๆ อยา่ ง ต่อเนื่องครง้ั ละประเดน็ และการศกึ ษาภาคตดั ขวาง(Cross-section Approach) ทีใ่ ช้เวลาสนั้ ๆ ใน การศกึ ษาเหตุการณ์ใด ๆ ทเ่ี กิดขึ้นในประเด็นท่ีหลากหลายไปพรอ้ ม ๆ กนั เพื่อให้ได้ข้อสรุปอย่างรวดเร็ว

หน้าท่ี 16  บทที่ 1 ความรูเ้ บื้องตน้ เกยี่ วกบั การวิจยั 2) การศกึ ษาแนวโน้ม(Trend Studies) เปน็ การวจิ ัยท่มี วี ัตถุประสงค์ใน การศกึ ษาแนวโน้มของเหตุการณ์ท่ีจะเกิดข้ึนต่อไปในอนาคตหลงั จากเกิดเหตุการณห์ น่ึง ๆ ข้นึ แล้ว 6.4 จาแนกตามลกั ษณะของวชิ า หรอื ศาสตร์ จาแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 6.4.1 การวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์(Scientific Research) เป็นการวจิ ัยที่มวี ัตถุประสงค์ เพ่ือศกึ ษาปรากฏการณ์ที่มักจะเกิดขนึ้ ตามธรรมชาติท่ีเกี่ยวกับส่ิงทีม่ ชี ีวิตและไม่มีชวี ติ หรอื ใน สถานการณจ์ าลองในการทดลองท่ีสามารถควบคุมความแปรปรวนท่ีเกดิ ขึน้ ได้ โดยใชเ้ คร่อื งมือ ทเ่ี ป็นมาตรฐาน หรอื ใช้กฎเกณฑม์ าตรฐานในการพจิ ารณาตัดสินผลทช่ี ัดเจนและมปี ระสิทธิภาพ 6.4.2 การวิจัยทางสงั คมศาสตร์(Social Research) เปน็ การวจิ ยั ทีม่ วี ัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประเด็นทเี่ กีย่ วข้องกบั พฤติกรรมของมนษุ ย์ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม การเมือง การ ปกครอง และการศึกษา เปน็ ต้น 6.5 จาแนกตามเวลาท่ใี ช้ในการทาวจิ ยั จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดงั น้ี 6.5.1 การวจิ ยั แบบตัดขวาง/ระยะสั้น(Cross-section Research) เป็นการวิจัยท่ีใช้ เวลาในการวจิ ัยชว่ งใดชว่ งหนึง่ ท่ผี วู้ ิจยั สนใจแล้วนามาสรุปผลในภาพรวมของปรากฏการณ์นัน้ ๆ ในอนาคตมากกวา่ สภาพในปัจจบุ นั หรืออดตี มีข้อดี คือ ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย แต่อาจจะไม่เห็น กระบวนการเปลย่ี นแปลงของปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้น ดงั แสดงในภาพที่ 1.7 A1 B1 C1 D1 E1 ภาพท่ี 1.7 การวจิ ยั แบบตดั ขวาง 6.5.2 การวจิ ยั แบบตอ่ เนอื่ ง (Longitudinal Research) เป็นการวิจยั ท่ใี ช้เวลาอยา่ ง ต่อเน่ืองในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทาให้ได้ผลสรปุ ของข้อมูลทีช่ ัดเจน ละเอยี ด และไดเ้ ห็นกระบวนการ การเปล่ยี นแปลงของปรากฏการณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ แต่ผู้วิจยั จะต้องใชค้ า่ ใช้จ่าย/เวลาท่คี ่อนข้างสูง ดงั แสดงในภาพท่ี 1.8 A1 A2 A3 A4 A5 ภาพที่ 1.8 การวจิ ัยแบบตอ่ เนื่อง 6.6 จาแนกประเภทการวจิ ยั ตามเปา้ หมายหลักของการวิจัย จาแนกเปน็ 3 ลกั ษณะ ดังนี้ (ศิริชัย กาญจนวาส,ี ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และ ดเิ รก ศรสี ุโข, 2537 : 10-11) 6.6.1 การวิจยั ทีม่ งุ่ บรรยายตัวแปร(Descriptive-Oriented Research) เปน็ การวิจัยท่ี มจี ดุ ม่งุ หมายสาคญั เพ่อื บรรยายลักษณะของตัวแปรในประชากร ที่อาจเปน็ เฉพาะกรณี การสารวจ ปรากฏการณใ์ นอดีต หรือปจั จุบนั หรอื การเปรยี บเทียบหรือประเมินความแตกต่างระหว่างประชากร

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 17 6.6.2 การวจิ ัยทม่ี งุ่ อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปร(Correlation-Oriented Research) เป็นการวิจัยเพ่ือค้นหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปร 2 ตวั หรอื มากกว่า การทานายค่าของตวั แปรที่สนใจ การตรวจสอบกระบวนการและลาดบั ขนั้ ตอนของการเปล่ียนแปลงตามชว่ งเวลาของ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ท่สี นใจ หรอื การศึกษาโครงสรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างตวั แปร 6.6.3 การวจิ ัยท่ีมุ่งแสวงหาความเปน็ เหตุเป็นผลระหวา่ งตัวแปร(Causal-Oriented Research) เปน็ การวจิ ัยทแี่ สวงหาความสัมพนั ธเ์ ชิงสาเหตุของปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ที่อาจจะเป็นการศกึ ษา ที่สืบหาสาเหตยุ อ้ นหลังระหว่างตัวแปรภายใต้สภาวะธรรมชาติ การจดั กระทาเพื่อทดสอบความเป็นเหตุ และเปน็ ผลระหวา่ งตวั แปรภายใตส้ ภาพการทดลองทจ่ี ดั ข้ึน 6.7 ประเภทของการวิจยั จาแนกตามการจดั กระทา จาแนกเปน็ 3 ลกั ษณะ(Cambell and Stanley, 1969 : 8 ;บญุ ใจ ศีรสถิตยน์ รากูล,2547 : 7-8) 6.7.1 การวิจยั แบบทดลองเบ้ืองต้น(Pre Experimental Research) เป็นการวจิ ยั ที่ ศกึ ษาปรากฏการณท์ เ่ี ปน็ ธรรมชาติ โดยไม่ได้มีการจดั กระทาสง่ิ ทดลองให้ในการทดลองเนอื่ งจากอาจจะมี ปญั หาจรยิ ธรรมในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ การวจิ ยั สหสัมพนั ธ์ การวิจัยเชิงสารวจ การวิจยั เชิงอนาคต หรือ การวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์ เป็นต้น 6.7.2 การวิจยั กงึ่ ทดลอง(Quasi Experimental Research) เป็นการวจิ ยั ที่ไม่สามารถ ดาเนินการในกระบวนการวิจัยไดอ้ ย่างครบถว้ น อาทิ การสุ่มตัวอยา่ ง หรือการนากล่มุ ตวั อย่างมาศกึ ษาใน หอ้ งปฏิบัตกิ ารเน่ืองจากปญั หาจริยธรรมในการวิจยั เป็นต้น 6.7.3 การวิจยั แบบทดลองทแี่ ทจ้ ริง(True Experimental Research) เปน็ การวิจัย ทีใ่ ช้ตรวจสอบความเปน็ เหตุเป็นผลระหว่างตวั แปร โดยมกี ารจดั กระทาใหก้ บั กลุม่ ตวั อย่างหรือ การทดลองอย่างครบถว้ น มีการควบคุมตวั แปรอยา่ งเคร่งครัด และใชว้ ธิ กี ารสุ่มตัวอย่างท่ีปราศจากความ ลาเอียงหรือใชแ้ บบแผนการสุ่มท่ีสมบูรณ์ เป็นต้น ดังแสดงการเปรียบเทยี บความแตกตา่ งระหว่างการวิจยั เชิงทดลอง กึ่งทดลองและ ไม่ทดลอง ในตารางที่ 1.2

หน้าที่ 18  บทที่ 1 ความร้เู บื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย ตารางท่ี 1.2 การเปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างการวจิ ยั เชิงทดลอง กง่ึ ทดลองและไม่ทดลอง วิธีการ ทดลอง ก่งึ ทดลอง ไม่ทดลอง มี มี ไมม่ ี การจัดกระทา มแี ละเขม้ งวด มีแต่ไมเ่ ขม้ งวด มีแตไ่ มเ่ ข้มงวด การควบคุม มแี ละเขม้ งวด มแี ต่ไม่เขม้ งวด ไม่มี 1. ควบคมุ ตัวแปรแทรกซอ้ น มีหรอื ไม่มีก็ได้ ไม่มี มี 2. ควบคมุ สิ่งทดลอง มหี รือไม่มีก็ได้ มี 3. กลุม่ ควบคมุ มี มหี รือไมม่ ีกไ็ ด้ ไมม่ ี มี การสมุ่ 1. การสุ่มตวั อยา่ ง 2. การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เขา้ ทดลอง ทม่ี า : บญุ ใจ ศรสี ถิตยน์ รากลู , 2547 :8 7. ความมุง่ หมายของการวจิ ัย ในการดาเนนิ วิจัยใด ๆ จาเป็นตอ้ งมีการกาหนดความมุ่งหมายของการวจิ ยั ในแตล่ ะกรณีว่า จะทาการวจิ ยั เพ่อื อะไร อยา่ งไร ที่จะสามารถได้เลือกใช้วิธกี ารท่เี หมาะสมในการได้คาตอบของปัญหา ของการวจิ ัยท่ตี อ้ งการอยา่ งแท้จริง ซึง่ ความมุ่งหมายในการทาวจิ ัยจาแนกเปน็ 4 ลกั ษณะ ทเี่ ร่มิ ตน้ จาก ความมงุ่ หมายในระดับพนื้ ฐานทม่ี ีขอบเขตที่กว้างขวางทใี่ ช้อธิบายความผนั แปรไดน้ ้อย ไปสู่ ความม่งุ หมายในระดับสงู ท่ีมีขอบเขตทเ่ี ฉพาะเจาะจงทใ่ี ช้อธบิ ายความผนั แปรได้มาก ดังแสดง ความมุ่งหมายของการวจิ ัยในภาพท่ี 1.9(ทม่ี า : Miller,1990 :15) เพือ่ ควบคุม (to Control) เพ่ืออธบิ าย-ทานาย (to Explain-predict) เพ่อื บรรยาย (to Describe) เพอ่ื สารวจ (to Explore) ภาพท่ี 1.9 ความม่งุ หมายของการวจิ ัยจากกวา้ งสู่ลกึ -เฉพาะ

 ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 19 จากภาพท่ี 1.9 สามารถอธบิ ายรายละเอียดของความม่งุ หมายของการวจิ ยั ได้ดังนี้ 7.1 จดุ มุ่งหมายเพื่อสารวจ(to Explore) เปน็ การศกึ ษาเพอ่ื ทาความเข้าใจเบ้ืองตน้ ใน ประเดน็ หนง่ึ ๆ ที่อาจจะเป็นปรากฏการณ์ ความรู้ ความคิด พฤติกรรมทีย่ ังไม่มขี ้อมูลมากอ่ น ทาใหไ้ ด้ ข้อมูลอย่างกว้าง ๆ ตามท่ีไดก้ าหนดประเด็นไว้ โดยไม่มีการควบคมุ ความผนั แปรต่าง ๆ ด้วยการจัด สถานการณห์ รือการควบคมุ ทางสถิติ แม้จะมีการอธบิ ายความผนั แปรตามขอ้ มลู ท่ไี ด้รับทาให้เกดิ ความเขา้ ใจได้มากขนึ้ แต่ยงั ไมช่ ัดเจนทจ่ี ะเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปร 7.2 จดุ มงุ่ หมายเพ่ือบรรยาย-พรรณนา(to Describe) เปน็ การศึกษาเพือ่ ทาความเข้าใจ ลักษณะตามทีเ่ กิดข้นึ ในปรากฏการณ์ที่ตนสนใจให้มีความชัดเจนมากย่ิงขึน้ เปน็ การขยายขอบเขตของ การศึกษาใหม้ ีความลึกซ้งึ มากยิ่งข้ึนดว้ ยการแจกแจงตัวแปรท่ีศึกษาทีละตัวแปร ทีบ่ รรยาย-พรรณนา รายละเอียดของข้อมูลทม่ี ีความผันแปรตามสภาพทีเ่ ป็นจริง โดยไมม่ กี ารควบคมุ ตัวแปรหรอื สถานการณ์ ให้แตกตา่ งจากสถานการณป์ กตทิ ว่ั ๆ ไป 7.3 จุดม่งุ หมายเพอื่ อธบิ าย-ทานาย(to Explain-predict) เปน็ การศึกษาเพ่อื อธบิ าย ความสัมพนั ธร์ ะหว่างพฤตกิ รรมทม่ี งุ่ ศกึ ษากับตัวแปรอืน่ ตามกรอบของทฤษฏแี ละสมมตุ ิฐาน มคี วามผนั แปรตอ่ กนั อย่างไร ทม่ี ีขนาดและความสัมพันธ์ในเชิงปริมาณ โดยทย่ี ังไม่มกี ารควบคมุ ตวั แปรใด ๆ ทจ่ี ะ เปน็ การศึกษาความสัมพันธเ์ ชิงสาเหตุ แต่ตัวแปรท่ีสนใจจะเป็นเพียงคู่ของตัวแปร หรืออาจจะเป็น กลุม่ ของตัวแปร ทซี่ บั ซอ้ นเท่านน้ั หรอื เปน็ การศึกษาทีใ่ ช้ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร หรอื กลุ่มตัวแปร(ตัวแปร x) กับพฤตกิ รรมทม่ี ุ่งศึกษา(ตัวแปร y) เพื่อคาดคะเนปรมิ าณความผันแปรใน พฤติกรรมที่สามารถอธบิ ายได้ด้วยตวั แปร หรอื กลุ่มตวั แปร 7.4 จดุ มงุ่ หมายเพื่อควบคมุ (to Control) เป็นการศึกษาเพื่อเจาะลกึ เฉพาะตวั แปรสาเหตุ ที่ก่อให้เกดิ ผลอย่างไรต่อตัวแปรอน่ื ที่เป็นการทดสอบความสมั พนั ธ์เชงิ สาเหตุ ท่ีจะได้คาตอบทชี่ ัดเจน โดยการควบคมุ ความผันแปรทีอ่ าจเนื่องมาจากตัวแปรอ่ืน ๆ ท่ีอาจจะเป็นตัวแปรสาเหตุทีม่ าเกยี่ วข้อง โดยใชว้ ธิ กี ารต่าง ๆ ทีจ่ ะชว่ ยใหส้ ามารถสรุปความสัมพันธเ์ ชิงสาเหตุได้เทีย่ งตรงมากยิ่งขึ้น 8. หลักการเบอื้ งต้นในการดาเนินการวิจยั ในการดาเนินการวิจยั ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือใหไ้ ด้มาซึ่งคาตอบท่แี ทจ้ รงิ ของปัญหาการวจิ ยั ทม่ี ีคุณประโยชน์ในการนามาใช้แก้ปัญหาของมนุษย์ มีหลกั การเบ้ืองต้นในการดาเนนิ การ ดังนี้ 8.1 มคี วามเป็นระบบ หมายถึง งานวจิ ัยท่ดี าเนินการผู้วิจัยจะต้องมกี ารวางแผนตง้ั แต่ ข้นั ตอนการเลือกปัญหาการวจิ ัยจนกระทั่งการเขียนรายงานการวิจัยวา่ จะมีลาดับขัน้ ตอนใน การดาเนินการอย่างไรท่จี ะสามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลาวา่ การดาเนนิ การปจั จบุ นั อยู่ในขั้นตอนใด 8.2 มีคณุ ประโยชน์ หมายถึง งานวจิ ัยทดี่ าเนนิ การจะตอ้ งกอ่ ให้เกิดคุณประโยชนใ์ น ดา้ นการพัฒนาท้ังต่อตนเองและสงั คมโดยส่วนรวม 8.3. มีความสมบูรณ์ หมายถงึ งานวิจยั ทด่ี าเนินการจะตอ้ งมีความสมบรู ณ์ใน การดาเนนิ การตามข้นั ตอน เพอ่ื ให้ไดม้ าซึ่งคาตอบของปญั หาการวิจัยตามทผ่ี วู้ ิจยั ได้กาหนดไวใ้ น วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั

หน้าท่ี 20  บทที่ 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกับการวิจัย 8.4 มคี วามชัดเจน หมายถึง งานวจิ ัยทด่ี าเนินการจะตอ้ งมีความชัดเจนใน การดาเนินการทกุ ขน้ั ตอนท่ีผู้วจิ ยั จะต้องสามารถช้ีแจงท่ีมา/เหตุผลได้ เรมิ่ ตน้ ตง้ั แต่จุดเริ่มตน้ จากการ กาหนดปัญหาการวจิ ัย จนกระทงั่ สิ้นสดุ กระบวนการวิจัยท่ีการเขียนรายงานการวจิ ยั 8.5 มคี วามถูกตอ้ ง หมายถึง งานวิจัยท่ีดาเนนิ การทกุ ข้ันตอนจะต้องมคี วามถูกต้องและ เช่ือถอื ได้ตามหลกั การและเหตผุ ลของแต่ละข้ันตอน รวมทั้งการใช้ภาษาเขยี นทีส่ ละสลวย การอ้างองิ แหล่งข้อมลู และการจัดพมิ พ์ใหม้ ีความถูกต้องตามอักขรวิธี 8.6 มีลกั ษณะเฉพาะ หมายถึง งานวจิ ยั ที่ดาเนินการแต่ละเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะที่ ผ้วู จิ ยั จะตอ้ งยดึ ถือเป็นแนวทางในการดาเนนิ การใหส้ อดคล้องตามหลักการและขัน้ ตอนของการวจิ ยั ประเภทนนั้ ๆ 8.7 ทาความเข้าใจไดง้ า่ ย หมายถงึ งานวจิ ัยทดี่ าเนินการจะตอ้ งมีการเขยี นรายงาน การวจิ ยั ทน่ี าเสนออย่างชัดเจน ท่ีจะทาให้ผู้ศกึ ษางานวจิ ยั ได้เกิดการเรยี นรู้ในประเด็นท่ศี ึกษาอย่างง่าย ๆ รวมทั้งสามารถทจ่ี ะนาผลการวจิ ยั ไปประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 9. กระบวนการแสวงหาความรู้ ในการดาเนนิ ชีวติ ของมนุษยม์ กี ระบวนการตา่ ง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลงเกิดขน้ึ ตลอดเวลา ซึ่งกระบวนการแสวงหาความรู้ของมนุษยก์ ็เชน่ เดยี วกนั ทีเ่ ป็นกระบวนการมีการเปลย่ี นแปลงใน ทางท่ีพัฒนา และมขี ัน้ ตอนท่ีชดั เจนเพอ่ื ให้ไดม้ าซึง่ องค์ความรทู้ ี่ถกู ตอ้ งมากยิ่งขึ้น ทีส่ ามารถ จาแนกเปน็ ยคุ ของกระบวนการแสวงหาความรู้(Van Dalen, 1979 :15-27; Cohen and Manion,1994 : 1-5 ; Mc Burney,1994 : 2) ดงั นี้ 9.1 ยุคโบราณ เปน็ ยคุ ทีม่ นุษย์มีกระบวนการแสวงหาความรูท้ ่ยี งั ไมเ่ ปน็ ระบบที่ ชัดเจน จาแนกได้ ดังนี้ 9.1.1 โดยการบังเอญิ (By Chance) เปน็ การพบข้อความรู้ท่ีเกิดขึน้ แต่มนษุ ย์ ไมต่ ัง้ ใจศกึ ษาแต่ส่งิ ทค่ี น้ พบเป็นสิง่ ที่มีคุณประโยชน์ต่อการดาเนินชวี ติ ของตนเอง อาทิ การพบ ยาเพนนซิ าลนิ ,ยางกูดเยยี ร์ หรือรงั สเี อ็กซเรย์ เป็นตน้ 9.1.2 โดยจารีต ขนบธรรมเนยี มประเพณี(By Tradition) เป็นการพบข้อความรู้ ทพ่ี บจากการปฏบิ ัตติ น ตามขนบธรรมเนียมประเพณีของมนุษย์ที่เชือ่ ถือสืบทอดต่อกนั มาจากบรรพบรุ ุษ อาทิ การแต่งกายไปในงานพธิ ีตา่ ง ๆ ,การกราบพระ เปน็ ตน้ 9.1.3 โดยการลองผิดลองถูก(By Trial and Error) เป็นการค้นพบข้อความรู้ที่ จากการลองผดิ ลองถกู ในปรากฏการณท์ ีเ่ กิดข้นึ วา่ วิธีการใดไดผ้ ลก็จะเปน็ ความร้ทู สี่ ืบเน่ืองตอ่ ไป 9.1.4 โดยความเชือ่ ทม่ี ีต่อผ้นู า/ผ้เู ชยี่ วชาญ(By Authority or Expert) เป็น การพบขอ้ ความรทู้ ี่ได้จากการบอกเล่าของผู้นาหรือผเู้ ชี่ยวชาญท่ตี นเองใหค้ วามเคารพนบั ถือแลว้ นาไป ปฏบิ ตั ิตาม อาทิ การเกษตรตามทฤษฏีใหม่/เศรษฐกจิ พอเพียง หรือคนไข้เชอ่ื ฟงั คาแนะนาในการรกั ษา โรคของนายแพทย์ เป็นตน้

 ระเบียบวิธกี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 21 9.1.5 โดยประสบการณส์ ว่ นตวั (By Personal Experience) เป็นการค้นพบ ข้อความรแู้ ละวธิ ีการแกป้ ญั หาทีไ่ ด้ผลจากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล อาทิ การเลีย้ งลูก การทานา เปน็ ตน้ 9.2 ยคุ กลาง เป็นยคุ ท่ีมนุษยม์ ีกระบวนการแสวงหาความรู้ท่ีเปน็ ระบบทีช่ ัดเจน มากขนึ้ มีการใช้หลักการของเหตุและผลเข้ามาเกีย่ วข้อง แต่ในบางครงั้ ก็ยงั ไมส่ ามารถตรวจสอบ ความถกู ต้องตามความเปน็ จริงไดอ้ ย่างชัดเจน จาแนกได้ ดังน้ี 9.2.1 วิธีการแบบอนมุ าน(Deductive Method) เปน็ การคน้ พบข้อความรตู้ าม แนวคดิ ของอริสโตเตลิ (Aristotel) ที่พจิ ารณาแล้วว่า การค้นพบความรู้ในยุคโบราณยังไม่มรี ะบบ/ แบบแผนทชี่ ัดเจน จงึ ไดน้ าเสนอวธิ ีการแสวงหาความร้จู ากความสมั พันธ์ของข้อเทจ็ จริงหลัก(Major Premise) และข้อเท็จจริงย่อย (Minor Premise) ทีน่ าไปสขู่ อ้ สรุป(Conclusion) ดงั แสดงใน ภาพที่ 1.10 ขอ้ เทจ็ จรงิ หลัก ข้อเท็จจรงิ ย่อย ข้อสรุป ภาพที่ 1.10 วิธีการแสวงหาความรู้แบบอนมุ านของอรสิ โตเติล โดยท่ีอริสโตเตลิ ไดจ้ าแนกแบบของการหาเหตุผลเป็น 4 ลกั ษณะ ดังนี้ 1) การหาเหตุผลเฉพาะกลุม่ (Categorical Syllogism) เปน็ วธิ กี ารหาเหตุผลท่สี ามารถลงสรปุ ในตนเองได้ อาทิ เหตใุ หญ่ : มนุษย์ทุกคนต้องตาย เหตุย่อย : นายแดงเป็นมนุษย์ ผลสรปุ : นายแดงต้องตาย 2) การหาเหตุผลตามสมมุติฐาน (Hypothetical Syllogism) เป็นวิธกี ารหาเหตผุ ลโดย การกาหนดสถานการณใ์ นลักษณะของ ถา้ .........แล้ว (If……then…)ซงึ่ การหาเหตุผลในลักษณะนี้ จะเป็นจรงิ หรอื ไม่ขนึ้ อยู่กับสถานการณ์ เพราะเปน็ เหตุผลที่สอดคลอ้ งตามหลกั ตรรกศาสตร์เทา่ นัน้ อาทิ เหตใุ หญ่ : ถา้ นายแดงเปน็ มนุษยแ์ ลว้ แดงจะต้องตาย เหตยุ อ่ ย : นายแดงเปน็ มนษุ ย์ ผลสรุป : นายแดงตอ้ งตาย

หนา้ ท่ี 22  บทท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งต้นเกีย่ วกับการวิจยั 3) การหาเหตุผลท่ีมีทางเลือกให้ (Alternative Syllogism) เป็นวธิ ีการหาเหตุผลทีก่ าหนด สถานการณ์ที่เปน็ ทางเลือกให้อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงท่ีอยู่ในลกั ษณะของอาจจะ........ อาทิ เหตุใหญ่ : ฉันอาจจะได้ที่หนงึ่ หรือที่สอง เหตุย่อย : ฉนั ไม่ได้ท่ีหน่ึง ผลสรปุ : ฉันได้ที่สอง 4) การหาเหตุผลท่ีแตกต่างออกไป(Disjunctive Syllogism) เปน็ วิธกี ารหาเหตุผลท่ีใช้ การเช่ือมโยงกัน โดยทเ่ี หตยุ อ่ ยเปน็ ตัวท่รี ะบกุ รณบี างสว่ นของเหตใุ หญ่ อาทิ เหตุใหญ่ : การทฝ่ี นจะตกหรือไมต่ ก ไม่เปน็ เหตผุ ลท่ีฉันจะไปชมภาพยนตร์ เหตยุ ่อย : วนั นม้ี ฝี นตก ผลสรุป : วันน้ีไมเ่ หมาะสมท่ีฉันจะไปชมภาพยนตร์ จากการวเิ คราะหก์ ารนาเสนอแนวคิดการแสวงหาความร้โู ดยวธิ กี ารอนุมานของ อรสิ โตเติลนั้น ฟรานซิสเบคอนได้ระบุขอ้ บกพร่อง 2 ประการ ท่ีทาใหก้ ารแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการนี้ ยงั ไมเ่ ปน็ วธิ ีการทีส่ มบรู ณ์ มดี ังน้ี 1) ข้อสรปุ ที่ได้จากวธิ กี ารนยี้ งั เป็นข้อความร้ทู ่เี ป็นการสรุปความรจู้ ากข้อเท็จจรงิ หลกั เทา่ น้นั ยงั ไม่ได้ก่อใหเ้ กดิ องค์ความรทู้ ่ีพบใหม่ ๆ เปรยี บเสมอื นการพายเรือวนในอ่าง 2) ข้อสรุปที่ได้จากวิธกี ารนี้จะได้มาจากข้อเทจ็ จรงิ หลัก ดงั นน้ั ถา้ หากข้อเท็จจริงหลกั มีความคลาดเคล่อื นจะส่งผลต่อข้อเทจ็ จรงิ ย่อย ทาให้ข้อสรุปที่ได้มีความคลาดเคลื่อนตามไปด้วย ดังนน้ั การใช้วธิ กี ารอนุมานในกระบวนการวิจัยจะเปน็ การเช่ือมโยงระหวา่ งทฤษฎี และ หลักเกณฑ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิง จะชว่ ยในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การกาหนดสมมตุ ฐิ านจากความรู้ ทป่ี ระมวลได้ เพอ่ื นาไปสู่การทดสอบสมมุติฐานตอ่ ไป ดงั แสดงภาพที่ 1.11(ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกูล, 2543 : 14) กฏเกณฑ์ ทฤษฏี นัยทวั่ ไป เฉพาะเจาะจง การสงั เกตท่เี ปน็ จรงิ และ ขอ้ สรุปที่ได้ Observation and coภnาclพuทsiี่o1n.11 วธิ ีการแบบอนุมาน

 ระเบยี บวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าที่ 23 9.2.2 วิธีการแบบอุปมาน(Inductive Method) เป็นการค้นพบองค์ความร้ตู าม แนวคดิ ของฟรานซิส เบคอน(Francis Bacon)ในปี ค.ศ.1561-1626 ไดน้ าเสนอวธิ กี ารแสวงหาความรู้ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องวิธกี ารแสวงหาความรูแ้ บบอนุมาน กลา่ วคือ วธิ กี ารแสวงหาความรู้ เปน็ การเกบ็ รวบรวมข้อเท็จจรงิ ย่อย ๆ ทีเ่ ฉพาะเจาะจงแลว้ ให้นามาพจิ ารณาความเหมือน หรอื ความแตกตา่ ง แลว้ จงึ สรปุ เป็นขอ้ ความรทู้ ีค่ ้นพบเพื่อสรปุ อา้ งอิง(Generalized) ทีส่ ามารถแสดงวธิ กี ารแบบอุปมาน ดงั แสดงใน ภาพท่ี 1.12( ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกลู ,2543 : 16 ) เฉพาะเจาะจง นยั ทวั่ ไป ขอ้ เทจ็ จรงิ ย่อยท่ี 1 ข้อสรุป ความเหมอื น ทีไ่ ด้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ย่อยที่ 2 ความแตกตา่ ง ข้อเท็จจริงย่อยที่ n ภาพท่ี 1.12 วิธกี ารแสวงความรูแ้ บบอปุ มานตามแนวคิดของฟรานซสิ เบคอน ฟรานซิส เบคอน ได้นาเสนอแนวคิดวิธกี ารแสวงหาความรโู้ ดยวิธกี ารอุปมานเป็น 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 9.2.2.1 วิธกี ารอปุ มานแบบสมบรู ณ์(Perfect Inductive Method) เปน็ วิธีการ แสวงหาความรโู้ ดยการเก็บรวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ ย่อยจากทกุ หนว่ ยของสิ่งที่ต้องการศึกษา แล้วนามา วิเคราะห์เพ่ือจดั หมวดหมู่ แปลความหมายแล้วสรปุ ผลเป็นข้อความรทู้ ี่คน้ พบที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ มากท่ีสุดแต่วธิ ีการน้จี ะทาได้ยากเนือ่ งจากจะต้องเก็บข้อเทจ็ จริงจากทกุ หน่วย ทาให้เสียเวลา แรงงาน และงบประมาณทค่ี ่อนขา้ งสงู ดงั แสดงในภาพท่ี 1.13 ประชากร วเิ คราะห์ ขอ้ สรุป จดั หมวดหมู่ ภาพที่ 1.13 วิธีการแสวงหาความรดู้ ้วยวธิ ีการอุปมานแบบสมบูรณ์

หน้าท่ี 24  บทที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกบั การวจิ ยั 9.2.2.2 วิธกี ารอุปมานแบบไมส่ มบรู ณ(์ Imperfect Inductive Method) เป็น วธิ ีการแสวงหาความรู้ท่ีเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงจากกลุ่มตัวอยา่ งที่เป็นบางสว่ นของประชากร แลว้ นามา วิเคราะห์เพื่อจัดหมวดหมู่ แปลความหมายแล้วสรปุ ผลเพ่อื กล่าวอ้างอิงผลสรปุ กลับไปสูป่ ระชากร ท้งั หมด ดงั แสดงในภาพท่ี 1.14 สรุปอา้ งอิง ประชากร การส่มุ การวเิ คราะห์ กลมุ่ ตวั อย่าง ขอ้ สรุป ภาพท่ี 1.14 วิธกี ารแสวงหาความร้ดู ว้ ยวธิ ีการอุปมานแบบไมส่ มบูรณ์ 9.2.2..3 วธิ กี ารอุปมานแบบเบคอเนยี น(Baconian Inductive Method) เป็น วิธกี ารแสวงหาความรู้ทใ่ี ช้เทคนิคในการตรวจสอบ หรือวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ใน 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1) การพิจารณาข้อเทจ็ จรงิ ในลักษณะของส่วนที่เหมือนกันหรือรว่ มกนั (Positive Instance) 2) การพิจารณาข้อเท็จจรงิ ในลักษณะของส่วนท่แี ตกต่างกัน(Negative Instance) 3) การพิจารณาข้อเทจ็ จรงิ ในสว่ นแปรเปลยี่ นตามรปู แบบ(Alternative Instance) คือ ในบางส่วนมีความเหมอื น และในบางส่วนก็มีความแตกตา่ ง หลังจากการพิจารณาขอ้ เทจ็ จรงิ ทีเ่ กบ็ รวบรวมได้ทง้ั 3 ลกั ษณะแล้วให้สรุปผลของ ความรู้ทีค่ น้ พบ ดงั แสดงในภาพที่ 1.15 ประชากร ความเหมือน ข้อสรุป กลุม่ ตัวอยา่ ง ความแตกตา่ ง ความแปรเปลย่ี น ภาพที่ 1.15 วิธกี ารแสวงหาความรูด้ ้วยวิธีการอปุ มานแบบเบคอเนียน

 ระเบียบวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 25 จากการวิเคราะห์วิธกี ารแสวงหาความร้แู บบอุปมานพบว่ามีขอ้ บกพร่องท่ีอาจจะเกิดข้นึ จากวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อเท็จจริงทไ่ี ม่ครบถ้วน หรือถูกต้องตามกระบวนการที่ก่อใหเ้ กดิ ความคลาดเคล่ือน ดงั นั้นข้อสรุปทไ่ี ด้อาจจะมคี วามคลาดเคล่ือนเกดิ ข้ึนได้เช่นกัน(อนนั ต์ ศรีโสภา, 2521 : 5) 9.3 ยคุ ปัจจบุ นั เปน็ ยุคท่มี นษุ ย์ได้มีกระบวนการแสวงหาความรู้ทีเ่ ปน็ ระบบ ท่ีชดั เจนมากขึ้น มีการใช้หลักการของเหตุและผลเข้ามาพิจารณา และความรทู้ คี่ ้นพบสามารถตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งตามความเปน็ จริงได้อย่างชดั เจน ในศตวรรษที่ 19 ชาร์ล ดารว์ ิน(Charles Darwin) เปน็ บคุ คลท่ีไดน้ าเสนอแนวคิดใหม่โดยการนาวธิ ีการแบบอนุมานและอุปมานมารวมกนั เปน็ กระบวนการเดียวกัน(Deductive-Inductive Method) กล่าวคือ ในการแสวงหาความรู้ใด ๆ ทคี่ วรจะ เริ่มต้นจากการกาหนดปัญหา แลว้ มีการคาดคะเนคาตอบท่ีจะเกดิ ขน้ึ (สมมุติฐาน) ด้วยวิธีการแสวงหา ความรู้แบบอนุมาน หลังจากน้ันจงึ ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อเทจ็ จริงที่เก่ยี วข้องแล้วนามาวเิ คราะห์หา ข้อสรุปเพื่อใช้ตรวจสอบว่าการคาดคะเนคาตอบท่ีกาหนดไว้ถูกต้องหรือไม่ ดว้ ยวธิ กี ารอุปมานแล้ว จงึ สรปุ เปน็ ข้อความรู้ท่คี น้ พบ และในเวลาตอ่ มาจอห์น ดวิ อี้ (John Dewey)ได้นากระบวนการดังกลา่ ว มาปรบั ปรุง และพัฒนาใหม้ ีความเปน็ ระบบท่ชี ัดเจนเรยี กวา่ การคิดแบบใครค่ รวญทบทวน(Critical Thinking) หรือวิธกี ารแกป้ ญั หา(Problem Solving Method) จนกระทงั่ ในปัจจบุ ันได้พัฒนาเปน็ วิธกี ารแสวงหาความรดู้ ้วยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์(Scientific Methods) ทแ่ี สดงวธิ ีการแสวงหาความรู้ดว้ ยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ดังแสดงในภาพท่ี 1.16 (Babbie,1998 :59) วธิ ีการแบบอนมุ าน การสังเกต วิธีการแบบอปุ มาน 1. การกาหนดปัญหา 1. การรวบรวมข้อมลู 2. การกาหนดสมมุติฐาน วธิ ีการทาง 2. การวเิ คราะหข์ ้อมูล วทิ ยาศาสตร์ 3. การสรุปผล ทฤษฏี ภาพท่ี 1.16 วธิ กี ารแสวงหาความรูด้ ้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

หนา้ ที่ 26  บทที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกยี่ วกับการวจิ ัย 10. ลกั ษณะของการวิจัยท่ีดี การวิจยั ที่ดี จะมลี ักษณะที่สาคญั ดงั น้ี(สนิ พันธุ์พนิ จิ 2547:24-26) 10.1 มีความสอดคล้อง มีวัตถุประสงค์ทส่ี อดคลอ้ งกับปัญหาการวจิ ยั /การแกป้ ัญหา ท่จี ะ สามารถนาผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างแทจ้ รงิ 10.2 ความสมบรู ณข์ องการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง ทีจ่ ะต้องมกี ารศึกษา อย่างสมบูรณ์ ครบถว้ น และครอบคลมุ ตวั แปรที่ต้องการศึกษา เพ่ือนาไปกาหนดกรอบแนวคดิ การวจิ ัย และกาหนดสมมตฐิ านที่ถูกต้องและสอดคล้องกบั สถานการณข์ องสงั คม ตลอดจนกระทั่งเรียงลาดบั เน้อื หา อย่างเหมาะสม 10.3 ใช้ระเบียบวธิ กี ารวิจยั ทถี่ ูกต้อง ในการดาเนนิ การวจิ ยั จะต้องมีการสุ่มตัวอย่างทถี่ ูกตอ้ ง และมีขนาดพอเหมาะ ใช้เครื่องมือเกบ็ ข้อมลู ทีม่ ีคุณภาพ การออกแบบแผนการทดลอง หรือการกาหนด ระดบั นยั สาคัญทางสถติ ิ 10.4 การวิเคราะหข์ ้อมูล จะต้องเลือกใช้สถติ ิในการวิเคราะหข์ ้อมูลทเี่ หมาะสม และ สอดคลอ้ งกับข้อตกลงเบอื้ งต้นของสถิติแตล่ ะประเภท 10.5 การนาเสนอข้อมลู จะตอ้ งแปลผลจากผลการวิเคราะห์อยา่ งมหี ลักเกณฑ์ ใชภ้ าษา นาเสนอท่ีง่าย ๆ หรือใช้วธิ ีการนาเสนอที่นา่ สนใจโดยใชแ้ ผนภูมิ หรอื ภาพประกอบต่าง ๆ 10.6 ความเทยี่ งตรง ในการวจิ ยั จะตอ้ งคานึงทัง้ ความเทยี่ งตรงภายในและความเทยี่ งตรง ภายนอก ทผี่ ลการวจิ ยั ท่ีได้เป็นผลท่ีเกิดขึน้ อย่างแทจ้ ริงในการวจิ ัย และสามารถนาไปใชส้ รปุ อ้างอิงข้อมลู จากกลุม่ ตัวอยา่ งสูป่ ระชากรไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 10.7. ความเช่อื ม่นั การวจิ ัยจะตอ้ งดาเนินการด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทมี่ เี หตแุ ละ ผล มคี วามเป็นปรนัย ขจัดความลาเอียงจากความรสู้ ึกสว่ นตวั และเน้นทีก่ ารทดสอบสมมตุ ิฐานมากกวา่ การพสิ จู นว์ า่ จริงหรอื เท็จ 10.8 รูปแบบของรายงานการวจิ ยั เปน็ การปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของรายงานการวิจัยท่ี แต่ละหนว่ ยงานหรอื องค์กรได้กาหนดรปู แบบไว้อยา่ งชดั เจน รวมทง้ั ความชัดเจน ถกู ต้องของ เนื้อหาสาระ และรูปเล่มของรายงานการวิจัยท่ีถูกต้อง สวยงาม 10.9 ขอบเขตของเวลา การวิจยั จะต้องดาเนนิ การใหเ้ สร็จภายในเวลาทีก่ าหนด มิฉะน้นั อาจจะมคี วามคลาดเคล่ือนจากสภาพเป็นจริงเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงของสงั คม หรือมนุษยท์ ม่ี ี การเปล่ยี นแปลงทัศนคติ หรือค่านยิ มอย่างรวดเรว็ 11. ประโยชนข์ องการวจิ ยั ในการทางานวจิ ัยใด ๆ น้ันจะก่อให้เกิดประโยชน์ท่ีหลากหลายตอ่ มนุษยชาติทงั้ ในทางตรง และทางอ้อม ดังน้ี(เทียนฉาย กีระนนั ท์ , 2544; ธนัน อนุมานราชธน, 2544 ; วรัญญา ภทั รสขุ ,2545:6) 11.1 ก่อใหเ้ กดิ องค์ความรู้ใหม่ ๆ ในการเพ่ิมพูนวทิ ยาการให้มีความก้าวหน้าท้งั ใน เชิงกวา้ ง หรอื เชิงลกึ มากย่งิ ขึ้น

 ระเบียบวิธีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ที่ 27 11.2 ใช้แสวงหาวธิ กี ารในการแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขึ้นและมคี วามซับซ้อนเพิ่มมากขน้ึ ใน ปัจจุบนั และอนาคตไดต้ รงประเดน็ ถกู ตอ้ ง และมีความรวดเร็วมากยง่ิ ขนึ้ 11.3 นามาใชเ้ ป็นข้อมลู ในการวางแผนหรือกาหนดนโยบายอยา่ งชดั เจนเพื่อที่จะชว่ ยให้ การดาเนนิ งานนั้น ๆ สามารถที่จะดาเนินการไปสูเ่ ปา้ หมายของการปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างถูกต้อง เหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน 11.4 ชว่ ยในการเสรมิ สร้างสมรรถภาพของผู้ทาวิจัยในการเป็นมนุษยท์ ี่สมบรู ณไ์ ด้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ อาทิ กระบวนการคดิ อยา่ งมเี หตุผล การตดั สินใจ การบริหารงานหรือการวางแผน เปน็ ตน้ 12. ขอ้ จากัดของการวจิ ัยทางสังคมศาสตร์ ในการวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์มีข้อจากดั ทคี่ วรพิจารณา ดังน้ี(พชิ ิต ฤทธิจ์ รูญ,2544 :16) 12.1 ความแมน่ ยาในการวัด ในการวิจยั ทางสังคมศาสตร์เป็นเรอื่ งที่เก่ียวข้องกบั มนุษย์ ทีม่ คี วามซบั ซ้อนโดยเฉพาะทางด้านจติ ใจท่ีมีลักษณะเปน็ นามธรรมค่อนข้างสูงท่ีในบางลักษณะที่ ไม่สามารถระบุออกมาเป็นตัวเลขได้อย่างถูกต้องและชดั เจน ทาให้การสร้างเคร่ืองมอื ทีใ่ ชว้ ดั คุณลกั ษณะ ดังกลา่ วได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจนทาไดย้ าก 12.2 การควบคุมสภาวะแวดล้อมหรือตัวแปรที่มอี ิทธิพลต่อตัวแปรทมี่ ุง่ ศึกษาจะทาได้ คอ่ นข้างยากโดยเฉพาะตวั แปรทางดา้ นพฤตกิ รรมของมนุษย์ที่มีวธิ ีการควบคมุ /จัดกระทาตวั แปร ทไี่ มช่ ัดเจนดังนน้ั จะต้องหาวิธีการ แนวคดิ ทฤษฏที ่จี ะมาอธิบายให้เกิดความชดั เจนมากท่ีสุด 13. ลกั ษณะของนักวจิ ัยทีด่ ี คณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาตสิ หรัฐอเมริกาได้นาเสนอคณุ ลักษณะของนักวจิ ัยทดี่ ี ดงั น้ี (ศิริพงษ์ เศาภายน.2546 : 15-17 อา้ งอิงมาจาก American Psychological Association,1982) 13.1 องคป์ ระกอบของอารมณ์(Emotion Factor) ทผี่ วู้ จิ ัยจะต้องมีแรงขบั ใน ความต้องการท่จี ะทางานใหส้ าเรจ็ เนื่องจาก 13.1.1 จะทางานวจิ ยั ไมส่ าเรจ็ ถา้ ยังมีความไม่รับผิดชอบ/การตรงตอ่ เวลา 13.1.2 ความสาเร็จของการทางานวิจัยข้นึ อยกู่ ับมีความพยายาม และมีความใฝ่รู้ 13.1.3 เม่ือทางานสาเรจ็ ผวู้ ิจยั จะมีความรสู้ กึ วา่ มีความสุข 13.1.4 เปน็ ผ้ทู เี่ หน็ คุณคา่ ของงานวิจัย 13.2 ความรู้ (Knowledge) ผ้วู จิ ัยจะตอ้ งเปน็ ผูท้ มี่ ีความรู้ในเร่ืองที่จะศึกษา และยงั มี ลักษณะ ดังนี้ 13.2.1 เปน็ ผูท้ ี่มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ได้อย่างรวดเรว็ 13.2.2 สามารถเลือกสรรความรู้มาใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม

หน้าท่ี 28  บทท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการวิจัย 13.2.3 มคี วามสามารถนาผลงานวจิ ยั ของผู้อื่นมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นงานวจิ ยั ของตนเองไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 13.2.4 สามารถใชห้ ลักของเหตผุ ลมาประกอบในการพจิ ารณาเพ่ือวเิ คราะห์ข้อมลู 13.2.5 มที ักษะในการสร้างและพัฒนาเครอื่ งมอื ในการวิจยั และการใชเ้ ครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 13.2.6 มีทกั ษะในการวเิ คราะห์ข้อมลู โดยเลอื กใช้สถิติทเี่ หมาะสม 13.2.7 มีทักษะในการเชอ่ื มโยงผลการวจิ ยั ไปสู่สถานการณ์ทั่วไป 13.2.8 มีทักษะในการตรวจสอบ และสามารถวพิ ากษว์ ิจารณ์ผลงานวจิ ัยใน เชงิ สร้างสรรค์ 13.2.9 มคี วามสามารถในการใช้ภาษาในการรายงาน/บรรยายผลการวิจัยของตนเอง ให้ผู้ที่สนใจได้เข้าใจอย่างชัดเจน 13.3 พลงั ในตน (Volition) หรืออานาจในการควบคมุ ตนเอง ตัดสนิ ใจ ควบคุมตนเอง ทป่ี ระกอบดว้ ย 13.3.1 พฤติกรรมที่มองเห็น 13.3.1.1 มคี วามกลา้ ในการคดิ กลา้ ทา วพิ ากษว์ ิจารณ์ข้อเท็จจรงิ ตาม ขอ้ มลู ท่ีมอี ยู่ 13.3.1.2 มคี วามเชอ่ื มน่ั ในตนเอง และความพยายามท่ีจะทางานสง่ิ ใด สง่ิ หนง่ึ จนกระทั่งบรรลุผลสาเร็จ 13.3.1.3 มีความใจกว้าง พร้อมทีจ่ ะรับฟังความคิดเหน็ ในการวิจารณ์ ผลงานของตนเอง 13.3.1.4 มีความถ่อมตน ไม่อวดดวี ่าตนเองเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ 13.3.1.5 มีความเชื่อในหลกั วชิ าและความมเี หตผุ ล 13.3.2 พลังท่ัวไป 13.3.2.1 มคี วามสามารถในการนาตนเองไปในทางท่ดี ี 13.3.2.2 มคี วามคิดท่อี สิ ระที่จะสามารถแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ ด้วย ตนเองได้ 13.3.2.3 มคี วามสามารถในการประเมินความรู้ความสามารถของ ตนเองวา่ มีจุดเดน่ -จุดบกพร่อง และยอมรับความสามารถของตนเอง และระบไุ ดว้ ่าตนเองมีความรู้ ความสามารถที่จะทางานช้ินนนั้ ๆ ไดส้ าเรจ็ หรือไม่ 13.3.2.4 มวี ินยั ในตนเอง

 ระเบียบวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หน้าท่ี 29 13.3.3 ความนกึ คิด 13.3.3.1 มีความคดิ เกีย่ วกับหลักของธรรมชาติ ว่าเหตใุ ดจงึ เกิด ปรากฏการณ์นัน้ ผลท่ีเกดิ ขน้ึ เปน็ อย่างไร มคี วามพยายามสรา้ งกฎเกณฑ์ รวบรวมเปน็ ทฤษฎี เพอ่ื สรุป อ้างอิงไปส่สู ถานการณ์ทั่ว ๆ ไป 13.3.3.2 มีความเช่อื ม่ันในตนเองวา่ เป็นผู้ทมี่ ีศักยภาพในการทางานให้ บรรลุความสาเรจ็ ได้ มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคม และปฏิบัติตนตามทีส่ งั คมยอมรบั 13.3.3.3 มคี วามพยายาม และมคี วามเช่ือว่ามโี อกาสทจี่ ะสามารถพบ ความสาเร็จได้ จากการสังเคราะห์คณุ ลักษณะนักวจิ ัยท่ีนิภา ศรีไพโรจน์(2531: 7-9) และสุวมิ ล ตริกานันท์ (2547 : 8) นาเสนอสามารถสรุปคุณลักษณะทจี่ าเป็นสาหรบั นักวิจัยทด่ี ี มีดังนี้ 1. มีความรพู้ ้นื ฐานในสาขาที่ทาวจิ ัยเปน็ อยา่ งดี เพื่อที่จะได้เลอื กใช้เทคนคิ วิธกี าร และเครื่องมือท่ี สอดคล้องกับลกั ษณะของงานวจิ ยั สามารถศกึ ษา ค้นควา้ ความรู้ทเี่ กยี่ วข้องได้อย่างรวดเร็ว และ สรุปผลการวจิ ัยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ดังนั้นผวู้ ิจยั จาเป็นจะต้องศึกษาพัฒนาการในศาสตรท์ ่ีตนเอง ทาวิจยั อยู่เสมอ ๆ 2. มคี วามรอบรใู้ นสาขาวิชาท่ีเกย่ี วขอ้ ง เพอื่ ท่ีจะได้นาความรนู้ ้ันมาใช้ในการวจิ ยั ของตนเองได้ เป็นอย่างดี เน่ืองจากขอบเขตของการวจิ ยั ไม่สามารถจาแนกศาสตรต์ า่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องออกจากกันได้อยา่ ง ชัดเจน ดงั น้นั ผ้วู จิ ยั อาจจะตอ้ งศึกษา คน้ ควา้ เพม่ิ เติมในศาสตร์สาขาที่เกย่ี วข้องด้วย 3. มคี วามอยากรอู้ ยากเห็น เปน็ ความกระตอื รือร้นของผูว้ ิจยั ทมี่ คี วามต้องการในตนเองที่จะ แสวงหาองค์ความรใู้ หม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา และอย่างต่อเน่ือง ทก่ี ่อให้เกิดพฒั นาการในศาสตร์น้ัน ๆ 4. มีความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ เป็นความคิดริเร่ิมทีไ่ ด้จากภูมิหลัง ความสนใจ ประสบการณ์ของ ผวู้ จิ ยั ที่ไดน้ ามาประยกุ ต์ใชใ้ นการพฒั นา ดัดแปลงวธิ ีการแบบเดิมให้มีความทนั สมยั ทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพในปัจจุบนั กอ่ ใหเ้ กดิ องค์ความรูใ้ หม่หรือองค์ความร้เู ดิมที่มีความน่าเช่ือถอื มากยงิ่ ขึ้น 5. มีความอดทน ในการทางานใด ๆ จะประสบกับปัญหาอุปสรรคเสมอ ๆ เชน่ เดยี วกันใน การวิจัยใด ๆ ผวู้ ิจยั กจ็ ะประสบกบั ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนินการวิจยั ดงั น้ันผวู้ จิ ยั จะตอ้ งมี ความอดทนและเตรียมการในการประสบกับปญั หาอปุ สรรค และแสวงหาวธิ ีการแกไ้ ขเพื่อใหง้ านวิจยั ของตนเองสามารถทีจ่ ะดาเนินการได้อย่างลลุ ว่ งจนกระทงั่ ประสบความสาเรจ็ ในที่สดุ และแมว้ า่ การวิจยั ในคร้ังน้ันจะประสบความล้มเหลวกค็ วรจะยอมรับแต่จะต้องไมย่ ่อท้อและหมดกาลงั ใจทจ่ี ะ ดาเนนิ การวจิ ัยในโอกาสตอ่ ไป

หน้าท่ี 30  บทที่ 1 ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั การวิจยั 6. มีความกล้าท่ีจะตดั สนิ ใจ ในการวจิ ัยจะต้องมีการตัดสนิ ใจในการดาเนินการแต่ละขน้ั ตอน ตามแนวคิดของตนเองเพื่อให้งานวจิ ยั สามารถดาเนินการได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และยอมรับ ความผิดพลาดในผลการวจิ ยั และพร้อมท่จี ะได้รับการวิพากษว์ ิจารณ์เพ่ือนาข้อเสนอแนะไปใช้ปรับปรุง การวจิ ยั คร้งั ตอ่ ไปให้มปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น 7. มคี วามสามารถในการควบคุมตนเอง ในการดาเนินการวจิ ัยใด ๆ ผูว้ จิ ัยจะต้องเป็นผ้ทู ี่มี ความอุตสาหะ อดทนและรู้จักการควบคุมตนเองในการปฏบิ ัติงานตามกาลังความสามารถ เพือ่ ใหง้ านวิจัย สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนอ่ื งจนกระทงั่ ประสบความสาเรจ็ 14. จรรยาบรรณของนักวิจัย นกั วิจยั หมายถงึ ผ้ทู ด่ี าเนนิ การคน้ คว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อตอบประเด็นทีส่ งสัยโดยมี ระเบียบวธิ อี ันเปน็ ทีย่ อมรบั ใน แตล่ ะศาสตร์ทเ่ี ก่ียวข้องซงึ่ ครอบคลมุ ทั้งแนวคิด มโนทัศน์ และวิธกี าร ท่ใี ช้ในการรวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมูล(สภาวจิ ัยแห่งชาต,ิ 2541 : 3) จรรยาบรรณ หมายถงึ หลกั ความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถงึ คุณธรรมและจรยิ ธรรมใน การประกอบอาชพี ทกี่ ลุ่มบุคคล แตล่ ะสาขาวชิ าชีพประมวลขนึ้ ไว้เป็นหลกั เพ่ือให้สมาชกิ ในสาขาวิชาชพี นั้นๆ ยึดถอื ปฏบิ ัตเิ พ่อื รักษาช่ือเสยี งและสง่ เสริมเกยี รติคุณ ของสาขาวิชาชพี ของตนเอง จรรยาบรรณนกั วจิ ยั (Researcher’s Code Ethic) หมายถึง หลกั เกณฑ์ควรประพฤติปฏิบตั ขิ อง นกั วิจัยทั่วไปเพ่ือให้การดาเนินงานวจิ ยั ตงั้ อยูบ่ นพนื้ ฐาน ของจริยธรรมและหลกั วชิ าการที่เหมาะสม ตลอดจนประกันมาตรฐานของการศึกษาคน้ คว้าให้เปน็ ไปอย่างสมศักดิ์ศรีและเกยี รตภิ มู ิของนกั วจิ ัย จรรยาบรรณของนักวจิ ยั และแนวปฏิบัติ ทน่ี าเสนอโดยสภาวิจยั แหง่ ชาตขิ องประเทศไทย มีดังน(ี้ สภาวจิ ยั แห่งชาต,ิ 2541 : 3-13) 14.1 นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวชิ าการและการจดั การ นักวจิ ัยต้องมี ความซ่อื สัตยต์ ่อตนเองไม่นาผลงานของผู้อ่ืนมาเป็นของตน ไม่ลอกเลยี นงานของผู้อนื่ ตอ้ งใหเ้ กียรติ และอ้างถงึ บุคคลหรอื แหล่งที่มาของข้อมลู ทน่ี ามาใชใ้ นการวิจยั ต้องซอ่ื ตรงต่อการแสวงหาทุนวจิ ยั และมีความเปน็ ธรรมเก่ยี วกับผลประโยชนท่ไี ด้จากการวิจยั 14.2 นกั วจิ ยั ตอ้ งปฏิบัติตามพันธกรณีในการทาวจิ ัยตามข้อตกลงที่ทาไว้กบั หน่วยงาน ทสี่ นบั สนนุ การวจิ ยั และตอ่ หน่วยงานทตี่ นสงั กัด นกั วจิ ัยตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามพนั ธกรณีและข้อตกลงการวิจยั ทผ่ี ู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายยอมรับรว่ มกัน อุทิศเวลาทางานวจิ ยั ให้ได้ผลดีทีส่ ุดและเป็นไปตามกาหนดเวลา มีความรบั ผดิ ชอบไมล่ ะทิง้ งานระหวา่ งดาเนนิ การ 14.3 นักวิจัยตอ้ งมีพน้ื ฐานความร้ใู นสาขาวชิ าการทีท่ าวจิ ัย นกั วิจยั ต้องมพี น้ื ฐานความรู้ ในสาขาวิชาการท่ีทาวิจยั อย่างเพียงพอ และมีความรู้ความชานาญหรอื มีประสบการณเ์ ก่ียวเนือ่ งกับ เร่ืองท่ที าวจิ ยั เพือ่ นาไปส่งู านวิจยั ทีม่ คี ุณภาพ และเพื่อปอ้ งกันปญั หาการวเิ คราะห์ การตีความ หรอื การสรุปทผี่ ิดพลาด อนั อาจก่อให้เกิดความเสยี หายต่องานวจิ ัย

 ระเบยี บวิธีการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ หนา้ ท่ี 31 14.4 นกั วจิ ัยตอ้ งมีความรับผดิ ชอบต่อส่งิ ที่ศกึ ษาวิจยั ไม่วา่ จะเป็นสง่ิ ที่มีชวี ติ หรอื ไม่มีชวี ติ นกั วจิ ยั ต้องดาเนินการด้วยความรอบคอบระมดั ระวงั และเท่ยี งตรงในการทาวิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ งกับ คน สตั ว์ พืช ศิลปวฒั นธรรม ทรัพยากร และสง่ิ แวดล้อม มีจติ สานกึ และปณิธานทจ่ี ะอนุรักษ์ ศิลปวฒั นธรรม ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ ม 14.5 นักวิจัยตอ้ งเคารพศักดิศ์ รี และสทิ ธิของมนุษย์ท่ีใชเ้ ปน็ ตวั อยา่ งนักวิจยั ต้องไม่คานงึ ผลประโยชน์ทางวชิ าการจนกระท่ังละเลยและขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพื่อนมนษุ ย์ ตอ้ งถือเป็น ภาระหน้าที่ทจี่ ะอธบิ ายจดุ มุง่ หมายของการวจิ ัยแกบ่ ุคคลทเี่ ป็นกลุ่มตัวอย่างโดยไม่หลอกลวง หรือบีบบังคบั และไม่ละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคล 14.6 นกั วิจยั ต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขน้ั ตอนของการทาวิจัย นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิดตอ้ งตระหนักว่า อคติสว่ นตนหรอื ความลาเอียงทางวิชาการ อาจจะสง่ ผลใหม้ ีการบดิ เบือนขอ้ มูล และข้อคน้ พบทางวชิ าการ อันเป็นเหตุให้เกิดผลเสยี หาย ตอ่ งานวิจัย 14.7 นกั วจิ ยั พงึ นาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชนใ์ นทางท่ีชอบ นกั วิจยั พึงเผยแพรผ่ ลงานวิจัย เพื่อประโยชน์ทางวิชาการและสังคมไม่ขยายผลขอ้ คน้ พบจนเกนิ ความเป็นจริงและไมใ่ ช้ผลงานวิจัย ไปในแนวทางมชิ อบ 14.8 นกั วจิ ัยพึงเคารพความคิดเหน็ ทางวิชาการของผู้อื่น นักวจิ ัยพึงมีใจกว้าง พร้อมจะ เปิดเผยข้อมลู และข้ันตอนการวิจัย ยอมรับฟังความคิดเห็นและเหตุผลทางวชิ าการของผู้อื่น และ พรอ้ มทจ่ี ะปรับปรุงแก้ไขงานวิจยั ของตนให้ถกู ต้อง 14.9 นกั วิจยั พึงมีความรับผดิ ชอบต่อสังคมทุกระดับ นักวิจยั พงึ มีจิตสานึกที่จะอุทศิ กาลงั สติปญั ญาในการทาวจิ ยั เพ่อื ความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ เพอ่ื ความเจริญและประโยชนส์ ุขของ สงั คมและมวลมนษุ ยชาติ สาระสาคัญบทท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกบั การวิจัย ในบทน้มี สี าระสาคัญ ดังน้ี 1. วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ เปน็ วิธีการแสวงหาความร้อู ย่างมรี ะเบยี บแบบแผน มกี ารเก็บ รวบรวมข้อมลู ทเี่ ปน็ ระบบ มีการทดสอบข้อเท็จจริงใหญ่และขอ้ เท็จจรงิ ยอ่ ยมากกว่าการสมมุติใหเ้ ปน็ ความจริง ทปี่ ระกอบดว้ ย 5 ข้ันตอน คือ 1)การกาหนดปญั หา 2) การกาหนดสมมตุ ิฐาน 3) การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4) การวเิ คราะห์ขอ้ มูล และ 5) การสรปุ ผล 2. ทฤษฏี เปน็ ขอ้ ความท่ีแสดงความคดิ รวบยอด ความเปน็ เหตุและผลของความสมั พันธร์ ะหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ เพื่อทจ่ี ะได้นาไปใชใ้ นการอธิบายและพยากรณ์ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนอย่างมรี ะบบระเบยี บ โดยมีประโยชน์ต่อการวจิ ัย คือ 1) กาหนดกรอบการวจิ ยั 2) จาแนกและลาดบั ข้อเทจ็ จรงิ ของตวั แปร 3) กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย 4) กาหนดสมมตุ ิฐาน 5) กาหนดวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล 6) การสรุป ขอ้ เทจ็ จรงิ 7) การพยากรณ์

หนา้ ที่ 32  บทที่ 1 ความรู้เบ้อื งต้นเกีย่ วกบั การวจิ ัย 3.การวิจยั เปน็ กระบวนการแสวงหาความรทู้ ม่ี รี ะบบ มขี ั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตวั สามารถตรวจสอบได้ ท่ีผ้วู ิจัยนามาใช้ศึกษา คน้ คว้าข้อเทจ็ จรงิ เพอื่ นาไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางสงั คม หรือพฒั นาเปน็ กฎ ทฤษฏี หรือนาไปใช้ในการแก้ปญั หาท่เี กิดข้ึนได้อยา่ งถกู ต้อง แมน่ ยา และเชื่อถือได้ โดยมจี ุดมงุ่ หมายของการวิจยั คือ 1) เพื่อสารวจ 2)เพ่ือบรรยาย-พรรณนา 3) เพือ่ อธบิ าย-ทานาย และ 4) เพ่ือควบคุม 4. กระบวนการแสวงหาความรู้ จาแนกเปน็ 1) ยุคโบราณ เป็นยุคทม่ี นุษยม์ ีกระบวนการ แสวงหาความรู้ทีย่ ังไมเ่ ป็นระบบทช่ี ัดเจน ไดแ้ ก่ โดยการบังเอิญ โดยจารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยการลองผิดลองถกู โดยความเชือ่ ทม่ี ีต่อผู้นา/ผ้เู ชยี่ วชาญ และโดยประสบการณ์สว่ นตัว เปน็ ต้น 2) ยคุ กลาง เป็นยุคท่ีมนุษยม์ ีกระบวนการแสวงหาความรู้ท่ีเป็นระบบท่ชี ดั เจนมากขึน้ ได้แก่ วธิ กี าร แบบอนมุ าน วิธีการแบบอุปมาน และ 3) ยุคปัจจุบัน เปน็ ยคุ ทม่ี นุษย์ไดม้ ีกระบวนการแสวงหาความรู้ ทเ่ี ป็นระบบท่ชี ัดเจนโดยการนาวิธกี ารแบบอนมุ านและอปุ มานมารวมกนั เปน็ วธิ กี ารแสวงหาความรู้ ดว้ ยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์(Scientific Methods) 5. ประโยชนข์ องการวิจัย มดี ังน้ี 1) ก่อใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ใหม่ ๆ 2) ใชแ้ สวงหาวิธกี ารใน การแกป้ ัญหาทเี่ กิดขึ้นและมคี วามซับซ้อนเพมิ่ มากข้นึ 3) นามาใช้เปน็ ข้อมลู ในการวางแผนหรอื กาหนด นโยบายอย่างชัดเจน และ4) ชว่ ยในการเสรมิ สร้างสมรรถภาพของผทู้ าวจิ ัยในการเป็นมนุษยท์ ่สี มบูรณ์ 6. คุณลักษณะทีจ่ าเป็นสาหรับนักวจิ ยั ทดี่ ี ดังนี้ 1) มีความรู้พืน้ ฐานในสาขาทีท่ าวิจยั เป็นอย่างดี 2) มคี วามรอบรู้ในสาขาวิชาทเ่ี ก่ียวข้อง 3) มคี วามอยากรู้อยากเหน็ 4) มคี วามคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ 5) มีความอดทน 6) มีความกลา้ ท่จี ะตัดสนิ ใจ และ7) มคี วามสามารถในการควบคุมตนเอง 7. จรรยาบรรณของนักวจิ ัย เป็นหลกั เกณฑ์ควรประพฤติปฏิบัตขิ องนักวิจัยท่วั ไปเพื่อให้ การดาเนินงานวจิ ยั ตงั้ อยู่บนพื้นฐาน ของจริยธรรมและหลักวิชาการที่เหมาะสมตลอดจนประกนั มาตรฐาน ของการศึกษาค้นควา้ ให้เป็นไปอยา่ งสมศกั ด์ิศรีและเกียรติภมู ิของนักวิจยั มีดงั น้ี 1) ซ่ือสัตยแ์ ละมีคณุ ธรรม ในทางวชิ าการและการจดั การ 2) ปฏิบัติตามพันธกรณีในการทาวิจยั ตามข้อตกลงท่ที าไว้ 3) มพี นื้ ฐานความรูใ้ นสาขาวชิ าการที่ทาวิจยั 4) มีความรับผิดชอบตอ่ สิ่งทศ่ี ึกษาวจิ ัย 5) เคารพศักดศ์ิ รี และ สทิ ธขิ องมนุษย์ทใ่ี ช้เปน็ ตัวอย่าง 6) มอี สิ ระทางความคิด โดยปราศจากอคติ 7)พึงนาผลงานวิจยั ไปใช้ ประโยชน์ในทางทช่ี อบ 8) เคารพความคิดเหน็ ทางวชิ าการของผู้อ่ืน และ 9) มีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ทกุ ระดับ ความรทู้ ไี่ รค้ ณุ ธรรมยอ่ มเป็นอนั ตรายและน่ากลวั Knowledge without integrity is dangerous and dreadful Samuel Johnson

 ระเบยี บวิธกี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หน้าท่ี 33 คาถามเชงิ ปฏิบตั ิการบทท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกบั การวจิ ัย คาชี้แจง ให้ตอบคาถามจากประเด็นคาถามท่ีกาหนดให้อย่างชดั เจน 1. ทฤษฏี คืออะไร มีความสาคัญอยา่ งไรตอ่ การวจิ ัย 2. การวจิ ัย คอื อะไร 3. เพราะเหตุใดมนุษยจ์ ึงต้องมี “การแสวงหาความรู้” 4. มนษุ ยม์ วี วิ ัฒนาการในการแสวงหาความรูอ้ ย่างไร 5. ท่านใช้หลกั การพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ในการดาเนินการวจิ ยั อยา่ งไร 6. การวิจยั กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อมนษุ ยชาติและประเทศชาติ อยา่ งไร 7. ลักษณะของรายงานทีเ่ รียกว่า “งานวิจัย” มลี ักษณะสาคัญที่แตกตา่ งจากรายงานทว่ั ๆ ไป อย่างไร 8. ถา้ ใหท้ า่ นจาแนกประเภทของการวจิ ยั ทา่ นจะจาแนกการวิจัยเปน็ ก่ปี ระเภท เพราะเหตุใด 9. ในปัจจุบนั มกี ารดาเนนิ การการวจิ ยั เพื่อตอบสนองตอ่ เปา้ หมายใดมากทีส่ ดุ เพราะเหตใุ ด 10. นกั วจิ ยั ได้ใชป้ ระโยชน์อะไรจาก “ธรรมชาตขิ องการวิจยั ” 11. ปญั หาทต่ี อ้ งดาเนินการวิจัยกับปัญหาที่ไมต่ ้องดาเนนิ การวจิ ัยมคี วามแตกต่างหรอื คล้ายคลงึ กันอยา่ งไรบา้ ง 12. ในปัจจุบนั นนี้ ักวจิ ยั ไดม้ กี ารละเมดิ จรรยาบรรณการวจิ ยั ตามหลักจรรยาบรรณของนักวิจยั ท่กี าหนดโดย สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหง่ ชาตขิ ้อใดมากท่ีสดุ เพราะเหตุใด

บทท่ี 2 กระบวนการวจิ ยั และการวิเคราะหป์ ญั หาการวจิ ยั ในการดาเนินการวจิ ยั ใด ๆ เพ่ือใหก้ ารแสวงหาข้อค้นพบหรือองคค์ วามรู้มีความถกู ต้อง ชดั เจน และมีประสทิ ธภิ าพ ดังนน้ั ผู้วจิ ัยจาเป็นจะต้องกาหนดและใช้กระบวนการวิจัยใน การดาเนินการอยา่ งเปน็ ระบบ และมขี ้นั ตอนทช่ี ัดเจน โดยท่ีผ้วู ิจัยหรอื บุคคลทีส่ นใจศึกษา งานวจิ ัยน้นั ๆ จะสามารถตรวจสอบและติดตามผลการวจิ ัยได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ กระบวนการวจิ ัย 1.บทนา กระบวนการ (Process) หมายถงึ การดาเนนิ การใด ๆ ท่ีมีการกาหนดข้นั ตอนอยา่ งเปน็ ระบบ มคี วามต่อเนื่องและรายละเอียดทีช่ ัดเจน และสามารถที่จะนาไปปฏบิ ตั กิ ารอย่างใดอย่างหนง่ึ จนกระทง่ั บรรลวุ ัตถุประสงค์ของการดาเนนิ การนน้ั ๆ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ดังทไี่ ลนเ์ บริต์ และ ไลน์เบรติ ์(Liebert and Liebert,1995 : 9)ได้นาเสนอกระบวนการที่เริม่ ตน้ จากองคค์ วามรู้เดิม จนกระทัง่ ไดร้ ับองค์ความรใู้ หม่(Deduction-Induction)ดงั แสดงกระบวนการพัฒนาจากองค์ความรู้ ในภาพที่ 2.1 ข้อสรปุ /องคค์ วามรเู้ ดมิ ขอ้ สรปุ /องค์ความรูใ้ หม่ การพสิ จู น์-อ้างองิ สมมติฐาน การอนมุ าน Inference (ข้อสรปุ /คาตอบเบ้ืองต้น) Deduction กระบวนการพฒั นา องค์ความรู้ ขอ้ สรุปจากขอ้ เท็จจรงิ การอุปมาน : Induction ขอ้ เท็จจริงทส่ี ังเกต ภาพที่ 2.1 กระบวนการพัฒนาจากองคค์ วามรูเ้ ดมิ จนกระท่ังได้รบั องค์ความรู้ใหม่ ทม่ี า : Liebert and Liebert,1995 : 9

หน้าที่ 36  บทที่ 2 กระบวนการวจิ ยั และการวิเคราะหป์ ัญหาการวจิ ัย 2. แนวคิดกระบวนการวจิ ยั กระบวนการวจิ ัย เริม่ จากการระบุปญั หา ข้อคาถาม ข้อขัดแย้งเสียกอ่ นแลว้ พิจารณาการ แสวงหาคาตอบของข้อสงสัยหรือข้อคาถามโดยใช้กระบวนการวิจัย เริม่ ศกึ ษากรอบขอบเขต สงิ่ ที่จะวจิ ยั เมอ่ื เลอื กเนื้อหาสาระท่ีตนเองสนใจตามภูมิความรู้แลว้ จงึ ระบุปัญหาการวจิ ยั สมมตุ ิฐาน การวิจัย และวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย(อุทุมพร จามรมาน(ทองอไุ ทย),2537 : 18) กระบวนการวิจยั เป็นการจัดลาดบั ข้นั ตอนของการวจิ ัยให้ดาเนินการอย่างต่อเนือ่ งตงั้ แต่ เรมิ่ ต้นจนกระทง่ั สาเร็จ ช่วยให้เหน็ ภาพรวมของการทาวิจยั อย่างชดั เจนและนาไปปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนที่ ประสบความสาเรจ็ เมื่อมขี ้อสงสยั ในขั้นตอนใดกส็ ามารถตรวจสอบและเพิ่มเตมิ ได้ (สิน พนั ธ์ุพินจิ ,2547 : 62) นแู มน(Neuman,1997 :11) ได้นาเสนอกระบวนการวจิ ัยในลักษณะของวัฎจกั รของ การดาเนนิ การท่ีเรมิ่ ต้นด้วยคาถามของการวจิ ยั (Research Question) ทจี่ ะนาไปสู่การออกแบบ การวจิ ัย การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวิเคราะหข์ ้อมูล และการสรปุ ผลข้อมูลได้ง่าย รวดเรว็ และ เหมาะสมกับปัญหาการวิจยั ดงั แสดงในภาพท่ี 2.2 เลือกหวั ขอ้ เผยแพร่ กาหนดคาถาม การวิจัย กระบวนการวิจยั แปลความหมาย ออกแบบการวิจยั วเิ คราะห์ข้อมลู เกบ็ รวบรวมข้อมูล ภาพท่ี 2.2 กระบวนการวจิ ัยของนูแมน

 ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 37 มัทนิค และ เบรกิ ส์(Mutchnick and Berg,1998 :6)ไดน้ าเสนอกระบวนการวจิ ยั ใน ลกั ษณะวฏั จักรทค่ี ลา้ ยคลึงกับแนวคดิ ของนแู มนทีเ่ รม่ิ ต้นด้วยแนวคิดในการวจิ ัยของผู้วิจัย แลว้ ศกึ ษาค้นควา้ เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้องเกี่ยวกบั หลกั การ แนวคิดทฤษฎที ี่นามาสนบั สนุน แล้วจึงกาหนดสมมุติฐาน สร้างและพัฒนาเครื่องมือ/วธิ ีการ ออกแบบการวิจยั เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมูล สรปุ ผล และนาเสนอ เผยแพรผ่ ลการวิจัย ดังแสดงในภาพท่ี 2.3 การกล่นั กรองและ แนวคดิ ศึกษาเอกสาร/งานวิจัย คาถามวจิ ยั ใหม่ เผยแพร่ ทฤษฎี หลกั การ กระบวนการวจิ ยั การอุปนัย ผลสรุปและ สมมุตฐิ าน ขอ้ ค้นพบ การวิเคราะห์ กาหนดความหมาย จดั ระบบขอ้ มลู ออกแบบการวิจัย และการวดั เก็บรวบรวมขอ้ มลู ภาพที่ 2.3 กระบวนการวิจัยของมสั นคิ และเบรกิ ส์ จมุ พล สวัสดยิ ากร(2520 : 32) ได้นาเสนอกระบวนการวิจยั ที่เป็นระบบท่ีเรม่ิ ต้นจาก อุดมการณ์ หรอื แนวคิด จนกระท่ังได้ผลสรปุ การวจิ ยั มาเขียนรายงานการวิจัย ดังแสดงในภาพที่ 2.4