พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 101ประการน้ี แมไ มมคี นอื่นชักชวน ทา นก็เรยี กวา มนุษยธรรม เพราะเปน ธรรมทมี่ นุษย ผูเกดิ ความสังเวช มาทานดวยตนเองในทา ยแหง สันถันตรกัปป (กปั ปท่ีฆา ฟนกนั ดวยศาตราวธุ ). แตฌ านและวปิ สสนา มรรคและผล พงึ ทราบวา ยงิ่ ไปกวามนุษยธรรมนัน้ . บทวา อลมรยิ ญาณทสสฺนวเิ สส ความวา คุณวิเสสกลา วคอืญาณทสั สนะ อนั ควรแกพระอริยะท้ังหลาย หรือทส่ี ามารถทําใหเปน อรยิ ะ. จรงิ อยู ญาณน่ันแล พงึ ทราบวา ญาณเพราะอรรถวารู วา ทัสสนะ เพราะอรรถวา เหน็ . คําวาอลมริยญาณทสสฺ นวเิ สสนี้เปน ช่อื ของทิพพจกั ขุญาณ วปิ ส สนาญาณ มรรคญาณ ผลญาณและปจ จเวกขณญาณ. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๕ อรรถกถาสูตรท่ี ๖ ในสูตรที่ ๖ มีวินจิ ฉยั ดังตอไปน้ี :- บทวา อจฺโฉ แปลวา ไมมมี ลทิน. บาลวี า ปสนโฺ น (ใส)ดังนกี้ ค็ วร. บทวา วิปปฺ สนฺโน แปลวาใสดี. บทวา อนาวิโล แปลวาไมขนุ มัว อธิบายวา บริสุทธ์ิ. ทา นอธบิ ายไววา เวนจากฟองนาํ้สาหรา ย และจอกแหน. บทวา อนาวิเลน ไดแก ปราศจากนวิ รณ ๕.คาํ ทีเ่ หลือมนี ยั ดังกลา วแลว ในสูตรท่ี ๔ นนั่ แล. ในสูตรท้งั ๒ น้ีทา นกลาวท้งั วัฏฏะ ท้งั วิวัฏฏะน่นั แล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๖
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 129ทง้ั หลาย เม่อื บคุ คลไมส ันโดษ อกศุ ลธรรมที่ยังไมเกิด ยอ มเกดิ ข้นึและกุศลธรรมท่เี กดิ ขน้ึ แลว ยอ มเสือ่ มไป. [๖๖] ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย เรายอ มไมเลง็ เห็นธรรมอ่ืนแมอ ยางหนึง่ ทเี่ ปน เหตุใหกุศลธรรมท่ยี งั ไมเกดิ เกดิ ข้ึน หรืออกุศลธรรมทเี่ กดิ ข้นึ แลว เส่อื มไป เหมือนความสนั โดษ ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลายเม่ือบุคคลสนั โดษ กศุ ลธรรมทีย่ งั ไมเ กิด ยอมเกดิ ขนึ้ และอกุศลธรรมทเี่ กดิ ข้ึนแลว ยอมเสื่อมไป. [๖๗] ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย เรายอมไมเลง็ เหน็ ธรรมอ่นื แมอยางหนงึ่ ที่เปนเหตุใหอ กุศลธรรมที่ยงั ไมเกดิ เกดิ ข้ึน หรือกุศลธรรมท่ีเกดิ ขึ้นแลว เสอ่ื มไป เหมอื นการใสใ จโดยไมแ ยบคาย ดูกอนภิกษุทัง้ หลาย เม่อื บุคคลใสใ จโดยไมแยบคาย อกศุ ลธรรมที่ยงั ไมเ กดิยอมเกิดขึ้น และกศุ ลธรรมที่เกิดขน้ึ แลว ยอ มเสือ่ มไป. [๖๘] ดกู อ นภกิ ษุท้ังหลาย เรายอ มไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอืน่ แมอยางหนงึ่ ทเ่ี ปน เหตใุ หกศุ ลธรรมท่ยี ังไมเกิด เกดิ ขึ้น หรอื อกุศลธรรมที่เกิดขึน้ แลว เสอ่ื มไป เหมือนการใสใจโดยแยบคาย ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย เมอ่ื บคุ คลใสใจโดยแยบคาย กุศลธรรมท่ยี ังไมเกดิ ยอมเกดิ ขน้ึ และอกศุ ลธรรมท่เี กดิ ขน้ึ แลว ยอมเส่อื มไป. [๖๙] ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย เรายอมไมเ ลง็ เห็นธรรมอน่ื แมอ ยา งหน่ึง ท่ีเปนเหตุใหอ กุศลธรรมที่ยังไมเ กิด เกิดขึ้น หรือกศุ ลธรรมที่เกิดข้ึนแลว เสอื่ มไป เหมอื นความเปนผูไมรูส กึ ตัว ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย เมอ่ื บุคคลไมรสู กึ ตัว อกศุ ลธรรมท่ียังไมเ กิด ยอ มเกดิ ขึน้และกุศลธรรมที่เกิดขึน้ แลว ยอ มเส่อื มไป
พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 130 [๗๐] ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย เรายอมไมเ ล็งเหน็ ธรรมอ่นื แมอ ยา งหนงึ่ ที่เปน เหตใุ หก ุศลธรรมท่ยี ังไมเ กดิ เกิดขน้ึ หรืออกศุ ลธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ แลว เส่ือมไป เหมือนความเปน ผรู ูสึกตัว ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลายเมอ่ื บุคคลรูสึกตัว กุศลธรรมทยี่ ังไมเ กดิ ยอมเกิดขึ้น และอกศุ ล-ธรรมทเ่ี กดิ ขึน้ แลว ยอ มเสือ่ มไป. [๗๑] ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย เรายอ มไมเล็งเหน็ ธรรมอน่ื แมอ ยา งหน่งึ ที่เปน เหตใุ หอกุศลธรรมทยี่ งั ไมเกิด เกดิ ขึ้น หรอื กุศลธรรมทเ่ี กิดข้ึนแลว เส่อื มไป เหมือนความเปนผูมีมิตรช่วั ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลายเมอ่ื บุคคลมีมิตรชั่ว อกศุ ลธรรมท่ียงั ไมเกดิ ยอ มเกิดข้นึ และกศุ ล-ธรรมทเ่ี กดิ ข้ึนแลว ยอ มเสอ่ื มไป. จบ วิริยารัมภาทวิ รรคที่ ๗
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 131 อรรถกถาวริ ยิ ารมั ภาทิวรรคท่ี ๗ อรรถกถาสูตรท่ี ๑ ในสูตรที่ ๑ แหงวรรคที่ ๗ มวี นิ จิ ฉัยดงั ตอไปนี้ :- บทวา วรี ยิ ารมฺโภ ไดแ ก ความรเิ รม่ิ ความเพียร คอื สมั มัปปธานซ่ึงมีกจิ อธบิ ายวา ความเปน ผมู คี วามเพยี รอันประคองไวบ ริบรู ณ. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๑ อรรถกถาสูตรที่ ๒ ในสตู รท่ี ๒ มีวินิจฉัยดงั ตอไปน้ี :- บทวา มหจิ ฺฉตา ไดแก ความโลภมาก ซึ่งทานหมายกลา วไววา ในธรรมเหลา นัน้ ความมักมากเปนไฉน ? ความปรารถนายิง่ ๆ ข้นึ ไป แหงภกิ ษผุ ูไ มส นั โดษดว ยจีวรบิณฑบาต เสนาสนะคิลานปจ จยั อนั เปน เภสัชชปรกิ ขาร ยง่ิ ข้นึ ๆ หรือดว ยกามคุณ ๕ความปรารถนา ความเปนแหง ความปรารถนา ความมักมากความกาํ หนดั ความกําหนดั มาก แหงจิตเหน็ ปานนีใ้ ด นเ้ี รียกวามหิจฉตา ความมกั มาก. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๒
พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 132 อรรถกถาสตู รท่ี ๓ ในสูตรท่ี ๓ มีวินจิ ฉัยดังตอไปน้ี :- บทวา อปปฺ จฉฺ ตา ไดแ ก ความไมโลภ. บทวา อปปฺ จฺฉสสฺไดแ กผูไมป รารถนา กใ็ นท่นี ้ี พยัญชนะ ดูเหมือนยงั มีสว นเหลอืคอื ยงั มีปรารถนาอยบู า ง สวนอรรถไมมสี วนเหลือ คือไมปรารถนาเลย. จรงิ อยู บุคคลน้ันทานเรียกวา ผูมคี วามปรารถนานอย เพราะภาวะทมี่ คี วามปรารถนามีประมาณนอยกห็ ามิได แตทานเรียกวามคี วามปรารถนานอย (มักนอ ย) เพราะไมม ีความปรารถนา คอืภาวะ ท่ีไมม ีความโลภ ทเี่ ขาสอ งเสพบอ ย ๆ นั่นแล. อีกอยางหนึ่ง ในท่ีนี้ พงึ ทราบความตางกนั ดงั นี้วา อตฺริจฉฺ ตาความปรารถนาเกนิ ปาปจฺฉตา ความปรารถนาลามก มหิจฉฺ ตาความมักมาก. ใน ๓ อยางนัน้ ความไมอม่ิ ในลาภของตนยงั ปรารถนาในลาภของผูอ ืน่ ชอ่ื วา ความปรารถนาเกนิ . สาํ หรับผปู ระกอบดว ยความปรารถนาเกิดนั้น แมขนมสุกในภาชนะหนง่ึ เขาใสไวในภาชนะของตน ยอมปรากฏ เหมอื นขนมทส่ี ุกไมด ี และเหมอื นมนี อยขนมน้นั นั่นแล เขาใสใ นภาชนะของคนอ่นื ปรากฏเหมือนสุกดีและเหมือนมีมาก. ความประกาศคุณท่ไี มม อี ยู และความไมร ูจ ักประมาณในการรับ ชือ่ วา ความปรารถนาลามก. ความปรารถนาลามกแมน ั้น มาแลว ในอภธิ รรม โดยนัยมีอาทวิ า คนบางคนในโลกน้ีเปนผไู มม ศี รัทธา ยอมปรารถนาวา ขอชนจงรจู กั เราวา เปน ผูมีศรัทธา. บุคคลผปู ระกอบดว ยความปรารถนาลามกน้นั ยอ ม
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 133ต้ังอยูในความหลอกลวง. สวนความประกาศคุณที่มีอยู และความเปนผูไมรจู ักประมาณในการรับ ชื่อวา เปน ผูม คี วามมกั มาก. ความมกั มากแมน ้ันกม็ าแลว โดยนยั นเ้ี หมือนกันแหละวา คนบางคนในโลกนี้ เปนผูมีศรทั ธา ยอ มปรารถนาวา ขอชนจงรูจกั เราวา เปนผมู ีศรทั ธา. บางคนเปนผูมีศลี ยอมปรารถนาวา ขอชนจงรจู ักเราวา เปน ผูมีศีล. บคุ คลผูป ระกอบดวยความมกั มากนนั้ เปนผูอิ่มไดย าก. แมม ารดาผูบงั เกิดเกลา ก็ไมสามารถจะยดึ จติ ใจเขาได.ดวยเหตนุ ้นั ทานจงึ กลา วคาํ นไี้ ววา อคฺคกิ ฺขนโฺ ธ สนุทฺโทจ มหิจโฺ ฉ จาป ปคุ ฺคโล สกเฏน ปจฺจดย เทนตฺ ุ ตโยเปเต อตปฺปย า. กองไฟ ๑ สมทุ ร ๑ คนมักมาก ๑ ใหปจ จัยต้ัง เลมเกวียน ท้งั ๓ ประเภทน้นั ไมรูจักอืน่ .สวนการซอ นคุณทม่ี ีอยู ความเปน ผูร จู ักประมาณในการรบั ชือ่ วาความเปนผูมกั นอย. บุคคลผูประกอบดวยความเปนผมู ักนอยนั้นยอมปรารถนาวา ขอชนจงรูจกั เราวาเปนผูมีศรทั ธา เปนผูมีศีล ชอบสงดั เปนพหุสูต ผูปรารภความเพยี ร ถึงพรอ มดวยสมาธิ เปนผูมีปญญา เปน ขณี าสพ ยอมไมปรารถนาวา ขอชนจงรจู ักเราวาเปน พระขีณาสพ เหมือนพระมัชฌันตกิ เถระ ฉะนัน้ . ไดยินวา พระเถระ ไดเปน พระขณี าสพผใู หญ. แตบ าตรและจวี รของทา น มรี าคาเพยี งบาทเดยี วเทานั้น. ทานไดเปน พระสังฆเถระ ในวันฉลองวหิ าร ของพระเจา ธรรมาโศกราช. คร้งั น้ัน
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 134มนุษยท ้งั หลายเหน็ วา ทานเปน ผูปอนนัก จึงกลา ววา ทา นเจาขาขอทานจงอยูภายนอกสกั ครเู ถดิ . พระเถระคิดวา เมื่อพระขณี าสพเชนเรา ไมกระทาํ การสงเคราะหพ ระราชา คนอื่นใครเลา จักทาํ ไดดงั นี้แลวจึงดําลงในแผน ดนิ แลวผดุ ขึน้ รับกอนขาวทเ่ี ขายกขน้ึ เพ่ือพระสังฆเถระไดพอดี. ทา นเปน พระขีณาสพ ยอ มไมปรารถนาวาขอคนจงรูจักเราวา เปน พระขีณาสพ ดว ยประการอยา งน้.ี ก็แล ภกิ ษุผูมกั นอ ยอยา งน้ี ยอ มทําลาภที่ยังไมเกดิ ใหเกดิข้ึน หรอื ยอมทาํ ลาภท่เี กิดขน้ึ แลวใหมั่นคง ยอ มทาํ จติ ของทายกใหยนิ ดี. ภิกษุนั้นยอ มถอื เอาแตน อ ย เพราะความท่ีตนเปนผูมกั นอ ยโดยประการใด ๆ มนษุ ยทงั้ หลายเล่อื มใสในวตั รของทา น โดยประการน้ัน ๆ ยอมถวายเปนอนั มาก. ความมกั นอ ยแมอกี อยา ง มี ๔ ประการคือ มักนอยในปจ จยั ๑มกั นอ ยในธุดงค ๑ มกั นอยในปริยตั ิ ๑ มกั นอ ยในอธิคม ๑ บรรดาความมกั นอ ย ๔ อยางน้ัน ความมักนอยในปจจัย ๔ ชอ่ื วา มักนอยในปจจัย. ภิกษุนัน้ ยอ มรูกําลงั ของทายก ยอมรูกาํ ลงั ของไทยธรรมยอมรูกําลังของตน ถาไทยธรรมมีมาก ทายกประสงคจ ะถวายนอยยอ มรบั แตน อ ย ดวยอํานาจทายก, ไทยธรรมมีนอ ย ทายกประสงคจะถวายมาก ยอมรับแตน อ ย ดวยอํานาจไทยธรรม แมไทยธรรมมีมาก ทั้งทายกกป็ ระสงคจ ะถวายมาก ยอ มรูจกั กาํ ลงั ของตนแลวรบั แตพอประมาณ. ภิกษผุ ูไมป ระสงคจะใหค นอ่ืนรกู ารสมาทานธดุ งคแจม แจง พงึ ทราบเร่ืองเหลา นี้ เปนอุทาหรณ.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 135 เลากนั มาวา พระมหากุมารกสั สปเถระผถู อื โสสานกิ งั คธุดงคอยใู นปาชามาตลอด ๖๐ ป. ภกิ ษุอื่นแมแ ตร ูปเดียวกไ็ มร ู ดวยเหตุนน้ั แล ทา นจึงกลาววา เราอยูในปาชามาตลอด ๖๐ ปร วด ภิกษผุ เู ปน เพอื่ น ก็ไมรเู รา โอเราเปน ยอดของผูถือการอยู ปา ชา เปนวตั ร.พระเถระสองรปู พน่ี อ งกนั อยูทีเ่ จตยิ บรรพต. นองชายถอื เอาทอนออ ยทอี่ ุปฏ ฐากสงไปถวาย ไปสูสํานกั ของพ่ีชายกลาววา ทา นขอรับนมิ นตท านฉนั เถดิ . เวลาทพ่ี ดู เปน เวลาท่พี ระเถระกระทาํ ภัตตกจิเสรจ็ แลวบว นปาก. พระเถระกลา วา อยาเลยคณุ . นอ งชายกลา ววาทา นถอื เอกาสนิกังคธุดงคหรือขอรับ. พระเถระกลา ววา เอามาเถอะคุณ ทอ นออ ย แมถอื เอกาสนกิ งั คธดุ งคถงึ ๕๐ ก็ยงั ปกปดธดุ งคไว กระทําการฉนั แลว บว นปาก อธิ ษิ ฐานธดุ งคใ หมแ ลว ไป. ก็ภิกษุใด เปน เหมอื นพระสาเกตตสิ สเถระ ไมป รารถนาจะใหผูอ นื่รวู า ตนเปนพหุสูต ภกิ ษุ ชือ่ วา เปนผูมักนอยในปรยิ ตั ิ. ไดย ินวา พระเถระคิดวา เวลาไมมีจงึ ไมก ระทาํ โอกาสในอเุ ทศ (เรยี น) และปรปิ จุ ฉา (สอบถาม) ถกู ทกั ทว งวา ทา นขอรับเมือ่ ไรทา นจักไดมรณขณะ (เวลาตาย) จงึ สละหมู ไปยงั กณกิ ารวาลิกสมทุ รวหิ าร. ในท่นี นั้ ทา นไดม อี ปุ การะแกพ ระเถระ พระนวกะและพระมชั ฌิมะ ตลอดภายในพรรษา ในปวารณาในวนั อุโบสถ.ใหชาวชนบทแตกตื่นดวยธรรมมกี ถาแลวกไ็ ป.
พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 136 สวนภิกษใุ ดเปน พระอริยะชั้นใดชนั้ หน่ึงมพี ระโสดาบันเปนตนไมป รารถนาใหผ ูอ่ืนรูว า ตนเปน พระโสดาบนั เปน ตน ภกิ ษนุ ี้ ชอ่ื วาผมู คี วามปรารถนานอยในอธคิ ม เหมือนกลุ บตุ ร ๓ คน แลเหมอื นชางหมอ ช่ือฆฏีการะ. ก็ในอรรถน้ี แมป ถุ ุชนผศู ึกษาประกอบดว ยความไมโ ลภมกี ําลงั กลา ไดอาเสวนะแลว กพ็ ึงทราบวาเปนผูม ักนอ ย. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๓ อรรถกถาสตู รที่ ๔ ในสตู รท่ี ๔ มีวนิ ิจฉัยดงั ตอไปนี้ :- บทวา อสนฺตุฏิตา ไดแ ก ความโลภกลาวคอื ความไมส ันโดษอันเกดิ แกบคุ คลผูเ สพคบหา เขาไปนงั่ ใกล บคุ คลผูไมส ันโดษ. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๔ อรรถกถาสตู รท่ี ๕ ในสูตรท่ี ๕ มวี นิ ิจฉยั ดงั ตอ ไปนี้ :- บทวา สนตฺ ุฏติ า ไดแ ก ความสนั โดษกลา วคือความไมโลภอันเกิดแกบคุ คลผูเสพคบหา เขาไปนง่ั ใกล บคุ คลผสู นั โดษ. บทวา สนฺตุฏสสฺ ไดแกผปู ระกอบดวยความสันโดษในปจ จัยตามมีตามได ความสันโดษน้ันมี ๑๒ อยาง คือ ความสันโดษในจวี ร
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 137๓ อยาง คอื ยถาลาภสันโดษ ๑ ยถาพลสันโดษ ๑ ยถาสารุปปสันโดษ ๑. ในบิณฑบาตเปน ตน ก็เหมอื นกัน. สันโดษนนั้ มกี ารพรรณนาตามประเภทดังตอ ไปน้ี ภิกษุในพระศาสนาน้ี ไดจ วี รดหี รอืไมด กี ็ตาม เธอยงั อัตภาพใหเ ปน ไปดว ยจีวรนน่ั แล ไมป รารถนาจวี รอ่นื ถงึ ไดก็ไมร ับ นช้ี ่ือวา ยถาลาภสนั โดษในจวี รของภิกษนุ น้ั .ฝายภิกษุอกี รูปหน่ึง เปน ผูม ีกาํ ลงั ทรุ พลตามปกติ หรือถูกอาพาธและชราครอบงํา หมจวี รหนกั ยอ มลําบาก เธอเปล่ยี นจวี รนนั้ กบัภกิ ษุผชู อบพอกัน ถงึ จะยังอตั ภาพใหเ ปน ไปดว ยจีวรเบา ก็เปนผูสันโดษ. นี้ช่ือวา ยถาพลสนั โดษในจวี รของภิกษุน้ัน. ภิกษอุ กี รูปหนึง่ เปนผไู ดปจจยั ทีป่ ระณตี ไดจ วี รแผนผา ทนี่ าํ มาแตเ มืองโสมารเปนตน อยา งใดอยา งหนึง่ ท่ีมรี าคา ก็หรือวา ไดจีวรเปนอันมากใหไปดว ยคดิ วา จีวรนีส้ มควรแกพ ระเถระผูบวชนาน นี้สมควรแกภิกษุ ผเู ปนพหูสตู น้ีสมควรแกภิกษผุ เู ปนไข นสี้ มควรแกภ ิกษุผมู ีลาภนอ ย แลวจงึ เลอื กเอาจีวรเกา ของภกิ ษเุ หลา นน้ั หรือผาเปรอะเปอ นจากกองขยะ เปน ตน (หรอื ผา ตกตามรา นตลาด) กระทําเปน สงั ฆาฏิดว ยผา เหลา นน้ั แมครองเองกเ็ ปน ผูสนั โดษทีเดยี ว นี้ชอื่ วา ยถาสารุปปสันโดษ ของภิกษนุ น้ั . อนง่ึ ภิกษใุ นศาสนานไี้ ดบิณฑบาตอนั เศราหมองหรือประณตี เธอยอ มยงั อตั ภาพใหเปน ไปดว ยบณิ ฑบาตนั้นน่นั แล ไมป รารถนาบณิ ฑบาตอืน่ ถึงไดก ็ไมร ับน้ชี ่อื วา ยถาลาภสนั โดษของภกิ ษนุ ัน้ อนงึ่ ภกิ ษุใดบิณฑบาตท่ีแสลงตอปกตขิ องตน หรอื แสลงแกค วามปวยไข บรโิ ภคแลวไมผ าสกุ เธอใหบ ิณฑบาตน้นั แกภิกษุผชู อบพอกัน แลว ฉันโภชนะอันเปน สัปปายะจากมือของภิกษนุ ้นั แมกระทาํ สมณธรรมอยู กเ็ ปนผูส นั โดษแท
พระสุตตันตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 138นชี้ อ่ื วา ยถาพลสนั โดษ ในบณิ ฑบาตของภิกษุน้นั . ภกิ ษอุ ีกรปู หน่งึไดบ ณิ ฑบาตอนั ประณีตเปนอนั มาก เธอถวายบณิ ฑบาตนัน้ แกพระเถระผบู วชนาน ผเู ปน พหูสูต ผมู ลี าภนอ ย และผูเปนไข เหมอื นจีวร แมฉนั อาหารจากสํานักของภิกษุเหลา น้ัน หรอื อาหารทร่ี ะคนกนัเพราะเทีย่ วบณิ ฑบาตมา ก็ช่ือวา เปน ผสู ันโดษแท. นช้ี ือ่ วา ยถาสารปุ ป-สันโดษในบิณฑบาตของภกิ ษุนนั้ . อนง่ึ ภกิ ษุในพระศาสนานี้ ไดเสนาสนะท่ีนา ชอบใจ. หรอืไมน าชอบใจ. เธอไมใ หค วามดีใจเกดิ ขึน้ ไมใ หค วามขุนใจเกดิ ข้นึยอ มยนิ ดดี วยเสนาสนะ ตามทีไ่ ดเ ทา นน้ั โดยท่สี ุดแมเครอื่ งลาดทําดว ยหญา. น้ชี ือ่ วา ยถาลาภสันโดษในเสนาสนะของภกิ ษนุ น้ั . อน่งึ ภิกษุไดเ สนาสนะ. แสลงแกปกติของตน หรอื แสลงแกความเปน ไขของตน ซง่ึ เธออยู ไมมคี วามผาสุก เธอใหเ สนาสนะนัน้แกภกิ ษุผชู อบพอกนั แมจ ะอยใู นเสนาสนะอันเปนสัปปายะ กเ็ ปนผสู ันโดษแท นช้ี ่ือวา ยถาพลสนั โดษในเสนาสนะของภกิ ษุนั้น.ภิกษอุ กี รูปหนง่ึ มีบญุ มาก ไดเ สนาสนะอันประณีต เปน อนั มากมถี าํ้ มณฑป และเรือนยอดเปน ตน เธอถวายเสนาสนะแมเหลาน้นัแกพระเถระผบู วชนาน ผูพหสุ ตู ผมู ีลาภนอย และผูเปน ไขเ หมอื นดงั จีวร ถงึ จะอยใู นทีใ่ ดทหี่ นง่ึ ก็เปนผูสันโดษแท นี้ ชอ่ื วา ยถาสารปุ ป-สนั โดษในเสนาสนะของภกิ ษุนั้น. แมภิกษใุ ด พิจารณาวา ธรรมดาวา เสนาสนะ. อันดีที่สุด เปน ที่ตั้งแหงความประมาท ถนี มทิ ธะ ยอ มครอบงําสาํ หรบั ผนู ง่ั ในทน่ี ัน้ สาํ หรับผนู อนหลับแลว ตนื่ ข้ึน วิตก
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 139อนั ลามกยอมปรากฏ เธอไมรับเสนาสนะเชน นนั้ แมที่มาถึงแลวเธอปฏเิ สธเสนาสนะนนั้ ถงึ จะอยใู นกลางแจง มีอยูโ คนไมเ ปนตนกเ็ ปน ผูสนั โดษแท น้ีช่อื วา ยถาสารุปปสันโดษในเสนาสนะของภิกษนุ ้นั . อนง่ึ ภิกษุในพระศาสนานี้ ไดเภสชั อนั เศรา หมอง หรือประณีตเธอยอ มยินดีดว ยเภสชั ทตี่ นไดน น้ั น่นั แล ไมป รารถนาเภสัชอื่นถงึ จะไดก ็ไมรบั น้ชี ื่อวายถาลาภสนั โดษ ในคิลาปจจัยของภกิ ษุนน้ั .อนึง่ ภกิ ษใุ ด ตอ งการนา้ํ มนั กลับไดนํ้าออ ย แมเ ธอถวายน้ําออ ยนัน้ แกภกิ ษผุ ูช อบพอกนั ถอื เอานา้ํ มันจากมอื ของภกิ ษผุ ชู อบกันนัน้ หรอืแสวงหานา้ํ มันอืน่ กระทําเภสชั ก็เปนผูสนั โดษแท น้ชี ือ่ วายถาพลสันโดษในคิลานปจจัย ของภิกษนุ ้ัน ภกิ ษอุ กี รูปหน่งึ มีบุญมาก ไดเภสัชอนั ประณีต มีน้ํามนั และน้ําออยเปน ตน เปนอนั มากเธอถวายเภสชั นั้นแกพระเถระผูบ วชนาน ผพู หสู ูต ผมู ลี าภนอ ยและผูเปน ไข เหมอื นจีวร แมจะยงั อตั ภาพใหเปน ไปดวยเภสชั อยางใดอยา งหนึ่ง อนั เขานาํ มาแลวเพื่อภิกษุเหลา นนั้ กเ็ ปนผสู ันโดษแท.อนงึ่ ภิกษุใดเม่อื เขาใสสมอดองนํา้ มตู รลงในภาชนะหนงึ่ วางวตั ถุมีรสอรอ ย ๔ ลงในภาชนะหนง่ึ แลว พูดวาทานขอรบั ทา นตองการส่งิ ใด จงถือเอาส่ิงน้นั ไปเถดิ ถา โรคของเธอสงบไป แมดวยเภสัชทง้ั สอง ชนดิ ใดชนิดหนึ่งไซร เมือ่ เปน เชน นน้ั ชอื่ วา สมอดองนํ้ามูตรบัณฑติ ท้งั หลาย มีพระพทุ ธเจา เปน ตนสรรเสรญิ แลว จงึ ปฏเิ สธของมีรสอรอย ๔ อยาง แมก ระทาํ เภสัชดวยสมอดองน้ํามตู รกเ็ ปนผสู นั โดษอยา งยงิ่ นีช้ อื่ วา ยถาสารปุ ปสันโดษในคิลานปจจยั ของ
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 140ภิกษุนนั้ . ก็บรรดาสนั โดษ ๓ ในปจ จยั เฉพาะอยา งหนงึ่ ๆ นี้ ยถา-สารุปปสันโดษเปน เลิศ. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๕ อรรถกถาสตู รท่ี ๖ - ๗ ในสตู รท่ี ๖ - ๗ มีวินจิ ฉัยดงั ตอไปน้ี :- อโยนิโสมนสกิ าร และโยนิโสมนสิการ มีลกั ษณะดงั กลาวแลวในหนหลงั และคําทีเ่ หลือในสูตรนี้มเี นื้อความงา ยทง้ั นน้ั แล. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๖ - ๗ อรรถกถาสตู รที่ ๘ ในสูตรท่ี ๘ มีวินิจฉยั ดงั ตอ ไปน้ี :- บทวา อสมฺปชฺ ไดแก ความไมรตู ัว. คาํ วาอสมฺปชฺ นี้ เปนช่อื ของโมหะ. บทวา อสฺปชานสสฺ ไดแ ก ผไู มรูตัว คือผหู ลง. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๘
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 141 อรรถกถาสตู รที่ ๙ ในสูตรที่ ๙ มวี นิ ิจฉยั ดงั ตอ ไปนี้ :- บทวา สมฺปชฺ ไดแ ก ความรูตัว. บทวา สมปฺ ชฺ น้ีเปนช่อื แหง ปญญา. บทวา สมปฺ ชานสสฺ ไดแกผรู ตู ัวอยู. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๙ อรรถกถาสูตรที่ ๑๐ ในสูตรที่ ๑๐ มีวินจิ ฉัยดงั ตอไปน้ี :- บทวา ปาปมิตฺตตา ความวา มติ รชั่ว คอื ลามก มอี ยูแกผใู ดผนู นั้ ช่ือวา มีมิตรชวั่ . ความมีมติ รช่วั ชื่อวา ปาปมิตตตาความเปนผมู ีมติ รชว่ั . คาํ วา ปาปมติ ตตา นี้ เปนชือ่ ของขนั ธ ๔ที่เปน ไปโดยอาการนั้น. สมจรงิ ดงั คาํ ที่ทา นกลา วไวว า ในบรรดาธรรมเหลานนั้ ความเปน ผูมีมติ รชวั่ เปน ไฉน ? บคุ คลเหลาใด เปนผไู มมศี รทั ธา เปน ผทู ุศีล เปนผมู สี ขุ นอย เปน ผูตระหนี่ เปนผูมีปญ ญาทราม การเสพ การอาศัยเสพ การสอ งเสพ การคบหาการสมคบ ความภักดี ความจงรัก บคุ คลเหลา น้ัน ความมบี ุคคลเหลา นนั้เปนเพ่อื นน้ี เรียกวา ความเปน ผมู มี ิตรชัว่ . จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑๐ จบ อรรถกถาวริ ยิ าภมั ภาทวิ รรคท่ี ๗
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 142 กลั ยาณมิตตตาทิวรรคท่ี ๘ วาดวยความมีมิตรดีเปนเหตใุ หกุศลธรรมเกิดขนึ้ เปนตน [๗๒] ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย เรายอมไมเลง็ เหน็ ธรรมอ่ืนแมอ ยา งหนง่ึ ท่เี ปน เหตุใหกุศลธรรมท่ียงั ไมเ กดิ เกิดข้ึน หรืออกศุ ลธรรมท่ีเกดิ ขึ้นแลว เสอื่ มไป เหมือนความเปน ผูมีมิตรดี ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลายเม่ือบุคคลมีมติ รดี กศุ ลธรรมท่ยี งั ไมเกดิ ยอ มเกิดขนึ้ และอกศุ ลธรรมทเ่ี กิดข้นึ แลว ยอ มเสือ่ มไป. [๗๓] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เรายอ มไมเลง็ เหน็ ธรรมอ่นื แมอยา งหน่งึ ทเี่ ปน เหตุใหอกศุ ลธรรมทย่ี งั ไมเ กดิ เกดิ ขน้ึ หรอื กศุ ลธรรมทีเ่ กิดขนึ้ แลว เสอ่ื มไป เหมือนการประกอบอกศุ ลธรรมเนอื ง ๆไมป ระกอบกศุ ลธรรมเนอื ง ๆ ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย เพราะการประกอบอกุศลธรรมเนือง ๆ เพราะการไมป ระกอบกุศลธรรมเนือง ๆ อกุศลธรรมทีย่ ังไมเกิด ยอมเกดิ ขน้ึ และกศุ ลธรรมทเ่ี กดิขนึ้ แลว ยอมเสอ่ื มไป. [๗๔] ดกู อนภิกษุทงั้ หลาย เรายอ มไมเ ลง็ เห็นธรรมอ่ืนแมอ ยางหน่งึ ทีเ่ ปนเหตใุ หกศุ ลธรรมท่ยี งั ไมเ กิด เกิดขึน้ หรืออกศุ ลธรรมที่เกดิ ข้นึ แลว เส่อื มไป เหมือนการประกอบกุศลธรรมเนือง ๆการไมประกอบอกุศลเนอื ง ๆ ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย เพราะการประกอบกศุ ลธรรมเนอื ง ๆ เพราะการไมป ระกอบอกศุ ลธรรม
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 143เนอื ง ๆ กุศลธรรมท่ียังไมเ กดิ ยอมเกิดข้ึน อกศุ ลธรรมทีเ่ กดิ ข้ึนแลว ยอ มเสอื่ มไป. [๗๕] ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย เรายอ มไมเล็งเห็นธรรมอื่นแมอ ยางหน่งึ ทีเ่ ปนเหตใุ หโพชฌงคทีย่ ังไมเกดิ ไมเกดิ ขึน้ หรือโพชฌงคท เี่ กิดขนึ้ แลว ยอ มไมถ งึ ความเจรญิ บริบรู ณ เหมือนการใสใ จโดยไมแยบคาย ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย เม่อื บคุ คลใสใ จโดยไมแยบคายโพชฌงคท่ียังไมเกิด ยอมไมเ กิดขึน้ และโพชฌงคท ่เี กิดข้ึนแลวยอ มไมถึงความเจรญิ บริบรู ณ. [๗๖] ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย เรายอ มไมเ ล็งเหน็ ธรรมอนื่ แมอยางหน่งึ ที่เปนเหตใุ หโพชฌงคที่ยงั ไมเกดิ เกดิ ข้ึน หรอื โพชฌงคท เี่ กดิข้นึ แลว ยอมถงึ ความเจริญบริบูรณ เหมือนการใสใจโดยแยบคายดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมอื่ บุคคลใสใ จโดยแยบคาย โพชฌงคทีย่ งั ไมเกดิยอมเกิดขนึ้ ละโพชฌงคท ี่เกิดขน้ึ แลว ยอ มถงึ ความเจรญิ บรบิ ูรณ [๗๗] ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย ความเส่ือมญาตมิ ปี ระมาณนอ ยความเส่อื มปญญาช่วั รา ยที่สุดกวาความเสอ่ื มทั้งหลาย. [๗๘] ดูกอนภกิ ษทุ งั้ หลาย ความเจริญดวยญาตมิ ปี ระมาณนอย ความเจรญิ ดวยปญ ญาเลิศกวาความเจริญทง้ั หลาย เพราะฉะน้ันแหละ เธอทงั้ หลายพึงสําเนยี กอยางน้ีวา เราทั้งหลายจกัเจรญิ ดว ยปญ ญา ดกู อนภกิ ษุท้ังหลาย เธอทงั้ หลายพงึ สําเนียกอยางนีแ้ ล.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 144 [๗๙] ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย ความเสื่อมแหง โภคะมีประมาณนอย ความเส่อื มแหง ปญญาชวั่ รา ยท่สี ดุ กวาควานเส่ือมท้ังหลาย. [๘๐] ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย ความเจรญิ ดวยโภคะมีประมาณนอย ความเจรญิ ดวยปญ ญาเลศิ กวาความเจรญิ ท้งั หลาย เพราะฉะน้ันเธอทั้งหลายพงึ สําเนยี กอยา งนว้ี า เราท้งั หลายจักเจรญิ โดยความเจรญิ ปญ ญา ดกู อนภิกษทุ ้งั หลาย เธอทงั้ หลายพงึ สาํ เนยี กอยา งน้ีแล. [๘๑] ดูกอนภกิ ษทุ ้ังหลาย ความเส่อื มยศมีประมาณนอ ยความเสอื่ มปญ ญาชว่ั รายท่สี ุดกวาความเส่อื มท้ังหลาย. จบ กลั ยาณมิตตตาทิวรรคท่ี ๘
พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 145 อรรถกถากลั ยาณมติ ตตาทวิ รรคที่ ๘ อรรถกถาสตู รที่ ๑ สูตรท่ี ๑ แหง วรรคที่ ๘ มีวนิ ิจฉัยดังตอไปน้ี :- บทวา กลยฺ าณมิตตฺ ตา ความวา ชอ่ื วากลั ยาณมติ ร เพราะมีมิตรดี ภาวะแหงความเปนผมู กี ัลยาณมติ รน้ัน ชือ่ วา กลั ยาณมติ ตตาความเปน ผูมีมติ รดี. คําทเ่ี หลือพึงทราบโดยนยั ท่ีตรงกนั ขา มกบั คาํดงั กลา วน้ี. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑ อรรถกถาสูตรท่ี ๒ ในสตู รท่ี ๒ มีวินจิ ฉัยดงั ตอ ไปนี้ :- บทวา อนโุ ยโค ไดแก การประกอบ การประกอบทัว่ . บทวาอนนโุ ยโค ไดแ ก การไมป ระกอบ การไมป ระกอบทวั่ . บทวาอนุโยคา แปลวา เพราะการประกอบเนือง ๆ. บทวา อนนโุ ยคาแปลวา เพราะไมป ระกอบเนอื ง ๆ. บทวา กุสลาน ธมฺมาน ไดแ กกศุ ลธรรมอนั เปน ไปในภมู ิ ๔. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๒ อรรถกถาสตู รที่ ๓ ในสตู รท่ี ๓ มีเน้อื ความงายทง้ั นัน้ . จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๓
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 146 อรรถกถาสูตรที่ ๔ ในสูตรท่ี ๔ มีวนิ ิจฉยั ดังตอ ไปนี้ :- บทวา โพชฌฺ งคฺ า ไดแ ก ธรรม ๗ ประการ อนั เปน องคค ุณของสัตวผตู รสั รู. อีกอยางหน่ึง ชือ่ วา โพชฌงคเ พราะเปน องคแหงธรรมสามัคคีเคร่ืองตรัสรอู ันเปน เหตอุ อกจากวฏั ฏะ หรอื ทาํ ใหแ จงสจั จะ ๔ ของสตั วผ ูต รัสรนู ั้น. บทวา โพชฺฌงฺคา ความวา ชอ่ื วาโพชฌงค ดว ยอรรถวากระไร ? ทช่ี อ่ื วาโพชฌงค เพราะเปนองคแหง ธรรมสามคั คเี ครือ่ งตรัสรู ชอ่ื วาโพชฌงค เพราะองคแหงธรรมสามัคคเี คร่อื งตรัสรตู าม. ชอ่ื วา โพชฌงค เพราะเปน องคแหง ธรรมสามัคคเี ครอื่ งตรัสรเู ฉพาะ. ช่ือวา โพชฌงค เพราะเปนองคแ หงธรรมสามคั คเี ครอ่ื งตรสั รูพ รอม. ชื่อวา โพชฌงค เพราะเปนไปพรอ ม ดวยปญญาเครือ่ งตรสั ร.ู ก็บท (วาโพชฌงค) นี้ ทานจําแนกไวแลว ดว ยประการฉะนี้. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๔ อรรถกถาสูตรท่ี ๕ ในสตู รที่ ๕ มีวินิจฉยั ดงั ตอไปนี้ :- ดว ยบทนีว้ า ภาวนาปารปิ ูรึ คจฉฺ นฺติ ยอ มถงึ ความเจรญิเตม็ ท่ี ดงั น้ี ทา นกลา วถงึ ภมู พิ รอมดว ยกจิ ตามความเปน จรงิ แหง
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 147โพชฌงค. กภ็ มู ินีน้ น้ั มี ๔ อยา ง คือวิปสสนา ๑ ฌานทเี่ ปน บาทแหงวปิ ส สนา ๑ มรรค ผล ๑ ใน ๔ อยางนั้น ในเวลาท่ีเกิดในวิปสสนา โพชฌงค จัดเปนกามวจร. ในเวลาทเ่ี กดิ ในฌานอันเปนบาทของวปิ ส สนา โพชฌงค เปนรปู าวจร และอรูปาวจร. ในเวลาท่เี กิดในมรรคและผล โพชฌงคเ ปนโลกตุ ตระ. ดงั นั้น ในสูตรนี้ทานจึงกลา วโพชฌงคว า เปนไปในภมู ทิ ัง้ ๔. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๕ อรรถกถาสูตรท่ี ๖ ในสตู รท่ี ๖ มีความยอเหตทุ ี่เกดิ เร่ือง ก็ในเหตุทเี่ กิดเรอื่ งทานตงั้ เร่ืองไวด งั ตอ ไปน้ี :- ภิกษมุ ากรปู นั่งประชุมกนั ในโรงธรรม ทานเกดิ สนทนาปรารภพนั ธุลมลั ลเสนาบดีขึ้นในระหวา ง ดังน้วี า อาวุโส ตระกลู ช่ือโนนเมอื่ กอ น ไดมีหมญู าตเิ ปนอันมาก มีสมัครพรรคพวกมาก บดั น้ีมีญาตนิ อ ย มีสมคั รพรรคพวกนอย. ลาํ ดับน้ัน พระผูมพี ระภาคเจาทรงทราบวาระจติ ของภกิ ษุเหลา นนั้ ทรงทราบวา เมือ่ เราไป(ทน่ี น้ั ) จักมเี ทศนก ณั ฑใหญจงึ เสด็จออกจากพระคนั ธกุฎี ประทบัน่งั บนบวรพทุ ธอาสน ที่เขาตกแตงไวใ นโรงธรรม แลวตรัสวาภิกษทุ ัง้ หลาย บัดนี้พวกเธอนั่งประชุมดวยเรือ่ งอะไรกนั . พวกภิกษุกราบทูลวา ขา แตพ ระผมู พี ระภาคเจา เร่อื งคามนิคมเปน ตนอยางอ่นื ยอมไมม ี แตตระกลู ชอื่ โนน เมอื่ กอนมีญาติมาก มีสมัคร
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 148พรรคพวกมาก บดั นี้ มญี าตินอ ย มสี มคั รพรรคพวกนอย พวกขาพระองค น่ังประชมุ สนทนากันดงั น.้ี พระศาสดาทรงปรารภสูตรน้ีวา กอ นภกิ ษุทงั้ หลาย ความเสื่อมนม้ี ปี ระมาณนอ ย ดังนี้ในเมื่อเกิดเรื่องน้.ี บรรดาบทเหลานั้น บทวา อปปฺ มตตฺ กิ า ไดแกนอย คอื มีประมาณนอย. จรงิ อยู ดว ยความเสอ่ื มน้ี ทา นกลา วคาํ มีอาทิวาความเสอื่ มจากสวรรค หรอื จากมรรคยอ มไมมี นั้นเปนเพียงความเส่ือมในปจจุบนั เทา นน้ั . บทวา เอต ปตกิ ิฏ ความวา นเี้ ปนของทเ่ี ลวรา ย นเ้ี ปน ของตาํ่ ทราม. บทวา ยททิ ปฺาปริหานิ ความวาความเส่อื มแหงกัมมสั สกตปญ ญา ฌานปญญา วิปสสนาปญ ญามรรคปญญา และ ผลปญญา ในศาสนาของเรา เปน ความเสื่อมท่ีเลวราย เปน ความเส่ือมท่ีตาํ่ ทราม เปนความเส่ือมท่คี วรละทิ้งเสยี . จบ อรรถกถาสตู รที่ ๖ อรรถกถาสตู รที่ ๗ ในสูตรท่ี ๗ ทา นกลา วไวแลว ในเหตุเกดิ เรื่องเหมอื นกนั .ไดย ินวา บรรดา ภกิ ษุสงฆ ผูน ่งั ประชมุ กนั ในโรงธรรม บางพวกกลา วอยา งนวี้ า ตระกูลชอ่ื โนน เมอื่ กอ นมญี าตินอย พวกนอ ย บดั น้ีตระกลู นนั้ มีญาตมิ าก มีพวกมาก หมายเอาตระกูลนน้ั จึงกลาวอยางนี้แล. คือ หมายถงึ นางวสิ าขาอุบาสกิ า และเจาลิจฉวใี นกรงุ เวสาลี. พระศาสดา ทรงทราบวาระจติ ของภิกษเุ หลา น้ัน จึง
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 149เสด็จมาโดยนยั กอนนน่ั แล ประทับนงั่ บนธรรมาสน ตรสั ถามวาภกิ ษทุ ้งั หลาย พวกเธอนั่งสนทนากันดว ยเรอ่ื งอะไร ? ภิกษเุ หลานนั้กราบทลู ใหทรงทราบตามความเปน จรงิ แลว. พระศาสดาทรงเรม่ิพระสตู รนเี้ พ่ือเหตเุ กดิ เรอื่ งน.้ี บรรดาบทเหลานนั้ บทวา อปปฺ มตฺตกิ า ความวา ชอื่ วา นอยเพราะไมม ีผอู าศยั สมบตั ินนั้ แลว ถงึ สวรรคห รือมรรคได. บทวายททิ ปฺาวฑุ ฺฒิ ไดแ กค วามเจริญแหงกัมมสั สกตปญ ญาเปน ตน.บทวา ตสมฺ า ความวา เพราะช่ือวา ความเจริญแหงญาติเปน เพยี งปจจุบันเปน เรอื่ งเลก็ นอ ย ไมส ามารถใหถ งึ สวรรค หรือมรรคได.บทวา ปญฺ าวฑุ ฺฒิยา ไดแ ก ดว ยความเจริญแหง ปญญา มีกัมมสั สกต-ปญ ญาเปนตน. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๗ อรรถกถาสูตรที่ ๘ สูตรท่ี ๘ ทานกลา วไวในเหตุเกดิ เรื่องเหมือนกัน. ไดย ินวาภิกษมุ ากรปู นง่ั ประชุมกนั ในโรงธรรม ปรารภบุตรของเศรษฐีผูมที รพั ยมากกลา ววา ตระกลู ชือ่ โนน เมอื่ กอ นมโี ภคะมาก มเี งนิและทองมาก บัดน้ีตระกลู นัน้ กลับมโี ภคะนอย. พระศาสดาเสด็จมาโดยนัยกอนนนั่ แหละ ทรงสดับคาํ ของภกิ ษุเหลาน้นั แลว จงึ ทรงเรมิ่ พระสูตรน.ี้ จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๘
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 150 อรรถกถาสูตรท่ี ๙ แมใ น สตู รที่ ๙ ทานก็กลา วไว ในเหตเุ กดิ เรอื่ งเหมอื นกันไดยินวา พวกภกิ ษุนง่ั ประชมุ กนั ในโรงธรรม ปรารภกากวลยิเศรษฐีและปณุ ณเศรษฐี กลา ววา ตระกูลชื่อโนน เมื่อกอ นมีโภคะนอย บดั น้ีตระกลู เหลานั้นมีโภคะมาก. พระศาสดาเสด็จมาโดยนยักอ นนน่ั แล ทรงสดับของภิกษุเหลา นนั้ จงึ เริ่มพระสตู รน้ี. คําท่ีเหลือ ในสูตรทัง้ ๒ นี้ พึงทราบโดยนยั ดงั กลาวในหนหลังนน่ั แล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๙ อรรถกถาสตู รท่ี ๑๐ แมส ตู รที่ ๑๐ ทา นกลา วไวแ ลวในเหตเุ กิดเรื่องเหมือนกนั .ไดยินวา ภกิ ษุทงั้ หลายในโรงธรรมปรารภพระเจาโกศลมหาราชกลา ววา ตระกูลชอื่ โนน เมอ่ื กอนมียศมาก มีบริวารมาก บดั น้ีมยี ศนอย มบี รวิ ารนอ ย พระศาสดาเสด็จมาโดยนัยกอ นนนั่ แล ทรงสดับคาํ ของภกิ ษุเหลานั้น จงึ เริ่มเทศนาน.้ี คําทเ่ี หลือพงึ ทราบโดยนยั ดังกลาวแลวนนั่ แล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๑๐ จบ อรรถกถากลั ยาณมติ ตตาทวิ รรคท่ี ๘
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: