พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 451เปน ตน ไมน านนกั ไดฟ ง ธรรมกถาของทา นพระปุณณมันตานีบตุ รกด็ าํ รงอยูใ นโสดาปตตผิ ล. กส็ มัยนั้นแล พระผูมีพระภาคเจา ทรงมีอปุ ฏ ฐากไมป ระจาํ ถึง๒๐ ปใ นปฐมโพธกิ าล บางคราวทานพระนาคสมาล ถอื บาตรจีวรตามเสดจ็ บางคราว ทา นพระนาคติ ะ บางคราว ทานพระอปุ วานะ บางคราวทา นพระสนุ ัขกขัตตะ บางคราว ทา นจนทะ สมณุทเทส บางคราว ทา นพระสาคตะ บางคราว ทา นพระราธะ บางคราวทานพระเมฆิยะบรรดาพระอุปฏฐากไมประจาํ เหลาน้ัน ครัง้ หนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาเสด็จเดนิ ทางไกลกบั พระนาคสมาลเถระ ถึงทางสองแพรง พระเถระลงจากทางทลู วา ขาแตพ ระผูมีพระภาคเจา ขา พระองคจะไปทางน้ีลําดบั นัน้ พระผมู พี ระภาคเจาตรัสกะทา นวา มาเถดิ ภกิ ษุ เราจะไปกันทางนี้ พระเถระทูลวา ขา แตพ ระผูมพี ระภาคเจา ขอพระองคท รงถอืทางพระองคเ ถิด ขาพระองคจ ะไปทางน้ี แลว เร่มิ จะวางบาตรจีวรลงทพี่ นื้ ดนิ พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา เอามาสิภิกษุ ทรงรับบาตรจีวรแลว เสด็จดาํ เนินไป เม่ือภกิ ษุรปู นนั้ เดินทางไปตามลําพัง พวกโจรกช็ ิงบาตรจวี รและตศี รี ษะแตก ทา นคดิ วา บัดนีก้ ็มแี ตพ ระผูม ีพระภาคเจาเปน ท่ีพ่ึงของเราได ไมมผี อู น่ื เลย แลวมายงั สํานักพระผูมีพระภาคเจาท้งั ทโ่ี ลหติ ไหล เม่อื พระผูมีพระภาคเจาตรสั ถามวา น่ีอะไรกนั ละภิกษุก็ทลู เร่อื งราวถวาย พระผูมีพระภาคเจาตรัสปลอบวา อยา คดิ เลย ภกิ ษุเราหา มเธอ ก็เพราะเหตุอันน้นั นน่ั แหละ อนงึ่ ครัง้ หนงึ่ พระผมู พี ระภาค-เจา เสดจ็ ไปยงั บานชันตุคาม ใกลปาจีนวงั สมฤคทายวนั กบั พระเมฆยิ -เถระ แมใ นที่น้นั พระเมฆิยะเทย่ี วบณิ ฑบาตไปในชนั ตุคาม พบสวนมะมว งนาเลอ่ื มใส ริมฝง แมนา้ํ ก็ทูลวา ขา แตพ ระผูมพี ระภาคเจา
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 452ขอพระองคโปรดรบั บาตรจีวรของพระองคเ ถดิ ขา พระองคจะทาํสมณธรรม ทปี่ ามะมวงน้นั แมถกู พระผมู ีพระภาคเจาทรงหา มสามครง้ัก็ยงั ไป ถูกอกศุ ลวติ กเขาครอบงาํ กก็ ลับมาทูลเรอื่ งราวถวาย พระผ-ูมีพระภาคเจาตรสั กะทา นวา เรากาํ หนดถึงเหตขุ องเธออนั นีแ้ หละจึงหา ม แลวเสด็จดําเนินไปยังกรุงสาวตั ถีตามลาํ ดับ ณ กรุงสาวตั ถีน้ัน พระผมู ีพระภาคเจา ประทับนั่งเหนือพทุ ธอาสนอันประเสรฐิ ทเ่ี ขาจัดไวบ ริเวณพระคันธกฎุ ี อันภกิ ษุสงฆแ วดลอมแลวเรียกภิกษุทั้งหลายมาแลว ตรัสวา ดูกอนภกิ ษุท้งั หลาย บัดนีเ้ ราแกลงภิกษบุ างพวกกลาววา ขา พระองคจะไปทางนแี้ ลวก็ไปเสียอกี ทางหนง่ึบางพวกกว็ างบาตรจีวรของเราไวบ นพน้ื ดิน พวกเธอจงชว ยกันเลอื กภกิ ษุอปุ ฏฐากประจาํ ใหแ กเ ราเถิด. ภกิ ษทุ งั้ หลายเกิดธรรมสังเวช.ครั้งนั้นทา นพระสารบี ุตร ลุกจากอาสนะถวายบังคมพระผมู พี ระภาคเจาทูลวา ขา แตพระองคผูเ จรญิ ขา พระองคเมือ่ ปรารถนาพระองค พระองคเดียว จงึ บาํ เพญ็ บารมที ัง้ หลาย สิน้ อสงไขยกําไรแสนกัป ผมู ปี ญ ญามาก เชนขาพระองค ช่ือวา เปนอุปฏฐาก ก็ควรมิใชห รอื ขาพระองคจะอุปฏฐากละ พระผมู ีพระภาคเจาตรัสหามทานวา อยาเลย สารีบตุ รเราอยทู ศิ ใด ทิศน้นั ก็ไมวา งเลย โอวาทของทานกเ็ หมือนโอวาทของพระพุทธเจาท้ังหลาย กิจที่ทา นจะอปุ ฏ ฐากเรา ไมมีดอก พระอสตี มิ หา-สาวก ตั้งตนแตท านพระโมคคลั ลานะ กล็ ุกข้ึนโดยอบุ ายนน้ั เหมอื นกนัพระผูมพี ระภาคเจา ก็ทรงหามเสียสิน้ . สวนพระอานนทเถระนัง่ น่งิ เลย.ลําดบั นน้ั ภกิ ษุท้ังหลายกลา วกะทา นพระอานนทว า ทา นอานนท ภิกษุ-สงฆทลขอตาํ แหนง อปุ ฏ ฐากกนั แมทานกจ็ งทลู ขอส.ิ ทา นพระอานนท-เถระ กลา ววา ทา นผูม อี ายุ ธรรมดาวา ตําแหนงทีท่ ลู ขอไดแ ลว เปน
พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 453เชนไรเลา พระศาสดาไมท รงเห็นกระผมหรอื ถา พระศาสดาจกั ทรงชอบพระทัย กจ็ ักตรัสวา อานนทจงอุปฏฐากเราดงั น้.ี ลําดับน้ัน พระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย อานนทไมต อ งมีผูอน่ื ชวนใหอ ุตสาหะดอก จกั รูต วั เองแหละแลว อุปฏฐากเรา. ตอนนั้ ภิกษทุ ัง้ หลายกลา ววา ลกุ ขึน้ สิอานนท ทูลขอตําแหนงอุปฏฐากกะพระทศพล. พระเถระลกุ ขึน้ แลว ทูลขอพร ๘ ประการ คอื สวนทข่ี อหา ม ๔สว นทข่ี อรอ ง ๔ พระเถระทลู วา ชื่อวาพรสว นทีข่ อหา ม ๔ คอื ขา แตพระองคผูเจรญิ ถาพระผมู ีพระภาคเจาจักไมประทานจวี รจักไมประทานบณิ ฑบาต อันประณตี ทพี่ ระองคทรงไดม าแลวแกขาพระองคจกั ไมประทานใหข าพระองคอ ยใู นพระคันธกฎุ ีเดียวกนั กบั พระองคจกั ไมท รงพาขา พระองคไ ปในท่นี ิมนต อยา งน้ี ขา พระองคจ กั อุปฏฐากพระผมู พี ระภาคเจา เม่อื ตรสั ถามวา อานนท เธอเหน็ โทษอะไรในขอ นี้จึงทูลวา ขาแตพระองคผ ูเจริญ ถาขา พระองคจักไดว ตั ถปุ ระสงคเหลา นี้ไซร จักมีผูกลาวไดวา อานนทบรโิ ภคจวี ร บรโิ ภคบณิ ฑบาตอนั ประณตี อยใู นพระคันธกฎุ ีเดยี วกนั ไปสูท ่นี ิมนตเดยี วกนั กบั พระ-ทศพล เม่ือไดลาภน้จี ึงอุปฏฐากพระตถาคต หนา ทีข่ องผูอ ปุ ฏ ฐากอยางนี้จะมอี ะไร เพราะฉะนน้ั ทา นจึงทลู ขอพรสวนที่ขอหาม ๔ ประการเหลาน้ี พระเถระทลู วา พรสวนทขี่ อรอ ง ๔ คอื ขาแตพระองคผูเจริญพระผมู ีพระภาคเจา จักเสดจ็ ไปสทู น่ี ิมนตท ขี่ า พระองคร ับไว ถาขา-พระองคจ ะพาคนท่มี าแตรฐั ภายนอก ชนบทภายนอก เขา เฝา ไดในขณะทเี่ ขามาแลว ขณะใด ขาพระองคเ กดิ ความสงสัย ขณะนนั้ ขา-พระองคเขา เฝา พระผูม พี ระภาคเจาได พระผูมพี ระภาคเจาทรงแสดงธรรมใดลับหลังขา พระองค จักเสด็จมาตรสั ธรรมนั้นแกขา พระองค
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 454อยางนี้ ขา พระองคจึงจักอุปฏ ฐากพระผมู พี ระภาคเจา เมือ่ ตรัสถามวาอานนท ในขอ นี้ เธอเห็นอานิสงสอ ะไร จงึ ทลู วา ขา แตพ ระองคผ ูเจรญิเหลา กลุ บตุ รผมู ศี รัทธาในโลกน้ี เม่ือไมไ ดโ อกาสของพระผูมพี ระภาค-เจา จึงกลาวกะขาพระองคอยางนวี้ า ทา นอานนท พรุง นี้ ขอทานกับพระผมู พี ระภาคเจาโปรดรบั ภิกษาในเรือนของกระผม ถาพระผูมีพระภาคเจา ไมเ สด็จไปในทีน่ น้ั ขา พระองคไ มไดโ อกาสหาคนเขา เฝาในขณะทีเ่ ขาประสงค และบรรเทาความสงสยั พวกเขาก็จักกลา วไดว าอานนท อุปฏฐากพระทศพลทาํ ไม พระผมู ีพระภาคเจาไมท รงอนเุ คราะหทา น แมอยา งน้ี และพวกเขาจกั ถามขาพระองคลบั หลังพระผมู ีพระ-ภาคเจาวา ทานอานนท คาถาน้ี พระสูตรนี้ ชาดกนี้ พระผมู พี ระภาคเจาทรงแสดง ณ ทไี่ หน ถาขาพระองคไ มไ ดพ รขอนน้ั พวกเขาก็จักกลาวไดวา ทานไมรพู ระดาํ รัสแมเทาน้ี เหตไุ ร ทานจึงเทย่ี วอยไู ดตงั้ นานไมล ะพระผมู ีพระภาคเจาเลยเหมือนกับเงา ดว ยขอนัน้ ขาพระองคตอ งการจะกลาวธรรมท่ีแมพระผมู ีพระภาคเจา แสดงลับหลงั อกี เพราะฉะนั้น ทา นจึงทูลขอพรสวนทข่ี อรอง ๔ ประการเหลา น้ี แมพ ระผมู ีพระภาคเจา ก็ไดประทานพรแกทาน. ทา นรบั พร ๘ ประการอยา งน้ีจึงไดเ ปนพุทธอุปฏ ฐากประจาํ . ผลแหงบารมที ง้ั หลายทบี ําเพญ็ มาตลอดแสนกปั กม็ าถึงทา นผูปรารถนาตาํ แหนงพทุ ธอุปฏ ฐากประจาํ นั้นนัน่ แล. ต้งั แตว นั ทีไ่ ดต าํ แหนงพทุ ธอปุ ฏ ฐากแลว ทานอุปฏ ฐากพระทศพล ดวยกิจทั้งหลาย เปนตนอยางน้ีคอื ดวยนํา้ ๒ อยาง ดวยไมส ีฟน ๓ อยา ง ดวยการนวดพระหตั ถและพระบาท ดวยการนวดพระปฤษฎางค ดวยการกวาดบริเวณพระคันธกฎุ ีคิดวา พระศาสดาควรไดกจิ นี้ ในเวลาน้ี แลวถอื ประทีปดา มขนาด
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 455ใหญไว ตอ จากเวลาเทยี่ งคนื เดินตรวจรอบ ๆ บรเิ วณพระคนั ธกุฎีราตรีหนึ่ง ๙ ครั้ง อนงึ่ ทา นมคี วามดาํ รอิ ยา งนี้วา ถา เราจะพึงงวงนอนไซร เรากไ็ มอาจขานรบั เมอื่ พระทศพลตรสั เรยี ก. เพราะฉะนน้ั ทา นจงึ ไมป ลอ ยประทีปดามหลดุ จากมือตลอดคืนยงั รงุ ในขอ น้ี มีวตั ถนุ ิทานดังกลาวนี้ แตภ ายหลงั พระศาสดาประทับอยู ณ พระเชตวันวิหารทรงสรรเสรญิ ทานพระอานนทเถระ ผูรกั ษาเรือนคลังธรรม โดยปริยายเปน อนั มาก จึงทรงสถาปนาพระเถระไวใ นตาํ แหนงเอตทคั คะเปน ยอดของเหลาภิกษสุ าวก ผูเ ปนพหสู ตู มีสติ มีสติ มธี ติ ิ และพุทธ-อปุ ฏ ฐาก ในพระศาสนานี้ แล. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑
พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 456 อรรถกถาสูตรท่ี ๒ ประวตั ิพระอรุ ุเวลกัสสปเถระ ในสตู รท่ี ๒ พึงทราบวนิ จิ ฉัยดังตอไปน.้ี ดวยบทวา มหาปรสิ าน ทานแสดงวา ทานพระอรุ ุเวลกสั สปเปนยอดของเหลา ภกิ ษุสาวกผูมีบริวารมาก จรงิ อยู พระเถระอื่น ๆบางกาล กม็ ีปรวิ ารมาก บางกาลก็มปี ริวารนอ ย สว นพระเถระนกี้ ับนอ งชายทงั้ สอง มปี รวิ ารประจํา เปนสมณะถงึ หนง่ึ พันรปู บรรดาภกิ ษุชฎิลสามรูปนนั้ เม่อื แตล ะรูปใหบ รรพชาครงั้ ละรปู กจ็ ะเปนสมณะสองพันรูป เมอ่ื ใหบรรพชาคร้งั ละสองรูป ก็จะเปน สมณะสามพันรปูเพราะฉะนนั้ ทา นอุรเุ วลกสั สป จึงเปนยอดของเหลา ภกิ ษสุ าวกผูมีบริวารมาก. กค็ าํ วากัสสป เปนโคตรของทา น. ปรากฏชื่อวา อุรุเวล-กสั สป เพราะทานบวชในอุรเุ วลาเสนานคิ ม. ในปญหากรรมของทานมีเรื่องจะกลาวตามลําดับ ดังน้.ี ครั้งพระพุทธเจาพระนามวา ปทุมุตตระ แมท า นอรุ เุ วลกสั สปน้ีก็ถอื ปฏิสนธิในเรือนสกุล ณ กรงุ หงสวดี เจริญวัยแลว ฟง ธรรมกถาของพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษุรูปหนงึ่ ไวใ นตาํ แหนงเอตทคั คะเปน ยอดของเหลา ภกิ ษุสาวกผูม บี ริษทั มาก คิดวา แมเรากค็ วรจะเปน เชน ภกิ ษรุ ปู นี้ในอนาคตกาล จงึ ถวายมหาทานแดภิกษุสงฆ มีพระพทุ ธเจาเปน ประมุข ๗ วนั ใหครองไตรจีวร ถวายบังคมพระศาสดาแลว ไดก ระทําความปรารถนา ในตําแหนงเอตทัคคะเปนยอดของเหลาภิกษสุ าวกผูมีบรษิ ทั พระศาสดาทรงเหน็ ไมมีอนั ตราย จงึ ทรงพยากรณ
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 457วา เขาจักเปน ยอดของเหลาภกิ ษุสาวกผมู ีบรษิ ทั มาก ในศาสนาของพระโคดมพุทธเจา ในอนาคตกาล แลวเสดจ็ กลบั ไป กลุ บตุ รแมนั้นกระทํากัลยาณกรรมตลอดชีวติ เวียนวายอยใู นเทวดาและมนษุ ย ในท่ีสุดกปั ท่ี ๙๒ กบ็ ังเกดิ เปนกนษิ ฐภาดาตา งมารดา ของพระพทุ ธเจาพระนามวา ปุสสะ พระราชบิดา พระนามวา มหินทรราชา. ทา นยังมีพี่นองอน่ื ๆ อีกสององค. พ่นี อ งทัง้ สามองคน ้ันไดตําแหนงองคล ะแผนกอยางน้ี ทรงปราบปรามชนบทชายแดนทกี่ อ กบฏ โดยนยั ที่กลาวแลว ในหนหลงั ทรงไดพ รจากสํานกั พระราชบิดา ทรงรบั พรวา พวกขาพระองคจักบํารุงพระทศพลตลอดไตรมาส คร้ังน้ัน พ่นี องทัง้ สามพระองคทรงดาํ รวิ า พวกเราบํารุงพระทศพลกระทาํ ใหเหมาะ จึงควรจงึ แตง ต้ังอมาตยผ ูหนง่ึ ไวใ นตาํ แหนง เปน ผหู ารายได แตงตงั้ อมาตยผหู นง่ึ เปน ผูรบั จา ย แตง ตั้งอมาตยผ หู นึ่งในตาํ แหนงเปน ผูเล้ียงภิกษสุ งฆมพี ระพุทธเจาเปนประมุข สมาทานศลี สิบสําหรบั พระองค รักษาสกิ ขาบทท้งั หลายตลอดไตรมาส อมาตยทงั้ สามคนน้ัน บังเกดิ เปนพมิ พสิ าระวสิ าขะและรัฐปาละ ในพทุ ธุปบาทกาลนี้ โดยนยั ที่กลาวมาแลว ในหนหลงั สวนพระราชกมุ ารเหลานน้ั เมือ่ พระทศพลอยจู าํ พรรษาแลวทรงบชู าดวยปจ จยั ดว ยพระหัตถข องพระองคเอง กระทาํ กลั ยาณกรรมตลอดชวี ิต บังเกดิ ในสกลุ พราหมณ กอนพระทศพลของเราทรงอุบัติมนี ามวา กัสสป ทง้ั สามคนตามโคตรของตน คนทงั้ สามนน้ั เจริญวยัแลว เรยี นไตรเพท คนใหญ มบี ริวารมาณพ ๕๐๐ คน คนกลาง ๓๐๐ คนคนเล็ก ๒๐๐ คน. ท้งั สามพนี่ อง ตรวจดสู าระในคมั ภีร (ไตรเพท) เห็นแตป ระโยชนสวนปจ จุบนั เทานนั้ ไมเ หน็ ประโยชนสว นภายภาคหนาพีช่ ายคนใหญ ไปยังตําบลอรุ เุ วลาบวชเปน ฤษพี รอมกบั บริวารของตน
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 458ชื่อวาอรุ ุเวลกัสสป. คนกลางไปบวชท่ีคงุ มหาคงคานที ช่อื วานทีกัสสป.คนเล็กไปบวชทค่ี ยาสสี ประเทศ ชอ่ื วา คยากสั สป. เมอื่ กสั สปพน่ี องบวชเปน ฤษีอยู ณ ทีน้ัน ลว งวนั ไปเปนอนั มากพระโพธสิ ัตวข องเรา เสด็จออกมหาภเิ นษกรมณ ทรงไดพ ระสัพพญั -ุตญาณ ประกาศพระธรรมจกั รตามลําดับ ทรงสถาปนาพระปญ จ-วคั คยี เถระไวใ นพระอรหตั ทรงแนะนําสหาย ๕๕ คน มียศกุลบตุ รเปนหวั หนา ทรงสง พระอรหนั ต ๖๐ องคใหจ าริกไปเพอ่ื ประโยชนแ กชนเปนอันมาก ดวยพระดํารสั วา ดูกอนภกิ ษทุ ัง้ หลาย พวกเธอจงจารกิ ไปดังนเ้ี ปน ตน ทรงแนะนําพวกภัททวัคคยี แลวทรงเห็นเหตุแหงอรุ เุ วลกัสสป ก็ทรงทราบวาเมื่อเราไป สามพ่นี องพรอมบริวารจกับรรลุพระอรหัต ลําพังพระองคเดยี วไมม เี พือ่ น เสดจ็ ถงึ ท่ีอยูของอรุ -ุเวลกัสสป ทรงขอเรอื นไฟเพื่อประทบั อยู ทรงแนะนําอุรุเวลกัสสปพรอมดว ยบรวิ าร ตงั้ ตน แตทรงทรมานงู ซึง่ อยูในเรอื นไฟน้นั ดวยปาฏหิ าริยทงั้ หลาย เปน จาํ นวนถึง ๓๕๐๐ อยางแลวทรงใหบ วช นอ งชายอกี สองคนรวู า พ่ชี ายบวช กม็ าบวชพรอ มดวยบริวาร เหลาชฎลิ ท้งั หมดเปน เอหภิ ิกขุ ทรงบาตรและจวี รสําเร็จมาแตฤทธ.ิ พระศาสดาทรงพาสมณะ ๑๐๐๐ รูปนัน้ ไปยังคยาสสี ประเทศ ประทบั น่ังบนหลังแผน หนิทรงตรวจดวู า คนเหลานบี้ วชบาํ เรอไฟ ควรจะแสดงภพทง้ั สาม ใหเ ปนเสมอื นเรือนไฟไหมแ กค นเหลานี้ จึงทรงแสดงอาทิตตปรยิ ายสตู ร. จบเทศนา กบ็ รรลุพระอรหัตหมดทกุ รูป. พระศาสดามภี ิกษชุ ฎิลเหลานั้นแวดลอม ทรงทราบถึงปฏิญญาท่ีถวายไวแดพระเจาพมิ พสิ ารตามลาํ ดบัเสด็จถงึ พระราชอทุ ยานลฏั ฐิวนั กรงุ ราชคฤหถ พระราชาทรงทราบวาพระทศพลเสด็จมาถงึ แลว ก็พรอมดว ยพราหมณแ ละคฤหบดสี ิบสองนหุต
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 459เสด็จเขาไปเฝา พระศาสดา ถวายบงั คบั แลว ประทบั นั่ง ณ ทีส่ มควรขางหน่ึง พระศาสดาทรงตรวจดบู ริษัททงั้ หมด ทรงเห็นมหาชนทําความนอบนอมอรุ เุ วลกัสสป ทรงพระดําริวา คนเหลานี้ไมรูวา เราหรือกัสสปเปน ใหญ ขนึ้ ชือ่ วา เหลาชนท่มี วี ติ ก ไมอ าจรับเทศนาได จึงไดประทานสญั ญา(ณ) แกพ ระเถระวา กัสสป เธอจงตัดความวติ กของเหลา อุปฏฐากของเธอเสีย. พระเถระรับพระดํารัสของพระศาสดาแลวลกุ จากอาสนะ ถวายบงั คมพระศาสดาดวยเบญจางคประดิษฐ เหาะข้นึสอู ากาศประมาณช่วั ตนตาล แสดงฤทธิตาง ๆ ประกาศวา ขาแตพระองคผเู จรญิ พระผมู ีพระภาคเจา ทรงเปน ศาสดาของขาพระองคขาพระองคเ ปนสาวก ขาแตพระองคผูเจริญ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงเปนศาสดาของขาพระองค ขาพระองคเ ปนสาวก แลว ลงมาถวายบังคมพระยุคลบาทพระทศพล โดยอุบายน้ัน ครงั้ ที่ ๗ เหาะขนึ้ สูอากาศ๗ ชัว่ ตน ตาลแลว ถวายบงั คมพระยคุ ลบาทของพระทศพล นง่ั ณ ท่ีสมควรขางหน่งึ . เวลานัน้ มหาชนหมดวติ กในพระศาสดาวา ทา นผูน้ีเปน มหาสมณะในโลก. ลาํ ดบั นน้ั พระศาสดาจงึ ทรงแสดงธรรมโปรด.จบเทศนา พระราชาพรอ มดวยพราหมณแ ละคฤหบดสี บิ เอด็ นหุต ดํารงอยูใ นพระโสดาปตติผล นหตุ หนึ่งประกาศตนเปนอุบาสก. ภกิ ษุจาํ นวนพนั รปู บรวิ ารของอุรุเวลกสั สปเหลาน้ัน คิดดว ยความคนุ เคยของตนวากิจบรรพชิตของพวกเราถึงที่สุดแลว พวกเราจักไปภายนอกทําอะไร.จงึ เทยี่ วหอมลอ มทา นพระอรุ ุเวลกัสสปอยา งเดียว บรรดาภกิ ษุชฎิลท้ังสามนนั้ เม่ือภิกษชุ ฎิลแตล ะองครับนสิ สติ กไดค รั้งละองค กเ็ ปนสองพัน เมื่อรบั ไดคร้งั ละสององค กเ็ ปน สามพัน. ตงั้ แตน ั้นมานสิ สติ กของภิกษุชฎิลเหลานนั้ มเี ทา ใด จะกลา วถึงนิสสิตกเทา นน้ั กค็ วรแล.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 460ในขอนน้ั มวี ัตถุนทิ าน ดังน.้ี แตต อ มา พระศาสดาประทบั อยู ณ พระ-เชตวันวิหาร ทรงสถาปนาพระเถระไวใ นตําแหนงเอตทัคคะเปนยอดของเหลาภกิ ษสุ าวกผมู บี ริษทั มาก ดงั นแ้ี ล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๒
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 461 อรรถกถาสตู รที่ ๓ ประวัตพิ ระกาฬุทายีเถระ ในสูตรท่ี ๓ พงึ ทราบวนิ จิ ฉยั ดังตอ ไปน.้ี บทวา กุลปปฺ สทกาน ไดแ กผทู าํ สกุลใหเลอื่ มใส. แทจ รงิ พระ-เถระนี้ ทําราชนิเวศนข องพระเจาสทุ โธทนมหาราช ผยู ังไมพบพระ-พทุ ธเจา เทานั้นใหเลือ่ มใส เพราะเหตนุ ัน้ ทานจงึ เปน ยอดของภกิ ษุสาวกผูทําสกุลใหเลอื่ มใส ในปญ หากรรมของทาน มีเร่ืองท่จี ะกลา วตามลําดับ ดงั น.ี้ คร้งั พระพทุ ธเจาพระนามวาปทมุ ตุ ตระ พระเถระนี้บังเกิดในเรอื นสกุล ณ กรุงหงสวดี กาํ ลงั ฟงธรรมเทศนาของพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษรุ ูปหนึ่งไวในตาํ แหนงเอตทัคคะ เปน ยอดของภกิ ษุสาวกผูท ําสกุลใหเลอื่ มใส จึงการทาํ กุศลกรรมใหย ิง่ ยวดข้ึนไปแลว ปรารถนาตําแหนงนัน้ ทานการทํากุศลตลอดชวี ิต เวยี นวายอยใู นเทวดาและมนุษยท้งั หลาย ถือปฏสิ นธิในเรือนของอมาตย ณ กรงุ -กบลิ พสั ดุ ในวันทพ่ี ระโพธสิ ตั วข องเราทรงถือปฏิสนธิในครรภข องพระมารดา ในวันเกิดก็เกิดพรอมกบั พระโพธสิ ตั วแ ล ในวันนัน้ ญาติทง้ั หลายกใ็ หนอนบนเคร่อื งรองรบั คือผา แลว นาํ ไปถวายตัวเพ่อื รับใชพระโพธสิ ัตว. ตน โพธิพฤกษ พระมารดาของพระราหลุ ขมุ ทรัพยท้งั ๔ ชา งทรง มากณั ฐกะ นายฉนั นะ อมาตยก าฬุทายี รวมเปน ๗ นี้ ช่ือวาสตั ตสหชาต เพราะเกดิ วนั เดยี วกับพระโพธิสตั ว.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 462 ในวันขนานนามทารกน้ัน เหลา ญาติตัง้ ช่ือวาอทุ ายี เพราะเกิดในวันที่ชาวนครท่วั ไปมีจิตใจฟขู ึน้ (สูง). แตเพราะเขาเปน คนดาํ นดิหนอย จึงเกิดช่อื วา กาฬทุ ายี กาฬุทายีน้ันเลนของเลน สาํ หรบั เดก็ ชายกับพระโพธสิ ตั วจ นเจรญิ วัย ยอ มาพระโพธสิ ตั วเ สด็จออกมหาภเิ นษ-กรมณ บรรลุพระสัพพัญุตญาณ ตามลําดับ ทรงประกาศธรรมจกั รอนั ประเสรฐิ . ทรงกระทาํ การอนุเคราะหโ ลก ทรงอาศัยกรงุ ราชคฤหประทบั อย.ู สมยั นนั้ พระเจาสทุ โธทนมหาราช ทรงสดบั วา สิทธัตถกมุ ารบรรลอุ ภิสัมโพธิญาณ อาศัยกรุงราชคฤหประทบั อยู ณ พระ-เวฬุวันวหิ าร จึงทรงสง อาํ มาตยผ หู น่งึ มีบรุ ุษพันคนเปน บริวารไปดวยพระดาํ รัสสั่งวา เจา จงนาํ โอรสของเรามาในทนี่ ้ี. อาํ มาตยนนั้ เดนิ ไป๖๐ โยชนเขาไปยงั พระวิหาร ในเวลาที่พระทศพลประทับนง่ั กลางบรษิ ทั ๔ ทรงแสดงธรรม อาํ มาตยนั้นคดิ วา ขาวสาสน ทพี่ ระราชาทรงสง ไปพักไวก อ น แลวยืนทา ยบรษิ ทั ฟงพระธรรมเทศนาของพระ-ศาสดา ก็บรรลุพระอรหตั พรอมกับบุรุษพนั คน ตรงท่ยี นื อยูน่ันแหละคร้ังพระศาสดาทรงเหยียดพระหตั ถแกอาํ มาตยและบุรษุ นั้นคนน้ันดว ยพระดาํ รสั วา พวกเธอจงเปน ภกิ ษุเถิด ทันใดนั้นเอง ทกุ คนก็ทรงบาตรและจีวรสําเรจ็ มาแตฤทธ์ิ ไดเ ปนเหมือนพระเถระรอ ยพรรษานบั แตเวลาบรรลพุ ระอรหตั กันแลว ธรรมดาวาพระอรยิ ะทั้งหลายยอ มเปนผวู างเฉย เพราะฉะนั้น อํามาตยน ้ันจึงไมไดท ลู ขาวสาสน ที่พระราชาทรงสง ไปแดพ ระทศพล พระราชาทรงพระดําริวา อํามาตยยงั ไมกลบั มาจากทนี่ ้นั ขาวคราวกไ็ มไ ดยนิ จงึ ทรงสง อาํ มาตยค นอื่น ๆไปโดยทํานองนั้นน่ันแล อาํ มาตยแมน นั้ ไปแลว ก็บรรลุพระอรหัตพรอมกับบริษัทโดยนัยกอ นน่ันแหละ แลวกน็ ่งิ เสยี ทรงสงบรุ ุษเกา พันคน
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 463พรอ มกับอํามาตยเ กา คน ดว ยประการฉะนี้ ทกุ ๆคนสําเรจ็ กจิ ของตนแลวกน็ ิ่งเสีย ครั้งนนั้ พระราชาทรงพระดํารวิ า คนมจี าํ นวนเทานี้ ไมบอกอะไรแกพระทศพล เพื่อเสด็จมาในท่ีนี้เพราะเขาไมรักเรา คนอืน่ ๆแมไปกค็ งจักไมส ามารถนําพระทศพลมาได แตอุทายบี ุตรของเราปเดียวกบั พระทศพล โดยเลนฝนุ ดว ยกนั มา เขาคงรักเราบา ง จงึ โปรดใหเรยี กตวั มาแลวตรัสสงั่ วา ลูกเอย เจามีบรุ ษุ พนั คนเปนบรวิ าร จงไปนาํ พระทศพลมา กาฬทุ ายกี ราบทลู วา ขา แตเ ทวะ ขา พระบาท ไดบรรพชาเหมือนพวกบรุ ษุ ท่ีไปกันครง้ั แรก จึงจดั นํามา พระเจาขา.รบั สง่ั วา เจาทาํ กิจอยางใดอยางหน่ึงแลวจงนาํ ลกู ของเรามาก็แลว กนักาฬุทายรี บั ราชโองการวา ดีละพระเจาขา แลว ถอื สาสนของพระราชาไปกรุงราชคฤห ยนื ฟงธรรมทา ยบรษิ ทั ในเวลาพระศาสดาทรงแสดงธรรมแลว บรรลุพระอรหตั ดํารงอยูโดยเปน เอหิภกิ ขุ พรอมทัง้ บรวิ ารตอ นัน้ ก็ดํารวิ า ยงั ไมเ ปน กาละเทศะที่พระทศพลจะเสด็จไปยงั นครแหง สกลุ ตอ สมยั วสันตฤดู (ฤดูใบไมผล)ิ เมอื่ ไพรสณฑม ดี อกไมบานสะพรง่ั แผนดินคลุมดวยหญา สด จงึ จกั เปน กาละเทศะ จึงรอเวลาอยูรวู ากาละเทศะมาถึงแลว จึงทูลพรรณนาหนทาง เพ่อื พระทศพลเสร็จดาํ เนินไปยังนครแหงสกุล ดว ยคาถาประมาณ ๖๐ คาถาเปน ตน วา นาติสตี นาตอิ ุณหฺ นาตทิ พุ ภฺ ิกขฺ ฉาตก สทฺทสา หรติ า ภูมิ เอส กาโล มหามนุ ิ ขา แตพ ระมทามนุ ี สถานท่ีไมเย็นจดั ไมรอนจัด ใช สถานทหี่ าอาหารยากและอดอยาก พนื้ แผน ดนิ เขยี วขจี
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 464 ชอุมดวยหญา นี่เปนกาลสมควร.พระศาสดาทรงทราบวา อุทายีกลาวสรรเสรญิ การเดินไปวา เปน กาละเทศะ ทจ่ี ะเสดจ็ ดาํ เนินไปยงั กรงุ กบลิ พัสดุ มีภิกษสุ องหมืน่ รปู เปน บรวิ ารเสดจ็ ออกจาริกดว ยการทรงดําเนนิ ไปแบบไมรีบดวน พระอทุ ายีเถระทราบวา พระศาสดาเสดจ็ ออกไปแลว คิดวา ควรจะถวายความเขาพระหฤทัย แตพระมหาราชเจา พทุ ธบดิ า จึงเหาะไปปรากฏ ณ พระ-ราชนิเวศนข องพระราชา พระราชาทอดพระเนตรเหน็ พระเถระ กม็ ีพระหฤทัยยินดี นมิ นตใ หนั่งบนบลั ลงั ก( แทน) ท่สี มควรใหญ บรรจุบาตรใหเต็มดวยโภชนะรสเลิศตา ง ๆ แลว ถวาย พระเถระลกุ ขน้ึ แสดงอากปั ปกริ ยิ าวาจะไป ทาวเธอจึงตรสั วา นมิ นตน่งั ฉนั สิลูกเอย ทา นทลูวา มหาบพติ รอาตมภาพจักไปฉัน ณ สาํ นกั พระศาสดา ตรสั ถามวา ก็พระศาสดาอยูไ หนละพอ เอย ทา นทูลวามหาบพติ ร พระศาสดามีภกิ ษุสองหมนื่ เปนบรวิ าร เสด็จออกจาริกเพ่ือเยือนมหาบพติ รแลว ตรัสวาลูกฉันบิณฑบาตนแ้ี ลว โปรดนาํ บณิ ฑบาตนอกจากนไ้ี ปถวาย จนกวาลูกของโยมจะมาถงึ นครน้ี พระเถระรับอาหารทีจ่ ะพึงนาํ ไปถวายพระ-ทศพล แลวกลาวธรรมกถา ทําพระราชนิเวศนท ั้งสิ้นใหไดศ รัทธา โดยยงั ไมทนั เหน็ พระทศพลเลย เมอ่ื ทุกคนเห็นอยูนน่ั แล กโ็ ยนบาตรขน้ึ ไปในอากาศ แมตนเองก็เหาะไปนาํ บิณฑบาตไปวางไวทีพ่ ระหตั ถข องพระ-ศาสดา พระศาสดากเ็ สวยบิณฑบาตนนั้ ทกุ ๆวัน พระเถระนาํ อาหารจากพระราชนเิ วศนม าถวายแตพระศาสดา ซง่ึ กําลังเสด็จดําเนินทาง ๖๐โยชน ตลอดทางโยชนหนงึ่ เปน อยางยง่ิ พงึ ทราบเร่ืองดงั กลาวมาฉะน้ี ตอมาภายหลัง พระศาสดาทรงดํารวิ า อทุ ายี ทาํ พระราชนิเวศน
พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 465ทั้งสิน้ ของพระมหาราชบดิ าของเราใหเล่ือมใสแลว จึงทรงสถาปนาพระเถระไวต ําแหนงเอตทัคคะเปนยอดของเหลา ภิกษสุ าวกผูท ําสกลุใหเลอื่ มใสแล. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๓
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 466 อรรถกถาสตู รท่ี ๔ ประวัติพระพกกุลเถระ ในสตู รที่ ๔ พงึ ทราบวินิจฉัยดังตอไปนี.้ บทวา อปปฺ าพาธาน ไดแกผูไมมีอาพาธ. บทวา พากุโล ไดแกพระเถระไดช่อื อยา งนี้ เพราะเจรญิ เติบโตมาในสกุลทัง้ สอง ในปญ หากรรมของทา น มีเรอื่ งทจี่ ะกลาวตามลําดบั ดงั น.้ี ดังไดย ินมา ในอดตี กาล พระเถระนี้ถือปฏิสนธิในสกลุ พราหมณกอ นแตพระทศพลพระนามวาอโนมทัสสี ปลายอสงไขยกําไรแสนกัปนับแตกัปน้ี เจรญิ วยั กเ็ รยี นพระเวท มองไมเห็นสาระในคัมภีรไตรเพทคดิ วา จกั แสวงหาประโยชนทเ่ี ปน ไปภายภาคหนา จึงบวชเปน ฤษี ไดอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ทาํ เวลาใหลวงไป ดวยการเลนฌาน สมัยนั้น พระอโนมทสั สีโพธสิ ตั ว บรรลพุ ระสัพญั ุตญาณ มีหมพู ระอรยิ ะแวดลอ มแลว เสดจ็ จาริกไป ดาบสฟง วาพระรตั นะสาม เกดิ ข้ึนแลวจงึ ไปสํานักพระศาสดาฟง ธรรม จบเทศนา ก็ตง้ั อยใู นสรณะ แตไ มอาจละฐานะ(เพศ) ของตนได ทา นไปเฝา พระศาสดาและฟง ธรรมเปนคร้ังคราว ตอมา สมัยหนึ่ง พระตถาคตเกดิ โรคลมในพระอทุ ร.ดาบสมาเพ่อื เฝาพระศาสดา ทราบวา พระศาสดาประชวรจึงถามวา ทา นเจา ขา ประชวรเปนโรคอะไร เม่ือภกิ ษุทั้งหลายกลา ววา เปนโรคลมในพระอทุ ร จงึ คดิ วา น้เี ปนเวลาทาํ บุญของเรา จงึ ไปยังเชิงเขา รวบรวมยาชนดิ ตาง ๆ แลว ถวายพระเถระผูอปุ ฏ ฐาก ดวยกลา ววา โปรดนอ มถวายยานแี้ ตพ ระศาสดา โรคลมใน
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 467พระอทุ รก็สงบ พรอ มกบั การใชย า ดาบสน้ันไปเฝา ในเวลาทพี่ ระ-ศาสดาทรงผาสกุ ทูลอยา งน้วี า ความผาสุกเกิดแกพ ระตถาคต เพราะยาของขาพระองคนอ้ี ันใด ดว ยผลแหงการถวายยาของขา พระองคน ัน้ขอความเจบ็ ไขท างรางกายแมแตเ พยี งถอนผม ก็จงอยา มใี นภพที่ขา-พระองคเ กดิ แลวเกดิ เลา . นี้เปนกลั ยาณกรรมในอัตตภาพนั้นของทา นทา นจตุ จิ ากภพนน้ั บังเกิดในพรหมโลก เวียนวายอยูใ นเทวดามนุษยสิน้ อสงไขยหนง่ึ ครัง้ พระพุทธเจา พระนามวา ปทมุ ุตตระ ถอื ปฏสิ นธิในครอบครัว ณ กรุงหงสวดี เหน็ พระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษุรูปหนึ่งไวใ นตาํ แหนง เอตทัคคะเปนยอดของเหลาภิกษสุ าวกผูม อี าพาธนอ ยกระทาํ กุศลกรรมยง่ิ ยวดขึ้นไป ก็ปรารถนาตําแหนง น้นั . ทานกระทํากศุ ลจนตลอดชีวติ เวยี นวา ยอยูใ นเทวดาและมนุษยบงั เกิดในครอบครัวพราหมณ ณ กรงุ พันธมุ วดี กอนพระทศพลพระ-นามวาวิปสสบี ังเกดิ บวชเปนฤษีโดยนยั กอ นนัน่ แล เปน ผไู ดฌานอาศัยอยเู ชิงเขา พระวิปสสีโพธสิ ัตวบ รรลุพระสพั พญั ุตญาณ มีภิกษุหกลา นแปดแสนเปนบรวิ าร ทรงอาศยั กรุงพันธมุ วดี ทรงทาํ การสงเคราะหพ ระมหาราชเจา ผพู ทุ ธบิดาแลว ประทับอยู ณ มิคทายวนัอันเกษม ครัง้ นนั้ ดาบสนท้ี ราบวาพระทศพลบังเกิดในโลก จงึ มาฟงธรรมกถาของพระศาสดาตั้งอยใู นสรณะ ไมอ าจละบรรพชาของตนแตก ม็ าอปุ ฏฐากพระศาสดาเปนคร้ังคราว สมัยหนงึ่ ภกิ ษุทัง้ หลายเวนพระศาสดาและพระอคั รสาวกเกิดโรคที่ศรี ษะ เพราะถูกลมของตนไมม พี ษิ ท่ีออกดอกสพรงั่ ในปา หมิ พานต. ดาบสมาที่เฝา พระศาสดาพบภิกษุน่ังคลุมศรี ษะจงึ ถามวา ทา นเจา ขา ภกิ ษสุ งฆเ ปนอะไร ภิกษุท้งั หลายตอบวา ผมู อี ายุ เหลาภกิ ษเุ ปน โรคดอกไมพษิ ดาบสคดิ วา
พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 468นเ้ี ปน เวลาที่จะทําการขวนขวายทางกายแกภ กิ ษสุ งฆ ใหบ ญุ บงั เกิดแกเ รา จงึ เก็บยาชนดิ ตาง ๆ ดวยอํานาจของตนแลวเอาประกอบเปนยาถวาย โรคของภกิ ษุทกุ รปู กส็ งบไปทนั ที ดาบสน้ัน ดํารงอยชู วั่ อายุ ก็บังเกดิ ในพรหมโลก เวียนวา ยอยูใ นเทวดาและมนษุ ย เกาสิบเอ็ดกัปครง้ั พระพทุ ธเจาพระนามวากสั สป บังเกดิ ในกรงุ พาราณสี ครองเรือนอยูคิดวา เรือนทอ่ี ยขู องเรา ทรดุ โทรม จาํ จกั ตอ งไปชายแดนนาํ ทัพพ-สัมภาระมาสรางเรอื น จงึ ไปกบั พวกชา งไมพบวิหารใหญใ หญครา่ํ ครา -ในระหวา งทาง ก็คดิ วา การสรา งเรือนของเรายกไวก อ น การสรา งเรือนนนั้ จักไมไ ปกบั เรา แตก ารไปดว ยกนั ชว ยกนั ทาํ อยางใดอยางหนึง่กอน ควรอยู เขาใหพวกชา งไมเหลา นั้นถือทัพพสมั ภาระ ใหสรางโรงอุโบสถในวหิ ารนนั้ ใหส รา งโรงฉัน โรงไฟ (ท่ีจงกรม) เรอื นไฟกปั ปย กุฏิ (โรงพยาบาล) ท่ีพักกลางคืนและทพ่ี กั กลางวนั วจั จกุฏิ(สวม) จัดตงั้ ยาใชแ ละฉันสาํ หรับภิกษสุ งฆไวท กุ อยาง. เขากระทํากศุ ลจนตลอดชีวติ เวยี นวายอยูในเทวดาและมนษุ ยพุทธนั ดรหนึง่ ถอื ปฏิสนธใิ นเรือนเศรษฐกี รุงโกสัมพี กอนพระทศพลของเราบังเกดิ ตงั้ แตว นั ท่เี ขาถือปฏิสนธิ สกุลเศรษฐนี ัน้ ก็ประสบลาภอันเลิศ ยศอนั เลศิ ครั้งนัน้ มารดาของเขาคลอดบตุ รแลว คิดวาเดก็คนนี้มีบุญ กระทําบุญไวแตกอน เปน ผูไมมีโรค อายยุ ืน ยังดํารงอยูตลอดกาลเทา ใด กจ็ ักเปน ผูใหส มบตั แิ กเราตลอดกาลเพียงนั้น กเ็ ดก็ทงั้ หลายท่อี าบน้าํ ในแมน ํา้ ยมนุ า ในวนั เกิดนั่นแล ยอมเปนผูไมม ีโรคจงึ สง เดก็ นั้นไปอาบนํา้ ทานอาจารยผ ูรจนาคัมภรี ม ัชฌมิ นกิ ายกลาววานางใหอาบศรี ษะในวนั ที่ ๕ แลว สง เด็กนั้นไปเลน น้ํา ณ ที่นั้น เมอ่ืพีเ่ ล้ยี งนางนมกําลังใหเดก็ เลน ดําลงโผลข นึ้ ปลาตวั หนึง่ เห็นเด็กน้ัน
พระสุตตนั ตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 469สาํ คญั วาเหยอ่ื กอ็ าปากคาบเอาไป พเ่ี ล้ยี งนางนม (ตกใจ) กท็ ิ้งเด็กหนไี ป ปลากก็ ลนื เดก็ น้นั สัตวมบี ุญ ไมประสบทกุ ข กเ็ หมือนเขา หอ งนอนแลวนอน ดว ยเดชะบญุ ของเด็ก ปลากเ็ หมอื นกลนื ภาชนะที่รอ นก็เรารอ น กว็ า ยไปโดยเร็วถึง ๓๐ โยชน เขา ไปตดิ อวนของประมงชาวกรงุ พาราณสี ธรรมดาปลาใหญติดอวนยอมตาย แตเดชะบุญของเดก็ ปลาตวั น้ีพอเขาปลดจากอวนจงึ ตาย ประมงทัง้ หลายไดปลาตายยอ มชําแหละขาย ใชคานหามไปทงั้ ตัว เท่ยี วตระเวนไปในกรุง บอกวาเอาทรพั ยมาพันหน่งึ และใหปลาตัวนี้ ใคร ๆ กไ็ มซอ้ื . ในกรงุ น้นั มสี กลุ เศรษฐีมสี มบัติ ๘๐ โกฏิ พวกประมงถึงใกลประตเู รอื นสกลุ เศรษฐีนน้ั ถูกเศรษฐถี ามวา พวกทานเอาอะไร จึงจะให จงึ ตอบวา เอากหาปณะ พวกเขาใหกหาปณะแลว รับเอาปลาไปภรยิ าเศรษฐี เลน กบั ปลาในวันอน่ื ๆ แตวันนัน้ วางปลาไวบนเขียงชําแหละดว ยตนเอง ธรรมดาคนทั้งหลาย ยอ มชําระปลาทางทองแตภ ริยาเศรษฐนี ้ัน ชําแหละทางขา งหลงั เห็นเดก็ มีผิวดงั ทองในทองปลา ก็สง เสียงล่ันวา เราไดบตุ รในทอ งปลา จงึ พาเดก็ ไปหาสามีในทันทนี ั้นเอง เศรษฐกี ใ็ หตกี ลองปาวรอง แลว พาเด็กไปสาํ นักพระราชากราบทลู วา ขาแตเ ทวะ ขา พระบาทไดเดก็ ในทองปลา ขาพระบาทจะทําอยางไร พระราชารบั ส่ังวาเดก็ น้ีมบี ญุ อยูในทอ งปลากไ็ มมโี รคทานจงเลีย้ งไว สกลุ อีกสกลุ หนง่ึ ไดยนิ วา เขาวา สกลุ เศรษฐีสกลุหนึ่งในกรุงพาราณสีไดเ ดก็ ในทอ งปลา เศรษฐีสามภี รยิ านัน้ ก็ไปกรุงพาราณสี ลําดับน้ัน มารดาของเด็กนัน้ เหน็ เด็กแตงตัวเลนหัวอยู ก็ถามวา เด็กคนนี้ถูกใจจรงิ หนอ จงึ บอกเร่อื งนั้น มารดาอีกคนหนงึ่กลา ววา บตุ รของเรานะ ถามวา ทา นไดบตุ รท่ีไหน ตอบวา ในทอ งปลา
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 470มารดาเดิมบอกวา ก็ไมใชบ ุตรของทาน เปนบุตรของเรา ถามวาทา นไดมาอยางไร ตอบวา เราอุมทองมาถงึ ๑๐ เดือน ครัง้ นัน้ เด็กกาํ ลงั เลนน้ําในแมน ้าํ ปลาก็ฮบุ เดก็ ไป มารดาอกี คนหนึง่ บอกวา บตุ รของทา น คงจักเปน ปลาตัวอืน่ ฮบุ เอาไป สวนเด็กคนน้ี เราไดใ นทองปลาแมทง้ั สองฝา ยกพ็ ากันไปยังราชสกุล. พระราชาตัดสินวา หญิงผูนี้ไมเ ปนมารดามอิ าจจะทําได เพราะอมุ ทอ งมาถึง ๑๐ เดือน พวกประมงถงึ จับปลาได ชือ่ วาจบั ไดแตภายนอก มีดับไตเปน ตนก็ไมม ี แมหญงิผูน้ีไมเ ปน มารดา ก็ไมอาจทาํ ไดเพราะไดเ ด็กในทองปลา เพราะฉะนั้นเดก็ จงเปนทายาทของท้งั สองสกลุ นับแตน ัน้ มา สกลุ ทง้ั สองก็ประสบลาภอนั เลศิ ยศอันเลิศอยางยง่ิ จงึ พากันขนานนามทานวา พากลุ กมุ ารเพราะสกลุ ทงั้ สองเลย้ี งใหเตบิ โต เมื่อทานรูความแลว สกุลทัง้ สองก็สรา งปราสาท ๓ หลงั ไวใ นนครทัง้ สอง จัดนาฏกะ นักฟอ นรําไวทา นอยู ๒ เดอื นในนครหนึง่ ๆ อยคู รบ ๔ เดือนแลว เขาสรา งมณฑปไวบนเรอื ขนาน ใหท านกับเหลานาฏกะลงไปอยูในมณฑปนน้ั ทานเสวยสมบตั ิอยกู ไ็ ปยงั อีกนครหน่งึ ๔ เดือน เหลานาฏกะชาวนครออกไป ตอนรับทา นดวยคิดวาทา นจักมาคร่ึงทาง ๒ เดอื น แลว หอ มลอมทา นนําไปยังนครของตนอีก ๒ เดือน เหลา นาฏกะอกี พวกหน่งึ ก็กลับไปนครของตน ทานอยใู นนครนนั้ ๒ เดือนแลว กไ็ ปยงั อกี นครหนงึ่โดยทาํ นองนัน้ นน่ั แล ทานเสวยสมบัตอิ ยางน้ี ๘๐ ปบ รบิ ูรณ สมัยนน้ั พระโพธสิ ตั วของเรา ทรงบรรลพุ ระสพั พัญุตญาณประกาศธรรมจกั รอนั ประเสริฐ. เสด็จจารกิ มาโดยลาํ ดับ ถึงกรุงโกสมั พี พระมัชฌมิ ภาณกาจารยว า กรุงพาราณสี แมพ ากุลเศรษฐีสดบั ขาววา พระทศพลเสด็จมาแลว จงึ ถือเอาของหอมและมาลยั ไป
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 471สาํ นักพระศาสดาฟง ธรรม ไดศ รทั ธากบ็ วช ทา นเปนปถุ ุชนอยู ๗ วันอรณุ วันที่ ๗ ก็บรรลพุ ระอรหัตพรอมดว ยปฏิสัมภิทา ครั้งน้ัน พวกหญิงแมบา นท่ที า นสรา งสมไวครั้งเปน คฤหัสถใ นนครทั้งสอง กก็ ลับไปเรือนสกลุ ของตน อยใู นเรือนสกุลนน้ั นนั่ แหละ ทําจีวรสงไปถวายพระเถระใชสอยจีวรผนื หน่งึ ทชี่ าวกรงุ โกสัมพีสง ไปถวาย ครงึ่ เดือนจีวรผืนหนง่ึ ที่ชาวกรุงพาราณสีสง ไปถวาย ครึง่ เดอื น โดยทาํ นองนี่นีแ่ ล ชาวนครก็นําจีวรแตช นดิ สดุ ยอด ในนครท้ังสองมาถวายแตพระเถระรปู เดยี ว พระเถระครองเรือน ๘๐ ป อาพาธเจบ็ ปวยไร ๆก็มิไดม ีตลอดกาล แมเพียงใช ๒ น้ิวจับกอนของหอมสูดดม ในปท ่ี๘๐ ก็เชา บรรพชาโดยสะดวกดาย ทานแมบวชแลว อาพาธแมเล็กนอยหรอื ความขาดแคลนดวยปจ จยั ๔ มไิ ดมเี ลย แมส มยั ปรินิพพาน ในปจฉิมกาล ทา นก็กลาวพากลุ สูตรทง้ั สน้ิ โดยแสลงสุขทเ่ี ปน ทางกายและทางใจของตน แกอเจลกสั สปะ สหายเกาคร้ังเปนคฤหสั ถ แลว ก็ปรินพิ พานดว ยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ อัตถุปปต ติเหตเุ กดิ เร่ือง ตง้ัข้นึ ดังกลาวมาฉะน้ี สวนพระศาสดาสถาปนาพระเถระทง้ั หลายไวใ นตําแหนง ตาง ๆ ตามลําดบั ก็ทรงสถาปนาทานพระพากุลเถระไวใ นตาํ แหนงเอตทัคคะเปนยอดของภกิ ษสุ าวก ผูม ีอาพาธนอ ย ในพระ-ศาสนาน้ี คร้ังพระเถระยงั มชี ีวิตอยแู ล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๔
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 472 อรรถกถาสตู รที่ ๕ ประวตั พิ ระโสภติ เถระ ในสูตรท่ี ๕ พึงทราบวนิ จิ ฉัยดังตอ ไปน.ี้ ดว ยบทวา ปพุ ฺเพนวิ าส อนุสฺสรนฺตาน ทา นแสดงวา ทานพระ-โสภิตเถระเปนยอดของภิกษุสาวกผูส ามารถระลกึ ถึงขันธสนั ดานความสบื ตอแหง ขนั ธท อ่ี าศัยอยใู นชาตกิ อ น ๆ ได ไดย นิ วา พระเถระนน้ัเม่ือระลึกถึงขันธท ่ีอาศยั ในชาตกิ อ น ๆ ไปตามลาํ ดบั กถ็ อื เอาโดยนัยคือคาดถึงอจิตตกปฏิสนธิในอสญั ญภี พ ๕๐๐ กปั เหมอื นแสดงรอยเทาในอากาศ เพราะเหตุนน้ั ทานจงึ ชอ่ื วาเปน ยอดของภิกษุสาวกผูร ะลึกถงึ ขนั ธที่อาศยั อยูในชาติกอน ๆ ในปญ หากรรมของทา น มเี รอื่ งที่จะกลา วตามลําดบั ดงั น้ี ไดยนิ วา ทา นพระโสภติ ะน้ี คร้ังพระพุทธเจาพระนามวาปทุมตุ ตระ ถอื ปฏสิ นธใิ นครอบครวั ณ กรงุ หงสวดี เจรญิ วัย กําลงัฟง พระธรรมเทศนาของพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษุรปู หนง่ึ ไวใ นตําแหนงเอตทคั คะเปน ยอดของภิกษุสาวก ผูไ ดปุพเพ-นิวาสญาณ กระทาํ กศุ ลใหยิง่ ยวดข้นึ ไป ปรารถนาตําแหนง นนั้ . ทา นทํากศุ ลจนตลอดชวี ติ เวียนวา ยอยูในเทวดาและมนุษยใ นพทุ ธปุ บาทกาลนี้ ก็บังเกิดในครอบครวั พราหมณ ณ กรุง สาวัตถี บิดามารดาจึงขนานนามทา นวา โสภิตะ สมัยตอ มา ทานฟงพระธรรมเทศนาของพระศาสดา ไดศรัทธา ก็บวชเจรญิ วิปส สนา บรรลุพระอรหตั เปน ผู
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 473ชํ่าของชํานาญ ในปุพเพนวิ าสญาณ. ทานระลึกถึงสถานทต่ี นบงั เกดิไปตามลาํ ดบั ไดเหน็ ปฏสิ นธเิ พยี งเทา อจิตตกปฏิสนธิในอสญั ญภี พในลาํ ดบั ตอ จากนั้น ก็ไมเ หน็ ประวัติ ๕๐๐ ชาติ เหน็ จุติในภพสุดทายระลกึ วา น่อี ะไรกัน ก็ยตุ ไิ ดว าอสญั ญภี พมีไดโ ดยนยั คือคาดคะเนพระศาสดาทรงทาํ เหตนุ ้ีใหเ ปน อัตถุปปตติ เหตุเกดิ เรือ่ งแลว ทรงสถาปนาพระเถระไวในตําแหนง เอตทคั คะเปน ยอดของภิกษุสาวกผูระลกึ ถงึ ขนั ธทีอ่ าศยั อยใู นชาติกอน แล. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๕
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 474 อรรถกถาสูตรท่ี ๖ ประวัตพิ ระอบุ าลีเถระ ในสูตรท่ี ๖ พงึ ทราบวนิ จิ ฉยั ดงั ตอไปน้.ี ดวยบทวา วนิ ยธราน ยททิ อุปาลิ ทา นแสดงวา ทานพระอบุ าลีเถระเปน ยอดของภกิ ษุสาวกผูทรงวนิ ยั ไดย นิ วา พระเถระรบั กรรม-ฐานในสาํ นกั พระตถาคตพระองคเดียว เจรญิ วิปสสนาแลว บรรลุพระอรหตั เรยี นพระวินยั ปฎกในสํานกั พระตถาคตพระองคเดยี วกลา วเรื่องทง้ั ๓ เหลา นีค้ อื เรื่องพระทารกุ ัจฉกะ เรื่องพระอัชชุกะและเรอ่ื งทา นพระกมุ ารกัสสป เทยี บเคยี งกบั พระสพั พญั ตุ ญาณเพราะเหตนุ ั้น ทานจึงช่ือวา เปนยอดของภิกษสุ าวกผูทรงวนิ ัย ในปญหากรรมของทาน มีเร่อื งท่จี ะกลาวตามลาํ ดบั ดังน.ี้ ไดย นิ วา พระเถระน้ี คร้งั พระพทุ ธเจาพระนามวา ปทุมตุ ตระบงั เกดิ ในครอบครัว ณ กรงุ หงสวดี กาํ ลังฟงธรรมกถาของพระศาสดาวันหนึ่งเห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษรุ ูปหนึง่ ไวในตาํ แหนง เอต-ทคั คะเปนยอดของภกิ ษุสาวก ผทู รงวินัย กระทาํ กศุ ลใหยิง่ ยวดข้ึนไปปรารถนาตําแหนงน้ัน ทานทํากุศลจนตลอดชวี ติ เวียนวา ยอยใู นเทวดาและมนุษย ในพุทธุปบาทกาลนี้ กถ็ ือปฏิสนธิในเรอื นกลั บก บดิ ามารดาต้ังชื่อทานวา อุบาลีกุมาร ทานเปนพนักงานแตง พระองคก ษตั ริยคอื เจา ๖ พระองค เมือ่ พระตถาคตประทบั อยูทอี่ นุปยอมั พวนั ออกบวชพรอ มกบั เจา ๖ พระองค ซง่ึ กําลงั ออกทรงผนวช วิธบี รรพชาของทา นมาแลวในพระบาลี ทานบรรพชาอปุ สมบทแลวขอใหพ ระ-
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 475ศาสดาตรัสสอนกรรมฐาน กราบทลู วา ขาแตพ ระผเู จรญิ ขอไดโปรดทรงอนุญาตใหข า พระองคอ ยูปา เถดิ พระศาสดาตรัสวา ดูกอ นภิกษุเมอื่ เธออยปู า กจ็ กั เจรญิ แตธรุ ะอยางเดยี ว แตเ ม่อื เธออยใู นสาํ นักเราวาสธรุ ะคอื การอบรม คันถธุ รุ ะ คือการเลา เรียนกจ็ กั บริบรู ณ พระเถระรบั พระดาํ รัสของพระศาสดาแลว การทําการในวิปสสนา ไมน านกบ็ รรลพุ ระอรหตั คร้ังน้นั พระศาสดา ทรงใหท า นเรยี นพระวินยัปฎ กทง้ั สิ้นดว ยพระองคเอง ตอ มาทา นวินจิ ฉยั เร่อื ง ๓ เร่อื ง ทกี่ ลาวไวแ ลวในหนหลัง พระศาสดาประทานสาธกุ ารรบั รองในเรอื่ งแตล ะเรื่องท่ที านวินจิ ฉัยแลว ทรงกระทาํ เรื่องทงั้ ๓ เร่อื งท่ีทา นวินจิ ฉัยแลวใหเปน อัตถปุ ปต ติ เหตุเกดิ เรือ่ ง จึงทรงสถาปนาพระเถระไวในตาํ แหนงเอตทคั คะเปนยอดของภิกษสุ าวก ผทู รงวินัยแล. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๖
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 476 อรรถกถาสตู รท่ี ๗ ประวัติพระคนั ทกเถระ ในสตู รที่ ๗ พงึ ทราบวินจิ ฉัยดงั ตอ ไปน้.ี บทวา ภกิ ฺขโุ นวาทกาน ไดแ กเ ปนผโู อวาทกลา วสอนภิกษุณีแทจรงิ พระเถระนี้ เมอื่ กลา วธรรมกถา กท็ าํ ภิกษุณี ๕๐๐ รปู บรรลุพระอรหัต ในการประชุมคราวเดียว เพราะเหตนุ ั้น ทานจึงชอื่ วาเปน ยอดของภกิ ษุสาวกผสู อนภกิ ษณุ ี ในปญ หากรรมของทาน มเี รื่องท่ีจะกลาวตามลําดบั ดังน้ี พระเถระรปู น้ี ครั้งพระพทุ ธเจา พระนามวาปทุมุตตระบงั เกดิในครอบครัว กรงุ หงสวดี กาํ ลงั ฟงธรรมกถาของพระศาสดา เหน็พระศาสดาสถาปนาภิกษุรูปหนงึ่ ไวในตาํ แหนงเอตทคั คะ เปน ยอดของภิกษสุ าวกผูโอวาทสอนภิกษณุ ี จงึ กระทาํ กศุ ลใหยิ่งยวดขนึ้ ไปปรารถนาตําแหนงนั้น ทานทํากุศลจนตลอดชีวิต เวยี นวา ยอยใู นเทวดาและมนษุ ย คร้งั พทุ ธปุ บาทกาลน้ี กถ็ อื ปฏิสนธิในครอบครัว ณ กรงุ -สาวัตถี เจริญวัยแลว ฟงพระธรรมเทศนาของพระศาสดาไดศรทั ธากบ็ วชในสํานักพระศาสดา เจรญิ วปิ ส สนาแลว บรรลพุ ระอรหตั เปนผูชํ่าชองชํานาญในบพุ เพนิวาสญาณ เม่อื บรษิ ัท ๔ มาถงึ แลว ทานสามารถจับใจของบรษิ ัทไดหมดแลว กลา วธรรมกถา เพราะฉะน้ันทานจงึ ช่ือวา พระนนั ทกะธรรมกถึก แมพระตถาคตแล เมอื่ เจาหนุมสากยิ ะ ๕๐๐ องค ออกบวชจากครอบครัวเพราะเทริด เกิดกระสันจะลาสิกขา ก็ทรงพาภกิ ษเุ จาสากยิ ะเหลาน้นั ไปยงั สระกุณาละ ทรง
พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 477ทราบวาภกิ ษเุ หลาน้นั สลดใจ เพราะตรัสเร่ืองกุณาลชาดก จึงตรสั กถาวา ดว ย สัจจะ ๔ ใหเธอดาํ รงอยูในโสดาปต ติผล ตอมา ตรัสมหาสมย-สตู ร ใหเธอบรรลพุ ระอรหตั ซ่ึงเปนผลอนั เลิศ ภริยาของพระเถระเหลานัน้ มจี ิตใจอยางเดยี วกันหมดวา บัดนี้เราจะทําอะไรในที่นี้ จึงพากันเขา ไปหาพระมหาปชาบดเี ถรี ขอบรรพชา ภรยิ าท้ัง ๕๐๐ ไดบรรพชาอปุ สมบทในสาํ นกั พระเถรแี ลว แตในชาติตอจากอดตี ภรยิ าทัง้ หมดไดเ ปนบาทบรจิ าริกาของทา นพระนันทกะเถระ เมอื่ ดํารงอยูใ นอัตต-ภาพเปน พระราชา สมยั นั้น พระศาสดาตรสั สง่ั วาพวกภกิ ษจุ งสอนพวกภิกษุณี พระเถระ เมื่อถึงวาระ (เวน) ก็รูวาภิกษุณีเหลา นั้นเปนบาทบริจารกิ าของตนในภพกอ น จึงคดิ วา ภกิ ษผุ ไู ดบพุ เพนิวาสญาณเหน็ เรากาํ ลงั น่งั กลางภกิ ษุณีสงฆ ชักอุปมาละเหตุเปนตน มากลา วธรรม ตรวจดเู หตุอันนแ้ี ลว จะพงึ พูดเคาะวา ทา นนนั ทกะไมย อมสละเหลาสนมจนทกุ วนั น้ี ทา นมีเหลาสนมหอมลอ ม ชา งสงา งาม เพราะเหตุน้นั ทา นจงึ ไมไปเอง สงภกิ ษุรปู อ่นื ไปแทน แตภิกษุณที ้ัง ๕๐๐ รปูน้ัน จาํ นงหวงั เฉพาะโอวาทของพระเถระ ดว ยเหตนุ ้ี เมอ่ื ถึงวาระของทานพระผมู พี ระภาคเจาจึงไมทรงสงภกิ ษรุ ปู อนื่ ไปแทน ตรสั กะพระวา เธอจงไปเอง สอนภกิ ษุณีสงฆ ทา นไมอาจคัดคานพระดาํ รัสของพระศาสดาได เมือ่ ถงึ วาระของตน จงึ ใหโ อวาทภกิ ษุณีสงฆวัน ๑๔ คา่ํใหภ ิกษุณเี หลา นน้ั ทกุ รปู ดาํ รงอยูในโสดาปต ติผล ดวยธรรมเทศนาอนั ประดบั ดว ย สฬายตนะ (อายตนะ ๖) ภกิ ษณุ ีเหลา นัน้ ชื่นใจตอธรรมเทศนาของพระเถระ พากันไปสาํ นักพระศาสดา ทูลบอกคณุ ท่ีตนได พระศาสดาทรงนึกวา ใครหนอแสดงธรรม ภิกษุณีเหลา นี้จึงจะพึงบรรลมุ รรคผลช้ันสูง ๆ ทรงเหน็ วา ภกิ ษุณีท้งั ๕๐๐ นนั้ ฟง ธรรม
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 478เทศนาของนนั ทกะอกี ก็จกั บรรลุพระอรหัต วันรุง ข้ึน จึงทรงสงภกิ ษณุ ีเหลา น้นั ไป เพื่อฟง ธรรมเทศนาในสํานกั พระเถระผูเดยี ว วันรุงข้ึนภิกษุณเี หลานน้ั ฟงธรรมแลวกบ็ รรลพุ ระอรหตั ทง้ั หมด วันนั้น เวลาท่ีภิกษุณีเหลาน้นั มาเฝา พระผูม พี ระภาคเจา ทรงทราบวา ธรรมเทศนามีผล จงึ ตรัสวา เมือ่ วันวาน ธรรมเทศนาของนนั ทกะ เปน เสมอื นพระจันทร ๑๔ คํ่า วนั น้ีเปนเสมือนพระจันทร ๑๕ คาํ่ แลวทรงทําเหตุนั้นนน่ั แล ใหเ ปนอัตถุปปต ตเิ หตุเกิดเรื่อง จงึ ทรงสถาปนาพระเถระไวในตาํ แหนง เอตทคั คะเปนยอดของเหลา ภิกษุสาวกผโู อวาทสอนภกิ ษณุ ีแล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๗
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 479 อรรถกถาสตู รท่ี ๘ ประวตั พิ ระนนั ทเถระ ในสูตรที่ ๘ พงึ ทราบวินจิ ฉยั ดังตอไปน.้ี ดวยบทวา อนิ ทฺ ฺริเยสุ คตุ ตฺ ทฺวาราน ทา นแสดงวา ทานพระ-นันทเถระ เปน ยอดของเหลา ภกิ ษสุ าวกผคู ุม ครองทวารในอนิ ทรยี ๖.ความจรงิ พระสาวกทั้งหลายของพระศาสดา ชอ่ื วาไมค ุม ครองทวารไมมีกจ็ รงิ ถึงอยา งนัน้ ทานพระนันทเถระ ตอ งการจะมองทิศใด ๆในทศิ ทั้ง ๑๐ กม็ ิใชมองทิศน้นั ๆ อยางปราศจากสตสิ มั ปชัญญะเพราะเหตนุ ้นั ทานจงึ ชอื่ วา เปนยอดของเหลา ภิกษสุ าวกผคู มุ ครองทวารในอินทรยี ท้ังหลาย ในปญหากรรมของทาน มเี ร่ืองทก่ี ลา วตามลําดับ ดงั นี้ พระเถระรปู น้ี คร้งั พระพุทธเจาพระนามวาปทุมุตตระ ถอืปฏสิ นธิในครอบครัว กรงุ หงสวดี เจริญวัยแลว กําลังฟงธรรมในสาํ นักพระศาสดา เหน็ พระศาสดาสถาปนาภกิ ษรุ ูปหน่ึงไวใ นตําแหนง เอตทัคคะเปน ยอดของเหลา ภกิ ษุสาวกผูค มุ ครองทวารในอนิ ทรียท ้งั หลาย จงึกระทาํ กุศลใหย ิ่งยวดขน้ึ ไป ปรารถนาตาํ แหนงนัน้ . ทานทาํ กศุ ลจนตลอดชีวติ เวียนวา ยอยูในเทวดาและมนษุ ย ถอื ปฏสิ นธใิ นพระครรภของพระมหาปชาบดีโคตมี กรุงกบิลพศั ดุ. ครง้ั นั้น ในวันรับพระนามทา นทาํ หมพู ระประยูรญาติใหร า เรงิ ยนิ ดี เพราะเหตุนน้ั เหลา พระ-ประยรู ญาติ จงึ ขนานพระนามของทา นวา นันทกมุ าร. แมพระมหา-สัตว ทรงบรรลพุ ระสพั พัญุตญาณแลวประกาศพระธรรมจกั ร
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 480อนั ประเสรฐิ . ทรงอนุเคราะหโ ลก เสด็จจากกรงุ ราชคฤหไ ปสูกรงุ -กบิลพัศดุ ทรงทาํ พระพทุ ธบิดาใหดํารงอยูในโสดาปต ติผล โดยทรงเฝาครง้ั แรกเทา น้นั วันรุงขึ้น เสดจ็ ไปพระราชนิเวศนข องพระพทุ ธบิดาประทานโอวาทแกพ ระมารดาของพระราหลุ ตรสั ธรรมแกช นนอกนนั้วนั รงุ ข้นึ เม่ืองานอาวาหมงคลอัญเชญิ นนั ทกุมารเขา เรอื นอภเิ ศกกาํ ลงั ดาํ เนนิ ไป พระผมู ีพระภาคเจา เสดจ็ ไปนิเวศนข องนันทกุมารนนั้ทรงใหน นั ทกุมารถือบาตรเสด็จบายพระพกั ตรไปพระวหิ าร เพอื่ ใหเขาบรรพชา งานมงคลอภเิ ศก กก็ ีดกนั นันทกุมารอยางนั้นไมไ ด เวลานันทกุมารถอื บาตรตามเสดจ็ ชนบทกลั ยาณีเจาสาวกข็ ้นึ ปราสาทชัน้ บน เผยสีหบัญชร รอ งส่งั วา พระลกู เจาโปรดกลับมาเร็ว ๆ นันท-กุมารนัน้ ไดยินเสียงนาง ก็ไดแ ตแ ลดูดว ยใจรญั จวน ไมอาจทํานิมิตหมายตอบไดต ามชอบใจ เพราะเคารพในพระศาสดา. ดว ยเหตุนัน้นันทกมุ ารนัน้ จงึ รอ นใจ. ขณะนนั้ นันทกมุ ารกค็ ดิ อยา งเดียววา พระ-ศาสดาจกั ใหก ลบั ตรงน้ี พระศาสดาจกั ใหก ลับตรงน้ี พระศาสดากท็ รงนาํ ไปพระวิหารใหบรรพชา. นันทกุมารแมบ รรพชาแลว กข็ ดัไมได ไดแตน ิ่งเสีย นบั แตว นั บรรพชาแลว กย็ งั คงระลึกถงึ คาํ พูดของนางชนบทกัลยาณอี ยนู ั่นเอง ขณะนั้น เหมือนกบั นางชนบทกลั ยาณนี ้นัมายืนอยูไ มไกล นันทกุมารนั้น ถูกความกระสัน อยากลาสิกขา บีบคัน้ หนกั ๆ เขา กเ็ ดินไปหนอ ยหน่ึง เมือ่ เดินผานพมุ ไมห รอื กอไม ก็เหมอื นกับพระทศพลมาประทับยนื อยเู บ้อื งหนา ทา นเปนเหมือนขนไกที่เอาใสก องไฟ จงึ กลบั เขา ไปทอ่ี ยขู องตน พระศาสดาทรงพระดาํ ริวา นันทะอยูอยา งประมาทเหลอื เกนิไมอาจระงบั ความกระสันสึกได จึงควรทําการดับความรอ นจติ ของเธอ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: