พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 351คนอน่ื จงึ ยกธดิ าท่ีเจรญิ วัยใหทําใหเปนเจา ของทรพั ยส มบัติท้ังส้ินกลุ บุตรแมน้นั เมื่อเศรษฐลี วงไปแลว จึงรบั ตําแหนง เศรษฐแี ทนในพระนครนัน้ ดาํ รงอยจู นตลอดอายแุ ลว ไปตามยถากรรม. พระศาสดาตรัสเรือ่ งทง้ั ๒ นีแ้ ลว ทรงสบื ตอ อนสุ นธเิ ทศนาในขณะท่ตี รสั รูอ นตุ ตรสัมโพธญิ าณแลว ตรสั พระคาถาวา ดังน้ี อปปฺ เกนป เมธาวี ปาภเฏน วิจกขฺ โณ สมุฏ าเปติ อตฺตาน อณุ อคฺควึ สนฺธมนฺต.ิ บุคคลผมู ีปญ ญา มีปญ ญาเห็นประจักษ ยอ ม ตัง้ ตนไดดวยทรัพยอันเปน ตนทนุ แมเ ล็กนอย ดจุ บุคคลกอ ไฟอนั นอย ใหโพลงข้นึ ได ฉะนน้ั . พระศาสดาทรงแสดงเหตุน้ีแกบ รรดาภิกษผุ นู ่งั ประชุมกนั ในธรรมสภาดวยประการดงั นี้ น้ีเปนเร่ืองราวท่มี ีมาตามลาํ ดับจาํ เดิมแตก ารตั้งความปรารถนาไวใ นตอนแรกของพระมหาสาวกทั้งสอง ก็ตอมา พระศาสดามีหมพู ระอริยแวดลอ มแลวประทับนง่ัเหนอื ธรรมาสน ทรงสถาปนาพระจุลลปณฐกเถระไวใ นตาํ แหนงเอตทคั คะเปน ยอดของเหลาภิกษุผฉู ลาดในเจโตวิวัฏฏะ ผูเนรมติกายมโนมัยได ทรงสถาปนาพระมหาปณ ฐกเถระไวใ นตําแหนงเอตทคั คะเปนยอดของเหลาภิกษผุ ฉู ลาดในปญญาวิวฏั ฏะ ดวยประการฉะน้ี. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑ - ๒
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 352 อรรถกถาสตู รท่ี ๓ ประวัติพระสภุ ูตเิ ถระ พึงทราบวินิจฉยั ในพระสตู รที่ ๓ ตอ ไปน.้ี บทวา อรณวิหารีน ไดแกผ มู ีปกติอยูโดยหากิเลสมไิ ด จรงิ อยูกิเลสท้ังหลายมีราคะเปนตนทานเรยี กวา รณะ ช่ือวาผูมปี กติอยูโดยหากเิ ลสมิได เพราะไมมกี ิเลสท่ชี ่อื วารณะ นน้ั , ชื่อวา ผูมีปกติอยโู ดยหากเิ ลสมิได อรณวิหารนนั้ มอี ยแู กภิกษเุ หลา ใด ภกิ ษุเหลา น้นัช่อื วา ผูมปี กตอิ ยโู ดยหากิเลสมิได พระสภุ ตู ิเถระเปนยอดของเหลาภิกษุผูม ีปกตอิ ยูโ ดยหากเิ ลสมิไดเหลาน้นั จริงอยพู ระขณี าสพแมเหลาอ่นื ก็ช่อื วา อรณวหิ ารี กจ็ ริง ถงึ อยา งนั้นพระเถระก็ไดชอ่ื อยางน้นั ดว ยพระธรรมเทศนา ภกิ ษุเหลาอืน่ เมื่อแสดงธรรมยอ มกระทาํ เจาะจงกลาวคุณบาง โทษบา ง สวนพระเถระเม่อื แสดงธรรมก็แสดงไมอ อกจากขอกําหนดทพี่ ระศาสดาแสดงแลว . เพราะฉะนนั้ จึงชอื่ วาเปนยอดของเหลาภิกษุมีปกตอิ ยโู ดยหากเิ ลสมิได. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๓
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 353 อรรถกถาสูตรท่ี ๔ ประวตั พิ ระสภุ ตู ิเถระพงึ ทราบวนิ จิ ฉัยในสูตรท่ี ๔ ดงั ตอ ไปน้ี. บทวา ทกขฺ เิ ณยฺยาน แปลวา ผคู วรแกทักษณิ า พระขีณาสพทงั้ หลายเหลา อืน่ กช็ ือ่ วา พระทักขไิ ณยบุคคลผูเลิศ ในบทวาทกฺขิเณยฺยาน น้นั กจ็ ริง ถงึ อยา งน้นั พระเถระกาํ ลังบิณฑบาตกเ็ ขาฌานมเี มตตาเปน อารมณ ออกจากสมาบัตแิ ลว จึงรบั ภิกษาในเรอื นทกุ หลงั ดวยทายกผูถ วายภิกษาจักมีผลมาก เพราะฉะนนั้ทา นจึงเรยี กวา ผคู วรแกท กั ขิณา อตั ภาพของทา นงามดี รุง เร่ืองอยางยง่ิ ดจุ ซุมประตทู ่เี ขาประดบั แลวและเหมือนแผนผาวิจิตรฉะน้ันจงึ เรยี กวา สุภตู ิ ในปญหากรรมของทา นมเี รอื่ งทจ่ี ะกลาวตามลําดับดังตอ ไปนี้ :- เลา กนั วา ทา นสุภูติน้เี มอื่ พระผมู ีพระภาคเจา พระนามวาปทุมตุ ตระ ยงั ไมทรงอุบัติขนึ้ ไดบ ังเกดิ ในตระกูลพราหมณมหาศาลในกงหงสวดี ญาตทิ ้งั หลายขนานนามทา นวา นนั ทมาณพ ทานเจรญิ วยั แลวเรยี นไตรเพท ไมเ หน็ สาระในไตรเพทนั้น พรอ มดว ยบรวิ ารของตนมมี าณพประมาณ ๔๔,๐๐๐ คนออกบวชเปน ฤาษีอยู ณ เชงิ บรรพต ทาํ อภญิ ญา ๕ และสมาบัติ ๘ ใหบังเกิดแลวไดก ระทําแมอันเตวาสกิ ท้ังหลายใหไ ดฌ านแลว. ในสมัยนน้ั พระ-ผมู ีพระภาคเจา พระนามวา ปทมุ ตุ ตระทรงบงั เกดิ ในโลก ทรงอาศัยกรุงหงสวดปี ระทับอยู วนั หนึง่ ในเวลาใกลร ุงทรงตรวจดูสัตวโลก
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 385 ฝา ยกุลบุตรน้ันกระทํากศุ ลจนตลอดชีพแลว เวยี นวา ยอยใู นเทวดาและมนษุ ย มาถอื ปฏิสนธิในพระครรภข องพระราชธดิ าพระนามวา สุปปวาสา ในพทุ ธุบาทกาลนี้ ตัง้ แตเ วลาถือปฏิสนธิพระนางสุปปวาสารับเครือ่ งบรรณาการถึง ๕๐๐ ท้ังเชา ทั้งเย็นครัง้ น้นั พวกพระญาติตอ งการจะทดลองบุญ จึงใหพระนางน้ันเอาพระหตั ถถกู ตองกระเชาพืช หนอออกมาจากพืชชนิดหนง่ึ ๆ รอยหนงึ่บาง พนั หน่ึงบาง ขา วเกิดขึ้นจากนากรีสหนงึ่ ๕๐ เกวยี นบา ง๖๐ เกวียนบา ง แมเ วลาจะทาํ ยงุ ฉางใหเต็ม กท็ รงเอาพระหตั ถถูกตอ งประตูยงุ ฉาง ท่ตี รงทพี่ ระราชธดิ าจับแลว จับอีก ก็กลับเตม็ อกี เพราะบุญ เม่ือคนท้งั หลายกลา ววา \"บุญของพระราชธิดา\"แลวคดจากหมอ ท่ีมขี าวสวยเต็มใหแกค นใดคนหนึ่ง ยังไมย กพระหัตถออกเพยี งใด ขาวสวยก็ไมสิ้นเปลืองไปเพยี งนัน้ . เมอื่ ทารกอยูในครรภนนั่ เอง เวลาลวงไปถงึ ๗ ปแตเมอื่ครรภแ ก นางเสวยทุกขใหญอ ยถู ึง ๗ วนั นางปรึกษาสามีวากอนแตจะตาย ฉันจะถวายทานทัง้ ท่ีมีชีวติ อยเู ทยี ว จงึ สงสามีไปเฝาพระศาสดา ดว ยกลาววา ทานจงไปกราบทูลเร่ืองนี้แดพระศาสดาแลวนมิ นตพระศาสดา อน่งึ พระศาสดาตรัสคาํ ใด ทานจงต้ังใจกาํ หนดคาํ นั้นใหด ี แลวกลับมาบอกฉนั สามีไปแลว กราบทูลขาวแดพระศาสดา พระศาสดาตรสั วา พระนางสุปปวาสาโกฬิยธิดาจงมีความสขุ จงมคี วามสบาย ไมม โี รค จงคลอดบตุ รที่หาโรคมไิ ดเ ถดิพระราชาทรงสดับขา วนั้นจึงถวายบังคมพระศาสดา ทรงมุง หนาเสดจ็ กลับพระราชนเิ วศน พระกมุ ารก็คลอดจากพระครรภของ
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 386พระนางสุปปวาสางา ยเหมอื นนํ้าออกจากท่ีกรงนํ้าฉะนั้น คนท่นี ัง่ลอมอยูเรมิ่ หวั เราะ ทง้ั ทหี่ นา นองดว ยน้ําตา มหาชนยินดีแลว ราเริงแลว ไดไ ปกราบทูลขา วที่นา ยนิ ดแี ดพระราชา พระราชาทรงเห็นอาการของชนเหลาน้ันทรงดํารวิ า พระดํารสั ที่พระทศพลตรัสแลวเห็นจะเปนผลแลว พระองคเ สดจ็ มากราบทูลขาวของพระราชธิดาแดพระทศพล พระราชธิดาตรัสวา อาหารสําหรับคนเปน ทีพ่ ระองคนิมนตไ วจ ักเปนอาหารท่เี ปนมงคล ขอพระองคจงไปนมิ นตพ ระทศพล๗ วนั เถดิ เพคะ. พระราชาทรงกระทําดงั น้ัน ถวายทานแดพระภกิ ษุสงฆมพี ระพทุ ธเจาเปนประธาน ๗ วนั ทารกดับจิตท่ีเรารอ นของพระประยรู ญาตทิ ้งั หมด เพราะฉะน้นั พระประยรู ญาตจิ งึ เฉลิมพระนามของกุมารน้นั วา \"สวี ลที ารก\" สีวลที ารกน้นั เปนผูทนกรรมทุกอยา งตง้ั แตเกิด เพราะอยใู นพระครรภถ ึง ๗ ป พระธรรม-เสนาบดีสารีบตุ รไดส นทนาปราศรัยกบั สวี ลนี ้นั ในวนั ท่ี ๗ แมพ ระ-ศาสดาไดทรงภาณติ ถาคาในธรรมบทวา โย อมิ ปลปิ ถ ทุคฺค ส สาร โมหมจจฺ คา ติณฺโณ ปารคโต ฌายี อเนฺโช อกถ กถี อนุปาทาย นพิ พฺ ุต ตมห พฺรมู ิ พฺราหฺมณ ผูใ ดขา มทางอันตรายคอื สงสารอันขา มได ยากนี้ ถึงฝง แลว เปน ผูม อี ันเพงฌาน กา วลว ง โอฆะ ไมห ว่นั ไหว ไมม คี วามสงสัย เราเรยี ก นั้นวา เปน พราหมณ ดังน้.ี
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 387 คราวนัน้ พระเถระกลาวกะสีวลที ารกนนั้ อยางนวี้ า กเ็ ธอไดเ สวยกองทุกขเ หน็ ปานนี้ แลวบวชเสยี ไมส มควรหรอื สวี ลี. ตอบวาผมเมื่อไดกพ็ งึ บวช ทานผูเจริญ พระนางสุปปวาสาเห็นทารกน้นัพูดอยกู บั พระเถระ คดิ วา บตุ รของเราพดู อะไรหนอกบั พระธรรม-เสนาบดี จึงเขา ไปหาพระเถระถามวา บตุ รของดิฉนั พดู อะไรกับพระคุณเจา เจา คะ พระเถระกลาววา บุตรของทา น ถงึ ความทุกขที่อยูในครรภท่ตี นเสวยแลว กลาววา ทานอนญุ าตแลวจกั บวช พระนางสปุ ปวาสาตรัสวา ดลี ะเจา ขา โปรดใหเขาบรรพชาเถิด พระเถระนําทารกน้นั ไปวิหาร ใหตจปญจกกัมมัฏฐาน เมอ่ื จะใหบ รรพชากลาววา สวี ลี เราไมจ ําตอ งใหโ อวาทดอก เธอจงพจิ ารณาทกุ ขทเ่ี ธอเสวยมาถงึ ๗ ปน นั่ แหละ สีวลีกลาววา การใหบวชเทานั้นเปน หนาที่ของทาน สว นผมจกั รกู จิ ทผี่ มทาํ ได. สวี ลนี น้ั ตั้งอยใู นโสดาปตตผิ ลในขณะทโี่ กนผมปอยแรกทเ่ี ขาโกนแลวนน่ั เอง ขณะโกนปอยที่ ๒ ต้งั อยูในสกทาคามิผล ในขณะโกนผมปอยที่ ๓ต้ังอยใู นอนาคามผิ ล ก็การโกนผมหมด และการกระทาํ ใหแ จงพระอรหตั ไดมไี มก อนไมห ลงั กนั ตั้งแตวันท่ีทา นบวชแลว ปจ จยั ๔เกิดข้ึนแกภ ิกษุสงฆพอแกความตองการ. เรอื่ งตัง้ ขน้ึ ในที่นด้ี ว ยประการน.้ี ตอมา พระศาสดาไดเสดจ็ ไปยังกรุงสาวตั ถี พระเถระถวายบงั คมพระศาสดาแลว ทลู วา พระเจาขา ขา พระองคจักทดลองบุญของขาพระองค โปรดประทานภกิ ษุ ๕๐๐ รูปแกขา พระองค.ตรัสวา รับไปเถอะสีวล.ี เทวดาท่สี ิงอยู ณ ตน นิโครธไดเ ห็นทีแรก
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 388ไดถ วายทานแดพ ระเถระนน้ั ถงึ ๗ วนั ดังนั้น ทานจงึ กลา ววา นิโคฺรชปฺ ม ปสสฺ ิ ทุตฺย ปณฑฺ วปพฺพต ตตยิ อจิรวติย จตตุ ฺถ วรสาคร ปจฺ ม หิมวนตฺ โส อฏ ฉทฺทนตฺ ุปาคมิ สตตฺ ม คนฺธมาทน อฏม อถ เรวต เหน็ ครั้งแรก ที่ตนนิโครธ เหน็ ครัง้ ทสี่ อง ภูเขาปณฑวะ ครงั้ ทส่ี าม แมน ้าํ อจิรวดี ครั้งทีส่ ี่ ทะเล ครั้งท่ี ๕ ปาหิมพานต คร้งั ที่ ๖ สระฉันทนั ต ครัง้ ท่ี ๗ ภเู ขาคันธมาทน ครั้งท่ี ๘ ไปอยทู ี่พระเรวตะในท่ที ุกแหง เทวดาไดถวายทานแหงละ ๗ วัน ๆ ก็ทีภ่ เู ขาคนั ธมาทนทา วเทวราชชอื่ นาคทตั ใน ๗ วัน ไดถ วายบิณฑบาตเจือดว ยน้ํานมวันหนึง่ , ไดถ วายบิณฑบาตเจอื ดว ยเนยใส วนั หนึ่ง, ภิกษุสงฆก ลาววาผมู อี ายุ แมโคนมของเทวราชนีไ้ มป รากฏทเ่ี ขารีดนา้ํ นม การค้ันเนยใสก็ไมม .ี ขา แตเทวราช ผดอนั นเ้ี กดิ ขึน้ แกพระองคมาไดอ ยางไร.ทา วเทวราชกลาววา ทานเจา ขา นเี้ ปนผลแหง การถวายสลากภตั รเจอื น้ํานมแดพระทศพล ครัง้ พระทศพลกัสสปพุทธเจา ภายหลงั พระศาสดาทรงกระทําการท่เี ทวดากระทําการตอนรบั พระเถระน้นัผอู ยูในปาไมต ะเคียน ใหเ ปนอตั ถบุ ตั เิ หตเุ กิดเรอ่ื ง จึงทรงสถาปนาพระเถระไวใ นตาํ แหนงเปนยอดของเหลาภิกษผุ ถู งึ ความมีลาภอยา งเลศิ ในศาสนาของพระองค. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๙
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 389 อรรถกถาสตู รที่ ๑๐ ประวัตพิ ระวักกลเิ ถระ พงึ ทราบวินจิ ฉัยในสตู รที่ ๑๐ ดงั ตอไปน้ี. ดว ยบทวา สทธฺ าธมิ ตุ ฺตาน ทรงแสดงวา พระวกั กลิเถระเปน ยอดของเหลา ภกิ ษุผนู อ มใจไปดว ยศรทั ธา มีศรัทธาแรง จรงิ อยูศรทั ธาของคนอ่นื ๆ มีแตท าํ ใหเ จริญ สวนของพระเถระตองลดลงเพราะฉะนัน้ พระเถระนัน้ พระผมู พี ระภาคเจาจึงตรสั วา เปน ยอดของเหลาภกิ ษผุ นู อมใจไปดวยศรัทธา. คาํ วา วักกลิ เปน ช่ือของพระเถระน้ัน. ในปญหากรรมของพระเถระนน้ั มเี ร่ืองทีจ่ ะกลา วตามลําดับตอไปนี้ :- ดงั จะกลาวโดยยอ ในอดตี กาล ครง้ั พระปทมุ ุตตรพุทธเจาพระเถระนไ้ี ปวหิ ารยนื ฟง ธรรมทายบรษิ ัทโดยนัยที่กลา วแลว นนั่ แล.เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษรุ ปู หน่ึงไวใ นตําแหนง เปน ยอดของเหลาภกิ ษผุ ูนอมใจไปดว ยศรทั ธา จงึ คดิ วา แมเรากค็ วรเปนเชน นใี้ นอนาคตกาล จึงนิมนตพระศาสดาโดยนยั ท่กี ลา วแลว นั่นแลถวายมหาทาน ๗ วัน ถวายบงั คมพระทศพลแลวกระทาํ ความปรารถนาวา พระเจาขา ดวยกศุ ลกรรมอันนี้ ขอขา พระองคพ ึงเปน ยอดของเหลา ภกิ ษผุ นู อมใจไปดว ยศรทั ธา ในศาสนาของพระ-พุทธเจา พระองคหน่งึ ในอนาคตเหมือนภิกษทุ พี่ ระองคท รงสถาปนาไวใ นตําแหนง เอตทคั คะของเหลาภกิ ษผุ ูนอ มใจไปดว ยศรทั ธา.
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 390พระศาสดาทรงเห็นวา ทานไมม อี นั ตรายจงึ ทรงพยากรณแลวเสดจ็ กลับไป. ฝา ยทานกระทํากศุ ลตลอดชีพแลว เวยี นวา ยอยูในเทวดาและมนุษย ถือเอาปฏสิ นธิในตระกลู พราหมณกรงุ สาวัตถี คร้ังพระศาสดาของเรา ญาติทัง้ หลายไดข นานนามของทานวา วักกลิทานเจรญิ วัยแลว เรยี นไตรเพท เหน็ พระทศพลมภี กิ ษุสงฆแ วดลอมเสดจ็ จารกิ ในกรงุ สาวตั ถี ตรวจดูสรีรสมบัตขิ องพระศาสดาไมอ ิม่ ดว ยการเห็นสรีรสมบตั ิ จึงเทย่ี วไปพรอ มกบั พระทศพลนนั้ ดว ย เสด็จไปวหิ ารกไ็ ปกับพระทศพล ยนื มองความสําเร็จแหงพระสรีรสมบตั อิ ยเู ทียว ยนื ฟงธรรมในทีเ่ ฉพาะพระพักตรแ หงพระศาสดาผูประทบั นงั่ ตรัสธรรมในธรรมสภา ทานไดศ รัทธาแลว คดิ วา เราอยคู รองเรอื นไมไ ดเ ห็นพระทศพลเปนนติ ย จึงทูลขอบรรพชา บวชแลว ในสํานักของพระศาสดา ตั้งแตนนั้ เวนเวลากระทาํ อาหาร ในเวลาทเ่ี หลอื ยนื อยใู นที่ท่ียนื เหน็ พระทศพล จงึ ละโยนิโสมนสกิ ารเสีย อยูพระทศพลอยา งเดยี ว พระศาสดาทรงรอใหญ าณของทา นสกุ เสยี กอ น เมื่อทานเที่ยวไปดูรปู ในทนี่ ั้น ๆ เปนเวลายาวนานกไ็ มต รสั อะไร ทรงทราบวา บดั น้ีญาณของทานแกก ลา แลว ทานอาจตรัสรูได จงึ ตรัสอยางนีว้ า วกั กลิ ทานจะประโยชนอะไรดว ยมองรูปกายอันเปอ ยเนา นี้ทที่ า นเหน็ วักกลิผูใดแลเห็นธรรม ผนู ้ันชอ่ื วาเหน็ เรา ผใู ดเห็นเรา ผูน้ันชอื่ วาเห็นธรรมวกั กลิ เห็นธรรมจึงจะช่อื วาเหน็ เรา. เมือ่ พระศาสดาแมท รงโอวาทอยอู ยา งน้ี พระเถระกไ็ มอ าจละการดูพระทศพลแลว ไปในท่อี ื่น
พระสุตตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 391แตน น้ั พระศาสดาทรงดําริวา ภกิ ษุนี้ไมไดค วามสงั เวชจกั ไมตรสั รูเม่อื ใกลเขาพรรษา ทรงประกาศขบั ไลพระเถระน้นั วา วกั กลิจงหลีกไป ธรรมดาพระพทุ ธเจา ทัง้ หลายทรงมพี ระดํารสั ท่พี ึงยึดถอืเพราะฉะนน้ั พระเถระจึงยนื โตต อบพระศาสดาไมไ ด ไมบงั อาจมาเฉพาะพระพักตรพ ระทศพล คิดวา บัดนเ้ี ราจะทาํ อยางไรได เราถกูพระตถาคตประฌามเสยี แลว เราก็ไมไ ดอยูต อ หนาพระองค ประโยชนอะไรดวยชีวติ ของเรา จงึ ขึ้นสูท ีเ่ ขาขาดทเ่ี ขาคิชฌกูฏ พระศาสดาทรงทราบวา พระเถระนนั้ มคี วามลาํ บาก ทรงดาํ รวิ า ภกิ ษนุ ี้เมอื่ไมไ ดความปลอบใจจากเรา ก็จะพงึ ทาํ ลายอปุ นิสยั แหงมรรคผลเสยีจึงทรงเปลง รศั มไี ปแสดงพระองค คร้งั นนั้ ตั้งแตพระวักกลนิ ้นัเห็นพระศาสดากล็ ะความโศกศลั ยอ ยา งใหญ ดวยประการฉะนี.้พระศาสดาเพ่อื จะใหพระวักกลเิ ถระเกิดปตโิ สมนสั สรงขึ้น เหมอื นหล่งั กระแสนํา้ ลงในสระทแี่ หง จึงตรสั พระคาถาในพระธรรมบทวา ปาโมชฺชพหโุ ล ภิกขฺ ุ ปสนโฺ น พุทธฺ สาสเน อธคิ จเฺ ฉ ปท สนฺต สงขฺ ารุปสม สุขนตฺ ิ. ภกิ ษุผมู ากดวยความปราโมทย เลอื่ มใสใน พระพุทธศาสนา จะพึงบรรลบุ ทอันสงบทีร่ ะงบั สังขาร เปน ความสุขดงั น้ี. อนึ่ง พระศาสดาทรงเหยยี บพระหตั ถป ระทานแกพ ระวกั กลิ-เถระวา มาเถิดวกั กล.ิ พระเถระบังเกิดปต อิ ยา งแรงวา เราเห็นพระทศพลแลว ไดรับพระดํารัสตรสั เรยี กวา มาเถดิ วักกลิ ท้งั ไมรู
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 392การไปของตนวา จะไปทางไหน จงึ โลดแลน ไปในอากาศตอ พระพักตรพระทศพล แลว ทัง้ เทา แรกเหยยี บบนภูเขา นกึ ถงึ พระดํารัสที่พระศาสดาตรัสแลว ขมปต ิในอากาศนน่ั เอง บรรลพุ ระอรหตั พรอ มดว ยปฏสิ มั ภทิ า ลงมาถวายบังคมพระตถาคต. ภายหลังพระศาสดาประทบั นงั่ ทามกลางหมูพระอริยะ ทรงสถาปนาพระเถระไวใ นตาํ แหนง เปนยอดของเหลาภิกษุผนู อ มใจไปดว ยศรัทธา. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๑๐ จบ วรรคที่ ๒.
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 393 วรรคท่ี ๓ วาดวยภกิ ษุผูม ีตาํ แหนงเลศิ ๑ ทาน[๑๔๘] ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย พระราหลุ เลิศกวาพวกภิกษุสาวกของเราผูใ ครตอการศกึ ษา. พระรัฐปาละ เลิศกวาพวกภกิ ษสุ าวกของเรา ผูบ วชดวยศรัทธา. พระกณุ ฑธานะ เลศิ กวาพวกภกิ ษสุ าวกของเราผูร ับสลากกอน. พระวงั คีสะ เลิศกวา พวกภกิ ษุสาวกของเราผูม ปี ฏิภาณ. พระอปุ เสนวังคนั ตบตุ ร เลศิ กวา พวกภกิ ษุสาวกของเราผูน ําความเล่ือมใสมาโดยรอบ. พระทพั พมัลลบุตร เลศิ กวา พวกภิกษสุ าวกของเราผูจดั แจงเสนาสนะ. พระปลนิ ทวจั ฉะ เลศิ กวา พวกภกิ ษสุ าวกของเราผูเปน ท่รี ักเปน ท่ชี อบใจของเทวดาทง้ั หลาย. พระพาหิยทารจุ รี ยิ ะ เลศิ กวาพวกภิกษุสาวกของเราผูตรัสรูไดเรว็ พลนั . พระกุมารกัสสปะ เลิศกวา พวกภิกษสุ าวกของเราผแู สดงธรรมไดว ิจิตร. พระมหาโกฏฐติ ะ เลิศกวา พวกภิกษสุ าวกของเรา ผบู รรลุปฏสิ มั ภทิ า. จบ วรรคท่ี ๓
พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 394 อรรถกถาสตู รท่ี ๑ ประวตั ิพระราหลุ เถระวรรคที่ ๓ สูตรท่ี ๑ (เรอ่ื งพระราหลุ ) พึงทราบวนิ ิจฉัยดงั ตอ ไปน้.ี บทวา สกิ ฺขากามาน ความวา ผูใคร หมายความวา ผูรักศกึ ษาซ่งึ สิกขา ๓. พระศาสดาทรงแสดงพระราหลุ ผูเปนโอรสของพระองควา \"ราหุโล\" ไดยนิ วา พระเถระลกุ ขึ้นแตเชาตรู ตัง้ แตว ันทบ่ี วชแลวกอบทรายขึ้นเต็มมือปรารถนาวา อัศจรรยหนอ เราจะพึงไดโอวาทและพระอนสุ าสนีมปี ระมาณเทานีจ้ ากพระทศพลและพระอปุ ช ฌายอาจารยทัง้ หลายในวนั น้ี เพราะฉะนน้ั ทานจึงชอ่ื วา เปน ยอดของเหลาภิกษผุ ใู ครตอ การศึกษา. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๑ อรรถกถาสูตรที่ ๒ ประวัติพระรฐั ปาลเถระในสตู รที่ ๒ (เรื่องพระรัฐปาละ) พึงทราบวนิ ิจฉยั ดังตอ ไปน.ี้ บทวา สทธฺ าปพพฺ ชิตาน แปลวา ผูบ วชดวยศรัทธา. บทวารฏ ปาโล ไดแกผ ูถงึ การนบั วา รัฐบาล แมเ พราะอรรถวา เปนผูสามารถรักษารัฐไวได หรอื ผเู กิดในตระกูลทส่ี ามารถสมานรฐัทแ่ี ตกรา วกันไวไ ด. จริงอยู ภกิ ษุรัฐปาละน้นั ฟง ธรรมเทศนาของพระศาสดา ไดศ รัทธากระทําการอดขา วถงึ ๔ วนั จึงใหม ารดา
พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 395บิดาอนญุ าตใหบ วชได จึงบวชแลว เพราะฉะน้ัน ทานจงึ เปน ยอดของเหลาภกิ ษผุ ูบวชดวยศรทั ธา. ประวัติพระราหุลเถระ และพระรฐั ปาลเถระ ก็ในปญหากรรมของพระเถระท้ังสองรูปน้ี มเี รือ่ งทจี่ ะกลา วตามลาํ ดับดงั ตอไปนี้ :- ไดย ินมาวา ในอดีตกาล ครงั้ พระปทุมุตตรพระพทุ ธเจาพระเถระท้ัง ๒ นี้ บงั เกิดในครอบครัวคฤหบดีมหาศาลในกรุง-หงสวดี ในเวลาที่ทานยงั เปน เดก็ ไมมีใครพดู ถงึ ช่ือและโคตร แตพอทา นเจรญิ วยั แลว ดํารงอยูในฆราวาส เม่อื บิดาของแตละคนลว งไปแลว ทา นทง้ั ๒ จงึ เรียกคนจัดการคลังรัตนะของตน ๆ มาแลวเหน็ ทรัพยห าประมาณมิได คิดวาชนท้งั หลายมปี ูแ ละปูท วดเปน ตนพาเอากองทรัพยมปี ระมาณเทา นีไ้ ปกับตนไมไ ด บดั นี้ เราควรจะถอื เอาทรพั ยน ี้ไปโดยอุบายอยางใดอยางหนึง่ ดังน้คี นท้งั ๒น้ันจงึ เรม่ิ ใหม หาทานแกคนกําพราและคนเดินทางเปนตน ในสถานที่๔ แหง คนหนึ่งสอบถามคนทีม่ าแลวมาอกี ในโรงทานของตน ผใู ดชอบใจส่งิ ใดเปน ตนวา ขาวยาคแู ละของเคย้ี วกใ็ หส ่งิ น้ันแกผนู ้นัเพราะเหตนุ น้ั แล เขาจึงมชี อ่ื วา ผกู ลาวกะผทู มี่ าแลว อีกคนหนง่ึไมถ ามเลย เอาภาชนะท่เี ขาถือมาแลว ๆ ใสใ หเ ต็ม ๆ แลวจงึ ใหดว ยเหตุนน้ั แหละ เขาจงึ มีชอื่ วา ไมกลา วกะผูทีม่ าแลว อธิบายวาถามดว ยความไมประมาท วนั หนงึ่ ชนท้ัง ๒ นน้ั ออกไปนอกบานเพ่ือลางปากแตเชาตรู.
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 396 สมยั นน้ั ดาบสผมู ีฤทธ์มิ าก ๒ รูป เหาะมาแตปาหมิ พานตเพือ่ ภิกขาจาร ลงไมไกลสหายทั้ง ๒ นัน้ ยืนในท่ขี างหนึ่งดวยคิดวา\"ชนทงั้ ๒ นนั้ เม่อื ดาบสท้งั ๒ นัน้ จดั แจงบรขิ ารมีภาชนะน้าํ เตาเปนตน เดนิ มุงไปภายในบาน จึงมาไหวใ กลๆ ครั้งนั้นดาบสกลาวกะชนทัง้ ๒ นน้ั วา ทา นผูมีบญุ ใหญ ทานมาในเวลาไร ชนท้งั ๒ น้ันตอบวา มาเดีย๋ วนี้ขอรับ แลว รบั ภาชนะนํา้ เตาจากมือของดาบสท้งั ๒ นน้ั นําไปเรือนของตน ๆ ในเวลาเสรจ็ ภตั รกจิ จงึ ขอใหรับปากวา จะมารบั ภิกษาเปน ประจาํ . ในดาบสท้ังสองนั้น รูปหนงึ่ เปนคนมักรอน จึงแหวกนาํ้ในมหาสมุทรออกเปน ๒ สว นดว ยอานุภาพของตน แลว ไปยังภพของปฐวนิ ทรนาคราชน่ังพักกลางวนั . ดาบสถือเอาฤดพู อสบายแลวจงึ กลับมา เมื่อจะกระทาํ อนุโมทนาภตั รในเรือนแหง อุปฎฐากของตน กก็ ลา ววา ขอจงสําเรจ็ เหมือนดงั ภพปฐวนิ ทรนาคราช. ยอมาวนั หนึง่ อุปฏฐากถามดาบสนั้นวา ทานผเู จริญ ทา นกระทาํ อนโุ มทนาวา จงสําเรจ็ เหมือนภพปฐวินทรนาคราช โปรดบอกขอ ความ พวกขา พเจา ไมทราบความท่ที านกลาวนี้วา คํานีท้ า นหมายความวาอะไร, ดาบสกลา ววา จรงิ ซิ กฏุ มพี เรากลา ววา สมบัติของทา นจงเปนเหมือนสมบตั ขิ องพระยานาคชอื่ วา ปฐวินทร, ตง้ั แตนั้นมากุฏมพกี ต็ ้ังจติ ไวในภพของพระยานาคชอ่ื วา ปฐวนิ ทร. ดาบสอีกรปู หน่งึ ไปยังภพดาวดงึ ส กระทําการพกั กลางวนัในเสริสกวมิ านทวี่ า งเปลา ดาบสนน้ั เทย่ี วไปเที่ยวมาเห็นสมบตั ิของทาวสกั กเทวราช เมอ่ื จะการทาํ อนโุ มทนาแกอปุ ฏ ฐากของตน
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 397กก็ ลา ววา สมบัติของทานจงเปน เหมอื นสักกวมิ าน. ครัง้ นัน้ กุฎม พีก็แมนั้นกถ็ ามดาบสนน้ั เหมือนอยางสหายอกี คนหนึง่ ถามดาบสนน้ักฏุ ม พีก็ฟง คําของดาบสนน้ั จงึ ตั้งจติ ไวใ นภพของทา วสกั กะ. ชนทง้ั สองนน้ั จงึ บงั เกดิ ในที่ที่ตนปรารถนาแลวนนั้ แล. ผูทเี่ กดิ ในภพของปฐวินทรนาคราช ก็มชี อื่ วา ปฐวนิ ทรนาค-ราชา พระราชาน้นั ในขณะท่ีตนเกิดแลว เหน็ อัตภาพของตนมคี วามรอนใจวา ดาบสผูเ ขา สูสกลุ สรรเสริญคุณแหง ฐานะของเราไมนาพอใจหนอ ทนี่ ี้เปนที่ตองเล้อื ยไปดวยทอง ดาบสนัน้ ไมรทู อ่ี ื่น ๆ แนแ ทในขณะน้ันนน่ั แล เหลา นาคผฟู อนรําแตงตวั แลวไดประคองเครือ่ งดนตรีในทกุ ทศิ แกพระยานาคนน้ั ในขณะนั้นน่ันแหละพระยานาคน้นั ก็ละอัตภาพนน้ั กลายเพศเปนมาณพนอ ย ทาวมหาราชท้ัง ๔เขา เฝาทา วสกั กะทุกกง่ึ เดอื น เพราะฉะน้ันแมพ ระยานาคนน้ั กต็ องไปเฝา ทา วสกั กะพรอมกบั พระยานาคช่อื วิรูปกษด วย ทา วสกั กะเหน็ พระยานาคน้นั มาแตไกลก็จําได ทีนัน้ ทา วสกั กะจงึ ถามพระยา-นาคน้ันในเวลายืนอยใู นทใ่ี กลว า สหาย ทา นไปเกิดท่ีไหน พระยานาคกลา ววา ทานมหาราช อยา งถามเลย ขา พเจา ไปเกิดในท่ีท่ตี องเลือ้ ยไปดวยทอง สวนทา นไดมติ รท่ดี ีแลว ทา นสักกะตรัสวา สหายทา นอยาวิตกเลยวาเกิดในทีไ่ มส มควร พระทศพลพระนามวาปทุมุตตระทรงบังเกิดในโลกแลว ทา นจงพระทาํ กศุ ลกรรมแดพระองคน นั้ แลวปรารถนาฐานะนี้เถดิ เราท้ัง ๒ จกั อยรู วมกนัเปนสขุ . พระยานาคนัน้ กลา ววา เทวะ ขาพเจา การทาํ อยา งน้ัน
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 398ไปนิมนตพระปทุมุตตระทศพล จดั แจงเครอ่ื งสกั การะสมั มานะตลอดคนื ยนั รงุ กับนาคบริษทั ในภพนาคของตน วนั รงุ ขึ้น เมอื่ รุง อรณุ พระศาสดาตรัสเรยี กพระสมุ นเถระผูอุปฏ ฐากของพระองคว า สมุ นะ วนั น้ีตถาคตจักไปภิกษาจาร ณท่ไี กล ภิกษปุ ถุชนจงอยามา, จงมาแตพ ระผบู รรลุปฏิสมั ภทิ าผูท รงพระไตรปฎ ก ผูม ีอภญิ ญ ๖ เทา นนั้ พระเถระสดบั พระดํารัสของพระศาสดาแลว แจง แกภิกษุทง้ั ปวง ภกิ ษปุ ระมาณแสนหนึง่ เหาะไปพรอ มกับพระศาสดา พระยานาคปฐวินทรกบั นาคบรษิ ทั มารับเสด็จพระทศพลแลดูพระภกิ ษุสงฆท ีล่ อ มพระศาสดาซึ่งกําลงั เหยียบคล่นื ซ่ึงมสี ีดงั แกวมณีบนยอดคล่ืน แลเห็นพระศาสดาอยูเบ้อื งตนพระสงฆน วกะจนถงึ สามเณรช่อื อปุ เรวตะผูเปน โอรสของพระตถาคตอยูทาย จงึ เกดิ ปติปราโมทยวา พุทธานภุ าพเห็นปานน้ี ของพระสาวกท่เี หลอื ไมนาอัศจรรย แตพระพทุ ธานุภาพแหงทารกเล็กนี้ชางนาอศั จรรยเ หลือเกินดังน้ี. ครั้งนัน้ เม่อื พระทศพลประทบั นั่งทภี่ พของพระยานาคนน้ัแลว เมือ่ ภิกษนุ อกนน้ี ัง่ จาํ เดิมแตท ่ีสุดจนมาถึงอาสนะของสามเณรอปุ เรวตะในท่ีเฉพาะพระพักตรข องพระศาสดา พระยานาคเมอ่ืถวายขา วยาคูกด็ ี เมื่อถวายของเคย้ี วกด็ ี พระดพู ระทศพลทีหนง่ึดสู ามเณรอปุ เรวตะทีหน่งึ นับวามหาปุรสิ ลักษณะ ๓๒ ประการในสรีระของสามเณรน้นั ยอมปรากฏเสมอื นพระพุทธเจา เปน อะไรกนั หนอ ดังนจี้ งึ ถามภิกษุรปู หนึ่งผนู ั่งไมไ กลวา ทานเจาขา สามเณรรูปน้เี ปน อะไรกบั พระทศพล ภกิ ษนุ ้ันตอบวา เปนโอรสมหาบพิธ.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 399พระองคจ ึงดํารวิ า ภิกษุรูปน้ีใหญห นอ จงึ ไดความเปน โอรสของพระตถาคตผสู งา งามเหน็ ปานน้ี แมสรรี ะของทา นก็ปรากฏเสมือนพระสรีระของพระพทุ ธเจา โดยสว นเดยี ว แมต วั เราก็ควรเปนอยา งนีใ้ นอนาคตกาล จงึ ถวายมหาทาน ๗ วัน แลว กระทาํ ความปรารถนาวา พระเจา ขา ขาพระองคพึงเปน โอรสของพระพทุ ธเจาพระองคห นง่ึ ในอนาคตเหมอื นอปุ เรวตะสามเณรนี้ ดวยอานุภาพแหงกุศลกรรมนี้ พระศาสดาทรงเห็นวา หาอันตรายมิได จงึ ทรงพยากรณว า ในอนาคตมหาบพติ รจักเปนโอรสแหง พระพุทธเจาพระนามวา โคตมะ ดังนีแ้ ลวเสดจ็ กลับไป. สวนปฐวนิ ทรนาคราช เม่ือถึงกึ่งเดือนอีกครงั้ หน่ึงก็ไปเฝาทา วสกั กะกับพระยานาคชือ่ วริ ูปก ษ คราวนน้ั ทาวสักกะตรสั ถามพระยานาคน้นั ผมู ายืนอยูในท่ใี กลวา สหาย ทานปรารถนาเทวโลกน้แี ลวหรือ ร. ขาพเจา มไิ ดปรารถนาดอกเพ่อื น ส. ทา นเหน็ โทษอะไรเลา ? ร. โทษไมมีมหาราช, แตขาพเจา เห็นสามเณรอปุ เรวตะโอรสของพระทศพล ตงั้ แตข า พเจาไดเห็นสามเณรนัน้ ก็มไิ ดน อมจติ ไปในทอ่ี ื่น ขา พเจา น้ันกระทาํ ความปรารถนาวา ในอนาคตกาล ขอขา พเจาพึงเปนโอรสเหน็ ปานนี้ของพระพุทธเจาพระองคหน่ึง ขาแตม หาราช แมพ ระองคก็จงการทาํ ความปรารถนาอยา งหน่ึงเถิดเราท้งั ๒ จักไมพรากกันในท่ี ๆ เกิดแลว ทา วสกั กะรับคาํ ของพระยานานน้ั แลวเหน็ ภกิ ษุผูมีอานุภาพมากรูปหนึง่ จึงนึกวากลุ บุตรนอี้ อกบวชจากสกลุ ไหนหนอดงั นี้ ทราบวา กุลบุตรผนู เี้ ปนบตุ รของสกุลผูส ามารถสมานรฐั ทแ่ี ตกแยกกันแลว กระทําการอด
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 400อาหารถึง ๑๔ วนั ใหมารดาบดิ าอนุญาตใหบรรพชาแลว บวชแลว กแ็ ลครน้ั ทราบแลว จึงเปน เหมือนไมทราบ ทลู ถามพระทศพลแลวกระทํามหาสักการะ ๗ วัน กระทําความปรารถนาวา พระเจาขาดว ยผลแหง กลั ยาณกรรมน้ี ขา พระองคพึงเปนยอดของเหลา ภกิ ษุผูบวชดวยศรัทธาในศาสนาของพระพุทธเจา พระองคหน่งึ ในอนาคตเหมือนอยางกุลบตุ รผนู ้ีในศาสนาของพระองคเถดิ . พระศาสดาทรงเหน็ ความปรารถนาหาอันตรายมไิ ด จึงพยากรณว า มหาบพิตรพระองคจกั เปน ยอดของเหลาภกิ ษผุ บู วชดวยศรัทธาในศาสนาของพระพุทธเจาพระนามวา โคตมะ ในอนาคตแลวเสดจ็ กลับไป ฝา ยทา วสักกะก็เสด็จกลับไปยงั เทพบุรขี องพระองคตามเดมิ . ชนทงั้ สองน้ันจตุ ิที่ทต่ี นเกดิ แลว เวยี นวายอยใู นเทวดาและมนุษยลว งไปหลายพันกัป ในทส่ี ุดกัปท่ี ๙๒ แตกัปนี้ พระพุทธเจาพระนามวา ผุสสะ ทรงอุบตั ิข้ึนในโลก พระพุทธบิดาของพระองคเปนพระราชาพระนามวา มหนิ ทะ มีนอ งชายตางมารดากัน ๓ องคพระราชาทรงยดึ ถือวา พระพุทธเจาเปน ของเราเทานั้น พระธรรมเปนของเรา พระสงฆเปน ของเรา ทกุ ๆ วันทรงใหพ ระทศพลเสวยโภชนะดว ยพระองคเ องเปนประจาํ ตอ มาภายหลงั วนั หนง่ึ เมือ่ ชายแดนของพระองคกําเรบิพระองคตรัสเรยี กโอรสมาส่ังวา ลกู เอย ชายแดนกําเริบ พวกเจา หรอื เราควรไป ถาเราไปเจา จะตอ งปรนนบิ ัติพระทศพลโดยทานองน้ี พระราชโอรสท้ัง ๓ นนั้ ทูลเปน เสยี งเดยี วกนั วา ขาแตพระชนก พระองคไมจ าํ ตอ งเสด็จไป พวกขาพระองคจกั ชว ยกัน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: