Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_32

tripitaka_32

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:35

Description: tripitaka_32

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 401ปราบโจรดงั น้ี จงึ ถวายบงั คมพระชนกแลว เสดจ็ ไปยังปจ จนั ตชนบทปราบโจรแลว มชี ัยชนะแกข าศึกแลว เสด็จกลับ พระราชกมุ ารเหลา นั้นปรึกษากบั เหลา ผใู กลชดิ ในระหวางทางวา พอ เอยในเวลาท่เี รามาเฝาพระชนกจักประทานพร เราจะรับพรอะไร พวกขาบาทมูลกิ าทูลวา พระลูกเจา เม่ือพระชนกของพระองคล วงลบั ไป ไมมีอะไรทช่ี ือ่ วาไดยาก แตพ ระองคโปรดรบั พรคือการปรนนบิ ตั ิพระผุสสพทุ ธเจา ซง่ึ เปนพระเชฏฐภาดาของพระองคเถิด พระราช-กุมารเหลานั้นกลาววา พวกทานพูดดจี งึ พรอ มใจกันทกุ ๆ องคไปเฝาพระชนก ในกาลนน้ั พระชนกทรงเล่ือมใสพระราชกมุ ารเหลา นนั้ แลวทรงประทานพร พระราชกมุ ารเหลาน้ันทูลขอพรวาพวกขาพระองคจ ักปรนนิบัตพิ ระตถาคตตลอดไตรมาส พระราชาตรสั วา พรนเ้ี ราใหไมได จงขอพรอยางอน่ื เถิด พระราชกมุ ารกราบทลู วา ขา แตพ ระชนก พวกเขา พระองคกไ็ มต อ งการพรอยา งอ่นืถาหากพระองคประสงคจ ะพระราชทาน ขอจงพระราชทานพรน้นันนั่ แหละแกพวกขา พระองคเ ถิด พระราชาเมอ่ื พระราชโอรสเหลา นน้ั ทูลขออยูบอย ๆ ทรงดํารวิ า เราไมใหไ มไ ด เพราะเราไดปฏิญญาไวแ ลวจึงตรัสวา พอเอย เราใหพรแกพ วกเจา กแ็ ตวาธรรมดาพระพทุ ธเจา เปนผูอ ันใคร ๆ เขาเฝา ไดย าก เปน ผูมีปกติเท่ยี วไปพระองคเดียวดุจสหี ะ พวกเจาจงเปนผไู มป ระมาทปรนนบิ ตั ิพระทศพลเถดิ . พระราชกุมารเหลา น้ันดํารวิ า เมื่อพวกเราจะปรนนบิ ตั ิพระตถาคต กค็ วรจะปรนนบิ ตั ใิ หส มควร จงึ พรอมใจกนั สมาทานศีล

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 402๑๐ เปน ผูไมมีกล่นิ คาว ตงั้ บรุ ุษไว ๓ คนใหด แู ลโรงทานสําหรบัพระศาสดา บรรดาบรุ ุษ คนน้นั คนหนง่ึ เปนผูจดั แจงการเงินและขาวปลาอาหาร. คนหนง่ึ มหี นา ท่ีตวงขาว คนหนง่ึ มีหนา ทีจ่ ัดทาน.ในบุรษุ ๓ คนน้ัน คนจดั แจงการเงินและขา วมาเถดิ เปน พระเจาพิมพิสารมหาราชในปจจบุ นั คนตวงขา วมาเกดิ เปนวิสาขอุบาสก,คนจดั ทานมาเกดิ เปน รฐั ปาลเถระแล. กุลบุตรน้ันบําเพญ็ กุศลในภพนัน้ ตลอดชพี แลวบังเกดิ ในเทวโลก. สวนพระยานาคน้เี กดิ เปนพระเชฏฐโอรสของพระเจา กิกิ ครง้ั พระทพี่ ลพระนามวา กัสสปชอ่ื วาราหุลเถระ พระญาติทง้ั หลายขนานนามพระองควา ปฐวินทร-กุมาร พระองคมภี คนิ ี ๗ พระองค พระภคินีเหลานนั้ สรา งบรเิ วณถวายพระทศพลถึง ๗ แหง พระปฐวนิ ทรกุมารทรงไดต าํ แหนงอุปราช พระองคต รัสกะภคินีเหลา น้ันวา ในบรรดาบริเวณทีพ่ ระนางไดส รางไวน ้นั ขอจงประทานใหหมอ มฉันแหง หน่งึ พระภคนิ เี หลา น้ันทูลวา พระพีเ่ จา พระองคด าํ รงอยใู นฐานะเปน อุปราช พระองคพึงประทานแกหมอมฉันตางหาก พระองคโ ปรดสรา งบริเวณอื่นเถดิพระราชกุมารนน้ั ไดสดับคาํ ของพระภคนิ เี หลานนั้ แลว จงึ ใหสรา งวิหารถึง ๕๐๐ แหง . อาจารยบ างพวกกลาววา บริเวณ ๕๐๐ แหงก็มี พระราชกุมารนนั้ ทรงบําเพญ็ กศุ ลตลอดชพี ในอัตภาพน้ันไปบงั เกดิ ในเทวโลก ในพุทธุบาทกาลน้ี ปฐวินทรกมุ ารถอื ปฏสิ นธิในพระครรภแ หง พระอัครมเหษแี หงพระโพธสิ ัตวข องเรา สหายของทานบงั เกิดในเรือนแหงรัฐปาลเศรษฐี ในถุลลโกฏฐิตนิคมแควนกรุ .ุ คร้งั น้ัน พระทศพลของเราทรงบรรลอุ ภิสมั โพธญิ าณแลว

พระสุตตันตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 403ทรงประกาศธรรมจักรอนั ประเสริฐแลว เสดจ็ มายังกรุงกบลิ พสั ดุโดยลาํ ดับ ทรงใหร าหลุ กุมารบรรพชาแลว . วธิ บี รรพชาราหลุ กมุ ารนัน้ มาแลวในพระบาลี. ก็พระศาสดาไดต รสั ราหุโลวาทสูตร เปนโอวาทเนอื ง ๆ แกพ ระราหลุ นั้นผูบรรพชาแลว อยางน้ี แมพระ-ราหุลลกุ ข้นึ แตเ ชาตรู เอามือกอบทรายขึ้นกลาววา วนั น้เี ราพงึไดโอวาทมีประมาณเทานี้จากพระทศพล และอปุ ช ฌายอาจารยทั้งหลาย เกดิ การสนทนากันในทา มกลางสงฆวา ราหุลสามเณรทนตอ พระโอวาทหนอ เปนโอรสท่ีคคู วรแกพระชนก\" พระศาสดาทรงจิตวาระแหงภิกษทุ ั้งหลาย ทรงพระดํารวิ า เม่ือเราไปแลวธรรมเทศนาอยางหนึ่งจกั ขยาย และคณุ ของราหุลจกั ปรากฏ จงึเสด็จไปประทบั นั่งเหนอื พทุ ธอาสนในธรรมสภา ตรสั เรยี กภิกษุท้ังหลายวา ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกเธอนงั่ ประชุมสนทนากันดวยเรือ่ งอะไรหนอ ภิกษุทง้ั หลายกราบทลู วา ขา แตพ ระผมู พี ระภาคเจา พวกขา พระองคส นทนากนั ถงึ ความทีร่ าหลุ สามเณรเปนผูอดทนตอ โอวาทพระเจาขา พระศาสดาทรงดาํ รงอยใู นฐานะนเ้ี พื่อทรงแสดงถึงคุณของราหลุ สามเณร จึงทรงนาํ มคิ ชาดกมาตรสั วา .- \"มิคนฺคิปลฺลตถฺ มเนกมาย อฏกขฺ ร อฑฺฒรตตฺ าวปายึ เอเกน โสเตน ฉมาสสฺ สนโฺ ต ฉทิ กลาหตี ิ โภ ภาคิเนยฺโย\" ติ ฉนั ยังเนอ้ื หลานชายผูม ี ๘ กบี นอนโดยอาการ ๓ ทา มีมารยาหลายอยา ง ดืม่ กินน้ําในเวลา

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 404 เที่ยงคนื ใหเลา เรยี นมายาของเนื้อดแี ลว ดูกอ น นอ งหญงิ เน้อื หลานชายกล้นั ลมหายใจไวไ ด โดย ชอ งโสตขา งหนึง่ แนบติดอยกู ับพืน้ จะทาํ กลลวง นายพรานดวยอบุ าย ๖ ประการ. ตอ มา ในเวลาทีส่ ามเณรมอี ายุ ๗ พรรษา ทรงแสดงอมั พลัฏฐิยราหโุ ลวาทแกร าหลุ สามเณรนน้ั วา ราหุลอยา กลา วสัมปชานมสุ า แมเ พอ่ื จะเลน โดยความเปนเด็กเลย ดังน้ีเปน ตนในเวลาท่ีสามเณรมีอายุ ๑๘ พรรษา ตรสั มหาราหุโลวาทสูตรโดยนยั วา \"ราหุล รูปอยางใดอยางหนง่ึ \" ดงั น้ีเปนตน แกราหลุผูเ ขาไปบณิ ฑบาตตามหลังของพระตถาคต มองดูรูปสมบัติของพระศาสดาและของตน ตรึกวติ กทเ่ี นือ่ งดว ยครอบครวั สวนราหุโลวาทในสงั ยตุ ก็ดี ราหุโลวาทในองั คุตตรนกิ ายกด็ ี เปน อาจารยแ หงวปิ ส สนาของพระเถระทั้งนั้น. ภายหลงั พระศาสดาทรงทราบวา ญาณของทา นแกกลาในเวลาที่ราหลุ เปน ภกิ ษุยงั ไมม พี รรษาประทบั น่ังที่อนั ธวนั ตรสัจลุ ลราหุโลวาทสตู รแลว เวลาจบเทศนา พระราหลุ เถระบรรลุพระอรหตั พรอ มกบั เทวดาแสนพันโกฏิ เทวดาที่เปน พระโสดาบนัพระสกทาคามีและพระอนาคามนี บั ไมถ วน. ยอ มาภายหลงั พระ-ศาสดาทรงประทบั นง่ั ทามกลางพระอริยสงฆ ทรงสถาปนาพระเถระในตําแหนงเปนยอดของเหลา ภกิ ษุผใู ครตอการศกึ ษาในศาสนาน้ี.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 405 ก็เม่ือพระศาสดาทรงเสด็จออกจาริกไปในกุรุรัฐ ทรงบรรลุถงึ ถุลลโกฏฐติ นิคมโดยลาํ ดบั กุลบตุ รชือ่ รัฐปาลฟงพระธรรมเทศนาของพระศาสดา ไดศ รัทธาใหม ารดาบดิ าอนญุ าตแลว เขา เฝาพระทศพล บวชแลว ในสํานกั ของพระเถระรปู หนึ่ง ตามพระบญั ชาของพระศาสดาตั้งแตว นั ที่ทานบวชแลว เศรษฐคี หบดเี ห็นภกิ ษุทง้ั หลายไปยงั ท่ปี ระตนู เิ วศนของตนยอมดา บริภาษาวา มีงานอะไรของทา นในเรอื นนี้ (เรา) มบี ตุ รนอยคนเดยี วเทานัน้ พวกทา นก็มานาํ เขาไปเสีย บัดนจ้ี ะทําอะไรอีกละ . พระศาสดาประทบั อยูท่ีถุลลโกฏฐิคามก่งึ เดือนแลว เสดจ็ มายังกรงุ สาวตั ถีอกี . ครง้ั นนั้พระรัฐปาลกระทาํ กิจในโยนโิ สมนสิการ เจรญิ วปิ ส สนาบรรลุพระอรหัตแลว ทานทูลขออนุญาตพระศาสดาแลว ไปยงั ถลุ ลโกฏฐติ -นคิ มเพื่อเยีย่ มบดิ ามารดา เทย่ี วบิณฑบาตไปตามลาํ ดับตรอกในนิคมนน้ั ไดข นมกมุ มาสบูดท่ีคา งคืนในนเิ วศนของบดิ า เกิดอสภุ -สญั ญาในเหลา หญิงท่ีแตง ตวั แลวจงึ ยนื ขึ้นแสดงธรรม เหาะไปแลวประดจุ ศรเพลงิ ท่ีพนแลว จากแลง ไปยงั มิคาจิรอทุ ยานของพระเจาโกรพย ลงน่ังแผนศิลาอันเปน มงคล แสดงธรรมอนั ประดับแลวดวยความเล่ือมใส ๔ ประการแดพระราชาผเู สดจ็ มาเยี่ยม จารกิไปโดยลําดับกลับมาเฝาพระศาสดาอีก. เรอ่ื งนีต้ ้ังข้นึ แลวดว ยอาการอยา งนี.้ ตอ มาภายหลงั พระศาสดาประทับนั่งทามกลางพระอรยิ สงฆ ทรงสถาปนาพระเถระไวในตําแหนง เปนยอดของเหลากุลบตุ รผูบวชดวยศรทั ธาในศาสนานแี้ ล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๒

พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 406 อรรถกถาสูตรท่ี ๓ ประวตั พิ ระโกณฑธานเถระ พงึ ทราบวนิ ิจฉัยในสตู รที่ ๓ (เรือ่ งพระโกณฑธานะ) ดังตอไปน้ี. ดวยบทวา ปฐมสลาก คณหฺ นฺตาน พระศาสดาทรงแสดงวาพระโกณฑธานเถระ. เปน ยอดของเหลาภิกษผุ ูจ บั สลากไดกอนภกิ ษุอืน่ ท้ังหมด ไดย นิ มาวา พระเถระนน้ั เมื่อพระตถาคตเสด็จไปอุคคนครในวันทน่ี างมหาสุภัททานิมนต เม่ือภกิ ษบุ อกกลา ววา วันนพี้ ระ-ศาสดาจกั เสด็จภกิ ขาจารไกล ภกิ ษปุ ุถชุ นอยาจบั สลาก พระขณี าสพ๕๐๐ รูปจงจบั , ก็บันลือสีหนาทจบั สลากไดท่ี ๑ ทีเดียว เมือ่ พระ-ตถาคตเสด็จไปเมืองสาเกตในวันทนี่ างจุลลสุภัททานมิ นต กจ็ บัสลากไดเปนท่ี ๑ เหมอื นกนั ในระหวางภิกษุ ๕๐๐ รปู , แมใ นคราวเสด็จไปยังชนบทสนุ าปรนั ตปะกเ็ หมือนกัน ดวยเหตเุ หลา น้ีพระเถระจึงชอ่ื วาเปนยอดของเหลาภิกษผุ จู บั สลากไดท ่ี ๑ อนึ่งคาํ วากุณฑธาน เปน ชอื่ ขอทา น ในปญหากรรมของทานมเี รอ่ื งทจี่ ะกลาวตามลาํ ดับดงั ตอไปน้ี :- ไดยนิ วา คร้ังพระปทุมุตตรพทุ ธเจา พระเถระนบ้ี งั เกดิ ในเรอื นของครอบครัวกรุงหงสวดี ไปวหิ ารฟงธรรมโดยนยั ดงั กลา วแลวนน่ั แหละ เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษรุ ปู หน่งึ ไวใ นตาํ แหนง

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 407เปน ยอดของเหลาภิกษผุ ูจกั สลากไดท่ี ๑ จึงการทํากศุ ลกรรมแดพระพุทธเจาปรารถนาตําแหนงนนั้ ผอู นั พระศาสดาทรงเห็นวาหาอนั ตรายมไิ ดจ ึงพยากรณแลว บําเพญ็ กศุ ลตลอดชพี เวยี นวา ยอยูในเทวดาและมนุษย ครัง้ พระกัสสปพุทธเจา กบ็ งั เกิดเปนภมุ มเทวดา. ก็ธรรมดาวาพระพทุ ธเจา ผมู พี ระชนมายุยืน มไิ ดท ําอโุ บสถทกุ กึง่ เดอื น. คอื พระวิปสสีทศพลในระหวา ง ๖ ป จงึ มอี โุ บสถครั้งหนง่ึ สว นพระกัสสปทศพลทรงใหสวดพระปาฏิโมกขท กุ ๆ๖ เดอื น ในวนั สวดปาฏิโมกขนั้น ภิกษุ ๒ รปู ผอู ยใู นทศิ มาดวยจงใจวา จะกระทาํ อุโบสถ. ภมุ มเทวดานคี้ ิดวา ความมีไมตรขี องภิกษุ ๒ รูปนม้ี ่นั คงเหลอื เกิน เมอ่ื มีคนทําใหแ ตกแยกกัน ทา นจะแตกกนั หรอื ไมแ ตกกนั หนอ จงึ คอยหาโอกาสของภิกษทุ ัง้ สองนนั้เดินไปใกล ๆ ภิกษุท้งั สองน้นั . ครง้ั นน้ั พระเถระรูปหนง่ึ ฝากบาตรและจีวรไวก บั พระเถระอกี รปู หน่งึ ไปยงั ท่ี มคี วามผาสุกดวยนํ้าเพื่อชาํ ระลางสรีระ ครั้งลางมอื ลางเทาแลว กอ็ อกมาจากรม ไมทีถ่ กู ใจ. ภุมมเทวดาแปลงเปนหญิงมีรปู รา งงามอยขู า งหลงั พระเถระนน้ั จึงทําใหเ สมอื นผมยงุ แลวจดั ผมเสียใหม ทําเปนปดฝนุ ขา งหลงัแลวจดั ผา นงุ เสยี ใหม เดนิ สกดรอยพระเถระออกจากพุมไมม ายืนอยูณ ท่ีสมควรสวนหนึ่ง, พระเถระผูเปน สหายเห็นเหตกุ ารณน ้ีจึงเกิดความโทมนสั คดิ วา ความเยอื่ ใยทีต่ ดิ ตามกนั มาเปนเวลานานกับภกิ ษุนี้ของเรามาฉบิ หายเสยี แลวในบัดนี้ ถา หากเรารเู ชน เห็นชาตอิ ยา งนี้เราจะไมทาํ ความคนุ เคยกับภกิ ษนุ ี้ใหเ นิน่ นานถึงเพยี งน้.ี พอพระเถระนนั้ มาถงึ เทานน้ั กพ็ ูดวา เชญิ เถอะอาวโุ ส นบ่ี าตรจีวรของทานเราไมเ ดินทางเดยี วกนั กบั สหายเชนทาน. ครั้นไดฟ งถอยคําน้นั

พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 408หทยั ของภิกษผุ ูม ีความละอายนั้น เหมือนกบั ถูกหอกคมทม่ิ แทงเอาแลว ฉะน้ัน แตนั้นทานจึงกลา วกะพระเถระนน้ั วา อาวุโส ทานพูดอะไรอยา งน้ี ผมไมร ูอ าบัติแมเ พียงทุกกฏมาตลอดกาลเพียงนี้ ก็ทา นพดู วาขา พเจาเปน คนชว่ั ในวนั นี้ ทา นเหน็ อะไรหรอื ? พระเถระน้ันกลาววา จะประโยชนอะไรดวยกรรมอน่ื ที่เราเหน็ แลว ทา นออกมาอยูในทเ่ี ดียวกับผูหญงิ ที่แตง ตัวอยางนี้ ๆ เพราะเหตุไร.พระเถระน้ันจึงตอบวา อาวโุ ส กรรมนัน้ ของขา พเจา ไมม ี, ขาพเจามิไดเ หน็ ผูห ญงิ เห็นปานน้ี แมท านจะกลาวอยถู ึง ๓ ครง้ั . พระเถระอีกรปู หนง่ึ กม็ ิไดเช่อื ถอยคาํ ถอื เอาเหตุทตี่ นเห็นแลวเทา น้นั เปนสําคญั ไมเ ดินทางเดียวกับพระเถระน้ัน ไปเฝา พระศาสดาโดยทางอน่ื .แมภิกษอุ กี รปู หนง่ึ กไ็ ปเฝา พระศาสดาโดยทางอนื่ เหมือนกัน. แตน ้นั เวลาภิกษุสงฆล งอโุ บสถ ภิกษุน้นั จําภกิ ษุนนั้ ไดใ นโรงอโุ บสถจึงกลา ววา ในโรงอโุ บสถนีม้ ีภกิ ษลุ ามกช่อื นี้ เราไมกระทาํ อโุ บสถรว มกับภกิ ษุนัน้ จึงออกไปยนื อยูขา งนอก. ภุมมเทวดาคดิ วาเราทํากรรมหนกั แลว จงึ แปลงเปน อบุ าสกแกไปหาภิกษุนน้ักลาววา เหตไุ รเจา กูจึงมายืนอยูในท่ีน.้ี พระเถระกลาววา อบุ าสกกภ็ กิ ษลุ ามกเขามายังโรงอโุ บสถน้ี อาตมาจะไมทาํ อุโบสถรวมกบัภิกษลุ ามกนน้ั จงึ ออกมายืนอยูข างนอก. อบุ าสกแกน ัน้ กลาววาทา นเจา ขา อยาถืออยางน้ันเลย ภิกษนุ เ้ี ปนผูมีศลี บริสุทธ์ิ ผมคอืผหู ญิงที่ทา นเหน็ น้นั ผมแลเหน็ ความดีความละอายและความไมละอายกระทํากรรมแลวดว ยคิดวา ความไมตรขี องพระเถระนมี้ น่ั คงหรือไมมน่ั คง ก็เพื่อทดลองทา นท้ังหลายดู ภกิ ษุนั้นถามวา สปั บรุ ษุ

พระสุตตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 409กท็ า นเปนใคร อุบาสกแกต อบวา ผมเปนภมุ มเทวดาเจา คะ . เทวบุตรทงั้ ท่ียนื กลา วอยดู ว ยอานภุ าพอนั เปนทิพยห มอบลงแทบเทา ของพระเถระกลาววา ขอจงอดโทษนั้นแกขา พเจา พระเถระไมรเู ร่อื งโปรดทําอุโบสถเถิด วิงวอนใหพระเถระเขาไปสโู รงอุโบสถแลวพระเถระนน้ั กระทาํ อุโบสถในท่ีเดยี วกันกอ น แลว กอ็ ยูในทเี่ ดยี วกันกบั พระเถระนั้น ดวยอาํ นาจแหง การผกู ไมตรีอกี ดวยแล. กรรมของพระเถระนี้ทานมิไดก ลา วไว สว นภกิ ษุผถู ูกโจทยบาํ เพญ็วปิ ส สนาตอ ๆ มาไดบรรลพุ ระอรหตั แลว . ภมุ มเทวดาก็ไมพ น ภยั ในอบายตลอดพทุ ธันดรหน่ึง เพราะผลของกรรมนั้น แตถ า มาเกดิ เปนมนุษยต ามสมควรแตกาล โทษที่คนอ่ืนจะเปนผูใดกต็ ามกระทาํ กต็ กอยูแกเขาเทา นั้น ทานบงั เกดิในครอบครวั พราหมณในกรงุ สาวัตถี ครัง้ พระผมู ีพระภาคเจา ของเราพวกของทานตงั้ ชือ่ ทานวา ธานมาณพ, ธานมาณพนน้ั เจรญิ วยั แลวเรยี นไตรเพท ในเวลาแกฟง ธรรมของพระศาสดาไดศ รทั ธาแลวบวช ตั้งแตว ันทท่ี านบวชแลว หญิงผแู ตง ตัวคนหนึง่ เมื่อทานเขาบาน กเ็ ขาไปกบั ทานดว ย เม่ือออกกอ็ อกดวย แมเม่อื เขาวหิ ารกเ็ ขา ดวย แมเมื่อยนื กย็ ืนอยูดว ยดงั นน้ั ยอ มปรากฏวา ตดิ พนั อยูเปน นิตยอยางน้ี พระเถระกไ็ มเ หน็ แตดวยผลของกรรมเกาของพระเถระน้นั หญิงนน้ั จงึ ปรากฏแกค นอ่นื ๆ หญงิ ท้งั หลายทถี่ วายขา วยาคู และภิกษาในบานกท็ าํ การเยยหยันวา ทานเจา ขา ขา วยาคูกระบวยหนึ่งน้ี สาํ หรับทาน อีกกระบวยหนง่ึ น้ี สําหรับเพ่ือนหญิงของทา น พระเถระจงึ มคี วามเดอื ดรอนรําคาญอยางใหญ สามเณร

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 410และภกิ ษหุ นุม ตางแวดลอ มทา น แมไปวิหารก็ทําการหวั เราะเยาะวา พระธานะเปนคนช่ัว. (ธาโน โกณโฺ ฑ ชาโต) ภายหลังทานมชี ื่อวา โกณฑธานเถระ เพราะเหตนุ ัน้ น่นั แลพระเถระพยายามแลว พยายามเลา เมื่อไมอ าจอดกลนั้ ความเยยหยันท่พี วกสามเณรและภกิ ษหุ นมุ เหลา นนั้ กระทาํ ได กเ็ กดิ ความบมุ บา มขึน้ กลา ววา อปุ ชฌายข องทานซิช่วั อาจารยของทานซิชวั่ คร้งั นนั้ภกิ ษทุ ั้งหลายจึงกราบทลู เรือ่ งนั้นแดพ ระศาสดาวา พระกุณฑธานะกลาวหยาบอยา งนี้ ๆ กบั ภกิ ษุหนุมและสามเณรทั้งหลาย พระ-ศาสดาใหเรียกภกิ ษนุ ้ันมา ตรัสถามวา \"จริงหรือ ภกิ ษ\"ุ เมือ่ ทูลวา จริง พระผมู ีพระภาคเจาจึงตรสั วา เหตไุ รทา นจงึ กลา วอยางนั้นพระเถระทูลวา พระเจาขา ขาพระองคก ็ไมอาจอดกลน้ั การเสยี ดสีอยเู ปน ประจํา จึงกลา วอยา งน้นั พระศาสดาตรัสวา ตัวทานไมอาจใชก รรมที่ทําไวใ นปางกอนใหห มดไป จนถงึ ทุกวันนี้ ตอ ไปน้ที า นอยา กลาวคําหยาบ เห็นปานน้นั นะ ภกิ ษุ ดงั นี้แลว ตรัสวา มโวจ ผรสุ  กจฺ ิ วุตฺตา ปฏวิ เทยยฺ ุ ต ทกุ ฺขา หิ สารมฺกถา ปฏทิ ณฺฑา ผเุ สยยฺ ุ ต สเจ น เทสิ อตฺตาน กาส อุปหโต ยถา เอส ปตโฺ ตสิ นิพพฺ าน สารมฺโภเต น วชิ ชฺ ตตี ิ ทา นอยากลาวคําหยาบกะใคร ๆ ผูท ี่ทา นกลา วแลว กจ็ ะโตต อบทา น ดว ยวา ถอ ยคําทแี่ ข็งดีกนั นําทกุ ขม าให

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 411 ผทู ําตอบ ก็พงึ ประสบทกุ ขน ้นั ทา นไมยังตนใหหว่นั ไหว ดุจกงั สดาล ถูกเลาะขอบอกแลว ทานนัน้ ก็จะ เปนผถู ึงพระนิพพาน ความแขง็ ดีก็จะ ไมม ีแกทาน ดงั น.้ี ก็และบุคคลทงั้ หลาย กราบทูลความทพ่ี ระเถระสนเทย่ี วไปกบั มาตุคามนี้ แดพ ระเจาโกศล พระราชาสง อาํ มาตยไปวา พนายจงไปสบื สวนดู แมพระองคเ องก็เสด็จไปยงั ท่อี ยู ของพระเถระนนั้พรอ มดว ยราชบริพารเปน อนั มาก ประทับยนื ดูอยู ณ ทสี่ มควรขา งหนึ่ง ขณะน้ันพระเถระกําลังน่งั เย็บผาอยู หญิงแมนัน้ กป็ รากฏเหมือนยนื อยูในที่ไมไกลพระเถระนน้ั พระราชาเห็นแลวทรงดาํ รวิ ามเี หตนุ ้ีหรือจงึ เสดจ็ ไปยงั ที่ ๆ หญิงน้นั ยนื อยูแ ลว เม่ือพระราชามาถึง หญงิ นน้ั ก็เปนเหมอื นเขาไปยังบรรณศาลาอันเปน ทอ่ี ยขู องพระเถระ แมพระราชาก็เสด็จเขา ไปบรรณศาลาพรอมกบั หญิงนนั้ ทีเดียว ตรวจดูทกุ แหงก็ไมเห็น จึงทาํ ความเขาพระทยั วา น้มี ใิ ชมาตคุ าม เปนวิบากกรรมอยางหน่ึงของพระเถระ ทแ่ี รกแมม าถงึใกลพระเถระ ก็ไมท รงไหวพระเถระ ครน้ั ทรงทราบวา เหตุนั้นไมเ ปนจริง จงึ เสด็จมาไหวพ ระเถระ ประทบั น่งั ณ ทีส่ มควรสวนหนงึ่ ตรสั ถามวา พระคณุ เจา ไมล ําบากดว ยบิณฑบาตบา งหรือพระเถระทลู วา เปน ไปได ขอถวายพระพร พระราชาตรสั วาทา นผเู จริญ โยมรเู ร่ืองราวของพระคณุ เจา เมอื่ พระคณุ เจา เท่ยี วไปกบั สงิ่ ทที่ าํ ใหเศราหมองเหน็ ปานนี้ ช่อื วาใครเลา จักเลอ่ื มใส

พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 412ต้งั แตน้ไี ป พระคุณเจา ไมจาํ ตอ งไปในที่ไหน ๆ โยมจักบํารงุ ดว ยปจ จัย ๔ พระคุณเจา อยา ประมาทดว ยโยนิโสมนสิการะเถิด แลวสง ภกิ ษาไปถวายเปน ประจาํ พระเถระไดพระราชปู ถัมภ เปนผมู ีจิตมีอารมณเ ดยี ว เพราะมโี ภชนะสบาย เจรญิ วิปสสนาบรรลุพระอรหัตตผลแลว ตั้งแตนั้นไป หญงิ นั้นกห็ ายไป. นางมหาสภุ ัททา อยูในครอบครวั มิจฉาทฏิ ฐิในอคุ คนครคิดวา พระศาสดาจงทรงอนเุ คราะหเ ราจงึ อธิษฐานโุ บสถ เปนผูไมมกี ลิ่นคาว อยปู ราสาทชนั้ บน กระทาํ สจั จกริ ยิ าวา ดอกไมเ หลา น้ีจงอยา อยใู นระหวา งทางเสยี จงกางกนั้ เปน เพดานในเบ้ืองบนแหงพระทศพลเถิด ขอพระทศพลจงรบั ภกิ ษา ของเราพรอมกบั ภกิ ษุ๕๐๐ รูป ดว ยสัญญานเ้ี ถิด แลวโยนดอกไม ๘ กาํ ไป ดอกไมกไ็ ปกางกัน้ เปน เพดานอยเู บ้อื งบนของพระศาสดาในเวลาแสดงธรรมพระศาสดาทอดพระเนตรเห็น เพดานดอกมะลนิ ้นั ทรงรับภกิ ษาของนางสุภัททาดวยจติ น้ันแหละ วันรงุ ขน้ึ เมอ่ื อรุณขึน้ จงึ ตรสั สัง่พระอานนทวา อานนท วนั นีเ้ ราจะไปภิกษาจาร ณ ทไ่ี กล จงอยาใหส ลากแกพระปุถุชน จงใหแกพ ระอรยิ ะเทา นั้น พระเถระบอกแกภกิ ษุทั้งหลายวา ผมู ีอายุ วันนี้พระศาสดาจกั เสด็จภกิ ษาจาร ณทไี่ กล พระภิกษปุ ุถชุ นจงอยา จับสลาก พระอรยิ ะเทาน้นั จงจบัพระโกณฑธานเถระ กลา ววาผูม อี ายุ จงนาํ สลากมา แลวเหยียดมือออกไปกอ น เมอื่ พระอานนทเถระกลา ววา ทา นพระศาสดาไมใ หประทานสลากแกภ ิกษเุ ชนทา น สั่งใหป ระทานเฉพาะภิกษุผูเปนอริยะเทา น้นั เกดิ ความวิตกข้ึนจงึ ไปกราบทลู พระศาสดา พระ-ศาสดาตรัสวา เธอจงไปใหสลากแกภ กิ ษผุ ูบอกใหน าํ สลากมาเถิด

พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 413พระเถระจึงคิดวา ถาไมค วรใหส ลากแกพระกุณฑธานะ พระ-ศาสดาจะพึงหามเธอ จักมีเหตอุ ยางหน่งึ เปนแท จงึ รบี นาํ มาดวยคดิ วา จักใหสลากแกพระกุณฑธานะ พระกณุ ฑธานะเถระ กอนท่ีพระอานนทเถระมา เขาจตุตถฌานอันเปนบาทแหงอภญิ ญา ยืนอยูในอากาดวยฤทธิ์กลา ววา ทานอานนท จงนาํ สลากมา พระศาสดาทรงรจู กั เรา พระศาสดาไมตรสั หามภกิ ษเุ ชนเราผูจ ับสลากไดกอนแลวเหยยี ดมอื ไปจบั สลากแลว . พระศาสดาทรงทําเรือ่ งน้นั ใหเ ปนอรรถอุบตั ิเหตุเกดิ เรือ่ งจึงทรงสถาปนาพระเถระไวในตําแหนง เปนยอดของเหลา ภิกษุผจู ับสลากไดท ี่ ๑ ในศาสนาแล. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๓

พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 414 อรรถกถาสูตรที่ ๔ ประวตั พิ ระวงั คีสเถระ พึงทราบวินิจฉยั ในสูตรที่ ๔ (เร่ืองพระวังคสี ะ) ดังตอไปนี้. ดวยบทวา ปฏภิ าณวนตฺ าน พระผมู พี ระภาคเจาทรงแสดงวาพระวงั คสี ะเถระเปน ยอดของเหลาภกิ ษุผมู ปี ฏิภาณสมบูรณ ไดยนิ วา พระเถระนี้เม่อื เขา ไปเฝาพระทศพลตง้ั แตค ลองแหงจกั ษุก็กลาวสรรเสริญคณุ พระศาสดาอปุ มากบั พระจันทร อปุ มากบัพระอาทติ ย กับอากาศ กบั มหาสมทุ ร กับพระยาชา ง กบั พระยามฤคสีหะ หลายรอ ยหลายพันบท จึงเขาเฝา เพราะฉะนน้ั ทานจงึเปน ยอดของเหลา ภิกษุผมู ีปฏิภาณ. ในปญ หากรรมของทาน มีเร่อื งทจี่ ะกลา วความตามลาํ ดับดงั ตอไปน้ี. ไดย นิ วา คร้งั พระพทุ ธเจา พระนามวาปทุมุตตระ พระเถระแมรปู น้ี ถือปฏิสนธิในครอบครวั ท่ีมีโภคสมบตั มิ าก ในกรุงหงสวดีไปวหิ ารฟงธรรมโดยนยั กอนนน่ั แล เห็นพระศาสดาทรงสถาปนาภกิ ษุรูปหน่งึ ไวในตําแหนง เปน ยอดของเหลา ภิกษุผมู ีปฏภิ าณ จึงกระทํากศุ ลกรรมแดพ ระศาสดา กระทาํ ความปรารถนาวา ในอนาคตกาล แมขา พระองคพึงเปน ยอดของเหลา ภิกษุผมู ปี ฏภิ าณเปนผูอนั พระศาสดาทรงพยากรณแ ลว กระทํากุศลจนตลอดชีพเวยี นวา ยอยูในเทวดาและมนุษย ในพุทธปุ บาทกาลนี้ ก็มาบังเกิดในครอบครวั พราหมณ กรงุ สาวตั ถี ญาตทิ ้งั หลายขนานนามวา

พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 415วงั คสี มาณพ. ทา นเจริญวัยแลว เรียนไตรเพท ทําใหอาจารยชอบใจแลว ศึกษามนตช่ือวา ฉวสสี มนต มนตรูศีรษะคน เอาเลบ็ เคาะหวัศพแลวกร็ ูวา สัตวน ้ีบังเกดิ ในกําเนิดช่ือโนน ๆ พราหมณท ้ังหลายทราบวา มนตนเ้ี ปนทางสําหรบั เราเลีย้ งชพี จึงใหว ังคีสมาณพนง่ัในรถทป่ี กปดแลว ไปยงั คามนคิ ม และราชธานีทั้งหลาย หยุดท่ปี ระตูเมอื ง หรอื ประตูนิคม ทราบวามหาชนมาชมุ กนั แลว แลว กพ็ ูดวาผูใดเหน็ วงั คสี ะผนู ้นั จะไดทรัพย หรือไดยศ หรือไดไ ปสวรรค ดงั น้ีชนเปน อนั มากฟงถอยคําของพราหมณเหลา น้ันแลว ใหสนิ จางตอ งการจะดู พระราชาและอํามาตยของพระราชาไปยังสํานกั ของพราหมณเ หลา นนั้ ถามวา คณุ วิเศษ คอื การรขู องอาจารยเปนอยางไร ทานท้ังหลายไมร หู รอื ชอ่ื วา บณั ฑิตอน่ื ที่จะเหมือนกบัอาจารยข องพวกเราไมม ใี นชมพทู วปี ทั้งส้นิ ใหบ ุคคลนําศีรษะของคนแมตายไปแลว ๓ ป เอาเลบ็ เคาะก็รวู า สตั วน ไี้ ปเกดิ ในท่ีโนนฝายวงั คสี ะเพ่ือจะตัดความสงสัยของมหาชนจงึ ใหน าํ ชนเหลา นัน้มาแลวใหบ อกคตขิ องตน ๆ อาศัยเหตุน้ันไดท รัพยจ ากมอื ของมหาชนรอยหนึง่ บา ง พนั หนึง่ บาง. พวกพราหมณพาวงั คสี ะมาณพเที่ยวไปตามชอบใจแลว ก็มาถงึ กรงุ สาวัตถอี กี วงั คีสะอยูใ นทไี่ มไกลเชตวนั มหาวหิ าร คดิ วาคนทั้งหลายพดู กนั วา พระสมณะโคดมเปนบัณฑติ ก็แตว า เราไมควรจะเทียวไปกระทาํ ตามดาํ ของพราหมณเ หลาน้ีอยา งเดียวทุกเวลา เราควรไปสํานกั ของบณั ฑติ ทั้งหลายบาง วังคสี มาณพนั้นกลา วกะพราหมณทั้งหลายวา ทานทงั้ หลายจงไปเถดิ เราจะไมไ ปเฝาพระสมณะโคดมกบั ใครเปน อันมาก พราหมณเหลาน้นั บอกวา

พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 416วงั คีสะทา นอยา ชอบใจเฝาพระสมณะโคดมเลย เพราะคนใดเหน็พระสมณะนัน้ พระสมณะนน้ั ก็จะกลบั ใจบคุ คลนนั้ ดวยมายากลวังคีสะไมเ ช่อื ถอื ถอ ยคําของพราหมณเ หลานั้น ไปเฝา พระศาสดาการทําปฏสิ ณั ฐานดว ยคําอนั ไพเราะ น่งั ณ ทส่ี มควรสวนหนึง่ . คร้งั นนั้ พระศาสดาถามเธอวา วงั คสี ะ เธอรูศลิ ปอะไรวังคีสะทูลตอบวา พระเจาขา ขาพระองคร ูฉ วสสี มนต พระศาสดาตรสั ถามวา มนตน น้ั ทาํ อะไร วังคสี ะทลู วา รายมนตน้ันแลวเอาเล็บเคาะศรี ษะของตนแมต ายไปแลวถงึ ๓ ป ก็รทู ่เี ขาเกดิ พระเจา ขาพระศาสดาทรงแสดงศีรษะของคนทเ่ี กิดในนรกศีรษะหนงึ่ แกวังคสี ะนน้ั ของคนเกิดในมนุษยศีรษะหนงึ่ ของคนเกิดในเทวโลกศรี ษะหนึ่ง แสดงศีรษะของผูปรนิ ิพพานแลว ศีรษะหน่ึง วังคีสะนัน้เคาะศีรษะแรกกราบทูลวาทา นพระโคดม สัตวน ้ีไปสูนรก พระ-ศาสดาตรสั ตอบวา สาธุ สาธุ ทานเหน็ ดแี ลว แลวตรัสถามวาสตั วนี้ไปไหน วงั คีสะ ไปสมู นษุ ยโลก ทา นพระโคดม สตั วน ล้ี ะไปไหนวังคสี ะทลู วา สัตวน ไี้ ปเทวโลก พระเจาคะ เขากราบทลู ถึงสถานที่ไปของคนทงั้ ๓ พวก ดว ยประการฉะนี้ แตเ มอ่ื เอาเล็บเคาะศรี ษะ ของผปู รินพิ พาน ก็ไมเ ห็นท้งั ปลายทง้ั ตน. ทนี ้นั พระศาสดาจึงตรัสถามวังคสี ะนั้นวา ทา นไมอ าจเห็นหรือวงั คสะ วังคสี ะมาณพทลู วา เห็นซิทา นพระโคดม ขาพระองคของสอบสวนดกู อ น แลว พลิกกลับไปกลบั มาวงั คีสะจกั รูค ติของพระขณี าสพดวยมนตข องลทั ธภิ ายนอกไดอ ยางไรเม่ือเปนเชนนั้น เหงอ่ื ก็ผดุ ออกจากหนา ผากของเขา เขาละอายแลวยนื นิ่งคร้งั นน้ั พระศาสดาตรัสกะเขาวา ลําบากหรือวงั คีสะ วังคสี ะมลู วาพระเจาขา ทา นโคดมขาพระองคไ มรูที่ไปของสัตวน ี้ ถา พระองคท ราบ

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 417ขอจงตรัสบอกเถิด พระศาสดาตรสั วา วังคสี ะ เรารูแ มศ รี ษะน้ี แมย งิ่กวานก้ี ร็ ู ดงั นี้แลวไดภ าษิตพระคาถา ๒ คาถา นีใ้ นพระธรรมบทวา จตุ ึ โย เวทิ สตตฺ าน อุปปตตฺ ึ จ สพพฺ โส อสตฺตึ สคุ ต พุทฺธ ตมห พฺรมู ิ พฺราหฺมณ ยสสฺ คตึ น ชานนตฺ ิ เทวา คนธฺ พฺพมานุสา ขณี าสว อรหนตฺ  ตมห พรฺ มู ิ พฺราหฺมณนตฺ ิ. ผูใดรูจุตแิ ละอปุ บตั ิ ของสัตวท้งั หลายโดยประ การทงั้ ปวง เราเรียกผูน ัน้ ผไู มข อ งอยูแลว ไปดี แลว รูแ ลววาเปนพราหมณ. เทพคนธรรพและมนษุ ย ไมทราบคติของผูใ ด เราเรยี กผูนนั้ ผูม ีอาสวะสนิ้ แลว ผเู ปน พระ- อรหันต วาเปนพราหมณ ดงั น.ี้ แตนน้ั วงั คีสะทูลวา ทานโคดม ผแู ลกวชิ ากบั วชิ าไมมคี วามเส่ือม ขา พระองคจ ักถวายมนตที่ขาพระองคร แู ดพระองค พระองคไดโ ปรดตรสั บอกมนตน ั้นแกขาพระองค พระศาสดาตรสั วา วังคสี ะเราจะไมแลกมนตด ว ยมนต เราจะใหอ ยา งเดียวเทา นน้ั วังคีสะทลู วาดลี ะทา นโคดม ขอจงโปรดประทานแกข าพระองคเถดิ แลวแสดงความนอบนอ มน่ังกระทําประณมมือแลว พระศาสดาตรัสวา วังคีสะเมอ่ื สมัยทานเรียนมนตอนั มีคา มาก หรอื มนตอะไร ๆ ไมตอ งมีการอยอู บรมหรอื วังคีสะ ไมม ดี อกทานโคดม พระศาสดาตรสั วาทานจะสาํ คัญวา มนตข องเราไมมกี ารอบรมหรอื ขึน้ ชือ่ วา พราหมณ































































พระสุตตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 449 สตสหสเฺ สน เม กีต สตสหสเฺ สน มาปต โสภน นาม อุยยฺ าน ปฏคิ ฺคณฺห มหามนุ ิ ขา แตพ ระมหามุนี ของพระองคโปรดทรงรบั อุทยาน ช่อื โสภนะ ซึ่งขา พระองคซือ้ มาดวย ทรัพยแ สนหนง่ึ สรางวิหารดวยทรพั ยแสนหนง่ึ ดว ยเถิดพระราชกุมารนน้ั ในวันเขา พรรษา ถวายทานแลว เรยี กบุตรภรยิ าของตนและเหลา อมาตยม าแลวสงั่ วา พระศาสดาเสดจ็ มายงั สาํ นกั ของพวกเราเปน ทางไกล ก็พระพุทธเจา ทัง้ หลายของเรา ทรงหนกั ในธรรมไมเห็นแกอ ามิส เพราะฉะนน้ั เราจักนุง ผาสองผืนตลอดไตรมาสนี้สมาทานศีลสบิ อยูเสยี ในทนี่ น่ี ีแ้ หละพวกทานพงึ ถวายทานตลอดไตรมาสโดยทาํ นองนี้แดพระขณี าสพแสนรปู สมุ นราชกมุ ารนัน้ ประทบั อยูในฐานะท่ีถูกกันกนั สถานท่ีอยูข องพระสุมนเถระ เหน็ กจิ กรรมทกุ อยางท่พี ระเถระกระทาํ วัตรแดพระผูมพี ระภาคเจา ดาํ ริวา พระเถระนีเ้ ปนทสี่ นทิ สนมในพระตถาคต เราควรปรารถนาตาํ แหนง ของพระเถระน้นัเม่อื ใกลวันปวารณาออกพรรษา จงึ เสดจ็ เขาไปยงั หมูบา น ถวายมหาทาน๗ วัน วนั ท่ีครบ ๗ วัน ทรงวางไตรจวี รแทบเทา ภิกษแุ สนรปู ถวายบงั คมพระศาสดาแลวหมอบบงั คมดวยเบญจางคประดษิ ฐทูลวา ขาแตพ ระองคผูเจริญ บญุ นัน้ ใดท่ีขาพระองคก ระทาํ มาต้งั แตถ วายทานระหวางทีพ่ ักกลางทางมา ๗ วัน บุญอนั นน้ั ขาพระองคมิไดป ระสงคสวรรคสมบตั ิมไิ ดประสงคพ รหมสมบัติ แตข า พระองคป รารถนาเปน อปุ ฏ ฐากของพระพุทธเจาจึงกระทํา อนง่ึ เลา ขา แตพระผูมพี ระภาคเจา แมขาพระองคกจ็ ะเปน อุปฏ ฐากเหมือนพระสุมนเถระในอนาคตกาล พระศาสดาทรง

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 450เห็นไมม ีอนั ตรายสาํ หรบั พระราชกุมารนน้ั จึงทรงพยากรณแลว เสด็จกลับไป พระราชกุมารทรงสดับแลวทรงดํารวิ า ก็ธรรมดาพระพทุ ธเจาทง้ั หลาย ไมต รสั เปน คําสอง ในวนั ทสี่ อง กไ็ ดเปน เหมอื นถือบาตรจีวรของพระโคดมพุทธเจา ตามเสด็จไปเบือ้ งพระปฤษฎางค พระราชกมุ ารนั้น ในพุทธุปบาทกาลนัน้ ถวายทานแลว บังเกิดในสวรรคแ สนป ครง้ั พระพทุ ธเจา พระนามวา กัสสป ไดถ วายผา หมเพ่อื รองรบั บาตรแกพ ระเถระผเู ทย่ี วไปบิณฑบาต ไดทาํ การบชู าบังเกิดในสวรรคอีก จตุ จิ ากภพน้นั เปน พระเจา พาราณสี เสด็จขนึ้ ช้นับนปราสาทอันประเสริฐ ทอดพระเนตรเหน็ พระปจ เจกพทุ ธเจา องคซง่ึ มาแตเ ขาคันธมาทน ใหน มิ นตมาแลว ใหฉ นั โปรดใหส รา งบรรณศาลา๘ หลงั สําหรบั พระปจ เจกพุทธเจาเหลานน้ั ในมงคลอุทยานของพระองคทรงตกแตง ตงั่ ทําดวยรตนะลว น เตยี งทาํ ดวยแกวมณอี ยา งละ ๘ และเชงิ รองแกว มณี ไดท าํ การอุปฏ ฐากถึงหม่ืนป. เหลานเ้ี ปนฐานะทปี่ รากฏแลว ก็ทา นถวายทานอยถู ึงแสนกปั บังเกดิ ในสวรรคชนั้ ดสุ ติ กบั พระ-โพธสิ ัตวข องเรา จุตจิ ากช้ันดสุ ิตนั้นแลว ก็บงั เกดิ ในเรอื นของเจา-อมิโตทนศากยะ ลําดับนน้ั ทา นเกิดแลวทาํ พระญาติทงั้ มวลของทา นใหรา เรงิ บนั เทงิ ใจ เพราะฉะนั้น พระประยูรญาติจงึ ขนานพระนามแกท านวาอานนั ทะ เมอ่ื พระผูมีพระภาคเจา เสดจ็ ออกอภเิ นษกรมณตามลาํ ดับ บรรลพุ ระสัมมาสัมโพธิญาณแลว เสด็จมากรงุ กบลิ พศั ดุเปน การเสดจ็ คร้ังแรก กําลังเสดจ็ ออกจากกรงุ กบิลพศั ดนุ นั้ เมอ่ื เหลาพระราชกุมารบรรพชาเพ่อื เปนบรวิ ารของพระผมู พี ระภาคเจา ทานกอ็ อกบวชในสํานักพระศาสดาพรอมกับเหลาเจา ศากยะมเี จาภทั ทยิ ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook