พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 65ความเพยี รเชนนนั้ ไดไมยากดอก ภิกษุนัน้ ฟงถอยคาํ ของพระเถระแสดงอาการนอบนอ มแลว ไปสโู คนกอไมม ะลนื่ อนั รม ที่ตนกาํ หนดหมายตาไวในตอนมา น่ังขดั สมาธิ ทาํ อสภุ กรรมฐานใหเ ปนบาทเร่ิมตัง้ วิปส สนา ดาํ รงอยูในพระอรหตั ทนั แสดงปาตโิ มกข ในเวลาใกลร ุง ภกิ ษุเห็นปานนี้ ขมกเิ ลสไดด ว ยอาํ นาจคันถะ เปน อันช่ือวาขมไดดวยประการนน้ั เหมอื นกนั ก็เมื่อภิกษบุ างรูป บริหารธดุ งคโ ดยนยั ดังกลาวแลวนนั่ แลกเิ ลสยอ มไมไ ดโ อกาส กิเลสนั้นเปนอันทา นขมไดด วยอานาจธดุ งคทา นทํากเิ ลสนน้ั ใหเ ปน อนั ขมไดแ ลวนนั่ แล คลายกําหนัดไดแลว ยึดพระอรหตั ไวได เหมอื นทานพระมหาสิวเถระ ผูอยทู ่ีเง้ือมเขาใกลบ าน. ไดย นิ วา พระมหาสวิ เถระ อยใู นตสิ สมหาวหิ าร ใกลม หาคามสอนพระไตรปฎก กะภิกษคุ ณะใหญ ๑๘ คณะ ท้ังโดยอรรถ ท้งั โดยบาลี ภกิ ษุ ๖๐,๐๐๐ รปู ต้ังอยูในโอวาทของพรเถระบรรลพุ ระอรหัตแลว บรรดาภิกษเุ หลานัน้ ภิกษุรปู หน่ึงปรารภธรรมท่ีตนไดแ ทงตลอดแลวเกดิ โสมนสั ข้ึน คิดวา ความสุขนมี้ ีแกอาจารยข องเราบา งไหมหนอ ภิกษุน้ันเมอื่ คํานงึ อยกู ็รูว า พระเถระยงั เปน ปุถชุ น คิดวา เราจักใหความสังเวชเกิดขนึ้ แกพ ระเถระดว ยอุบายน้ี จึงจากที่อยขู องตนไปยงั สาํ นักของพระเถระ ไหวแ สดงวตั รแลวน่งั . ลาํ ดบั นัน้ พระเถระกลาวกะภกิ ษุนน้ั วา ทา นปณฑปาตกิ ะ มาทาํ ไม ภิกษนุ นั้ กลาววา ทา นขอรบักระผมมาดว ยหวงั วา ถาทานจกั กระทาํ โอกาสแกก ระผม กระผมก็จักเรยี นธรรมบท ๆ หน่ึง พระเถระกลาววา ผูม อี ายุ ภกิ ษเุ ปน อันมากเรยี นกัน ทานจักไมม โี อกาสดอก, ภกิ ษุนน้ั เมือ่ ไมไดโอกาส ในสวน
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 66กลางคนื และกลางวัน จึงกลาววา เมอื่ โอกาสไมมอี ยา งนนั้ ทา นจักไดโอกาสแหง มรณะอยา งไร ? เวลาน้นั พระเถระคดิ วา ภกิ ษุน้ีไมมาเพื่อเรียนอเุ ทศ แตเ ธอมาเพื่อทําความสังเวชใหเกดิ แกเ ราแมภ กิ ษนุ น้ั กลา ววา ทานผูเจริญ ธรรมดาวา ภกิ ษุ พงึ เปนผูเชนเรา ดังน้ี แลว ไหวพระเถระ เหาะไปในอากาศอันมีสีดงั แกวมณ.ี พระเถระเกดิ ความสังเวช ต้ังแตเวลาท่ภี กิ ษนุ ั้นไปแลว บอกอุเทศตอนกลางวนั และในตอนเยน็ วางบาตรและจีวรไวใกลห ตั ถบาสในเวลาใกลร ุงจงึ เรยี นอเุ ทศ ถอื บาตรและจีวรลงไปกับภิกษุผูกําลงัลงไปอยู อธษิ ฐานธุดงคคุณ ๑๓ ใหบ ริบูรณแลว ไปยงั เสนาสนะที่เง้ือมเขาใกลบ าน ปดกวาดเงือ้ มเขาแลวใหยกเตียงและต่งั ขึน้ ผูกใจวาเรายงั ไมบ รรลพุ ระอรหตั จักไมเ หยยี ดหลังบนเตียง จงึ ลงสูท ี่จงกรมเม่อื ทานพยายามอยูดว ยหวงั ใจวา เราจักบรรลพุ ระอรหตั ในวนั น้ี เราจักบรรลพุ ระอรหัตในวันนี้ วันปวารณาก็มาถงึ เมื่อใกลว นั ปวารณา ทานคิดวา เราจกั ละความเปน ปุถุชน ปวารณาเปนวิสทุ ธปิ วารณา ก็ลําบากอยา งย่งิ ทานเม่อื ไมสามารถจะทาํ มรรคหรือผลใหเ กิดในวนั ปวารณานน้ั ได จงึ กลาววา ผปู รารภวปิ สสนาแมเชนเราก็ยงั ไมไ ด พระอรหตั นี้ชางเปนคุณอนั ไดยากจรงิ หนอ จงึ เปน ผูมากไปดว ยการยืนและการเดินโดยทํานองนี้แล กระทาํ สมณธรรมตลอด ๓๐ ป เห็นพระจนั ทรเพ็ญลอยเดนอยใู นทา มกลางดถิ วี ันมหาปวารณา คิดวา ดวงจันทรบริสทุ ธิ์หรือศลี ของเราบริสุทธิ์ รําพึงวา ในดวงจันทรยงั ปรากฏมีลักษณะเปนรปู กระตาย แตรอยดาํ หรือจดดางในศีลของเรา ตั้งแตเราอุปสมบทจนถึงทกุ วนั นไี้ มม ี เกิดโสมนสั ขมปตเิ พราะมญี าณแกก ลา บรรลพุ ระ-
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 67อรหตั พรอ มดวยปฏิสัมภิทา ภิกษุเหน็ ปานน้ี ขมกิเลสไดด ว ยอาํ นาจธดุ งค เปน อนั ช่อื วา ขม กเิ ลสไดแลว โดยประการนน้ั นั่นแล. เพราะภิกษบุ างรปู มากไปดว ยการเขา ปฐมฌานเปน ตน โดยน้ยี ังกลา วแลว น่นั แล กิเลสยอ มไมไ ดโอกาส เปนอนั ขม ไดดว ยอาํ นาจสมาบัติ ทา นกระทาํ กเิ ลสใหเปนอนั ขมไดโ ดยประการน้ันนนั่ แล คลายกําหนัดไดแลว ยอมยดึ พระอรหตั ไวได เหมือนพระ-มหาติสสเถระฉะน้นั . ไดยินวา พระมหาติสสเถระไดสมาบัติ ๘ ตัง้ แตเวลาทีม่ ีพรรษา ๘ ทานกลา วธรรมไดใ กลเคยี งอรยิ มรรค ดวยอํานาจเรียนและการสอบถาม เพราะกเิ ลสท่ถี ูกขม ไวด วยสมาบตั ไิ มฟ ุงขึน้ แมในเวลาที่ทานมีพรรษา ๖๐ ก็ไมร ูตวั วา ยังเปน ปถุ ชุ น ครน้ั วนั หนึง่ภิกษุสงฆ จากติสสมหาวิหาร ในบานมหาคาม ไดส งขาวแกพระธัมมทินนเถระ ผอู ยูที่หาดทรายวา ขอพระเถระจงมากลา วธรรมกถาแกพ วกกระผม พระเถระรับคําแลว คดิ วา ภิกษผุ แู กกวา ไมม ีในสาํ นกั ของเรา แตพระมหาติสสเถระเลา กเ็ ปนอาจารยผ บู อกกรรมฐานแกเรา เราจะต้ังทา นใหเปนพระสงั ฆเถระแลวจกั ไป ทานอันภกิ ษุสงฆแวดลอมแลว ไปยงั วหิ ารของพระเถระ แสดงวัตรแกพระเถระในท่พี ักกลางวนั แลว นั่งณะทีค่ วรสว นขา งหนง่ึ พระเถระกลาววาธมั มทินนะ. ทา นมานานแลวหรือ ? พระธัมมทินนเถระกลา ววาทานผูเ จรญิ ขอรบั ภิกษสุ งฆสงขาวสาสนจาตสิ สมหาวิหารมาถึงกระผม ลาํ พังกระผมผเู ดยี วกจ็ กั ไมม า แตก ระผมปรารถนาจะไปกบั ทานจงึ ไดมา ทา นกลาวสาราณิยกถาถวงเวลาใหช า ๆ
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 68แลวถามวา ทานผูเจริญ ทา นบรรลธุ รรมน้ีเมอ่ื ไร ? พระเถระกลา ววาทานธัมมทนิ นะ ประมาณ ๖๐ ป พระธมั มทินนเถระกลา ววา ทานผเู จรญิ ทานใชสมาธิหรือ พระเถระกลา ววาขอรับทาน พระธัมม-ทินนเถระกลา ววา ทา นผูเจริญ ทานเนรมติ สระโปกขรณีสระหนง่ึไดไหม พระเถระกลาววา ทา น ขอ นัน้ ไมห นักเลย แลวเนรมติสระโปกขรณขี ึ้นในที่ตอหนา และถูกทา นกลาววา ทานจงเนรมิตกอปทุม กอหน่งึ ในสระน้ี ก็เนรมติ กอปทุมแมนัน้ พระธมั มทนิ นเถระกลา ววา บัดน้ี ทา นจงสรางดอกไมใ หญในกอปทมุ น้ี พระเถระก็แสดงดอกไมแ มน นั้ ถกู กลาววา ทานจงแสดงรูปหญิงมีอายุประมาณ๑๖ ป ในดอกไมน้ี ก็แสดงรปู หญิงแมน น้ั ลาํ ดบั นน้ั พระธมั มทินนะกลาวกะพระเถระน้ันวา ทา นผเู จริญ ทานจงใสใ จถงึ รปู หญงิ น้ันบอ ย ๆ โดยความงาม พระเถระแลดรู ปู หญงิ ที่ตนเนรมิตขน้ึ เกิดความกาํ หนดั ขึ้นในเวลาน้ัน จึงรูตัววายงั เปนปถุ ชุ น จึงกลา ววาทานสัปปรุ ุษ ขอทา นจงเปนทีพ่ ่งึ ของผม แลวน่ังกระโหยง ในสํานกัของอนั เตวาสิก พระธรรมทนิ นะ กลา ววา ทานผูเจรญิ กระผมมาเพ่ือประโยชนนี้เอง แลว บอกกรรมฐานเบา ๆ เนอ่ื งดวยอสุภแกพระเถระ แลวออกไปขางนอกเพ่อื ใหโ อกาสแกพระเถระ พระเถระมีสังขารอนั ปรกิ รรมไวด แี ลว พอพระธัมมทินนะนน้ั ออกไปจากที่พักกลางวันเทานนั้ กไ็ ดบ รรลุพระอรหตั พรอ มดว ยปฏสิ มั ภิทาลําดบั นน้ั พระธัมมทนิ นเถระ กระทําทา นใหเปน พระสังฆเถระไปยงั มหาติสสวิหาร แสดงธรรมกถาแกสงฆ กเิ ลสอันพระเถระเห็นปานน้ันขมแลว ก็เปน อนั ขมแลว โดยประการนั้นนน่ั แล
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 69 แตส ําหรับพระภิกษบุ างรปู กระทาํ วิปสสนากรรมฐาน โดยนัยดงั กลาวแลว น่ันแล กิเลสยอ มไมไดโอกาส เปน อันขม กเิ ลสไดด วยอํานาจวิปส สนานน้ั แล ภิกษุน้นั กระทํากเิ ลสใหเปน อันขม ได ดว ยประการน้นั คลายกาํ หนดั ไดแลว ยอมยึดพระอรหัตไวได เหมอื นภิกษุผูเจริญวปิ ส สนา ประมาณ ๖๐ รปู ในครงั้ พุทธกาล ไดยนิ วา ภกิ ษเุ หลา น้ัน รับพระกรรมฐานในสาํ นกั พระศาสดาแลวเขา ไปปา อนั เงียบสงัด กระทาํ กรรมในวปิ ส สนา (แต)ไมก ระทําความพยายามเพือ่ ประโยชนแ กม รรคผล ดวยสาํ คญั วาเราบรรลมุ รรคผลแลว เพราะกิเลสไมฟงุ ข้ึน คดิ วาเราจักกราบทลูถึงธรรมท่ีเราแทงตลอดแลวแดพ ระทสพล จงึ มาเถิดพระศาสดาแตกอนท่ีภกิ ษุเหลานน้ั จะมาถึง พระศาสดาไดตรัสกะพระอานนท-เถระวา อานนท ภกิ ษผุ ูบ ําเพ็ญเพียร จะมาพบเราในวนั น้ี เธออยา ใหโอกาสแกภกิ ษุเหลาน้ันเพ่อื จะพบเรา พงึ สง ไปวา พวกทา นจงไปปา ชา ทง้ิ ศพดบิ ทําภาวนาอสภุ สด พระเถระบอกขา วทพ่ี ระศาสดาส่งั ไวแกภิกษุทม่ี าแลวเหลานัน้ ภกิ ษเุ หลา นั้นคดิ วา พระตถาคตไมทรงทราบแลวคงไมต รัส ชะรอยจกั มเี หตใุ นขอนี้เปน แน ดังน้แี ลวจึงไปยังปา ชาศพดิบ ตรวจดอู สุภสดกเ็ กิดความกาํ หนดั ข้ึน เกดิ ความสงั เวชขนึ้ วา ขอ น้ี พระสัมมาสมั พุทธคงจกั ทรงเห็นแลวเปน แนจงึ เริม่ กรรมฐานเทาที่ตนไดตงั้ แตตน พระศาสดาทรงทราบวา ภิกษุเหลา นัน้ เรม่ิ วิปสสนา ประทับนง่ั ที่พระคันธกฎุ ีนน่ั แล ไดต รสั โอภาสคาถาวา ยานมี านิ อปตฺถานิ อลาพเู นว สารเท กาโปตกานิ อฏ ีนิ ตานิ ทสฺวาน กา รติ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 70 จะยินดีไปใย เพราะไดเห็นกระดกู ทมี่ สี ดี งั นก พลิ าปทีใ่ คร ๆไมปรารถนา เหมอื นนาํ้ เตา ใน สารทกาล ฉะนั้น ในเวลาจบคาถา ภกิ ษเุ หลา น้นั ก็ดํารงอยใู นพระอรหตั ตผลภกิ ษุเหน็ ปานน้ี ขม กเิ ลสไดแลว ดว ยอํานาจแหงวปิ ส สนา เปน อันชอื่ วา ขม ไดแ ลวโดยประการนั้นน่ันแลเมื่อภกิ ษุบางรูปกระทํานวกรรม โดยนัยดงั กลา วแลวนั่นแลกเิ ลสยอมไมใ นโอกาส เปนอันชือ่ วา ทานขม กเิ ลสไดดว ยอาํ นาจนวกรรม ทานกระทํากเิ ลสนนั้ ใหเปน อนั ขม ไวแลว อยางนั้น คลายกาํ หนดั ไดแ ลว ยอ มยึดพระอรหตั ไวไ ด เหมือนพระติสสเถระ ในจิตตล-บรรพต ฉะนน้ั . ไดยนิ วา ในเวลาทพ่ี ระติสสเถระนน้ั ได ๘ พรรษา เกิดความอยากสึก ทานไมอ าจบรรเทาความอยากสึกนน้ั ได ซักยอ มจีวรปลงผมแลว ไหวพระอุปชฌายยืนอยู ลาํ ดับนนั้ พระเถระกลาวกะทานวาทานมหาติสสะ อาการของทาน เหมอื นไมย นิ ดีหรือ ? ภกิ ษนุ น้ัตอบวา ขอรับทาน กระผมอยากสกึ กระผมบรรเทามันไมได พระเถระตรวจอธั ยาศยั ของทาน เห็นอปุ นิสยั พระอรหตั จงึ กลา วโดยความเอน็ ดูวา ผมู ีอายุ พวกเรา เปนคนแก ทา นจงสรางสถานที่อยู สาํ หรับพวกเราสกั หลังหน่งึ ภิกษุไมเคยจกใครพูดเปน คําที่ ๒ จงึ รบั วาดลี ะขอรบั ลําดบั นัน้ พระเถระกลาวกะภกิ ษทุ งั้ หลายวา มีอายเุ มอ่ื ทา นกาํ ลังทาํ นวกรรม กอ็ ยา ไดสละแมแตอุเทศ จงมนสิการพระกรรมฐานและจงกระทําบริกรรมกสิณตามกาลอนั สมควร ภิกษุนั้น กลาววา
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 71กระผมจกั กระทําอยางนนั้ ขอรับ ไหวพ ระเถระแลว ตรวจดทู อ่ี นั เปนเง้อื มเหน็ ปานนั้น คดิ วา ตรงนี้ทําได จึงนาํ ฟนมาเผาชําระ (ท)่ี ใหสะอาด แลวกออฐิ ประกอบประตูและหนาตา ง ทําที่เรนเสร็จ พรอมทั้งกอ อิฐบนพืน้ ทจ่ี งกรมเปน ตน แลวต้งั เตยี งและต่งั ไวแลว ไปยังสํานักพระเถระไหวแ ลว กลา ววา ทา นขอรบั ท่ีเรนเสรจ็ แลว โปรดจงอยูเถิดพระเถระกลา ววา ผมู อี ายุ ทานทาํ งานน้ีไดโ ดยยาก วนั นท้ี านอยใู นทนี่ ี้เสียวันหนึ่ง ภกิ ษุนัน้ กลาววา ดลี ะขอรบั ลางเทา แลว เขา ไปยงั ทเี่ รนนั่งสมาธิ รําลึกถึงกรรมที่คนทาํ เมือ่ ทา นคดิ วา การทาํ การขวนขวายดว ยกายอนเปนที่ถูกใจ เรากระทาํ แกพ ระอุปชฌายแลว ปต ิเกิดขึ้นในภายใน ทานขมปต ิน้นั ไดแลว เจรญิ วิปส สนา ก็บรรลพุ ระอรหัตอนั เปนผลเลิศ ภิกษเุ หน็ ปานน้ี ขมกเิ ลสไดด ว ยอาํ นาจนวกรรม เปน อันชือ่ วา ทา นขมไดแ ลว โดยประการน้ันเหมือนกนั สว นภิกษุบางรูป มาจากพรหมโลก เปน สตั วบ รสิ ุทธิ์ กิเลสไมฟุงขึน้ เพราะทานไมม อี าเสวนะ (คือการทําจนคนุ ) เปน อันช่ือวาทา นขม ไดด ว ยอํานาจภพ ทา นเวน ขาดกิเลสน้ัน อันขม ไดแ ลวโดยประการนั้น ยึดพระอรหัตไวไ ด เหมือนทานพระมหากัสสปะ ฉะน้นั จรงิ อยู ทา นพระมหากัสสปะนั้น ไมบ รโิ ภคกามท้งั ที่อยูครองเรือน ละสมบตั ใิ หญ ออกบวช เหน็ พระศาสดาเสดจ็ มา เพ่อืตอ นรับในระหวางทาง วายบังคมแลว ไดอุปสมบทดว ยโอวาท ๓ ขอบรรลุพระอรหตั พรอมดวยปฏิสมั ภิทา ในอรุณท่ี ๘ ภิกษเุ หน็ ปานน้ีขมกเิ ลสไดดวยอํานาจภพ เปนอันชอื่ วาขม กิเลสได อยา งน้ันเหมือนกัน
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 72 อน่งึ ภกิ ษใุ ด ไดอ ารมณม ีรูปารมณเปนตน ซง่ึ ไมเคยไดเ สวยเร่มิ ตง้ั วปิ สสนา ในอารมณนั้นน่ันเอง คลายกําหนัดไดแ ลว ยอ มยดึพระอรหัตไวไ ด กามฉันท ที่ไมเกดิ ขึ้น ดวยอํานาจอารมณท ไ่ี มเคยเสวย กช็ ือ่ วาไมเกดิ ขึน้ แกภิกษเุ ห็นปานนี้ บทวา อปุ ปฺ นโฺ น ในคาํ วา อุปฺปนโฺ น วา กามจฺฉนฺโท ปหียติน้ี ไดแ ก เกดิ แลว มีแลว ฟงุ ขึ้นแลว บทวา ปหยี ติ ความวา ทา นละไดดวยปหานะ ๕ เหลา นี้ คอืตทงั คปหาน วิกขัมภนปหาน สมจุ เฉทปหาน ปสสทั ธิปหาน นิส-สรณปหาน อธบิ ายวา ไมเ กดิ ขน้ึ อกี ในปหาน ๕ อยางนน้ั กเิ ลสที่ทา นละไดดว ยวปิ สสนา ดวยอาํ นาจตทังคปหาน เพราะเหตุนั้นวิปสสนา พึงทราบวา ตทังคปหาน สวนสมาบตั ยิ อมขมกเิ ลสไดเพราะฉะนน้ั สมาบัติน้นั พงึ ทราบวา วกิ ขัมภนปหาน ละไดด ว ยการขมมรรค ตดั กิเลสไดเ ด็ดขาดก็เกิดขน้ึ ผลสงบระงบั เกิดข้ึน พระนพิ พานสลัดออกจากกเิ ลสท้ังปวง มรรคผลนพิ พาน ทงั้ ๓ ดงั วามานี้ ทานเรียกวา สมุจเฉทปหาน ปส สัทธปิ หาน และนิสสรณปหาน อธบิ ายวากเิ ลส ทา นละดว ยปหาน ๕ อันเปน โลกยิ ะ และโลกุตตระเหลานี้ บทวา อสุภนมิ ติ ฺต ไดแกป ฐมฌานพรอมท้งั อารมณเกิดขึน้ในอสภุ ๑๐ ดวยเหตุนั้น พระโปราณาจารยท ง้ั หลายจงึ ไดก ลา ววาอสภุ นมิ ิตมีในอสภุ ธรรมท้ังหลายอนั มอี สภุ เปน อารมณ ชื่อวา อสุภนิมิต
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 73บทวา โยนโิ ส มนสิกโรโต ความวา ผใู สใ จอยูด วยอาํ นาจมนสิการโดยอุบายดงั กลา วแลว โดยนยั มอี าทิ ดงั นว้ี า ในธรรมเหลา นนั้โยนโิ สมนสิการเปนไฉน ? คือ มนสิการในสง่ิ ทไ่ี มเที่ยงวาไมเ ที่ยงบทวา อนปุ ฺปนโฺ น เจว กามจฺฉนฺโท นปุ ปฺ ชฺชติ ไดแก กามฉันททย่ี งั ไมฟ ุง กไ็ มฟงุ ขึ้น บทวา อปุ ปฺ นโฺ น กามจฺฉนฺโท ปหียติ ความวากามฉนั ทะฟุงขนึ้ แลว ทานละไดด ว ยปหานทั้ง ๕ อกี อยางหน่งึ ธรรมทัง้ ๖ เปนไปเพื่อละกามฉันทะ คอื การเรยี นอสภุ นิมติ การประกอบเนอื ง ๆ ในอสภุ ภาวนา ความเปนผูคุมครองทวารในอนิ ทรีย ความเปนผรู ปู ระมาณในโภชนะ ความเปนผูม ีกัลยาณมิตร การกลา วถอ ยคําแตท ีเ่ ปนสัปปายะ จรงิ อยูเมือ่ ภกิ ษุเรียนเอาอสภุ นมิ ิตท้ัง ๑๐ กด็ ี เจรญิ อสุภภาวนาอยกู ็ดีคมุ ครองในอินทรียก็ดี รูจ กั ประมาณในโภชนะ เพราะเมือ่ มีโอกาสกลนื กนิ ได ๔-๕ คํา กด็ ืม่ น้าํ เสียแลว ยงั อตั ภาพใหเปน ไปเปน ปกติกด็ ี ทานยอมละกามฉนั ทนิวรณได ดว ยเหตุนน้ั ทา นจึงกลาววา จตฺตาโร ปจฺ อาโลเป อภตุ ฺวา อทุ ก ปเ ว อล ผาสุวหิ าราย ปหิตตฺ ฺสฺส ภกิ ขฺ โุ น ภกิ ษไุ มพ งึ บรโิ ภคคาํ ขา วเสีย ๔ - ๕ คํา แลว ดมื่ น้าํ (แทน) กพ็ ออยเู ปน ผาสกุ สาํ หรับภิกษุผูมจี ติ อัน สงบ.
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 74 ภกิ ษุ คบหากัลยาณมติ ร ยนิ ดใี นอสภุ ภาวนา เชนกับพระตสิ สเถระ ผบู าํ เพ็ญอสุภกรรมฐาน ยอมละกามฉันทไ ด ดว ยอสัปปายกถา อันอาศยั อสุภ ๑๐ ในการยนื และนัง่ เปน ตน ก็ละกามฉันทได. ดวยเหตนุ ั้น ทานจงึ กลา ววา ธรรม ๖ ยอ มเปน ไปเพอ่ื ละกามฉนั ท. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๖ อรรถกถาสตู รที่ ๗ ในสตู รท่ี ๗ มีวินจิ ฉยั ดังตอ ไปนี้ :- บทวา เมตตาเจโตวมิ ตุ ฺติ ไดแก เมตตาทแี่ ผป ระโยชนเ กอื้ กูลไปในสัตวท กุ จําพวก ก็เพราะเหตทุ จ่ี ิตประกอบดว ยเมตตาน้ัน ยอ มหลดุ พน จากธรรมอันเปน ขาศึกมนี วิ รณเปนตน ฉะนั้น เมตตานนั้ทา นจงเรยี กวา เจโตวิมุตติ. อกี อยา งหน่ึง วา โดยพิเศษ เมตตานน้ัพึงทราบวา ชอ่ื วา เจโตวมิ ตุ ติ เพราะหลุดพนจากกเิ ลสเครื่องกลมุ รุมคือพยาบาทท้ังหมด. ดว ยคาํ เพียงเทา นีว้ า เมตตาในคําวา เมตฺตาเจโต-วมิ ุตตฺ ิ นนั้ แมปฏปิ ทาเปน สวนเบือ้ งตน ก็ใชได. แตเ พราะทานกลา ววาเจโตวมิ ุตติ ในที่นีท้ า นประสงคเอาเมตตา เฉพาะทเี่ ปน อปั ปนา โดยอํานาจตกิ ฌานและจตกุ กฌานเทา น้ัน. บทวา โยนิโส มนสกิ าโรความวา มนสกิ ารอยู ซง่ึ เมตตาเจโตวมิ ตุ ตนิ ้นั ดว ยมนสกิ าร โดยอบุ ายซึ่งมลี ักษณะดังกลา วแลว.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 75 อีกอยางหนึง่ ธรรม ๖ ประการ เปนไปเพอ่ื ละพยาบาท คอื การเลา เรยี นเมตตานมิ ิต การประกอบเนือง ๆ ในเมตตาภาวนา การพิจารณาความท่สี ตั วมกี รรมเปนของตน ความเปนผมู ากไปดวยการพจิ ารณา ความเปนผูมีกัลยาณมิตร การกลา วถอยคาํ แตท่เี ปนสัปปายะ. จรงิ อยูเม่อื ภกิ ษถุ ือเมตตาดว ยการแผไ ป โดยเจาะจงและไมเ จาะจง กย็ อ มละพยาบาทได เม่อื พจิ ารณาถึงความท่ตี นและบุคคลอนื่ เปนผมู กี รรมเปน ของ ๆ ตน อยางนีว้ า ทานโกรธเขาแลว จกั ทาํ อะไรเขา จกั ทําศลีเปนตนของเขาใหพ ินาศไดห รือ ทา นมาดวยกรรมของตน แลว ก็ไปดว ยกรรมของตนเทา น้ันมใิ ชห รอื ช่อื วา การโกรธผอู ่ืน ยอ มเปนเหมอื น จบั ถานเพลงิ ทีป่ ราศจากเปลวไฟ ซ่เี หล็กท่รี อน และคถูเปนตน แลว ประสงคประหารผอู ืน่ คนผูโ กรธตอ ทา นแมคนนี้ จกักระทําอะไรได จกั อาจทาํ ศลี เปนตน ของทานใหพ ินาศหรือ เขามาดวยกรรมของตนแลว จกั ไปดวยกรรมของตนเทา นัน้ ความโกรธนั้นจักตกบนกระหมอ มของน้ันเทา น้ัน เปรียบเหมอื นหว งน้ําใหญ ที่ไมมีอะไรปดก้ันไว และเหมอื นกําธุลีซดั ไปทวนลมฉะนั้น ดังนีก้ ็ดีผพู จิ ารณาความทเ่ี ขาทัง้ ๒ เปนผูม ีกรรมเปน ของ ๆ ตน แลว ต้งัอยใู นการพิจารณาก็ดี คบหากัลยาณมติ ร ผูยนิ ดีในการเจริญภาวนาเหมือนกบั พระอสั สคตุ ตเถระกด็ ี ยอมละพยาบาทได ยอ มละพยาบาทไดแ มดวยการกลา วถอยคําที่เปน สัปปายะ ทอ่ี ิงเมตา ท้ังในการยนืและน่งั เปน ตน. ดว ยเหตนุ ้ัน ทานจงึ กลาววา ธรรม ๖ ประการ ยอมเปน ไปเพอ่ื ละพยาบาท. คําทเ่ี หลอื พงึ ทราบโดยนยั ที่กลาวแลวในท่ีน้ีและในทอี่ ืน่ จากนี้นั่นแล. แตข าพเจาจกั กลา วเพียงที่แปลกกันเทา นั้นแล. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๗
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 76 อรรถกถาสูตรที่ ๘ ในสูตรที่ ๘ มีวินิจฉยั ดังตอไปนี้ :- ความเพยี รครั้งแรกช่อื วา อารพั ภธาตุ ในคาํ มอี าทวิ า อารพฺภ-ธาต.ุ ความเพียรมีกาํ ลงั แรงกวาน้นั เพราะออกจากความเกยี จครา นได ชื่อวา นกิ กมธาตุ ความเพียรทแ่ี รงกวา นนั้ เพราะกา วไปยงั ฐานขา งหนา ๆ ชือ่ วา ปรกั กมธาตุ. แตในอรรถกถา ทา นกลาวไวว าความเพียรเรม่ิ แรก เพือ่ บรรเทากาม ๑ การกา วออกเพื่อกําจดั กิเลสดจุ ลม่ิ ๑ ความบากบ่ัน เพือ่ ตัดกเิ ลสดุจเครื่องผกู ๑ แลวกลาววาเรากลาววา ความเพียรมปี ระมาณยง่ิ กวาท้งั ๓ อยางแมนั้น. บทวา อารทฺธวิริยสสฺ ไดแกผ ูมคี วามเพยี รทบ่ี ริบูรณ และมีความเพยี รทป่ี ระคองไว ในสองอยา งน้นั ความเพียรท่ีปราศจากโทษ ๔ อยาง พึงทราบวา ความเพยี รทเี่ รมิ่ แลว แตไ มใชท่ยี อ หยอ นเกินไป ไมใ ชท ีป่ ระคองเกินไป แตก ไ็ มใชค วามเพียรทห่ี ดหูในภายในและไมใ ชค วามเพยี รท่ีฟุง ซา นไปภายนอก ความเพยี รนนี้ น้ั มี ๒ อยางคือความเพยี รทางกาย ๑ ความเพยี รทางใจ ๑ ในสองอยางน้ัน พงึ ทราบความเพียรทางกายของภกิ ษุผูพากเพยี รพยายามทางกาย ตลอด ๕ สวน ของกลางคนื และกลางวนั อยางน้ีวา ภกิ ษุในธรรนวนิ ยั นี้ ยอมชําระจิตเสยี จากธรรมทพ่ี งึ กั้นจติ ดวยการเดนิ การน่งั ตลอดวัน. พึงทราบความเพยี งทางจิตของภิกษุผพู ากเพยี รพยายามผกู ใจ ดวยการกาํ หนด
พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 77โอกาสอยา งน้วี า เราจกั ไมอ อกไปจากทเ่ี รนนี้ ตราบเทาทจ่ี ติ ของเรายังไมหลดุ พน จากอาสวะ เพราะไมย ดึ ม่นั หรือดวยการกาํ หนดอิรยิ าบถมีการนัง่ เปนตนอยา งน้ีวา เราจักไมเลกิ นั่งขดั สมาธินี้ ตราบเทาท่ีจิตของเรายงั ไมหลดุ พนจากอาสวะ เพราะไมยดึ มนั่ . ความเพยี รแมทัง้ ๒ นน้ั ยอมสมควรในที่นี้. ก็สําหรบั ทานผูปรารภความเพยี รดวยความเพียรแมท ั้ง ๒ อยางนี้ ถีนมิทธะที่ยงั ไมเ กดิ กไ็ มเกดิ ขึน้และทเี่ กิดข้ึนแลว ยอ มละได เหมอื นพระตสิ สเถระเผามลิ ักขะ เหมือนพระมหาสิวเถระ ผูอยูเงือ้ มเขาใกลล ะแวกบาน เหมอื นพระปต ิมลั ลก-เถระ และเหมือนพระติสสเถระบุตรกฏุ มพี ฉะนน้ั กบ็ รรดาพระเถระเหลา นน้ั พระเถระ ๓ รูปขา งตน และพระเถระเหลา อน่ื เหน็ ปานนน้ัเปนผูเร่มิ บําเพญ็ เพยี ร ดวยความเพยี รทางกาย พระติสสเถระบุตรกุฏม พี และพระเถระเหลา อ่นื เห็นปานน้ัน เปน ผูปรารภความเพียรดวยความเพยี รทางใจ สวนพระมหานาคเถระ ผูอยทู ีอ่ จุ จวาลกุ วิหารเปน ผปู รารภความเพยี รทั้ง ๒ อยาง. ไดย นิ วา พระเถระ เดินจงกรมสัปดาห ๑ ยืนสัปดาห ๑นั่งสปั ดาห ๑ นอนสัปดาห ๑ พระมหาเถระไมมแี มส ักอิริยาบถหนง่ึที่จะไดช ่อื วา ไมเ ปน สัปปายะ ในสปั ดาหท ่ี ๔ ทา นเจรญิ วิปสสนาก็ตง้ั อยใู นพระอรหตั . อกี อยา งหน่ึง ธรรม ๖ ประการ เปนไปเพ่อื ละถนี มทิ ธะ คือการถอื เอานมิ ติ ในการบรโิ ภคเกินไป ๑ การเปล่ยี นอริ ยิ าบถโดยสม่ําเสมอ ๑ มนสกิ ารถงึ อาโลกสัญญา ๑ การอยกู ลางแจง ๑ความมกี ัลยาณมติ ร การกลา วถอยคาํ แตที่เปน สัปปายะ ๑ จรงิ อยู
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 78เม่ือภิกษุบริโภคโภชนะ เหมือนอยา งพราหมณท ชี่ ือ่ วา อาหรหตั ถกะพราหมณท ่ชี ่อื วา ภุตตวมั มิตกะ พราหมณท ีช่ ่อื วา ตตั ถวฏั ฏกะพราหมณท ี่ชือ่ วา อลงั สาฏกะ และพราหมณท่ีช่อื วา กากมาสกะเปน ตน นง่ั ในท่ีพกั กลางคืน และทีพ่ กั กลางวัน การทาํ สมณธรรมอยู ถีนมิทธะยอมครอบงํา เหมือนชา งใหญฉะนนั้ แตเ ม่ือภกิ ษหุ ยดุ พกัคําขาว ๔-๕ คาํ แลว ดมื่ นํ้าเสีย พอทําอตั ตภาพใหเปนไปเปน ปกติถีนมทิ ธะนั้น ก็ไมมี แมเ มอ่ื ภิกษถุ ือเอานิมิตในการบรโิ ภคเกนิ ไปดงั กลาวแลวน้ี ยอมละถนี มทิ ธะได ถนี มิทธะกาวลงในอริ ิยาบถใดเม่อื ทานเปลีย่ นอริ ิยาบถเปนอยางอ่นื จากอริ ยิ าบถนั้นเสียกด็ ี มนสิการถงึ แสงสวา งแหง ดวงจนั ทร แสงสวางแหงประทปี แสงสวา งแหงคบเพลงิ ตอนกลางคืน และแสงสวา งแหงดวงอาทติ ยต อนกลางวนั กด็ ีอยูกลางแจงก็ดี คบกัลยาณมิตร ผูละถีนมทิ ธะไดแ ลว เสมือนกบัพระมหากสั สปเถระกด็ ี ยอ มละถนี มทิ ธะได แมด วยการกลา วสัปปายกถาอนั องิ ธดุ งคคณุ ในอริ ยิ าบถมีการยืน และการน่งั เปน ตนก็ยอ มละได ดวยเหตุน้นั ทา นจงึ กลาววา ธรรม ๖ ประการ ยอ มเปนไปเพื่อละถนี มิทธะแล. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๘ อรรถกถาสูตรที่ ๙ ในสตู รที่ ๙ มวี ินิจฉัยยดังตอ ไปนี้ :- บทวา วปู สนฺตจิตตฺ สสฺ ไดแกผ มู ีจิตสงบแลว ดว ยฌาน หรอืวิปส สนา
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 79 อีกอยา งหน่งึ ธรรม ๖ ประการ เปนไปเพอ่ื ละอุทธัจจะ-กุกกุจจะ คือความเปนผพู หูสูต ความเปนผสู อบถาม ความเปน ผูชาํ นาญวนิ ัย การเขา หาผหู ลกั ผูใหญ ความมีกัลยาณมติ ร การกลา วถอ ยคําทเ่ี ปนสัปปายะ จรงิ อยู เมื่อภกิ ษุแมเรยี นได ๑ นิกาย ๒ นกิ าย๓ นกิ าย ๔ นิกาย หรอื ๕ นกิ าย ดว ยอํานาจบาลี และดว ยอาํ นาจอรรถแหงบาลี ยอ มละอทุ ธจั จะกกุ กจุ จะได แมดวยความเปนพหสู ตูเม่อื ภกิ ษมุ ากดวยการสอบถามในส่งิ ทคี่ วรและไมควร ในอริ ยิ าบถยนื และนอนเปน ตน ก็ดี เปน ผูช าํ นาญ เพราะมีความชํา่ ชองชาํ นาญในวินยั บัญญตั ิกด็ ี ผเู ขา หาพระเถระผูใ หญ ซ่งึ เปน ผเู ฒากด็ ี คบกัลยาณมิตรผทู รงพระวินยั เสมือนกบั พระอบุ าลีเถระก็ดี ยอ มละอุทธัจจะกกุ กจุ จะได ยอ มละไดแ มด วยคําอนั เปนสปั ปายะ ทอี่ ิงสิ่งที่ควรและไมค วร ในอิริยาบถยนื แลนั่งเปน ตน ดว ยเหตนุ ั้น ทา นจึงกลา ววา ธรรม ๖ ประการ ยอมเปนไปเพ่ือละอุทธัจจะกุกกจุ จะ จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๙ อรรถกถาสูตรท่ี ๑๐ ในสูตรท่ี ๑๐ มีวินจิ ฉัยดังตอไปน้ี :- บทวา โยนโิ ส มนสิกโรโต ความวา มนสกิ ารอยู โดยอบุ ายตามนยั ท่กี ลาวแลวนนั่ แล อกี อยา งหนึง่ ธรรม ๖ ประการ เปนไปเพอ่ื ละวิจิกจิ ฉา คือความเปน พหสู ตู การสอบถาม ความเปน ผูชํานาญวนิ ยั ความเปนผูมากดวยนอ มใจเช่อื ความมกี ัลยาณมิตร การกลาวถอยคําอันเปน
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 80สปั ปายะ เม่อื ภกิ ษเุ รยี น ๑ นกิ าย ๒ นิกาย ๓ นกิ าย ๔ นกิ ายหรอื ๕ นิกาย ดว ยอาํ นาจบาลแี ละดว ยอํานาจอรรถ ยอ มละวิจกิ จิ ฉาได แมความเปน พหสู ูต เมือ่ ภกิ ษมุ ากดวยการสอบถามเก่ยี วกบัพระรตั นตรัยก็ดี ผูมคี วามช่ําชองชาํ นาญในพระวนิ ัยกด็ ี ผมู ากไปดว ยอธโิ มกข กลา วคือ ศรทั ธาปกใจเชอ่ื ในฐานะ ๓ กด็ ี ผสู องเสพกลั ยาณมิตร เสมือนพระวักกลเิ ถระผนู อ มไปในศรัทธากด็ ี ยอมละวจิ กิ จิ ฉาได ยอ มละได แมดว ยการกลาวถอยคําอันเปนสปั ปายะอิงคุณพระรัตนตรัย ในอิรยิ าบถยืนและน่งั เปน ตน ดวยเหตุนน้ั ทานจึงกลา ววา ธรรม ๖ ประการยอมเปน ไปเพื่อละวจิ ิกิจฉา. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๑๐ ในนวี รณปหานวรรคน้ี ทา นกลาวไวท้ังวฏั ฏะ และวิวัฏฏะแล. จบ อรรถกถาสูตรนีวรณปหานวรรคที่ ๒
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 81 อกมั มนิยวรรคท่ี ๓ [๒๒] ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย เรายอ มไมเลง็ เห็นธรรมอ่นื แมอยางหน่ึง ทไ่ี มอ บรมแลว ยอมไมควรแกการงาน เหมอื นจิต ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย จิตทีไ่ มอ บรมแลว ยอ มไมค วรแกการงาน. [๒๓] ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย เรายอ มไมเลง็ เหน็ ธรรมอ่นื แมอยา งหนงึ่ ท่อี บรมแลว ยอมควรแกการงาน เหมือนจิต ดกู อนภกิ ษุทั้งหลายจติ ท่อี บรมแลว ยอมควรแกการงาน. [๒๔] ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย เรายอมไมเล็งเห็นธรรมอื่นแมอยา งหนงึ่ ท่ไี มอ บรมแลว ยอมเปน ไปเพอ่ื มิใชประโยชนอยา งใหญ เหมือนจติ ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย จติ ท่ีไมอ บรมแลว ยอมเปนไปเพื่อมิใชประโยชนอ ยา งใหญ. [๒๕] ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลาย เรายอมไมเล็งเห็นธรรมอ่นื แมอยา งหนึง่ ทอ่ี บรมแลว ยอมเปนไปเพอื่ ประโยชนอ ยางใหญ เหมอื นจติดูกอ นภิกษุท้งั หลาย จติ ที่อบรมแลว ยอมเปน ไปเพ่อื ประโยชนอยางใหญ. [๒๖] ดกู อ นภกิ ษุท้ังหลาย เรายอมไมเ ล็งเห็นธรรมอืน่ แมอยา งหนึ่ง ท่ไี มอ บรมแลว ไมปรากฏแลว ยอมเปน ไปเพอ่ื มใิ ชประโยชนอยางใหญ เหมือนจิต ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย จติ ทีไ่ มอบรมแลว ไมปรากฏแลว ยอ มเปน ไปเพอื่ มิใชประโยชนอยางใหญ. [๒๗] ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เรายอมไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอืน่ แมอ ยา งหนง่ึ ทีอ่ บรมแลว ปรากฏแลว ยอมเปน ไปเพื่อประโยชนอยางใหญ
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 82เหมอื นจติ ดูกอนภิกษุท้งั หลาย จิตท่อี บรมแลว ปรากฏแลว ยอ มเปนไปเพ่อื ประโยชนอยา งใหญ. [๒๘] ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เรายอ มไมเล็งเหน็ ธรรมอน่ื แมอ ยางหน่ึง ท่ีไมอ บรมแลว ไมทําใหมากแลว ยอมเปน ไปเพ่อื มิใชประโยชนอยา งใหญ เหมือนจิต ดกู อ นภกิ ษทุ ้ังหลาย จิตที่ไมอ บรมแลว ไมทําใหมากแลว ยอมเปนไปเพือ่ มิใชป ระโยชนอยางใหญ. [๒๙] ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย เรายอ มไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอื่นแมอ ยางหนงึ่ ทอี่ บรมแลว ทําใหมากแลว ยอมเปน ไปเพื่อประโยชนอยา งใหญเหมือนจติ ดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย จิตที่อบรมแลว ทําใหม ากแลว ยอ มเปน ไปเพือ่ ประโยชนอ ยางใหญ. [๓๐] ดกู อนภิกษุทัง้ หลาย เรายอมไมเลง็ เห็นธรรมอืน่ แมอ ยางหนึ่ง ทไ่ี มอบรมแลว ไมท ําใหม ากแลว ยอมนาํ ทกุ ขม าให เหมอื นจติดกู อนภิกษุทั้งหลาย ทีไ่ มอบรมแลว ไมทําใหม ากแลว ยอ มนําทุกขมาให. [๓๑] ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย เรายอ มไมเลง็ เหน็ ธรรมอื่นแมอ ยา งหนง่ึ ที่อบรมแลว ทําใหมากแลว ยอมนําสขุ มาให เหมือนจติ ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย จติ ที่อบรมแลว ทําใหมากแลว ยอมนาํ สขุ มาให. จบ อกมั มนยิ วรรคที่ ๓
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 83 อรรถกถาอกมั มนิยวรรคท่ี ๓ อรรถกถาสตู รท่ี ๑ วรรคท่ี ๓ สตู รที่ ๑ มวี นิ จิ ฉยั ดงั ตอ ไปนี้ :- บทวา อวิภาวติ ความวา ไมเ จรญิ คือไมเ ปน ไปดว ยอํานาจภาวนา บทวา อกมฺมนยิ โหติ ไดแก ยอมไมควรแกง าน คอื ไมคคู วรแกง าน. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๑ อรรถกถาสตู รที่ ๒ ในสตู รท่ี ๒ พงึ่ ทราบความโดยปริยายดงั กลาวแลว ก็บทวาจิตตฺ ในสูตรที่ ๑ น้นั ไดแ กจิตที่เกดิ ข้ึนดว ยอํานาจวฏั ฏะ (ในสูตรท่ี ๒ไดเกจ ติ ทเี่ กิดดวยอาํ นาจวฏั ฏะ) ก็ในสองอยางนัน้ พงึ ทราบความแตกตางกันดังน้ี คือ วัฏฏะ วัฏฏบาท วิวัฏฏะ ววิ ฏั ฏบาท กรรมอันเปนไปในภมู ิ ๓ ช่ือวา วฏั ฏะ กรรมคอื การกระทาํ เพอื่ ไดว ัฏฏะ ช่อื วาวัฏฏบาท โลกตุ รธรรม ๙ ช่ือวา ววิ ฏั ฏะ กรรมคอื การปฏบิ ตั เิ พ่อื ไดววิ ัฏฏะ ชือ่ วา ววิ ฏั ฏบาท ทานกลา ววฏั ฏะและววิ ฏั ฏะ ไวใ นสตู รเหลา น้ีดวยประการฉะน้ี จบ อรรถกถาสูตรที่ ๒
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 84 อรรถกถาสตู รที่ ๓ ในสูตรที่ ๓ พงึ ทราบจิตที่เกิดข้ึนดว ยอาํ นาจวัฏฏะนัน่ แลบทวา มหโต อนตถฺ าย ส วตตฺ ติ ความวา จิตแมใหเทวสมบัติ มนุษย-สมบตั ิ และความเปน ใหญใ นมารและพรหม ยังใหช าติ ชรา พยาธิมรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนัส และอุปายาสเนือง ๆ และใหวฏั ฏะคอื ขันธ ธาตุ อายตนะ และปฏิจจสมปุ บาท ยอ มใหแ ตก องทุกขอยางเดียวเทา นนั้ เพราะเหตุน้นั ชือ่ วายอ มเปน ไปเพ่อื มิใชป ระโยชนอยา งใหญ. จบ อรรถสตู รท่ี ๓ อรรถกถาสูตรที่ ๔ บทวา จิตฺต ในสูตรท่ี ๔ ไดแ กจ ิตท่ีเกิดขนึ้ ดว ยอาํ นาจววิ ัฏฏะ. จบ อรรถกถสูตรที่ ๔ อรรถกถาสูตรท่ี ๕ - ๖ ในสูตรท่ี ๕ - ๖ มคี วามแปลกกนั เพียงเทา น้วี า อภาวติ อปาตุภตู ไมอบรมแลว ไมป รากฏแลว ดงั นี้ ในขอน้นั มอี ธิบายดังตอ ไปน้วี า จิตแมเ กิดดว ยอาํ นาจวัฎฏะ กช็ ือ่ วา ไมอบรม ไมปรากฏเพราะเหตไุ ร ? เพราะไมส ามารถจะแลน ไปในวปิ ส สนาท่ีมีฌานเปน บาท มรรค ผล และนิพพาน อันเปน โลกตุ ตระ สว นจติ ท่ีเกิดดวยอํานาจวิวฏั ฏะ ช่ือวาเปนจิตอบรมแลว ปรากฏแลว เพราะเหตุไร ?เพราะสามารถแลน ไปในธรรมเหลา น้นั ได สว นทานพระปุสสมติ ต
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 85เถระ ผอู ยูกุรนุ ทกวิหาร กลาววา ผูมอี ายุ มรรคจติ เทานัน้ ชื่อวาเปน จติ อบรมแลว ปรากฏแลว. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๕ - ๖ อรรถกถาสูตรที่ ๗ - ๘ ในสตู รท่ี ๗ - ๘ มวี นิ จิ ฉยั ดงั ตอไปนี้ :- บทวา อพหลุ ีกต ไดแกไมกระทําบอ ย ๆ พงึ ทราบเฉพาะจิตทเี่ กิดขน้ึ ดวยอาํ นาจวฏั ฏะ และววิ ฏั ฏะ ทง้ั ๒ ดวง แมน ี้แล. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๗ - ๘ อรรถกถาสูตรที่ ๙ ในสตู รท่ี ๙ มีวนิ จิ ฉยั ดังตอ ไปน้ี :- (จติ ) ชอื่ วา นําทุกขม าให เพราะชักมาคอื นาํ มาซึ่งวฏั ฏทุกข ท่ีตรสั ไวโดยนัยมีอาทวิ า ชาติป ทุกขฺ า (แมค วามเกดิ ก็เปน ทกุ ข) บาลีวาทกุ ฺขาธิวาห ดงั นี้กม็ ี ความแหง บาลนี ัน้ พึงทราบดังตอ ไปนีว้ า จติชื่อวา ทุกขาธิวาหะ เพราะยากทจี่ ะถูกนาํ สง ตรงตออรยิ ธรรมอันมฌี านทเี่ ปน บาทของโลกุตตระเปน ตน แมจิตนี้ก็คอื จิตที่เกดิ ข้ึนดวยอํานาจวัฏฏทกุ ขน ั่นเอง. จรงิ อยู จิตน้ัน แมจ ะใหเทวสมบัติและ มนุษยส มบตั ิ มีประการดงั กลาวแลว ก็ชื่อวานําทกุ ขมาให เพราะนาํ ชาติทุกขเปนตนมาให และช่อื วายากที่จะนําไป เพราะสงไปเพือ่บรรลุอริยธรรมไดโ ดยยาก. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๙
พระสุตตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 86 อรรถกถาสูตรท่ี ๑๐ ในสตู รท่ี ๑๐ มวี นิ จิ ฉัยดงั ตอไปน้ี :- จติ กค็ อื จิตท่ีเกิดขึน้ ดว ยอํานาจววิ ัฏฏะน่นั แหละ จรงิ อยู จิตช่อื วาสขุ าธวิ หะ หรอื สุขาธิวาหะ เพราะอรรถวาชกั มา คือนํามาซง่ึทิพยสุขอนั ละเอียดประณตี กวาสุขของมนุษย, ซึ่งฌานสุขอันละเอยี ดประณีตกวาทพิ ยสุข. ซงึ่ วปิ ส สนาสขุ อันละเอยี ดประณีตกวา ผลสุข.ซงึ่ มรรคสขุ อันละเอยี ดประณีตกวา วิปส สนาสขุ . ซงึ่ ผลสขุ อันละเอยี ดประณตี กวา มรรคสขุ , ซ่ึงนิพพานสขุ อนั ละเอยี ดประณตี กวาผลสุข,จริงอยู จิตนน้ั เปนจติ สะดวกทีจ่ ะสงตรงตอ อรยิ ธรรม ซ่งึ มฌี านอันเปนบาทของโลกตุ ตระเปนตน เหมอื นวชิราวุธของพระอินทรทปี่ ลอยไป ฉะน้นั เหตุนนั้ จงึ เรียกวา สุขาธิวาหะ. ในวรรคน้ีทา นกลา ววฏั ฏะ และวิวัฏฏะเทา นน้ั แล. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑๐ จบ อรรถกถาอกัมมนิยวรรค ๓
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 87 อทนั ตวรรคท่ี ๔ วา ดวยจิตท่เี ปน ไปเพ่อื ประโยชนและมใิ ชประโยชน [๓๒] ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย เรายอมไมเลง็ เห็นธรรมอ่ืนแมอ ยา งหน่ึง ทไี่ มฝ ก แลว ยอมเปน ไปเพ่ือมิใชประโยชนอยางใหญ เหมอื นจติดูกอนภกิ ษทุ ั้งหลาย จิตทไ่ี มฝ กแลว ยอ มเปน ไปเพ่ือมใิ ชประโยชนอยา งใหญ. [๓๓] ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย เรายอมไมเลง็ เหน็ ธรรมอืน่ แมอยา งหนง่ึ ทฝี่ กแลว ยอ มเปนไปเพือ่ ประโยชนอยา งใหญ เหมอื นจิตกอ นภกิ ษุทั้งหลาย จติ ที่ฝกแลว ยอมเปน ประโยชนอยางใหญ [๓๔] ดูกอ นภิกษทุ ้ังหลาย เรายอมไมเล็งเห็นธรรมอื่นแมอ ยางหน่ึง ที่ไมค ุมครองแลว ยอมเปนไปเพอื่ มิใชป ระโยชนอ ยางใหญเหมอื นจิต ดูกอนภิกษุทั้งหลาย จติ ทไี่ มคมุ ครองแลว ยอมเปน ไปเพ่ือมใิ ชป ระโยชนอยา งใหญ. [๓๕] ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย เรายอมไมเ ลง็ เหน็ ธรรมอนื่ แมอ ยา งหนึ่ง ท่คี มุ ครองแลว ยอ มเปนไปเพ่ือประโยชนอยางใหญ เหมือนจิตดกู อนภิกษุท้งั หลาย จติ ที่คมุ ครองแลว ยอ มเปน ไปเพื่อประโยชนอยา งใหญ.
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 88 [๓๖] ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย เรายอ มไมเ ล็งเหน็ ธรรมอืน่ แมอ ยางหนง่ึ ที่ไมรักษาแลว ยอมเปน ไปเพ่ือมใิ ชประโยชนอยา งใหญเหมอื นจติ ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย จิตท่ไี มรักษาแลว ยอ มเปนไปเพอ่ืมิใชป ระโยชนอ ยางใหญ. [๓๗] ดูกอนภกิ ษุท้งั หลาย เรายอ มไมเ ล็งเห็นธรรมอื่นแมอยา งหน่งึ ท่รี กั ษาแลว ยอ มเปน ไปเพอื่ ประโยชนอยา งใหญ เหมอื นจิตดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย จิตที่รกั ษาแลว ยอ มเปน ไปเพื่อประโยชนอยางใหญ. [๓๘] ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย เรายอ มไมเ ล็งเห็นธรรมอื่นแมอ ยา งหน่ึง ท่ีไมสังวรแลว ยอ มเปนไปเพื่อมิใชประโยชนอยา งใหญ เหมอื นจิต ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย จติ ท่ไี มส งั วรแลว ยอ มเปนไปเพ่อื มิใชประโยชนอยางใหญ. [๓๙] ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย เรายอ มไมเ ลง็ เห็นธรรมอื่นแมอ ยา งหน่งึ ท่ีสังวรแลว ยอ มเปน ไปเพื่อประโยชนอยางใหญ เหมือนจติดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย จติ ที่สงั วรแลว ยอมเปนไปเพอื่ ประโยชนอยางใหญ. [๔๐] ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย เรายอ มไมเ ล็งเห็นธรรมอ่นื แมอยางหนึ่ง ท่ไี มฝ ก แลว ไมค มุ ครองแลว ไมรกั ษาแลว ไมส งั วรแลว ยอ มเปนไปเพ่ือมิใชป ระโยชนอยา งใหญ เหมือนจติ ดูกอ นภิกษุท้ังหลายจติ ทไ่ี มฝกแลว ไมค ุมครองแลว ไมร ักษาแลว ไมส งั วรแลว ยอ มเปน ไปเพ่อื มิใชป ระโยชนอยางใหญ.
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 89 [๔๑] ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย เรายอมไมเล็งเห็นธรรมอน่ื แมอ ยา งหนึ่ง ที่ฝกแลว คุมครองแลว รกั ษาแลว สงั วรแลว ยอมเปนไปเพอ่ืประโยชนอยางใหญ เหมอื นจิต ดูกอนภกิ ษุทงั้ หลาย จติ ทฝ่ี กแลวคุมครองแลว รกั ษาแลว สังวรแลว ยอมเปน ไปเพื่อประโยชนอยา งใหญ. จบ อทนั ตวรรคที่ ๔
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 90 อรรถกถาอทนั ตวรรคที่ ๔ อรรถกถาสตู รท่ี ๑ วรรคที่ ๔ สตู รที่ ๑ มีวินิจฉยั ดังตอ ไปน้ี :- บทวา อทนฺต ไดแก มีการเสพผดิ (คือมพี ยศ) เหมือนชางและมา เปนตน ท่ีมิไดฝ ก บทวา จิตตฺ ไดแ กจ ติ ท่ีเกิดขน้ึ ดวยอาํ นาจวฏั ฏะ จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑ อรรถกถาสูตรที่ ๒ ในสตู รท่ี ๒ มวี ินจิ ฉยั ดังตอไปน้ี :- บทวา ทนฺต ไดแ ก หมดพยศ คอื เปนเสมอื นชางและมาเปน ตน ทีฝ่ กแลว ในสตู รทั้ง ๒ น้ี ทานกลาวเฉพาะจติ ทีเ่ กิดขนึ้ ดวยอํานาจวฏั ฏะ และวิวัฏฏะ กใ็ นสตู รนีฉ้ ันใด แมในสตู รอน่ื ๆ จากสตู รนี้ก็ฉันนั้น. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๒
พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 91 อรรถกถาสูตรท่ี ๓ ในสตู รที่ ๓ มวี นิ ิจฉยั ดงั ตอไปน้ี :- บทวา อคุตฺต ไดแก ไมค มุ ครอง คอื เวน จากสตสิ งั วร เปนเสมอื นชางและมา ที่ไมคมุ ครอง (คอื ไมม ีคนเล้ยี ง) ฉะน้ัน. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๓ อรรถกถาสตู รที่ ๔ ในสตู รที่ ๔ มวี นิ ิจฉัยดงั ตอไปนี้ :- บทวา คตุ ฺต ไดแ ก คุมครองแลว คอื ไมปลอ ยสตสิ งั วร เปนเสมือนชางและมาเปนตน ท่ไี ดคมุ ครองแลว. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๔ อรรถกถสูตรท่ี ๕ - ๖ ในสตู รท่ี ๕ - ๖ ทา นกลาวตามอธั ยาศยั ของสัตวผ ูจะตรสั รูดวยอํานาจบทวา อรกขฺ ิต กอ็ รรถในบทนี้ เหมอื นบทกอ นนน่ั แล. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๕ - ๖
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 92 อรรถกถาสตู รท่ี ๗ - ๘ แมใ นสูตรที่ ๗ - ๘ กน็ ยั นีเ้ หมือนกัน แตในขอนี้พึงทราบอุปมาดว ยประตูเรือนเปน ตนทไี่ มร ะวัง. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๗ - ๘ อรรถกถาสตู รท่ี ๙ - ๑๐ ในสตู รท่ี ๙ - ๑๐ ทา นเอาบท ๔ บทมาประกอบแลวกลา วในวรรคน้ี ทานกลา วเฉพาะ วัฏฏะ และวิวฏั ฏะ เทานัน้ แล. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๙ - ๑๐ จบ อรรถกถาอทันตวรรคท่ี ๔
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 93 ปณิหติ อัจฉวรรคท่ี ๕ วาดว ยผลแหงจิตทตี่ ้ังไวผดิ เปน ตน [๔๒] ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย เปรยี บเหมอื นหางแหลมของเมลด็ขา วสาลหี รอื หางแหลมของเมลด็ ขา วเหนียว ท่บี ุคคลตั้งไวผิด มอืหรอื เทาย่าํ เหยียบแลว จักทําลายมือหรอื เทา หรือวาจกั ใหหอเลอื ดขอ น้มี ใิ ชฐ านะที่จะมีได ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะหางแหลมของเมล็ดขาวอันบุคคลตัง้ ไวผดิ ฉนั ใด ภกิ ษุนนั้ กฉ็ ันน้ันเหมอื นกันจักทาํ ลายอวิชชา จักยงั วิชชาใหเ กดิ จกั ทา นิพพานใหแ จง ดวยจติทตี่ ง้ั ไวผ ดิ ขอนีม้ ใิ ชฐ านะทจ่ี ะมีได ขอ น้นั เพราะเหตไุ ร เพราะจติตงั้ ไวผิด. [๔๓] ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย เปรยี บเหมือนหางแหลมของเมล็ดขา วสาลีหรือหางแหลมของเมลด็ ขา วเหนียว ทีบ่ ุคคลตงั้ ไวถ ูกมือหรือเทายาํ่ เหยยี บแลว จกั ทาํ ลายมอื หรือเทา หรือจกั ใหหอ เลอื ดขอ นเี้ ปนฐานะที่มไี ด ขอ นนั้ เพราะเหตุไร เพราะเดอื ยขา วอนั บุคคลต้งั ไวถ ูก ฉันใด ภิกษนุ ้ัน ก็ฉนั นัน้ เหมอื นกัน จักทําลายอวชิ ชา จักยังวชิ ชาใหเ กดิ จําทํานพิ พานใหแจง ดว ยจิตท่ีตง้ั ไวถ กู ขอนีเ้ ปนฐานะทีม่ ีได ขอน้นั เพราะเหตไุ ร เพราะจิตตัง้ ไวถกู . [๔๔] ดกู อนภิกษุทัง้ หลายเรากาํ หนดใจดว ยใจอยา งนี้แลวยอ มรชู ัดบุคคลบางคนในโลกน้ี ผมู ีจติ อันโทษประทุษรายแลว วา
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 94ถาบคุ คลนี้พงึ ทาํ กาละในสมัยน้ี พึงต้งั อยใู นนรกเหมือนถกู นํามาขงัไวฉะน้ัน ขอนน้ั เพราะเหตุไร เพราะจติ ของเขาอนั โทษประทุษรายแลว ดกู อ นภกิ ษทุ ้งั หลาย ก็แหละเพราะเหตทุ จี่ ิตอันโทษประทุษรา ย สัตวบางพวกในโลกน้ี เมอ่ื ตายไปยอ มเขาถงึ อบาย ทคุ ติ วินบิ าต นรก. [๔๕] ดูกอ นภกิ ษทุ ้งั หลาย เรากําหนดใจดวยใจอยางนแี้ ลวยอมรูชัดบคุ คลบางคนในโลกน้ี ผมู ีจติ ผอ งใสวา ถา บคุ คลน้พี ึงทํากาละในสมัยนี้ พงึ ตัง้ อยูในสวรรคเ หมอื นทเี่ ขานํามาเชดิ ไวฉะนน้ัขอ นน้ั เพราะเหตไุ ร เพราะจิตของเขาผองใส ดูกอ นภิกษุท้ังหลายกแ็ หละเพราะเหตทุ ่ีจิตผองใส สตั วบ างพวกในโลกนี้ เมอ่ื ตายไปยอมเขาถงึ สุคตโิ ลกสวรรค. [๔๖] ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย เปรียบเหมือนหว งนํา้ ขุนมวัเปนตม บรุ ุษผมู ีจักษุยืนอยบู นฝง ไมพ งึ เห็นหอยโขงและหอยกาบบา ง กอ นกรวดและกระเบ้ืองถวยบา ง ฝูงปลาบา ง ซงึ่ เที่ยวไปบา งตั้งอยบู าง ในหวงนํา้ น้นั ขอ นั้นเพราะเหตุไร เพราะนาํ้ ขุน ฉันใดภกิ ษกุ ็ฉนั นน้ั เหมอื นกัน จักรูป ระโยชนต นบา ง จกั รูประโยชนผูอื่นบาง จกั รูป ระโยชนทัง้ สองบา ง จักกระทําใหแจง ซงึ่ คณุ วิเศษคอื อุตตรมิ นุสสธรรม อนั เปน ความรคู วามเหน็ อยางประเสริฐ อยา งสามารถ ไดดวยจติ ทขี่ ุน มวั ขอน้ีไมใชฐานะท่ีจะมไี ด ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะจติ ขนุ มัว. [๔๗] กอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย เปรยี บเหมอื นหว งน้ําใสแจวไมข นุ มวั บรุ ุษผมู ีจกั ษุยืนอยบู นฝง พงึ เห็นหอยโขง และหอยกาบ
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 95บา ง กอนกรวดและกระเบ้อื งถว ยบาง ฝงู ปลาบา ง ซ่ึงเทย่ี วไปบา งตัง้ อยบู าง ในหว งนาํ้ นัน้ ขอ นัน้ เพราะเหตุไร เพราะนํ้าไมขุน ฉันใดภิกษกุ ฉ็ ันนัน้ เหมือนกนั จักรปู ระโยชนต นบา ง จกั รูประโยชนผอู ่ืนบาง จกั รปู ระโยชนทัง้ สองบา ง จักกระทําใหแ จงซ่งึ คุณวเิ ศษคือ อุตตริมนุสสธรรม อันเปนความรคู วามเห็นอยางประเสริฐ อยางสามารถ ไดด วยจิตท่ไี มขุนมัว ขอนีเ้ ปนฐานะทีจ่ ะมีได ขอ นน้ั เพราะเหตไุ ร เพราะจติ ไมข นุ มวั . [๔๘] ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย ไมจ ันทน บณั ฑิตกลาววา เลิศกวารุกขชาติทกุ ชนิด เพราะเปนของออน และควรแกก ารงาน ฉนั ใดดกู อนภกิ ษทุ งั้ หลาย เรายอ มไมเล็งเหน็ ธรรมอืน่ แมอยา งหน่ึง ที่อบรมแลว กระทําใหมากแลว ยอมเปนธรรมชาตอิ อ นและควรแกการงาน เหมือนจติ ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย จิตท่ีอบรมแลว กระทําใหมากแลว ยอ มเปนธรรมชาติออ นและควรแกก ารงาน ฉันน้นัเหมอื นกนั . [๔๙] ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย เรายอ มไมเล็งเหน็ ธรรมอนื่ แมอยา งหน่งึ ที่เปล่ยี นแปลงไดเรว็ เหมือนจิต ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลายจิตเปลยี่ นแปลงไดเ ร็วเทา ใดนัน้ แมจะอุปมากก็ ระทําไดมิใชงาย. [๕๐] ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย จิตนี้ผุดผอง แตวา จติ นน้ั แลเศรา หมอง ดว ยอปุ กเิ ลสที่จรมา. [๕๑] ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย จติ นี้ผุดผอง และจติ น้ันแล พนวิเศษแลว จากอุปกเิ ลสที่จรมา. จบ ปณหิ ติ อัจฉวรรคท่ี ๕
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 96 อรรถกถาปณิหิตอัจฉวรรคท่ี ๕ อรรถกถาสูตรที่ ๑ วรรคที่ ๕ สตู รที่ ๑ มวี นิ ิจฉยั ดังตอ ไปน้ี :- ศพั ทวา เสยฺยถาป เปน นิบาต ใชในอรรถวา อปุ มา. ในอรรถทีว่ าดวยอปุ มาน้นั บางแหง พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงเอาขอความประกอบอปุ มาเหมือนในวตั ถสตู ร และในปริฉตั ตโกปมสตู รและอัคคขิ ันโธปมสูตร ในท่ีบางแหงทรงแสดงเอาอปุ มาประกอบขอ ความเหมอื นในโลณัมพิลสตู ร และเหมือนในสวุ ณั ณการสูตร และ สรุ โิ ยปม-สูตรเปนตน แตในสาลิสูโกปมสตู รนี้ พระผมู พี ระภาคเจา เม่อื ทรงเอาอุปมาประกอบขอ ความจงึ ตรัสคํามอี าทวิ า เสยยฺ ถาป ภิกขฺ เวดงั น้ี บรรดาบทเหลา นน้ั บทวา สาลิสูก แปลวา เดอื ยแหง เมล็ดขา วสาลี แมในเดือยแหงขา วเหนียวก็นัยนีเ้ หมอื นกนั วา ศพั ท มอี รรถวาวกิ ัปป ไมแนนอน. บทวา มจิ ฉฺ าปณิหิต แปลวา ต้ังไวผดิ อธบิ ายวาไมต ัง้ ใหปลายข้นึ โดยประการทอ่ี าจจะท่มิ เอาได บทวา ภชิ ชฺ ิสฺสติความวา จักทําลาย คือจกั เฉือนผิว. บทวา มิจฉฺ าปณหิ ิเตน จิตเฺ ตน แปลวา ดว ยจติ ทตี่ ้งั ไวผดิคาํ นี้ทานกลาวหมายเอาจิตทเ่ี กิดขึ้นดวยอาํ นาจวัฏฏะ บทวา อวิชฺชไดแ ก ความไมรอู ยา งใหญ มากดวยความทึบ เปนความไมรใู นฐานะ ๘. บทวา วชิ ฺช ในคําวา วชิ ชฺ อปุ ฺปาเทสฺสติ น้ี ไดแ ก ญาณอันสัมปยตุ ดว ยอรหัตตมรรค. บทวา นพิ พฺ าน ไดแ ก อมตะ คณุ ชาติ
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 97ทไ่ี มตายทท่ี า นกลา วไวอยางนั้น กโ็ ดยเปนคณุ ชาตออกจากกเิ ลสเคร่อื งรอ ยรัดคอื ตณั หา. บทวา สจฉฺ ิกรสิ สฺ ติ ไดแ ก กระทาํ ใหประจักษ. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๑ อรรถกถาสูตรท่ี ๒ ในสูตรท่ี ๒ มีวินิจฉัยดังตอ ไปน้ี :- บทวา สมฺมาปณิหติ ความวา ต้งั ไวดี เพราะกระทําใหปลายขน้ึ โดยท่สี ามารถจะทม่ิ ได. ในบทวา อกฺกนฺต (เหยียบ) น้ียอ มชอื่ วาเหยยี บดว ยเทา เทานนั้ (ถาเปนมือก็ตอ ง)เอามือบีบ. แตท กี่ ลา ววา\"เหยียบ\" เหมือนกนั กเ็ น่ืองดวยเปนศัพทท่ีใชกนั จนชิน. ก็ในสตู รน้ีมอี รยิ โวหารเพียงเทา น้.ี ถามวา ก็เพราะเหตไุ ร ทา นจงึ ไมถ ือเอาสงิ่ อนื่ ๆ ทีใ่ หญมหี นามไมมะร่นื เปน ตน ถือเอาแตเ ดือยขา วสาลี เดอื ยขา วเหนียวเทาน้ัน ซงึ่ เปนของออ น ไมแข็ง. แกว า เพื่อแสดงวา อกุศลกรรมแมมจี ํานวนนอ ยก็สามารถฆา กุศลกรรมได. เหมือนอยา งวา เดอื ยขา วสาลี หรือเดอื ยขา วเหนียว ท่อี อนไมแข็ง หรือหนามของไมมะร่ืนและหนามของไมม ีหนามเปน ตน อันใหญ ๆ กต็ ามที ในบรรดาหนามเหลานัน้ หนามชนดิ ใดชนดิ หนึ่ง ท่ตี ง้ั ไวผ ิด ไมสามารถที่จะตาํ มือหรอื เทา หรือทําใหหอ เลือด แตท ี่ตั้งไวถ กู ทาง ยอมสามารถฉันใด กศุ ลมีจาํ นวนนอ ย ไมวา จะเปนการใหใ บไมประมาณกาํ มอื
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 98หนง่ึ หรอื กุศลใหญ ๆ เชน การใหของเวลามพราหมณเ ปน ตน ก็ตามเถดิ ถา ปรารถนาวัฏฏสมบตั ิ จิต ชอ่ื วา ต้ังไวผิด ดวยอาํ นาจอิงวฏั ฏะ สามารถนําวฏั ฏะเทา นัน้ มาให หาสามารถนาํ วิวฏั ฏะมาใหไมฉันนัน้ เหมอื นกนั . แตเ มอื่ บคุ คลปรารถนาวิวัฏฏะอยางนีว้ า ขอทานของเราน้ี จงนํามาซึง่ ความส้ินอาสวะ ชื่อวา ต้ังไวชอบดวยอาํ นาจววิ ฏั ฏะ ยอมสามารถใหทง้ั พระอรหัตท้งั ปจ เจกโพธฌิ าณทเี ดียว.สมจรงิ ดงั คําทีท่ า นกลาวไววา ปฏิสมฺภทิ า วโิ มกขฺ า จ ยา จ สาวกปารมี ปจเฺ จกโพิ พทุ ฺธภมู ิ สพฺพเมเตน ลพภฺ ต.ิ ปฏสิ ัมภทิ า ๑ วโิ มกข ๑ สาวกปารมี ๑ ปจเจก- โพธิ ๑ พทุ ธภมู ิ ๑ ทั้งหมดนน้ั บคุ คลยอ มได ดวยจิตทีต่ ง้ั ไวช อบนั้น. ก็ในสูตรท้งั สองน้ี ทานกลา วท้งั วัฏฏะ และววิ ัฏฏะ. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๒ อรรถกถาสูตรที่ ๓ ในสูตรท่ี ๓ มีวนิ ิจฉยั ดงั ตอไปนี้ :- บทวา ปทุฏจิตตฺ ไดแกจิตอนั โทสประทษุ รา ยแลว . บทวาเจตสา เจโต ปริจฺจ ความวา กาํ หนดจติ ของเขา ดว ยจิตของตน.บทวา ยถาภต นกิ ขฺ ิตโฺ ต ความวา พงึ เห็นวา ตง้ั อยใู นนรกนั่นแล
พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 99เหมือนถูกนาํ มาทิ้งไว คอื วางไว. บทวา อปาย เปนตน ท้ังหมด เปนคําไวพจนของนรก. จริงอยู นรกปราศจากความสุข คอื ความเจริญจึงชือ่ วาอบาย. ภมู ิเปน ท่ีไป คือเปนท่แี ลน ไปแหงทกุ ข เพราะฉะน้นัจงึ ชอ่ื วา ทคุ คติ. ชือ่ วา วินบิ าต เพราะเปนทที่ ี่บุคคลผูมกั ทาํ ช่วั ตกไปไรอ าํ นาจ. ช่ือวา นรก เพราะอรรถวา ไมมีดจุ ทนี่ า ยินดี. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๓ อรรถกถาสูตรที่ ๔ ในสตู รท่ี ๔ มีวนิ ิจฉยั ดังตอไปน้ี :- บทวา ปสนนฺ ไดแก ผอ งใสโดยความผองใสดวยศรทั ธา.บทวา สุคตึ ไดแกภูมเิ ปนทีไ่ ปแหงสุข. บทวา สคฺค โลก ไดแกโลกอนั เลอเลศิ ดวยสมบตั ิมรี ูปสมบตั เิ ปนตน. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๔ อรรถกถาสูตรที่ ๕ ในสตู รท่ี ๕ มีวนิ ิจฉัยดังตอไปนี้ :- บทวา อทุ กรหโท แปลวา หว งน้าํ . บทวา อาวิโล ไดแ กไมใส. บทวา ลฬุ โิ ต ไดแกไมสะอาด. บทวา กลลภี โู ต แปลวามเี ปอกตม.
พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 100 พึงทราบวนิ ิจฉัย ในคําวา สปิ ฺปสมพฺ ุก เปนตนดังตอไปน้ี :-หอยโขงและหอยกาบ ช่อื วา สิปปส มั พกุ ะ กอนกรวด และกระเบื้องชอื่ วา สกั ขรกถละ. ฝูงคอื กลมุ แหงปลาทง้ั หลาย เหตนุ ้นั จึงช่อื วามจั ฉคมุ พะ ฝูงปลา. บทวา จรนฺตมปฺ ตฏิ มฺป นีม้ อี ธิบายวา กอนกรวดและกระเบอ้ื งหยดุ อยูอยางเดยี ว นอกนี้ หยดุ อยูก็มี วายไปก็มีเหมือนอยางวา ระหวา งแมโค ท่ียืนอยูกด็ ี หยดุ อยกู ็ดี นอนอยูก ด็ ีโคนอกน้ัน กถ็ กู เรียกวา เทย่ี วไป เพราะอาศยั โคตวั ท่ีกําลังเท่ียวไปวาโคเหลาน้เี ท่ียวไปอยฉู นั ใด กอนกรวดและกระเบ้อื งทงั้ สองแมน อกน้ีเขาเรยี กวา หยุด เพราะอาศยั กอนกรวดและกระเบอื้ งทหี่ ยุด แมกอนกรวดและกระเบอื้ งทเ่ี ขาเรยี กวา วา ยไป กเ็ พราะอาศัยฝงู ปลาซ่ึงกําลงั วายไปฉนั นน้ั . บทวา อาวิเลน ไดแก ถกู นวิ รณ ๕ หุมหอไว. ประโยชนข องตนอันคละกนั ท้งั ทเ่ี ปน โลกิยะและโลกตุ ตระ. อันเปน ไปในปจจุบัน ช่อื วา ประโยชนข องตน ในคํามอี าทวิ า อตฺตตฺถวา ประโยชนของตน ท่ีคละกนั ทัง้ ทเ่ี ปน โลกิยะและโลกุตตระ. ในสัมปรายภพ ชือ่ วา ประโยชนภายหนา แมประโยชนภายหนา ช่ือวาปรัตถะ เพราะประกอบดวยประโยชนของบคุ คลอื่น. ประโยชนทง้ั ๒ นั้น ช่อื วา อุภยัตถะประโยชนทั้ง ๒. อกี อยางหน่งึ ประโยชนสว นโลกิยะและโลกุตตระ ทเี่ ปน ไปในปจ จุบัน และสัมปรายภพของตน ช่อื วา ประโยชนต น. ประโยชนเ ชนนนั้ นัน่ แลของผอู ื่น ชอื่ วาประโยชนของผูอื่น. แมป ระโยชนทั้ง ๒ น้ัน ก็ชอื่ วา อุภยัตถะประโยชนท ัง้ ๒. บทวา อุตฺตรึ วา มนสุ ฺสธมฺมา ไดแก อนั ย่ิงกวา ธรรมของมนษุ ย กลาวคอื กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ. จริงอยู ธรรม ๑๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: