พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 257อายสมฺ โต โกณฺฑฺสสฺ อฺ าโกณฑฺ ฺโ เตฺวว นาม อโหสิดังนัน้ คาํ นวี้ าอญั ญาโกฑัญญะ จึงไดเปนชือ่ ของทา นโกณฑัญญะดงั น้นั พระเถระจึงดํารงอยใู นโสดาปตติผล ในวันอาสาฬหปรุ ณมีเพญ็ กลางเดือน ๘ วันแรม ๑ ค่าํ พระภทั ทิยเถระ วนั แรม ๒ คาํ่พระวัปปเถระ วันแรม ๓ คํา่ พระมหานามเถระ. วันแรม ๔ ค่ําพระอัสสชเิ ถระ ดาํ รงอยใู นโสดาปต ตผิ ล. สว นวันแรม ๕ คาํ่จบอนตั ตลกั ขณสูตร ก็ดาํ รงอยูในพระอรหัตหมดทกุ รปู . สมัยนนั้แล จึงมพี ระอรหันตในโลก ๖ องค ต้ังแตนน้ั มา พระศาสดาทรงใหม หาชนหย่งั ลงสูอ รยิ ภมู ิอยางน้ีคือ บรุ ุษ ๕๕ คนมียสกลุ บุตรเปน หัวหนา ภัททวคั คยิ กุมารจาํ นวน ๓๐ คน ท่ีปาฝาย ปรุ าณชฏิล จํานวน ๑,๐๐๐ รูป ทหี่ ลงั แผน หินคยาสีสประเทศ ทรงใหราชบรพิ าร ๑๑ นหตุ มพี ระเจา พมิ พสิ ารเปนประมุข ใหด าํ รงอยูในโสดาปต ตผิ ล ๑ นหตุ ใหดํารงอยใู นไตรสรณะ ทรงทําพระศาสนาใหผ ลิตดอกออกผล บนพ้ืนชมพูทวีป ทรงทําทั่วมณฑลชมพูทวีปใหร ุงเร่อื งดวยกาสาวพัสตร คลาคล่าํไปดวยนักแสวงบุญสมยั หน่งึ เสดจ็ ถึงพระเชตวันมหาวหิ าร สถติอยู ณ ทีน่ ั้น ประทบั บนพระพุทธอาสนอยา งดีที่เขาจดั ไวแ ลว ทรงแสดงธรรมทามกลางภกิ ษสุ งฆ เพื่อทรงแสดงวา โกณฑัญญะ บตุ รเรา เปนยอด ระหวางเหลาภิกษุผูแ ทงตลอดธรรม กอ นใคร จึงทรงสถาปนาทานไวในตําแหนงเอตทัคคะ. แมพระเถระเห็นพระอคั รสาวกทัง้ สองกระทําความเคารพนบนอบตน ประสงคจ ะหลีกไปเสยี จากสํานกั ของพระพุทธเจา ทัง้ หลาย
พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 258เหน็ วา ปุณณมานพบวชแลว จกั เปน ยอดธรรมกถกึ ในพระศาสนาจงึ กลับไปตาํ บลบา นพราหมณชอื่ โทณวตั ถุ (ชาตภิ มู ขิ องทาน) ใหปุณณมานพหลานชายบรรพชาแลว คิดวา ปุณณมาณพนี้ จักอยใู นสํานกั ของพระพทุ ธเจา จึงไดปุณณมานพนน้ั อยูในสาํ นกั ของพระพุทธเจา ท้งั หลาย ทานเองก็เขาไปเฝาพระทศพล ขออนุญาตพระผมู พี ระภาคเจาวา ขาแตพระผูม พี ระภาคเจา เสนาสนะใกลบา นไมเ ปนสัปปายะสําหรับขา พระองค ขา พระองคไ มอ าจอยูเกล่ือนกลน จําจักไปอยสู ระฉัททนั ต พระเจา ขา ลกุ จากอาสนะถวายบังคมแลวไปยงั สระฉัททันต อาศัยโขลงชางสกลุ ฉทั ทนั ตยับยัง้ อยู ๑๒ ป ปรนิ พิ พาน ดว ยอนปุ านิเสสนิพพานธาตุ ณ ทน่ี ั้นเอง จบ อรรถกถาสตู รที่ ๑ อรรถกถาสูตรที่ ๒ - ๓ ประวตั ิพระสารีบตุ รและพระโมคคัลลานะเถระ สตู รที่ ๒-๓ พึงทราบวินิจฉยั ดังตอไปน้ี :- บทวา มหาปฺาน ไดแก ผูป ระกอบดว ยปญญาอยา งมากมายบทวา อิทฺธมิ นตฺ าน ไดแก ผูส มบรู ณด ว ยฤทธ์ิ. คําวา สารีบตุ ร โมคคัล-ลานะ เปนชื่อของพระเถระทัง้ สองน้นั . ในปญ หากรรมของพระเถระทั้ง ๒ นี้ มีเรอ่ื งทีจ่ ะกลาวตามลําดับ ดังน้ี.
พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 259 ในที่สดุ อสงไขยกัปยง่ิ ดว ยแสนกปั นบั แตก ัปนี้ ทานพระสารีบุตรบงั เกดิ ในครอบครัวพราหมณมหาศาล ช่ือสรทมาณพ. ทานพระโมคคัลลานะบงั เกิดในครอบครัวคฤหบดีมหาศาล ชื่อสิริวฑั ฒกุฏมพ.ีท้ัง ๒ คนเปนเพอื่ นเลน ฝนุ ดว ยกนั มา เมื่อบดิ าลว งลบั ไปสรทมาณพก็ไดทรัพยเปน อนั มาก ซ่ึงเปน สมบตั ิของสกลุ วันหน่ึง อยูในที่ลบัคิดวา เราไมรอู ัตภาพในโลกนี้ ไมรูอ ัตภาพในโลกอื่น ขนึ้ ช่ือวาความตายเปนของแน สําหรับเหลา สตั วท ีเ่ กดิ มาแลว. ควรทเี่ ราจะถอื บวชสักอยา งหนง่ึ แสวงหาโมกขธรรม. สรทมาณพนนั้ ไปหาสหายกลาววา เพอ่ื นสริ วิ ัฑฒ เราจักบวชแสวงหาโมกขธรรม เจา จักบวชพรอ มกนั เราไดไหม. สริ วิ ัฑฒกุฏมพตี อบวา ไมไ ดด อกเพอ่ื น เจาบวชคนเดียวเถิด. สรทมาณพคดิ วา คนเม่อื ไปปรโลก จะพาสหายหรือญาติมิตรไปดว ยหามีไม กรรมทต่ี นทาํ ก็เปน ของตนผูเ ดยี ว ตอ น้นักส็ ่งั ใหเปดเรือนคลังรัตนะใหม หาทานแกคนกาํ พรา คนเดนิ ทางไกล วณพิ กและยาจกทง้ั หลาย แลวบวชเปนฤษี. มีคนบวชตามสรทมาณพนัน้ อยา งนค้ี ือ คน ๑ ๒ คน ๓ คน กลายเปน ชฏลิ จํานวนประมาณ ๗๔,๐๐๐ รูป สรทฤษีนน้ั ทาํ อภญิ ญา ๕ สมาบตั ิ ๘ ใหบงั เกดิ แลว ก็สอนกสณิ บริกรรมแกชฏิลเหลานัน้ . ชฎลิ เหลา นน้ัก็ทําอภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ ใหบ งั เกิดทกุ รปู . สมยั นน้ั พระพุทธเจา พระนามวา อโนมทัสสีทรงอบุ ัตขิ ึน้ในโลก. พระนครชื่อวา จันทวดี. พระพุทธบิดาเปน กษัตริยพระนามวายศวนั ตะ. พระพุทธมารดา เปนพระเทวีพระนามวา ยโสธรา. ตนไมที่ตรสั รู ชอื่ วา อัชชนุ พฤกษ ตนกุม (ตนรกฟา ขาวกว็ า ). พระอัครสาวก
พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 260ท้ัง ๒ ชื่อวา พระนสิ ภเถระ และพระอโนมเถระ. พระพุทธอปุ ฐากชือ่ พระวรณุ เถระ พระอัครสาวิกาท้ัง ๒ ชื่อ สนุ ทรา และ สมุ นา.ทรงมีพระชนมายุ ๑๐,๐๐๐ พรรษา. พระวรกายสงู ๕๘ ศอก.รัศมีพระวรกายแผไป ๑๒ โยชน. มีภิกษเุ ปน บริวาร ๑๐๐,๐๐๐ รูป.ตอมาวันหนึ่ง พระอโนมทสั สีพทุ ธเจา เสด็จออกจากพระมหากรุณาสมาบัติ ทรงตรวจดูโลก เวลาใกลร ุง ทรงเห็นสรทดาบส ทรงพระดาํ ริวา วนั น้ี เพราะเราไปหาสรทดาบสเปนปจ จยั จักมธี รรมเทศนากัณฑใ หญ และสรทดาบสนัน้ จกั ปรารถนาตาํ แหนง อัครสาวกสริ วิ ฑั ฒกุฏม พสี หายของเขา จกั ปรารถนาตาํ แหนง อัครสาวกท่ี ๒จบเทศนาชฏิล ๗๔,๐๐๐ รูป บริวารของเขา จักบรรลุพระอรหัตควรทีเ่ ราจะไปท่ีน้นั . ดังน้ีแลว ทรงถือบาตรสละจวี รของพระองคไมเ รียกใครอ่นื เสดจ็ ลําพังพระองคเ หมอื นราชสหี เมอื่ เหลา อนั เต-วาสกิ ศิษยข องสรทดาบส ออกไปแสวงหาผลาผล ทรงอธษิ ฐานวาขอสรทดาบสจงรวู าเราเปนพระพุทธเจา เมือ่ สรทดาบสกําลังดูอยูน ั่นเอง ก็เสดจ็ ลงจากอากาศ ประทับยืนบนพ้นื ดิน. สรทดาบส เห็นพระพทุ ธานุภาพและพระสรรี สมบตั ขิ องพระองคจงึ พิจารณาลกั ษณมนต ก็รวู า ธรรมดาผปู ระกอบดวยลกั ษณะเหลา นี้ เมื่ออยูค รองเรือน กต็ องเปน พระเจา จักรพรรด์ิ เม่อื บวชก็ตอ งเปน พระสัพพัญพู ทุ ธะ ผูท รงเปดกิเลสดุจหลังคาเสยี แลวในโลก มหาบุรษุ ผูนตี้ อ งเปน พระพทุ ธเจา โดยไมต องสงสัย จึงออกไปตอนรบั ถวายบังคมดวยเบญจางคประดษิ ฐ ปูอาสนะถวายพระผมู ีพระภาคเจา กป็ ระทบั นัง่ เหนืออาสนะทีป่ แู ลว. แมส รทดาบส
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 261กถ็ อื เอาอาสนะทีส่ มควรแกตน น่ัง ณ ทสี่ มควรสว นหนง่ึ . สมัยนั้นชฏิล ๗๔,๐๐๐ รปู ก็ถือผลาผลมโี อชะอนั ประณตี ๆ มาถึงสาํ นักของอาจารย มองดอู าสนะทพี่ ระพุทธเจา และอาจารยน งั่ แลวกลาววาทา นอาจารย พวกเราเทยี่ วไปดวยเขา ใจวา ไมมีใครเปน ใหญกวาทา นในโลกน้ี แตบ รุ ษุ ผนู ีเ้ หน็ ทีจะใหญก วา ทา นแน. สรทดาบสกลาววา พอ เอย พูดอะไร พวกเจา ประสงคจะเปรียบขุนเขาสิเนรุซง่ึ สูง ๖,๐๐๐,๐๐๐ โยชน ทําใหเ ทา กับเมล็ดพันธผุ กั กาด. ลูกเอยพวกเจา อยา เปรียบเรากับพระสัพพญั พู ทุ ธะเลย. คร้ังนั้น ชฏลิเหลา นั้นคดิ วา ถาบรุ ษุ ผูน ี้ จกั เปน สตั วต ํา่ ชา แลวไซร อาจารยของเราคงไมนาํ มาเปรยี บเชนน้ี ท่แี ทบ ุรุษผูน ีต้ อ งเปนใหญห นอทุกรปู จึงหมอบแทบเบอ้ื งพระยุคลบาท ไหวดวยเศียรเกลา . ลําดับน้ันอาจารยจ ึงกลาวกะชฏิลเหลา น้ันวา พอเอย ไทยธรรมของเราทคี่ ูควรแกพ ระพุทธเจาไมมเี ลย. ในเวลาภิกษาจาร พระศาสดาก็เสด็จมาแลวในทีน่ ้ี พวกเราจักถวายไทยธรรมตามกาํ ลงั พวกเจาจงนาํ ผลาผลของเราที่ประณตี ๆ มา แลวใหนํามา ลางมือแลวกว็ างไวในบาตรของพระตถาคตดว ยตนเอง. พอพระศาสดาทรงรบั ผลาผล เทวดาทงั้ หลายก็ใสทิพโอชะลง. ดาบสก็กรองนาํ้ ถวายดวยตนเอง. ลําดับนัน้ เมื่อพระศาสดาประทบั นง่ั เสวยเสรจ็ แลวดาบสก็เรียกอันเตวาสิกมาทกุ คน น่ังพดู แตถ อยคําท่เี ปนสาราณยี กถา(ถอยคําใหห วนระลกึ ถงึ กนั ) ในสํานักพระศาสดา. พระศาสดาทรงดํารวิ า พระอัครสาวกทั้งสอง จงมาพรอ มกบั ภกิ ษสุ งฆ พระอคั รสาวกเหลานนั้ รูพระดาํ รขิ องพระศาสดา
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 262มีพระขีณาสพแสนองคเ ปน บริวาร มาถวายบังคมพระศาสดาแลวยืนณ ที่ควรสวนขา งหน่งึลําดับน้นั สรทดาบสเรยี กพวกอันเตวาสกิ มาพดู วา พอทั้งหลายอาสนะทพ่ี ระพทุ ธเจา ประทบั นง่ั กต็ ํา่ อาสนะที่พระสมณะแสนองคนั่งก็ไมมี วันน้ี ควรที่ทา นทงั้ หลายจะกระทําพุทธสกั การะใหโ อฬารทานทงั้ หลายจงนาํ ดอกไมท่สี มบรู ณดว ยสแี ละกลน่ิ จากเชงิ เขามาเวลาที่กลาวยอมเปนเหมือนเนิ่นนาน แตว ิสยั ของผูมฤี ทธเ์ิ ปน อจินไตยเพราะเหตนุ ั้น ดาบสเหลา นน้ั จงึ นําดอกไมที่สมบูรณด วยสีและกล่นิมา โดยกาลชวั่ ครูเดียวเทานั้น ตกแตงอาสนะดอกไมป ระมาณโยชนหนง่ึ สําหรบั พระพทุ ธเจา สําหรับพระอคั รสาวกทัง้ หลาย๓ คาวุต สําหรบั ภิกษทุ ี่เหลอื ตา งกันก่งึ โยชน เปนตน สําหรบัภิกษุผูใหมใ นสงฆประมาณอสุ ภะเดียว. เมื่อตกแตง อาสนะเสรจ็เรยี บรอ ยแลว สรทดาบสยนื ประคองอัญชลตี รงพระพกั ตรพ ระตถาคตแลวกราบทลู วา ขาแตพระองคผูเจรญิ ขอจงเสด็จข้นึ อาสนะดอกไมน้ี เพ่ือประโยชนและความสุขแกขา พระองคต ลอดกาลนานเถดิ(คร้นั กลา วแลว จึงไดกลาวเปนยาถาประพนั ธดังนว้ี า)นานาปุบฺผ จ คนธฺ จฺ สมฺปาเทตวฺ าน เอกโตปบุ ฺผาสน ปฺาเปตฺวา อิท วจนมพธฺ รวึ ฯลฯ ขา พระองคร ว มกันรวบรวมดอกไมต า ง ๆและของหอมมาตกแตง อาสนะดอกไม ไดก ราบทลู คํานว้ี า ขา แตพ ระผูก ลาหาญ อาสนะนต้ี กแตง
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 263 ไวเพื่อพระองค เหมาะสมแกพระองค ขอ พระองคจงยงั จติ ของขาพระองคใ หผองใส ประทับน่งั บนอาสนะดอกไมเถิด. พระพทุ ธเจา ไดประทับน่ังบนอาสนะดอกไมตลอดเจ็ดวันเจด็ คืน ทาํ จติ ของเราใหผ องใส ทาํ โลกพรอ มทั้งเทวดา ใหร า เรงิ . เมื่อพระศาสดาประทับนงั่ อยา งนแี้ ลว พระอัครสาวกทัง้ สองกับเหลาภิกษุทีเ่ หลอื กน็ ่ังบนอาสนะอนั ถงึ แลวแกต น ๆ. สรทดาบสถอื ฉัตรดอกไมใหญย ืนกน้ั เหนือพระเศยี รพระตถาคต. พระศาสดาทรงเขานิโรธสมาบัตดิ วยพระดําริวา สักการะนี้ จงมผี ลมากแกชฏิลทงั้ หลาย. พระอัครสาวกท้ังสองกด็ ี ภิกษทุ ่เี หลือกด็ ี รูวา พระศาสดาทรงเขาสมาบตั ิ กพ็ ากันเขาสมาบตั ิ. เมอื่ พระตถาคตนงั่ เขานิโรธสมาบัตติ ลอด. ๗ วัน พวกอันเตวาสิก เมือ่ ถงึ เวลาภิกขาจารก็บรโิ ภคมูลผลาหารของปา ในเวลาทีเ่ หลือกย็ นื ประคองอัญชลแี ดพระพทุ ธเจา . สวนสรทดาบส แมภ ิกขาจารก็ไมไ ป ยบั ยงั้ อยูดว ยปตแิ ละสขุ ทัง้ ๗ วัน โดยทาํ นองท่ีถือฉัตรดอกไมอยูน่นั แหละ. พระศาสดาทรงออกจากนิโรธสมาบัติแลวตรัสเรยี กพระนสิ ภเถระอัครสาวกผนู งั่ อยู ณ เบ้ืองขวาวา นสิ ภะเธอจงทําบุบผา-สนานุโมทนาแกดาบทัง้ หลายผูการทาํ สักการะ. พระเถระดีใจเหมอื นทหารใหญไ ดลาภมากจากสาํ นกั ของพระเจาจกั รพรรดิต้งั อยูในสาวกบารมญี าณเร่มิ อนโุ มทนาเก่ียวกบั การถวายอาสนะดอกไม. ในเวลาจบเทศนาของพระอัครสาวกน้ัน จงตรัสเรียกทตุ ิย-
พระสุตตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 264สาวกวา ภิกษุ แมเ ธอกจ็ งแสดงธรรม. ฝา ยพระอโนมเถระพิจารณาพระไตรปฎกพทุ ธวจนะมากลา วธรรมกถา. ดวยเทศนาของพระอคั รสาวกท้ังสอง แมช ฎลิ สกั รูปหนง่ึ ไมไดตรัสรู. ลาํ ดับนนั้ พระศาสดาทรงดํารงอยใู นพุทธวสิ ัยอันหาประมาณไมได ทรงเริม่ พระ-ธรรมเทศนา. ในเวลาจบเทศนา เวน สรทดาบส ชฏิลแมทัง้ หมดจํานวน๗๔,๐๐๐ รปู บรรลุพระอรหัต. พระศาสดาทรงเหยยี ดพระหัตถตรัสวา จงเปน ภกิ ษุมาเถดิ . ในขณะนัน้ เอง ผมและหนวดของชฏิลเหลา น้นั กห็ ายไป บริขาร ๘ กไ็ ดสรวมสอดเขาในกายทันที. ถามวา เพราะเหตุไร สรทดาบสจงึ ไมบรรลุพระอรหตั .ตอบวา เพราะมีจิตฟุงซาน. ไดย ินวา . จาํ เดิมตง้ั แตเร่มิ ฟงเทศนาของพระอคั รสาวกผูนั่งบนอาสนะทสี่ องของพระพุทธเจา ผตู งั้ อยูในสาวกบารมีญาณแสดงธรรมอยู สรทดาบสนั้นเกิดความคดิ ข้ึนวาโอหนอ แมเรากค็ วรไดหนา ทท่ี พี่ ระสาวกน้ไี ด ในศาสนาของพระพทุ ธเจาผจู ะเสดจ็ อุบัติข้นึ ในอนาคต. สรทดาบสนัน้ ไมอ าจทําใหแจง มรรคผล กเ็ พราะความปริวิตกน้นั จงึ ถวายบงั คมพระตถาคตแลว ยืนตรงพระพักตรก ราบทูลวา ขา แตพระองคผเู จรญิ ภกิ ษุผนู ั่งบนอาสนะติดกบั พระองคช อ่ื ไร. ในศาสนาของพระองค. พระศาสดาตรสั วา ภิกษนุ ผี้ ูป ระกาศตามพระธรรมจกั รทีเ่ ราประกาศแลว ถึงท่สี ุดแหงสาวกบารมญี าณ แทงตลอดโสฬสปญหา ช่ือวานิสภเถระอัครสาวกในศาสนาของเรา. สรทดาบส (ไดฟ ง แลว )จึงไดทําความปรารถนาวา ขา แตพระองคเจริญ ขาพระองคก้นั ฉตั รดอกไมต ลอด ๗ วนั การทําสกั การะน้ใี ด ดว ยผลของสักการะนี้
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 265นั้น ขา พระองคมิไดปรารถนาเปนทาวสักกะหรอื เปนพรหมสกัอยา งหนึง่ แตในอนาคต ขอใหข าพระองคพงึ เปน พระอคั รสาวกของพระพทุ ธเจาพระองคหนึง่ เหมอื นพระนสิ ภเถระนี.้ พระศาสดาทรงสง อนาคตงั สญาณไปตรวจดูวา ความปรารถนาของดาบสน้ี จักสําเรจ็ ไหมหนอ กไ็ ดทรงเหน็ วาลว งไปหนึ่งอสงไขยย่ิงดว ยแสนกัปจะสาํ เรจ็ กแ็ หละคร้นั ทรงเหน็ แลว จึงตรสั กะสรทดาบสวา ความปรารถนาอันนข้ี องทานจักไมเปน ของเปลา แตใ นอนาคตลวงไปหนึ่งอสังไขยยิง่ ดวยแสนกปั พระพทุ ธเจา ทรงพระนามวาโคดม จกั อบุ ัตขิ นึ้ ในโลก จักมีพระพทุ ธมารดานามวา มหามายาเทวีจกั มีพระพุทธบดิ านามวา สุทโธทนมหาราช จกั มพี ระโอรสนามวาราหุล จกั มพี ระอุปฏฐากนามวา อานนท จักมีพระทตุ ิยสาวกนามวาโมคคัลลานะ สว นตวั ทา นจักเปน พระอคั รสาวกของพระโคดมนนั้นามวา พระธรรมเสนาบดสี ารบี ุตร คร้ันทรงพยากรณดาบสนน้ัอยางนีแ้ ลว ตรสั ธรรมกถา มภี ิกษสุ งฆเ ปน บริวารเสด็จเหาะไปทางอากาศ. ฝายสรทดาบสไปยงั สํานกั ของพระเถระผูเคยเปนอันเตวาสิกแลว ใหสงขา วแกสริ ิวฑั ฒกุฏมพีผเู ปน สหายวา ทานผเู จริญ ทานจงบอกสหายของขาพเจา วา สรทดาบสผสู หายของทาน ปรารถนาตําแหนงอคั รสาวกในศาสนาของพระโคดมพทุ ธเจา ผจู ะเสดจ็ อุบัติในอนาคต ณ ที่ใกลบ าทมลู ของพระอโนมทัสสีพุทธเจา สวนทานจงปรารถนาตาํ แหนง ทตุ ยิ สาวกเถิด ก็แหละครนั้ กลาวอยา งนี้แลวกไ็ ปโดยครูเดียวกอนหนา พระเถระทัง้ หลาย ไดยนิ อยทู ป่ี ระตูนิเวศนของสริ ิวฑั ฒกฎุ มพี
พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 266 สริ วิ ฑั ฒกฏุ มพีปราศยั วา นานหนอ พระผเู ปนเจาจะไดม าแลวใหน งั่ บนอาสนะ สวนตนนง่ั บนอาสนะตัวทต่ี ํา่ กวาถามวา ก็อันเตวาสกิ บริษทั ของทานไมปรากฏหรอื ขอรับ สรทดาบสกลาววาเจริญพร สหาย พระอโนมทัสสีพทุ ธเจา เสด็จมาในอาศรมของพวกอาตมภาพ ๆไดกระทาํ สกั การะแดพ ระองคท านตามกาํ ลงั ของตน ๆพระศาสดาทรงแสดงธรรมแกด าบสทง้ั หมด ในเวลาจบเทศนาดาบสทเ่ี หลอื บรรลุพระอรหัต เวน อาตมภาพ. สริ วิ ัฑฒกฏุ ม พถี ามวาเพราะเหตุไรทา นจงึ ไมบวช. สรทดาบสกลา ววา อาตมภาพเหน็ พระ-นิสภเถระอคั รสาวกของพระศาสดาแลว จงึ ไดป รารถนาตาํ แหนงอัคร-สาวกในศาสนาของพระพุทธเจาทรงพระนามวา โคดม ผูจะเสดจ็ อุบัติในอนาคต. แมตัวทานกจ็ งปรารถนาตําแหนงทุติยสาวกในศาสนาของพระโคดมพุทธเจาพระองคนน้ั เถิด. สิรวิ ฑั ฒกฏุ มพกี ลาววา ทา นขอรบั กระผมไมมีความคุนเคยกบั พระพทุ ธเจา. สรทดาบสกลา ววาการกราบทลู กบั พระพทุ ธเจา จงเปน ภาระของอาตมภาพ ทา นจงตระเตรียมอธิการ (สักการะอันย่งิ ยวด) ไวเ ถิด. สิริวฑั ฒกุฏม พี ฟงคําของสรทดาบสแลว จงึ ใหปรับสถานทป่ี ระมาณ ๘ กรสี ดวยไมว ัดหลวงใหมพี นื้ ที่เสมอกัน ณ สถานท่ใี นนิเวศนของตนแลว ใหเ กลี่ยทราย โปรยดอกไมมขี า วตอกเปน ที่ ๕ ใหสรา งมณฑปมงุ ดวยดอกอุบลขาบ ตกแตงพุทธอาสน จดั อาสนะตําหรับพระภกิ ษุแมทีเ่ หลือ เตรียมเครอ่ื งสักการะสมั มานะใหญโ ต แลว ใหสญั ญาณแกสรทดาบสเพื่อทลู นมิ นตพระพุทธเจา.ดาบสไดฟ งคําของสิริวัฑฒกุฏมพนี ้นั แลว จึงพาภิกษุสงฆมพี ระพุทธเจาเปนประมขุ ไปยังนิเวศนของสริ วิ ัฑฒกุฏมพีน้ัน. สิรวิ ัฑฒ-กุฏมพกี ระทําการรบั เสด็จ รบั บาตรจากพระหัตถของพระตถาคต
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 267นิมนตใ หเสดจ็ เขา ไปยงั มณฑป ถวายน้ําทักษิโณทกแดภกิ ษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมขุ ผูนัง่ ณ อาสนะท่ตี กแตงไวแ ลว เลี้ยงดูดวยโภชนะอนั ประณีต ในเวลาเสรจ็ ภตั กิจ ใหภ กิ ษุสงฆม พี ระ-พุทธเจาเปนประมขุ ครองผา อันควรคามากแลว กราบทลู วา ขาแตพระองคผเู จริญ ความริเรม่ิ นี้ เพอื่ ตองการฐานะอันมปี ระมาณเล็กนอ ยกห็ ามไิ ด ขอพระองคทรงกระทาํ ความอนุเคราะหต ลอด๗ วนั โดยทาํ นองน้ีแหละ. พระศาสดาทรงรบั นมิ นตแลว. สิรวิ ฑั ฒกฎุ ม พนี ้ันยงั มหาทานใหเ ปน ไปไมขาดสายตลอด ๗ วัน โดยทาํ นองนั้นนนั่ แหละ. แลวถวายบังคมพระผมู ีพระภาคเจา ยืนประคองอญั ชลีกราบทูลวา ขา แตพระองคผ ูเจรญิ สรทดาบสสหาย ของขา พระองคปรารถนาวา ขอใหเปน อคั รสาวกของพระศาสดาองคใด ขาพระองคขอเปน ทุติยสาวกของพระศาสดาองคน นั้ เหมือนกัน. พระศาสดาทรงตรวจดูอนาคตทรงเหน็ วา ความปรารถนาของเขาสําเรจ็ จงึทรงพยากรณว า ลว งไปหนึ่งอสงไขยยงิ่ ดวยแสนกัปจากภัตรกัปนไ้ี ป ทา นจักเปน ทุตยิ สาวกของพระโคดมพทุ ธเจา. สริ วิ ฑั ฒกฏุ ม พีไดฟง คําพยากรณของพระพทุ ธเจาแลว เปน ผูยินดีรา เรงิ . ฝา ยพระศาสดาทรงทําภตั ตานุโมทนาแลว พรอมท้งั บรวิ ารเสดจ็ กลับไปยังพระวหิ าร. จาํ เดิมแตนน้ั มา สิริวัฑฒกฏุ มพกี ระทํากรรมงามตลอดชีวติ แลวบงั เกิดในเทวโลกช้นั กามาวจร ในวารจติ ท่สี อง.สรทดาบสเจรญิ พรหมวหิ าร ๔ ไดบ ังเกดิ ในพรหมโลก. จาํ เดมิแตนั้นมา ทานไมพูดถงึ กรรมในระหวา งแมข องทานท้ังสองนี้. ก็กอนแตการเสด็จบังเกดิ ขึน้ แหงพระพทุ ธเจาของเราท้ังหลายน่นั แล สรทดาบสถือปฏสิ นธิในครรภของสารีพราหมณใี นบา น
พระสตุ ตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 268อปุ ตสิ สคาม ไมไกลกรงุ ราชคฤห. กใ็ นวนั น้ันแหละ แมสหายของสรทดาบสนน้ั กถ็ ือปฏสิ นธใิ นครรภข องโมคคลั ลพี ราหมณี ในบานโกลติ คาม อันไมไกลกรุงราชคฤหเหมอื นกนั . ไดย ินวา ตระกลูแมท ัง้ สองนน้ั ไดเ ปน สหายเกย่ี วเนื่องกันมา ๗ ชั่วตระกูลทเี ดยี ว.ญาตทิ ้ังหลายไดใ หก ารบรหิ ารครรภแ กค นแมท ัง้ สองนั้นในวันเดียวกัน ไดน ําแมนม ๖๖ คนเขา ไปใหแกคนท้งั สองนน้ั แมผูซ ่ึงเกดิ แลว เมื่อลว งไป ๑๐ เดือน. ในวันต้ังช่อื ญาตทิ ัง้ หลายไดต้ังชอื่บุตรของสารีพราหมณีวา อปุ ตสิ สะ เพราะเปน บตุ รของหวั หนาตระกลู ในบา นอปุ ติสสคาม ตั้งช่อื บตุ รนอกนี้วา โกลติ ะ เพราะเปน บุตรของหัวหนา ตระกูลในบา นโกลติ คาม. คนแมทงั้ สองน้นัเจรญิ วัยขึ้นกส็ ําเรจ็ ศิลปศาสตรท กุ อยา ง. ในเวลาไปยงั แมน ้าํ หรอื อทุ ยานเพื่อจะเลน อปุ ติสสมาณพมวี อทอง ๕๐๐ วอเปนเครื่องแหแหน โกลติ มาณพมีรถเทยี มมาอาชาไนย ๕๐๐ คนั เปน เครอื่ งแหแหน ชนแมทัง้ สองมีมาณพคนละ๕๐๐ เปน บริวาร. ก็ในกรงุ ราชคฤห มมี หรสพบนยอดเขาเปนประจําป. ชนทัง้ หลายผูกเตียงไวในท่เี ดยี วกนั สาํ หรับมาณพแมทง้ั สองนัน้ แมม าณพทง้ั สองกน็ งั่ รวมกนั ดมู หรสพ รา เรงิ ในฐานะทีค่ วรรา เรงิ สังเวชในฐานะท่คี วรสงั เวช ตกรางวลั ในฐานะทคี่ วรตกรางวลั . วันหนงึ่ เมอ่ื ชนท้ังสองนัน้ ดูมหรสพโดยทาํ นองนี้แหละมไิ ดมคี วามราเรงิ ในฐานะที่ควรราเริง สงั เวชในฐานะทคี่ วรสงั เวชหรอื ตกรางวัลในฐานะทีค่ วรตกรางวลั เพราะญาณแกก ลา แลว . ก็ชนแมท ัง้ สองตา งคิดอยา งนวี้ า มีอะไรที่เราจะควรดูในมหรสพนี้
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 269คนเหลา นีแ้ มท ัง้ หมด ยงั ไมถ งึ ๑๐๐ ป ตา งกจ็ ะลม หายตายจากกันไป กเ็ ราท้ังหลายควรแสวงหาโมกขธรรมสักอยา งหน่งึ ดังน้ีแลวนั่งนึกเอาเปน อารมณอยู ลาํ ดบั นั้น โกลิตะกลาวกะอปุ ตสิ สะวาเพื่อนอปุ ตสิ สะ ทานไมส นุกราเริงเหมือนวนั กอน ๆ ใจลอย ทา นคดิอะไรหรือ อปุ ติสสะกลา ววา เพือ่ นโกลิตะ เรานั่งคิดถงึ เร่ืองนีอ้ ยูวาในการดขู องคนเหลา นี้ ไมม ีแกนสารเลย การดนู ไี้ มมปี ระโยชนควรแสวงหาธรรมเครอื่ งหลดุ พน สําหรับตน กท็ า นเลา เพราะเหตุไรจงึ ใจลอย แมโ กลติ ะนน้ั ก็กลาวอยางน้นั เหมอื นกนั . คร้นั อปุ ติสสะรูวา โกลิตะนน้ั มอี ชั ฌาศยั อยางเดยี วกับตน จงึ กลาวอยา งนวี้ า ส่ิงท่ีเราแมทั้งสองคิดเปนการคดิ ท่ดี ี เมื่อจะแสวงหาโมกขธรรม ควรจะไดการบวชสักอยา งหน่งึ ดงั นัน้ พวกเราจักบวชในสาํ นกั ใคร. กส็ มัยนัน้ สญั ชัยปรพิ าชกอาศัยอยใู นกรงุ ราชคฤห พรอ มกับปริพาชกบริษัทหมูใหญ มาณพทง้ั สองน้นั ตกลงวา จกั บวชในสาํ นกั ของสัญชยั ปรพิ าชกนัน้ จึงบวชในสํานกั ของสัญชยั ปรพิ าชกพรอ มกบั มาณพ ๕๐๐ คน. จาํ เดิมแตก าลทีม่ าณพทัง้ สองนัน้ บวชแลว สญั ชยั ปรพิ าชกไดล าภไดย ศเหลือหลาย. มาณพทัง้ สองนั้นเรยี นจบลัทธขิ องสญั ชยั ปริพาชกทัง้ หมด โดย ๒ - ๓ วนั เทานน้ัแลวถามวา ทา นอาจารย ลทั ธอิ ันเปนความรูของทา นมีเทา น้ี หรอืมยี ง่ิ ข้ึนไปอกี . สญั ชยั ปริพาชกกลา ววา มีเทานแ้ี หละ พวกทา นรูห มดแลว. มาณพเหลา นนั้ ฟงถอ ยคาํ ของสัญชัยปริพาชกนนั้แลว คิดกันวา เมอื่ เปนอยางนี้ การอยูป ระพฤติพรหมจรรยในสาํ นักของสญั ชัยปรพิ าชกนกี้ ไ็ มม ีประโยชน พวกเราออกบวชกเ็ พือ่
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 270แสวงหาโมกขธรรม พวกเราไมอ าจใหเกดิ ขึ้นในสํานักของสญั ชยั -ปริพาชกนี้ กช็ มพทู วีปใหญโต พวกเราเท่ยี วไปยังคาม นิคม และราชธานี จักไดอาจารยสักทา นหนึ่งผูแ สวงโมกขธรรมไดเปนแนจําเดิมแตน ั้น มาณพท้ังสองนนั้ ไดฟ ง วา สมณพราหมณผ ูเปนบัณฑติมีอยู ณ ที่ใด ๆ กไ็ ป ณ ทนี่ น้ั ๆ กระทําการสนทนาปญหา. ปญ หาทม่ี าณพท้ังนนั้ ถามแลว คนอื่น ๆ ไมม ีความสามารถทจี่ ะแกไ ด. แตมาณพทงั้ สองนั้น แกป ญ หาของคนเหลาน้นั ได. มาณพทัง้ สองนน้ัเทยี่ วสอบไปท่วั ชมพทู วปี ดว ยอาการอยางนี้ แลว กลับมาทีอ่ ยเู ดมิของตน ไดทํากตกิ ากันวา เพ่อื นโกลิตะ ผใู ดบรรลอุ มตะกอน ผนู ้นัจงบอกแกกนั . กส็ มัยนน้ั พระศาสดาของเราทัง้ หลายบรรลพุ ระปรมาภิ-สัมโพธญิ าณแลว ประกาศพระธรรมจกั รอนั บวร เสดจ็ ถงึ กรงุราชคฤหโดยลําดับ. ครง้ั นัน้ พระอัสสชิเถระในจาํ นวนภกิ ษุปญ จ-วัคคีย ในระหวา งภิกษุทั้งหลายท่ที รงสง ไปประกาศคุณของพระรัตนตรัยวา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เธอทัง้ หลายจงเท่ียวไปเพอ่ื ประโยชนเก้ือกูลแกชนเปน อันมาก ดงั น้ี ในสมัยที่กลา ววา พระอรหันต ๖๑องค อุบัติขนึ้ แลว ในโลก ดังนี้ ทานหวนกลับมายงั กรุงราชคฤห ในวันรงุ ข้นึ ถอื บาตรสละจีวรเขาไปบิณฑบาตรยังกรงุ ราชคฤหแ ตเชา ตร.ู สมัยนน้ั อุปตสิ สปรพิ าชกทําภัตกจิ แตเ ชามดื แลวเดนิ ไปอารามปรพิ าชก ไดเหน็ พระเถระจึงคดิ วา ชื่อวาบรรพชติ เหน็ ปานน้ีเราไมเคยเห็นเลย ภิกษุนีค้ งจะเปนภกิ ษรุ ปู ใดรปู หนง่ึ ในบรรดาภกิ ษผุ ูเ ปน อรหนั ตหรือผบู รรลอุ รหัตตมรรคในโลก ถากระไร เรา
พระสุตตันตปฎ ก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 271ควรเขา ไปหาภิกษุนแ้ี ลวถามปญ หาวา ทานผูมอี ายุ ทานบวชจาํ เพาะใคร หรอื ใครเปน ศาสดาของทาน หรอื วาทา นชอบใจธรรมของใคร.ลาํ ดบั น้นั เขาไดม คี วามคิดวา มใิ ชก าลทจี่ ะถามปญ หากะภิกษนุ ี้ ๆเขาไปยังละแวกบานเที่ยวบณิ ฑบาตอยู ไฉนหนอเราพึงตดิ ตามภิกษุนีไ้ ปขางหลงั ๆ เพราะการติดตามภิกษนุ ้ีไปนัน้ เปนทางท่ีผตู อ งการเขา ไปรูแลว . อปุ ติสสปรพิ าชกเหน็ พระเถระไดบณิ ฑบาตแลว ไปยงั โอกาสแหงหน่ึง และรวู า พระเถระนน้ั ตอ งการจะน่ัง จึงไดลาดตงั่ ปรพิ าชกของตนถวาย แมในเวลาเสรจ็ ภตั กจิ กไ็ ดถวายนํา้ ในคณโฑนํ้าของตนแกพระเถระนนั้ กระทาํ อาจริยวัตรอยางนี้แลวกระทาํ ปฏิสนั ถารออ นหวาน กับพระเถระผกู ระทาํ ภตั กิจเสร็จแลว ถามวา ทานผมู อี ายุ อนิ ทรียทั้งหลายของทานผองใสนักแลฉววี รรณบริสุทธ์ิผุดผอง ผูมอี ายุ ทา นบวชจําเพาะใคร หรอื ใครเปนศาสดาของทา น หรอื วาทา นชอบใจธรรมของใคร. พระเถระกลา ววาผมู ีอายุ พระมหาสมณะศากยบตุ ร ออกบวชจากศากยตระกูลมอี ยูเราบวชจําเพาะพระผูมพี ระภาคเจาพระองคน ั้น และพระผมู ีพระภาคเจา พระองคนน้ั เปนศาสดาของเรา เราชอบใจธรรมของพระผูมพี ระภาคเจาพระองคน ั้น. ลําดบั นัน้ อปุ ตสิ สปรพิ าชกจงึ ถามพระเถระน้ันวา ก็พระศาสดาของทานผูมอี ายมุ ีวาทะอยางไร กลา วอยา งไร. พระเถระคิดวา ธรรมดาปรพิ าชกทัง้ หลายน้ี เปนปฏปิ กษตอ พระศาสนา เราจกั แสดงความลกึ ซงึ้ ในพระศาสนาแกป รพิ าชกน้ีเม่อื จะถอมตนวา เรายังเปน ผใู หมจ ึงกลา ววา ผมู อี ายุ เราแลเปนผใู หมบ วชยงั ไมนาน เพ่ิงมาสูม าสพู ระวินยั น้ี เราไมอ าจแสดงธรรมโดยพสิ ดารไดกอ น. ปริพาชกคดิ วา เราชอื่ วาอปุ ตสิ สะ ทา นจง
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 272กลา วนอยหรอื มากตามความสามารถ การแทงตลอดธรรมน่ันดวยรอยนบั พนั นยั เปน ภาระของเรา จงึ กลา ววา อปปฺ วา พหุ วา ภาสสสฺ ุ อตฺถ เยว เม พรฺ ูหิ อตเฺ ถเนว เม อตโฺ ถ กึ กาหสิ พฺยฺชน พหุ ทานจงกลา วเถดิ นอ ยกต็ ามมากก็ตาม จงกลา ว เฉพาะแตใ จความแกข าพเจา ขา พเจาตอ งการ ใจความเทา นั้น. ทานจะทาํ พยญั ชนะใหม ากไป ทาํ ไม. เม่ือกลาวอยา งน้แี ลว พระเถระจงึ กลา วคาถาวา เย ธมมฺ าเหตุปปฺ ภวา (ธรรมเหลา ใดมเี หตเุ ปน แดนเกดิ ) ดังน้เี ปน ตน. ปรพิ าชกฟงเฉพาะ. ๒ บทแรกเทาน้นั ก็ตงั้ อยูใ นโสดาปตตมิ รรคอันสมบูรณดว ยนยั พนั หนง่ึ . ทาํ ๒ บทหลงั ใหจบลงในเวลาเปน พระโสดาบนั แลว.ปริพาชกนนั้ ไดเปน พระโสดาบนั แลว เมอ่ื คุณวเิ ศษชน้ั สงู ยังไมเ กดิจึงกําหนดวา เหตุในคําสอนน้ีจกั มี จงึ กลาวกะพระเถระวา ทานผเู จรญิ ทา นอยา ขยายธรรมเทศนาใหสูงไป คํามีประมาณเทา น้แี หละพอแลว พระศาสดาของเราทง้ั หลายประทบั อยทู ไี่ หน. พระเถระบอกวา ประทับอยูในพระเวฬวุ นั . ปริพาชกกลาววา ทานเจา ขาขอทานจงลวงหนาไปกอน กระผมมีสหายอยคู นหน่ึง และไดทํากตกิ ากันไววา ผใู ดบรรลอุ มตะกอน ผนู ้ันจงบอกแกกัน กระผมจกั เปล้ืองปฏิญญาขอนั้น แลวพาสหายไปยงั สาํ นักของพระศาสดา ตามทางท่ีทา นไปนนั่ แหละ แลวหมอบลงแทบเทา พระเถระดวยเบญจางค-
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 273ประดิษฐ กระทาํ ประทกั ษณิ ๓ ครง้ั แลวสง พระเถระไป สวนตนกเ็ ดนิ มงุ ตรงไปยงั อารามของปรพิ าชก โกลิตปริพาชกเห็นอุปตสิ ส-ปริพาชกเดนิ มาแตไ กล คิดวา วันน้ีหายเรามสี หี นาไมเหมอื นวนั กอ น ๆเขาจักไดบ รรลอุ มตะแนแท จงึ ถามถงึ การบรรลอุ มตะ. แมอุปติสส-ปรพิ าชกนน้ั กไ็ ดป ฏิญญาแกโกลติ ปริพาชกนน้ั วา ผูมีอายุ เราบรรลุอมตะแลว จงึ ไดกลา วคาถานนั้ น่นั แหละ. ในเวลาจบคาถา โกลิตะตง้ั อยใู นโสดาปต ติผลแลว กลาววา สหาย ไดยินวา พระศาสดาประทับอยทู ไี่ หน. อุปตสิ สะกลาววา สหาย นยั วาพระศาสดาประทบั อยูในพระเวฬวุ ัน. พระอัสสชิเถระอาจารยข องพวกเราบอกอยางน้ีดว ยประการฉะน้ี. โกลติ ะกลา ววา สหาย ถา อยา งนนั้ มาเถิด พวกเราจกั เฝา พระศาสดา. ธรรมดาวา พระสารีบุตรเถระน้ี เปนผูบ ชู าอาจารยแมในกาลทุกเมือ่ เพราะฉะนัน้ จงึ กลาวกะโกลติ มาณพผูส หายอยา งน้ีวา สหาย เราจักบอกอมตะทเ่ี ราบรรลุ แมแ กส ญั ชัย-ปริพาชกอาจารยของเรา ทานรอู ยูก็จักแทงตลอด เมอื่ ไมแ ทงตลอดเชือ่ พวกเราก็จักไปยังสํานักของพระศาสดา ฟง ธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา แลว จกั กระทาํ การแทงตลอดมรรคผล. แตนั้น ชนแมทั้งสองไปยงั สํานักของสญั ชัยกลา ววา อาจารยข อรบั ทานจกั ทาํอยางไร พระพุทธเจา เกดิ ขน้ึ แลว ในโลก พระธรรมอนั พระพุทธเจาตรสั ดีแลว พระสงฆเ ปนผปู ฏบิ ตั ิดีแลว มาเถดิ พวกเราจักเฝาพระทศพล. สัญชัยปรพิ าชกกลา ววา พูดอะไร พอ แลวหา มชนทั้งสองแมน้นั แสดงแตการไดล าภอนั เลศิ และ. อันเลศิ เทานนั้แกชนทงั้ สองนนั้ . ชนทง้ั สองนน้ั กลาววา การอยเู ปน อันเตวาสิกเห็นปานนข้ี องขา พเจาทัง้ หลายเปน ประจาํ ไปทีเดียว จงยกเสียเถดิ
พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 274แตทา นจงรตู วั ทา นวาจะไปหรอื ไมไป. สัญชยั ปริพาชกรูวา ชนเหลา นี้รูความตอ งการมีประมาณเทา น้แี ลว จักไมเชอ่ื ถอื คาํ พดูของเรา จงึ กลาววา ไปเถดิ พอ ทง้ั หลาย เราไมอาจอยูเปนอนั เตวาสกิ(ของตนอน่ื ) ในคราวเปนคนแก. ชนท้งั สองนนั้ ไมอ าจใหส ญั ชยั -ปรพิ าชกนนั้ เขา ใจดวยเหตแุ มเ ปน อันมาก จึงไดพาชนผูป ระพฤติตามโอวาทของตนไปยังพระเวฬุวนั . คร้งั น้ัน ในบรรดาอนั เตวาสิก๕๐๐ คนของชนท้งั สองนน้ั ๒๕๐ คนกลบั อกี ๒๕๐ คนไดไ ปกับชนทั้งสองน้ัน. พระศาสดากําลังทรงแสดงธรรมอยทู า มกลางบรษิ ัท ๔ทรงเห็นชนเหลา น้นั แตไ กล จึงตรสั เรยี กภิกษุท้ังหลายมาวา ภกิ ษุทง้ั หลาย สหาย ๒ คนน้ัน คอื ไกลิตะและอปุ ตสิ สะกําลงั เดินมา คสู าวกน้ีแหละจักเปน คูสาวกท่เี ลิศท่เี จริญ คร้ันแลว ทรงขยายพระธรรม-เทศนา เนือ่ งดวยจรยิ าแหง บรษิ ัทของ ๒ สหายนัน้ . เวนพระอัครสาวกทั้งสอง ปริพาชก ๒๕๐ คนแมท ัง้ หมดนัน้ บรรลพุ ระอรหตั พระ-ศาสดาทรงเหยยี ดพระหัตถตรสั วา จงเปน ภิกษมุ าเถิด. ผมและหนวดของปรพิ าชกเหลาน้นั หายไป บาตรและจวี รอันลว นแลว ดวยฤทธ์ิกไ็ ดม มี าแมแ กพระอัครสาวกทง้ั สองดวย แตก ิจดวยมรรคท้งั๓ เบ้อื งสูง ยงั ไมสําเรจ็ . เพราะเหตุไร ? เพราะสาวกบารมญี าณเปน ของใหญ. ครน้ั ในวันท่ี ๗ ตั้งแตวนั บวช ทานพระมหาโมคคลั ลานะเขา ไปอาศยั บา นกลั ลวาลคามแควนมคธ กระทาํ สมณธรรมอยูเม่อื ถูกถีนมิทธะครอบงํา พระศาสดาทรงทําใหส ังเวชใจ บรรเทาถีนมิทธะเสยี ได กาํ ลงั ฟงธาตกุ รรมฐานทพ่ี ระตถาคตประทาน
พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 275อยทู เี ดียว ทํากิจแหง มรรค ๓ เบ้อื งสงู ใหสาํ เร็จถึงท่ีสดุ แหง สาวก-บารมญี าณ. แมพระสารบี ุตรเถระลวงเลยเวลาไปครึ่งเดือนตั้งแตวันบวช เขาไปอาศยั กรุงราชคฤหน้ันนนั่ แหละอยใู นถํ้าสกุ รขาตากับพระศาสดา เมอื่ พระศาสดาทรงแสดงเวทนาปรคิ หสูตรแกทฆี นขปริพาชกผูเปน หลานของตน ไดส ง ญาณไปตามกระแสพระสตู รกไ็ ดบรรลถุ งึ ท่สี ุดสาวกบารมญี าณ เหมือนบรโิ ภคขา วทค่ี ดไวเพ่อื คนอืน่ สว นหลานของทานาตงั้ อยใู นโสดาปต ติผล ในเวลาจบเทศนา. ดังนน้ั เมือ่ พระตถาคตประทบั อยูในกรุงราชคฤหน ่ันแลกิจแหงสาวกบารมญี าณของพระอคั รสาวกแมท้งั สองไดถ ึงทีส่ ดุแลว. ก็ในเวลาตอ มาอีก พระศาสดาประทับอยูในพระเชตวนั ไดทรงสถาปนาพระมหาสาวกแมท ้ังสองไวใ นตําแหนงเอตทัคคะวาสารบี ุตรเปนยอดของภกิ ษุสาวกของเราผมู ีปญ ญามาก มหาโมคคัล-ลานะเปนยอดของภกิ ษสุ าวกของเราผมู ีฤทธิม์ าก ดังน้.ี จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๒ - ๓ อรรถกถาสูตรที่ ๔ ประวัติพระมหากสั สปเถระ ในสูตรท่ี ๔ พึงทราบวินจิ ฉัยดงั ตอ ไปนี้ :- ในบทวา ธตุ วาทาน นี้ พงึ ทราบธตุ บุคคล (บคุ คลผกู ําจดั กิเลส)ธตุ วาทะ (การสอนเร่ืองการกาํ จัดกิเลส) ธตุ ธรรม (ธรรมเคร่อื งกาํ จัดกเิ ลส) ธดุ งค (องคของผูกําจดั กเิ ลส).
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 276 บรรดาบทเหลานัน้ บทวา ธุโต ไดแ ก บคุ คลกําจดั กิเลสหรือธรรมอนั กําจัดกิเลส. กใ็ นบทวา ธตุ วาโท น(้ี พงึ ทราบวา ) มบี ุคคลผูกําจดั กเิ ลสไมมกี ารสอนเร่ืองกําจัดกิเลส ๑ มีบคุ คลผูไมกําจัดกิเลสแตมีการสอนเรือ่ งกําจัดกเิ ลส ๑ มีบคุ คลผูไ มกาํ จัดกิเลส ทั้งไมมกี ารสอนเรอื่ งกําจดั กิเลส ๑ มีบคุ คลผทู ง้ั กาํ จดั กิเลสและมกี ารสอนเรอ่ื งกาํ จดั กิเลส ๑. ในบรรดาบคุ คลเหลา น้ัน บุคคลไดกาํ จัดกิเลสของตนดวยธุดงค แตไมโ อวาทไมอนุศาสนคนอืน่ ดว ยธุดงคเ หมอื นพระพักกุลเถระ บคุ คลนี้ชือ่ วา ผูกาํ จดั กิเลสแตไมม ีการสอนเร่ืองกาํ จดั กิเลส เหมอื นดงั ทา นกลา ววา คอื ทา นพระพักกุละเปนผกู าํ จดักเิ ลส แตไ มม กี ารสอนเร่ืองกาํ จดั กเิ ลส. แกบุคคลใดไมก าํ จัดกิเลสของตนดว ยธดุ งค แตโ อวาทอนุศาสน คนอ่นื ดวยธุดงคอ ยา งเดยี วเหมือนพระอุปนันทเถระ กบ็ คุ คลนีช้ ื่อวา ไมเ ปน ผกู าํ จัดกิเลส แตม ีการสอนเรอื่ งกาํ จัดกเิ ลส เหมือนดงั ทา นกลาววา คือ ทานพระอปุ นนั ทะ ศากยบุตร ไมเปน กําจัดกเิ ลส แตมีการสอนเรอื่ งกาํ จัดกเิ ลส.ก็บคุ คลใดไมกําจดั กเิ ลสของตนดวยธุดงค ไมโ อวาท ไมอ นศุ าสนคนอื่นดวยธดุ งค เหมอื นพระโลลุทายีเถระ กบ็ ุคคลนี้ชอื่ วา ไมเ ปนผูก ําจดั กเิ ลส (และ) ไมมกี ารสอนเรื่องกาํ จัดกเิ ลส เหมือนดังทานกลา ววา คอื ทา นพระมหาโลลทุ ายไี มเ ปนผกู ําจดั กเิ ลส ไมม ีการสอนเร่ืองกําจดั กิเลส. สวนบคุ คลใดสมบรู ณด วยการกําจัดกเิ ลสและมกี ารสอนเร่อื งกาํ จัดกเิ ลส เหมอื นพระมหากัสสปเถระ บคุ คลนี้ช่อื วาเปนผกู าํ จัดกเิ ลสและมีการสอนเร่ืองกาํ จดั กิเลสเหมอื นดัง
พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 277ทานกลาววา คอื ทานพระมหากสั สปะเปน ผูกาํ จดั กเิ ลพและมกี ารสอนเรอ่ื งกําจัดกิเลส ดังน.ี้ บทวา ธุตธมมฺ า เวทิตพพฺ า ความวา ธรรม ๕ ประการอันเปนบรวิ ารของธุดงคเจตนาเหลาน้ี คอื ความเปนผูมักนอย ๑ความเปนผสู ันโดษ ๑ ความเปนผูข ัดเกลา ๑ ความเปนผสู งดั ๑ความเปน ผมู ีสง่ิ นี้ ๑ ชอื่ วาธรรมเคร่ืองกําจดั กิเลส เพราะพระบาลีวา อปฺปจ ฉฺ เยว นสิ สฺ าย (อาศยั ความมักนอยเทานน้ั ) ดังน้ีเปนตน. ในธรรม ๕ ประการนั้น ความมกั นอยและความสันโดษเปน อโลภะ. ความขัดเกลาและความวเิ วกจัดเขา ในธรรม ๒ ประการคือ อโลภะและอโมหะ. ความเปนผมู สี ่ิงนี้คอื ญาณนน่ั เอง. บรรดาอโลภะและอโมหะเหลา นัน้ กําจัดความโลภในวัตถุทตี่ องหา มดวยอโลภะ กําจดั โมหะอันปกปด โทษในวตั ถทุ ี่ตองหามเหลา นั้นแหละดว ยอโมหะ อน่ึงกําจดั กามสขุ ลั ลกิ านโุ ยคอันเปน ไปโดยมุข คือการสอ งเสพสิ่งที่ทรงอนุญาต ดวยอโลภะ กาํ จดั อตั ตกลิ มถานโุ ยคอนั เปนไปโดยมขุ คอื การขัดเกลายิ่งในธดุ งคท ั้งหลาย ดว ยอโมหะเพราะฉะน้ันธรรมเหลานี้ พึงทราบวา ธรรมเครื่องกาํ จดั กิเลส. บทวา ธตุ งคฺ านิ เวทติ พฺพานิ ความวา พงึ ทราบธดุ งค ๑๓คอื ปง สกุ ลู ิกงั คะ (องคของภกิ ษุผูถือผาบงั สกุ ุลเปน วตั ร) ฯลฯเนสชั ชกิ งั คะ (องคของภกิ ษผุ ูถือการนัง่ เปนวัตร). บทวา ธุตวาทาน ยทิท มหากสสฺ โป ความวา ทรงสถาปนาไวในตาํ แหนงเอตทัคคะในระหวา งภิกษผุ ูส อนธุดงควา มหากัสสป-เถระน้เี ปนยอด. บทวา มหากสสฺ โป ความวา ทา นกลาววา ทาน
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 278พระมหากัสสปะองคน้ี เพราะเทียบกับพระเถระเลก็ นอ ยเหลาน้ีคอื พระอุรุเวลกสั สปะ พระนทกี สั สปะ พระคยากัสสปะ พระกุมาร-กัสสปะ. ในปญหากรรม แมข องพระมหากสั สปะนีม้ ีเรื่องท่กี ลาวตามลาํ ดบั ดงั ตอไป ไดย ินวา ในอดีตกาล ปลายแสนกปั พระศาสนาพระนามวาปทมุ ตุ ตระ อุบัติข้ึนในโลก เมือ่ พระองคเสดจ็ เขาไปอาศัยกรุงหงสวดีประทับอยูใ นเขมมฤคทายวัน กฎุ มพีนามวา เวเทหะ มีทรัพยส มบัติ๘๐ โกฎิ บริโภคอาหารดแี ตเชา ตรู อธิษฐานองคอ ุโบสถ ถอื ของหอมและดอกไมเ ปนตนไปพระวิหารบูชาพระศาสดา ไหวแ ลวน่ัง ณ ที่ควรสวนขางหน่ึง. ขณะนัน้ พระศาสดาทรงสถาปนาสาวกองคท ี่ ๓นามวา มหานสิ ภเถระไวในตาํ แหนงเอตทคั คะวา ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลายนิสภะเปนยอดของภกิ ษสุ าวกของเราผสู อนธุดงค. อุบาสกฟงพระดํารัสนั้นแลว เลอ่ื มใสเวลาจบธรรมกถา มหาชนลกุ ไปแลวจงึ ถวายบงั คมพระศาสดากราบทูลวา ขา แตพระองคผ เู จริญ ขอพระองคท รงรับภกิ ษาของขาพระองคในวันพรุงน.ี้ พระศาสดาตรัสวา อุบาสก ภิกษสุ งฆม ากนะ อบุ าสกทลู ถามวา ขา แตพ ระผูมีพระภาคเจา ภกิ ษสุ งฆมปี ระมาณเทาไร ? พระศาสดาตรัสวามปี ระมาณหกลา นแปดแสนองค อุบาสกกราบทลู วา ขา แตพ ระองคผเู จริญ ขอพระองคจงรับภิกษา แมแ ตสามเณรรปู เดียวก็อยา เหลือไวในวหิ าร. พระศาสดาทรงรบั นมิ นตด วยดษุ ณีภาพ. อบุ าสกรวู าพระศาสดาทรงรบั นิมนตแ ลว จึงไปเรือนตระเตรยี มมหาทานในวนั รุงขึน้ สง ใหค นไปกราบทูลเวลา (ภตั ตาหาร) สพู ระศาสดา.
พระสุตตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 279พระศาสดาทรงถอื บาตรและจวี ร มภี กิ ษุสงฆหอ มลอมไปยงั เรือนของอุบาสก ประทับนั่งบนอาสนะที่เขาแตง ไวถ วาย. เวลาเสร็จหล่งั นาํ้ ทักษโิ ณทก ทรงรบั ขา วตมเปน ตน ไดท รงสละขาวสวย.แมอ บุ าสกก็น่ังอยทู ี่ใกลพระศาสดา. ระหวา งน้ัน พระมหานสิ ภเถระกําลังเที่ยวบณิ ฑบาต เดินไปยงั ถนนนน้ั นน่ั แหละ อุบาสกเหน็ จึงลกุ ขนึ้ ไปไหวพ ระเถระแลวกลา ววา ทา นผูเ จริญ ขอทานจงใหบาตร พระเถระไดใหบาตร.อบุ าสกกลา ววา ทานผูเจรญิ ขอนิมนตเ ขาไปในเรือนน้แี หละ แมพระศาสดาก็ประทับนง่ั อยูในเรือน. พระเถระกลา ววา ไมควรนะอบุ าสก. อุบาสกรับบาตรของพระเถระใสบ ณิ ฑบาตเตม็ แลว ไดนําออกไปถวาย. จากนนั้ ไดเ ดนิ สง พระเถระไปแลว กลับมานั่งในท่ใี กลพระศาสดา กราบทูลอยางน้วี า ขาแตพ ระองคผ เู จรญิ พระมหานสิ ภเถระแมขา พระองคก ลา ววา พระศาสดาประทับอยใู นเรือนก็ไมปรารถนาจะเขามา พระมหานิสภเถระนั่น มีคุณยิง่ กวา พระองคหรือหนอ อันธรรมดาพระพุทธเจา ท้ังหลาย. ยอ มไมม วี รรณมัจ-ฉริยะ. (ตระหนค่ี ณุ ความดีของคนอน่ื ). ลาํ ดบั นนั้ พระศาสดาตรสัอยางนวี้ า ดกู อ นอุบาสก เราน่ังคอยภกิ ษาอยูในเรือน แตภ ิกษุนน้ัไมน ง่ั คอยภิกษาในเรือนอยา งน้ี เราอยูในเสนาสนะชายบาน ภิกษุนัน้ อยใู นปาเทานนั้ เราอยใู นท่ีมงุ บงั ภิกษนุ ้ันอยกู ลางแจงเทานนั้ดงั นั้น ภิกษนุ ัน้ มคี ณุ นี้ ๆ ตรสั ประหนง่ึ ทาํ มหาสมุทรใหเ ต็มฉะน้นั .อบุ าสกแมตามปกตเิ ปนผเู ลื่อมใสดีย่งิ อยูแ ลว จึงเปน ประหนึ่งประทีปท่ลี กุ โพรงอยู (ซํ้า) ถกู ราดดวยน้ํามนั ฉะนน้ั คดิ วา ตอ งการอะไรดวย
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 280สมบตั ิอน่ื สําหรบั เรา เราจกั การทาํ ความปรารถนา เพอ่ื ตองการความเปน ยอด ของภิกษทุ ้ังหลายเปน ธุตวาทะในสาํ นกั ของพระพุทธเจาพระองคหน่ึงในอนาคต. อบุ าสกแมน้นั จึงนมิ นตพระศาสดาอกี ถวายมหาทานทํานองนัน้ น่ันแหละถึง ๗ วัน วนั ที่ ๗ ถวายไตรจีวรแกภ กิ ษสุ งฆมีพระ-พุทธเจาเปนประมขุ . แลว หมอบกราบพระบาทของพระศาสดา กราบทูลอยา งนว้ี า ขา แตพ ระองคผ ูเจริญ ดว ยเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม ของขา พระองคผ ถู วายมหาทาน ๗ วันขา พระองคจ ะปรารถนาสมบัตขิ องเทวดา หรอื สมบัติของทา วสกุ กะมาร และพรหม สกั อยา งหนง่ึ ก็หาไม กก็ รรมของขาพระองคน ี้จงเปน ปจ จยั แกความเปน ยอดของภกิ ษผุ ทู รงธุดงค ๓ เพอ่ื ตองการถงึ ตําแหนงท่ีพระมหานสิ ภเถระถงึ แลว ในสํานักของพระพทุ ธเจาพระองคห นึ่ง ในอนาคต. พระศาสดาทรงตรวจวา ทีอ่ ุบาสกน้ีปรารถนาตําแหนง ใหญ จกั สาํ เร็จหรอื ไมหนอ ทรงเหน็ วาสําเร็จจึงตรสั วา ทา นปรารถนาอัครฐานอันใหญโ ต พระพุทธเจา พระนามวา โคดม จักอบุ ัติขนึ้ ในท่สี ดุ แสนกปั ในอนาคต ทานจักเปนพระสาวกที่ ๓ ของพระโคดมพทุ ธเจา นั้น ชือ่ วา มหากสั สปเถระ. อุบาสกไดฟง พทุ ธพยากรณน ั้นแลว คิดวา ธรรมดาวาพระพุทธเจาทัง้ หลายยอมไมตรัสเปนคํา ๒ จึงไดสาํ คัญสมบตั ิน้ันเหมือนดังจะไดในวันพรงุ น.ี้ อุบาสกนนั้ ดํารงอยูช่ัวอายุ ถวายทานมีประการตาง ๆรักษาศลี กระทํากุศลกรรมนานปั ประการ ตายไปในอตั ภาพน้นัแลวบงั เกิดในสวรรค.
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 281 จําเดิมแตน้นั เขาเสวยสมบตั ิทั้งในเทวดาและมนุษย ในกปัท่ี ๙๑ แตภ ัตรกัปนี้ เม่อื พระวงิ สสีสมั มาสัมพทุ ธเจา ทรงอาศัยกรุงพนั ธมุ ดี ประทับอยใู นมฤคทายวันอนั เกษม ก็จิตจุ ากเทวโลกไปเกดิในตระกลู พราหมณเกา แกต ระกลู หนึง่ . กใ็ นคร้ังน้ัน พระผมู พี ระภาคเจาพระนามวิปสสี ตรัสพระ-ธรรมเทศนาทุก ๆ ปท ่ี ๗ ไดมคี วานโกลาหลใหญหลวง. เทวดาทงั้ หลายทว่ั ชมพทู วีป ไดบอกพราหมณนั้นวา พระศาสดาจักทรงแสดงธรรม. พราหมณไ ดสดับขา วน้นั . พราหมณน นั้ มีผานงุอยูผืนเดียว นางพราหมณกี ็เหมอื นกนั แตท งั้ สองคนมีผาหมอยูผนื เดียวเทา นนั้ จงึ ปรากฏไปท่ัวพระนครวา เอกสาฎกพราหมณ.เม่อื พวกพราหมณประชุมกนั ดว ยกิจบางอยาง ตอ งใหนางพราหมณีอยูบาน ตนเองไป เม่ือ(ถงึ คราว ) พวกพราหมณปี ระชุมกัน ตนเองตองอยบู า น นางพราหมณีหมผาน้ันไป (ประชุม) ก็ในวนั นั้นพราหมณพดู กะพราหมณวี า แมม หาจาํ เริญ เธอจักฟง ธรรมกลางคนื หรือกลางวนั . พราหมณพี ดู วา พวกฉนั ชอื่ วาเปนหญงิ แมบาน ไมอ าจฟงกลางคนื ไดขอฟง กลางวันเถดิ แลวใหพ ราหมณอ ยเู ฝาบาน(ตนเอง) หมผา นัน้ ไปตอนกลางวนั พรอ มกับพวกอุบาสกิ า ถวายบังคมพระศาสดาแลว น่ัง ณ ท่คี วรสวนขา งหนึ่ง ฟง ธรรมแลว กลับมาพรอ มกบั พวกอุบาสกิ า ทนี ั้นพราหมณ ไดใหพ ราหมณอี ยูบา น(ตนเอง) หม ผาน้นั ไปวิหาร. สมยั นัน้ พระบรมศาสดาประทบั นง่ับนธรรมาสนทีเ่ ขาตกแตงไวท ามกลางบรษิ ทั ทรงจบั พดั อันวิจติ รตรสั ธรรมกถาประหนงึ่ ทาํ สตั วใหข า มอากาศคงคา และประหน่ึง
พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 282ทรงกระทาํ เขาสิเนรุใหเปนโมก วนสาคร ฉะนน้ั . เม่อื พราหมณน่งั ฟง ธรรมอยทู า ยบริษทั ปต ิ ๕ ประการเกิดขนึ้ เต็มทัว่ สรรี ะในปฐมยามนนั่ เอง พราหมณน น้ั ดงึ ผา ท่ีตนหม ออกมาคิดวา จกั ถวายพระทศพล. ครงั้ น้นั ความตระหน่ชี โ้ี ทษถึงพนั ประการเกิดข้นึแกพราหมณน ั้นวา พราหมณีกบั เรามีผาหมผืนเดยี วเทาน้นั ผาหมผืนอ่ืนไร ๆ ไมม ี ก็ธรรมดาวาไมหม ผา กอ็ อกไปขางนอกไมไ ดจงึ ตกลงใจไมต องการถวายโดยประการท้ังปวง ครนั้ เม่ือปฐมยามลว งไป ปตเิ หมอื นอยางน้ันนนั่ แหละเกิดขนึ้ แกพ ราหมณนน้ั แมในมชั ฌมิ ยาม พราหมณคดิ เหมอื นอยา งนนั้ แลวไมไ ดถวายเหมือนเชน นนั้ . คร้นั เมือ่ มชั ฌิมยามลวงไป ปตเิ หมอื นอยางนน้ั น่นั แหละเกิดขน้ึ แกพ ราหมณน้ันแมในปจ ฉิมยาม. พราหมณนน้ั คิดวา เปน ไรเปน กัน คอ ยรูกันทหี ลัง ดังน้ีแลวดึงผา มาวางแทบพระบาทพระ-บรมศาสดา. ตอ แตน นั้ ก็งอมือซา ยเอามือขวาตบลง ๓ ครง้ั แลวบันลือข้นึ ๓ วาระวา ชติ เม ชติ เม ชิต เม ( เราชนะแลว ๆ). สมยั น้นั พระเจาพนั ธุมราชประทบั นั่งสดับธรรมอยภู ายในมา นหลังธรรมาสน อันธรรมดาพระราชาไมทรงโปรดเสียงวาชติ เม ชติ เม จึงสง ราชบุรุษไปดวย พระดํารัสวา เธอจงไปถามพราหมณน ัน้ วา เขาพูดทําไม. พราหมณน้นั ถูกราชบรุ ษุ ไปถามจงึ กลา ววา คนอืน่ นอกจากขาพเจา ขน้ึ ยานคอื ชางเปนตน ถอื ดาบและโลห นงั เปนตน จึงไดช ัยชนะกองทพั ขา ศกึ ชัยชนะนั้นไมน าอัศจรรย สว นเราไดยา่ํ ยจี ิตตระหนแี่ ลว ถวายผา ท่ีหมอยูแดพ ระทศพล เหมือนคนเอาฆอ นทุบตัวโคโกงท่ีตามมาขางหลงัทาํ ใหม นั หนไี ป ชยั ชนะของเราน้ันจึงนาอัศจรรย. ราชบรุ ุษจงึ ไป
พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 283กราบทลู เรอื่ งราวนั้นแดพระราชา. พระราชารบั ส่งั วา พนาย พวกเราไมร ูส่งิ ที่สมควรแกพระทศพล พราหมณรู จึงใหสงผาคหู น่ึง (ผานงุกับผาหม ) ไปพระราชทาน พราหมณเห็นผาคูน ั้นแลว คดิ วา พระ-ราชาน้ีไมพระราชทานอะไรเปนครงั้ แรกแกเราผนู ่งั นงิ่ ๆ เม่ือเรากลา วคณุ ทั้งหลายของพระบรมศาสดาจงึ ไดพระราชทาน จะมีประโยชนอะไรแกเ รากับผาคทู อ่ี าศัยพระคณุ ของพระบรมศาสดาเกิดขน้ึ จึงไดถ วายผาคูแมคูน ั้นแดพระทศพลเสยี เลย. พระราชาตรัสถามวา พราหมณท ําอยางไร ทรงสดับวา พราหมณถ วายผาคูแมน้ีแดพระตถาคตเทา นน้ั จึงรบั สงั่ ใหส ง ผา คู ๒ ชุดแมอ่นื ไปพระราชทาน. พราหมณน ัน้ ไดถ วายผา คู ๒ ชดุ แมน้ัน. พระราชาทรงสงผาคู ๔ ชุดแมอ ืน่ ไปพระราชทาน ทรงสงไปพระราชทานถงึ ๓๒ คู ดวยประการอยา งนี้. ลาํ ดบั นัน้ พราหมณคิดวา การทาํดงั นี้ เปน เหมอื นใหเ พิ่มขึ้นแลวจงึ จะรบั เอา จงึ ถือเอาผา ๒ คู คอืเพอ่ื ประโยชนแกต นคู ๑ เพอื่ นางพราหมณคี ู ๑ แลว ถวายเฉพาะพระทศพล ๓๐ คู. จําเดิมแตน้นั พราหมณก็ไดเปน ผสู นทิ สนมกบัพระบรมศาสดา. คร้ันวันหนงึ่ พระราชาทรงสดบั ธรรมในสาํ นักของพระบรมศาสดาในฤดูหนาว ไดพ ระราชทานผา กมั พลแดงสําหรบั หมสว นพระองคม ีมลู คา พนั หนง่ึ กะพราหมณ แลว รับสงั่ วา จําเดมิแตน ี้ไป ทานจงหมผากัมพลแดงผนื นฟ้ี งธรรม พราหมณนั้นคิดวาเราจะประโยชนอ ะไรกบั ผากัมพลแดงน้ี ทจ่ี ะนอ มนําเขาไปในกายอนั เปอ ยเนา นี้ จงึ ไดทําเปน เพดานเหนือเตยี งของพระตถาคตในภายในพระคันธกุฏแี ลว ก็ไป. อยูมาวนั หนึ่ง พระราชาเสด็จไปพระวิหารแตเ ชา ตรู ประทับน่งั ในทใี่ กลพ ระบรมศาสดาในพระคนั ธกฏุ ี
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 284ก็ในขณะนั้น พระพุทธรศั มีมพี รรณ ๖ ประการ กระทบที่ผากมั พลผากัมพลก็บรรเจิดจา ขนึ้ พระราชาทอดพระเนตรเหน็ กจ็ ําไดจ ึงกราบทูลวา ขา แตพ ระองคผเู จริญ ผากัมพลผืนนขี้ องขา พระองค ๆใหเอกสาฎกพราหมณ. มหาบพติ ร พระองคบูชาพราหมณ พราหมณบูชาอาตมภาพ. พระราชาทรงเล่ือมใสวา พราหมณร สู ง่ิ ทีเ่ หมาะทคี่ วรเราไมร ู จงึ พระราชทานส่ิงท่ีเปน ของเกอื้ กูลแกมนุษยท กุ อยาง ๆละ ๘ ชนิด ๘ คร้งั ใหเปนของประทานช่อื วา สัพพัฏฐกทานแลวทรงต้งั ใหเ ปนปโุ รหิต. พราหมณนั้นคดิ วา ชื่อวาของ ๘ ชนดิ ๘ ครง้ัก็เปน ๖๔ ชนิด จึงสลากภัต ๖๔ ท่ี ใหท านรกั ษาศลี ตลอดชีวิตจตุ ิจากชาตนิ ้ันไปเกดิ ในสวรรค จุตจิ ากสวรรคก ลบั มาเกดิ ในเรือนของกุฏมพี ในกรุงพาราณสี ในระหวางกาลของพระพุทธเจา ๒พระองค คอื พระผูมพี ระภาคเจา โกนาคมน และพระกสั สปทศพลในกปั น.้ี เขาเจรญิ วัยก็แตง งานมเี หยา เรอื น วนั หน่ึง เดินเท่ียวพักผอนไปในปา . กส็ มยั นั้น พระปจเจกพทุ ธเจากระทาํ จีวรกรรม (คอื การเยบ็ จวี ร) อยทู ร่ี มิ แมนํา้ ผาอหวาต (ผาแผน บาง ๆ ทที่ าบไปตามชายสบงจวี รและสงั ฆาฏิ) ไมพอจึงเริม่ จะพับเก็บ เขาเหน็เขาจงึ กลา วถามวา เพราะอะไรจึงจะพบั เก็บเสยี เลา เจา ขา . พระปจเจกพทุ ธเจากลา ววา ผา อนุวาตไมพ อ. กฏุ ม พีกลา ววา โปรดเอาผาสาฎกนี้ทาํ เถดิ เจาขา . เขาถวายผาวาฎกแลว ตัง้ ความปรารถนาวา ในทที่ ่ขี า พเจาเกดิ แลว ๆ ความเลื่อมไส ๆ ขอจงอยา ไดม ี.ครัง้ น้ัน พระปจเจกพทุ ธเจา เขา ไปบณิ ฑบาตแมใ นเรือนของเขาในเมอ่ื ภรรยากบั นอ งสาวกําลงั ทะเลาะกนั . ทนี ั้น นอ งสาวของเขา
พระสตุ ตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 285ถวายบิณฑบาตแกพระปจ เจกพทุ ธเจา แลว กลา วอยา งนมี้ งุ ถงึ ภรรยาของเขา ตั้งความปรารถนาวา ขอใหเราหา งไกลหญิงพาลเห็นปานน้ีรอ ยโยชน. ภรรยาของเขายนื อยูท่ีลานบานไดย ินจงึ คดิ วา พระรูปน้จี งอยาไดฉ ันอาหารทนี่ างคนน้ถี วาย จึงจับบาตรมาเทบิณฑบาตทิ้งแลวเอาเปอ กตมมาใสจ นเต็ม. นางเหน็ จึงกลา ววา หญิงพาลเจา จงดา จงบริภาษเรากอ นเถดิ การเทภัตตาหารจากบาตรขอ งทา นผไู ดบําเพ็ญบารมีมา ๒ อสงไขยเห็นปานนแี้ ลว ใสเ ปอ กตมใหไ มสมควรเลย. คร้งั น้ัน ภรรยาของเขาเกิดความสํานกึ ขึ้นไดจ งึ กลา ววา โปรดหยดุ กอ นเจา ขา แลว เทเปอ กตมออกลา งบาตรชะโลมดวยผงเครอ่ื งหอมแลว ไดใ สข องมรี สอรอย ๔ อยา งเตม็ บาตรแลววางถวายบาตรอันผุดผอ งดวยเนยใส มสี เี หมอื นกลบี ปทุมอนั ลาดรดลงขางบนในมือของพระปจเจกพุทธเจา ตง้ั ความปรารถนาวา สรีระของเราจงผุดผองเหมอื นบิณฑบาตอนั ผดุ ผองนเี้ ถิด. พระปจ เจกพุทธเจาอนโุ มทนาแลว เหาะขึน้ สูอากาศ. ผัวเมียแมท งั้ สองนั้นดาํ รงอยูช ว่ั อายุแลว ไปเกิดบนสวรรคจตุ จิ ากสวรรคน น้ั อีกครั้ง อบุ าสกเกดิ เปนบุตรเศรษฐีมีสมบัติ๘๐ โกฏใิ นกรงุ พาราณสี ในคร้งั พระกสั สปทศพลสัมมาสมั พทุ ธเจาฝา ยภรรยาเกดิ เปน ธิดาของเศรษฐีเหมอื นกัน เมอ่ื เขาเจรญิ วยัพวกญาตกิ ็นาํ ธิดาของเศรษฐีคนน้นั แหละมา. ดวยอานุภาพของกรรมซึง่ มวี ิบากอันไมน า ปรารถนาในชาตกิ อน พอนาง (ถูกสงตวั )เขา ไปยงั ตระกูลของสามี ท่วั ทั้งสรีระเกดิ กลน่ิ เหม็นเหมอื นสว มที่เขาเปดไว (ต้ังแตยา งเขา ไป) ภายในธรณปี ระต.ู เศรษฐีกุมาร
พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 286ถามวา นก้ี ลน่ิ ของใคร ไดฟง วา ของลูกสาวเศรษฐี จงึ กลา ววานาํ ออกไป ๆ แลวสงกลบั ไปเรอื นตระกลู โดยทํานองทมี่ า นางถกูสงกลับมาถึง ๗ แหง โดยทาํ นองนีน้ น่ั แล. ก็สมัยนนั้ พระกัสสปทศพลเสดจ็ ปรนิ พิ พานแลว พุทธศาสนิก-ชนเร่มิ กอพระเจดียส งู โยชนห นึ่งดว ยอฐิ ทองสีแดง ทง้ั หนาทัง้ แนนมีราคากอ นละหนึ่งแสน. เมอ่ื เขากําลังสรางพระเจดียก ันอยู เศรษฐีธดิ าคนนั้นคดิ วา เราตองถกู สงกลบั ถงึ ๗ แหง แลว จะประโยชนอะไรกับชวี ติ ของเรา จงึ ใหย ุบสงิ่ ของเครือ่ งประดับตัว ทําอิฐทองยาวดอก กวางคบื สงู ๔ นว้ิ ตอแตน ัน้ ถือกอ นหรดาลและมโนสิลาเกบ็ เอาดอกบัว ๘ กํา ไปยังสถานทท่ี ่ีสรางพระเจดีย. ขณะนน้ั ๑เเถวกอนอิฐแถวหนึ่งกอ มาตอ กนั ขาดอฐิ แผนตอเชือ่ ม นางจึงพดู กบั ชา งวาทานจงวางอฐิ กอ นนีต้ รงน.้ี นายชา งกลาววา นางผเู จริญ ทา นมาไดเวลา จงวางเองเถิด. นางจึงข้นึ ไปเอานํ้ามันผสมกบั หรดาลและมโนสลิ าวางอิฐติดอยไู ดดวยเครือ่ งยึดน้นั แลว บชู าดวยดอกอบุ ล๘ กาํ มอื ขางบน (อิฐ) ไหวแ ลว ต้ังความปรารถนาวา ในทท่ี เ่ี ราเกดิกล่นิ จนั ทนจ งฟงุ ออกจากตัว กล่ินอบุ ลจงฟงุ ออกจากปาก แลวไหวพระเจดีย ทาํ ประทกั ษณิ แลวกลบั ไป. ครั้นแลวในขณะน้นั เองเศรษฐบี ุตรกเ็ กิดสตปิ รารภถงึ เศรษฐธี ิดาท่เี ขานํามาเรอื นคร้งั แรก.แมในพระนครก็มีนักขัตฤกษเสยี งกึกกอ ง เขาจงึ พดู กับคนรบั ใชวาคราวน้นั เขานําเศรษฐีธดิ ามาในที่น้ี นางอยูท ี่ไหน. คนรบั ใชก ลา ววาอยทู ่ีเรอื นตระกูลขอรบั นายทา นเศรษฐีบตุ รกลาววา พวกทา นจง๑. ปาฐะวา อฏิ กา สนฺธึ ปรกิ ฺขปิ ตวฺ า พมาเปน อฏิ กาปนตฺ ิ ปริกขฺ ปิ ตฺวา แปลตามพมา
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 287พามา เราจักเลนนกั ขัตฤกษก ับนาง. พวกคนรบั ใชไปไหวนางแลวยืนอยถู ูกนางถามวา พอทงั้ หลายมาทาํ ไมกนั จึงบอกเรื่องราวทม่ี านน้ั นางกลา ววา พอ ทงั้ หลาย เราเอาเครอ่ื งอาภรณบชู าพระเจดียเสยี แลว เราไมมเี ครอื่ งอาภรณ คนรับใชเหลา นัน้ จงึ ไปบอกแกบตุ รเศรษฐี ๆ กลาววา จงนาํ มาเถอะ นางจกั ไดเ ครอ่ื งประดบั นนั้ พวกเขาจึงไปนํานางมา กล่ินจนั ทนแ ละกลนิ่ อบุ ลขาบฟงุ ไปทวั่ เรอื น พรอ มกบั ทนี่ างเขาไปในเรือน. บตุ รเศรษฐีจงึ ถามนางวา คร้ังแรก กลนิ่เหม็นฟงุ ออกจากตวั กอน แตบ ดั นี้ กลิ่นจันทนฟ ุงออกจากตัว กลน่ิอบุ ลฟุงออกจากปากของเธอ น่อี ะไรกนั . ธดิ าเศรษฐจี ึงบอกกรรมที่ตนกระทําต้ังแตตน. บตุ รเศรษฐเี ล่อื มใสวา คาํ สอนของพระพุทธเจาทัง้ หลายเปน นยิ ยานกิ ธรรมหนอ จงึ เอาเครือ่ งปกคลมุ ทีท่ ําดวยผากัมพลหมุ พระเจดยี ท องมปี ระมาณโยชนหนงึ่ แลว เอาดอกประทมุ ทองขนาดเทาลอรถประดบั ทพ่ี ระเจดยี ทองนน้ั . ดอกประทุมทองท่แี ขวนหอยไวมีขนาด ๑๒ ศอก. บตุ รเศรษฐนี ้นั ดํารงอยูช วั่ อายุในมนษุ ยโลกนนั้ แลวเกิดในสวรรค จตุ จิ ากสวรรคนั้น บงั เกิดในตระกลู อาํ มาตยตระกลู หนึง่ (ซ่ึงพํานักอย)ู ในท่ีประมาณโยชนห น่งึ จากกรุงพราณสีฝา ยลกู สาวเศรษฐีจุตจิ ากเทวโลกเกดิ เปนพระราชธดิ าองคใ หญในราชตระกลู . เมอื่ คนท้งั สองน้นั เจรญิ วยั เขาปาวรอ งงานนกั ขัตฤกษใ นหมูบ านทกี่ ุมารอย.ู กุมารนัน้ กลาวกะมารดาวา แมจ า แมจ งใหผาสาฎกฉนั ฉนั จะเลนนักขัตฤกษ มารดาไดน าํ ผาทใ่ี ชแ ลว มาให.เขาปฏิเสธวา ผา น้หี ยาบจะแม. นางกน็ ําผนื อื่นมาให แมผ าผนื นัน้เขากป็ ฏิเสธ. ทนี ั้น มารดาจึงกลาวกะเขาวา พอ เราเกิดในเรอื น
พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 288เชน น้ี พวกเราไมม ีบญุ ท่จี ะไดผา เน้ือละเอยี ดกวา น.ี้ เขากลาววาแมจ า ถาอยางนนั้ ฉันจะไปยงั ทที่ ี่จะได. มารดากลา ววา ลูกเอยแมปรารถนาใหเ จา ไดร าชสมบตั ิในกรุงพาราณสีวันนีท้ เี ดยี วนะ.เขาไหวมารดาแลว กลาววา ฉนั ไปละแม. มารดาวา ไปเถอะพอนัยวา มารดาของเขามคี วามคิดอยางนว้ี า มันจะไปไหน คงจักน่ังทน่ี ี่ท่นี นั่ อยใู นเรือนหลงั นแ้ี หละ. กก็ ุมารน้ันออกไปตามกาํ หนดของบุญไปถงึ กรุงพาราณสี นอนคลมุ ศรี ษะอยบู นแผนมงคลสิลาอาสนในพระราชอทุ ยาน. กพ็ ระเจา พาราณสีน้ัน สวรรคตแลวเปน วันท่ี๗. อาํ มาตยทงั้ หลายทําการถวายพระเพลงิ แลวนั่งปรกึ ษาอยูที่พระลานหลวงวา พระราชามีแตพระธิดา ไมมพี ระราชโอรสราชสมบตั ไิ มมีพระราชา ไมส มควร ใครจะเปน พระราชา ตา งพดู กันวา ทา นเปน ทา นเปน . ปุโรหิตกลา ววา ไมค วรเลอื กมากเอาเถอะ พวกเราจกั เชญิ เทวดาแลว เสี่ยงบุษยรถ (รถเสี่ยงปลอ ยไปเพือ่ หาผทู ี่สมควรจะครองราชย เม่อื พระราชาองคกอนสวรรคตแลวไมม ีรัชทายาท) ไป. อํามาตยเ หลา น้นั เทยี มมา สนิ ธพ ๔ ตวั มีสีดังดอกโกมุทแลว ตัง้ เครอ่ื งราชกกุธภัณฑ ๕ อยาง กับเศวตรฉตั รไวบนรถนน่ั แหละปลอยบุษยรถน้นั ไปใหป ระโคมดนตรไี ปขางหลัง. รถออกทางประตูดา นทิศปราจีน บา ยหนาไปทางพระราชอทุ ยาน. อาํ มาตยบ างพวกกลาววารถบา ยหนา ไปทางพระราชอทุ ยาน เพราะความคนุ เคย พวกทานจงใหกลบั มา ปโุ รหิตกลา ววา อยา ใหกลบั . รถทําประทกั ษณิ กุมารแลว ไดหยดุ เตรยี มพรอ มทีจ่ ะใหข้ึน ปุโรหิตเลกิ ชายผา หม ตรวจพ้ืนเทา กลาววา ทวปี นีจ้ งยกไว ผนู ้ีสมควรครองราชยใ นทวีปทงั้ ๔มที วีปสองพันเปน บริวาร แลวสัง่ ใหประโคมดนตรีข้นึ ๓ ครง้ั วา
พระสตุ ตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 289พวกทา นจงประโคมดนตรีข้ึนอีก. ครั้งนั้น กุมารเปดหนามองดูแลวพูดวา พอทัง้ หลาย พวกทานมาดวยกิจกรรมอะไรกัน. พวกอํามาตยท ลู วา ขา แตสมมตเิ ทพราชสมบัตถิ งึ แกพ ระองค. กมุ าร พระราชาไปไหน. อาํ มาตย-ทิวงคตแลว นาย. กมุ าร ลว งไปกวี่ นั แลว . อํามาตย วนั นเ้ี ปนวนั ท่ี ๗.กมุ าร พระราชโอรสหรือพระราชธดิ าไมมหี รอื ? อํามาตย ขา แตสมมติเทพ พระราชธดิ ามี พระราชโอรสไมม.ี กุมาร เราจกัครองราชย. อาํ มาตยเ หลานัน้ สรางมณฑปสําหรับอภเิ ษกในขณะน้ันทันที ประดับพระราชธดิ าดว ยเคร่อื งอลังการทกุ อยา งนาํ มายงัพระราชอุทยานทาํ การอภเิ ษกกับกุมาร. ครงั้ นัน้ เมือ่ พระกมุ ารทําการอภิเษกแลว ประชาชนนาํ ผา มีราคาแสนหนึง่ มาถวาย. พระกมุ ารกลา ววา นอี้ ะไรพอ . พวกอํามาตยทลู วา ขา แตส มมติเทพ ผานงุ พระเจา ขา , พระกมุ าร เนอื้ หยาบมใิ ชหรือ พอ . ผา อ่นื ทเี่ นื้อละเอียดกวานี้ไมมีหรอื ? อาํ มาตย ขาแตสมมติเทพ ในบรรดาผาทีม่ นษุ ยท ้งั หลายใชสอย ผา ทเ่ี นื้อละเอยี ดกวา นไี้ มม ี พระเจา ขา . พระกมุ าร พระราชาของพวกทา นทรงนงุ ผา เหน็ ปานนีห้ รือ ? อํามาตย พระเจาขา ขาแตสมมติเทพ.พระกุมาร พระราชาของพวกทานคงจะไมม ีบุญ พวกทา นจงนําพระเตา ทองมา เราจกั ไดผ า. อํามาตยเ หลา นนั้ นําพระเตา ทองมาถวาย.พระกุมารนัน้ ลกุ ขนึ้ ลา งพระหัตถบว นพระโอฐ. เอาพระหตั ถว กั นําสาดไปทางทิศตะวันออก. ในขณะนัน้ เอง ตนกัลปพฤกษกช็ ําแรกแผนดินทึบผุดขนึ้ มา ๘ ตน ทรงวักน้ําสาดไปอีกทวั่ ทิศ ๓ ทศิ อยางน้ี
พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 290คือ ทิศใต ทิศตะวันตก ทิศเหนือ. ตนกลั ปพฤกษผ ุดขนึ้ ในทศิ ท้งั ๔ทศิ ละ ๘ ตน รวมเปน ๓๒ ตน. พระกมุ ารนน้ั ทรงนุงผาทิพผืนหน่ึงทรงหมผนื หน่งึ แลวรับส่งั วา พวกทา นจงเทยี่ วตกี ลองปา วรอ งอยา งนี้วา ในแวน แควนของพระเจานันทราช พวกสตรีท่ีทําหนา ท่ีกรอดาย อยา กรอดา ย ดังนแ้ี ลวใหย กฉตั รข้นึ ทรงประดับตกแตงพระองค ทรงขึ้นชา งตวั ประเสริฐเสด็จเขาพระนคร ข้ึนสปู ราสาทเสวยมหาสมบัติ. ครัน้ กาลเวลาลว งไปดว ยอาการอยางน้ี วนั หนึ่งพระเทวีเหน็มหาสมบัติของพระราชาแลว ทรงแสดงอาการของความกรุณาวา โอ ทา นผมู ตี ปะ ถูกพระราชาตรัสถามวา น่ีอะไรกนั นะ เทวีจงึ ทูลวา ขาแตส มมติเทพ สมบตั ิของพระองคย ง่ิ ใหญ ในอดตี กาลพระองคไ ดท รงเชอื่ ตอ พระพทุ ธะทง้ั หลายไดท าํ กรรมดีไว เดี๋ยวน้ียังไมท รงกระทํากุศลอนั จะเปน ปจจยั แกอ นาคต พระราชาตรสั วาเราจกั ใหแกใคร ผูมีศลี ไมมี. พระเทวีทลู วา ขา แตสมมตเิ ทพ ชมพู-ทวีปไมว างจากพระอรหนั ตท ั้งหลายดอก พระองคโปรดทรงตระเตรียมทานไวเ ทา นนั้ หมอมฉนั จะขอพระอรหนั ตใ นวันรงุ ขึน้ พระ-ราชารับส่ังใหตระเตรียมทานไวท ป่ี ระตดู า นทศิ ปราจีน. พระเทวีทรงอธิษฐานองคอ ุโบสถแตเ ชา ตรูบายหนาไปทางทศิ ตะวนั ออกหมอบลงบนปราสาทช้นั บนแลว กลา ววา ถาพระอรหันตม ิอยใู นทศิ นี้พรงุ น้ขี อนมิ นตมารับภกิ ษาหารของขา พเจาทัง้ หลายเถิด. ในทิศนัน้ ไมม พี ระอรหันตก็ไดใ หสกั การะทีเ่ ตรยี มไวนน้ั แกค นกําพราและยากาจน ในวันรุงขึน้ ตระเตรียมทานไวทางประตทู ศิ ใตแลวได
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: