Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_32

tripitaka_32

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:35

Description: tripitaka_32

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 201(ยึดมัน่ ในการประกอบกิเลส) ดว ยวิวัฏฏานปุ สสนา ทรงละกเิ ลสอันตงั้ อยูในฐานเดยี วกบั ทฏิ ฐิ ดว ยโสดาปตติมรรค ทรงละกิเลสหยาบดว ยสกทาคามิมรรค ทรงถอนกเิ ลสอยางละเอียดดว ยอนาคามมิ รรคทรงตดั กเิ ลสทงั้ ปวงไดเดด็ ขาดดว ยอรหตั ตมรรค เสดจ็ ไปแลว. พระ-ผูม พี ระภาคเจาทรงพระนามวา ตถาคต เพราะเสด็จไปอยา งน้นั เปนอยา งน้.ี พระผมู พี ระภาคเจา ทรงพระนาม ตถาคต เพราะเสดจ็ มาถงึลักษณะท่แี ทเปน อยางไร ? ปฐวีธาตุมีลกั ษณะแขน แขง็ เปนลักษณะแทไมแ ปรผนั อาโปธาตุ มีลักษณะไหลเอิบอาบ เตโชธาตุ มลี กั ษณะรอ นวาโยธาตมุ ลี กั ษณะเคลื่อนไปมา อากาศธาตมุ ลี ักษณะทส่ี มั ผัสถกู ตองไมได วญิ ญาณธาตุมีลกั ษณะรูแ จง รูปมลี กั ษณะสลาย เวทนามีลักษณะเสวยอารมณ สญั ญามีลกั ษณะจาํ อารมณ สงั ขารมลี ักษณะปรุงแตง อารมณ วญิ ญาณมีลักษณะรูอารมณ วติ กมีลักษณะยกจติขนึ้ สอู ารมณ วจิ ารมลี ักษณะตามเคลาอารมณ ปตมิ ลี ักษณะแผไ ปสขุ มลี กั ษณะสาํ ราญ เอกัคคตาจติ มีลักษณะไมฟงุ ซาน ผสั สะมลี กั ษณะถูกตอ งอารมณ สทั ธนิ ทรยี ม ลี ักษณะนอ มใจเชอ่ื วิริยินทรียมีลกั ษณะประคองไว สตนิ ทรยี มีลักษณะบาํ รงุ สมาธนิ ทรยี มีลักษณะไมฟุงซา นปญ ญินทรยี ม ีลกั ษณะรชู ดั สัทธาพละมีลักษณะไมหวน่ั ไหวในความเช่ือวริ ยิ พละ มีลักษณะไมหวน่ั ไหวในความเกียจคราน สติพละมีลักษณะไมห วน่ั ไหว ในความเปนผูมสี ตหิ ลงลืม สมาธิพละมลี ักษณะไมห วั่นไหวในความฟงุ ซา น ปญญาพละ มีลักษณะไมหว่นั ไหวในอวชิ ชา สต-ิสมั โพชฌงคม ีลักษณะบํารุง ธัมมวจิ ยสมั โพชฌงคม ีลกั ษณะเลอื กเฟนวริ ยิ สมั โพชฌงคมีลกั ษณะประคอง ปตสิ ัมโพชฌงคมีลกั ษณะแผไ ป

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 202ปส สทั ธสิ มั โพชฌงคมีลักษณะเขา ไปสงบ สมาธิสมั โพชฌงคมีลกั ษณะไมฟ ุงซาน อุเบกขาสมั โพชฌงคมีลกั ษณะพิจารณา สมั มาทิฏฐ.ิ มีลกั ษณะเห็น สัมมาสังกัปปะ มลี ักษณะยกจติ ขน้ึ สูอารมณ สัมมาวาจามีลักษณะกําหนดถือเอา สัมมากัมมนั ตะมลี กั ษณะลุกขึน้ พรอม สมั มา-อาชวี ะมีลักษณะผองแผว สมั มาวายามะมลี ักษณะประคอง สัมมาสติมลี ักษณะบาํ รงุ สัมมาสมาธิ มลี กั ษณะไมฟงุ ซาน อวชิ ชามลี ักษณะไมร ู สงั ขารมีลักษณะคดิ นกึ วญิ ญาณมีลกั ษณะรูอารมณ นามมีลักษณะนอมไป รปู มลี กั ษณะสลาย สฬายตนะมีลกั ษณะตอ กนั ผัสสะมีลักษณะถูกตองอารมณ เวทนามีลักษณะเสวยอารมณ ตัณหามีลกั ษณะเปนเหตุ อปุ าทานมลี ักษณะยึดถือ ภพมลี ักษณะประมวลมาชาติมีลักษณะบงั เกิด ชรามีลักษณะทรดุ โทรม มรณะมลี กั ษณะจติ ไปธาตุมลี กั ษณะวาง อายตนะมลี กั ษณะตอกนั สติปฏ ฐาน มลี ักษณะบาํ รงุ สัมมปั ปธาน มลี กั ษณะเริม่ ต้งั อทิ ธบิ าทมลี ักษณะสําเร็จอนิ ทรียม ีลกั ษณะเปน ใหญ พละมลี กั ษณะไมหวน่ั ไหว โพชฌงคมีลักษณะนาํ ออกจากทกุ ข มรรคมลี กั ษณะเปนตัวเหตุ สัจจะมีลักษณะเปน ของแท สมถะมีลกั ษณะไมฟ งุ ซา น วปิ สสนามีลักษณะตามเหน็สมถและวิปสสนามีลกั ษณะแหง กิจอนั เดยี วกนั ธรรมท่ีขนานคูกนัมีลกั ษณะไมก ลบั กลาย สลี วสิ ุทธมิ ีลักษณะสํารวม จติ ตวสิ ทุ ธิมีลกั ษณะไมฟุง ซา น ทิฏฐวิ สิ ุทธิมลี กั ษณะเหน็ ขยญาณ (ความรใู นความสิ้นไป) มีลักษณะตัดขาด อนุปปาทญาณ (ความรูใ นความไมเกิดข้นึ ) มีลกั ษณะระงบั ฉนั ทะมีลกั ษณะเปนมูลเคา มนสกิ ารมีลกั ษณะเปน สมุฏฐานที่เกิดข้นึ ผัสสะมลี กั ษณะเปนท่ีรว มกนั เวทนามลี กั ษณะประชุมลง สมาธมิ ีลักษณะเปน ประมขุ สตมิ ีลักษณะเปนอธิปไตย

พระสุตตันตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 203ปญ ญามีลกั ษณะย่ิงยวดกวา นน้ั วมิ ุตติมีลกั ษณะเปนสาระ นพิ พานที่หย่ังลงสูอมตะ มีลักษณะเปน ทสี่ ดุ สนิ้ เปนของแท ไมแปรผนัช่ือวา ตถาคต เพราะเสด็จมาถงึ ลกั ษณะทแี่ ทดว ยญาณคติ คอื บรรลุไมผ ดิ พลาด ดวยประการอยา งนี้. พระผมู ีพระภาคเจาทรงพระนามวาตถาคต เพราะเสดจ็ มาถึงลกั ษณะทีแ่ ท เปน อยา งนี้. พระผูม ีพระภาคเจาทรงพระนามวา ตถาคต เพราะตรสั รธู รรมท่แี ทจ รงิ ตามความเปนจริงอยางไร ? ชื่อวา ธรรมทีแ่ ทจ ริง ไดแ ก อริยสจั ๔. อยางท่ีตรสั ไววาภกิ ษุท้ังหลาย อริยสจั ๔ เหลาน้ี เปนของแทไ มผดิ ไมก ลายเปนอยา งอื่นอรยิ สัจ ๔ อะไรบาง ? ภิกษทุ ั้งหลาย ขอนี้วา น้ที กุ ข นั่นเปน ของแทนน่ั ไมผ ิด น่ันไมกลายเปนอยางอ่ืน. พึงทราบความพสิ ดารตอ ไป.กพ็ ระผมู ีพระภาคเจา ตรสั รยู ่งิ เอง ซึง่ อริยสจั ๔ เหลา นน้ั เพราะฉะนน้ัจงึ ไดร บั พระนามวา ตถาคต เพราะตรสั รูธรรมทแี่ ท ก็ คต ศพั ทใ นทน่ี ี้มีตรสั รยู ิง่ เองเปนอรรถ. อีกอยา งหนึง่ ภาวะชราสละมรณะอันเกดิ และประชุมขน้ึเพราะชาติเปนปจ จัย เปนความแทไ มแปรฝน ไมเ ปนอยา งอ่ืน ฯลฯสภาวะสงั ขารทัง้ หลายเกดิ และประชมุ ขน้ึ เพราะอวชิ ชาเปนปจ จยัเปน ความแทไมแปรผนั ไมเปนอยางอ่นื . สภาวะอวชิ ชาเปนปจ จัยแกสังขารทัง้ หลายก็เหมอื นกัน สภาวะสงั ขารเปน ปจจัยแกวิญญาณฯลฯ สภาวะชาติเปน ปจจยั แก ชราและมรณะ, เปนความแทน ัน้ ไมแ ปรผนัไมเ ปนอยางอน่ื . พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสรูธรรมทแ่ี ทนั้นทัง้ หมดแมเพราะเหตุนนั้ จึงเรยี กวา ตถาคต เพราะตรสั รยู ่งิ เอง ซึ่งธรรม

พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 204อนั ถอ งแท. พระผูมีพระภาคเจา ทรงพระนามวา ตถาคต เพราะตรสั รูธรรมอันถองแทต ามความเปนจรงิ เปน อยา งน.ี้ ช่ือวา ตถาคต เพราะทรงเหน็ อารมณที่แทจ ริง เปนอยางไร ? พระผูมพี ระภาคเจาทรงรูทรงเห็นรูปารมณ โดยอาการทุกอยา งท่ีมาปรากฏทางจักขทุ วาร ของเหลาสัตวหาประมาณมิได ในโลกธาตุอนั หาประมาณมิได ในโลกพรอ มดวยเทวโลก ในหมสู ตั วพ รอ มดว ยเทวดาและมนุษย. รูปารมณนนั้ พระผูม ีพระภาคเจา ทรงรูเ หน็ อยางนี้ ทรงจําแนกดว ยอาํ นาจอิฏฐารมณแ ละอนิฏฐารมณเปนตน ก็ดี ดว ยอํานาจรอ งรอย,ทไี่ ดในการเหน็ ไดยนิ ทราบ และรแู จงกด็ ี โดยชือ่ มิใชนอ ย โดยวาระ ๑๓ โดยนยั ๕๒ ตามนัยมอี าทวิ า รปู ใด เพราะอาศัยมหาภตู รปู๔ มสี ีและแสง เห็นได กระทบได เปน สีเขยี ว สเี หลอื ง รูปนั้น คอืรูปายตนะ เปนไฉน ดังนี้ เปน ของแทท้ังนน้ั ไมแทไ มม ี. แมใ นสัททารมณเ ปน ตน ที่มาปรากฏ แมในโสตทวารเปน ตนกน็ ัยน.ี้สมจริงดังคํา ที่พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสไววา ภิกษุทั้งหลาย อารมณใด อันชาวโลกพรอมดวยเทวโลก ฯลฯ อนั หมูส ตั ว พรอมดวยเทวดาและมนษุ ย เห็นแลว ไดฟงแลว ทราบแลว รูแจงแลว ถงึ แลวแสวงหาแลว พจิ ารณาแลว ยอมรอู ารมณน ั้น เรารยู ่งิ อารมณน ัน้แลวดวยใจ อารมณนั้น ตถาคตรูแ จง แลว อารมณน ัน้ ปรากฏแกตถาคตแลว . ชื่อวา ตถาคต เพราะทรงเหน็ อารมณที่แทจ ริงดวยประการฉะนี้. พงึ ทราบการเกิดแหงบทวา ตถาคต (ผทู รงเห็นอารมณท แี่ ทจรงิ )

พระสตุ ตนั ตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 205 ชื่อวา ตถาคต เพราะมีพระวาจาท่ีแทจรงิ เปน อยางไร ? ราตรใี ด พระผูมพี ระภาคเจา ประทบั น่งั อปราชติ บลั ลังกณ โพธมิ ณั ฑสถาน ทรงยํ่ายกี ระหมอ มของมารท้งั ๓ ตรสั รูย ง่ิ เองซ่งึ พระอนตุ ตรสัมมาสัมโพธญิ าณ และราตรใี ด เสดจ็ ปรนิ ิพพานดว ยอนุปาทเิ สสนพิ พานธาตุ ระหวางตน สาละท้งั คู ในระหวางราตรนี ั้น ในเวลาทพ่ี ระองคมีพรรษาประมาณ ๔๕ พรรษา พระผูมีพระภาคเจา ตรสั พุทธพจนอนั ใด ในปฐมโพธิกาลบา ง มชั ฌมิโพธกิ าลบาง ปจ ฉิมโพธกิ าลบาง คอื สตุ ตะ เคยยะ ฯลฯ เวทัลละพระพทุ ธพจน ทัง้ หมดน้ัน ใคร ๆ ตาํ หนิไมได ทงั้ โดยอรรถและโดยพยญั ชนะ ไมข าดไมเ กิน บริบูรณดวยอาการทง้ั ปวง เปน เครอ่ื งยํ่ายีราคะ ในพระพุทธพจนน ั้น ไมม คี วามผิดพลาดแมเ พียงปลายขนทรายพระพุทธพจนท ัง้ หมดนั้น เหมือนประทับไวด วยตราอนั เดยี วกนัเหมอื นตวงดวยทะนานเดียวกัน และเหมือนชง่ั ดว ยตาชงั อนั เดียวกนัจึงเปน ของแทแ นนอนทง้ั นน้ั ไมม ีทไี่ มแท.  ดวยเหตนุ ั้น พระองคจงึ ตรสั วาดกู อ นจุนทะ ตถาคตตรสั รยู ่งิ เองซึ่งอนุตตรสมั มาสมั โพธิญาณ ในราตรใี ดและปรนิ ิพพานดว ยอนปุ าทิเสสนพิ พานธาตุ ในราตรใี ด ระหวา งราตรนี ้ัน ไดภ าษติ ไดก ลาว ชีแ้ จง คาํ พดู อนั ใด อนั นน้ั เปนของแทอยา งเดียว ไมก ลายเปน อยางอ่นื เพราะฉะนั้นจึงเรียกวา ตถาคต.จริงอยู คตศพั ท ในบทวา ตถาคโต น้ี มคี ทเปน อรรถ. ช่ือวาตถาคต เพราะมพี ระวาจาทแ่ี ทจ ริง ดวยประการอยางน.้ีอีกอยางหนึง่ การพดู อธบิ ายวา การกลา ว ชอ่ื วา อาคทะ. การตรสัของพระองคเปน จรงิ ไมวิปรติ เพราะเหตุนนั้ จงึ ชอื่ วา ตถาคต

พระสุตตันตปฎก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 206เพราะแปลง ท เปน ต. พึงทราบการเช่อื มบทในอรรถน้ัน ดวยประการฉะนแ้ี ล. ช่ือวา ตถาคต เพราะเปนผูมปี กตกิ ระทาํ อยา งทตี่ รสั น้นัเปน อยา งไร ? เพราะวา พระกายของพระผมู ีพระภาคเจา ยอมอนุโลมแกพระวาจา แมพระวาจาก็อนุโลมแกพ ระกาย เพราะเหตุนน้ัพระองคตรัสอยา งใด ก็ทรงกระทาํ อยางน้ัน และทรงกระทาํ อยางใดกต็ รัสอยางน้นั . กพ็ ระวาจาของพระองคผ เู ปนอยา งน้นั ตรสั อยา งใดแมพ ระกายกไ็ ปอยางนั้น อธบิ ายวา ดําเนนิ ไป อยา งนน้ั . อนง่ึ พระกายทรงกระทาํ อยางใด แมพ ระวาจา ก็ตรัสอยางนัน้ เพราะเหตุนน้ั จึงชอื่ วา ตถาคต. ดวยเหตนุ ัน้ นั่นแล พระผมู ีพระภาคเจาจึงตรัสวาภิกษุท้ังหลาย ตถาคตพดู อยางใด กระทําอยา งนน้ั กระทําอยางใดกพ็ ดู อยา งนัน้ เพราะฉะนัน้ จึงเรียกวา ตถาคต. ชอ่ื วา ตถาคตเพราะเปน ผมู ปี กติกระทําอยา งท่ีตรัสนัน้ ดวยประการฉะนี้. ชอื่ วา ตถาคต เพราะอรรถครอบงําได เปน อยางไร ? เพราะพระองคทรงครอบงาํ สตั วท งั้ ปวงในโลกธาตหุ าประมาณมิได เบอ้ื งบนถงึ ภวคั คพรหม เบ้อื งตาํ่ ถึงอเวจีมหานรกเบอ้ื งขวางกาํ หนดทส่ี ุดรอบ ๆ ดวยศีลบา ง สมาธบิ า ง ปญ ญาบา งวมิ ุตติบา ง พระองคไมม ีการชั่งหรือการนับ พระองคช ่ังไมไ ดนับไมไ ด เปนผูยอดเยยี่ มเปน พระราชาแหงพระราชา เปน เทพแหงเทพ เปน สกั กะยอดแหง เหลาสกั กะ เปนพรหมยอดแหงเหลาพรหม ดว ยเหตุน้ัน พระองคจงตรสั วา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตถาคตเปน ผู

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 207ครอบงํา หมูส ตั วใ นโลก พรอ มดวยเทวโลก ฯลฯ พรอมดวยเทวดาและมนษุ ย อันใคร ๆ ครอบงํามิได เปน ผเู ห็นโดยแท ทําใหผูอื่นอยูในอํานาจ เพราะฉะน้นั จงึ เรยี กวา ตถาคต. พงึ ทราบบทสนธิ ในคําวา ตถาคโต นน้ั อยางน้ี :- การตรสั (พงึ เห็น) เหมอื นยาอันประเสริฐ. กก็ ารตรัสนั้นคอื อะไร ? คอื ความงดงามแหง เทศนา และความพอกพนู ขน้ึ แหงบญุ .เพราะเหตนุ ้ันนั่นแล พระองคจ งึ ทรงครอบงําคนผเู ปนปรปั ปวาททงั้ หมด และสตั วโลกพรอมดวยเทวโลก เหมือนหมอผูม ีอาํ นาจมากครอบงํางทู ง้ั หลายดวยยาทิพย ฉะน้นั . ดังนน้ั พระองคม กี ารตรัสคือความงดงามแหงเทศนา และความพอกพนู ข้นึ แหงบญุ อันเปนจริงไมวปิ ริต เพราะทรงครอบงาํ สตั วโลกได เพราะเหตนุ ้ัน พงึ ทราบวาตถาคต เพราะแปลง ท. อักษร เปน ต. อกั ษร. ช่ือวา ตถาคตเพราะอรรถวา ทรงครอบงําดว ยประการฉะน.ี้ อีกอยางหน่ึง ชอื่ วา ตถาคต เพราะเสด็จไปดว ยความจรงิ .เพราะทรงถึงซงึ่ ความจรงิ ดงั น้ีกม็ .ี อธบิ ายวา ตรัสรู ทรงลวงแลวทรงบรรลุ ทรงดําเนินไป. ในบรรดาคาํ เหลาน้ัน ชื่อวา ตถาคตเพราะเสดจ็ ไป คือ ตรสั รูโลกทงั้ ส้นิ ดว ยความจรงิ คือ ตรี ณปริญญา.ชื่อวา ตถาคต เพราะเสดจ็ ไป คอื ทรงลว งโลกสมทุ ัย ดวยความจริงคอื ปหานปรญิ ญา. ชื่อวา ตถาคต เพราะเสด็จไป คอื บรรลกุ ารดบัสนิทแหง โลก ดว ยความจรงิ คือ สัจฉิกิริยา. ชอ่ื วา ตถาคต เพราะเสดจ็ ไปคอื ดําเนนิ ไปสูความจริง คือ ปฏปิ ทาอันยงั สตั วใ หถึงความดับโลก. ดว ยเหตุน้ัน จึงตรสั วา ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย โลกอนั ตถาคต

พระสุตตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 208ตรัสรูยงิ่ แลว ตถาคตไมป ระกอบแลว ในโลก ดูกอนภิกษทุ ั้งหลายโลกสมทุ ัย ตถาคต ตรัสรูย่ิงแลว โลกสมทุ ยั อนั ตถาคต ละไดแลวดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย โลกนโิ รธ อันตถาคตตรสั รูยิง่ แลว โลกนิโรธอันตถาคตกระทําใหแ จง แลว ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย โลกนิโรธคามิน-ีปฏปิ ทา อันตถาคตตรัสรูย ่งิ แลว เจรญิ แลว ดกู อนภิกษุทง้ั หลายสัจจะใดแหงโลก พรอมทง้ั เทวโลก ฯลฯ สัจจะทง้ั หมด อนั ตถาคตตรสั รยู งิ่ แลว เพราะฉะนั้น จึงเรียกวา ตถาคต. อรรถแหง คําวาตถาคตนั้น บัณฑติ พึงทราบแมด วยประการอยา งน.้ี แมคํานีก้ เ็ ปนเพยี งแนวทางในการแสดงความทีต่ ถาคตเปนตถาคต. พระตถาคตเทา นน้ั จึงจะพรรณนา ความท่ีตถาคตเปน ตถาคตได ครบถวนทุกประการ. กใ็ น ๒ บทวา อรห สมมฺ าสมฺพทุ โธ อันดับแรก พงึ ทราบวาอรห ดว ยเหตเุ หลา นีค้ ือ เพราะเปน ผูไกลขา ศกึ คอื กิเลส เพราะเปน ผูหักกํากงแหง สงั สารจักรเสียได เพราะควรแกส ักการะมีปจ จัยเปนตน และเพราะไมมีความลับในการทาํ ช่ัว. สวนท่ชี ่ือวาสมั มาสัมพุทธะ เพราะตรัสรูธรรมท้งั ปวง โดยชอบและดวยพระองคเอง. ความสังเขปในขอ นมี้ เี ทาน.้ี ทง้ั ๒ บทนี้ กลาวไวโ ดยพสิ ดารในการพรรณนาพุทธานุสสติ ในคมั ภรี ว สิ ุทธิมรรคแล. จบ อรรถกถาสูตรท่ี ๑

พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 209 อรรถกถาสูตรท่ี ๒ ในสูตรท่ี ๒ มีวินจิ ฉัยดังตอไปนี้ :- บทวา ปาตุภาโว ไดแก การเกิดขน้ึ คอื การสําเรจ็ . บทวา ทลุ ลฺ โภโลกสฺมึ ไดแ ก หาไดยาก คือ หาไดโดยยากย่ิง ในสัตวโลกน.ี้ ทีช่ ือ่ วาหาไดยาก เพราะเหตไุ ร ? เพราะพระองคไมอาจบาํ เพ็ญทานบารมีคราวเดียวแลว ไดเ ปนพระพุทธเจา . อนงึ่ พระองคไ มท รงสามารถบําเพ็ญทานบารมี ๒ ครง้ั ๑๐ คร้งั ๒๐ ครัง้ ๕๐ ครั้ง ๑๐๐ คร้งั๑,๐๐๐ ครง้ั โกฏิครงั้ แสนโกฏิคร้ัง ไมท รงสามารถบําเพ็ญทานบารมไี ด ๑ วัน ๒ วนั ๑๐ วัน ๒๐ วนั ๕๐ วนั ๑๐๐ วนั ๑,๐๐๐ วัน๑๐๐,๐๐๐ วัน แสนโกฏวิ ัน ฯลฯ ๑ เดือน ๑ ป ๒ ป ฯลฯ แสนโกฏิป๑ กปั ๒ กปั ฯลฯ แสนโกฏกิ ปั พระองคไมส ามารถบาํ เพ็ญทานบารมี ๑ อสงไขย ๒ อสงไขย ๓ อสงไขย แหงกัป แลว เปนพระพุทธเจา ได แมในศีลบารมี เนกขมั มบารมี ฯลฯ อเุ บกขาบารมีกน็ ัยนีเ้ หมือนกนั . แตค รงั้ สดุ ทาย พระองคทรงบาํ เพญ็ บารมี ๑๐ สิ้น ๔อสงไขยกาํ ไรแสนกัป แลวจึงสามารถเปนพระพุทธเจาได ดวยเหตุดังกลา วมาน้ี พระองคจงึ ชื่อ วาหาไดย าก. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๒

พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 210 อรรถกถาสตู รที่ ๓ ในสูตรท่ี ๓ มีวินจิ ฉยั ดังตอ ไปน้ี :- บทวา อจฺฉรยิ มนสุ โฺ ส แปลวา มนษุ ยอัศจรรย. บทวา อจฺฉรโิ ย ความวา ไมมเี ปน นิตย เหมือนตาบอดขึ้นภูเขา. นยั แหงศัพทเทาน้ีกอ น แตนัยแหง อรรถกถาดังตอไปน้ี.ชอื่ วา อจั ฉริยะ เพราะควรแกการปรบมอื . อธบิ ายวา ควรปรบมอืแลว มอง. อีกอยา งหนง่ึ ชอ่ื วา มนุษยอ ศั จรรย แมเพราะประกอบดว ยธรรมอันไมเคยมี นาอศั จรรยหลายประการ มอี าทิอยางนี้วาภิกษุท้งั หลาย ธรรมอนั ไมเ คยมนี าอศั จรรย ๔ ประการ ยอมมีปรากฏ เพราะพระตถาคตอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา ปรากฏ. ช่อื วาอัจฉรยิ มนษุ ย เพราะเปน มนุษยท ่เี คยสัง่ สมมากม็ ี. จริงอยู การท่พี ระองคท รงประชมุ ธรรม ๘ ประการ อันจะทําใหอ ภนิ หี ารเพยี บพรอม แลวทรงผูกพระมันสประทับนงั่ ณมหาโพธิมัณฑสถาน ตอ พระพกั ตร ของพระพุทธเจา พระองคหน่ึงใคร ๆ อนื่ มิไดเคยสง่ั สมมาเลย พระสัพพญั โู พธสิ ัตวพ ระองคเดียวเทา นั้นสั่งสมมา. อนึง่ แมก ารที่พระองค ไดรบั พยากรณใ นสาํ นักพระพทุ ธเจาทั้งหลายเปนผไู มห วนกลบั หลัง อธิษฐานความเพยี รแลวบาํ เพญ็ พทุ ธการกธรรม ใคร ๆ อนื่ มไิ ดเ คยสัง่ สมมาเลย พระ-สพั พัญโู พธิสัตวเทานั้น เคยสงั่ สมมา. อนงึ่ พระองคท รงบําเพ็ญ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 211พระบารมีใหแ กก ลา (ยังพระบารมใี หถ อื เอาหอ ง) ดาํ รงอยใู นอตั ภาพเชนเสวยพระชาตเิ ปนพระเวสสันดร บาํ เพ็ญสตั ตสตกมหาทาน (ของ๗ ส่งิ สงิ่ ละ ๗๐๐) มอี าทิอยางนี้ คือ ชาง ๗๐๐ มา ๗๐๐ ประดบั ดวยเคร่ืองอลงั การพรอ มสรรพ มอบพระโอรสเชน พระชาลีกุมาร พระธดิ าเชน กณั หาชินา และพระเทวี เชนพระนางมัทรี ไวใ นมุขแหง ทาน ดํารงอยูตลอดอายุในอตั ภาพที่ ๒ ทรงถอื ปฏสิ นธิในภพช้นั ดสุ ติ ซง่ึ ใคร ๆ อน่ืมไิ ดเ คยส่ังสมมาเลย พระสพั พญั โู พธิสัตวเทานนั้ เคยสงั่ สมนา. แมก ารท่ีพระองคท รงดาํ รงอยใู นภพชนั้ ดุสติ ตลอดอายุ ทรงรบั การเชิญของเทวดาท้ังหลาย ทรงตรวจดูมหาวโิ ลกติ ะ ๕ อยาง ทรงมีพระสติและสมั ปชัญญะ จตุ จิ ากดุสิต ถือปฏสิ นธิในตระกูลทีม่ ีโภคะมากซ่งึ ใคร ๆ อ่ืนมิไดเคยส่ังสมมาเลย พระสัพพัญูโพธสิ ัตวเทา น้นั เคยสั่งสมมา อนง่ึ หมื่นโลกธาตไุ หวในวันถือปฏสิ นธกิ ็ดี การทพี่ ระองคท รงมีพระสตสิ มั ปชญั ญะอยูใ นพระครรภข องพระมารดาก็ดี การท่ีหม่ืนโลกธาตไุ หว แมใ นวนั ที่พระองคทรงมีพระสติสัมปชัญญะเสดจ็ ออกจากพระครรภข องพระมารดากด็ ี การท่พี ระองคป ระสตู ิในเดย๋ี วน้ีแลว เสดจ็ ยา งพระบาทได ๗ กา วกด็ ี การกางก้ันเศวตฉัตรอันเปน ทิพยก็ดี การโบกพัดดวยวาลวีชนีอนั เปน ทพิ ยกด็ ี การท่ีพระองคทรงเหลยี วดูอยา งสีหะไปใน ๔ ทศิ ไมท รงเห็นสัตวไร ๆ ท่จี ะเสมอเหมือนพระองคแลว ทรงบนั ลือสหี นาทอยางนีว้ า เราเปนผเู ลศิ ของโลกก็ดี การที่หมื่นโลกธาตุไหว ในขณะท่ีพระองคท รงละราชสมบัติ เมื่อพระญาณแกกลา แลวเสดจ็ ออกมหาภเิ นษกรมณก็ดี การทพ่ี ระองคประทับนงั่ สมาธิ ณ มหาโพธมิ ัณฑสถาน ทรงชนะมารเปน ตน ไปแลวทรงชาํ ระปุพเพนวิ าสานุสสติญาณ และทิพจักขญุ าณ ทรงทาํ

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 212หมนื่ โลกธาตใุ หไหว ขณะทรงแทงตลอดกองคณุ คอื พระสพั พญั ุตญาณในเวลาใกลร งุ กด็ ี ประกาศพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม ซงึ่ มีวนรอบ ๓ รอบ ดว ยปฐมเทศนากด็ ี ความอศั จรรยท ้ังหมดดังกลา วมาอยา งน้ีเปนตน ใคร ๆ อืน่ มิไดเ คยส่ังสมมาเลย พระสัพพัญูพุทธเจาเทานน้ั เคยสง่ั สมขมา. ชือ่ วา มนษุ ยอัศจรรย เพราะเปนมนษุ ยเคยสั่งสมมาดังนบี้ าง ดวยประการอยางน.ี้ จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๓ อรรถกถาสตู รที่ ๔ ในสูตรที่ ๔ มวี ินิจฉยั ดังตอไปน้ี :- บทวา กาลกิรยิ า ความวา ชอื่ วา กาลกริ ยิ า เพราะกิริยาท่ีปรากฏในกาลครัง้ หน่ึง. จรงิ อยู พระตถาคต ทรงดาํ รงอยู ๔๕ พรรษาทรงประกาศ ปฎก ๓ นิกาย ๕ สตั ถศุ าสนมอี งค ๙ พระธรรมขันธ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ ทรงกระทาํ มหาชน ใหน อมไปในพระนพิ พานโอนไปในพระนิพพาน บรรทมระหวา งไมสาละทง้ั คู ตรสั เรียกภกิ ษุสงฆมา ทรงโอวาทดว ยความไมประมาท ทรงมีพระสตสิ ัมปชัญญะเสดจ็ ปรินิพพานดวยอนุปาทเิ สสนพิ พานธาตุ, กาลกริ ยิ านข้ี องพระ-ตถาคตนน้ั ปรากฏมาจนกระทง่ั กาลวนั น้ี เพราะเหตุนนั้ จึงชอ่ื วากาลกิรยิ า เพราะเปน กิริยาท่ีปรากฏในเวลาหนงึ่ . บทวา อนุตปปฺ าโหติ แปลวา กระทาํ ความเดอื ดรอนตาม (ภายหลงั ). ในขอนัน้

พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 213กาลกิรยิ าของพระเจา จกั รพรรดิ การทําความเดอื ดรอ นตามแกเทวดาและมนุษยในหนง่ึ จกั รวาล. กาลกริ ยิ าของพระพทุ ธเจา ทัง้ หลายกระทําความเดอื ดรอนตามแกเทวดาและมนษุ ยท ้ังหลายในหม่ืนจักรวาลดว ยเหตุน้นั จงึ ตรัสวา กระทาํ ความเดอื ดรอ นตามแกขนมาก ดงั น้ี. จบ อรรถกถาสตู รท่ี ๔ อรรถกถาสตู รที่ ๕ ในสตู รท่ี ๕ มวี ินิจฉัยดังตอไปนี้ :- บทวา อทุตโิ ย ความวา ทช่ี ือ่ วา อทตุ โิ ย เพราะไมม ีพระพุทธเจาองคที่ ๒. จรงิ อยูพ ระพทุ ธะ. มี ๔ คอื สตุ พุทธะ จตสุ จั จพุทธะปจเจกพทุ ธะ สพั พญั พู ทุ ธะ. ในพุทธะ ๔ น้ัน ภิกษุผเู ปน พหสู ูต(มีพุทธพจนอ นั สดบั แลว มาก) ชื่อวา สตุ พุทธะ. ภกิ ษผุ เู ปน พระขณี าสพ(นอี้ าสวะสนิ้ แลว ) ชอ่ื วา จตสุ จั จพทุ ธะ. พระองคผูบ ําเพ็ญบารมีสองอสงไขย กาํ ไรแสนกัป แลวแทงตลอดปจ เจกพุทธญาณ ช่ือวาปจ เจกพุทธะ. พระองคผูบ าํ เพญ็ บารมี ๔-๘-๑๖ อสงไขย กาํ ไรแสนกัป แลวยํา่ ยีกระหมอมแหง มารทัง้ ๓ แทงตลอดพระสัพพญั ตุ -ญาณ ชื่อวา สัพพญั ูพทุ ธะ. ในพุทธะ ๔ เหลานี้ พระสัพพญั ูพทุ ธะชอื่ วา ไมมีพระองคท ่ี ๒ ธรรมดาวาพระสัพพัญูพุทธะพระองคอื่นจะเสดจ็ อบุ ตั ิรว มกับพระสพั พญั ูพทุ ธะพระองคนั้นกห็ าไม.

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 214 บทวา อสหาโย ความวา ชือ่ วาไมมสี หาย เพราะทา นไมม ีสหายผูเชนกบั ดว ยอตั ภาพ หรอื ดว ยธรรมท่ที รงแทงตลอดแลว .กพ็ ระเสขะและพระอเสขะ ชอ่ื วา เปน สหายขอพระพุทธเจา ท้งั หลายโดยปรยิ ายนี้วา พระผมู ีพระภาคเจานัน้ ทรงไดเสกขปฎปิ ทา และอเสกขปฏิปทาเปนสหายแล. บทวา อปฺปฎิโม (ไมมผี เู ปรียบ) ความวา อัตภาพเรียกวารูปเปรยี บ. ช่ือวา ไมมีผเู ปรียบ เพราะรูปเปรียบอนื่ เชนกบั อตั ภาพของทานไมม .ี อีกอยางหนงึ่ มนุษยท้งั หลายกระทาํ รปู เปรียบใดลวนแลว ดว ยทองและเงินเปนตน ในบรรดารูปเปรียบเหลานน้ั ชือ่ วาผสู ามารถกระทําโอกาสแมสกั เทา ปลายขนทรายใหเหมือนอตั ภาพของพระตถาคต ยอมไมมี เพราะเหตนุ ั้น จงึ ชือ่ วา ไมม ีผเู ปรยี บแมโ ดยประการทง้ั ปวง. บทวา อปปฺ ฎสิ โม (ไมม ีผเู ทียบ) ความวา ชื่อวาไมม ีผเู ทียบ เพราะใคร ๆ ช่ือวา ผจู ะเทยี บกบั อัตภาพของพระตถาคตน้ันไมม ี. บทวา อปปฺ ฏภิ าโค (ไมม ีผเู ทียม) ความวา ชือ่ วา ไมม ีผูเทยี มเพราะธรรมเหลาใดอนั พระตถาคตทรงแสดงไวโ ดยนยั มีอาทวิ าสติปฏ ฐานมี ๔ ขนึ้ ช่ือวา ผูสามารถเพื่อจะทาํ เทยี มในธรรมเหลานั้นโดยนัยมีอาทิวา น จตตฺ าโร สตปิ ฏานา ตโย วา ปจฺ วา (สตปิ ฏฐานไมใ ช ๔ สติปฏ ฐานมี ๓ หรอื ๕.) บทวา อปฺปฏิปุคคฺ โล (ไมมบี คุ คลผูแ ข็ง) ความวา ช่อื วาไมมีบุคคลผูแขง เพราะไมม ีบคุ คลอ่ืนไร ๆชือ่ วา สามารถเพอ่ื ใหป ฏิญญาอยางนวี้ า เราเปน พระพทุ ธเจา ดังน้.ี

พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 215 บทวา อสโม (ไมม ผี เู สมอ) ความวา ชอื่ วา ผไู มเ สมอดว ยสตั วทั้งปวง เพราะไมมีบุคคลเทยี มนัน่ เอง. บทวา อสมสโม (ผเู สมอกันบุคคลผไู มม ีใครเสมอ) ความวา พระสพั พญั ูพทุ ธเจา ทง้ั หลายทเ่ี ปน อดีตและอนาคต ทา นเรียกวา ไมม ีผเู สมอ ผูเสมอดว ยพระสัพพัญพู ทุ ธเจา ผไู มม ใี คร ๆ เสมอเหลานน้ั เพราะฉะนั้น จึงชื่อวาผูเ สมอกบั บุคคลผไู มมใี ครเสมอ. บทวา ทฺวิปทาน อคโฺ ค ความวา พระสัมมาสัมพทุ ธเจา เปนยอดของเหลา สตั วผ ไู มม เี ทา มี ๒ เทา มี ๔ เทา มเี ทามาก สตั วผ มู ีรูปไมม รี ูป ผูมสี ญั ญา ไมมสี ญั ญา มสี ญั ญากม็ ิใช ไมม ีสญั ญาก็มิใช.เพราะเหตุไร ในทนี่ ้ี ทา นจึงกลาววา เปน ยอดของเหลา สตั ว ๒ เทา ?เพราะเนอ่ื งดว ยพระองคเปน ผปู ระเสริฐกวา . จรงิ อยู ธรรมดาวาทา นผปู ระเสริฐ เมื่อจะอบุ ตั ใิ นโลกนี้ หาอุบัติในสตั วไ มม เี ทา มี ๔ เทาและมเี ทามากไม ยอมอุบัตเิ ฉพาะในสัตว ๒ เทาเทานั้น. ในสตั ว ๒ เทาชนดิ ไหน ? ในมนษุ ย และเทวดาทัง้ หลาย. ก็เม่อื เสดจ็ อุบัตใิ นหมูมนษุ ย ยอ มอุบัติเปนพระพุทธเจา ผสู ามารถเพ่อื ทําสามพันโลกธาตุและหลายพันโลกธาตุ ใหอยใู นอํานาจได. เม่อื อุบัตใิ นหมูเทวดายอมอบุ ัตเิ ปน ทาวมหาพรหม ผูท ําหมืน่ โลกธาตุใหอยใู นอาํ นาจไดทา วมหาพรหมนั้น พรอ มทจี่ ะเปนกปั ปย การก หรือเปนอารามกิของพระองค ดังน้ัน ทานจึงเรียกวาเปน ยอดของสตั ว ๒ เทา ดวยอาํ นาจเปนผูประเสริฐกวา มนุษยและเทวดาแมน ้นั ทเี ดยี ว. จบ อรรถกถาสูตรที่ ๕

พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 216 อรรถกถาสตู รที่ ๖ เปนตน ในสตู รที่ ๖ เปน ตนวนิ จิ ฉัยดังตอ ไปน้ี :- บทวา เอกปคุ คฺ ลสฺส ภกิ ขฺ เว ปาตภุ าวา มหโต จกขฺ ุสฺสปาตภุ าโว โหติ ความวา ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย จักษใุ หญยอ มปรากฏเพราะพระตถาคตอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจา ผเู ปน บุคคลเอกปรากฏ.เม่อื บคุ คลน้ันปรากฏแลว แมจกั ขุก็ยอ มปรากฏเหมอื นกัน เพราะเวนบุคคลปรากฏเสยี จกั ขุกป็ รากฏไมไ ด. บทวา ปาตุภาโว ไดแก การอุบัติคอื ความสําเรจ็ . จกั ษชุ นิดไหน ? จกั ษคุ อื ปญญา. เสมอื นเชนไร ? เสมือนวิปส สนาปญญา ของพระสารบี ุตรเถระ เสมือนสมาธปิ ญญา ของพระมหาโมคคัลลานเถระ. แมใ นอาโลกะ (การเห็น) เปน ตน กน็ ัยน้ีเหมือนกนั . จรงิ อยู ในการมองเหน็ เปนตนน้ี ทา นประสงคเ อาการมองเหน็ เชน การมองเหน็ ดวยปญ ญา และแสงสวาง เชน แสงสวา งแหง ปญญาของพระอัครสาวกทง้ั สอง. บทแมทัง้ ๓ นี้ คือ แหงดวงตาอนั ใหญ แหงการมองเหน็ อันใหญ แหงแสงสวางอนั ใหญพึงทราบวา ตรัสเจอื กันท้ังโลกิยะ และโลกตุ ตระ. บทวา ฉนฺน อนตุ ตฺ ยิ าน ไดแ ก ธรรมอันสูงสดุ ๖ อยางท่ีไมมีธรรมอื่นยิ่งขน้ึ ไปกวา ในคํานั้นมอี ธบิ ายวา อนตุ ตรยิ ะ ๖ เหลา น้ีคอื ทสั สนานุตตรยิ ะ สวนานตุ ตริยะ ลาภานุตตรยิ ะ สกิ ขานตุ ตริยะปาริจริยานตุ ตรยิ ะ อนุสสตานุตตริยะ. ความปรากฏเกิดข้นึ แหงอนตุ ตริยะ ๖ เหลา นี้ จึงมี.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 217 จรงิ อยทู า นพระอานนทเถระ ยอมไดเห็นพระตถาคตดว ยจักขุวญิ ญาณท้งั เชา ทัง้ เยน็ นชี้ อ่ื วา ทัสสนานตุ ตรยิ ะ. แมค นอ่ืนไมวา จะเปนพระโสดาบนั พระสกทาคามี พระอนาคามี ก็ยอมไดเ หน็พระตถาคตเหมอื นพระอานนทเถระ แมนี้ ก็ช่ือวา ทสั สนานตุ ตรยิ ะ.อนงึ่ บคุ คลอนื่ อีกผูเปน กลั ยาณปถุ ุชน กไ็ ดเห็นพระทศพลเหมือนพระอานนทเถระ ทาํ การเห็นนัน้ ใหเ จรญิ ยอ มบรรลุโสดาปตติมรรคนี้ก็ช่อื วา ทสั สนะ เหมอื นกัน สวนการเห็นเดิม ชอื่ วา ทสั สนานุตตรยิ ะ. จริงอยู บุคคลยอมไดฟง พระดํารัสของพระทศพลเนอื ง ๆดว ยโสตวิญญาณ เหมอื นพระอานนทเถระ นี้ชอ่ื สวนานุตตรยิ ะ.แมพ ระอริยบคุ คลเหลาอ่ืน มีพระโสดาบนั เปนตน ยอ มไดฟ ง พระดํารสั ของพระตถาคตเจา เหมือนพระอานนทเ ถระ แมน ้ีกช็ ่อื วาสวนานตุ ตรยิ ะ. สว นบคุ คลอนื่ อกี ผเู ปนกลั ยาณปถุ ชุ น ไดฟงพระดาํ รัสของพระตถาคตเจา เหมือนพระอานนทเ ถระ เจริญสวนะน้นัยอ มบรรลโุ สดาปตติมรรค นก้ี ช็ ื่อวา สวนะเหมือนกนั สวนการฟงเดมิ ช่ือวา สวนานตุ ตริยะ. บุคคลยอ มไดเฉพาะศรัทธาในพระทศพล เหมอื นพระอานนท-เถระนี้ ก็ช่ือวา ลาภานตุ ตรยิ ะ. แมบ คุ คลเหลาอน่ื มพี ระโสดาบนัเปนตน ไดล าภเฉพาะคอื ศรัทธาในพระทศพล เหมือนพระอานนทเถระยอมไดลาภเฉพาะ แมนีก้ ็ชื่อวา ลาภานตุ ตรยิ ะ. สว นคนอ่นื อีก เปนกลั ยาณปุถชุ น ไดล าภเฉพาะคอื ศรัทธาในพระทศพล เหมือนพระอานนทเถระ เจรญิ ลาภน้นั ยอมบรรลโุ สดาปต ติมรรค น้ีช่ือวาการไดเหมือนกนั สวนการไดอ ันเดิม ชือ่ วา ลาภานตุ ตริยะ.

พระสุตตนั ตปฎก อังคุตรนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 218 อนึง่ บุคคลศกึ ษาสิกขา ๓ ในพระศาสนาของพระทศพลเหมือนพระอานนทเ ถระ นช้ี ่อื วา สิกขานุตตรยิ ะ. แมพ ระอรยิบุคคลเหลาอื่น มพี ระโสดาบันเปน ตน ยอมศกึ ษาสิกขา ๓ ในพระศาสนาของพระทศพล เหมือนพระอานนทเถระแมนี้ ก็ชือ่ วาสกิ ขานุตตริยะ. สวนคนอ่นื อกี ผูเปนกัลยาณปุถุชน ศึกษาสกิ ขา ๓ในพระศาสนาของพระทสพลเหมือนพระอานนทเถระ เจรญิ สิกขา ๓นัน้ ยอมบรรลุโสดาปตตมิ รรค นี้ชอ่ื วา การศกึ ษาเหมือนกนั สวนการศึกษาอนั เดมิ ชอื่ วา สกิ ขานตุ ตริยะ อนง่ึ บคุ คลปรนนิบตั พิ ระทศพลเนือง ๆ เหมอื นพระอานนทเถระ น้ีชือ่ วา ปารจิ ริยานุตตริยะ. แมพระอรยิ บุคคลเหลาอ่ืน มีพระโสดาบันเปนตน ยอ มปรนนิบตั พิ ระทศพลเนอื ง ๆ แมน ้ี ก็ชื่อวาปารจิ รจิ ริยานตุ ตริยะ. สวนคนอ่นื ๆ ผเู ปนกัลยาณปถุ ุชน ปรนนบิ ตั ิพระทศพล เหมอื นพระอานนทเถระ เจรญิ การปรนนิบตั นิ ั้น ยอ มบรรลโุ สดาปต ติมรรค น้ีชอ่ื วา การปรนนิบตั ิเหมือนกนั สว นการปรนนิบตั ิอนั เดิม ช่ือวา ปาริจริยานตุ ตรยิ ะ. บุคคลระลึกถงึ เนือง ๆ ถงึ คณุ อันเปน โลกิยะ และโลกตุ ตระของพระทศพล เหมอื นพระอานนทเถระ. นช้ี อื่ วา อนุสสตานุตตริยะ.แมพระอริยบุคคลเหลาอื่น มพี ระโสดาบนั เปน ตน ระลึกเนือง ๆ ถงึคุณอนั เปน โลกยิ ะ และโลกุตตระ ของพระทศพล เหมอื นพระอานนท-เถระ แมน ี้กช็ ่ือวา อนสุ สตานุตตริยะ. สวนคนอน่ื อกี เปน กัลยาณ-ปถุ ชุ น ระลกึ เนือง ๆ ถึงคณุ อนั เปนโลกยิ ะ. และโลกุตตระ ของพระทศพล เหมือนพระอานนทเถระ เจรญิ การระลกึ เนอื ง ๆ นนั้ยอ มบรรลุโสดาปต ติมรรค นี้ช่ือวา อนสุ สติ เหมือนกนั สวนอนุสสติ

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ท่ี 219เดมิ ชอ่ื วาอนุสสตานุตตริยะ ดังพรรณนามาน้ี คอื อนตุ ตรยิ ะ ๖.อนตุ ตริยะ ๖ เหลา นยี้ อ มปรากฏ อนตุ ตรยิ ะ ๖ เหลานี้ พึงทราบวาทานกลาวเจอื ปนกันทง้ั โลกิยะ และโลกตุ ตระ. บทวา จตนุ ฺน ปฏสิ มภฺ ทิ าน สจฉฺ ิกิริยา โหติ ความวา ก็ปฏิสัม-ภทิ า ๔ คอื อรรถปฏสิ มั ภิทา ธรรมปฏสิ มั ภิทา นริ ตุ ติปฏสิ ัมภทิ าปฏภิ าณปฏิสัมภิทา. ในปฏิสัมภิทา ๔ นัน้ ความรูในอรรถ ช่อื วาอรรถปฏสิ มั ภิทา. ความรูในธรรมชอื่ วา ธรรมปฏิสมั ภิทา. ความรูในการกลา วภาษาที่เปนอรรถและธรรม ช่อื วา นริ ุตตปิ ฏสิ ัมภทิ า.ความรูในญาณทงั้ หลาย ช่ือวา ปฏิภาณปฏิสัมภทิ า. ความสังเขปในท่ีน้ี มเี พียงเทานี้. สวนความพสิ ดารแหงปฏิสมั ภทิ าเหลาน้นัมาแลว ในอภธิ รรมน่ันแล. อธิบายวา การกระทําใหแ จงประจักษปฏิสัมภิทาทัง้ ๔ นี้ ยอมมีในพุทธุปบาทกาล. การการทาํ ใหแจงปฏสิ มั ภิทาเหลา นัน้ เวน พทุ ธุปบาทกาลเสีย ยอมไมม.ี ปฏสิ มั ภิทาแมเ หลา นี้ พึงทราบวา ทา นกลาววา เปน ไดทัง้ โลกยิ ะ และโลกตุ ตระ. บทวา อเนกธาตุปฏเิ วโธ ความวา การแทงตลอดธาตุ ๑๘มีคําวา จักขุธาตุ รูปธาตุ ดังนเี้ ปน ตน ยอ มมใี นพทุ ธุปบาทกาลเทา น้ัน เวน พทุ ธุปบาทกาล ยอมไมมี. ในคาํ วา นานาธาตปุ ฏิเวโธโหติ การแทงตลอดธาตตุ าง ๆ จึงมนี ี้ ธาตุ ๑๘ นแ้ี หละ พงึ ทราบวานานาธาตุ เพราะมสี ภาวะตา ง ๆ. ก็การแทงตลอดอันใด ซ่ึงธาตุเหลานน้ั โดยเหตตุ า ง ๆ อยางนว้ี า ธาตุเหลาน้ี มสี ภาวะตา งกันในขอนี้ น้ีชื่อวา การแทงตลอดธาตุตา ง ๆ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 220 บทวา วิชฺชา ในบทวา วชิ ฺชาวิมุตฺตผิ ลสจฉฺ กิ ริ ิยา นี้ ไดแกผลญาณ. บทวา วิมุตฺติ ไดแ กธรรมท่สี ัมปยตุ ดว ยโสดาปต ติผลนอกจากวชิ ชานน้ั . บทวา โสดาปตฺตผิ ลสจฺฉิกริ ยิ า ความวา ปฐมมรรคช่ือวา โสตะ. ช่ือวา โสดาปต ตผิ ล เพราะเปน ผลอันบุคคลพึงบรรลุดวยโสตะนน้ั . สกทาคามผิ ลเปนตันปรากฏชดั แลว แล. บทวา อนุตตฺ ร แปลวา ยอดเยย่ี ม. บทวา ธมมฺ จกกฺ  ไดแกจักรอันประเสรฐิ . จรงิ อยู จักก ศพั ทน้ี มาในอรรถวา อุรจกั ร (คอืจกั รประหารชวี ติ ) ในคาถาน้วี า ทา นไดป ระสบนางเวมานิกเปรต ๔ นาง จาก ๔ นาง เปน ๘ นาง จาก ๘ นาง เปน ๑๖ นาง ถงึ จะไดป ระสบนางเวมานกิ เปรต จาก ๑๖ นาง เปน ๓๒ นาง กย็ งั ปรารถนายงิ่ ไปกวา นน่ั จงึ ได ประสบจักรนี้ จกั รกรดยอ มผัดผันบนกระหมอ ม ของคนผูถกู ความอยากครอบงาํ แลว.ลงในอรรถวา จักร คืออริ ยิ าบถ ในประโยคนว้ี า ชาวชนบทเปลี่ยนอริ ยิ าบถ เดนิ ไปรอบ ๆ. ลงในอรรถวาจักรคือไมในประโยคนวี้ าดูกอ นภิกษทุ งั้ หลาย ครั้งนั้นแล ชา งรถหมุนจกั รคือไมย นต ทท่ี าํ๗ เดือนเสรจ็ . ลงในอรรถวาจกั รคือลักษณะ. ในประโยคนีว้ า โทณ-พราหมณ ไดเ ห็นจักรคือลายลักษณะอนั เกิดทพ่ี ระบาทของพระผูมพี ระภาคเจา ซึ่งมกี ําพนั ซี.่ ลงในอรรถวาจกั รคือสมบตั ิ ในประโยคน้ีวา สมบัติ ๔ ยอมเปน ไปแกเ ทวดาและมนษุ ยท้ังหลาย ผปู ระกอบ

พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 221ดวยสมบัติเหลาใด สมบัตเิ หลา น้ี มี ๔ ประการ. ลงในอรรถวาจักรคอืรตั นะในประโยคนีว้ า จกั รคอื รัตนะอนั เปน ทพิ ย ปรากฏอย.ู แตใ นทน่ี ี้ลงในอรรถวาจกั รคอื ธรรม. ในบทวา ปวตฺตติ  นพ้ี งึ ทราบประเภทดังน้ีวา ช่ือวา กาํ ลงัปรารถนาอยา งจรงิ จงั ซงึ่ พระธรรมจกั ร ธรรมจกั รชือ่ วา ปรารถนาอยา งจริงจังแลว ช่อื วา กําลงั ทาํ พระธรรมจกั รใหเกดิ ข้ึน ธรรมจักรชอ่ื วา ทรงทาํ ใหเกิดขึ้นแลว ชื่อวา กาํ ลงั ประกาศพระธรรมจักรธรรมจักรช่อื วา ทรงประกาศแลว. ช่ือวากําลงั ปรารถนาอยา งจรงิ จงั ซ่งึ พระธรรมจักรตง้ั แตครั้งไหน ? ครง้ั ที่พระองคเ ปน สุเมธพราหมณ เหน็ โทษในกามทัง้ หลาย และอานิสงสใ นเนกขัมมะ ถวายสัตตสดกมหาทานแลว บวชเปนฤาษี ทําอภญิ ญา ๕ และสมาบัติ ๘ ใหบังเกิด ต้ังแตน้นั มา ชื่อวากําลงั ปรารถนาอยา งจริงจัง ซ่ึงพระธรรมจกั ร. ชื่อวาปรารถนาอยา งจริงจังแลว ตั้งแตค รั้งไหน ? คร้งั พระองคประชุมธรรม ๘ ประการ แลว ทรงผูกพระมนสั เพือ่ ประโยชนแกการทําพระมหาโพธิญาณใหผ อ งแผว ณ บาทมลแหง พระพทุ ธเจาพระนามวา ทปี ง กร ทรงอธิษฐานพระวริ ยิ ะวา เราไมไ ดร บัพยากรณ จกั ไมล ุกขนึ้ แลว จึงนอนลง ไดรับพยากรณจากสาํ นกัพระทศพลแลว ต้ังแตน น้ั มา ธรรมจกั รช่ือวาปรารถนาอยา งจริงจงัแลว . ชือ่ วา กําลังใหธ รรมจักรเกิดขน้ึ ตัง้ แตคร้งั ไหน ? ครง้ั แมเม่อื พระองคท รงบําเพญ็ ทานบารมี ชื่อวากาํ ลงั ยังธรรมจักรใหเ กดิ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 222ขึน้ . เม่ือทรงบําเพ็ญสีลบารมีก็ดี ฯลฯ ทรงบาํ เพญ็ อปุ บารมกี ด็ ีช่อื วา กําลังยงั ธรรมจกั รใหเ กิดขึ้น เม่ือทรงบําเพญ็ บารมี ๑๐อปุ บารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ กด็ ี เมื่อทรงบําเพ็ญมหาบรจิ าค ๕ก็ดี ทรงบําเพญ็ ญาตัดถจริยากด็ ี ชอื่ วา ทรงยังธรรมจักรใหเ กดิขึน้ . ทรงอยใู นภาวะเปนพระเวสสันดร ทรงถวายสัตตสดกมหาทานทรงมอบบุตรและภรรยา ในมุขคอื ทาน ทรงถือเอายอดพระบารมีทรงบงั เกดิ ในสวรรคชน้ั ดสุ ติ ทรงดํารงอยใู นดุสิตนั้น ตลอดพระชน-มายุ อันเทวดาทูลอาราธนาแลวใหป ฏิญญา แมทรงพิจารณาดูมหาวิโลกนะ ๕ ช่ือวากาํ ลงั ยังธรรมจักรใหเ กิดขึ้นเหมอื นกนั . เมื่อทรงถอื ปฏิสนธใิ นพระครรภของพระมารดาก็ดี เม่ือทรงทาํ หมืน่จกั รวาลใหไ หว ในขณะปฏสิ นธกิ ด็ ี เม่อื ทรงทําโลกใหไ หว เหมอื นอยา งนัน้ นนั่ แล ในวนั เสด็จออกจากพระครรภของมารดาก็ดี เมื่อประสูติในเดียวนัน้ แลว เสดจ็ ยา งพระบาทไป ๗ กา ว ทรงบนั ลอืสหี นา ทวาเราเปนผูเลศิ กด็ ี เม่อื เสด็จอยคู รองเรือน ตลอด ๒๙พรรษาก็ดี เสด็จออกเพือ่ คุณอนั ย่ิงใหญก ด็ ี ทรงบรรพชาทีร่ ิมฝงแมน ํา้ อโนมานทีก็ดี ทรงกระทํามหาปธานความเพียร ๖ พรรษากด็ ีเสวยขาวมธปุ ายาส ท่ีนางสุชาดาถวาย แลวทรงลอยถาดทองในแมน ํา้แลวเสดจ็ ไปโพธิมณั ฑสถานอนั ประเสริฐ. ในเวลาเยน็ ประทับน่ังตรวจโลกธาตุดา นทิศบุรพา ทรงกาํ จดั มารและพลของมาร ในเม่อืดวงอาทิตยย งั ทรงอยนู ่ันแล ทรงระลกึ ถงึ ปพุ เพนิวาสญาณในปฐมยามกด็ ี ทรงชาํ ระทิพยจักษใุ นมชั ฌิมยามก็ดี ทรงพจิ ารณาปจจยาการในเวลาตอเนอ่ื งกับเวลาใกลรงุ แลวแทงตลอดโสดาปตตมิ รรคก็ดีทรงทําใหแจง โสดาปต ติผลกด็ ี ทรงทําใหแจง สกทาคามิมรรค

พระสุตตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 223สกทาคามิผล อนาคานมิ รรค อนาคามผิ ลกด็ ี เมือ่ ทรงแทงตลอดอรหัตตมรรคกด็ ี ก็ช่ือวา ทรงกาํ ลังกระทําธรรมจักรใหเ กดิ ขึ้นเหมอื นกัน. กธ็ รรมจักร ชอื่ วา อันพระองคใหเกิดขนึ้ แลว ในขณะแหงพระอรหตั ตผล. จริงอยูค ุณราสี กองแหงคณุ ท้ังส้ินของพระพุทธเจาทั้งหลาย ยอมสาํ เรจ็ พรอ มกบั อรหตั ตผลนั่นแล. เพราะฉะนนั้ ธรรมจักรนนั้ เปน อันชอ่ื วาอันพระองคใ หเ กดิ ขึน้ แลวในขณะนน้ั . พระองคทรงประกาศธรรมจกั รเมอ่ื ไร ? เมอ่ื พระองคทรงยบั ย้งัอยู ๗ สัปดาห ณ โพธิมณั ฑสถาน ทรงแสดงธรรมจักกปั ปวัตตน-สตู ร กระทาํ พระอัญญาโกณฑัญญเถระใหเปนกายสกั ขี ท่ีปาอิสปิ ตนมฤคทายวนั ชอื่ วาทรงประกาศพระธรรมจักร. ก็ในกาลใดพระอัญญาโกณฑัญญเถระ ไดก ารฟง ท่ีบงั เกดิดว ยอานภุ าพแหงเทศนาญาณของพระทศพล แลวบรรลุธรรมกอนเขาท้งั หมด จาํ เดิมแตกาลนนั้ มา พึงทราบวา ธรรมจักร เปน อนัช่ือวา ทรงประกาศแลว. จรงิ อยู คาํ วา ธรรมจักร นเี้ ปน ชอื่ แหงเทศนาญาณบา งแหงปฏิเวธญาณบา ง. ใน ๒ อยางน้ัน เทศนาญาณเปน โลกิยะปฏเิ วธญาณเปนโลกตุ ตระ. ถามวา เทศนาญาณ ปฏิเวธญาณเปนของใคร ? แกว า ไมใ ชของใครอ่นื พึงทราบวาเทศนาญาณและปฏิเวธญาณ เปนของพระสัมมาสมั พุทธเจาเทาน้นั . บทวา สมฺมเทว ไดแก โดยเหตุ คือ โดยนยั โดยการณ น้ันเอง.บทวา อนุปฺวตตฺ นตฺ ิ ความวา พระเถระช่ือวา ยอมประกาศตาม

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย เอกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ 224ธรรมจกั ร ทพ่ี ระศาสดาทรงประกาศไวก อ นแลว เหมอื นเมื่อพระศาสดาเสด็จไปขา งหนา พระเถระเดินไปขา งหลัง ช่ือวา เดนิ ตามพระศาสดานัน้ ฉะนนั้ . ถามวา ประกาศตามอยา งไร ? ตอบวา ก็พระศาสดาเมื่อทรงแสดงวา ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย สตปิ ฏฐาน ๔เหลานี้ สตปิ ฏฐาน ๔ อะไรบาง ช่ือวาทรงประกาศธรรมจกั ร.พระธรรมเสนาบดีสารีบตุ รเถระนน่ั แล เมื่อแสดงวา ดูกอ นผมู อี ายุสตปิ ฏ ฐาน ๔ เหลานี้ ชอ่ื วา ยอ มประกาศตามซ่ึงธรรมจกั ร. แมใ นสมั มปั ปธานเปนตน กน็ ัยนี้เหมือนกนั . มิใชแตในโพธปิ กขยิ ธรรมอยางเดยี ว. แมในคาํ วา ภิกษทุ งั้ หลาย อรยิ สัจ ๔ เหลานี้ อรยิ วงศ ๔เหลาน้ี เปน ตน กพ็ ึงทราบนัยนีเ้ หมือนกัน. ดว ยประการดังกลา วน้ีพระสัมมาสัมพทุ ธเจา ช่ือวา ทรงประกาศธรรมจกั ร พระเถระชอ่ื วา ประกาศตามพระธรรมจักรที่พระทศพลทรงประกาศแลว . ก็พระธรรมอนั พระเถระผปู ระกาศตามธรรมจักรอยา งนี้แสดงแลวกด็ ี ประกาศแลว ก็ดี ยอ มชื่อวา เปน อันพระศาสดาทรงแสดงแลว ประกาศแลวทเี ดียว. ผูใดผูหนงึ่ ไมว าจะเปนภกิ ษุ ภกิ ษณุ ีก็ตาม อุบาสก อุบาสิกา ก็ตาม เปน เทพ หรอื เปนทาวสกั กะกต็ ามเปนมารหรือเปนพรหมกต็ าม แสดงธรรมไว ธรรมทั้งหมดนั้นเปน อนั ช่ือวา พระศาสดาทรงแสดงแลว ทรงประกาศแลว . สว นชนนอกนน้ั ชอ่ื วา ตง้ั อยูในฝา ยของผทู ่ดี ําเนินตามรอย. อยางไร ? เหมือนอยางวา ชนทั้งหลายอานลายพระราชหตั ถ ทีพ่ ระราชาทรงประทานแลว กระทํางานใด ๆ งานน้นั ๆ อันผูใ ดผูหนงึ่ การทาํ เองกด็ ี ใหคนอื่นกระทาํ ก็ดี เขาเรยี กวา พระราชาใชใ หทําอยางนัน้ เหมือนกนั .

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 225ความจรงิ พระสัมมาสัมพุทธเจา เหมอื นพระราชาผใู หญ. พุทธพจนคอื ปฎก ๓ เหมอื นลายพระราชหตั ถ การใหโดยมุขคือนัยในพระไตรปฎ ก เหมอื นการทรงประทานลายพระราชหตั ถ. การใหบ ริษัท ๔เรยี นพุทธพจน ตามกําลังของตนแลวแสดง ประกาศแกช นเหลา อืน่เหมือนอานลายพระราชหตั ถแลวทําการงาน. ในธรรมเหลา นั้นธรรมทผี่ ูใดผหู นึ่งแสดงกด็ ี ประกาศกด็ ี พึงทราบวา ชอื่ วา ธรรมอนั พระศาสดาแสดงแลว ประกาศแลว เหมอื นผใู ดผูหน่งึ อา นลายพระราชหัตถ ทาํ งานใด ๆ ดว ยตนเองก็ดี ใชใหผ อู ่ืนทํากด็ ี งานนั้น ๆช่อื วา อนั พระราชาใชใหท าํ แลวเหมอื นกนั . คาํ ท่เี หลือในบททั้งปวงมอี รรถงายทงั้ นน้ั แล. จบ อรรถกถาสตู รที่ ๖ จบ อรรถกถาเอกปุคคลวรรคที่ ๑๓

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาท่ี 226 เอตทัคคบาลี วรรคท่ี ๑ วา ดวยภกิ ษุผมู ีตาํ แหนงเลศิ ๑ ทาน [๑๔๖] ดกู อ นภกิ ษทุ ้งั หลาย พระอญั ญาโกณฑัญญะ เลศิ กวาพวกภิกษสุ าวกของเราผูรรู าตรนี าน. พระสารบี ุตร เลศิ กวา พวกภกิ ษสาวกของเราผมู ีปญ ญามาก. พระมหาโมคคัลลานะ เลิศกวา พวกภกิ ษุสาวกของเราผมู ีฤทธ.์ิ พระมหากสั สป เลศิ กวา พวกภกิ ษสุ าวกของเรา ผูทรงธดุ งคและสรรเสรญิ คณุ แหง ธุดงค. พระอนรุ ทุ ธะ เลศิ กวา พวกภิกษสุ าวกของเราผมู ีทพิ ยจกั ษุ. พระภตั ทยิ กาฬโิ คธาบตุ ร เลศิ กวาพวกภกิ ษุสาวกของเราผูเกิดในตระกลู สูง. พระลกุณฏกภทั ทิยะ เลศิ กวา พวกภกิ ษสุ าวกของเราผมู ีเสียงไพเราะ. พระปณโฑลภารทวาชะ เลศิ กวา พวกภิกษสุ าวกของเราผูบันลือสหี นาท. พระปณุ ณมนั ตานีบุตร เลศิ กวาพวกภกิ ษุสาวกของเราผเู ปนธรรมกถึก. พระมหากจั จานะ เลศิ กวา พวกภิกษสุ าวกของเราผูจําแนกอรรถแหงภาษิตโดยยอ ใหพสิ ดาร. จบวรรคท่ี ๑
















































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook