Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_66

tripitaka_66

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:43

Description: tripitaka_66

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาที่ 259 ของทา น ดกู อ นพระยามาร เสนาของทา นนเ้ี ปนผมู ีปกติ กําจดั บุคคลผมู ธี รรมดํา คนไมกลายอมไมช นะมารเสนา นนั้ ได สว นคนกลา ยอมชนะได คร้ันชนะแลวยอมได ความสขุ ดงั น.้ี เมอ่ื ใด มารเสนาทั้งหมด และกิเลสอันทําความเปนปฏิปกษทงั้ หมดอันมุนีชนะ ใหพ ายแพ ทําลายเสยี กําจัดเสีย ทาํ ใหไ มสหู นาแลว ดวยอริยมรรค ๔ เมื่อน้ัน มุนีนนั้ เรยี กวา เปน ผกู ําจดั เสนาแลว มุนนี ั้นกําจดั เสนาในรปู ที่เห็น ในเสยี งทีไ่ ดยนิ ในอารมณท ี่ทราบ ในอารมณทรี่ ูแจง แลว เพราะฉะนัน้ จึงช่ือวา มุนีนนั้ กาํ จดั เสนาแลว ในธรรมทั้งปวง คอื ในรปู ที่เหน็ ในเสยี งทีไ่ ดยิน ในอารมณท ท่ี ราบ. วา ดวยภาระ ๓ อยา ง [๖๙๘] ชอ่ื วาภาระ ในคําวา มุนนี นั้ เปนผปู ลงภาระลงแลวพน ขาด ไดแกภ าระ ๓ อยา ง คือ ขันธภาระ ๑ กเิ ลสภาระ ๑อภิสังขารภาระ ๑. ขันธภาระเปนไฉน รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณในปฏสิ นธิ นชี้ ่อื วา ขนั ธภาระ. กเิ ลสภาระเปนไฉน ราคะ โทสะ โมหะ ฯลฯ อกุสลาภิสงั ขารท้งั ปวง น้ีชือ่ วา กเิ ลสภาระ. อภสิ งั ขารภาระเปนไฉน ปุญญาภิสงั ขาร อปญุ ญาภสิ ังขารอเนญชาภิสงั ขาร นี้ชอื่ วา อภสิ งั ขารภาระ. ขันธภาระ กิเลสภาระ และอภิสังขารภาระ เปน สภาพอนั มุนีละแลว มรี ากอันตดั ขาดแลว ทาํ ไมใหมที ี่ตัง้ ดงั ตาลยอดดวน ใหถ งึ ความไมมใี นภายหลัง มคี วามไมเกดิ ขึ้น

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 260ตอ ไปเปน ธรรมดา เม่ือใด เม่ือนนั้ มุนีนน้ั เรียกวา เปน ผูปลงภาระลงแลว มภี าระตกไปแลว มภี าระอันปลดแลว มีภาระอนั ปลอ ยแลวมภี าระอนั วางแลว มีภาระระงบั แลว . วา ดว ยโมเนยยะ ๓ อยา ง คาํ วา มุนี ความวา ญาณเรยี กวาโมนะ ไดแ กปญ ญา ความรทู ัว่ความเลือกเฟน ความเลือกเฟน ทั่ว ความเลือกเฟนธรรม ความกาํ หนดดีความเขาไปกําหนด ความเขา ไปกาํ หนดเฉพาะ ความเปน บณั ฑติ ความเปน ผูฉลาด ความเปนผมู ปี ญญารักษาตน ปญญาเปนเคร่อื งจําแนกปญญาเปนเครอ่ื งคิด ปญ ญาเปน เคร่อื งเขาไปเหน็ ปญญาอนั กวางขวางดจุ แผน ดนิ ปญญาเปน เครอื่ งทําลายกเิ ลส ปญญาอนั นําไปรอบ ปญญาเปนเคร่อื งเหน็ แจง ความรสู กึ ตวั ปญ ญาเปน เครื่องเจาะแทง ปญ ญาเปนเครอ่ื งเห็นชัด ปญ ญาเปน ใหญ ปญญาเปนกําลงั ปญ ญาเปน ดังศาสตรา ปญ ญาเพยี งดงั ปราสาท ปญ ญาอันสวา ง ปญญาอนั แจมแจงปญ ญาอนั รงุ เรือง ปญ ญาเปน ดังแกว ความไมหลง ความเลอื กเฟน ธรรมความเหน็ ชอบ บุคคลประกอบดวยญาณนัน้ ช่ือวาเปนมนุ ี คอื ผูถงึ ญาณที่ช่อื วาโมนะ โมเนยยะ (ธรรมเครื่องทาความเปน มนุ )ี มี ๓ อยา คือโมเนยยธรรมทางกาย ๑ โมเนยยธรรมทางวาจา ๑ โมเนยยธรรมทางใจ ๑. โมเนยยธรรมทางกายเปน ไฉน การละกายทจุ รติ ๓ อยา ง ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย กายสจุ รติ ๓ อยา ง ญาณมีกายเปน อารมณ ความกําหนดรูกาย มรรคอนั สหรคตดวยปรญิ ญา การละฉนั ทราคะในกาย

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 261ความดบั แหง การสังขาร ความบรรลุจตุตถฌาน แตล ะอยาง ๆ ชื่อวาโมเนยยธรรมทางกาย น้ชี อื่ วา โมเนยยธรรมทางกาย. โมเนยยธรรมทางวาจาเปน ไฉน การละวจที ุจริต ๔ อยาง ชอ่ื วาโมเนยยธรรมทางวาจา วจีสจุ ริต ๔ อยา ง ญาณมีวาจาเปนอารมณ ความกําหนดรูว าจา มรรคอนั สหรคตดว ยปรญิ ญา การละฉันทราคะในวาจาความดบั แหงวจสี งั ขาร ความบรรลทุ ุตยิ ฌาน แตล ะอยา ง ๆ ชื่อวาโมเนยยธรรมทางวาจา นีช้ อื่ วา โมเนยยธรรมทางวาจา. โมเนยยธรรมทางใจเปนไฉน การละมโนทุจรติ ๓ อยาง ช่อื วาโมเนยธรรมทางใจ มโนสุจริต ๓ อยา ง ญาณมีจิตเปนอารมณ ความกาํ หนดรจู ิต มรรคอันสหรคตดว ยปริญญา การละฉนั ทราคะในจิต ความดบั แหงจิตตสังขาร ความบรรลสุ ัญญาเวทยติ นโิ รธ แตล ะอยาง ๆ ชอื่ วาโมเนยยธรรมทางใจ นีช้ ื่อวา โมเนยยธรรมทางใจ. สมจรงิ ดังทพ่ี ระผูมีพระภาคเจา ตรสั วา บัณฑติ ทงั้ หลายไดก ลา วมนุ ี ผูเปนมนุ ที างกาย เปน มนุ ีทางวาจา เปนมุนที างใจ ไมม อี าสวะวา เปนผูถ งึ พรอมดว ยธรรมทที่ าํ ใหเ ปนมนุ ี เปน ผลู ะกิเลสท้งั ปวง บณั ฑติ ท้งั หลายไดกลา วมนุ ีผเู ปนมนุ ีทางกาย เปนมนุ ี ทางวาจา เปน มุนที างใจ ไมม ีอาสวะวา เปนผูถึงพรอ ม ดวยธรรมที่ทาํ ใหเ ปน มนุ ี เปนผมู บี าปอนั ลางเสียแลว. บุคคลผปู ระกอบดว ยธรรมท่ที ําใหเปนมุนเี หลา น้ัน ช่อื วา เปน มนุ ีมี๖ จําพวก คือ อาคารมุนี อนาคารมนุ ี เสขมนุ ี อเสขมนุ ี ปจเจกมนุ ีมนุ มิ ุน.ี อาคารมนุ เี ปน ไฉน ชนเหลาใดเปนผูค รองเรอื น มีบทคอื นพิ พาน

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 262อันเหน็ แลว มีศาสนาอันรแู จง แลว ชนเหลา นี้ ช่ือวาอาคารมุนี. อนาคารมุนีเปน ไฉน ชนเหลา ใดออกบวช มีบทคอื นพิ พานอนั เหน็ แลว มศี าสนาอันรแู จง แลว ชนเหลา นีช้ ่อื วา อนาคารมุนี. พระเสขะ ๗ จาํ พวก ชื่อวาเสขมุนี. พระอรหนั ตทัง้ หลาย ช่ือวา อเสขมนุ .ี พระปจ เจกพทุ ธเจาทั้งหลาย ช่อื วา ปจ เจกมนุ ี พระตถาคตอรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจาชื่อวา มนุ ิมนุ ี. สมจรงิ ดงั ทีพ่ ระผูม ีพระภาคเจาตรสั วา บคุ คลไมเ ปน มนุ ีดว ยความเปนผนู ่งิ เปนแตผ เู ปลา มใิ ชผ ูร ู สว นบุคคลใดเปน บัณฑิต ถือธรรมอนั ประเสริฐ ละเวน บาปทัง้ หลาย เหมอื นคนทีถ่ อื เครือ่ งชง่ั ตงั้ อยูฉ ะนั้น บคุ คลนั้นชื่อวา เปน มนุ ี เรยี กวา มุนโี ดยเหตุนนั้ บุคคลใด ยอ มรโู ลกทัง้ ๒ บุคคลนั้นเรียกวา มุนโี ดยเหตุนนั้ บคุ คล ใดรูธรรมของอสัตบุรษุ และธรรมของสัตบรุ ษุ ในโลก ทั้งปวงท้งั ภายในและภายนอก กาวลว งธรรมเปนเครอื่ ง ขอ งและตณั หาเพียงดังวาขา ยดํารงอยู เปนผูอนั เทวดา และมนษุ ยบูชาแลว บคุ คลนน้ั ช่ือวา เปน มุนี. คําวา พนขาดแลว ความวา จติ ของมนุ ีพน พน ขาด พน วเิ ศษดีแลว จากราคะ โทสะ โมหะ ฯลฯ อกสุ ลาภสิ งั ขารท้ังปวง เพราะ-ฉะนั้น จึงชือ่ วา มนุ ีน้นั เปน ผปู ลงภาระลงแลว พน ขาดแลว . [๖๙๙] ชอื่ วา ความกําหนด ในคําวา ไมมีความกาํ หนด ไมเขา รูปยินดี ไมม คี วามปรารถนา พระผูม ีพระภาคเจาตรัสวาดังน้ี ไดแ กความกาํ หนด ๒ อยา ง คือ ความกาํ หนดดวยตณั หา ความกําหนดดว ยทฏิ ฐิ ๑ ฯลฯ น้ีช่ือวา ความกาํ หนดดว ยตณั หา ฯลฯ นีช้ ่อื วา ความ

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 263กําหนดดว ยทฏิ ฐิ มุนนี น้ั ละความกาํ หนดดวยตณั หา สละคืนความกาํ หนดดว ยทฏิ ฐแิ ลว เพราะเปนผลู ะความกาํ หนดดว ยตณั หา สละคนื ความกําหนดดวยทฏิ ฐิ จงึ ยอ มไมก าํ หนดความกาํ หนดดว ยตณั หา หรอื ความกําหนดดวยทิฏฐิ คือ ไมใหเกิด ไมใหเ กิดพรอ ม ไมใ หบงั เกิด ไมใ หบังเกดิเฉพาะ เพราะฉะนน้ั จึงช่อื วา ไมมคี วามกําหนด. คําวา ไมเ ขา ไปยินดีความวา พาลปุถุชน ท้ังปวงยอมกาํ หนัด พระเสขะ ๗ จาํ พวกรวมทั้งกัลยาณปุถุชน ยอมยินดี ยนิ ดียิ่ง ยินดยี ่งิ เฉพาะ เพื่อถึงธรรมท่ยี ังไมถ งึเพื่อบรรลุธรรมทีย่ ังไมบ รรลุ เพ่ือทําใหแจง ซึ่งธรรมทย่ี ังไมทําใหแจงสว นพระอรหันตเ ปนผยู ินดี ยินดยี ่งิ ยินดยี ง่ิ เฉพาะแลว คอื เปน ผอู อกสละ พนขาด ไมเกย่ี วขอ ง พึงเปนผูมีจิตปราศจากแดนกเิ ลสอยู เพราะ-ฉะน้ัน จึงช่อื วา ไมมคี วามกําหนด ไมเขาไปยนิ ด.ี คาํ วา ไมมคี วามปรารถนา ความวา ตณั หา เรยี กวา ความปรารถนา ไดแก ราค-สาราคะ ฯ ล ฯ อภชิ ฌา โลภะ อกศุ ลมลู ความปรารถนานน้ั อนั มุนใี ดละ ตัดขาด สงบ ระงบั แลว ทาํ ไมใ หควรเกดิ ขึน้ เผาเสียแลวดวยไฟคอื ญาณ มุนีนน้ั เรยี กวาผูไ มมีความปรารถนา. คาํ วา ภควา เปนเคร่ืองกลาวดว ยความเคารพ. อีกอยา งหนึ่ง ช่ือวา ภควา เพราะอรรถวา ผูท าํ ลายราคะแลวทําลายโทสะแลว ทาํ ลายโมหะแลว ทาํ ลายมานะแลว ทําลายทฏิ ฐิแลวทําลายเส้ยี นหนามแลว ทาํ ลายกิเลสแลว เพราะอรรถวา ทรงจําแนกวเิ ศษ ทรงจาํ แนกเฉพาะแลว ซ่ึงธรรมรตั นะ. ช่อื วา ภควาเพราะอรรถวา ทรงทาํ ซึ่งท่ีสุดแหงภพท้งั หลาย มพี ระกายอนั อบรมแลวมศี ลี อนั อบรมแลว มีจติ อันอบรมแลว. อน่งึ พระผูม พี ระภาคเจา ทรง

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 264ซองเสพเสนาสนะอันเปน ปาละเมาะและปา ทึบอนั สงดั มีเสยี งนอ ยปราศจากเสียงกึกกอ ง ปราศจากชนผสู ัญจรไปมา เปนที่ควรทาํ กรรมลับของมนุษย ควรแกวเิ วก เพราะฉะนัน้ จงึ ช่อื วา ภควา. อนง่ึ พระผูมพี ระภาคเจาทรงมสี วนแหง จีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะและคลิ านปจจยั เภสัชบริขาร เพราะฉะนัน้ จึงชอ่ื วา ภควา. อนึง่ พระ-ผมู พี ระภาคเจา ทรงมีสวนแหงอธศิ ลี อธจิ ิต อธิปญญา อันมอี รรถรสธรรมรส วิมุตตริ ส เพราะฉะนนั้ จงึ ชือ่ วา ภควา. อนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงมสี วนแหง ฌาน ๔ อัปปมัญญา ๔อรูปสมาบตั ิ ๔ เพราะฉะนนั้ จงึ ช่ือวา ภควา. อน่ึง พระผูม พี ระภาคเจา ทรงมสี ว นแหงวิโมกข ๘ อภิภายตนะ(ฌานเปน ท่ตี งั้ แหงความครอบงําอารมณ) ๘ อนุปพุ พวหิ ารสมาบัติ ๙เพราะฉะน้ัน จงึ ชื่อวา ภควา. อนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ทรงมสี วนแหง สัญญาภาวนา ๑๐ กสณิ -สมาบตั ิ ๑๐ อานาปานสติสมาธิ อสุภสมาบัติ เพราะฉะน้นั จงึ ชื่อวาภควา. อนงึ่ พระผูมีพระภาคเจา ทรงมีสว นแหง สตปิ ฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔อิทธิบาท ๔ อนิ ทรยี  ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ อรยิ มรรคมอี งค ๘เพราะฉะนั้น จึงชอ่ื วา ภควา. อนึ่ง พระผูม ีพระภาคเจาทรงมสี วนแหง ตถาคตพละ ๑๐ เวสารัชช-ญาณ ๔ ปฏิสมั ภทิ า ๔ อภญิ ญา ๖ พทุ ธธรรม ๖ เพราะฉะน้นั จึงช่ือวาภควา. พระนามวา ภควา น้ี พระมารดา พระบดิ า พระภาดา พระภคนิ ีมติ รอาํ มาตย พระญาตสิ าโลหติ สมณพราหมณ เทวดา มิไดเฉลิมให

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 265พระนามวา ภควา น้ี เปนวิโมกขนั ตกิ นาม (พระนามมีในอรหัตผลในลําดบั แหง อรหตั มรรค) เปนสัจฉกิ าบญั ญตั ิ (บัญญตั ิท่ีเกดิ เพราะทาํ ใหแ จม -แจง ซ่งึ อรหัตผลและธรรมท้ังปวง) พรอมดว ยการทรงบรรลพุ ระสัพพญั -ตุ ญาณ ณ ควงโพธิพฤกษข องพระผูม พี ระภาคเจาทัง้ หลาย ผตู รสั รูแ ลวเพราะฉะนั้น จงึ ช่ือวา ไมม ีความกําหนด ไมเ ขา ไปยนิ ดี ไมมคี วามปรารถนา พระผูม ีพระภาคเจาตรัสวา ดังนี้ เพราะเหตุนั้น พระผมู พี ระ-ภาคเจา จงึ ตรสั ตอบวา มนุ นี ้ัน กาํ จดั เสนาแลว ในธรรมทัง้ ปวง คอื ในรูป ท่ีเห็น ในเสียงทีไ่ ดยนิ ในอารมณท ีท่ ราบ มนุ ีน้ัน เปน ผปู ลงภาระลงแลว พนขาดแลว ไมมีความกําหนด ไม เขาไปยนิ ดี ไมมีความปรารถนา พระผูม ีพระภาคเจา ตรสั วาดงั นี้ ฉะน้แี ล. จบมหาวิยูหสตุ ตนิทเทสที่ ๑๓ อรรถกถามหาวิยหู สตุ ตนิทเทสที่ ๑๓ พงึ ทราบวินจิ ฉัยในมหาวิยหู สตุ ตนทิ เทสที่ ๑๓ ดงั ตอ ไปน้.ี แมบ ทนว้ี า เยเกจเิ ม ทฏิ  ปิ รพิ พฺ สานา สมณพราหมณเหลาใดเหลา หน่งึ มคี วามอยูรอบในทิฏฐิ พระผูมีพระภาคเจา เพ่อื จะทรงทาํ ความนัน้ ใหแจง แกเ ทวดาท้ังหลาย บางพวกที่มีจติ เกดิ ขนึ้ วา สมณพราหมณเหลา นั้น มีความอยูรอบในทฏิ ฐิยอ มไดรบั นินทาอยา งเดียวหรือ หรอื วา

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 266ไดร ับความสรรเสรญิ ดว ย จากสํานักของทา นผรู ทู ัง้ หลาย จึงทรงใหพระพทุ ธนมิ ติ ตรัสถามพระองค แลวจงึ ตรัสโดยนัยกอนนนั่ แล. ในบทเหลานนั้ บทวา อนฺวานยนตฺ ิ ความวา ยอมติดความเนือง ๆยอมนํามาบอ ยๆ. บทวา นนิ ฺทเมว อนเฺ วนฺติ ยอ มถกู นนิ ทาอยางเดียว คือยอมเขา ถึงการตเิ ตยี น. บัดนี้ เพราะพวกเจาทิฏฐิทง้ั หลาย แมกลา วอยวู า น้เี ทา นั้นจรงิยอ มไดรับแมความสรรเสรญิ ในบางครง้ั บางคราว ผลแหงวาทะ คือความสรรเสรญิ นั้นนอ ยไมส ามารถเพอ่ื สงบกิเลสมรี าคะเปน ตน ได จะกลาวอะไรถงึ ผลแหงการนนิ ทาครัง้ ที่สอง ฉะน้ัน พระผูมีพระภาคเจาเมอ่ื จะทรงแสดงความน้ัน จึงตรัสคาถาแกน ้กี อ น มอี าทวิ า ก็ความสรรเสริญนั้นเปนของนอ ย ไมพอเพอื่ สงบกิเลส ขาพระองคกลาวผลแหงความววิ าทเปน๒ อยาง. ในบทเหลาน้ัน บทวา ทเุ ว ววิ าทสสฺ ผลานิ ผลแหงวิวาท๒ อยาง ไดแ ก นินทา และสรรเสรญิ หรือความชนะและความแพเปน ตน อนั มีสวนเสมอกนั กับนนิ ทาและสรรเสริญน้ัน. บทวา เอตมปฺ ทสิ ฺวา คอื เห็นโทษในผลแหง วิวาทแมน น้ั วา นินทาเปนสิ่งไมน าปรารถนาเลย ความสรรเสริญนอยไมพอเพ่ือสงบกเิ ลสไดเลย. บทวา เขมาภปิ สฺสอวิวาทภูม๑ึ คือ เหน็ อยซู ึ่งภูมแิ หง ความไมว ิวาท คอื นพิ พานวา เปน ธรรม-ชาตเิ กษม. บทวา อปฺปก คือ นอ ย. บทวา ปรติ ฺตก คือ นิดหนอย. บทวาโอมก คือ ตาํ่ ชา. บทวา ลามก คือ ลามก. บทวา สมาย คือ เพอื่ความสงบกเิ ลสมรี าคะเปนตน. บทวา อุปสมาย เพ่อื เขาไปสงบ คอื เพ่ือ๑. บาลีวา อวิวาทภุมมฺ  .

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 267ความสงบสงู ขน้ึ รปู . บทวา วปู สมาย เพอื่ สงบวเิ ศษ คือเพอ่ื ใหจมหายไป.บทวา นพิ พฺ าปนาย เพื่อดับ คอื เพอ่ื ประโยชนแ กอมตมหานพิ พาน.บทวา ปฏินิสสฺ คฺคาย เพื่อสละคืน คือเพ่อื สละกเิ ลสท้งั หลายดว ยมรรค.บทวา ปฏปิ สสฺ ทฺธิยา เพ่อื ระงบั คอื ไมพอเพอ่ื ไมใหเ กิดความระงบัดวยผล. เพราะอยา งน้จี งึ ไมววิ าทกัน. พงึ ทราบคาถาวา ยากาจมิ า ทิฏฐเิ หลาใดเหลา หนึ่งเปน ตนดงั น้ี .ในบทเหลา น้นั บทวา สมมฺ ตโิ ย คือ ทฏิ ฐิทั้งหลาย. บทวา ปถุ ชุ ฺชาคือ ท่ีเกิดแตปุถุชน. บทวา โส อปุ ย กิเมยฺย บคุ คลน้ัน พึงถึงสังขารธรรมอันควรเขาถงึ อยา งไรเลา ความวา บคุ คลน้ัน พงึ เขาถึงธรรมแมอยา งหน่ึงในบรรดารปู เปนตน อันควรเขา ถงึ อยา งไรเลา หรอื พงึ เขาถึงดวยเหตุไรเลา. บทวา ทิฏเฐ สเุ ต ขนตฺ ิมกุพฺพมาโน คือ ไมท าํ ความชอบใจในรูปที่เหน็ และในเสยี งที่ฟงอนั หมดจดทง้ั หลาย. บทวา ปถุ ชุ ฺชเนหิ ชนติ า วา คือ สมมตเิ หลานัน้ อนั ปุถุชนใหเ กิด. บทวา ตา สมฺมติโย ไดแก ทฏิ ฐิเหลา นัน้ . บทวา ปุถุนานา-ชเนหิ ชนติ า วา คือ หรอื วาอนั เปน เจาทฏิ ฐติ าง ๆ มากใหเ กดิ . บทวาเนติ ตดั บทเปน น เอติ คือ ไมถ ึง. บทวา น อเุ ปติ ไมเขา ถึง คือไมเ ขา ไปใกล. บทวา น อุปคจฺฉติ ไมเ ขา ไปถงึ คอื กลบั . บทวานาภนิ วิ ิสติ ไมยึดม่นั คือไมเขาไปตงั้ มั่น. นอกเหนอื ไปจากนี้ พึงทราบคาถาวา สลี ตุ ตฺ มา สมณพราหมณท งั้ หลายผูสําคญั วา ศีลอุดม ดงั นี้เปนตน ตอ ไป. บทน้ันมีความดังน้ี สมณพราหมณผ เู จริญบางพวกสาํ คญั วา ศลี อดุ มสมาทานวัตรมวี ตั รของชา งเปนตน แลว เขา ไปต้งั อยู ไดกลาวความหมดจด

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 268ดวยความสํารวมวา ความหมดจดของศาสดาน้ัน ในทฏิ ฐินแ่ี หละสมณพราหมณเหลา นนั้ เปนผเู ขาถงึ ภพ สยบอยูในภพ ยอมกลา ววาเปนผฉู ลาด. อนง่ึ สมณพราหมณเหลาน้นั กลา ววา เปนผูฉลาด คือ มีวาทะอยางนี้วา เราเปน ผูฉลาด. บรรดาสมณพราหมณผ มู ีศลี อดุ ม อยางนี้เหลานนั้ สมณพราหมณคนใดคนหน่ึงปฏิบัตอิ ยางนนั้ พงึ ทราบคาถาวาสเจ จุโต ถา บุคคลเปน ผเู คล่อื นจากศลี และพรตน้ี ดงั นีเ้ ปนตน ตอไป. บทนั้นมคี วามดงั นี้ ถาบุคคลเปน ผเู คล่อื นจากศลี และพรต คือเปนผูเคลอ่ื น ดวยการตดั ขาดจากบคุ คลอนื่ หรอื ไมบรรลุ บคุ คลนน้ั พลาดมรรคคอื ศลี และพรตนั้น หรือกรรมมปี ุญญาภิสังขารเปน ตน แลว ยอ มหว่นั ไหวถงึ ภพ อนงึ่ ยอมอยาก เพอ เจอ และปรารถนาถึงความหมดจดของศลีและพรตนนั้ . เหมือนอะไร. เหมือนบุรษุ ออกจากเรอื นตามไปไมทันพวกฉะนนั้ เขาปรารถนาเรอื นนั้นหรอื พวก ดว ยการชี้ขาดของคนอ่นื ถกู คนอน่ืหา มหรือไมบ รรลุ เพราะเหตุนนั้ จงึ ไมย ังการปฏิบัตินัน้ ใหสมบรู ณได. บทวาายาปรทฺโธ พลาดจากอรหัตผล คือ เส่อื มจากนพิ พาน หรือจากมรรค. บทวา ต วา สตถฺ  อนพุ นธฺ ติ คอื ติดตามพวกน้นั ไปขา งหลงัในทุกแหง หน. พงึ ทราบคาถาวา อริยสาวกละศีลและพรตทั้งปวงอนั เปน เหตใุ หศ ีลอดุ มหวน่ั ไหวได ดงั น้ีเปนตน ตอ ไป. ในบทเหลา นั้น บทวา สาวชชฺ านวชชฺ  ละกรรมอันมโี ทษและไมมโี ทษ คอื อกุศลทง้ั หมด และกุศลทเี่ ปน โลกิยะ. บทวา เอต สทุ ธึอสทุ ฺธนิ ฺติ อปฏยาโน ไมป รารถนาความหมดจดและความไมห มดจดน้ีคอื ไมป รารถนาความหมดจด อันไดแ กก ามคุณ ๕ เปน ตน และความไมหมดจด อนั ไดแกอกศุ ลเปน ตน.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ท่ี 269 บทวา วิรโต จเร เปนผูเ วน แลว จงึ ประพฤติ คือ เปน ผเู วน แลวจากความหมดจดและความไมห มดจด พึงปฏิบตั ิ. บทวา สนฺติมนคุ ฺคหายคอื ไมย ดึ ถอื ทิฏฐ.ิ บทวา กณหฺ  กณฺหวปิ าก กรรมดํามีผลดํา คอื อกศุ ลกรรมใหผลเปนอกุศลวบิ าก. บทวา สุกกฺ  สุกฺกวปิ าก กรรมขาวมผี ลขาว คือ กุศลเปน โลกิยะใหผลขาว เชน เดียวกับดวยตน. บทวา นิยามาวกกฺ นตฺ ึ คือปรารถนาเขาสอู ริยมรรค. บทวา เสกฺขา คือ พระเสขะ ๗ จาํ พวก. บทวา อคคฺ ธมฺม คือธรรมสูงสุด ไดแ กอรหตั ผล. พระผมู พี ระภาคเจา คร้นั ทรงแสดงถึงการกําจัดวาทะอนั หมดจดดวยการสาํ รวมในศีลอดุ ม ภายนอกจากน้อี ยา งนข้ี องสมณพราหมณเหลา นน้ัและการปฏบิ ัตขิ องพระอรหนั ตผลู ะศลี และพรตแลว บัดนเี้ พอ่ื ทรงแสดงวาทะอนั บริสุทธิ์ภายนอกโดยประการอ่นื จงึ ตรัสคาถานีว้ า ตมูปนิสฺสายพวกสมณพราหมณอาศัยตบะน้นั ดังน้เี ปน ตน . บทน้ันมคี วามดังนี้ มีสมณพราหมณแมพ วกอื่นอาศยั ตบะทเ่ี กลยี ดชังน้นั หรืออาศัยอยา งใดอยางหน่ึงบรรดารปู ท่เี หน็ อนั หมดจดเปนตนเปนผกู ลา วความหมดจดในสงสารขางหนา ดว ยอกริ ิยทฏิ ฐิ ยังไมป ราศจากตณั หาในภพนอ ยภพใหญ ยอมพร่าํ พดู ถึงความหมดจด. บทวา ตโปชคิ จุ ฺฉวาทา มวี าทะเกลยี ดชงั ตบะ คือ สมณพราหมณทั้งหลาย มีวาทะละอายตอ บาปดว ยทําความเพียรมที รมานรา งกายเปน ตน. บทวา ตโปชคิ ุจฉฺ สารา มีความเกลยี ดชงั ตบะเปน สาระ คอื มี

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 270ความละอายดวยตบะน้ันเปน สาระ. บทวา อุทธฺ  สราวาทา คอื กลา วความหมดจดดวยสงสาร. อธิบายวา เม่อื สมณพราหมณเ หลาน้นั ผยู งั ไมปราศจากตัณหาอยา งนี้ยงั กลา วถึงความหมดจด แมผูใดสาํ คัญตนวา ถงึ ความหมดจดแลว เม่อืผนู ัน้ ยังปรารถนาวัตถุนน้ั ๆ ในภพนอยภพใหญ เพราะยงั ไมปราศจากตัณหา ยอมมคี วามอยากไดอยบู อย ๆ น่นั เอง. จริงอยู ตณั หาที่บุคคลเสพเปนอาจิณ ยอมเพิม่ ความทะเยอทะยานหนักขึน้ ไมเพยี งความอยากอยา งเดยี ว แมค วามหวน่ั ไหวกย็ อมมใี นเพราะวตั ถทุ ้ังหลายที่กาํ หนดไวแลว.ทานอธบิ ายวา แมค วามหวน่ั ไหวกย็ อ มมี ในเพราะวตั ถุทก่ี ําหนดไวดว ยตณั หาและทฏิ ฐ.ิ พงึ เช่อื มความแหงคาถาน้วี า การจตุ แิ ละอปุ บตั ิตอ ไป ไมม แี กภิกษใุ ดในศาสนานี้ เพราะปราศจากตัณหาแลว ในภพนอ ยและภพใหญ ภกิ ษนุ ัน้ พงึ หวนั่ ไหวดว ยเหตุอะไร พงึ ชอบใจในทไี่ หนดังนี้. บทวา อาคมน คือ มาบอย ๆ. บทวา คมน คอื ไปในภพอื่นจากภพน.้ี บทวา คมนาคมน ไปและมา คือไปจากนี้แลว กลับมาอีก.บทวา กาล คอื ความตาย. บทวา คติ คอื ควรไปตามคตดิ ว ยอํานาจแหงการไป. บทวา ยมาหุ ธมมฺ  สมณพราหมณบ างพวกกลา วธรรมใดวา เปนเยีย่ มดังนี้. เปนคาถาถาม. เพราะในวาทะเหลา นี้วาทะจริงไมม แี มแ ตอ ยา งเดยี ว เพราะสมณพราหมณเ หลา นน้ั พูดเพยี งแตเห็นอยา งเดียว ฉะนน้ับดั นพี้ ระผมู พี ระภาคเจาเมือ่ จะทรงแสดงความนั้น จึงตรัสคาถาแกน ้กี อ นวา สก หิ ธรรมของตนบรบิ รู ณ ดังนี้เปน ตน .

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย มหานทิ เทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 271 ในบทเหลา นั้น บทวา สมฺมตึ คอื ทฏิ ฐ.ิ บทวา อโนน คอื ไมพ รอง.เม่อื สมณพราหมณเหลา นี้ กลา วธรรมของตนวา เปน ธรรมบริบูรณ กลาวธรรมของตนอ่นื วาเลว พงึ ทราบความวา หากวาบุคคลเปนคนเลวเพราะคาํ ทผี่ ูอ่นื ตาํ หนดิ งั นเี้ ปน ตน. บทนน้ั มีความดงั นี้ ผวิ า บคุ คลพึงเปน คนเลว เพราะเหตุที่ผอู ่นืตาํ หนไิ ซร ใคร ๆ ก็ไมพ ึงเปน ผูว เิ ศษ คือ เลศิ ในธรรมทั้งหลาย เพราะอะไร เพราะปุถุชนยอ มกลา วธรรมของผูอื่น โดยความเปน ธรรมเลวชนทง้ั หลายเปนผูกลา วยืนยันในธรรมเปน ทางดาํ เนนิ ของตนเทานน้ั . บทวา วมฺภยติ การณา เพราะเหตุท่ีผูอืน่ ตําหนิ คือ เพราะถกู กําจดั . บทวา ครหติ การณา เพราะเหตุที่ผอู น่ื ตเิ ตยี น คือ เพราะเหตุทต่ี นทาํ ความลามกไว. บทวา อุปวทติ การณา เพราะเหตุท่ผี อู ืน่ คอนคือดา . บทวา สกายน คอื ทางดําเนนิ ของตน. มีอะไรท่จี ะกลา วอีกมีดังตอไปนี.้ พงึ ทราบคาถาวา สธมมฺ บูชา การบูชาธรรมเปนทางดําเนินของตนตอ ไป. บทนนั้ มคี วามดงั นี้ ก็แมการบูชาธรรมของสมณพราหมณเหลานัน้ ยอ มเปน ของจรงิ เหมอื นดงั พวกเดียรถียเ หลานนั้ สรรเสรญิ ธรรมเปนทางดาํ เนินของตน เพราะพวกเขานับถอื บูชาศาสดาเปน ตนอยา งยง่ิผิวา พวกเขาพงึ ถือเปน ประมาณในขอ นั้นได เมอ่ื เปนอยา งนน้ั วาทะทง้ั หมดกพ็ ึงเปน ของจรงิ . เพราะอะไร. เพราะความหมดจดของสมณ-พราหมณเหลา นัน้ เปนของเฉพาะตวั เทานั้น. ความสําเรจ็ นนั้ ยอมไมสาํ เร็จในบคุ คลอ่นื แมโ ดยปรมัตถก ็ไมม ี. เพราะความหมดจดน้นั เปน เพียงยดึ ถอื ดวยความเหน็ เทา นน้ั ของสมณพราหมณเหลาน้ัน ผูมีปญญาอัน

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนา ที่ 272บุคคลอ่ืนพึงแนะนํา. บทวา ปจฺจตตฺ เมว คอื เฉพาะตัวเทานน้ั . อน่งึโดยตรงกนั ขาม ผูใดชอ่ื วา เปน สมณพราหมณ เพราะลอยบาปไดแ ลวพึงทราบคาถาวา ญาณอันบุคคลอ่ืนแนะ นาํ ยอ มไมม ีแกพ ราหมณน ้นั . บทนัน้ มคี วามดงั น้ี ญาณอันบุคคลอื่นพึงแนะนาํ ยอ มไมม ีแกพราหมณ เพราะเปน ผูเหน็ ชอบแลวโดยนัยมอี าทิวา สงั ขารท้ังหลายทัง้ ปวงไมเ ที่ยงดังน้ี แมค วามตัดสินใจแลว ยดึ มั่นในธรรม คอื ทฏิ ฐทิ ้งั หลายวาน้ีเทานั้นจรงิ ดังนกี้ ไ็ มมแี กพราหมณ เพราะเหตุน้ัน พราหมณจงึ กาวลว งเสียแลวซึ่งความทะเลาะกนั ดว ยทฏิ ฐิ เพราะพราหมณนน้ั ยอมไมเหน็ ธรรมอน่ื โดยความเปน ธรรมประเสริฐ นอกจากสติปฏ ฐานเปนตน. บทวา น ปรเนยฺโย คอื พราหมณไมตองอาศยั ผูอ ื่นแนะนาํ คือใหร ู.บทวา ปรปตฺตโิ ย น ปรปจจฺ โย คือ ไมเชอ่ื ผอู น่ื . บทวา น ปรปฏพิ ทธฺ คูคอื ไมดําเนินเน่อื งดว ยผอู ื่น. พงึ ทราบการเช่อื มและความแหงคาถาวา ชานามิ เรายอ มรดู งั นี้เปน ตน ตอ ไป. เพราะพราหมณช ้นั เย่ยี ม (ปรมตั ถพราหมณ) ยอ มไมเ หน็ธรรมอน่ื โดยความเปน ธรรมประเสริฐอยางนี้กอ น สวนเดยี รถียพ วกอน่ืรอู ยดู ว ยปรจิตตญาณ (ญาณรูใจผอู ื่น) เปน ตน แมเ ห็นอยู แมก ลาวอยูอยา งนว้ี า เรารเู ราเห็นความหมดจดนเ้ี ปนของจรงิ ชอื่ วา ยอมเห็นความหมดจดดวยทิฏฐ.ิ เพราะเหตุไร. เพราะบรรดาสมณพราหมณเหลา น้นั หากวาแมส มณพราหมณผูหนึ่งไดเ หน็ แลว สมณพราหมณผ ูไดเ ห็นเน้ือความตามเปนจรงิ ดว ยปรจติ ตญาณเปน ตน นั้น จะมีประโยชนอ ะไรดวยการเหน็น้ันของสมณพราหมณนั้นเลา จะทําอะไรไดเ ลา จะกําหนดรูทุกขใหสําเรจ็ไดอ ยางไรเลา หรือวา พวกเดยี รถยี เหลานน้ั ลวงอริยมรรคแมโ ดยประการ

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 273ท้ังปวงอยางใดอยา งหน่งึ บรรดาการละเหตุแหง ทุกขเปน ตน ยอ มกลาวความบริสุทธด์ิ วยทศั นะอื่น พระพทุ ธเจา เปนตน ทรงกา วลว งเดยี รถยี เหลา นั้น ยอ มกลา วความบรสิ ุทธดิ์ วยทศั นะอนื่ นัน่ แล. พึงทราบการเชอ่ื มและความแหง คาถาวา ปสฺส นโร นรชนเมื่อเห็นดงั นี้เปน ตน . มีอะไรทีจ่ ะกลา วยิง่ กวานอี้ ีก มดี งั ตอ ไปนี้. นรชนใดไดเหน็ ดวยปรจติ ตญาณเปนตน นรชนน้นั เมอ่ื เหน็ ก็ยอ มเห็นนามรปู ไมอนื่ไปจากนั้น หรอื เหน็ แลวก็รูจักนามรูปเหลา นั้นเทา น้นั โดยความเปน ของเที่ยงหรอื โดยความเปนสขุ ไมเ หน็ เปนอยา งอืน่ นรชนเมือ่ เหน็ อยา งนี้เห็นนามรูปมากบา ง นอ ยบา ง โดยความเปนของเทย่ี ง และโดยเปนสุขโดยแท ถงึ อยางน้นั ผฉู ลาดทั้งหลาย ยอมไมกลา วความหมดจดดวยความเห็นนามรปู นนั้ เลย. พงึ ทราบการเช่อื มและความแหงคาถาวา นวิ ิสฺสวาที นรชนผูกลาวดว ยความถอื ม่นั ดังนีเ้ ปน ตนตอไป. แมเมอื่ ความบรสิ ุทธไิ์ มมดี วยความเหน็ น้ัน นรชนใดกลา วดวยความถือมน่ั อยา งนว้ี า เรารเู ราเหน็ ความบรสิ ทุ ธ์นิ ้ันเปน จริง หรอื อาศัยความเห็นนั้น ถือความบริสุทธิ์ดวยทฏิ ฐิกลา วดวยความถือมั่นอยางน้ีวา นี้เทา นั้นจรงิ นรชนนั้นเปนผูอนั ใคร ๆไมพึงแนะนาํ ใหดีได เปน ผูเ ชดิ ทิฏฐทิ ี่กําหนดปรงุ แตง แลว ไวในเบื้องหนานรชนัน้ นอาศยั วตั ถุใดมศี าสดาเปนตน กก็ ลา ววตั ถุนั้นวา งามในเพราะทฏิ ฐนิ ้นั สาํ คัญตนวา เราเปนผูมวี าทะหมดจด มีวาทะบรสิ ทุ ธด์ิ งั น้ี ไดเห็นวา แทใ นทิฏฐนิ นั้ คอื ไดเห็นความไมว ปิ รติ ในทฏิ ฐขิ องตนนัน้ . อธิบายวา ทฏิ ฐินนั้ เปนไปอยางใด ไดเหน็ ทิฏฐนิ ้ันเปนไปอยางน้ัน ไมป รารถนาจะเหน็ โดยประการอ่ืน.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เลม ๕ ภาค ๒ - หนาท่ี 274 บทวา นวิ สฺสวาที คือ กลา วเพราะความม่ันใจ. บทวา ทพุ พฺ ินโยคือ ยากทจ่ี ะแนะนําได. บทวา ทุปปฺ ฺ าปโย คอื ยากทจ่ี ะใหรู คือใหไดอยางใจได. บทวา ทนุ ฺนชิ ฺฌาปโย ยากที่จะใหเ ขาใจได คือ ยากทจี่ ะใหเขาใจบอ ย ๆ เพือ่ ทดสอบใจแลวถือเอาได. บทวา ทปุ ฺเปกฺขาปโย คอื ยากท่จี ะใหเ หน็ ได. บทวา ทุปปฺ สาทโย คอื ยากที่ใหจ ติ เกดิ ความเล่ือมใสได. บทวา อปสฺสิ ไดเ หน็ แลว คอื ไดบรรลปุ ฏเิ วธดวยญาณ. บทวาปฏวิ ชฺฌิ ไดแทงตลอด คือไดบ รรลคุ วามตรสั รูดว ยจิต. พึงทราบความในเดียรถียท ัง้ หลาย ผเู ชดิ ทฏิ ฐิท่ีกาํ หนดไวใ นเบอื้ งหนา ดงั ตอ ไปน้.ี พึงทราบคาถาวา น พฺราหมฺ โณ กปปฺ มุเปติ สงฺข ๑ พราหมณทราบดวยญาณแลวยอ มไมเ ขาถึงซ่ึงความกําหนด ดงั นเ้ี ปนตนตอ ไป.ในบทเหลานน้ั บทวา สงขฺ  ๒ ความวา ทราบแลว คือรแู ลว . บทวานป าณพนธฺ ุ ไมม ตี ัณหาหรอื ทฏิ ฐิเปน เครื่องผกู พันเพราะญาณ คือไมทําตัณหาหรือทิฏฐเิ ปนเคร่อื งผูกพนั ดวยสมาปตตญิ าณเปน ตน . ในบทนน้ั มวี เิ คราะหวา ชื่อวาไมมตี ัณหาหรอื ทฏิ ฐิเปน เครอ่ื งผกู พนั เพราะญาณเพราะมวี เิ คราะหว า ไมมีตัณหาและทิฏฐเิ ปน เคร่ืองผกู พนั อันทําแลวดว ยญาณ. บทวา สมฺมติโย ไดแก สมมตคิ อื ทิฏฐ.ิ บทวา ปุถุชชฺ า คือเปนแดนเกดิ ของปุถชุ น. บทวา อคุ คฺ หณนตฺ ิ มเฺ  คอื สมณพราหมณเหลา อน่ื ยอ มถอื ม่นั . อธิบายวา สมณพราหมณเ หลา อน่ื ยอมถือม่ันทฏิ ฐิเหลานัน้ . บทวา อเุ ปกขฺ ติ ยอ มวางเฉย คอื ไมเ พง ดตู ง้ั แตเกดิ . มอี ะไรทก่ี ลาวใหย ่ิงไปอีก มีดังตอไปน้ี.๑. ๒. ม. สงฺขา แกเ ปน สงฺขาย.




















































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook