Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_41

tripitaka_41

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_41

Search

Read the Text Version

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 151ตลอดชีวิต เขายอ มไมร ธู รรม เหมือนทพั พีไมร ูรสแกงฉะนั้น. ๖. ถา วญิ ชู นเขา ไปนงั่ ใกลบ ณั ฑิตแมค รูเดยี วเขายอ มรูแจงธรรมไดฉ ับพลนั เหมือนล้นิ รรู สแกงฉะนน้ั . ๗. ชนพาลท้ังหลาย มปี ญ ญาทราม มีตนเปน ดงั ขา ศกึ เท่ยี วทาํ กรรมลามกซ่ึงมีผลเผด็ รอ นอย.ู ๘. บุคคลทาํ กรรมใดแลว ยอ มเดอื ดรอ นในภายหลัง เปน ผูมีหนา ชุมดว ยนํ้าตา รองไหเ สวยผลของกรรมใดอยู กรรมนั้นอนั บุคคลกระทาํ แลวไมดีเลย. ๙. บคุ คลทาํ กรรมใดแลว ยอมไมเ ดือดรอนในภายหลังเปน ผเู อบิ อ่ิม มีใจดี ยอมเสวยผลของกรรมใด กรรมน้นั แล อนั บคุ คลทาํ แลว เปนกรรมด.ี ๑๐. คนพาลยอ มสําคญั บาปประดจุ นา้ํ ผ้ึง ตราบเทาที่บาปยังไมใหผ ล กเ็ มอ่ื ใดบาปใหผล เมอ่ื น้ันคนพาลยอมประสบทกุ ข. ๑๑. คนพาลพงึ บรโิ ภคโภชนะดวยปลายหญาคาทกุ ๆ เดือน เขายอ มไมถ งึ เส้ียวท่ี ๑๖ แหงทานผูมธี รรมอนั นับไดแลว . ๑๒. ก็กรรมชว่ั อนั บคุ คลทําแลว ยังไมใ หผลเหมอื นนา้ํ นมท่ีรีดในขณะนนั้ ยงั ไมแ ปรไปฉะน้ัน

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 152บาปกรรมยอมตามเผาคนพาล เหมอื นไฟอันเถากลบไวฉ ะนัน้ . ๑๓. ความรูย อมเกิดแกค นพาล เพียงเพ่อืความฉิบหายเทา นั้น ความรนู ั้นยงั หวั คดิ ของเขาใหตกไป ยอ มฆาสว นสุกกธรรมของคนพาลเสยี . ๑๔. ภิกษุผพู าล พงึ ปรารถนาครามยกยองอนัไมมอี ยู ความแวดลอมในภิกษทุ ง้ั หลาย ความเปนใหญใ นอาวาส และการบชู าในตระกลู แหงชนอื่นความดํารยิ อมเกดิ ขน้ึ แกภิกษผุ พู าลวา คฤหสั ถและบรรพชติ ท้ังสองจงสําคัญกรรมอันเขาทาํ เสรจ็ แลวเพราะอาศยั เราผูเ ดยี ว จงเปน ไปในอํานาจของเขาเทา น้ัน ในกจิ นอ ยใหญก ิจไร ๆ รษิ ยาและมานะยอ มเจรญิ ( แกเธอ). ๑๕. ก็ขอ ปฏบิ ัตอิ นั เขา ไปอาศัยลาภ เปนอยางอน่ื ขอ ปฏบิ ัติอันยังสตั วใหถงึ พระนิพพานเปนอยางอ่นื (คนละอยา ง) ภิกษผุ เู ปนสาวกของพระ-พุทธเจาทราบเนอ้ื ความนนั้ อยางน้แี ลว ไมพ ึงเพลดิ -เพลนิ สักการะ พงึ ตามเจริญวเิ วก. จบพาลวรรคท่ี ๕.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 153 ๕. พาลวรรควรรณนา ๑. เรื่องบุรษุ คนใดคนหนึง่ [๔๕] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมือ่ ประทับอยูใ นพระเชตวนั ทรงปรารภพระเจา -ปเสนทิโกศลและบุรุษคนใดคนหน่งึ ตรัสพระธรรมเทศนานี้วา \"ทฆี าชาครโต รตตฺ \"ิ เปนตน . พระราชาประทักษณิ พระนคร ไดย นิ วา ในวันมหรสพวันหนึ่ง พระราชา พระนามวา ปเสนทิ-โกศล ทรงชางเผอื กลว นเชอื กหน่งึ ชอ่ื ปณุ ฑรีกะ ซ่งึ ประดับประดาแลว ทรงทาํ ประทักษณิ พระนครดวยอานภุ าพแหง พระราชาอันใหญ.เมอื่ อาญาเปนเหตุใหบคุ คลลุกไป เปน ไปอยู,๑ มหาชนถกู ราชบุรุษโบยดว ยวตั ถุมีกอ นดนิ และทอ นไมเปนตน หนไี ป ก็ยงั เอยี้ วคอกลบั แลดอู ยูนั้นแล. ไดย ินวา ขอน้ี เปน ผลแหงทานท่ีพระราชาทั้งหลายทรงถวายดแี ลว . อาํ นาจความรกั ภรรยาของทุคคตบรุ ุษแมค นใดคนหนง่ึ ยืนอยูทพี่ ้ืนชน้ั บนแหงปราสาท ๗ ชนั้ เปดบานหนาตางบานหน่ึง พอแลดพู ระราชาแลว ก็หลบไป. การหลบไปของหญิงนน้ั ปรากฏแกพระราชา ราวกบั วา พระ-๑. หมายความวา ตาํ รวจกาํ ลังทําการขบั ไลไมใหย นื เกะกะทางเสดจ็ .

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 154จันทรเพ็ญเขาไปสกู ลบี เมฆ. ทาวเธอ ทรงมีพระหฤทัยปฏิพัทธใ นหญิงน้ัน เปนประหน่งึ วา ถึงอาการพลดั ตกจากคอชา ง ทรงรบี กระทําประ-ทกั ษิณพระนครแลว เสดจ็ เขา สูภายในพระราชวงั ตรัสกะอํามาตยค นสนิทนายหนึ่งวา \"ปราสาทท่เี ราแลดูในทโี่ นน เธอเห็นไหม ?\" อํามาตย. เหน็ พระเจา ขา. พระราชา. เธอไดเหน็ หญงิ คนหน่งึ ในปราสาทนนั้ ไหม ? อํามาตย. ไดเห็น พระเจา ขา . พระราชา. เธอจงไป. จงรคู วามที่หญงิ นัน้ มีสามหี รือไมมสี าม.ี อาํ มาตยนั้นไปแลว ทราบความที่หญงิ นัน้ มสี ามี จึงมากราบทลูแกพระราชาวา \"หญงิ น้นั มีสามี.\" ทีน้ัน เม่ือพระราชา ตรัสวา\" ถากระนั้น เธอจงเรยี กสามีของหญงิ น้ันมา,\" อํามาตยน ั้น ไปพูดวา\" มานี่แนะ นาย, พระราชารับสง่ั หาทา น,\" บุรษุ น้ัน คิดวา \"อนัภยั พงึ บงั เกิดขนึ้ แกเรา เพราะอาศัยภรรยา\" เม่อื ไมอาจจะขัดขนื พระ-ราชอาญา จงึ ไดไ ปถวายบงั คมพระราชา ยนื อยแู ลว . ขณะนัน้ พระราชาตรสั กะบุรษุ นน้ั วา \"เธอจงบํารงุ เรา.\" บรุ ษุ . ขาแตส มมตเิ ทพ อยา เลย. ขา พระองค ทาํ การงานของตนถวายสวยแดพ ระองคอยู, การเล้ียงชพี นน้ั แล จงมแี กข าพระองคเถดิ . พระราชาตรสั วา \"เราไมม คี วามตอ งการดวยสวยของเธอ, จาํ เดมิแตว ันนไ้ี ป เธอจงบํารงุ เรา\" แลว ใหพ ระราชทานโลและอาวธุ แกบ ุรษุน้นั . ไดยนิ วา พระราชา ไดท รงดําริอยา งนี้วา \"เราจกั ยกโทษบางอยา งของเขาขนึ้ แลว ฆา เสีย ริบเอาภรรยา.\" ทีน้นั เขากลวั แตมรณภยั

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 155เปน ผไู มป ระมาท บํารงุ พระราชานั้นแลว . พระราชาไมท รงเห็นชอง(โทษ) แหง บุรุษนน้ั เมื่อความเรารอนเพราะกามเจรญิ อย.ู ทรงดําริวา\" เราจะยกโทษของบุรุษน้ันขนึ้ สักอยางหน่งึ แลว ลงราชอาญา\" จึงรบัส่ังใหเ รยี กบรุ ุษนน้ั มาแลว ตรัสอยา งน้ันวา \" ผูเจริญ เธอจงไปจากท่นี ี้ท่ีชอ่ื โนน แหงแมน ้ําในที่สดุ ประมาณ ๕ โยชน นาํ เอาดอกโกมทุดอกอุบลและดินสอี รุณมา (ใหท นั ) ในเวลาเราอาบน้าํ ในเวลาเย็น, ถาเธอไมพงึ มาในขณะนนั้ , เราจกั ลงอาญาแกเธอ.\" ความลําบากในราชสาํ นกั ไดยินวา เสวก ( ผเู ขา เฝา ) ลาํ บากกวา ทาสแมทัง้ ส.่ี จริงอยูทาสท้งั หลาย มีทาสท่ีเขาไถมาดวยทรพั ยเปนตน ยงั ไดเ พอ่ื จะพดู วา\" ผมปวดศรี ษะ, ผมปวดหลงั \" แลว พกั ผอน. คาํ ที่ทาสท้ังหลายกลา วแลว ไดพักผอนนนั่ ยอ มไมมแี กเ สวก,เสวกควรทําการงานตามรบั ส่ังเทานัน้ ; เพราะเหตุนน้ั บรุ ุษนั้น คดิ อยูวา\" เราตองไปเปน แนแท. ชื่อวา ดินสีอรณุ กับดอกโกมุทและดอกอุบล ยอมเกดิ ในภพแหงนาค, เราจักไดท ไี่ หน ?\" กลวั แตมรณภยั ไปเรอื นแลวกลา ววา \"หลอ น ภตั สาํ หรับฉนั สาํ เร็จแลว หรอื ?\" ภรรยา กลาววา\" ยังต้ังอยูบ นเตา นาย.\" เขาไมอาจจะรออยู จนกวา ภรรยาจะปลงภัตลงได จงึ ใหภรรยาเอากระบวยตกั น้าํ ขาวเท (ปนกับ ) ขาวท่ีแฉะน้นั เองลงในกระเชา พรอ มดว ยกับตามแตจ ะได ถอื เอาแลว เดินดมุ ไปแลว ส้ินทางโยชนหน่งึ . เมื่อเขากําลงั เดินไปนนั่ แหละ ภตั ไดสุกแลว . เขาแบง ภัตไวหนอ

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 156หนง่ึ กระทําไมใ หเปนเดนบรโิ ภคอยู พบคนเดนิ ทางคน หนงึ่ จงึ กลา ววา\" ภตั หนอยหนงึ่ เทานั้น ฉนั แบง ออกกระทําไมใหเ ปนเดนมอี ย,ู เธอจงรับไปบริโภคเถดิ นาย.\" เขารับไปบริโภคแลว. แมบรุ ุษนอกน้ี ก็โปรยภตั ลงในนํา้ กํามือหนง่ึ บว นปากแลว ประกาศขึ้น ๓ คร้งั ดวยเสยี งอนัดังวา \"ขอพวกนาค ครุฑและเทวดา ผูสงิ อยูในประเทศแหง แมน ้ําน้ีจงฟง คาํ ของขาพเจา ; พระราชาทรงปรารถนาจะลงอาญาแกข า พเจาทรงบังคบั ขา พเจาวา \"เธอจงนําเอาดินสอี รุณกับดอกโกมุทและดอกอุบลมา,\" ก็ภัตที่ขา พเจา ใหแกมนษุ ยเดินทางแลว, ทานทขี่ า พเจาใหแ ลวนนั้มีอานิสงสต ง้ั พนั , ภัตที่ขาพเจาใหแ กป ลาทง้ั หลายในน้ํา, ทานทข่ี า พเจาใหน น้ั มีอานสิ งสตั้งรอย, ขา พเจาใหผลบญุ ประมาณเทานี้ ใหเ ปนสวนบญุแกทานทงั้ หลาย; ทานท้ังหลายจงนําดินสอี รุณกับดอกโกมทุ และดอกอุบลมาใหแ กขาพเจาเถิด.\" พระยานาค ผูอาศยั อยูใ นประเทศนัน้ ไดย ินเสยี งน้นั จงึ ไปสูสํานักบุรษุ น้ัน ดว ยเพศแหง คนแก กลา ววา \" ทานพดู อะไร ? บุรุษนนั้ จึงกลาวซํา้ อยางน้นั นั่นแหละ, เมอื่ พระยานาค กลา ววา \" ทา นจงใหส ว นบญุ น้ันแกเรา,\" จงึ กลา ววา \" เราให นาย \" เมอ่ื พระยานาคกลา วแมอ กี วา \"ทา นจงให\" กก็ ลา ว (ยนื คาํ ) วา \"เราให นาย,\"พระยานาคนนั้ ใหน ํ้าสว นบุญมาอยางนั้นสิ้น ๒ - ๓ คราวแลว จงึ ไดใหด นิ สอี รณุ กบั ดอกโกมุทและดอกอบุ ล (แกบรุ ษุ นนั้ ). ฝา ยพระราชา ทรงดําริวา ธรรมดามนษุ ยท ั้งหลาย มีมนตม าก,ถาบุรษุ น้นั พึงได (ของนน้ั ) ดว ยอุบายบางอยางไซร, กิจของเราก็ไมพงึ สาํ เร็จ,\" ทาวเธอรับสง่ั ใหปด ประตู (เมอื ง) เสยี แตวนั ทเี ดียว แลว

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 157ใหน ําลูกดาลไปยงั สาํ นกั ของพระองค. บรุ ษุ แมน อกน้ี มาทันในเวลาพระราชาทรงสรงสนานเหมือนกนัเมือ่ ไมไดป ระตู จึงเรียกคนยามประตู กลาววา \"ทานจงเปดประต.ู \"คนยามประตูกลา ววา \"เราไมอาจจะเปดได. พระราชารับสัง่ ใหน ําลกู ดาลไปสพู ระราชมนเทียรแตกาลยังวันทีเดียว.\" บรุ ุษนนั้ แมบ อกวา \" เราเปนราชทูต, ทานจงเปดประต\"ู เม่ือไมไดป ระตู จงึ คดิ วา \" บัดน้ีเราจะไมมชี ีวติ . เราจักทําอยางไรหนอแล ?\" แลว โยนกอนดินไปท่ีธรณีประตขู างบน แขวนโอกไมไ วบ นธรณีประตูนน้ั ตะโกนรอ งข้ึน ๓ คร้งัวา \"ชาวพระนคร ผเู จริญท้งั หลาย ขอทานทงั้ หลาย จงรคู วามทก่ี ิจอันขาพเจากระทําตามรบั สั่งของพระราชาแลวเถิด; พระราชาทรงใครจ ะยังเราใหพนิ าศ ดว ยเหตุไมสมควร\" แลว คดิ อยูวา \" เราจักไปที่ไหนหนอแล ? ไดทาํ ความตกลงใจวา \"ธรรมดาภิกษุทัง้ หลาย มใี จออนโยน.เราจักไปสูวิหารแลวนอน.\" ธรรมดาสัตวเ หลา น้ี ในเวลาไดรับสขุ ไมทราบแมค วามทภี่ กิ ษุทั้งหลายมอี ยู พอถูกทุกขครอบงาํ จึงปรารถนาจะไปวิหาร; เพราะเหตุนน้ั แมบรุ ุษนนั้ ก็คดิ วา \" ทพ่ี ง่ึ อยางอ่ืนของเราไมม ี\"จึงไปยังวหิ าร นอนอยใู นทสี่ าํ ราญแหงหนึง่ แมเมอ่ื พระราชา ไมไดการหลับอยตู ลอดราตรี ทรงรําพงึ ถึงหญิงอย,ู ความรมุ รอ นเพราะกามเกิดขน้ึแลว . ทาวเธอทรงคิดวา \"ในขณะท่รี าตรสี วางแลวนั่นแหละ เราจกั ใหฆาบุรษุ น้ันเสยี แลว ใหน าํ เอาหญงิ น้ันมา.\" เร่ืองของเปรตผูก ลาวอกั ษร ท.ุ สะ. นะ. โส. ในขณะนัน้ นั่นแล บรุ ุษ ๔ คนทเ่ี กดิ ในนรก ชอื่ โลหกมุ ภี ซ่ึงลกึ ได ๖๐ โยชน ถูกไฟนรกไหมกลง้ิ ไปมาอยู ดจุ ขาวสารในหมอที่

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 158กําลังเดอื ดพลา น (จมลงไป) ถงึ พนื้ ภายใต ๓ หม่นื ปแ ลว (ลอยข้นึ มา)ถงึ ท่ีขอบปากโดย ๓ หม่ืนปอ ีก. สตั วนรกเหลาน้ัน ยกศีรษะข้นึ แลดูกันและกนั แลว ปรารถนาเพอ่ื จะกลาวคาถาตนละคาถา ( แต ) ไมอ าจจะกลาวได จึงกลาวอักษรตนละอกั ษร แลว หมนุ กลับไปสูโลหกมุ ภีอยา งเดิม. พระราชา เม่ือไมทรงไดการหลับ ไดยินเสยี งน้นั ในระหวางแหงมัชฌิมยาม ทรงหวาดหวน่ั มพี ระทัยสะดุง ทรงดํารวิ า \"อนตรายแหง ชวี ิต จกั มีแกเ ราหรอื หนอ ? หรอื จกั มีแกพ ระอัครมเหส.ี หรือราชสมบัตขิ องเราจักพนิ าศ ?\" ไมอาจหลับพระเนตรทัง้ สองไดตลอดคืนยงั รุง . พอเวลาอรุณขนึ้ ทาวเธอรบั สง่ั ใหห าปุโรหติ มาแลว ตรสั วา\" อาจารย เสียงทน่ี ากลวั อยางใหญ เราไดยนิ ในระหวางแหงมชั ฌิมยาม.เราไมท ราบวา 'อันตรายจกั มแี กราชสมบัติ หรือแกพ ระมเหสี แกเ ราหรอื แกใคร ?' เพราะเหตุน้ัน เราจงึ ใหเชญิ ทานมา.\" พราหมณโ งใหพระราชาบูชายัญ ปโุ รหิต. ขาแตม หาราช เสยี งท่ีพระองคทรงสดบั อยา งไร ? ราชา. อาจารย เราไดย นิ เสยี งเหลานี้วา ' ท.ุ สะ. นะ. โส.' ทา นจงใครครวญผลสาํ เรจ็ แหง เสยี งเหลานีด้ ู. เหตอุ ะไร ๆ ยอ มไมปรากฏแกพราหมณ ราวกะเขา ไปสทู ี่มดื ใหญ.ปโุ รหติ นัน้ กลวั วา \"ก็เมือ่ เราทูลวา 'ขาพระองคไมท ราบ' ดงั นี้ ลาภสกั การะของเราจักเสอ่ื ม\" จงึ ทูลวา 'ขาแตม หาราช เหตนุ ีห้ นัก.\"

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 159 ราชา. เหตอุ ะไร ? อาจารย. ปุโรหติ . อนั ตรายแหง ชีวติ จะปรากฏแกพ ระองค. พระราชาทรงหวาดหวนั่ ตัง้ ๒ เทา ตรสั วา \"อาจารย เหตเุ คร่อื งบําบัดอะไร ๆ มอี ยูหรอื ?\" ปุโรหิต. มีอยูมหาราช พระองคอ ยา ทรงหวาดหวั่นเลย ขาพระ-องครูพ ระเวท ๓.๑ ราชา. เราไดอ ะไรเลา ? จงึ จะควร. ปุโรหิต. ขอเดชะ พระองคท รงบูชายญั มสี ตั วอยางละ ๑๐๐ทุกอยา งแลว จักไดช ีวติ . ราชา. ไดอะไร ? จึงควร ปุโรหติ นน้ั เมื่อจะใหจ ับปาณชาตชิ นดิ หน่งึ ๆ ใหไ ดช นิดละ ๑๐๐อยา งน้ี คอื ชาง ๑๐๐ มา ๑๐๐ โคอุสภะ ๑๐๐ แมโ คนม ๑๐๐ แพะ ๑๐๐แกะ ๑๐๐ ไก ๑๐๐ สกุ ร ๑๐๐ เด็กชาย ๑๐๐ เดก็ หญงิ ๑๐๐, จึงคดิวา \" ถา เราจกั ใหจ ับเอาแตจําพวกเนือ้ เทานน้ั , ชนทั้งหลายก็จะพดู วา'ปโุ รหติ ใหจ บั เอาแตสัตวท เ่ี ปนของกนิ ไดส ําหรับคนเทานัน้ ;\" เพราะเหตุนน้ั จึงใหจ ับทั้งจําพวก ชา ง มา และมนษุ ย (ดว ย). พระราชาทรงดาํ รวิ า \" ความเปน อยขู องเราน่ันแหละเปนลาภของเรา\" จงึ ตรัสวา\" ทานจงจบั สัตวท ุกชนิดเร็ว.\" พวกมนุษยผ ูไดรบั สง่ั กจ็ ับเอามากเกนิประมาณ.๑. เวท ๓ คอื อริ พุ เพท เปนคมั ภีรม ีคาถากลา วถึงช่อื เทวดาและออนวอนขอใหช วยกาํ จัดภัยตา ง ๆ ๑ ยชพุ เพท เปน คมั ภรี กลาวถงึ พิธกี ารบชู ายัญ เชน เซนสรวงตาง ๆ ๑ สามเพท เปนคัมภีรกลาวถงึ อุบายชนะศึก ๑.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 160 บาลีโกสลสงั ยุต จริงอยู พระธรรมสงั คาหกาจารย กลาวแมคาํ น้ีไวในโกสลสังยตุ ๑\" กโ็ ดยสมยั นน้ั แล ยญั ใหญเปน อาการปรากฏเฉพาะ แกพ ระเจาปเสนทิ-โกศลแลว, โคอุสภะ ๕๐๐ ลกู โคผู ๕๐๐ ลกู โคตัวเมีย ๕๐๐ แพะ๕๐๐ แกะ ๕๐๐ ถูกนําเขา ไปหาหลักแลว เพอื่ ประโยชนแกย ญั , สตั วเหลานั้นแมใ ด คือทาสกด็ ี, ทาสีกด็ ี, คนใชก็ดี, กรรมกรก็ด,ี ยอ มมีเพ่อื ยญั นนั้ , สตั วแมเหลา น้นั , ถูกเขาคุกคามดวยอาญา ถูกภยั คุกคามแลว มหี นา ชมุ ดวยนาํ้ ตา รอ งไห กระทําบรกิ รรม (ครํา่ ครวญ ) อย.ู \" พระนางมัลลกิ าทรงเปล้อื งทุกขข องสัตว มหาชน ครํา่ ครวญอยูเพอื่ ประโยชนแกหมญู าตขิ องตน ๆ ไดร องเสียงดังแลว ; เสียงนนั้ ไดเ ปนราวกะวาเสียงถลม แหง มหาปฐพ.ี คร้ังน้นัพระนางมัลลิกาเทวี ทรงสดับเสียงน้นั แลว เสดจ็ ไปสูราชสาํ นกั ทลู ถามวา\" ขา แตม หาราช เพราะเหตไุ รหนอแล ? พระอินทรียข องพระองคไ มเปนปกติ พระองคย อมทรงปรากฏดจุ มพี ระรูปอดิ โรย.\" ราชา. ประโยชนอ ะไรของเธอเลา ? มัลลกิ า, เธอไมร ูอสรพษิเลอื้ ยอยใู นทใี่ กลห ขู องเราหรือ ? มลั ลิกา. น้ันเหตุอะไร ? พระเจาขา. ราชา. ในสวนราตรี เราไดย ินเสยี งช่อื เหน็ ปานนี,้ เราจงึ ถามปโุ รหติ ไดส ดับวา 'อันตรายแหง ชวี ิตยอ มปรากฏแกพ ระองค, พระ-องคทรงบูชายญั มสี ตั วชนิดละ ๑๐๐ ทกุ ชนดิ แลว จกั ไดช ีวิต' เรา๑. ส . ส. ๑๕/๑๐๙.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 161จงึ คดิ วา 'ความเปน อยูของเรานน่ั แหละ เปนลาภของเรา' จึงสงั่ ใหจ บัสตั วเ หลานน้ั ไวแ ลว. พระนางมลั ลิกาเทวี ทลู วา \"ขา แตมหาราช พระองคเ ปน คนอันธพาล; ทรงมภี ักษามก พระองคยอมเสวยโภชนะอนั หุงดว ยขาวต้งัทะนาน มสี ปู ะและพยัญชนะหลาก ๆ หลายอยาง พระองคท รงราชยในแควนท้ังสอง กจ็ รงิ แตพ ระปญญาของพระองคย ังเขลา.\" ราชา. เพราะเหตุไร ? เธอจึงพดู อยางนน้ั . มัลลิกา. การไดช ีวติ ของคนอนื่ เพราะการตายของคนอ่ืน พระ-องคเคยเห็น ณ ท่ีไหน ? เพราะเหตุไร พระองคจงึ ทรงเช่อื ถอยคาํ ของพราหมณผูอ ันธพาลแลว โยนทกุ ขไ ปในเบือ้ งบนของมหาชนเลา ? พระ-ศาสดา ผเู ปนอคั รบุคคลของโลกท้งั เทวโลก มพี ระญาณไมข ัดขอ งในกาลทง้ั หลายมอี ดตี กาลเปน ตน ประทบั อยูใ นวิหารใกลเคยี ง, พระองคทูลถามพระศาสดานนั้ แลว จงทรงกระทาํ ตามพระโอวาทของพระองคเ ถดิ . ครัง้ น้ันแล พระราชา เสด็จไปวิหารกบั พระนางมัลลกิ า ดวยยานเบา ถูกมรณภัยคุกคามแลว ไมอ าจทลู อะไร ๆ ได ถวายบังคมพระศาสดาแลว ประทบั นงั่ ณ สว นขา งหนึ่ง. ลําดบั นัน้ พระศาสดาทรงทักทายพระราชาน้นั กอ นวา \"เชิญเถิด มหาบพิตร พระองคเ สดจ็ มาจากไหนแตยังวนั นกั เลา ?\" พระราชาแมนน้ั กท็ รงนง่ั น่งิ เงยี บเสยี . ลําดบั น้นัพระนางมัลลกิ า กราบทูลแดพระผูมพี ระผูม ีภาคเจา วา \"ขาแตพ ระองคผเู จรญิ ไดท ราบวา พระราชาทรงสดับเสยี ง (ประหลาด) ในระหวา งแหงมชั ฌิมยาม, เมื่อเชนนั้นทา วเธอจงึ ทรงบอกเหตุนั้นแกป ุโรหิต, ปโุ รหติกราบทูลวา 'อันตรายแหงชีวิตจักมีแกพ ระองค, เมือ่ พระองคจับสัตวอ ยางละ































































พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 193จะทรงแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถาน้ีวา :- ๖. มุหุตฺตมป เจ วิฺู ปณฑฺ ิต ปยิรปุ าสติ ขิปฺป ธมฺม วิชานาติ ชวิ ฺหา สปู รส ยถา. \"ถา วญิ ูชน เขา ไปนง่ั ใกลบัณฑิต แมครู เดยี ว, เขายอ มรแู จงธรรมไดฉับพลัน, เหมือนลนิ้ รรู สแกงฉะน้ัน. แกอรรถ พึงทราบเนอื้ ความแหงพระคาถานีว้ า :- \" ถาวิญชู น คือวา บุรุษผบู ณั ฑิต เขา ไปนั่งใกลบ ณั ฑติ อน่ืแมครูเ ดียว, เขาเรียนอยู สอบสวนอยู ในสาํ นกั บณั ฑติ อ่ืนนั้น ชอื่ วายอ มรูแจงปรยิ ัติธรรมโดยพลนั ทีเดียว, แตนนั้ เขาใหบ ณั ฑติ บอกกัมมฏั ฐานแลว เพียรพยายามอยูในขอปฏิบตั ,ิ เปนบัณฑติ ยอมรแู จงแมโลกุตรธรรมพลนั ทเี ดียว, เหมือนบุรษุ ผมู ีชวิ หาประสาทอนั โรคไมก ําจัดแลว พอวางอาหารลงท่ปี ลายล้นิ เพอื่ จะรรู ส ยอมรูร ส อันตางดวยรสเคม็ เปน ตน ฉะนัน้ .\" ในกาลจบเทศนา ภิกษเุ ปน อนั มาก บรรลพุ ระอรหตั แลว ดงั น้ีแล. เรื่องภิกษุชาวเมอื งปาฐา จบ.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 194 ๗. เรื่องสุปปพทุ ธกฏุ ฐิ [๕๑] ขอความเบ้ืองตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยูในพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภบรุ ษุ โรคเรอื้ น ช่อื วาสุปปพุทธะ ตรสั วา ธรรมเทศนานวี้ า \"จรนฺติ พาลาทุมฺเมธา\" เปน ตน . สปุ ปพุทธะกราบทูลคณุ วเิ ศษแดพ ระศาสดา เรอื่ งสปุ ปพทุ ธะน้มี าแลวในอทุ าน๑น่นั แล. ก็โนกาลนน้ั สุปปพทุ ธ-กฏุ ฐินง่ั ทที่ า ยบรษิ ทั ฟงธรรมเทศนาของพระผูมพี ระภาคเจาแลวบรรลุโสดาปตตผิ ล ปรารถนาจะกราบทลู คณุ ทคี่ นไดแลว แดพระศาสดา (แต)ไมอ าจเพอ่ื จะหยั่งลงในทามกลางบริษทั ไดไปยังวหิ ารในเวลามหาชนถวายบงั คมพระศาสดากลับไปแลว. คนมีอริยทรพั ย ๗ เปนผูไมขัดสน ขณะนน้ั ทาวสกั กเทวราช ทรงทราบวา \"สปุ ปพุทธกุฏฐินีใ้ ครเพ่อื กระทําคณุ ท่ีตนไดในศาสนาของพระศาสดาใหป รากฏ\" ทรงดาํ ริวา\"เราจกั ทดลองนายสุปปพทุ ธกฏุ ฐนิ ั้น\" เสด็จไปยนื ในอากาศแลว ไดตรสั คํานี้วา \"สุปปพุทธะ เธอเปน มนุษยข ัดสน เปน มนุษยยากไร,เราจักใหท รพั ยหาที่ส้ินสดุ มิไดแ กเธอ, เธอจงกลา ววา 'พระพุทธไมใ ชพระพทุ ธ, พระธรรมไมใชพระธรรม, พระสงฆไมใ ชพระสงฆ, อยา เลย๑. ขุ. อุ. ๒๕/๑๔๖.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 195ดวยพระพุทธแกเ รา, อยา เลยดวยพระธรรมแกเรา, อยาเลยดวยพระ-สงฆแ กเ รา.\" ลําดบั นน้ั สุปปพทุ ธกฏุ ฐินนั้ กลาวกะทา วสักกะนน้ั วา\"ทา นเปน ใคร ?\" สักกะ. เราเปน ทาวสักกะ. สปุ ปพุทธะ. ทานผูอนั ธพาล ผไู มมยี างอาย, ทานเปน ผไู มส มควรจะพูดกบั เรา. ทานพูดกะเราวา  เปน คนเขญ็ ใจ เปนคนขดั สน เปนคนกําพรา.' เราไมใชค นเข็ญใจ ไมใ ชคนขดั สนเลย เราเปนผูถึงความสุข มีทรัพยมาก, \"ทรัพยเหลาน้คี อื ทรพั ยคือศรัทธา ๑, ทรพั ย คอื ศลี ๑, ทรพั ยคือหริ ิ ๑, ทรัพยคือโอตตัปปะ ๑, ทรพั ยค ือสุตะ ๑, ทรัพยค อื จาคะ ๑, ปญญาแล เปน ทรัพยท ่ี ๗, ยอ มมแี กผ ใู ด จะเปนหญิงก็ตาม เปนชายก็ตาม, บัณฑิตทัง้ หลายกลา วบุคคลนัน้ วา ' เปนคนไมข ัดสน.' ชีวติ ของบคุ คลนน้ั ไมว างเปลา .๑\" เพราะเหตนุ นั้ อรยิ ทรพั ยม ีอยา ง ๗ นี้ มีอยูแกช นเหลา ใดแล,ชนเหลานัน้ อันพระพทุ ธเจา ท้ังหลาย หรอื พระปจ เจกพทุ ธเจาท้ังหลายยอมไมกลาววา เปน คนจน.' ทา วสกั กะ ทรงสดับถอ ยคาํ ของสปุ ปพุทธะนน้ั แลว ทรงละเขาไวในระหวา งทาง เสด็จไปสูสํานกั ของพระศาสดา กราบทลู การโตต อบถอ ยคํานั้นทั้งหมดแดพ ระศาสดาแลว . ลําดบั น้ัน พระผูม ีพระภาคเจา ตรัสกะทาวสกั กะนั้นวา \"ทา วสกั กะ ทง้ั รอ ยท้งั พนั แหงคนท้งั หลายผูเชนกบั๑. อง.ฺ สตตฺ ก. ๒๓/๔.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 196พระองค ไมอาจเพือ่ จะใหส ปุ ปพทุ ธกุฏฐิ กลาววา ' พระพุทธไมใชพระพทุ ธ พระธรรมไมใ ชพระธรรม หรือพระสงฆไ มใ ชพ ระสงฆไดเลย.\" ฝา ยสุปปพทุ ธะแล ไปสสู าํ นกั ของพระศาสดา มีความบนั เทงิ อนัพระศาสดาทรงกระทําแลว กราบทูลคุณอันตนไดแ ลวแตง ระศาสดา ลกูจากอาสนะหลีกไปแลว . ขณะนนั้ แมโคลกู ออน ปลงสุปปพทุ ธะนั้นผหู ลกี ไปแลวไมน านจากชวี ิตแลว . บุรพกรรมของสปุ ปพุทธะและแมโค ไดยนิ วา โคแมลกู ออนนน้ั เปน ยกั ษิณีตนหนงึ่ เปนแมโคปลงชนท้ัง ๔ นี้ คอื กุลบุตรช่ือปุกกสุ าติ ๑ พาหยิ ทารจุ รี ยิ ะ ๑ นายโจร-ฆาตกะชื่อตัมพทาฐิกะ ๑ สปุ ปพุทธกฎุ ฐิ ๑ จากชวี ิตคนละรอ ยอัตภาพ.ไดยนิ วา ในอดีตกาล ชนเหลา นน้ั เปนบตุ รเศรษฐีทง้ั ๔ คน นาํหญิงแพศยาผูเปน นครโสเภณคี นหนง่ึ ไปสสู วนอุทยาน เสวยสมบตั ิตลอดวันแลว ในเวลาเยน็ ปรึกษากนั อยา งนีว้ า \" ในท่ีนไ้ี มมีคนอื่น, เราทง้ั หลาย จกั ถอื เอากหาปณะพนั หนึง่ และเครื่องประดบั ท้งั หมดที่พวกเราใหแกหญิงน้แี ลว ฆาหญิงนีเ้ สียไปกันเกิด.\" หญงิ นั้นฟงถอยคาํ ของเศรษฐีบตุ รเหลานัน้ แลว คิดวา \"ชนพวกนไี้ มม ยี างอาบ อภริ มยก ับเราแลว บัดน้ี ปรารถนาจะฆา เรา, เราจักรกู ิจทคี่ วรกระทาํ แกช นเหลาน้นั \" เม่ือถูกชนเหลา นัน้ ฆา อยู ไดกระทําความปรารถนาวา \" ขอเราพงึ เปนยักษณิ ี ผสู ามารถเพื่อฆา ชนเหลา นนั้ เหมอื นอยางทพ่ี วกนีฆ้ าเราฉะน้นั เหมือนกนั .\"

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 197 คนโงท ํากรรมลามก ภกิ ษุหลายรูป กราบทูลการกระทํากาละของสุปปพทุ ธะนั้นแดพระผูมีพระภาคเจา ทูลถามวา \"คตขิ องสุปปพุทธะน้นั เปนอยางไร ?เพราะเหตไุ รเลา ? เขาจงึ ถงึ ความเปนคนมีโรคเรอ้ื น.\" พระศาสดา ทรงพยากรณความที่สปุ ปพทุ ธะนน้ั บรรลุโสดาปตติผลแลว เกิดในดาวดึงสภพ และการเหน็ พระตครสขี ปี จเจกพทุ ธเจา ถม(น้าํ ลาย) แลว หลกี ไปทางซาย๑ ไหมแเลว ในนรกตลอดกาลนาน ดวยวิบากท่ีเหลอื ถงึ ความเปนคนมโี รคเร้อื นในบดั นี้แลว ตรสั วา \" ภกิ ษุทัง้ หลาย สัตวเหลาน้ี เที่ยวกระทํากรรมมผี ลเผด็ รอ นแกต นเองแล \"ดงั น้ีแลว เมอ่ื จะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรมใหยงิ่ ขึ้น จึงตรสั พระคาถานี้วา :- ๗. จรนตฺ ิ พาลา ทุมฺเมธา อมติ เฺ ตเนว อตตฺ นา กโรนตฺ า ปาปก กมฺม ย โหติ กฏก ปฺผล . \"ชนพาลทั้งหลาย มีปญ ญาทราม มีตนเปน ดงั ขา ศกึ เที่ยวทาํ กรรมลามกซ่งึ มผี ลเผด็ รอนอย.ู \" แกอ รรถ บรรดาบทเหลา น้นั บทวา จรนฺติ ความวา เที่ยวกระทําอกศุ ลถายเดียว ดว ยอริ ิยาบถ ๔ อยู. ชนท้ังหลาย ผูไ มรูป ระโยชนใ นโลกนี้ และประโยชนโ นโลกหนาขอ วาพาล ในบทวา พาลา น.ี้๑. อปพยฺ าม กตฺวา ถอื เอาความวา หลกี ซา ย. ธรรมดาบณั ฑติ เห็นพุทธบุคคลแลว ยอ มหลีกทางขวา. ดูใน อรรถกถาอทุ าน หนา ๓๖๘.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 198 บทวา ทุมเฺ มธา คือมีปญ ญาเขลา. บทวา อมติ เฺ ตเนว ความวาเปนราวกะวาคนมีเวรผมู ิใชมิตร. บทวา กฏก ปผฺ ล ความวา มีผลเขม แข็ง คือมที ุกขเปน ผล. ในเวลาจบเทศนา ชนเปน อนั มากบรรลอุ ริยผลทั้งหลาย มโี สดา-ปตตผิ ลเปน ตน ดังน้แี ล. เรอ่ื งสปุ ปพุทธกฏุ ฐิ จบ.

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 199 ๘. เรือ่ งชาวนา [๕๒] ขอความเบ้อื งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยูในพระเชตวัน ทรงปรารภชาวนาคนหนึง่ ตรสั พระธรรมเทศนานว้ี า \"น ต กมฺม กต สาธ\"ุ เปนตน . โจรเขาลักทรพั ยในตระกูลมง่ั ค่งั ไดยนิ วา ชาวนานั้น ไถนาแหงหนึ่งอยใู นท่ีไมไ กลจากกรุงสาวตั ถ.ีพวกโจรเขา ไปสพู ระนครโดยทอนํ้า ทาํ ลายอุโมงคใ นตระกูลม่ังค่งั ตระกูลหนึ่ง เขาไปถอื เอาเงินและทองเปนอันมากแลว ก็ออกไปโดยทางทอ นํา้นัน่ เอง. โจรคนหนง่ึ ลวงโจรเหลา นน้ั กระทาํ ถุงทบี่ รรจุทรัพยพ ันหนง่ึถุงหนง่ึ ไวท ่เี กลียวผาแลว ไปถงึ นาน้ัน แบง ภัณฑะกับโจรทั้งหลายเหลานั้นแลว ถือพาเดินไปอยู ไมไดก าํ หนดถึงถงุ บรรจุทรัพยพ นั หนึง่ ทต่ี กลงจากเกลียวผา. พระศาสดาทรงเล็งเห็นอปุ นิสยั ของชาวนา ในวันนัน้ เวลาใกลรงุ พระศาสดา ทรงตรวจดสู ัตวโลก ทรงเห็นชาวนานั้น ผเู ขาไปในภายในขา ยคือพระญาณของพระองค แลวทรงใครค รวญอยูวา \"เหตอุ ะไรหนอแล ? จกั ม\"ี ไดทรงเห็นเหตุนีว้ า\" ชาวนาคนนี้ จักไปเพื่อไถนาแตเ ชาตร,ู แมพวกเจา ของภณั ฑะ ไปตามรอยเทา ของโจรทัง้ หลายแลว เหน็ ถึงท่บี รรจทุ รัพยพันหนง่ึ ในนาของ

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 200ชาวนาน้นั แลวกจ็ ักจับชาวนานัน่ , เวนเราเสีย คนอ่นื ชอื่ วา ผูเปนพยานของชาวนานน้ั จกั ไมม ี; แมอปุ นิสัยแหง โสดาปตติมรรค ของชาวนานนั้กม็ ีอย,ู เราไปในที่น้ัน ยอมควร.\" ฝายชาวนาน้ัน ไปเพอ่ื ไถนาแตเชา ตรู. พระศาสดามพี ระอานนทเถระเปน ปจฉาสมณะ ไดเ สดจ็ ไปในที่นั้นแลว . ชาวนาเหน็ พระศาสดาแลว ไปถวายบงั คมพระผมู ีพระภาคเจาแลว เริ่มไถนาอีก. พระศาสดา ไมต รสั อะไร ๆ กบั เขา เสดจ็ ไปยังที่ ๆถงุ บรรจุทรพั ยพนั หนงึ่ ตก ทอดพระเนตรเหน็ ถุงนั้นแลว จงึ ตรัสกะพระ-อานนทเถระวา \"อานนท เธอเหน็ ไหม อสรพิษ.\" พระอานนทเถระทูลวา \"เหน็ พระเจาขา อสรพิษรา ย.\" ชาวนาไดยินถอ ยคาํ น้ัน คดิ วา\" ทนี่ ีเ้ ปนท่ีเท่ยี วไปในเวลาหรือมิใชเวลาแหงเรา. ไดยินวา อสรพษิ มีอยูในทีน่ ัน่ \" เมอ่ื พระศาสดาตรัสคาํ มีประมาณเทาน้ันหลีกไปแลว , จงึ ถอืเอาดา มปฏักเดนิ ไปดวยตัง้ ใจวา \" จักฆาอสรพษิ น้ัน เห็นถุงบรรจุทรัพยพ นั หนง่ึ แลว คิดวา \" คาํ น้นั จกั เปนคําอันพระศาสดาตรสั หมายเอาถุงบรรจุทรพั ยพันหน่งึ น้ี \" จงึ ถอื ถุงบรรจุทรัพยพ ันหนึ่งน้ันกลับไปเพราะความท่ีตนเปน คนไมฉลาด จงึ ซอนมนั ไวใ นทสี่ มควรแหง หน่งึกลบดวยฝุนแลวเรม่ิ จะไถนาอีก. ชาวนาถูกจบั ไปประหารชวี ิต แมพวกมนษุ ย เม่อื ราตรีสวา งแลว เหน็ กรรมอนั พวกโจรกระทาํในเรือน จงึ เดินตามรอยเทาไป ถงึ นานัน้ แลว เหน็ ที่ ๆ พวกโจรแบงภณั ฑะกันในนานั้น ไดเห็นรอยเทาของชาวนาแลว. มนุษยเ หลาน้ันไปตามแนวรอยเทา ของชาวนานน้ั เห็นท่ีแหงถุงทรพั ยท ชี่ าวนาเกบ็ เอาไว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook