พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 257 กเ็ นือ้ ความแหงพระคาถานั้น จกั แจม แจง ในปกณิ ณกวรรคนั้นแล. บรุ พกรรมของจิตตคฤหบดี เมือ่ พระคาสดา ตรสั อยา งน้ันแลว , พระอานนทเถระ จงึ ทูลถามบรุ พกรรมของจิตตคฤหบด.ี ลําดับน้ัน พระศาสดา เมอ่ื จะตรัสแกพระ-อานนทเถระนนั้ จงึ ตรสั วา :- \" อานนท จติ ตคฤหบดีน้ี มีอภนิ หิ ารอันทาํ ไวแ ทบบาทมูลของพระผมู ีพระภาคเจา พระนามวา ปทมุ ุตตระ ทองเทย่ี วไปในเทวดาและมนษุ ยส้นิ แสนกลั ป ในกาลแหงพระพุทธเจา ทรงพระนามวากัสสป เกดิ ในสกุลของพรานเนือ้ ถงึ ควานเจรญิ แลว วนั หน่ึง เมือ่ ฝนตกอยูถือหอกไปสปู าเพือ่ ตอ งการจะลา เนื้อ ตรวจดูหมูเ นอ้ื อยู เหน็ ภิกษรุ ูปหนงึ่ น่งั คลมุ ศีรษะทเี่ งือ้ มเกดิ เอง๑แหงหนึ่ง จึงคดิ วา \"พระผูเ ปน เจารปู เดยี ว จักน่ังทาํสมณธรรม, เราจักนาํ อาหารมา เพื่อพระผเู ปน เจานนั้ \" ดังนี้แลว รีบไปสูเ รือน ใหค นปง เนือ้ ทีต่ นนาํ มาเม่ือวานท่เี ตาแหง หนงึ่ ใหหงุ ขา วท่เี ตาแหง หนงึ่ เห็นภิกษุเที่ยวบิณฑบาตพวกอื่น รับบาตรของภกิ ษแุ มเหลา น้นันมิ นตใ หน ัง่ เหนอื อาสนะทจ่ี ดั แจงไว ตระเตรยี มภกิ ษาแลว ส่งั คนอืน่ วา\" พวกทา นจงองั คาสพระผูเ ปนเจาทั้งหลาย แลว ใสภตั นั้นลงในตะกราถือเดินไป เลอื กเก็บดอกไมต าง ๆ ในระหวา งทาง หอ ดวยใบไม ไปสทู พี่ ระเถระนั่งแลวกลา ววา \"ทา นผเู จรญิ ขอทานจงทาํ ความสงเคราะหแกก ระผมเถิด\" ดงั น้ีแลว รบั บาตร ใหเ ตม็ ดว ยภตั แลววางไวในมอื ของพระเถระ กระทําการบชู าดว ยดอกไมเหลา นั้น ตงั้ ความปรารถนาวา๑. อกตปพฺภาร เงื้อมท่บี คุ คลไมไ ดท าํ หมายความวา เกิดเปนเองตามธรรมชาติ
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 258\" บณิ ฑบาตอันมีรสน้ี พรอมดวยดอกไมเ ครอ่ื งบูชา ยงั จิตของขา พเจาใหย นิ ดฉี นั ใด; ขอบรรณาการพันหนงึ่ จงมายังจติ ของขาพเจาใหยนิ ดีในทีท่ ี่ขา พเจาเกิดแลว ๆ ฉันนั้น, และขอฝนดอกไมมีสี ๕ สีจงตก.\"เขาบาํ เพ็ญกุศลจนตลอดชีพแลว เกิดในเทวโลก. ฝนดอกไมทพิ ย ตกแลวโดยถอ งแถว ประมาณเพยี งเขา ในทที่ เ่ี ขาเกดิ แลว . แมใ นกาลน้ี ฝนดอกไม (ทพิ ย) กต็ กในวนั ท่ีเขาเกิดแลว และเม่อื เขามาในท่ีนี้ การนําบรรณาการมา และการท่เี กวยี นเตม็ ดว ยรตั นะ ๗ ประการ กเ็ ปนผลแหง กรรมน้นั แล.\" เรอ่ื งพระสธุ รรมเถระ จบ.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 259 ๑๕. เรื่องพระวนวาสตี ิสสเถระ [๕๙] ขอความเบอ้ื งตน พระศาสดา เมอ่ื ประทับอยใู นพระเชตวัน ทรงปรารภพระตสิ สเถระผมู ปี กติอยใู นปา ตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \" อฺ า หิ ลาภูปนสิ า \"เปนตน. พระสารบี ุตรอนเุ คราะหพราหมณผ ยู ากจน เทศนาตัง้ ขนึ้ แลวในกรงุ ราชคฤห. ไดย นิ วา สหายของวงั คนั ต-พราหมณ ผูบดิ าของพระสารบี ตุ รเถระ ช่ือ มหาเสนพราหมณ อยูในกรุง-ราชคฤห. วันหน่ึง พระสารบี ตุ รเถระเทีย่ วบณิ ฑบาต ไดไ ปยงั ประตูเรอื นของพราหมณน ัน้ เพื่อนุเคราะหเ ขา. แตพราหมณน้นั มสี มบัติหมดเสียแลว กลบั เปน คนยากจน. เขาคิดวา \"บุตรของเราจกั มาเพอ่ื เทย่ี วบณิ ฑบาตทป่ี ระตูเรอื นของเรา, แตเราเปนคนยากจน. บุตรของเราเหน็จะไมทราบความทีเ่ ราเปน คนยากจน, ไทยธรรมอะไร ๆ ของเราก็ไมม ี,\"เม่อื ไมอ าจจะเผชิญหนาพระเถระนน้ั ไดจ ึงหลบเสยี . ถึงในวันอืน่ แมพระ-เถระไดไป (อีก). พราหมณกไ็ ดหลบเสียอยางนน้ั เหมือนกัน. เขาคิดอยูวา \"เราไดอ ะไร ๆ แลวน่ันแหละจกั ถวาย\" กไ็ มได (อะไร ๆ).ภายหลงั วันหน่งึ เขาไดถ าดเต็มดว ยขาวปายาสพรอมกับผา สาฎกเนื้อหยาบในทบี่ อกลัทธิของพราหมณแหงหนง่ึ ถอื ไปถึงเรือน นกึ ถงึ พระเถระข้ึนไดว า \" การทีเ่ ราถวายบิณฑบาตนีแ้ กพระเถระ ควร.\" ในขณะน้นั นั่นเอง แมพระเถระเขาฌาน ออกจากสมาบตั แิ ลว
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 260เหน็ พราหมณน ัน้ คดิ วา \" พราหมณไดไ ทยธรรมแลว หวังอยูซึง่ กรรมของเรา. การท่เี ราไปในท่นี ้ัน ควร\" ดงั นแี้ ลว จงึ หม ผา สงั ฆาฏิ ถือบาตร แสดงตนยืนอยูแ ลว ที่ประตเู รอื นของพราหมณน นั้ นั่นเอง. เพราะเห็นพระเถระเทา นั้น จติ ของพราหมณเ ลื่อมใสแลว . ลําดบั นนั้ เขาเขาไปหาพระเถระน้ัน ไหวแลว กระทําปฏิสันถารนิมนตใหนัง่ ภายในเรือนถือถาดอนั เตม็ ดว ยขาวปายาส เกลย่ี ลงในบาตรของพระเถระ. พระเถระรับกึ่งหนงึ่ แลว จงึ เอามอื ปดบาตร. ทีนน้ั พราหมณกลา วกะพระเถระนน้ั วา\" ทานผเู จริญ ขา วปายาสนี้สกั วาเปนสวนของคน ๆ เดียวเทานั้น. ขอทานจงทาํ ความสงเคราะหในปรโลกแกก ระผมเถิด, อยา ทําความสงเคราะหในโลกน้ีเลย; กระผมปรารถนาถวายไมใหเ หลือทีเดียว\" ดงั นี้แลว จงึเกลยี่ ลงท้ังหมด. พระเถระฉันในทน่ี ้นั นน่ั แล. ครั้นในเวลาเสรจ็ ภัตกิจเขาถวายผา สาฎกแมน ั้น แกพ ระเถระนนั้ ไหวแลว กลาวอยา งน้ีวา \"ทา นผูเจริญ แมก ระผมพึงบรรลธุ รรมทท่ี านเหน็ แลว เหมอื นกัน.\" พระเถระทําอนุโมทนาแกพราหมณน น้ั วา \"จงสําเร็จอยางนัน้ พราหมณ\" ลุกขึ้นจากอาสนะหลีกไป เทยี่ วจาริกโดยลําดบั ไดถ ึงพระเชตวันแลว. พราหมณยากจนตายไปเกิดในกรุงสาวัตถี กท็ านท่ีบุคคลถวายแลว ในคราวทต่ี นตกยาก ยอมยังผูถวายใหรา เริงอยา งย่งิ เพราะฉะนน้ั แมพราหมณถ วายทานนั้นแลว มีจิตเล่ือมใส เกดิโสมนสั แลว ไดทําความสเิ นหามปี ระมาณยิง่ ในพระเถระ. ดวยความสเิ นหาในพระเถระนัน่ แล พราหมณนั้น ทํากาละแลว ถือปฏิสนธิในสกุล
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 261อปุ ฏฐากของพระเถระในกรงุ สาวัตถี. กใ็ นขณะนนั้ แล มารดาของเขาบอกแกส ามีวา \"สตั วเกดิ ในครรภต้ังขึ้นในทอ งของฉัน.\" สามีนั้นไดใ หเคร่อื งบริหารครรภแ กมารดาของทารกน้ันแลว . เม่อื นางเวน การบริโภคอาหารวัตถุมขี องรอ นจัด เย็นนกั และเปรยี้ วนกั เปนตน รักษาครรภอยูโดยสบาย ความแพทอ งเหน็ ปานนีเ้ กดิ ข้ึนวา \"ไฉนหนอ เราพึงนิมนตภกิ ษุ ๕๐๐ รูปมีพระสารีบตุ รเถระเปน ประธานใหน ัง่ ในเรอื น ถวายปายาส๑เจอื ดวยนํา้ นมลวน แมตนเองนงุ หม ผา กาสาวะ ถอื ขันทองน่ังในท่สี ุดแหงอาสนะ แลว บริโภคขา วปายาสอนั เปนเดนของภกิ ษุประมาณเทานี.้ \"ไดย ินวา ความแพท อ งในเพราะการนงุ หม ผา กาสาวะนัน้ ของนาง ไดเ ปนบรุ พนิมิตแหงการบรรพชาในพระพุทธศาสนาของบุตรในทอง. ลาํ ดบั น้ันพวกญาติของนาง คิดวา \"ความแพทอ งของธดิ าพวกเราประกอบดวยธรรม\" ดงั นแ้ี ลว จึงถวายขา วปายาสเจอื ดวยน้าํ นมลว น แกภิกษุ ๕๐๐รปู ทําพระสารีบุตรเถระใหเปนพระสงั ฆเถระ. แมน างก็นุงผากาสาวะผนืหนงึ่ หมผนื หน่ึง ถือขันทองน่ังในทสี่ ุดแหง อาสนะ บรโิ ภคขา วปายาสอนั เปนเดน ( ของภิกษุ ). ความแพทอ งสงบแลว . ในมงคลอันเขากระทาํแลวในระหวา ง ๆ แกน างน้นั ตลอดเวลาสัตวเ กดิ ในครรภต ลอดก็ดี ในมงคลอนั เขากระทําแลวแกนางผูตลอดบุตรแลว โดยลว งไป ๑๐ เดือนก็ดีพวกญาตกิ ็ไดถวายขา วมธุปายาสมนี า้ํ นอ ย แกภ กิ ษปุ ระมาณ ๕๐๐ รูป มีพระสารีบุตรเถระเปนประธานเหมือนกัน. ไดยนิ วา น้เี ปนผลแหง ขาวปายาสที่ทารกถวายแลว ในเวลาทค่ี นเปนพราหมณใ นกาลกอ น. ก็ในวนั มงคลที่พวกญาติกระทําในวนั ทท่ี ารกเกิด พวกญาตใิ หทารกน้นั อาบน้าํ๑. ขาวชนิดหนึ่ง ทหี่ งุ เจอื ดวยนาํ้ นม นา้ํ ผงึ้ นาํ้ ตาล เปน ตน หรอื ขา วเปยกเจือนม.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 262แตเ ชา ตรู ประดับแลว ใหนอนเบือ้ งบนผากมั พลมีคา แสนหนง่ึ บนท่ีนอนอนั มสี ริ ิ. ทารกบรจิ าคทาน ทารกนน้ั นอนอยูบนผา กัมพลน้ันเอง แลดพู ระเถระแลว คิดวา\" พระเถระน้ี เปนบุรพาจารยของเรา, เราไดส มบตั ินี้ เพราะอาศัยพระ-เถระน้ี, การที่เราทาํ การบริจาคอยา งหน่งึ แกท านผูน้ี ควร\" อนั ญาตินาํ ไปเพอื่ ประโยชนแ กก ารรบั สกิ ขาบท ไดเ อานิว้ กอยเกี่ยวผา กัมพลนน้ัยดึ ไว. คร้งั นัน้ ญาติทง้ั หลายของทารกนน้ั คดิ วา \" ผา กัมพลคลอ งท่ีน้ิวมือแลว\" จึงปรารภจะนําออก. ทารกนั้น รอ งไหแลว พวกญาติกลาววา \" ขอพวกทา นจงหลีกไปเถิด, ทานทั้งหลายอยา ยงั ทารกใหรอ ง-ไหเ ลย\" ดงั น้แี ลว จึงนาํ ไปพรอมกบั ผา กมั พลน่ันแล. ในเวลาไหวพ ระ-เถระ. ทารกน้นั ชกั นวิ้ มือออกจากผากมั พล ใหผ า กมั พลตกลง ณ ทีใ่ กลเทาของพระเถระ. ลาํ ดับนน้ั พวกญาติไมกลา ววา \" เด็กเล็กไมรูกระทําแลว\" กลาววา \" ทา นเจาขา ผา อนั บุตรของพวกขา พเจาถวายแลว จงเปนอนั บรจิ าคแลว ทเี ดียว\" ดงั นี้แลว กลา ววา \"ทานเจาขา ขอพระผูเปน เจาจงใหส ิกขาบทแกท าสของทาน ผูทาํ การบูชาดว ยผากมั พลนนั่ แหละอันมรี าคาแสนหน่ึง.\" พระเถระ. เดก็ น้ชี อื่ อะไร ? พากญาติ. ช่อื เหมอื นกบั พระผเู ปนเจา ขอรับ. พระเถระ. นจี้ กั ช่อื ติสสะ. ไดยินวา พระเถระ ในเวลาเปนคฤหัสถ ไดม ชี อื่ วา อุปติสส-มาณพ, แมมารดาของเดก็ น้ัน ก็คิดวา \"เราไมค วรทําลายอธั ยาศัยของ
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 263บตุ ร.\" พวกญาติ คร้นั กระทํามงคลคือการขนานนามแหงเด็กอยางนน้ัแลว ในมงคลคือการบรโิ ภคอาหาของเด็กน้ันก็ดี ในมงคลคอื การเจาะหูของเดก็ นน้ั กด็ ี ในมงคลคอื การนงุ ผา ของเด็กนั้นก็ดี ในมงคลคือการโกนจุกของเด็กนั้นก็ดี ไดถ วายขาวมธปุ ายาสมีนํา้ นอย แกภ กิ ษุประมาณ๕๐๐ รปู มพี ระสารบี ุตรเถระเปน ประธาน. เด็กเจริญวัยแลว กลาวกะมารดา ในเวลามอี ายุ ๗ ขวบวา \"แม ฉนั จกั บวชในสาํ นกั ของพระเถระ.\"มารดานั้น รบั วา \" ดีละ ลกู , เมือ่ กอ นแมกไ็ ดห มายใจไวว า 'เราไมค วรทําลายอัธยาศยั ของลูก.' เจาจงบวชเถิดลกู \" ดังน้ีแลว ใหค นนมิ นตพระเถระมา ถวายภกิ ษาแกพระเถระนนั้ ผมู าแลว กลาววา \" ทานเจา ขาทาสของทานกลาววา ' จักบวช,' พวกดิฉันจกั พาทาสของทานนีไ้ ปสูวหิ ารในเวลาเยน็ \" สงพระเถระไปแลว ในเวลาเย็นพาบตุ รไปสวู หิ ารดว ยสกั การะและสัมมานะเปน อนั มาก แลวกม็ อบถวายพระเถระ. การบวชทําไดยาก พระเถระกลาวกบั เด็กนน้ั วา \" ติสสะ ชื่อวา การบวชเปนของท่ที าํไดย าก, เมอื่ ความตอ งการดว ยของรอ นมอี ยู ยอ มไดข องเยน็ , เมื่อความตองการดว ยของเย็นมีอยู ยอมไดของรอ น, ชอื่ วา นกั บวชทั้งหลาย ยอ มเปนอยูโ ดยลาํ บาก. ก็เธอเสวยความสขุ มาแลว .\" ติสสะ. ทานขอรับ กระผมจกั สามารถทาํ ไดทุกอยาง ตามทํานองทท่ี านบอกแลว . กัมมัฏฐานพระพุทธเจาทกุ พระองคไ มเ คยทรงละ พระเถระ กลาววา \" ดลี ะ\" แลวบอกตจปญจกกมั มัฏฐานดวย
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 264สามารถแหงการกระทาํ ไวในใจโดยความเปนของปฏิกลู แกเ ดก็ นน้ั ใหเ ดก็บวชแลว . จริงอยู การท่ีภกิ ษบุ อกอาการ ๓๒ แมทง้ั ส้ินควรแท, เมื่อไมอาจบอกไดทง้ั หมด พึงบอกตจปญจกกัมมัฏฐานกไ็ ด ดวยวากมั มัฏฐานนี้ พระพุทธเจาทกุ ๆ พระองคไ มทรงละแลวโดยแท. การกําหนดภิกษุกด็ ี ภิกษณุ ีกด็ ี อุบาสกกด็ ี อุบาสกิ ากด็ ี ผบู รรลุพระอรหัต ในเพราะบรรดาอาการทัง้ หลายมผี มเปน ตน สวนหน่ึง ๆ ยอมไมม.ี ก็ภิกษุทง้ั หลายผูไ มฉลาด เม่อื ยังกลุ บุตรใหบ วช ยอ มยังอุปนสิ ัยแหง พระอรหตั ใหฉ ิบหายเสยี เพราะเหตุน้ัน พระเถระพอบอกกัมมฏั ฐานแลว จงึ ใหบ วช ใหต ั้งอยใู นศลี ๑๐. มารดาบดิ าทําสักการะแกบ ุตรผูบวชแลว ไดถวายขาวมธปุ ายาสมีนํ้านอ ยเทา นั้นแกภกิ ษุสงฆ มีพระพุทธเจาเปนประธาน ในวหิ ารนั่นเองสนิ้ ๗ วัน. ฝา ยภิกษทุ งั้ หลายโพนทะนาวา \"เราท้ังหลายไมสามารถจะฉันขาวมธปุ ายาสมีน้ํานอยเปนนิตยได. \" มารดาบดิ า แมของสามเณรน้ัน ไดไปสูเ รอื นในเวลาเยน็ ในวันท่ี ๗ ในวนั ที่ ๘ สามเณรเขาไปบิณฑบาตกับภิกษทุ ้ังหลาย. สามเณรมีลาภมากเพราะผลทานในกาลกอน ชาวเมืองสาวตั ถี กลา ววา \" ไดย ินวา สามเณรจักเขา ไปบณิ ฑบาตในวันนี้, พวกเราจักทาํ สักการะแกส ามเณรนน้ั \" ดังนแ้ี ลว จงึ ทําเทริดดวยผาสาฎกประมาณ ๕๐๐ ผืน จัดแจงบณิ ฑบาต ประมาณ ๕๐๐ ที่ไดถอื ไปยืนดักทางถวายแลว. ในวนั รุงขึ้น ไดมาสูปา ใกลว ิหาร ถวายแลว .สามเณรไดบิณฑบาตพันหน่ึง กับผา สาฎกพนั หนง่ึ โดย ๒ วนั เทา น้นัดวยอาการอยา งน้ี ใหคนถวายแกภกิ ษุสงฆแลว . ไดยินวา นั่นเปน ผล
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 265แหงผา สาฎกเนอื้ หยาบทีส่ ามเณรถวายแลว ในคราวเปน พราหมณ. ลาํ ดับนนั้ภิกษุท้งั หลายขนานนามสามเณรนน้ั วา \"ปณ ฑปาตทายกติสสะ.\" รงุ ขึ้นวันหนึ่งในฤดหู นาว สามเณรเท่ยี วจารกิ ไปในวิหาร เห็นภกิ ษุท้ังหลายผงิ ไฟอยูใ นเรอื นไฟเปน ตน ในทน่ี นั้ ๆ จึงเรยี นวา \"ทา นขอรับ เหตุไรทานทงั้ หลายจึงน่ังผงิ ไฟ ?\" พวกภกิ ษ.ุ ความหนาวเบียดเบยี นพวกเรา สามเณร. สามเณร. ทา นขอรบั ธรรมดาในฤดูหนาว ทานทง้ั หลายควรหมผากัมพล, เพราะผา กมั พลนนั้ สามารถกนั หนาวได. พวกภกิ ษ.ุ สามเณร เธอมีบญุ มาก พงึ ไดผา กมั พล, พวกเราจักไดผากัมพลแตท ี่ไหน ? สามเณร กลาววา \" ทา นขอรบั ถากระน้นั พระผเู ปนเจา ท้งั หลายผมู คี วามตอ งการผา กัมพล จงมากับกระผมเถดิ \" แลวใหบอกภิกษุในวหิ ารท้ังสน้ิ . ภิกษทุ ัง้ หลายคดิ วา \"พวกเราจักไปกับสามเณรแลว นาํ ผากมั พลมา\" อาศัยสามเณรผูมีอายุ ๗ ป ออกไปแลว ประมาณพันรูป.สามเณรนน้ั มใิ หแมจติ เกดิ ข้นึ วา \" เราจกั ไดผากมั พลแตท่ไี หน เพอ่ืภกิ ษปุ ระมาณเทานี้ \" พวกภิกษเุ หลาน้ันบายหนาสพู ระนครไปแลว . จริงอยูทานทบ่ี คุ คลถวายดแี ลว ยอมมอี านุภาพเชน น้.ี สามเณรนน้ั เทยี่ วไปตามลําดับเรือนภายนอกพระนครเทา นั้น ไดผ า กมั พลประมาณ ๕๐๐ ผนืแลว จงึ เขา ไปภายในพระนคร. พวกมนษุ ยน าํ ผากัมพลมาแตท่ีโนน ที่นี.้สว นบุรษุ คนหนึง่ เดินไปโดยทางประตูรา นตลาด เหน็ ชาวรานตลาดคนหน่ึง ผูน ่งั คลี่ผา กมั พล ๕๐๐ ผืน จึงพูดวา \" ผเู จรญิ สามเณรรปู หนง่ึรวบรวมผากมั พลอย,ู ทานจงซอ มผากมั พลของทา นเสียเถิด.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 266 ชาวรา นตลาด. กส็ ามเณรนน้ั ถือเอาสงิ่ ทเี่ ขาใหแลวหรือที่เขายงัไมใ ห. บรุ ษุ . ถือเอาสิง่ ท่ีเขาใหแ ลว . ชาวรานตลาดพดู วา เมอื่ เปน เชนนั้น, ถา เราปรารถนา เราจกั ให;หากเราไมปรารถนา, จกั ไมให; ทา นจงไปเสยี เถิด\" ดงั น้ีแลวกส็ งเขาไป. ลกั ษณะคนตระหนี่ จริงอยู พวกคนตระหนีผ่ ูเ ปน อันธพาล, เม่อื ชนเหลาอนื่ ใหทานอยา งนี้ กต็ ระหนีแ่ ลว จึงเกดิ ในนรก เหมอื นกาฬอาํ มาตยเห็นอสทิสทานแลว ตระหนีอ่ ยฉู ะนน้ั . ชาวรานตลาด คิดวา \"บรุ ษุ นมี้ าโดยธรรมดาของตน กลาวกะเราวา ' ทา นจงซอ นผากมั พลของทานเสยี .' แมเรากไ็ ดกลาววา \" ถาสามเณรนน้ั ถือเอาสง่ิ ท่เี ขาให; ถา เราปรารถนา เราจกั ใหของ ๆ เรา; หากไมปรารถนา, เรากจ็ กั ไมใ ห; กเ็ มือ่ เราไมใหข องท่ีสาม-เณรเห็นแลว ความละอายยอ มเกิดข้ึน, เม่ือเราซอนของ ๆ ตนไว ยอมไมม ีโทษ; บรรดาผา กัมพล ๕๐๐ น้ี ผา กัมพล ๒ ผนื มีราคาตง้ั แสน;การซอ นผา ๒ ผืนน้ีไว ควร\" ดังนแ้ี ลว จงึ ผกู ผา กมั พลทงั้ สองผืน ทาํ ใหเปนชายดว ยชาย๑ วางซอ นไวในระหวา งแหงผาเหลา นัน้ . ฝายสามเณรถงึประเทศน้ันพรอ มดวยภิกษพุ นั หนง่ึ . เพราะเห็นสามเณรเทาน้ัน ความรกัเพยี งดงั บตุ รกเ็ กดิ ขึน้ แกชาวรา นตลาด. สรรี ะทัง้ สิน้ ไดเต็มเปย มแลว ดว ยความรัก. เขาคดิ วา \"ผา กมั พลท้งั หลายจงยกไว, เราเหน็ สามเณรนี้แลว จะใหแมเน้ือคอื หทัย ก็ควร.\" ชาวรานตลาดนน้ั นําผากัมพลทง้ั สองผนื นน้ั๑. เอาชายผา ๒ ผนื ผกู ติดกนั .
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 267ออกมาวางไวแ ทบเทา ของสามเณร ไหวแ ลวไดก ลา ววา \"ทา นเจา ขา ผมพงึมสี ว นแหงธรรมท่ที านเหน็ แลว.\" สามเณรแมน ้นั ไดทําอนุโมทนาแกเขาวา\" จงสาํ เรจ็ อยา งน้ันเถิด\" สามเณรไดผ า กัมพล ๕๐๐ ผนื แมในภายในพระนคร. ในวนั เดยี วเทา น้ัน ไดผากมั พลพนั หนง่ึ ไดถ วายแกภ กิ ษพุ นั หน่ึงดว ยประการฉะน.ี้ ครง้ั นั้น ภกิ ษุทงั้ หลาบขนานนามของสามเณรนนั้ วา\" กมั พลทายกติสสะ.\" ผา กัมพลที่สามเณรใหในวันต้ังชื่อ ถึงความเปนผา กมั พลพนั หนง่ึ ในเวลาตนมอี ายุ ๗ ป ดว ยประการฉะนี.้ ใหข องนอยแตไ ดผ ลมาก ของนอยอนั บุคคลใหแลว ในฐานะใด ยอ มมผี ลมาก. ของมากท่ีบุคคลใหแลว ในฐานะใด ยอมมีผลมากกวา. ฐานะอนื่ นน้ั ยกพระพุทธ-ศาสนาเสยี มไิ ดม.ี เพราะเหตนุ ัน้ พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ตรสั วา \" ภิกษุทงั้ หลาย ของนอยที่บคุ คลใหแ ลวในหมภู กิ ษุเชนใดมีผลมาก; ของมากทบ่ี ุคคลใหแ ลวในหมูภิกษุเชนมีผลมากกวา, หมูภิกษนุ กี้ ็เปนเชนนั้น.\"แมส ามเณรมีอายุ ๗ ป ไดผ ากัมพลพันหนึ่ง ดว ยผลแหง ผากัมพลผืนหนง่ึดว ยประการฉะน้.ี เม่อื สามเณรน้นั อยูในพระเชตวัน พวกเด็กท่เี ปน ญาตมิ าสูสํานกัพูดจาปราศรัยเนอื ง ๆ. สามเณรนัน้ คดิ วา \"อนั เราเม่ืออยใู นทนี่ ี้ เม่อื เด็กทีเ่ ปนญาตมิ าพูดอยู, ไมอาจทจี่ ะไมพ ดู ได, ดว ยการเนิ่นชา คือการสนทนากบั เดก็ เหลา นี้ เราไมอาจทําทีพ่ ึง่ แกตนได, ไฉนหนอเราเรยี นกมั มฏั ฐานในสํานักของพระศาสดาแลว พึงเขา ไปสูปา.\" ติสสสามเณรออกปาทําสมณธรรม ตสิ สสามเณรนั้น เขา ไปเฝา พระศาสดา ถวายบังคมแลว ทลู ใหพ ระ-
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 268ศาสดาตรัสบอกกัมมฏั ฐานจนถงึ พระอรหัต ไหวพ ระอปุ ชฌายะแลว ถอืบาตรและจวี รออกไปจากวิหารแลว คิดวา \" ถาเราจกั อยูในทใี่ กลไ ซร,พวกญาตจิ ะรองเรยี กเราไป\" จึงไดไ ปสน้ิ ทางประมาณ ๑๒๐ โยชน.ครงั้ นั้น สามเณรเดนิ ไปทางประตบู า นแหงหนงึ่ เหน็ ชายแกค นหนง่ึ จึงถามวา \" อบุ าสก วิหารในปาของภิกษทุ ัง้ หลายผอู ยูใ นประเทศนมี้ ีไหม ?\" อุบาสก. มี ขอรับ. สามเณร. ถา อยางน้นั ขอทานชว ยบอกทางแกฉ นั . กค็ วามรักเพียงดังบตุ รเกิดขนึ้ แลวแกอ บุ าสก เพราะเหน็ สามเณรนั้น. ลําดับน้นั อบุ าสกยนื อยูในที่น้นั นนั่ แล ไมบ อกแกสามเณรนน้ักลาววา \" มาเถดิ ขอรบั , ผมจกั บอกแกท าน\" ไดพ าสามเณรน้นั ไปแลว. สามเณร เม่อื ไปกบั อบุ าสกแกนนั้ เหน็ ประเทศ๑ ๖ แหง ๕ แหงอันประดบั แลว ดวยดอกไมและผลไมตาง ๆ ในระหวางทาง จงึ ถามวา\"ประเทศนี้ช่อื อะไร ? อบุ าสก\" ฝายอบุ าสกนน้ั บอกชอ่ื ประเทศเหลานน้ั แกสามเณรนัน้ ถงึ วิหารอนั ตัง้ อยใู นปา แลว กลาววา \"ทา นขอรับที่นีเ่ ปน ทส่ี บาย, ขอทา นจงอยูในท่ีน้เี ถดิ \" แลวถามชื่อวา \"ทา นช่ืออะไร ? ขอรบั \" เมอ่ื สามเณรบอกวา \"ฉนั ชือ่ วนวาสีติสสะ อบุ าสก.\"จงึ กลาววา \"พรุงน้ี ทานควรไปเทย่ี วบิณฑบาตในบา นของพวกกระผม\"แลว กลับไปสบู า นของตนนน่ั แหละ บอกแกพ วกมนษุ ยวา สามเณรชอ่ื วนวาสตี ิสสะมาสูวิหารแลว . ขอทานจงจัดแจงอาหารวัตถุมียาคแู ละภัตเปน ตน เพอื่ สามเณรนน้ั .\" คร้งั แรกทเี ดียว สามเณรเปน ผชู ื่อวา \"ตสิ สะ\"แตน ั้นไดชื่อ ๓ ช่อื เหลานีค้ ือ ปณ ฑปาตทายกตสิ สะ กมั พลทายกตสิ สะ๑. คําวา ประเทศในที่น้ี หมายความเพยี งบา นหน่ึงหรือตําบลหน่ึงเทานั้น.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 269วนวาสตี ิสสะ ไดช อ่ื ๔ ช่อื ภายในอายุ ๗ ป. รุงขึน้ สามเณรนั้นเขา ไปบณิ ฑบาตยังบานน้นั แตเชาตร.ู พวกมนุษยถวายภิกษาไหวแ ลว . สามเณรกลาววา \"ขอทานทัง้ หลายจงถึงซ่งึ ความสุข, จงพน จากทุกขเ ถิด.\" แมมนุษยคนหนง่ึ ถวายภกิ ษาแกส ามเณรนั้นแลว ก็ไมส ามารถจะ ( กลบั )ไปยังเรือนไดอกี , ทกุ คนไดยนื แลดอู ยูท้ังนั้น. แมสามเณรน้นั ก็รับภตั พอยงั อัตภาพใหเ ปนไปเพอ่ื ตน. ชาวบา นทง้ั ส้ินหมอบลงดวยอก แทบเทาของสามเณรน้ันแลว กลา ววา ทา นเจาขา เมื่อทา นอยใู นท่นี ต้ี ลอดไตร-มาสน้ี พวกกระผมจกั รับสรณะ ๓ ต้ังอยูใ นศีล ๕ จกั ทําอุโบสถกรรม๘ คร้งั ตอ เดือน. ขอทานจงใหป ฏญิ ญาแกกระผมทง้ั หลาย เพือ่ ประโยชนแหง การอยูใ นทีน่ ้.ี \" สามเณรน้นั กําหนดอปุ การะ จึงใหป ฏิญญาแกมนุษยเหลา น้ัน เทยี่ วบิณฑบาตในบา นน้นั น่นั แลเปนประจํา. กใ็ นขณะทีเ่ ขาไหวแลว ๆ กลาวเฉพาะ ๒ บทวา \"ขอทา นท้งั หลายจงถึงซึ่งความสุข,จงพน จากทุกข\" ดงั น้แี ลว หลกี ไป. สามเณรนน้ั ใหเดอื นท่ี ๑ และเดือนที่ ๒ ลว งไปแลว ณ ที่นน้ั เมื่อเดอื นที่ ๓ ลว งไป, ก็บรรลุพระอรหัตพรอ มดวยปฏิสัมภิทา. อปุ ญฌายะไปเยี่ยมสามเณร ครัน้ เวลาปวารณาออกพรรษาแลว พระอปุ ช ฌายข องสามเณรนั้นเขา ไปเฝา พระศาสดา ถวายบงั คมแลว กราบทลู วา \" ขาแตพ ระองค-ผเู จรญิ ขาพระองคจ ะไปยังสํานักตสิ สสามเณร.\" พระศาสดา. ไปเถดิ สารบี ตุ ร. พระสารบี ุตรเถระนัน้ เมอ่ื พาภกิ ษุประมาณ ๕๐๐ รปู ซึ่งเปน
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 270บริวารของตน หลีกไป กลา ววา \"โมคคลั ลานะผูมีอายุ กระผมจะไปยังสาํ นกั ติสสสามเณร\" พระโมคคลั ลานเถระ กลาววา \"ทา นผมู ีอายุแมกระผมกจ็ ักไปดวย\" ดังนีแ้ ลว ก็ออกไปพรอ มกบั ภกิ ษุประมาณ ๕๐๐รูป. พระมหาสาวกทงั้ ปวง คอื พระมหากัสสปเถระ. พระอนรุ ทุ ธเถระพระอุบาสเี ถระ พระปุณณเถระเปน ตน ออกไปพรอมกบั ภิกษุประมาณองคละ ๕๐๐ รูป โดยอุบายน้ันแล. บรวิ ารของพระมหาสาวกแมท ง้ั หมดไดเ ปนภิกษุประมาณ ๔ หมน่ื . อุบาสกผบู าํ รุงสามเณรเปน ประจํา เหน็ภิกษเุ หลา น้ัน ผูเดินทางประมาณ ๑๒๐ โยชน ถงึ โคจรคามแลว ณ ประตูบานน่นั เองตอนรับไหวแ ลว . ลาํ ดับนน้ั พระสารบี ตุ รเถระ ถามอุบาสกน้นั วา \"อบุ าสก วหิ ารอันตั้งอยูในปา ในประเทศนมี้ ีอยูห รือ ?\" อบุ าสก. มขี อรบั . พระเถระ. มีภิกษไุ หม ? อุบาสก. มีขอรบั . พระเถระ. ใคร อยใู นทีน่ ้นั ? อบุ าสก. วนวาสีติสสสามเณร ขอรับ. พระเถระ. ถา กระน้นั ทา นจงบอกทางแกพ วกฉนั . อุบาสก. ทา นเปน ภิกษุพวกไหน ? ขอรับ. พระเถระ. พวกเรามาสูสาํ นักของสามเณร. อบุ าสกแลดูภิกษเุ หลาน้นั จาํ พระมหาสาวกแมท ั้งหมดได นับตงั้ แตพระธรรมเสนาบดีเปนตน . เขามสี รรี ะอันปติถูกตองแลว หาระหวา งมไิ ด กลา ววา \"ทา นขอรบั ขอทา นจงหยุดกอนเถดิ \" แลว เขาไปสู
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 271บา นโดยเรว็ ปาวรอ งวา \" พระอสีติมหาสาวกผูเ ปนเจาท้ังหลายเหลานั้นนับแตพระสารบี ตุ รเถระเปนตน มาสูสํานกั ของสามเณร กบั ดว ยบรวิ ารของตน ๆ, ทานทั้งหลายจงถือเอาเครื่องใช มี เตียง ตงั่ เคร่ืองปูลาดประทีปและนาํ้ มันเปน ตน ออกไปโดยเร็วเถดิ .\" ทันใดนั้นเอง พวกมนุษยขนเตียงเปนตน เดินตดิ ตามรอยพระเถระไป เขาไปสวู หิ ารพรอ มกับพระเถระน่ันแหละ. สามเณรจําหมูภ ิกษไุ ด รับบาตรและจวี รพระมหา-เถระ ๒ - ๓ องคแลว ไดทําวัตร. เมือ่ สามเณรนัน้ จดั แจงที่อยูเพื่อพระ-เถระทั้งหลายเก็บบาตรและจีวรอยูน ั่นแล, กม็ ืดพอด.ี พระสารีบตุ รเถระกลา วกะพวกอบุ าสกวา \" อุบาสกทงั้ หลาย พวกทา นไปเถิด, ความมืดเกดิ แกพ วกทาน.\" พวกอุบาสก. ทานผูเจริญ วันนเ้ี ปนวนั ฟงธรรม, พวกกระผมจักยังไมไ ป, จักฟง ธรรม, ในกาลกอนแตนี้ แมการฟง ธรรมมิไดม ีแกกระผมท้ังหลาย. พระเถระ. สามเณร ถา กระนน้ั เธอจงตามประทีปประกาศเวลาฟง ธรรมเถิด. สามเณรนัน้ ไดทําแลวอยา งนั้น. ลาํ ดบั น้ัน พระเถระกลาวกะสามเณรน้ันวา \"ตสิ สะ พวกอุปฏ ฐากของเธอ กลา วอยูว า ' พวกเราใครจ ะฟง ธรรม เธอจงกลา วธรรมแกอุปฏ ฐากเหลา นน้ั .\" พวกอุบาสก ลกุ ขึน้ พรอมกนั ทนั ที กลาววา\" ทา นผูเจริญ พระผูเปน เจา ของพวกกระผม ยกแตบ ท ๒ บทเหลาน้ีคือ ' ขอทานทงั้ หลายจงมีความสุข, จงพน จากทุกข,' หารธู รรมกถาอยางอ่นื ไม, ขอทา นทงั้ หลาย จงใหพ ระธรรมกถกึ รปู อืน่ แกพ วกกระผม
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 272เถดิ .\" ก็สามเณรถึงบรรลพุ ระอรหัตแลว กม็ ไิ ดกลา วธรรมกถาแกอ ุปฏฐากเหลา นั้นเลย. เหตุใหถ งึ สุขและพน จากทุกข ก็ในกาลน้นั พระอุปช ฌายะ กลาวกะสามเณรน้นั วา \" สามเณรคนท้ังหลายจะมีความสุขไดอยางไร ? [และ] จะพน จากทุกขไดอ ยา งไร ?เธอจงกลา วเนือ้ ความแหง บททงั้ สองนแี้ กเราท้ังหลาย.\" สามเณรนั้นรับวา\" ดีละ ขอรับ \" แลว ถอื พดั อนั วิจิตร ขน้ึ สธู รรมาสน ชกั ผลและเหตุมาจากนกิ ายทงั้ ๔ จําแนกขันธ ธาตุ อายตนะ และโพธิปกขยิ ธรรมดุจมหาเมฆตั้งข้ึนใน ๔ ทวปี ยังฝนลกู เหบ็ ใหตกอยู กลา วธรรมกถาดว ยยอดคือพระอรหัต แลว กลา ววา \" ทานผเู จรญิ ความสขุ ยอ มมแี กบุคคลผูบรรลุพระอรหัตอยางนี้. ผบู รรลพุ ระอรหตั แลวนั่นแล ยอมพนจากทุกข,คนท่เี หลือไมพ นจากชาตทิ กุ ขเปน ตน และจากทุกขใ นนรกเปน ตน ได. \"พระเถระกลา ววา \"ดีละ สามเณร การกลา วโดยบทอนั เธอกลาวดแี ลวบัดนี้ จงกลาวสรภัญญะเถดิ .\" สามเณรนั้น กลาวแมส รภญั ญะแลว.เมื่ออรุณข้ึน พวกมนษุ ยท ่ีบํารุงสามเณร ไดเ ปน ๒ พวก. บางพวกโกรธวา \" ในกาลกอนแตน ้ี พวกเราไมเคยเหน็ คนหยาบชา เชน น.้ีทําไม สามเณรรูธรรมกถาเหน็ ปานน้ี จงึ ไมกลา วบทแหง ธรรมแมส กั บทหนง่ึ แกพ วกมนุษยผูต ั้งอยใู นฐานะเพยี งดงั มารดาบดิ า อุปฏฐากอยูส้นิ กาลประมาณเทาน.้ี บางพวกยนิ ดีวา \"เปนลาภของพวกเราหนอ ผูแมไมร ูคุณหรอื โทษ บํารงุ ทานผเู จรญิ เห็นปานน,้ี แตบัดนี้ พวกเราไดเพื่อฟงธรรมในสํานกั ของทา นผเู จรญิ นั้น.\" ในเวลาใกลรุง วนั น้ัน
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 273แมพ ระสมั มาสัมพุทธเจา ทรงตรวจดสู ัตวโลก ทรงเห็นพวกอุปฎ ฐากของวนวาสีตสิ สสามเณร ผเู ขาไปภายในขายคอื พระญาณของพระองค.ทรงใครค รวญอยวู า \"เหตอุ ะไรหนอแล จกั ม\"ี ทรงใครค รวญเนื้อความนวี้ า \" พวกอุปฏ ฐากของวนวาสตี ิสสสามเณร บางพวกโกรธ, บางพวกยนิ ดี, กพ็ วกที่โกรธสามเณรผูเ ปนบตุ รของเราจักไปสูน รก, เราควรไปท่นี ั้นเถดิ , เมอ่ื เราไป, คนเหลา น้ันแมท ง้ั หมด จักทําเมตตาจิตในสามเณรแลวพน จากทุกข. \" มนุษยแ มเ หลา นน้ั นิมนตภกิ ษุสงฆแ ลว กไ็ ปบาน ใหค นทํามณฑป จัดอาหารวตั ถมุ ียาคแู ละภัตเปน ตน ปอู าสนะไวแลว นั่งดกู ารมาของพระสงฆ. แมภ กิ ษทุ ั้งหลายทําการชาํ ระสรรี ะแลวเมือ่ จะเขา ไปสบู านในเวลาเท่ยี วภิกษา จงึ ถามสามเณรวา \"ตสิ สะ เธอจักไปพรอ มกบั พวกเราหรือ หรือจกั ไปภายหลัง ?\" สามเณร. กระผมจักไปในเวลาเปน ท่ไี ปของกระผมตามเคย, นมิ นตทานท้งั หลายไปเถดิ ขอรับ. พวกมนุษยเล่อื มใสตสิ สสามเณร ภกิ ษุทงั้ หลายถอื บาตรและจีวรเขา ไปแลว . พระศาสดา ทรงหมจวี รในพระเชตวนั นนั่ แล แลว ทรงถือบาตรเสดจ็ ไปโดยขณะจิตเดยี วเทา น้นั ทรงแสดงพระองคป ระทบั ยืนขา งหนาภิกษุทง้ั หลายทีเดียว. ชาวบา นทั้งสน้ิ ไดต น่ื เตนเอกิ เกรกิ เปนอยา งเดยี วกันวา พระสมั มาสมั พุทธเจา เสด็จมา.\" พวกมนษุ ยมจี ติ ราเรงิ นมิ นตภกิ ษุสงฆมพี ระพทุ ธเจา เปน ประมขุ ใหน ั่งแลว ถวายยาคแู ลว ไดถวายของควรเคี้ยว. เมื่อภตั ยงั ไมทนั เสรจ็ นั้นแล สามเณรเขาไปสูภายในบาน
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 274แลว . ชาวบา น ไดนาํ ออกไป ถวายภิกษแุ กสามเณรโดยเคารพสามเณรน้นั รับภกิ ษาเพยี งยงั อัตภาพ. ใหเปน ไปแลว ไปสูส าํ นักพระศาสดานอ มบาตรเขา ไปแลว. พระศาสดาตรัสวา \" นํามาเถดิ ตสิ สะ \" แลวทรงเหยียดพระหัตถรับบาตร ทรงแสดงแกพ ระเถระวา \"สารบี ุตร จงดูบาตรของสามเณรของเธอ.\" พระเถระรบั บาตรจากพระหัตถของพระ-ศาสดา ใหแกส ามเณรแลว กลา ววา \"เธอจงไปนั่งทําภัตกจิ ในทที่ ่ีถึงแกตน.\" ชาวบา นอังคาสภิกษุสงฆม พี ระพุทธเจาเปน ประธาน แลว ทลูขออนุโมทนากะพระศาสดา. พระศาสดาเม่ือจะทรงทาํ อนุโมทนา จงึตรสั อยางนว้ี า \" อุบาสกและอบุ าสกิ าทง้ั หลาย เปนลาภของทานท้ังหลายซ่งึ ไดเ หน็ อสตี ิมหาสาวก คือ สารีบุตร โมคคลั ลานะ กัสสป เปนตนเพราะอาศัยสามเณรผเู ขาถงึ สกุลของตน ๆ. แมเราก็มาแลว เพราะอาศัยสามเณรผูเขา ถึงสกุลทา นทงั้ หลายเหมอื นกัน. แมการเห็นพระพทุ ธเจาอนั ทานท้ังหลายไดแ ลว เพราะอาศยั สามเณรน้นี นั่ เอง, เปน ลาภของทา นท้งั หลาย. ทานท้ังหลายไดด ีแลว .\" มนุษยท ั้งหลายคดิ วา \" นายนิ ดี !เปนลาภของพวกเรา. พวกเราไดเหน็ พระผเู ปนเขาของพวกเรา ผูสามารถในการยงั พระพุทธเจาและภิกษุสงฆใหโปรดปราน. และยอ มไดถวายไทยธรรมแกพ ระผูเปนเจา น้นั .\" พวกมนษุ ยท โี่ กรธสามเณรกับยนิ ดแี ลวพวกทีย่ นิ ดแี ลวเลอ่ื มใสโดยประมาณยิ่ง. กใ็ นเวลาจบอนโุ มทนา ชนเปนอนั มากบรรลุอริยผลทัง้ หลาย มโี สดาปต ตผิ ลเปน ตน แลว พระศาสดาเสด็จลุกจากอาสนะหลกี ไปแลว . มนุษยท ั้งหลายตามสง เสดจ็ พระศาสดาถวายบังคมแลวกลบั . พระศาสดา เสด็จไปดว ยพระธรุ ะอนั เสมอกับสามเณร ตรสั ถาม
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 275ประเทศทีอ่ ุบาสกแสดงแลวแกส ามเณรนน้ั ในกาลกอนวา \"สามเณรประเทศนีช้ อ่ื อะไร ? ประเทศน้ีช่อื อะไร ?\" ดงั นีแ้ ลว ไดเสดจ็ ไป.แมสามเณรกก็ ราบทลู วา \"ขา แตพระองคผเู จรญิ ประเทศนี้ชื่อน,้ีประเทศนี้ชอ่ื นี้ \" ไดไ ปแลว. นาํ้ ตาของมนุษยมากกวานํา้ ในมหาสมุทร พระศาสดา เสด็จถึงทอี่ ยูของสามเณรน้นั แลว เสดจ็ ขึน้ สยู อดภเู ขา. กม็ หาสมุทรยอมปรากฏแกผ ทู ี่ยนื อยูบ นยอดภูเขาน้นั . พระศาสดาตรัสถามสามเณรวา \"ตสิ สะ เธอยืนอยูบ นยอดเขา แลดูขางโนน และขา งนี้ เหน็ อะไร ?\" สามเณร. เหน็ มหาสมุทร พระเจา ขา พระศาสดา. เหน็ มหาสมุทรแลวคดิ อยางไร ? สามเณร. ขาพระองคค ิดอยางนี้วา 'เมอ่ื เรารอ งไหในคราวทถี่ ึงทุกข นา้ํ ตาพงึ มากกวานา้ํ ในมหาสมทุ รทงั้ สี'่ พระเจา ขา . พระศาสดา ตรัสวา \"ดีละ ดีละ ติสสะ, ขอนเี้ ปน อยา งนั้น,เพราะน้าํ ตาอันไหลออก ในเวลาทส่ี ตั วผ ูหนงึ่ ๆ ถงึ ซงึ่ ทุกข พึงเปนของมากกวา น้าํ ในมหาสมุทรทั้งสี่ โดยแท. \" ก็แล คร้ันตรัสคาํ นีแ้ ลว จงึตรัสพระคาถานี้วา :- \" น้าํ ในมหาสมุทรทง้ั สีนิดหนอย, นาํ้ คือนาํ้ ตา ของนระผอู ันทกุ ขถ กู ตองแลว เศราโศกอยู มี ประมาณไมนอย มากกวา นํ้าในมหาสมทุ รทงั้ สี่น้ัน, สหาย เพราะเหตไุ ร ทานจงึ ยงั ประมาทอยู ? \"
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 276 สถานที่สัตวเ คยตายและไมเ คยตาย ลาํ ดบั นั้น พระศาสดา ตรสั ถามสามเณรนนั้ อีกวา \"ติสสะ เธออยูท ่ีไหน ? สามเณร. อยทู ีเ่ ง้ือมเขานี้ พระเจาขา . พระศาสดา. กเ็ มอื่ อยูในท่นี ้ัน คดิ อยางไร ? สามเณร. ขาพระองคคิดวา ' การกาํ หนดท่ที งิ้ สรีระ อันเราผูตายอยู ทาํ แลว ในที่น้ี ไมม ี' พระเจา ขา. พระศาสดา. ตรัสวา \"ดลี ะ ดลี ะ ติสสะ, ขอ นี้ อยางนนั้ ,เพราะช่อื วาสถานท่ีแหง สตั วเ หลา น้ี ผูท่ไี มนอนตายบนแผนดิน ไมมี \"ดงั นแ้ี ลว จงึ ตรัสอปุ สาฬหกชาดก๑ในทุกนิบาตนว้ี า :- \" พราหมณ นามวา อุปสาฬหก หม่ืนส่ีพัน ถูกไฟไหมแลวในประเทศน้ี, สถานท่ีอันสัตวไมเคย ตายไมมีในโลก. ความสตั ย ๑ ธรรม ๑ ความไม เบยี ดเบยี น ๑ ความสํารวม ๑ ความฝก ฝน (ทรมาน) ๑ มีอยูที่ใด, พระอรยิ เจา ทั้งหลาย ยอ มเสพทเี่ ชนนั้น, สถานทน่ี นั้ ช่อื วา อันสตั วไม เคยตายในโลก.\" เม่ือสตั วท ้ังหลาย ทาํ การทอดทิ้งสรรี ะไวเหนอื แผน ดนิ ตายอยู,สตั วทั้งหลาย ชือ่ วาตายในประเทศท่ีไมเ คยตาย ยอมไมม ี ดวยประการฉะนี้.๑. ข.ุ ชา. ๒๗/๕๗. อรรถกถา. ๓/๗๐.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 277 สว นพระเถระทง้ั หลาย เชน พระอานนทเถระ ยอมปรินิพพานในประเทศที่สัตวไ มเ คยตาย. การปรนิ ิพพานของพระอานนท ดงั ไดส ดับมา พระอานนทเถระ พจิ ารณาดอู ายสุ ังขารในกาลที่มีอายไุ ด ๑๒๐ ป ทราบความท่อี ายุนน้ั สิ้นไปรอบ จึงบอกวา \" เราจักปรินิพพานในวันที่ ๗ แตว ันน.้ี \" บรรดามนุษยผอู ยูท ี่ฝง ท้ังสองแหงแมน าํ้ โรหิณี ทราบขาวนน้ั แลว ผูทีอ่ ยฝู ง น้ี กลา ววา \"พวกเรา มีอปุ การะมากแกพ ระเถระ, พระเถระจกั ปรนิ พิ พานในสาํ นกั ของพวกเรา.\"ผทู อ่ี ยูฝง โนนกก็ ลา ววา \" พวกเรามีอุปการะมากแกพ ระเถระ, พระเถระจกั ปรินพิ พานในสาํ นกั ของพวกเรา.\" พระเถระฟง คาํ ของชนเหลาน้ันแลวคดิ วา \"แมพ วกชนผูทอี่ ยฝู งทัง้ สองกม็ อี ปุ การะแกเราทง้ั นัน้ . เราไมอาจกลาววา ' ชนเหลา นไี้ มมอี ุปการะ' ได, ถาเราจกั ปรนิ พิ พานทีฝ่ งนี้,ผูอยฝู งโนน จักทาํ การทะเลาะกับพวกฝง นี้ เพือ่ จะถือเอา (อัฐิ) ธาตุ;ถา เราจักปรินพิ พานทฝ่ี งโนน , พวกที่อยฝู ง น้ี กจ็ ักทําเหมอื นอยา งน้ัน;ความทะเลาะแมเ ม่ือจะเกดิ กจ็ กั เกิดขึน้ อาศยั เราแนแท, แมเมอื่ จะสงบกจ็ ะสงบอาศยั เราเหมอื กัน\" ดังนแ้ี ลว กลาววา \"ทั้งพวกที่อยูฝง นี้ยอ มมีอุปการะแกเรา, ทงั้ พวกทีอ่ ยฝู งโนน กม็ อี ุปการะแกเรา. ใคร ๆช่ือวา ไมม อี ปุ การะไมมี; พวกท่ีอยฝู ง นจี้ งประชมุ กันที่ฝง นี้แหละ, พวกท่อี ยูฝงโนนกจ็ งประชมุ กันทฝี่ ง โนน แหละ.\" ในวันท่ี ๗ แตว ันน้นัพระเถระนัง่ โดยบัลลงั กใ นอากาศประมาณ ๗ ชว่ั ลําตาล ในทา มกลางแหงแมนํ้า กลา วธรรมแกมหาชนแลว อธิษฐานวา \"ขอสรีระของเราจงแตก
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 278ในทา มกลาง, สวนหน่งึ จงตกฝง น้,ี สวนหน่ึงจงตกฝง โนน \" นงั่ อยตู ามปกตนิ ่นั แหละ เขา สมาบตั มิ ีเตโชธาตุเปนอารมณ. เปลวไฟตั้งขึน้ แลว.สรีระแตกแลว ในทา มกลาง. สว นหน่งึ ตกฝงน;้ี สว นหนงึ่ ตกที่ฝง โนน .มหาชนรอ งไหแ ลว. เสียงรอ งไห ไดเ ปน ราวกะวา เสยี งแผนดนิ ทรดุนา สงสาร แมก วา เสียงรอ งไหใ นวนั ปรนิ ิพพานแหงพระศาสดา. พวกมนษุ ยรองไหราํ่ ไรอยตู ลอด ๔ เดือน เที่ยวบนเพออยูวา \" เมื่อพระเถระผูรบั บาตรจีวรของพระศาสดายังดาํ รงอย,ู ไดป รากฏแกพวกเรา เหมือนการทพ่ี ระศาสดายังทรงพระชนมอย,ู บัดน้ี พระศาสดาของพวกเราปรนิ พิ พานแลว.\" พระศาสดาสนทนากับติสสสามเณร พระศาสดา ตรัสถามสามเณรอีกวา \" ตสิ สะ เธอไมก ลวั ในเพราะเสียงแหงสตั วท ั้งหลายมเี สอื เหลืองเปน ตน ในชฏั ปาน้ีหรือ ?\" สามเณรกราบทูลวา \" ขาแตพ ระผูมพี ระภาคเจา ขา พระองคยอมไมก ลัว, กแ็ ลอกี อยางหนง่ึ ชื่อวาความยนิ ดใี นปา ยอ มเกดิ ข้นึ แกขาพระองค เพราะฟงเสยี งแหง สตั วเ หลา นนั้ \" แลวกลาวพรรณนาปาดวยคาถาประมาณ ๖๐ คาถา. ครั้งนั้น พระศาสดาตรสั เรยี กสามเณรน้ันวา \"ตสิ สะ.\" สามเณร. อะไร ? พระเจา ขา. พระศาสดา. พวกเราจะไป เธอจักไปหรอื จกั กลบั ? สามเณร. เมอ่ื อุปชฌายะของขา พระองค พาขาพระองคไ ป,ขาพระองคจักไป, เม่ือใหข า พระองคก ลบั , ขาพระองคก จ็ กั กลับพระเจาขา .
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 279 พระศาสดา เสด็จหลีกไปกบั ภกิ ษสุ งฆ. แตอ ัธยาศยั ของสามเณรใครจ ะกลับอยา งเดยี ว. พระเถระทราบอัธยาศัยนัน้ จึงกลา ววา \" ตสิ สะถา เธอใครจ ะกลับ, ก็จงกลับเถดิ .\" สามเณรถวายบังคมพระศาสดาและไหวภ ิกษสุ งฆแ ลว กลบั . พระศาสดาไดเ สดจ็ ไปยังพระเชตวนั แลว เทยี ว. พวกภิกษสุ รรเสรญิ สามเณร การสนทนาของภกิ ษทุ ัง้ หลาย เกิดขนึ้ ในโรงธรรมวา \"นาอศั จรรยห นอ ตสิ สสามเณร ทํากรรมที่บุคคลทําไดย าก; จาํ เดิมแตถอืปฏสิ นธิ พวกญาตขิ องเธอ ไดถวายขา วปายาสมนี ้ํานอยแกภ กิ ษุประมาณ๕๐๐ ในมงคล ๗ ครั้ง, ในเวลาบวชแลว ก็ไดถ วายขาวมธุปายาสมนี ํ้านอยเหมือนกนั แกภกิ ษสุ งฆมีพระพุทธเจาเปนประธาน ภายในวหิ ารสิน้ ๗ วนั ครน้ั บวชแลว ในวันที่ ๘ เขาไปสบู า น ไดบ ณิ ฑบาตพันหนึ่งกับผาสาฎกพันหนง่ึ โดย ๒ วันเทา น้ัน, วนั รุง ข้ึน ไดผ า กมั พลพนัหนงึ่ ในเวลาเธออยใู นทนี่ ี้ ลาภและสักการะมากกเ็ กิดข้นึ แลว ดว ยประการฉะน้ี. บดั นี้ เธอทง้ิ ลาภสละสกั การะเหน็ ปานนี้เสีย แลว เขาไปสูปา ยงั อตั ภาพใหเ ปน ไปดว ยอาหารท่เี จอื กัน; สามเณรทาํ กรรมท่ีทาํ ไดโดยยากหนอ.\" ขอปฏบิ ัติ ๒ อยาง พระศาสดา เสดจ็ มาแลว ตรัสถามวา \"ภิกษทุ ง้ั หลาย บัดน้ีพวกเธอนึ่งสนทนากันดวยเรอื่ งอนั ใดหนอ ?\" เมอ่ื ภกิ ษุเหลานั้น กราบทูลวา \"ดว ยเร่ืองช่ือนี\"้ จงึ ตรัสวา \"อยางนั้น ภิกษทุ ้งั หลาย ชอ่ื วาขอปฏิบัติอนั เขา ไปอาศัยลาภนั้นเปนอยา งอ่ืน, ขอปฏิบตั ิอันยงั สัตวใหถ งึ
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 280พระนพิ พาน เปนอยา งอ่ืน ก็อบาย๑ ๔ มปี ระตอู ันเปด แลว นน้ั แลดังอยู เพ่อื ภกิ ษผุ รู ักษาขอปฏบิ ตั อิ ันเขาไปอาศยั ลาภ ดวยสามารถแหง การสมาทานธุดงค มีการอยูปา เปนตน ดวยหวังวา ' เราจักไดล าภดวยการปฏิบัตอิ ยา งน้'ี สวนภิกษุผูละลาภและสักการะอนั เกิดขึน้ ดวยขอปฏิบัติอนั ยังสัตวใหถงึ พระนพิ พานแลวเขา ไปสูปา เพียรพยายามอยู ยอ มยดึ เอาพระอรหตั ไวไ ด\" ดงั นี้แลว เม่ือจะทรงสบื อนุสนธแิ สดงธรรม จึงตรสัพระคาถาน้ีวา :- ๑๕. อฺ า หิ ลาภูปนิสา อฺ า นิพพฺ านคามินี เอวเมต อภิฺ าย ภกิ ฺขุ พุทธฺ สฺส สาวโก สกฺการ นาภินนฺเทยฺย วิเวกมนพุ ฺรูหเย. \"กข็ อปฏบิ ัติอนั เขาไปอาศัยลาภ เปนอยางอน่ื , ขอ ปฏิบัตอิ นั ยังสัตวใหถ ึงพระนพิ พาน เปนอยางอ่นื (คนละอยาง). ภิกษผุ ูเปน สาวกของพระพทุ ธเจา ทราบเน้อื ความนัน้ อยา งนแี้ ลว ไมพึงเพลิดเพลิน สกั การะ พึงตามเจรญิ วเิ วก.\" แกอรรถ บรรดาบทเหลา นั้น บาทพระคาถาวา อฺา หิ ลาภูปนิสาความวา ชื่อวา ขอ ปฏิบัติอันเขาไปอาศัยลาภนเ้ี ปนอยา งน้ีแล; ขอปฏบิ ัติอันยังสตั วใหถึงพระนิพพาน เปนอยางอื่น ( เปนคนละอยา ง). จริงอยู๑. อบาย ๔ คือ นรก เปรต อสรุ กาย สัตวด ิรัจฉาน.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 281อนั ภิกษุผูจ ะใหล าภเกิดข้นึ ควรทาํ อกุศลกรรมหนอ ยหนง่ึ . การคดกายเปนตน นาทีเ่ ธอจะพึงทาํ . ดวยวา ในกาลใดภิกษทุ าํ การคดบางอยา งบรรดาคดกายเปนตน, ในกาลน้นั ลาภยอ มเกิดข้นึ . ก็เมอื่ ภกิ ษหุ ยอนมอืลงตรง ๆ ในถาดเขา ปายาสไมใหงอแลว ยกข้นึ , มือเปน แตเ พียงเปอ นเทานัน้ , แตเ มือ่ หยอ นลง ทาํ ใหงอแลวยกขึน้ , มอื ยอ มชอ นกอนขาวปายาสออกมาไดแท; ลาภและสกั การะยอ มเกิดขึ้นในคราวทาํ การคดกายเปนตนอยา งน้:ี นีจ้ ัดเปน ขอปฏิบตั ิอันเขา ไปอาศัยลาภท่ีไมช อบธรรม. แตลาภท่เี กิดขน้ึ ดว ยเหตเุ หน็ ปานนี้ คอื \"การถงึ พรอมดวยอุปธ๑ิ การทรงไวซง่ึ จวี ร (การครองจีวร) ความเปนพหสู ตู ความมบี ริวาร การอยปู า\" ช่ือวา ประกอบดวยธรรม. ก็ภกิ ษผุ ูบ ําเพ็ญขอปฏิบตั อิ นั ยังสตั วใหถ งึ พระนพิ พาน พงึ ละการคดกายเปน ตนเสยี , อนั ภกิ ษผุ บู ําเพ็ญขอปฏิบัตอิ นั ยังสัตวใ หถงึ พระนพิ พาน ไมใ ชคนบอด เปนเหมือนคนบอดไมใชคนใบ เปน เหมอื นคนใบ ไมใชค นหนวก เปนเหมอื นคนหนวกจงึ ควร. บทวา เอวเมต เปนตน ความวา ภิกษุชือ่ วาเปน สาวกเพราะอรรถวา เกดิ ในทสี่ ุดแหง การฟง หรือเพราะอรรถวา ฟงโอวาทและอนสุ าสนี ของทานผชู ื่อวา พุทธะ เพราะอรรถวา ตรสั รูส งั ขตธรรมและอสงั ขตธรรมทง้ั หมด ทราบขอ ปฏบิ ัตเิ ปนเครือ่ งยังลาภใหเ กิดขนึ้และขอ ปฏิบัติยังสัตวใ หถึงพระนิพพานนัน้ อยางน้ันแลว ไมพ ึงเพลิดเพลนิ๑. อุปธิสมปฺ ทา ฉบบั ยโุ รปเปน อปุ สมฺปทา. คาํ วา อปุ ธิ เปนชื่อของกเิ ลสก็มี ของรา งกายกม็ ีในทนี่ เี้ ปนช่ือของรา งกาย อปุ ธิสมฺปทา จงึ หมายถงึ รปู สมบตั ิ.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 282สักการะคือปจ จยั ๑ ๔ อันไมชอบธรรม คือไมพ งึ หามสกั การะอันชอบธรรมน้นั น่นั แล พึงเจรญิ วเิ วก มกี ายวิเวกเปนตน . บรรดาวเิ วกเหลา นน้ั ความเปน ผมู กี ายโดดเดยี่ ว ชือ่ วา กายวิเวก,สมาบตั ๒ิ ๘ ช่อื วาจติ ตวิเวก พระนพิ พาน ชอื่ วา อุปธวิ เิ วก๓. บรรดาวิเวกเหลานน้ั กายวเิ วก ยอ มบรรเทาความคลุกคลีดว ยหม,ูจติ ตวิเวก ยอ มบรรเทาความหมกั หมมดว ยกิเลส, อปุ ธิวเิ วก ยอ มบรรเทาซง่ึ ความเกีย่ วของดว ยสงั ขาร; กายวิเวก ยอ มเปน ปจ จยั แหง จติ ตวิเวก,จติ ตวเิ วก ยอ มเปนปจ จยั แหง อุปธิวิเวก. สมจริงดงั คาํ ที่พระสารบี ตุ รเถระแมกลา วไวว า \"กายวิเวกของผมู ีกายสงบแลว ยนิ ดีย่ิงแลวในการออกบวช, จิตตวิเวกของผมู จี ติ บริสทุ ธิแ์ ลว ถงึ ความผอ งแผว อยา งย่งิ ,และอุปธวิ ิเวกของบุคคลผูไมม ีอปุ ธิ ถงึ พระนิพพาน๔\" พงึ เจรญิ คือพึงพอกพูน อธบิ ายวา พงึ เขา ไปสาํ เร็จวิเวก ๓ นอ้ี ยู. ในเวลาจบเทศนา ชนเปน อันมาก บรรลอุ รยิ ผลทง้ั หลาย มีโสดาปตติผลเปน ตน ดังนแ้ี ล. เรอื่ งพระวนวาสตี ิสสเถระ จบ. พาลวรรควรรณนา จบ. วรรคท่ี ๕ จบ.๑. จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านเภสัช. ๒. รูปฌาน ๔ อรปู ฌาน ๔. ๓. อุปธิมี ๔คอื ขันธูปธิ, กิเลสสูปธ,ิ อภสิ งั ขารูปธ,ิ กามปู ธิ. ๔. ข.ุ มหา. ๒๙/๑๗๒.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 283 คาถาธรรมบท บัณฑิตวรรค๑ท่ี ๖ วาดว ยบคุ คลผเู ปน บัณฑิต [๑๖] ๑. บคุ คลพึงเหน็ ผูม ีปญญาใด ซง่ึ เปนผูกลาว นคิ คหะช้ีโทษ วาเปนเหมือนผูบ อกขมุ ทรพั ยให พึงคบผูม ีปญ ญาเชน นัน้ ซ่งึ เปนบณั ฑติ เพราะวา เมอื่ คบทา นผูเ ชนนั้น มีแตค ุณอยา งประเสริฐ ไมม ี โทษท่ลี ามก. ๒. ผใู ดพงึ วา กลาว พงึ สอน และพงึ หา มจาก ธรรมของอสัตบรุ ุษ ผนู นั้ แล ยอ มเปน ที่รกั ของ สตั บรุ ุษทัง้ หลาย ไมเปนท่ีรกั ของพวกอสตั บุรษุ . ๓. บุคคลไมค วรคบบาปมติ ร ไมค วรคบบรุ ษุ ต่ําชา ควรคบกลั ยาณมิตร ควรคบบรุ ุษสูงสุด. ๔. บคุ คลผูเอิบอ่มิ ในธรรม มีใจผอ งใส ยอม อยูเปนสุข บัณฑติ ยอ มยินดีในธรรมที่พระอริยเจา ประกาศแลว ทกุ เม่อื . ๕. อนั คนไขนา้ํ ท้ังหลายยอ มไขน้ํา ชา งศร ท้ังหลายยอ มดัดศร ชางถากท้งั หลายยอ มถากไม บณั ฑิตท้งั หลายยอมฝก ตน.๑. วรรคที่ ๖ มีอรรกถา ๑๑ เร่ือง.
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 284 ๖. ภูเขาศิลาลวน เปนแทง เดยี ว ยอมไมสะเทือนดวยลมฉนั ใด บัณฑติ ทั้งหลาย ยอมไมเอนเอียงในเพราะนินทาและสรรเสรญิ ฉนั นนั้ . ๗. บัณฑติ ทง้ั หลาย ฟงธรรมแลว ยอ มผองใสเหมอื นหว งน้าํ ลกึ ใสแจว ไมขนุ มวั ฉะน้ัน. ๘. สัตบรุ ุษทัง้ หลาย ยอ มเวนในธรรมทง้ั ปวงแล สัตบุรุษท้ังหลาย หาใชผปู รารถนากามบน ไมบณั ฑติ ท้งั หลาย อันสุขหรือทกุ ขถ กู ตอ งแลว ยอ มไมแสดงอาการขึ้นลง. ๙. บัณฑิตยอมไมทําบาปเพราะเหตุแหง ตนยอ มไมทาํ บาปเพราะเหตุแหงบคุ คลอ่นื บณั ฑิตไมพงึ ปรารถนาบุตร ไมพ งึ ปรารถนาทรัพย ไมพงึปรารถนาแวนแควน ( และ) ไมพ ึงปรารถนาความสําเร็จเพอ่ื ตนโดยไมเ ปนธรรม บัณฑิตนัน้ พงึ เปน ผูมีศีล มปี ญญา ตง้ั อยูในธรรม. ๑๐. บรรดามนุษย ชนผูถงึ ฝง มีจํานวนนอยฝายประชานอกนเ้ี ลาะไปตามตลง่ิ อยา งเดยี ว ก็ชนเหลา ใดแล ประพฤตสิ มควรแกธรรมในธรรมท่ีเรากลาวชอบแลว ชนเหลานน้ั ลวงบวงมารท่ีขามไดย ากอยางเอกแลว จกั ถงึ ฝง .
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 285 ๑๑. บณั ฑติ ละธรรมดาํ แลว ออกจากอาลยัอาศยั ธรรม อันหาอาลัยมไิ ดแ ลว ควรเจริญธรรมขาวละกามทงั้ หลายแลว หมดความกงั วล พงึ ปรารถนาความยินดยี ิง่ ในวิเวก อนั เปน ท่ีซ่ึงประชายนิ ดไี ดย ากบัณฑิตควรทําตนใหผ องแผว จากเคร่ืองเศรา หมองชนเหลาใดอบรมจิตดีแลว โดยชอบ ในองคธรรมแหง ความตรสั รู ( และ) ชนเหลา ใดไมถือมนั่ยินดีในการละ เลิกความถอื ม่ัน ชนเหลานน้ั ฯเปน พระขณี าสพ รงุ เร่อื ง ดับสนิทแลวในโลก. จบบณั ฑติ วรรคที่ ๖
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 286 ๖. บัณฑิตวรรควรรณนา ๑. เร่อื งพระราธเถระ [๖๐] ขอ ความเบอื้ งตน พระศาสดา เมื่อประทับ อยูในพระเชตวัน ทรงปรารภทา นพระราธะตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \"นธิ นี ว ปวตตฺ าร \" เปนตน . ราธพราหมณซ ูบผอมเพราะไมไดบ วช ไดยินวา พระราธะนัน้ ในเวลาเปนคฤหัสถ ไดเ ปนพราหมณตกยากอยูในกรงุ สาวตั ถี. เขาคิดวา \" เราจกั เลีย้ งชพี อยูในสาํ นกั ของภกิ ษทุ ง้ั หลาย\" ดังนี้แลว ไปสวู หิ าร ตายหญา กวาดบริเวณ ถวายวัตถุมีน้ําลางหนาเปน ตน อยใู นวิหารแลว. ภิกษทุ ง้ั หลายไดส งเคราะหเธอแลว กต็ าม, แตก็ไมป รารถนาจะใหบ วช. เขาเมอื่ ไมไดบวช จงึซบู ผอมแลว . ราธพราหมณมอี ปุ นิสัยพระอรหัต ภายหลังวันหนง่ึ พระศาสดาทรงตรวจดสู ตั วโลกในเวลาใกลร งุทอดพระเนตรเห็นพราหมณน ัน้ แลว ทรงใครครวญอยูวา \"เหตุอะไรหนอ ?\" ดังนแี้ ลว ทรงทราบวา \"ราธพราหมณจกั เปน พระอรหันต\"ในเวลาเยน็ เปนเหมือนเสด็จเท่ียวจารกิ ไปในวหิ าร เสด็จไปสูสาํ นักของ
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 287พราหมณแลวตรสั ถามวา \"พราหมณ เธอเทีย่ วทําอะไรอยู ?\" เขากราบทูลวา \" ขา พระองคทําวัตรปฏิวตั รแกภิกษทุ ้งั หลายอยู พระเจา ขา .\" พระศาสดา. เธอไดการสงเคราะหจ ากสาํ นักของภิกษุเหลา นั้นหรอื ? พราหมณ. ไดพระเจาขา , ขาพระองคไดแตเพียงอาหาร, แตทา นไมใ หขา พระองคบ วช. พระสารบี ตุ รเปนผูกตญั กู ตเวที พระศาสดารับสัง่ ใหประชมุ ภกิ ษุสงฆในเพราะเร่อื งนัน้ แลว ตรสัถามความนั้นแลว ตรัสถามวา \"ภิกษุท้งั หลาย ใคร ๆ ระลกึ ถึงคุณของพราหมณน้ีได มอี ยูบางหรอื ?\" พระสารีบตุ รเถระกราบทลู วา\"พระเจา ขา ขาพระองคระลึกได, เม่ือขา พระองคเ ทีย่ วบิณฑบาตอยูในกรงุ ราชคฤห พราหมณนี้ใหคนถวายภกิ ษาทัพพีหนึง่ ทีเ่ ขานํามาเพอื่ ตน,ขา พระองคร ะลึกถึงคณุ ของพราหมณน้ีได.\" เมื่อพระศาสดาตรัสวา\" สารีบุตร กก็ ารท่เี ธอเปลอื้ งพราหมณผ ูมอี ปุ การะอันกระทาํ แลวอยา งนั้นจากทุกข ไมควรหรอื ?\" ทานกราบทูลวา \" ดีละ พระเจาขา, ขา-พระองคจ กั ใหเขาบวช\" จงึ ใหพราหมณน น้ั บวชแลว. พราหมณบ วชแลวเปน คนวา งาย อาสนะท่สี ุดแหงอาสนะในโรงฉนั ยอมถึงแกทา น. ทานลาํ บากอยูดวยอาหารวัตถมุ ีขาวยาคแู ละภตั เปน ตน. พระเถระพาทานหลีกไปสทู ี่
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 288จาริกแลว, กลา วสอน พร่ําสอนทานเนือง ๆ วา \" ส่ิงน้ี คุณควรทํา,สิ่งนี้ คุณไมค วรทํา \" เปนตน . ทานไดเ ปนผูวางา ย มปี กติรบั เอาโอวาทโดยเคารพแลว , เพราะฉะนั้น เมื่อทานปฏิบัตติ ามคาํ ทพ่ี ระเถระพร่าํ สอนอยู โดย ๒-๓ วันเทานนั้ กไ็ ดบรรลพุ ระอรหัตแลว. พระเถระพาทา นไปสสู ํานกั พระศาสดา ถวายบงั คมน่งั แลว. ลาํ ดับน้ัน พระศาสดาทรงทาํ ปฏสิ นั ถารกะทา นแลว ตรัสวา\" สารีบุตร อันเตวาสิกของเธอเปนผวู างา ยแลหรอื ?\" พระเถระ. อยา งน้ัน พระเจาขา. เธอเปนผูว างายเหลือเกนิเมื่อโทษไร ๆ ท่ีขา พระองคแ มกลาวสอนอยู. ไมเคยโกรธเลย. พระศาสดา. สารบี ุตร เธอเมอ่ื ไดสทั ธิวหิ ารกิ เห็นปานน้ี จะพึงรับไดป ระมาณเทาไร ? พระเถระ. ขาพระองคพ ึงรบั ไดแ มม ากทเี ดียว พระเจา ขา . พวกภกิ ษสุ รรเสริญพระสารีบุตรและพระราธะ ภายหลังวนั หนง่ึ พวกภกิ ษสุ นทนากันในโรงธรรมวา \"ไดยินวาพระสารบี ุตรเถระเปน ผกู ตัญูกตเวที ระลึกถงึ อปุ การะสักวา ภิกษาทพั พีหนึ่ง ใหพราหมณตกยากบวชแลว; แมพระราธเถระก็เปนผอู ดทนตอโอวาท ยอ มไดทานผคู วรแกก ารใหโ อวาทเหมือนกันแลว.\" พระศาสดาทรงแสดงอลนี จิตตชาดก พระศาสดาทรงสดบั กถาของภิกษุเหลา น้นั แลว ตรัสวา \"ภกิ ษุทง้ั หลาย มใิ ชแตในบดั นเ้ี ทานัน้ , ถงึ ในกาลกอ น สารีบตุ รเปนผู
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 289กตัญกู ตเวทีเหมอื นกนั \" ดงั น้ีแลว เพ่อื จะประกาศความนน้ั จงึ ตรัสอลีนจิตตชาดก๑ ในทุกนิบาตนี้ ใหพิสดารวา:- \" เสนาหมใู หญอ าศัยเจาอลีนจติ ตกมุ าร รา เริง ทัว่ กันแลว ไดใหช างจบั พระเจา โกศลทั้งเปน ผไู ม พอพระทยั ดว ยราชสมบตั ิ, ภิกษุผถู งึ พรอ มดวยนสิ ยั อยา งน้ี เปนผมู คี วามเพียรอนั ปรารภแลว เจริญ กศุ ลธรรมอย,ู เพือ่ บรรลุธรรมเปน แดนเกษมจาก โยคะ พึงบรรลธุ รรมเปน ทส่ี ้นิ ไปแหงสงั โยชน ทง้ั ปวงโดยลําดับ.\" ไดย นิ วา ชา งตวั หนึง่ เทยี่ วไปตวั เดยี ว รูอุปการะท่พี วกชา งไมทําแลวแกต น โดยภาวะคือทาํ เทาใหห ายโรค แลวใหลกู ชา งตวั ขาวปลอดในครงั้ น้นั ไดเปน พระสารีบตุ รเถระแลว . ภกิ ษคุ วรเปนผวู างา ยอยา งพระราธะ พระศาสดาคร้ันตรัสชาดกปรารภพระเถระอยางนน้ั แลว ทรงปรารภพระราธเถระ ตรัสวา \"ภกิ ษทุ งั้ หลาย ธรรมดาภกิ ษุควรเปนผูว า งา ยเหมอื นราธะ, แมอ าจารยช้ีโทษกลาวสอนอยู ก็ไมควรโกรธอนึง่ ควรเห็นบคุ คลผใู หโอวาท เหมือนบคุ คลผบู อกขมุ ทรัพยใหฉะน้นัดงั น้แี ลว เมอ่ื จะทรงสบื อนุสนธแิ สดงธรรม ไดต รัสพระคาถานวี้ า :-๑. ข. ชา. ๒๗/ขอ ๑๖๑. อรรถกถา. ๓/๒๓.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 507
Pages: