Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_41

tripitaka_41

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:40

Description: tripitaka_41

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 451พระเถระกลาววา \"ทานไมร ูทางแหงพรหมโลกทเี ดียว, แมพวกอาจารยของทานกไ็ มร ู: พระศาสดาพระองคเ ดยี วเทา นั้น ทรงรู, มาเถดิพราหมณ. ฉันจะทลู อาราธนาใหพระองคต รัสบอกทางแหงพรหมโลกแกทา น\" ดังนแ้ี ลว พาพราหมณนน้ั นาํ ไปสูสาํ นกั ของพระศาสดา กราบทูลเรือ่ งน้นั วา พราหมณผูน้ี กลาวอยางนัน้ พระเจา ขา \" แลว กราบทูลวา \"ดลี ะหนอ ขอพระองคต รัสบอกทางแหงพรหมโลกแกพ ราหมณน ัน้ .\"พระศาสดาทรงแสดงธรรมโปรดพราหมณพระศาสดาตรสั ถามวา \"ไดย ินวา อยา งนัน้ หรอื ? พราหมณ\"เมอ่ื พราหมณน ัน้ ทูลวา \" อยางน้นั พระโคคมผูเจริญ \" จงึ ตรัสวา\"พราหมณ การแลดสู าวกของเราดวยจติ อันเล่อื มใสเพยี งครเู ดียว หรือการถวายอาหารวตั ถเุ พยี งภกิ ษาทัพพีเดยี ว มผี ลมากแมก วา ทานทท่ี า นเม่อืใหอ ยา งนั้น ใหแ ลว ตั้ง ๑๐๐ ป เมอ่ื จะทรงสบื อนสุ นธแิ สดงธรรมจึงตรัสพระคาถานว้ี า:-๕. มาเส มาเส สหสเฺ สน โย ยเชถ สต สมเอจฺ ภาวิตตตฺ าน มหุ ุตฺตมป ปชู เยสา เย ปชู นา เสยฮ ย ยฺเจ วสฺสสต หุต .\"ผใู ด พงึ บชู าดวยทรัพยพนั หนง่ึ ทกุ ๆ เดือนสนิ้ ๑๐๐ ป, สว นการบชู านัน้ นั่นแล ของผทู ี่พงึบชู าทา นผมู ีตนอบรนแลวคนเดียวแมต รูหน่งึ ประ-เสริฐกวาการบูชาของผูน้ัน, การบชู า สนิ้ ๑๐๐ ปจะประเสริฐอะไรเลา ?\"

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 452 แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้นั บทวา สหสเฺ สน ความวา ดวยการบรจิ าคทรัพยพ ันหนง่ึ . บาทพระคาถาวา โย ยเชถ สต สม ความวา ผูใ ดเมื่อบรจิ าคทรพั ยพ ันหนึ่งทุก ๆ เดือน พงึ ใหทานแกโ ลกยิ มหาชน ส้นิ ๑๐๐ ป. บาทพระคาถาวา เอกฺจ ภาวิตตฺ าน ความวา สว นผใู ดพงึบชู าทานผูมีในอบรมแลว ดว ยอาํ นาจแหง คณุ ผูเดียว โดยทีส่ ดุ เบอื้ งต่าํ เปนพระโสดาบนั โดยที่สดุ เบ้ืองสูงเปน พระขีณาสพ ผูม าถึงแทบประตูเรือนดว ยอาํ นาจถวายภิกษาทัพพหี น่งึ ดวยอาํ นาจถวายอาหาร พอยังอัตภาพใหเปน ไปได หรือดวยเพยี งถวายผาเนื้อหยาบ, บูชาของผูน้นั นนั่ แลประเสรฐิ คอื ล้ําเลิศ ไดแก สูงสุดกวาความบชู าอันบคุ คลนอกนบ้ี ชู าแลว สิ้น ๑๐๐ ป. ในเวลาจบเทศนา พราหมณน ้นั บรรลุโสดาปตตผิ ลแลว, ชนแมเหลาอื่นเปน อนั มากบรรลุอรยิ ผลทง้ั หลาย มโี สดาปต ตผิ ลเปน ตน ดงั นีแ้ ล. เรือ่ งพราหมณผ ูเปน ลงุ ของพระสารบี ุตรเถระ จบ.

พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 453 ๖. เร่ืองพราหมณผ เู ปนหลานของพระสารบี ุตรเถระ [๘๖] ขอ ความเบือ้ งตน พระศาสดาเม่ือประทบั อยใู นพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภหลานของพระสารบี ุตรเถระ ตรสั พระธรรมเทศนานวี้ า \"โย จ วสฺสสต ชนตฺ \"ุเปน ตน . พระเถระพาหลานไปเฝาพระศาสดา ความพิสดารวา พระเถระเขาไปหาหลานแมน้นั แลว ถามวา\"พราหมณ เธอทาํ กศุ ลหรือ ?\" พราหมณ. อยางนนั้ ขอรับ. พระเถระ. ทํากศุ ลอะไร ? พราหมณ. ฆา สตั วเล้ียงตัวหน่ึงแลวบําเรอไฟทุก ๆ เดือน. พระเถระ. ทาํ อยางน้นั เพอ่ื อะไร ? พราหมณ. เขาวา นัน่ เปนทางแหง พรหมโลก. พระเถระ. ใคร วา อยา งนัน้ ? พราหมณ. พวกอาจารยข องกระผม ขอรบั . พระเถระกลา ววา \" เธอไมรทู างแหงพรหมโลกเลย. แมพ วกอาจารยของเธอกไ็ มร ู มาเถดิ , เราจกั ไปสํานกั ของพระศาสดา\" ดงั นี้แลว นาํ หลานนน้ั ไปสสู าํ นกั ของพระศาสดา ทลู เรื่องน้นั แลว กราบทูลวา\" พระเจา ขา ขอพระองคตรสั บอกทางแหงพรหมโลกแกพราหมณน.ี้ \"

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 454 พระศาสดาทรงแสดงธรรมโปรดพราหมณ พระศาสดาตรสั ถามวา \"ไดยินวา อยางนั้นหรอื ?\" เม่ือพราหมณนนั้ ทูลวา \"อยา งนัน้ พระโคดมผเู จริญ\" จงึ ตรัสวา \"พราหมณการบําเรอไฟของทานผบู ําเรอไฟอยางน้นั ตั้ง ๑๐๐ ป ยอมไมถ ึงแมการบูชาสาวกของเรา เพยี งขณะเดียว\" เมื่อจะทรงสืบอนสุ นธแิ สดงธรรมจึงตรสั พระคาถานี้วา :- ๖. โย จ วสสฺ สต ชนตฺ ุ อคคฺ ึ ปรจิ เร วเน เอกฺจ ภาวิตตตฺ าน มหุ ุติตมป ปูชเย สา เยว ปชู นา เสยโฺ ย ยฺเจ วสฺสสต หตุ  . \"กส็ ตั วใด พงึ บาํ เรอไฟในปา ตั้ง ๑๐๐ ป, สว นเขา พงึ บูชาทา นผมู ตี นอบรมแลวผูเดยี ว แม ครหู นง่ึ , การบูชานั้นน่ันแลประเสรฐิ กวา ( การบชู า ตงั้ ๑๐๐ ป ของสัตวน น้ั ) การบชู า ๑๐๐ ป จะประเสรฐิ อะไรเลา ?\" แกอรรถ บรรดาบทเหลานน้ั บทวา ชนตฺ ุ น้ี เปน ช่อื ของสตั ว. บาทพระ-คาถาวา อคคฺ ึ ปรจิ เร วเน ความวา แมเขา ไปสปู า ดวยปรารถนาความเปน ผูไมม ธี รรมเครื่องเน่นิ ชา พึงบําเรอไฟในปานั้น. คาํ ทีเ่ หลือ เชนเดยี วกับคาํ ท่ีมีในกอ นนน้ั แล.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 455 ในเวลาจบเทศนา พราหมณบ รรลุโสดาปตติผล. ชนแมเหลา อน่ืเปน อนั มากบรรลุอรยิ ผลทง้ั หลาย มีโสดาปตตผิ ลเปน ตน ดงั น้ีแล. เรอื่ งพราหมณผูเปน หลานของพระสารบี ุตรเถระ จบ.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 456 ๗. เร่ืองพราหมณผ เู ปนสหายของพระสารีบตุ รเถระ [๘๗] ขอความเบ้ืองตน พระศาสดาเม่ือประทบั อยูใ นพระเวฬวุ ัน ทรงปรารภพราหมณผูเปน สหายของพระสารบี ุตรเถระ. ตรัสพระธรรมเทศนาน้วี า \"ยงฺกิ ฺจิยฏิ จฺ \" เปน ตน. พระเถระพาสหายไปเฝา พระศาสดา ความพิสดารวา พระเถระเขา ไปหาพราหมณแ มนน้ั แลว ถามวา\"พราหมณ ทา นทาํ กุศลบางอยางหรือ ?\" พราหมณ. อยา งนั้น ขอรับ. พระเถระ. ทาํ กุศลอะไร ? พราหมณ. บูชายัญอยา งท่ีเขาบชู ากนั . ทราบวา ครัง้ นนั้ ชนทั้งหลายยอมบชู ายัญนั้น ดว ยการบรจิ าคอยา งมาก. ตอแตน ี้ พระเถระถามโดยนยั กอนนั่นแล แลวนาํ พราหมณนั้นไปยงั สํานักของพระศาสดา ทลู เร่อื งนนั้ แลว กราบทลู วา \" พระ-เจาขา ขอพระองคตรสั บอกทางแหงพรหมโลก แกพ ราหมณน ี้.\" พระศาสดาทรงแสดงธรรมโปรดพราหมณ พระศาสดาตรัสถามวา ไดย ินวาอยา งนนั้ หรอื ? พราหมณ\"เม่ือพราหมณทูลรบั วา \"อยางน้นั \" แลว จงึ ตรสั วา \"พราหมณทานทท่ี า นบชู ายัญอยางทเ่ี ขาบชู ากัน ใหแ กโลกิยมหาชนตั้งป ยอมไมถึง

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 457แมเ พียงสวนท่ี ๔ แหงกศุ ลเจตนาท่ีเกดิ ข้ึนแกคนท้ังหลาย ผไู หวส าวกของเราดว ยจิตที่เล่อื มใส\" เม่อื จะทรงสบื อนุสนธิแสดงธรรม จึงตรสัพระคาถาน้วี า :- ๗. ยงกฺ ิฺจิ ยิฏ ว หุต ว โลเก ส วจฺฉร ยเชถ ปุ ฺเปกโฺ ข สพฺพ ป ต น จตุภาคเมติ อภวิ าทนา อุชคุ เตสุ เสยฺโย. \"ผมู ุงบญุ พึงบูชายญั และทาํ บาํ บวงอยางใด อยา งหนง่ึ ในโลกตลอดป, ทานนัน้ แมทั้งหมดไมถงึ สว นที่ ๔, การอภิวาทในทานผดู ําเนินตรงประเสริฐ สดุ .\" แกอ รรถ บรรดาบทเหลานั้น บทวา ยงกฺ ิ ฺจิ นี้ เปนคาํ รวบถือไมมีสวนเหลอื . บทวา ยิฏ  ไดแก ทานทเ่ี ขาใหดว ยอํานาจการทํามงคลเปน ตนโดยมาก. บทวา หุต ไดแ ก ทานเพือ่ แขกที่เขาจัดแจงทํา และทานท่ีเขาเธอกรรมและผลของกรรมทํา. สองบทวา ส วจฺฉร ยเชถ ความวา พึงใหทานมีประการดงั กลา วแลว แกโ ลกิยมหาชนแมในจกั รวาลทง้ั สิ้น ตลอดปหนง่ึ ไมมีระหวางเลย. บทวา ปุ ฺ เปกโฺ ข ไดแ ก ผปู รารถนาบญุ . บทวา อุชคุ เตสุความวา ในพระโสดาบนั โดยท่ีสุดอยา งตา่ํ ในพระขณี าสพโดยท่ีสดุ อยา งสูง.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 458 คํานี้ เปนคําทพ่ี ระศาสดาตรัสไววา \"ทานน้นั ท้ังหมด ไมถงึ แมสวนที่ ๔ จากผลแหง กศุ ลเจตนา ของผูน อ มสรีระไหว ดว ยจติ ทเี่ ล่อื มใสเหน็ ปานน้นั ; เพราะฉะน้ัน การอภวิ าทในทานผดู าํ เนนิ ตรงเทา นั้นประเสริฐสดุ . ในเวลาจบเทศนา พราหมณบ รรลุโสดาปตตผิ ลแลว. ชนแมเ หลาอืน่ เปนอันมากบรรลุอริยผลท้งั หลาย มโี สดาปตตผิ ลเปน ตน ดงั นี้แล. เรอื่ งพราหมณผ ูเปน สหายของพระสารบี ุตรเถระ จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 459 ๘. เร่อื งอายุวฒั นกุมาร [๘๘] ขอความเบอ้ื งตน พระศาสดาเมือ่ ทรงอาศัยทฆี ลัมพิกนคร ประทบั อยู ณ กฎุ ใี นปา ๑ทรงปรารภกุมารผูอายุยนื ตรัสพระธรรมเทศนาน้ีวา \"อภวิ าทนสลี ิสฺส\"เปนตน. พราหมณ ๒ สหายออกบวช ไดย นิ วา พราหมณ ๒ คนชาวทฆี ลัมพิกนคร บวชในลัทธภิ ายนอก บําเพ็ญตบะสิ้นกาล ๔๘ ป. บรรดาพราหมณ ๒ คนนัน้ คนหนงึ่คิดวา \"ประเพณขี องเราจักเสอื่ มเสีย, เราจกั สกึ \" ดงั น้แี ลว จงึ ขายบริขารตบะทีต่ นทาํ ไวแ กค นเหลา อืน่ ไดภรรยาพรอมดว ยโค ๑๐๐ ตวัและทรัพย ๑๐๐ กหาปณะ ใหต งั้ ไวเปน กองทุน. คร้ังน้ัน ภรรยาของเขาคลอดเดก็ . สวนสหายของเขานอกจากนไี้ ปสตู างถนิ่ แลว ก็กลับมาสูนครนน้ั อีกน่นั แล. เขาไดย ินความทสี่ หายน้นั มา จงึ ไดพาบุตรและภรรยาไปเพ่ือตองการเย่ยี มสหาย, คร้ันถงึ แลวใหบตุ รในมอื ของมารดาแลว ก็ไหวเองกอ น. แมมารดาใหบ ุตรในมือของบิดาแลว ก็ไหว. สหายน้นั กลาววา\" ขอทา นจงเปน ผมู ีอายุยนื \" แตเมือ่ มารดาบิดาใหบุตรไหวแลว สหายนนั้ ไดนิ่งเสยี .๑. กฏุ ิกศัพท แปลวา กระทอ ม ก็มี คําวา อรฺกฏุ ิกาย คงเปน กระทอ มทีเ่ ขาสรา งไวในปา ไมใชสถานทปี่ ระทบั ยนื เปนที่ประทับชวั่ คราว.

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 460 พราหมณถ ามเหตทุ ี่สหายไมใหพ รแกบ ตุ ร สําคญั นน้ั เขากลาวกะสหายนัน้ วา \"ผเู จรญิ ก็เพราะเหตไุ ร ?เมอื่ ผมไหว ทา นจึงกลา ววา ' ขอทา นจงเปนผมู ีอายยุ ืน.' ในเวลาทเ่ี ด็กนไี้ หว ไมก ลาวคาํ อะไร ๆ ?\" สหาย. พราหมณ อันตรายอยางหนงึ่ ของเด็กน้มี ีอยู. พราหมณ. เดก็ จกั เปน อยตู ลอดกาลเทา ไร ? ขอรับ. สหาย. ๗ วนั พราหมณ. พราหมณ. เหตเุ ปน เคร่ืองปองกนั มีไหม ? ขอรับ. สหาย. เราไมร เู หตุเปนเครอ่ื งปองกนั . พราหมณ. กใ็ ครพงึ รเู ลา ? ขอรบั . สหาย. พระสมณโคดม, ทา นจงไปสํานักของพระสมณโคดมน้นัแลวถามเถิด. พราหมณ. ผมไปในทน่ี ้นั กลวั แตการเส่ือมแหงตบะ. สหาย. ถาความรักในบตุ รของทานมีอย,ู ทานอยา คิดถึงการเสือ่ มแหงตบะ จงไปสาํ นักของพระสมณโคดมนน้ั ถามเถิด. พราหมณไ ปเฝาพระศาสดา พราหมณน้นั ไปสูสํานกั ของพระศาสดาไหวเองกอ น. พระศาสดาตรสั วา \"ทานจงมีอายยุ ืน,\" แมในเวลาทป่ี ชาบดไี หว ก็ตรัสแกนางอยา งน้ันเหมือนกัน ในเวลาทีเ่ วลาใหบุตรไหวไดทรงนงิ่ เสยี . เขาทูลถามพระศาสดาโดยนยั กอ นนั่นแล. แมพระศาสดาก็ทรงพยากรณแกเ ขาอยา งนั้นเหมอื นกัน.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 461 ไดย นิ วา พราหมณน น้ั ไมแทงตลอดพระสพั พญั ุตญาณ จึงเทยี บเคยี งมนตของตนกบั พระสพั พัญุตญาณ. แตไ มรูอบุ ายเครอื่ งปอ งกัน. พระศาสดาตรัสบอกอบุ ายปองกัน พราหมณท ูลถามพระศาสดาวา \"กอ็ ุบายเคร่อื งปอ งกันมอี ยูหรือ ?พระเจา ขา .\" พระศาสดา พงึ มี พราหมณ. พราหมณ. พึงมอี ยา งไร ? พระศาสดา. ถาทา นพงึ อาจเพ่อื ทํามณฑปใกลประตเู รอื นของตนใหท ําตัง่ ไวตรงกลางมณฑปน้นั แลวปอู าสนะไว ๘ หรอื ๖ ที่ ลอมรอบตั่งนัน้ ใหส าวกของเรานัง่ บนอาสนะเหลานนั้ ใหท าํ พระปรติ ร ๗วันไมมรี ะหวา ง. อันตรายของเดก็ นัน้ พึงเสื่อมไป ดว ยอบุ ายอยางน้.ี พราหมณ. พระโคดมผูเจรญิ ขา พระองคอ าจทาํ มณฑปเปน ตนได.แตจ ักไดสาวกของพระองคอ ยา งไร ? พระศาสดา. เมื่อทา นทาํ กิจเทา นี้แลว เราจกั สง สาวกของเราไป พราหมณทูลรบั วา \"ดีละ พระโคดมผูเ จรญิ \" แลวทํากจิ นั้นท้งั หมดใกลประตูเรอื นของตนแลว ไดไ ปยงั สาํ นักของพระศาสดา. พวกภกิ ษไุ ปสวดพระปริตร พระศาสดาทรงสงภกิ ษทุ ัง้ หลายไป. ภกิ ษุเหลา นน้ั ไปนง่ั ในมณฑปนน้ั . พราหมณสามีภรยิ าใหเ ดก็ นอนบนตง่ั แลว. ภกิ ษทุ ั้งหลายสวดพระ-ปรติ ร ๗ คืน ๗ วันไมมีระหวาง. ในวนั ท่ี ๗ พระศาสดาเสด็จมาเอง.เมอ่ื พระศาสดานนั้ เสดจ็ ไปแลว . พวกเทวดาในจกั รวาลทัง้ ส้นิ ประชุมกนัแลว.

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 462 กอ็ วรุทธกยกั ษตนหนึ่งบาํ รุงทาวเวสวัณ ๑๒ ป เมอ่ื จะไดพ รจากสาํ นกั ทา วเวสวัณน้ัน ไดกลาววา \"ในวันที่ ๗ จากวันน้ี ทา นพงึ จับเอาเดก็ น;้ี เพราะฉะนัน้ ยกั ษตนนน้ั จึงไดมายืนอย.ู ก็เมือ่ พระศาสดาเสดจ็ ไปในมณฑปนัน้ , เม่ือพวกเทวดาผมู ศี กั ดใิ์ หญประชมุ กัน. พวกเทวดาผูมศี กั ดิน์ อยถดถอยไป ไมไดโ อกาส หลกี ไปตลอด ๑๒ โยชนถึงอวรุทธกยักษก ไ็ ดห ลีกไปยนื อยา งน้นั เหมือนกนั . เดก็ พนอนั ตรายกลบั มอี ายุยืน แมพระศาสดาไดทรงทาํ พระปรติ รตลอดคนื ยังรุง. เม่ือ ๗ วันลว งแลว, อวรทุ ธกยักษไ มไดเด็ก. ก็ในวนั ที่ ๘ เนอ้ื อรุณพอข้ึนเทานนั้ ,สองสามีภรรยานาํ เด็กมาใหถ วายบังคมพระศาสดา. พระศาสดาตรัสวา\" ขอเจาจงมีอายยุ นื เถดิ .\" พราหมณ. พระโคดมผูเจรญิ ก็เดก็ จะดํารงอยูนานเทา ไร ? พระศาสดา. ๑๒๐ ป พราหมณ. ลําดบั นัน้ ๒ สามภี รรยาขนานนามเดก็ นน้ั วา \"อายวุ ฒั นกมุ าร.\"อายวุ ฒั นกุมารนัน้ เตบิ โตแลว อนั อบุ าสก ๕๐๐ คนแวดลอ มเทย่ี วไป. การกราบไหวทา นผูมีคณุ ทําใหอ ายุยืน ภายหลังวนั หนง่ึ ภิกษทุ งั้ หลายสนทนากนั ในโรงธรรมวา \"ผูมีอายุทง้ั หลาย ทา นทง้ั หลายจงด,ู ไดย นิ วา อายวุ ัฒนกุมารพงึ ตายในวนั ที่ ๗, บดั นีอ้ ายวุ ฒั นกมุ ารนนั้ (ดาํ รงอยู ๑๒๐ ป) อันอบุ าสก ๕๐๐คนแวดลอ มเท่ยี วไป; เหตเุ ครอ่ื งเจรญิ อายขุ องสตั วเ หลาน้ี เหน็ จะม.ี \"

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 463พระศาสดาเสดจ็ มาแลวตรัสถามวา \"ภกิ ษุทั้งหลาย บัดนพี้ วกเธอนัง่ ประชมุ กัน ดว ยเรอื่ งอะไรหนอ ?\" เมื่อภกิ ษทุ ้งั หลายกราบทลู วา\"ดวยเรือ่ งช่อื น,้ี \" จงึ ตรัสวา \"ภิกษทุ งั้ หลาย อายุเจรญิ อยา งเดยี วเทา นน้ั กห็ าไม, กส็ ตั วเ หลานไ้ี หวทานผูมพี ระคุณ ยอ มเจริญดวยเหตุ๔ ประการ, พน จากอันตราย, ดาํ รงอยจู นตลอดอายุทีเดียว\" ดงั น้ีแลวเมือ่ จะทรงสบื อนสุ นธิแสดงธรรม จงึ ตรสั พระคาถานว้ี า :-๘. อภวิ าทนสลี ิสสฺ นิจจฺ  วุฑฒฺ าปจายิโนจตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนตฺ ิ อายุ วณโฺ ณ สุข พล .\"ธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สขุ ะพละ เจรญิ แกบุคคลผกู ราบไหวเปนปกติ ผอู อ นนอมตอ ทา นผเู จรญิ เปน นติ ย.\"แกอ รรถบรรดาบทเหลานนั้ บทวา อภวิ าทนสลี สิ สฺ คือ ผไู หวเปนปกติไดแ ก ผขู วนขวายกจิ คอื การไหวเนือง ๆ. บทวา วุฑฺฒาปจายโิ น ความวา แกค ฤหัสถผ ูออ นนอมหรือผบู ูชาเปน นติ ย ดว ยการกราบไหว แมในภกิ ษุหนุมและสามเณรบวชในวนั นน้ั , กห็ รอื แกบรรพชิตผูอ อ นนอมหรือผบู ชู าเปน นิตย ดวยการกราบไหวในทานผูแ กกวาโดยบรรพชาหรือโดยอุปสมบท (หรือ ) ในทานผเู จริญดว ยคุณ.สองบทวา จตฺตาโร ธมฺมา ความวา เม่ืออายเุ จริญอยู, อายนุ ้ันยอ มเจรญิ สน้ิ กาลเทา ใด, ธรรมทง้ั หลายแมน อกน้ี กเ็ จรญิ สนิ้ กาลเทา นน้ัเหมือนกนั , ดว ยวาผใู ดทาํ กศุ ลทยี่ งั อายุ ๕๐ ป ใหเ ปนไป, อันตราย

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 464แหง ชีวติ ของผนู ้ันพึงเกดิ ข้นึ แมใ นกาลมีอายุ ๒๕ ป; อันตรายนั้นยอ มระงบั เสยี ได ดว ยความเปน ผกู ราบไหวเปนปกต.ิ ผนู ้ันยอมดํารงอยไู ดจ นตลอดอายทุ ีเดียว. แมวรรณะเปน ตน ของผนู ัน้ ยอ มเจริญพรอมกับอายแุ ล. นัยแมย ิ่งกวานี้ ก็อยางน้แี ล. ก็ชอ่ื วาการเจริญแหงอายุ ทเ่ี ปน ไปโดยไมม ีอนั ตราย หามไี ม. ในเวลาจบเทศนา อายุวฒั นกุมาร ตัง้ อยใู นโสดาปต ติผล พรอมกบั อุบาสก ๕๐๐ แลว. แมชนเหลา อ่ืนเปนอันหาก ก็บรรลอุ ริยผลท้งั หลาย มีโสดาปตตผิ ลเปนตน ดงั นแ้ี ล. เร่อื งอายุวฒั นกมุ าร จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 465 ๙. เรื่องสังกจิ จสามเณร [๘๙] ขอ ความเบอ้ื งตน พระศาสดาเม่อื ประทับอยูใ นพระเชตวนั ทรงปรารภสังกิจจสามเณรตรสั พระธรรมเทศนานีว้ า \"โย จ วสฺสสต ชีเว\" เปน ตน. กลุ บุตร ๓๐ คนออกบวช ไดยินวา กุลบุตรประมาณ ๓๐ คนในกรุงสาวัตถี ฟง ธรรมกถาแลว บวชถวายชวี ิตในศาสนาของพระศาสดา. ภิกษุเหลา นน้ั อุปสมบท๑ได ๕ พรรษา เขาไปเฝาพระศาสดา สดบั ธุระ ๒ ประการ คือ\" คนั ธธุระ วิปสสนาธรุ ะ\" ไมทําอตุ สาหะในคันถธรุ ะ เพราะเปน ผูบวชในเวลาเปนคนแก มีความประสงคจะบาํ เพญ็ วปิ ส สนาธรุ ะ ทูลใหพระศาสดาตรสั บอกกม มัฏฐานจนถึงพระอรหัตแลว จึงทลู อาํ ลาพระ-ศาสดาวา \"ขาพระองคจ ักไปสแู ดงปา แหงหน่ึง พระเจาขา .\" พระศาสดาตรัสถามวา \"พวกเธอจกั ไปยังที่ไหน ? เมื่อภกิ ษุเหลา นน้ั กราบทลู วา \"สถานช่อื โนน,\" ไดท รงทราบวา \"ภัยจกั เกิดขึ้นในที่น้นั แกภกิ ษุเหลานัน้ เพราะอาศัยคนกนิ เดนคนหนึง่ กแ็ ตวา เม่อืสังกจิ จสามเณรไปแลว ภัยน้ันจกั ระงับ, เม่อื เปนเชน น้ันกจิ บรรพชติ ของภกิ ษเุ หลานัน้ จกั ถงึ ความบรบิ รู ณ. \"๑. อปุ สมฺปทาย ปจฺ วสสฺ า หุตวฺ า เปนผูมีพรรษา ๕ โดยการอุสมบท.

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 466 ประวตั ขิ องสงั กจิ จสามเณร สามเณรของพระสารบี ุตรเถระชอื่ สังกิจจสามเณร มีอายุ ๗ ปโดยกําเนดิ . ไดยินวา มารดาของสังกจิ จสามเณรนนั้ เปนธิดาของตระกลู ม่ังค่งั ในกรุงสาวัตถี. เม่อื สามเณรน้นั ยงั อยใู นทอ ง มารดาน้ันไดทํากาละในขณะนน้ั นัน่ เอง ดวยความเจบ็ ไขอ ยา งหนึง่ . เมอื่ มารดาน้นั ถูกเผาอยู เน้อื สว นทีเ่ หลือไหมไป เวนแตเ น้อื ทอ ง. ลําดบั นนั้พวกสัปเหรอยกเนอื้ ทอ งของนางลงจากเชิงตะกอน แทงดว ยหลาวเหลก็ในท่ี ๒-๓ แหง. ปลายหลาวเหลก็ กระทบทางตาของทารก. พวกสปั เหรอแทงเน้ือทอ งอยา งนนั้ แลว จงึ โยนไปบนกองถา น ปกปดดวยถานนน่ั แลแลว หลกี ไป. เน้ือทองไหมแลว. สวนทารกไดเ ปน เชนกับรปูทองคาํ บนกองถา น เหมือนนอนอยใู นกลบี แหงดอกบวั . แทจริง สตั วผูมีในภพเปนทสี่ ุด แมถูกภูเขาสเิ นรุทับอยู ชอื่ วายงั ไมบรรลพุ ระอรหตัแลวส้นิ ชวี ติ ไมมี. ในวนั รุงข้ึน พวกสปั เหรอมาดว ยคดิ วา \"จกั ดบั เชงิตะกอน\" เห็นทารกนอนอยูอยางน้นั เกิดอัศจรรยแ ละแปลกใจ คดิ วา\" ช่ืออยางไรกัน ? เม่ือสรีระทั้งสนิ้ ถูกเผาอยูบนฟนเทา น้ี ทารกไมไ หมแลว , จกั มเี หตอุ ะไรกนั หนอ ?\" จงึ อุมเด็กน้ันนําไปภายในบา นแลวถามพวกหมอทายนิมิต. พวกหมอทายนมิ ิตพดู วา \"ถาทารกน้ี จกั อยูครองเรอื น. พวกญาตคิ ลอด ๗ เครือสกลุ จักไมยากจน; ถา จักบวช,จักเปน ผูอนั สมณะ ๕๐๐ รูปแวดลอมเทย่ี วไป.\" พวกญาตขิ นานนามวาสังกิจจะ เพราะหางตาของเขาแตกดวยขอเหลก็ . สมัยอื่น เด็กน้ันปรากฏวา \"สังกิจจะ.\" ครั้งน้นั พวกญาติ

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 467เลย้ี งเขาไว ดวยปรึกษากันวา \"ชางเถดิ , ในเวลาทเี่ ขาเตบิ โตแลว พวกเราจะใหเขาบวชในสาํ นกั พระสารบี ุตรผเู ปนเจาของเรา. ในเวลาทีต่ นมอี ายุได ๗ ขวบ สังกจิ จะนน้ั ไดยนิ คาํ พดู ของพวกเด็ก ๆ วา \"ในเวลาทเ่ี จา อยูในทอ ง มารดาของเจา ไดกระทาํ กาละแลว, เมอื่ สรรี ะมารดาของเจาน้นั แมถ กู เผาอยู เจากไ็ มไหม\" จงึ บอกแกพ วกญาตวิ า \"เขาวาฉนั พนภัยเหน็ ปานนั้น, ประโยชนอ ะไรของฉันดว ยเรือน. ฉันจกั บวช.\"ญาติเหลานั้นรับวา \" ดีละพอ\" แลว นาํ ไปยงั สํานกั พระสารีบุตรเถระไดถ วายดวยกลา ววา \"ทา นเจา ขา ขอทานจงใหเ ด็กนีบ้ วช.\" พระเถระใหต จปญจกกมั มัฏฐานแลว กใ็ หบวช. สามเณรน้นั บรรลพุ ระอรหตั พรอ มดว ยปฏิสมั ภิทา ในเวลาปลงผมเสรจ็ น่ันเอง, ชอื่ วา สงั กิจจสามเณรเพียงเทาน.ี้ รับสัง่ ใหภกิ ษุไปลาพระสารีบตุ ร พระศาสดาทรงทราบวา \"เมือ่ สามเณรน้ีไปแลว ภยั นัน้ จกั ระงับ,เม่ือเปน เชนนั้น กิจแหง บรรพชิตของภกิ ษุเหลา น้นั จกั ถงึ ความบริบูรณ\"ดงั นีแ้ ลว จึงตรัสวา \"ภกิ ษทุ ัง้ หลาย พวกเธอจงอาํ ลาสารบี ตุ รพ่ชี ายของพวกเธอแลวจงึ ไป.\" ภิกษุเหลานั้น รบั วา \"ดลี ะ\" แลวไปยังสํานักของพระเถระ เมอ่ื พระเถระถามวา \"อะไร ? ผูม อี ายุ\" จงึ กลาววา \"พวกกระผมเรยี นกมั มัฏฐานในสํานักพระศาสดาแลว มปี ระสงคจะเขา ไปปาจึงทูลอาํ ลา, เมอื่ เปนเชนนนั้ พระศาสดาจึงตรัสอยางนี้แกพ วกกระผมวา 'พวกเธออาํ ลาพี่ชายของพวกเธอแลวจงึ ไป,' ดวยเหตนุ ้ันพวกกระผมจงึ มาในทน่ี .้ี \"

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 468 พระเถระ คิดวา \"ภกิ ษุเหลา นี้ จักเปนผูทีพ่ ระศาสดาทรงเห็นเหตอุ ยางหน่งึ แลวสงมาทีน่ ,่ี นอ่ี ะไรกนั หนอแล ? รูเรอ่ื งนั้นแลว จงึกลาววา \"ผูมีอายุ กส็ ามเณรของพวกทานมหี รอื ?\" พวกภิกษุ. ไมม ี ทานผูมีอายุ. พระเถระ. ถา ไมม,ี พวกทานจงพาสังกจิ จสามเณรนไ้ี ป. พวกภกิ ษุ. อยา เลย ทานผมู อี ายุ. เพราะอาศยั สามเณร ความกงั วลจกั มีแกพ วกกระผม, ประโยชนอะไรดวยสามเณร สําหรบั พวกภิกษุผทู ่อี ยใู นปา. พระเถระ. ทา นผมู อี ายุ เพราะอาศยั สามเณรนี้ ความกังวลจักไมม ีแกพ วกทาน, กแ็ ตวา เพราะอาศยั พวกทา น ความกังวลจกั มแี กสามเณรน้,ี ถงึ พระศาสดาเมอ่ื จะทรงสง พวกทา นมายังสํานักเรา ทรงหวงั จะสง สามเณรไปกับพวกทา นจงึ ทรงสงมา, พวกทานจงพาสามเณรนี้ไปเถิด. ภกิ ษุ ๓๐ รปู ไปทําสมณธรรม ภกิ ษุเหลา นัน้ รับวา \"ดีละ\" รวมเปน ๓๑ รูปพรอมทั้งสามเณรอําลาพระเถระออกจากวิหารเทย่ี วจาริกไป บรรลุถึงบานหนง่ึ ซงึ่ มีพันสกลุ ในท่ีสดุ ๑๒๐ โยชน. พวกมนุษยเหน็ ภกิ ษเุ หลานัน้ มีจติ เลื่อมใสองั คาสโดยเคารพแลว ถามวา \"ทานเจา ขา พวกทา นจะไปไหน ?\"เมื่อภกิ ษุเหลานัน้ ตอบวา \"จะไปตามสถานทผ่ี าสกุ ผูม ีอายุ\" จึงหมอบลงแทบเทา ออ นวอนวา \"ทานเจาขา เมอื่ พวกพระผูเปน เจาอาศยั บานน้ีอยูต ลอดภายในพรรษา, พวกกระผมจะสมาทานศีลหาทําอโุ บสถกรรม.\"

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 469พระเถระท้งั หลายรับแลว . ครั้งน้ัน พวกภกิ ษุจัดแจงทพี่ ักกลางคืนทพี่ กั กลางวนั ทจี่ งกรมและบรรณศาลา ถึงความอุตสาหะวา \"วันน้ีพวกเรา, พรุง น้ี พวกเรา\" ไดทาํ การบาํ รุงภิกษเุ หลา นน้ั . พวกภกิ ษุต้งั กตกิ ากันอยจู าํ พรรษา ในวันเขา จําพรรษา พระเถระทั้งหลายทํากตกิ วตั รกนั วา \"ผูม ีอายุ พวกเราเรยี นกัมมัฏฐาน ในสาํ นกั ของพระพุทธเจา ผยู ังทรงพระ-ชนมอ ย,ู แตเ วนความถงึ พรอมดว ยขอปฏิบัติ พวกเราไมอาจยังพระ-พทุ ธเจา ท้ังหลายใหยินดีได, อนึ่ง ประตอู บายกเ็ ปด แลวสาํ หรบั พวกเราทเี ดียว, เพราะฉะนัน้ เวน เวลาภกิ ษาจารในตอนเชา และเวลาบาํ รุงพระเถระตอนเยน็ ในกาลทเี่ หลือ พวกเราจกั ไมอยูใ นที่แหงเดียวกัน ๒รปู ; ความไมผาสุกจักมแี กทานผูใด, เมอ่ื ทานผนู ั้นตรี ะฆัง, พวกเราจักไปสํานักทา นผนู ัน้ ทาํ ยา; ในสว นกลางคนื หรือสว นกลางวนั อ่ืนจากน้ีพวกเราจกั ไมประมาทประกอบกมั มฏั ฐานเนือง ๆ.\" ทุคตบุรุษมาอาศัยอยูกับพวกภกิ ษุ เม่ือภิกษเุ หลานั้น ครนั้ ทาํ กติกาอยา งนนั้ อยู. บรุ ุษเข็ญใจคนหนึ่งอาศัยธดิ าเปน อยู, เมอ่ื ทพุ ภกิ ขภัยเกิดขึน้ ในทน่ี ้ัน, มีความประสงคจะอาศยัธดิ าคนอ่นื เปนอยู จึงเดนิ ทางไป, แมพ ระเถระทั้งหลายเทย่ี วไปบณิ ฑบาตในบาน มาถึงที่อยู อาบนาํ้ ในแมน ้าํ แหงหนง่ึ ในระหวางทางนัง่ บนหาดทราย ทําภตั กจิ . ในขณะนน้ั บรุ ษุ นั้นถงึ ทนี่ ั้นแลวไดยนื อยู ณ ทีส่ ดุสว นขา งหน่งึ . ลาํ ดับนั้น พระเถระท้งั หลายถามเขาวา \"จะไปไหน ?\"บรุ ษุ นน้ั บอกเนือ้ ความนน้ั แลว. พระเถระท้งั หลายเกดิ ความกรณุ าในบุรุษ

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 470นนั้ จึงกลา ววา \"อุบาสก ทา นหวิ จดั , จงไป, นาํ ใบไมมา, พวกเราจักใหก อนภตั แกท า นรปู ละกอ น\" เมอ่ื เขานําใบไมม าแลว; จึงคลุกดวยแกงและกับ โดยทาํ นองทจ่ี ะฉันดว ยตน ๆ ไดใหก อนภัตรูปละกอ น.ทราบวา ธรรมเนยี มมีดงั นี้ ภกิ ษผุ ูจะใหภ ัตแกผมู าถึงในเวลาฉนั ไมใหภัตตอนยอด๑ พึงใหน อ ยบาง มากบาง โดยทาํ นองท่จี ะฉันดวยตนนัน้ แล; เพราะฉะน้นั ภกิ ษุแมเหลานน้ั จึงไดใหอยางน้นั . บรุ ุษนัน้ ทาํภตั กิจแลว ไหวพระเถระทง้ั หลาย ถามวา \"ทานขอรับ พวกพระผเู ปน เจาใคร ๆ นมิ นตไวห รือ ?\" พวกภิกษุ. ไมมีการนมิ นตด อก อบุ าสก, พวกมนษุ ยถวายอาหารเชนนี้แหละทกุ วนั ๆ. ทุคตบรุ ษุ คิดวา \"เราแมขยันขันแข็งทํางานตลอดกาลเปน นติ ยกไ็ มอ าจไดอาหารเชน นั้น, ประโยชนอะไรของเราดวยการไปทอี่ ่นื , เราจักเปนอยูในสาํ นักของภิกษเุ หลานนี้ ี่แหละ.\" ลาํ ดับนน้ั จงึ กลาวกะภกิ ษุเหลา น้ีวา \"กระผมปรารถนาจะทําวัตรปฏบิ ัตอิ ยูในสํานักของพวกพระผู-เปน เจา.\" พวกภิกษ.ุ ดีละ อุบาสก. ทคุ ตบรุ ษุ หนพี วกภกิ ษุไปเยี่ยมธดิ า เขาไปทีอ่ ยขู องภกิ ษเุ หลาน้ันกับภกิ ษเุ หลา น้ัน ทําวตั รปฏิบัตเิ ปนอันดี ยงั พวกภกิ ษุใหรกั ใครอ ยา งยิง่ โดยลวงไป ๒ เดือน ปรารถนาจะไปเยี่ยมธดิ า คดิ วา \"ถาเราจักอําลาพวกพระผเู ปน เจา, พระผเู ปนเจา๑. อนามฏั ฐบณิ ฑบาต ภกิ ษุละเมดิ ธรรมเนียมนี้ ทานปรับอาบัติทกุ กฏ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 471ทัง้ หลาย จักไมป ลอ ยเรา, เราจักไมอาํ ลาไปละ\" ดังนแี้ ลว ก็ไมบ อกแกภกิ ษุเหลาน้ันเลยออกไปแลว . ทราบวา ขอ ทเ่ี ขาไมบ อกพวกภกิ ษุหลกี ไปเทาน้ัน ไดเ ปน ความพล้งั พลาดอยา งขนาดใหญ, กใ็ นหนทางไปของบรุ ษุ น้ัน มดี งอยูแหงหน่ึง. วนั ท่ี ๗ เปน วันของโจร ๕๐๐ คนผทู ําการบนบานเทวดาวา \" ผูใดจกั เขา สูดงน,้ี พวกเราจกั ฆา ผนู ้นั แลวทาํ พลกี รรมแดท าน ดวยเน้อื และเลอื ดของผูน ้นั แหละ\" แลว อยใู นดงนน้ั . เขาถกู โจรจับในกลางดง เพราะฉะน้ัน ในวันท่ี ๗ หวั หนาโจรขนึ้ ตนไมต รวจดูพวกมนุษยเหน็ บรุ ุษน้ันเดินมา จงึ ไดใหส ัญญาแกพวกโจร. โจรเหลานนั้ รคู วามท่ีบรุ ุษนั้นเขาสูก ลางดง จึงลอมจบั เขา ทําการผกู อยา งมั่นคง สไี ฟดว ยไมสีไฟ ขนฟน มากอ เปนกองไฟใหญ เสย้ี มหลาวไว. บรุ ุษนัน้ เห็นกิรยิ าของโจรเหลานน้ั ถึงถามวา \"นาย ในทน่ี ี้ ขาพเจาไมเ หน็ หมูและเนอื้เปน ตน เลย, เหตไุ ร พวกทานจึงทาํ หลาวน้ี ?\" พวกโจร. พวกเราจกั ฆาเจา ทําพลกี รรมแกเ ทวดา ดว ยเนอื้ และเลอื ดของเจา . บรุ ษุ นัน้ ถกู มรณภยั คุกคาม มไิ ดติดถึงอปุ การะนน้ั ของพวกภกิ ษุเมือ่ จะรักษาชวี ติ ของตนอยางเดียวเทา นนั้ จงึ กลาวอยางนี้วา \"นายขา พเจา เปน คนกินเดน กนิ ภตั ท่เี ปน เดนเตบิ โต, ข้นึ ช่ือวาคนกนิ เดนเปนคนกาลกณิ ;ี ก็พวกพระผูเปน เจา แมออกบวชจากสกุลใดสกลุ หน่ึงเปน กษตั ริยทีเดียว; ภกิ ษุ ๓๑ รูปอยใู นท่โี นน พวกทา นจงฆาภกิ ษุเหลานน้ั แลว ทาํ กรรม, เทวดาของพวกทา นจกั ยนิ ดี เปนอยางย่ิง.\"

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 472 พวกโจรไปจับภิกษุเพ่ือทําพลีกรรม พวกโจรฟง คาํ นั้นแลว คดิ วา \"คนนพ้ี ดู ด,ี ประโยชนอะไรดวยคนกาลกิณีนี,้ พวกเราจักฆา พวกกษตั ริยท ําพลกี รรม\" ดงั นีแ้ ลวจึงกลาววา \"มาเถดิ , จงแสดงท่อี ยูของภิกษุเหลา นั้น\" แลวใหเขาน่ันแลเปน ผนู าํ ทาง ถึงท่นี ้นั แลว ไมเ ห็นพวกภิกษใุ นทา นกลางวิหารจงึ ถามเขาวา \"พวกภกิ ษุไปไหน ?\" เขารกู ตกิ วัตรของภิกษเุ หลา น้ันเพราะอยถู ึง ๒ เดอื น จงึ กลา วอยางน้ีวา \"พวกภิกษนุ ่ังอยูในที่พักกลางคืนและที่พักกลางวนั ของตน, จงตีระฆงั นั่น, พวกภิกษจุ ักประชุมกนั ดวยเสยี งระฆงั .\" หัวหนาโจรตีระฆงั แลว . พวกภิกษไุ ดยนิ เสยี งระฆังคิดวา \"ใครตีระฆังผิดเวลา, ความไมผาสุกจกั มแี กใคร\" ดังนแี้ ลวจงึ มานัง่ บนแผนหินทเ่ี ขาแตงตัง้ ไว โดยลาํ ดับตรงกลางวิหาร พระสังฆ-เถระแลดูพวกโจรแลว ถามวา \"อุบาสก ใครตีระฆังนี.้ \" หวั หนาโจรตอบวา ขา พเจาเองขอรบั .\" พระสงั ฆเถระ. เพราะเหตไุ ร ? หัวหนา โจร. พวกขา พเจา บนบานเทพยดาประจําดงไว, จกั จับภกิ ษุรปู หนงึ่ ไป เพื่อตอ งการทาํ พลกี รรมแกเทวดานน้ั . พวกภกิ ษุยอมตวั ใหโจรจบั พระมหาเถระฟง คาํ นัน้ แลว จึงกลาวกะพวกภกิ ษวุ า \"ผูมีอายุธรรดากิจเกิดแกพวกนอ ง ๆ ผูเปน พี่ชายตองชวยเหลือ, ผมจักสละชีวิตของตนเพื่อพวกทาน ไปกับโจรเหลาน,้ี ขอ อันตรายจงอยา มแี กท กุ ๆทา น, พวกทานจงเปน ผูไ มป ระมาททาํ สมณธรรมเถดิ .\" พระอนเุ ถระ

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 473กลา ววา \"ทา นขอรับ ธรรมดากิจของพชี่ ายยอมเปนภาระของนองชาย,กระผมจกั ไป, ขอทานทง้ั หลายจงเปน ผไู มประมาทเถดิ .\" โดยอุบายนี้ชนแมทัง้ ๓๐ ลุกข้นึ พดู เปน ลําดบั วา \"ผมเอง ผมเอง.\" ดวยประการฉะน้ี ภกิ ษทุ ้งั หมดไมเ ปน บุตรของมารดาเดยี วกันเลย. ไมเปน บุตรของบดิ าเดียวกัน, ท้ังยังไมสนิ้ ราคะ, แตก ระน้นั ก็ยอมเสียสละชีวิตตามลาํ ดบัเพือ่ ประโยชนแ กภกิ ษทุ เี่ หลือ; บรรดาภิกษเุ หลา นั้น แมภกิ ษุรปู หนึ่งช่ือวาสามารถกลาววา \"ทา นไปเถิด\" มไิ ดม เี ลย. สังกิจจสามเณรยอมมอบตวั ใหแกโ จร สงั กจิ จสามเณรไดฟง คําของภิกษุเหลาน้นั จึงกลา ววา \"หยุดเถิด ทานขอรบั , กระผมจกั สละชีวิตเพ่อื พวกทานไปเอง.\" พวกภิกษุ. ผูม อี ายุ เราทงั้ หมดแมจ กั ถูกฆา รวมกนั กจ็ กั ไมยอมสละเธอผเู ดียว. สามเณร. เพราะเหตุไร ? ขอรับ. พวกภิกษุ. ผมู ีอายุ เธอเปน สามเณรของพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ, ถาเราจักสละเธอ, พระเถระจกั ติวา 'พวกภกิ ษพุ าสามเณรของเราไปมอบใหแกพ วกโจร,' เราไมอาจจะสลดั คาํ ตเิ ตียนนั้นได ดวยเหตนุ ั้น เราจกั ไมส ละเธอ. สามเณร. ทา นขอรบั พระสมั มาสัมพุทธเจา ทรงสง พวกทานไปยังสาํ นักพระอุปช ฌายะของกระผมกด็ ี, พระอุปช ฌายะของกระผม สงกระผมมากับพวกทานกด็ ี. ไดทรงเห็นเหตอุ นั นี้แลว ทั้งน้ัน จึงสงมา,หยุดเถดิ ขอรบั , กระผมน่แี หละจักไปเอง.

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาท่ี 474 สามเณรนั้นไหวภกิ ษุทัง้ ๓๐ รูปแลว กลา ววา \"ทา นขอรับถาโทษของกระผมมอี ย,ู ขอทานจงอดโทษ\" ดงั นี้ แลว กอ็ อกไป.ความสลดใจอยา งใหญเ กิดข้ึนแกพ วกภกิ ษุแลว , ตาเต็มไปดว ยนํา้ ตา,เน้ือหวั ใจส้นิ แลว . พระมหาเถระพดู กะพวกโจรวา \"อุบาสก เดก็ นีเ้ หน็พวกทา นกอไฟ เสี้ยมหลาว ลาดใบไมจ กั กลัว, ทา นทงั้ หลายพกั สามเณรน้ไี วใ นท่สี วนหนงึ่ พึงทํากิจเหลานัน้ .\" พวกโจรพาสามเณรไปพกั ไวในทสี่ วนหนึ่ง แลว ทํากจิ ทง้ั ปวง. นายโจรลงมือฆา สามเณร ในเวลาเสร็จกจิ หวั หนาโจรชักดาบเดนิ เขาไปหาสามเณร. สามเณรเมอื่ น่ัง นง่ั เขา ฌานมน่ั , หัวหนาโจรแกวงดาบฟน ลงท่ีคอสามเณร.ดาบงอเอาคมกระทบคม. หวั หนาโจรนนั้ สาํ คัญวา \"เราประหารไมดี\"จงึ ดัดดาบนน้ั ใหต รงแลว ประหารอีก. ดาบเปน ดังใบตาลที่มว น ไดรนถงึโคนดาบ. แทจ รงิ บุคคลแมจ ะเอาภูเขาสิเนรุทบั สามเณรในเวลานนั้ชอ่ื วา สามารถจะใหสามเณรตายไมมเี ลย, จะปว ยกลาวไปไยถงึ วาจะเอาดาบฟน ใหตาย. หัวหนา โจรเหน็ ปาฏหิ ารยิ น้นั แลว คิดวา \"เม่ือกอ นดาบของเรา ยอมตดั เสาหนิ หรือตอไมต ะเคยี นเหมอื นหยวกกลว ย, บัดนี้ ดาบของเรางอคราวหนึง่ อีกคราวหน่ึงเกดิ เปนดงั ใบตาลมวน; ดาบชือ่ นี้แมไมม เี จตนา ยังรูคณุ ของสามเณรน,้ี เรามีเจตนายังไมร .ู นายโจรเลือ่ นใสในปาฏหิ าริยข องสามเณร นายโจรน้ันทิง้ ดาบลงทฟ่ี น ดนิ เอาอกหมอบแทบใกลเทา ของสามเณร แมจะถามวา \"ทา นเจาขา พวกผมเขา มาในดงน้ี เพราะเหตุ

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 475ตอ งการทรพั ย. บุรษุ แมมปี ระมาณพนั คน เห็นพวกเราแตทไี่ กลเทียวยังสัน่ , ไมอ าจพูด ๒ - ๓ คาํ ได, สว นสําหรบั ทานแมเพยี งความหวาดสะดุงแหงจิตกม็ ิไดม ี, หนา ของทานผอ งใสดงั ทองคาํ ในปากเบา และดังดอกกรรณกิ ารทีบ่ านดี; เหตุอะไรกันหนอ ?\" จึงกลา วคาถาน้วี า :- \"ความหวาดเสยี วไมม แี กท า น, ความกลัวก็ ไมม ี, วรรณะผอ งใสยิง่ นกั , เหตุไร ทา นจึงไม ครา่ํ ครวญ ในเพราะภัยใหญห ลวงเหน็ ปานน้เี ลา ?\" สามเณรออกจากฌาน เม่ือจะแสดงธรรมแกหวั หนาโจรนนั้ จึงกลา ววา \"ทานผูเปนนายบาน ขน้ึ ชื่อวา อตั ภาพของพระขีณาสพ ยอ มเปน เหมือนภาระ (ของหนกั ) ซ่ึงวางไวบนศีรษะ, พระขีณาสพนนั้เมอ่ื อตั ภาพนน้ั แตกไป ยอมยนิ ดที เี ดียว ยอ มไมกลวั เลย\" ดังนีแ้ ลวไดก ลาวคาถาเหลา นว้ี า :- \"ทา นผูเปนนายบา น ทุกขท างใจยอมไมมแี ก ทา นผไู มมคี วามหว งใย, ทานผแู สวงหาคุณ ส้ิน สญั โญชนแ ลว กาวลวงภัยทกุ อยางได, ตัณหา อนั นาํ ไปสูภพของพระขีณาสพนัน้ สนิ้ แลว, ทานเหน็ ธรรมแลวตามเปนจริง หรอื โดยถอ งแท, ความตาย [ของทาน] หมดภยั ดงั ปลงภาระลงฉะน้ัน.\" นายโจรขอบรรพชากะสามเณร หัวหนา โจรนัน้ ฟง คาํ สามเณรนน้ั แลว แลดโู จร ๕๐๐ คนพูดวา\" พวกทานจกั ทาํ อยา งไร ?\"

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 476 พวกโจร. กท็ า นเหลา ? นาย. นายโจร. กิจในทามกลางเรือนของฉันไมม ี เพราะเหน็ ปาฏิหารยิ เหน็ ปานนี้กอ น, ฉันจักบวชในสาํ นกั พระผเู ปน เจา . พวกโจร. แมเ ราจกั ทําอยา งนนั้ เหมอื นกัน. นายโจร. ดลี ะ พอ . ลําดบั นัน้ โจรทงั้ ๕๐๐ คนไหวส ามเณรแลว จงึ ขอบรรพชา.สามเณรน้นั ตัดผมและชายผาดวยคมดาบของโจรเหลา นน้ั เอง ยอมดวยดนิ แดง ใหค รองผากาสายะเหลา นน้ั ใหต งั้ อยูในศลี ๑๐ เม่ือพาสามเณรเหลาน้นั ไป คดิ วา \"ถาเราจกั ไมเ ย่ียมพระเถระทง้ั หลายไปเสยี ,พระเถระเหลา น้ันจักไมอาจทาํ สมณธรรมได, จาํ เดมิ แตกาลที่พวกโจรจบัเราออกไป บรรดาพระเถระเหลาน้นั แมร ปู หนงึ่ กม็ ิไดอาจอดกล้ันน้ําตาไวไ ด, เมอื่ พระเถระเหลานั้น คิดอยวู า 'สามเณรถกู โจรฆา ตายแลวหรอื ยงั หนอ' กัมมฏั ฐาน จักไมม งุ หนาได; ๑ เพราะฉะนัน้ เราเยี่ยมทา นแลวนั้นแหละ จงึ จักไป.\" สามเณรกลับไปเยย่ี มพวกภิกษุ สามเณรนน้ั มีสามเณร ๕๐๐ รปู เปน บรวิ ารไปในท่ีนั้น, เม่ือภกิ ษุเหลา น้ันกลบั ไดความเบาใจเพราะเห็นตนแลว กลา ววา \"สงั กิจจะผูสัตบุรษุ เธอไดชีวิตแลว หรือ ?\" จงึ ตอบวา \"อยา งนั้นขอรับ, โจรเหลาน้ีใครจะฆากระผมใหต าย กไ็ มอาจฆา ได เลื่อมใสในคณุ ธรรมของกระผม ฟงธรรมแลว บวช: กระผมมาดวยหวังวา 'เย่ียมทา นแลว จกั๑. ถอื เอาความวา ไมเปน อนั ต้งั หนาทาํ กมั มฏั ฐานได.

พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนาที่ 477ไป,' ขอทานจงเปนผูไมประมาททําสมณธรรมเถดิ , กระผมจักไปสาํ นกัพระศาสดา\" แลวไหวภ ิกษุเหลา น้ัน พาสามเณรนอกน้ีไปยงั สาํ นกัพระอปุ ชฌายะ, เมอื่ ทานถามวา \"สังกจิ จะ เธอไดอ ันเตวาสกิ แลวหรือ ?\" จึงตอบวา \"ถกู แลว ขอรับ\" ดงั นแ้ี ลวกเ็ ลา เร่ืองน้ัน, ก็เมื่อพระเถระกลาววา 'สงั กิจจะ เธอจงไป, เฝา เยีย่ มพระศาสดา,' เธอรับวา \"ดลี ะ\" แลวไหวพระเถระพาสามเณรเหลา น้นั ไปยง่ิ สํานกั พระ-ศาสดา, แมเ ม่อื พระศาสดาตรสั ถามวา \"สังกจิ จะ เธอไดอนั เตวาสิกแลว หรือ ?\" จึงกราบทลู เรือ่ งน้ัน ผูมศี ีลประเสริฐกวาผูท ศุ ลี พระศาสดาตรัสถามวา \"ไดย ินวา อยา งน้ันหรอื ? ภิกษุท้งั หลาย,\"เมอื่ พวกภกิ ษุทูลรับวา \"อยา งน้นั พระเจาขา\" จึงตรัสวา \"ความต้งั อยใู นศลี แลวเปน อยแู มว นั เดียวในบดั นี้ ประเสรฐิ กวา การทที่ า นทําโจรกรรมต้ังอยใู นทุศลี เปนอยตู ัง้ ๑๐๐ ป\" ดังน้ีแลว เมื่อจะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จงึ ตรัสพระคาถาน้ีวา:- ๙. โย จ วสฺสสต ชเี ว ทุกสฺสีโล อสมาหิโต เอกาห ชีวิต เสยโฺ ย สลี วนฺตสฺส ฌายโิ น. \"ก็ผใู ดทุศลี มใี จไมต ้ังม่นั พึงเปนอยู ๑๐๐ ป, ความเปน อยวู ันเดยี วของผูมศี ลี มีฌาน ประเสริฐ วา (ความเปนอยขู องผนู น้ั ).\"

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 478 แกอรรถ บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา ทสุ ฺสีโล คอื ไมม ีศลี . บทวา สีลวนตฺ สสฺ ความวา ความเปน อยูแ มวนั เดยี ว คอืแมค รูเดียวของผมู ศี ลี มีฌาน ดวยฌาน ๒ ประการ ประเสรฐิ คือสูงสุดกวาความเปน อยู ๑๐๐ ปข องผทู ุศีล. ในเวลาจบเทศนา ภิกษุแม ๕๐๐ น้ันบรรลุพระอรหตั พรอ มดว ยปฏิสมั ภทิ าทง้ั หลาย, ธรรมเทศนาไดม ปี ระโยชนแ มแ กม หาชนผปู ระชุมกนั . ประวัตอิ ธมิ ุตตกสามเณร โดยสมยั อน่ื อีก สงั กิจจะไดอ ุปสมบทแลว มพี รรษา ๑๐ จึงรับสามเณรไว. ก็สามเณรน้ันเปน หลานของทา นเอง ชอ่ื อธิมุตตกสามเณร.ครัง้ นน้ั พระเถระเรยี กสามเณรนั้นมาในเวลามีอายุครบสง ไปดวยคาํ วา\" เราจกั ทําการอุปสมบทเธอ, จงไป, ถามจํานวนอายใุ นสาํ นักพวกญาติแลวจงมา.\" อธิมุตตกสามเณรนน้ั เม่ือไปสํานักของมารดาบดิ า ถูกพวกโจร ๕๐๐ คนจะฆา ใหตายเพ่อื ตองการทําพลีกรรมในระหวา งทางแสดงธรรมแกโ จรเหลาน้ันเปน ผูอนั พวกโจรมีจิตเลอ่ื มใส ปลอ ยไปดวยคําวา \"ทา นไมพ ึงบอกความทีพ่ วกผมมอี ยูในที่นี้แกใคร ๆ\" เหน็ มารดาบิดาเดนิ สวนทางมาก็รกั ษาสจั จะไมบ อกแกมารดาบิดาเหลานั้น แมเดนิ ไปทางนน้ั นน่ั แหละ. เมอ่ื มารดาบดิ านนั้ ถูกพวกโจรเบียดเบียน ครา่ํ ครวญพูดวา \"ชะรอยวา แมทานกเ็ ปน พวกเดียวกันกบั พวกโจรจงึ ไมบ อกแกเ รา\"โจรเหลานนั้ ไดยนิ เสยี งแลว รคู วามทส่ี ามเณรไมบ อกแกมารดาบดิ า ก็มีจิต

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ท่ี 479เล่อื มใส ขอบรรพชา. แมอธิมตุ ตกสามเณรนัน้ ก็ยังโจรเหลา น้นั ทัง้ หมดใหบ วชแลว เหมือนสงั กิจจสามเณร นํามายงั สาํ นักพระอปุ ช ฌาย ผูอันพระอปุ ชฌายน ้ันสง ไปยงั สาํ นักพระศาสดา พาภกิ ษเุ หลาน้ันไป กราบทูลเรื่องน้นั แดพระศาสดาแลว. พระศาสดาตรสั ถามวา \"เขาวาอยา งนั้นหรือ ?ภิกษุทั้งหลาย\" เมอ่ื พวกภิกษทุ ูลวา \"ถกู แลว พระเจา ขา\" เม่อื จะทรงสืบอนสุ นธิแสดงธรรมโดยนัยกอ นนั้นแล จึงตรสั พระคาถานี้วา :- \"ก็ผใู ดทศุ ีล มีใจไมต ัง้ มัน่ พึงเปนอยู ๑๐๐ ป, ความเปนอยูวันเดยี วของผมู ศี ลี มฌี าน ประเสรฐิ วา [ความเปน อยูของผนู น้ั ].\" (ชื่อเรอ่ื งอธมิ ุตตกสามเณร) แมนี้ ขาพเจากก ลา วไวแ ลว ดว ยพระคาถานเี้ หมอื นกัน. เรอื่ งสังกจิ จสามเณร จบ.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย คาถาธรรมบท เลม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หนา ที่ 480 ๑๐. เร่ืองพระขานุโกณฑญั ญเถระ [๙๐] ขอความเบื้องตน พระศาสดาเมื่อประทับอยูใ นพระเชตวัน ทรงปรารภพระขานุ-โกณฑัญญเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานีว้ า \"โย จ สฺสสต ชีเว \"เปน ตน. พระเถระนงั่ เขา ฌาน โจรเอาหอของทบั ไมรสู กึ ไดย นิ วา พระเถระนั้นเรยี นกัมมัฏฐานในสํานักพระศาสดาอยูใ นปาบรรลุพระอรหัตแลวคิดวา \"จกั ทลู พระศาสดา\" เม่ือมาจากทีน่ ัน้ เหนด็เหนอื่ ยในระหวางทาง แวะจากทางนง่ั เขา ฌานบนศิลาดาด๑แหงหนึ่ง.ครัง้ นน้ั โจร ๕๐๐ คนปลนบานแหง หนึ่งแลวผูกหอ ส่ิงของตามสมควรแกก าลังของตน เอาศรี ษะเทนิ เดนิ ไป ครน้ั เดินไปไกลกเ็ หนด็ เหนือ่ ยคิดวา 'เรามาไกลแลว , จกั พกั เหน่ือยบนศลิ าดาดน้ี' แวะจากทางไปยงัที่ใกลศ ลิ าดาด แมเห็นพระเถระแลวกม็ คี วามสําคัญวา \"นีเ่ ปน ตอไม.\"ลาํ ดับนนั้ โจรคนหนงึ่ วางหอ สง่ิ ของลงบนศรี ษะพระเถระ. โจรคนอน่ื ๆกว็ างหอ สง่ิ ของพิงพระเถระนัน้ . ดวยประการฉะน้ี โจรแมทัง ๕๐๐ คนเอาหอสิง่ ของ ๕๐๐ หอ ลอ มรอบพระเถระ แมต นเองกน็ อนหลับ ตืน่ในเวลาอรณุ ขน้ึ ควา หอ ของตน ๆ ไดเหน็ พระเถระก็เรมิ่ จะหนีไป ดวยสาํ คัญวา \"เปนอมนษุ ย.\" ทันใดน้นั พระเถระกลาวกะพวกโจรน้ันวา \"อยา กลัวเลยอบุ าสก,๑. ปฏิปาสาเณ บนแผน หินมีหลัง.








































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook