พระสตุ ตันตปฎก มัชฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 123ไว ยอ มไมส งบ เม่ือกําลงั ความเพียรทใ่ี หเกิดทุกขน นั้ แลเจาะแทงเราอย.ู อคัคิเวสสนะ ทกุ ขเวทนาถึงปานน้ี ไดเกดิ ขน้ึ แลวแกเ รา ยงั ไมค รอบงาํ จติ ตั้งอยูได. [๔๒๐] อัคคิเวสสนะ เราน้นั ไดมปี ริวติ กถึงเรอื่ งนี้วา ถา กระไร เราพงึ เพง ฌาน เอาความไมหายใจเปน อารมณน ัน่ แล. อคั คิเวสสนะ คร้นั เราปร-ิวติ กฉะนัน้ แลว ไดก ลั้นลมอัสสาสะปส สาสะทางปากทางจมูกและทางหูอยู ก็ใหเกิดความรอนเหลือทนขน้ึ ทัว่ กาย. อัคคิเวสสนะ เปรียบเหมอื นบุรษุ มีกําลงั สองคน ชว ยกนั จับบรุ ุษท่ถี อยกําลงั กวา คนเดยี วเขา ท่แี ขนขา งละคน ลนยา งรมไวท ่หี ลุมอันเตม็ ไปดวยถา นเพลงิ ฉันใด. [๔๒๑] อัคคิเวสสนะ เมือ่ เรากล้ันลมอสั สาสะปสสาสะทางปากทางจมูกและทางหู กใ็ หเกดิ ความรอ นเหลอื ทนข้นึ ทวั่ กายฉันนนั้ . อัคคเิ วสสนะ ก็แตค วามเพยี รทีเ่ ราเรม่ิ ต้งั ไวแ ลวคงทอี่ ยู จะไดย อ หยอนไปหามิได, สติทเี่ ราไดต้ังไวจะฟน เฟอนไปก็หามไิ ด, แตก ายท่ีเราเร่มิ ต้งั ไวย อ มไมสงบ, เม่อื กําลังความเพียรทใี่ หเ กดิ ทกุ ขนนั้ แลเจาะแทงเราอย.ู อคั คิเวสสนะ ทุกขเวทนาถงึ ปานนี้ ไดเกิดข้นึ แลว แกเ รา ยังไมค รอบงําจติ เราต้งั อยูได [๔๒๒] อัคคิเวสสนะ ยงั ไมท ันไรสิ เทวดาทง้ั หลาย ไดเ หน็ เราแลว พากันกลาวอยา งนวี้ า พระสมณะโคดมทาํ กาละเสยี แลว เทวดาบางพวกกลาวอยา งนวี้ า พระสมณโคดมยงั ไมไ ดท ํากาละกอ น, แตจ ะทํากาละ. เทวดาบางพวกกลา วอยางนี้วา พระสมณโคดมทาํ กาละแลว หรอื กาํ ลังทํากาละก็ไมใ ช ดวยวาพระสมณโคดมเปนพระอรหันต ทอ่ี ยกู อ็ ยางน้ันเอง ดังนนั้พระอรหนั ตย อมมวี ิหารธรรมเปน อยา งน้ี
พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 124 [๔๒๓] อัคคิเวสสนะ เรานั้นไดปรวิ ติ กถึงเร่อื งน้วี า ถา กระไร เราพงึปฏิบตั ิเสียดว ยประการท้งั ปวงเถดิ อัคคเิ วสสนะ ครัง้ นน้ั เทพยดาทั้งหลายไดเขามาใกลเราแลว กลา วคําทวงวา ทา นผูนิรทกุ ข ทา นอยาไดปฏบิ ตั เิ พื่อตัดอาหารเสยี ดว ยประการทง้ั ปวงเลย ถาทานพึงปฏบิ ัติ เพือ่ จะตัดอาหารเสียดวยประการทง้ั ปวงใหไ ด เราท้งั หลายจะแทรกโอชะ อนั เปนทพิ ยลงตามขุมขนท้งั หลายของทาน ทานจกั ไดยังชวี ติ ใหเปนไปดวยโอชะนน้ั . อคั คเิ วสสนะ เรานั้น ไดม ีปรวิ ติ กเรอื่ งน้วี า เราเองพงึ ปฏิญญาการบรโิ ภคดวยประ-การท้ังปวงไวเอง และเทวดาเหลา น้ี จะพึงแทรกโอชะลงตามขุมขนของเรา และเราจะพงึ ยงั ชวี ติ ใหเปน ไปดวยโอชะนัน้ อนั นัน้ ก็จะพงึ เปน เท็จแกเ ราไป อัคคิเวสสนะ เรานัน้ แล ไดบอกหา มเทวดาเหลา น้ันเสียวา \"อยาเลย\"ดงั น้ี. [๔๒๔] อคั คิเวสสนะ เราน้ันแลไดมปี ริวติ กถงึ เร่ืองนีว้ า กระนั้นเราพงึ บรโิ ภคอาหารใหนอยลงๆ วนั ละฟายมือบา ง เทา เยื่อถวั่ เขียวบา งเทาเย่ือถั่วพบู า ง เยอ่ื ถ่วั ดาํ บา ง เยอื่ ในเม็ดบัวบา ง. อัคคเิ วสสนะ ครน้ั เราบรโิ ภคอาหารใหน อ ยลงดังนน้ั เทาฟายมือบา ง เทาเย่อื ถ่วั เขยี วบาง เทา เย่ือถ่วั พูบาง เย่อื ถวั่ ดําบา ง เย่ือในเม็ดบัวบา ง กายเรากถ็ ึงความเปน ขอดเปน เกลียวยง่ินกั . อังคาพยพนอ ยใหญ ของเรายอมเปนประหนงึ่ เถาวลั ยท่มี ขี อมาก ๘๐ขอ หรอื เถาวลั ยท ีม่ ีขอ ดาํ ฉะน้ัน, เพราะโทษท่อี าหารนอ ยน้นั อยา งเดยี ว, กน กบแหง เราแฟบเขา มอี าการสณั ฐานเหมือนกบี เทาอูฐฉะนัน้ก็เพราะโทษท่ีอาหารนอ ยนนั้ อยา งเดียว. กระดกู สันหลังแหงเราผุดข้นึระกะ ราวกะเถาวัลยชอ่ื วัฏฏนา ก็เพราะโทษทีอ่ าหารนอยน้นั อยางเดยี ว.เปรยี บซีโ่ ครงแหงเรานูนเปนรอ ง ๆ ดังกลอนในศาลาเกา ชํารุดทรดุ โทรมฉะน้นั , กเ็ พราะโทษที่อาหารนอยนั้นอยางเดยี ว. เปรยี บเหมือนดวงตาแหง
พระสุตตนั ตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 125เราปรากฏกลมลึกเขาในกระบอกตา ดปู ระหนง่ึ ดวงดาวปรากฏในบอนา้ํอันลกึ ฉะนัน้ ก็เพราะโทษที่อาหารนอยนั้นอยางเดียว. หนังศีรษะบนศรี ษะแหง เราสมั ผสั อยกู ็เห่ียวแหง ไป ประหน่ึงผลนํา้ เตาขม ท่บี คุ คลตัดมาแตยังสด ถูกลมและแดดกเ็ หย่ี วแหง ไปฉะนนั้ , กเ็ พราะโทษท่ีอาหารนอยนั้นอยางเดยี ว. อัคคิเวสสนะ เราเอง คิดวาจะคลําหนังทอง กจ็ บั ถึงกระดกู สันหลงัตลอดไป, เราคิดวาจะคลาํ กระดูกสันหลัง กจ็ ับถึงหนงั ทอ ง, อัคคิเวสสนะ หนังทองของเราเหี่ยวแหง จนติดกระดกู สันหลงั กเ็ พราะโทษที่อาหารนอ ยน้ันอยา งเดียว. อคั คิเวสสนะ เราน้นั แลคดิ วา จะถายอุจจาระหรือปสสาวะกซ็ วนเซลม อยูท่ีนั้นเอง, ก็เพราะโทษท่อี าหารนอ ยนนั้ อยางเดียว. อัคคเิ วสสนะ เราน้ันแล เมอ่ื จะใหก ายนี้ มีความสบายบา ง จึงนวดไปตามตัว ดวยฝามือ, อัคคเิ วสสนะ เมอ่ื เรานวดไปตามตวั ดวยฝามือนนั้ ขนทั้งหลายทีม่ รี ากเนาก็รวงตกจากกาย, ก็เพราะโทษท่อี าหารนอ ยน้นั อยา งเดยี ว. อคั คเิ วสสนะ ยังไมทันไร มนษุ ยท ั้งหลายเหน็ เราแลว จึงกลา ววา พระสมณโคดมดาํไป. มนษุ ยบางพวกกลา ววา พระสมณโคดมไมด าํ เปนแตคลาํ้ ไป. มนษุ ยบางพวกกลาวอยางนว้ี า พระสมณโคดม จะวา ดาํ ไปก็ไมใช จะวา คลาํ้ ไปก็ไมใ ช พระสมณโคดมมพี ระฉวีพรอ ยไปเทา นัน้ . อคั คิเวสสนะ ผวิ พรรณของเราบริสุทธ์ิผุดผอ ง เพยี งน้ันมาถกู กาํ จัดออกไปเสียแลว กเ็ พราะโทษที่มีอาหารนอยน้ันอยางเดียว. [๔๒๕] อัคคเิ วสสนะ เรานน้ั ไดปรวิ ิตกวา ในสมนะหรอื พราหมณเหลา ใดเหลาหนงึ่ เสวยทกุ ขเวทนาเจบ็ ปวด กลาแขง็ เผ็ดรอน เปน อยางยิ่งอยูเพียงน้ี ไมไ ดยงิ่ ไปกวา นแ้ี ลว. กาลในอนาคต สมณะหรอื พราหมณเหลาใดเหลาหนึง่ จักเสวยทกุ ขเวทนาเจบ็ ปวดกลาแขง็ เผ็ดรอน เปนอยา งย่งิ อยเู พยี งน้ี จกั ไมยงิ่ ไปกวา น้.ี ในกาลบดั นี้ สมณะหรือพราหมณเ หลา ใดเหลา หน่งึ
พระสตุ ตนั ตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 126เสวยอยซู ่ึงทุกขเวทนา เจบ็ ปวด กลาแขง็ เผ็ดรอน เปนอยา งย่ิงอยูเพียงน้ี ไมยิ่งไปกวา น้.ี กแ็ ตเ รา ไมไดบ รรลุญาณทสั สนะวเิ ศษ เพือ่ เปน อริยบุคคลอตุ ตริมนสุ ธรรม ดวยทกุ กรกิรยิ าท่ีเผ็ดรอนนี้ พึงมีทางอน่ื เพอื่ ตรัสรู.อคั คิเวสสนะ เราไดปริวิตกวา ก็เรายงั จําไดวา ในงานของพระบิดา เราไดนง่ั แลว ณ รมเงาตน หวา เปน ท่ีรม เยน็ ไดสงัดแลว จากกามทง้ั หลาย สงดั แลวจากอกศุ ลธรรมทง้ั หลาย ไดเขาถึงฌานทีห่ นง่ึ มวี ิตกวิจารปติและสุข อนั เกิดแตวเิ วกอยู ทางน้พี ึงเปนทางเพอ่ื ตรสั รู. อัคคเิ วสสนะ เราน้นั ไดม คี วามรสู กึ อนัแลน ไป ตามสติวา น่ีแล หนทางแหง การตรัสร.ู อัคคเิ วสสนะ เรานน้ัไดปริวติ กวา เราจะกลวั ความสุข ซ่ึงเปน ความสุขนอกจากกามทัง้หลาย นอกจากอกศุ ลธรรมแลหรอื . อคั คเิ วสสนะ เรานัน้ ไดป ริวิตกตอไปวา เราไมควรกลวั ตอสขุ ซ่งึ เปนสขุ นอกจากกามท้ังหลาย นอกจากอกศุ ลธรรมเชนนั้นเลย. [๔๒๖] อคั คเิ วสสนะ เราน้นั ไดปรวิ ิตกเร่ืองนอ้ี กี วา การบรรลถุ ึงความสขุ ดว ยกายอันถึงความลาํ บาก กระทําไดมใิ ชงา ย, ถากระไรเราพงึกลนื กินอาหารทห่ี ยาบ คือขาวสกุ และขนมสดเถดิ . อคั คเิ วสสนะ เราจงึกลนื กินอาหารทอ่ี าบตั ิ คือขาวสุกและขนมสด. อคั คเิ วสสนะ โดยสมัยน้นัแล ภิกษทุ ัง้ หลาย ๕ รปู เปนผบู าํ รุงอยู ดวยตง้ั ใจวา พระสมณโคดม จักบรรลุถึงธรรมใด จักบอกธรรมน้นั แกเราทง้ั หลาย. อคั คเิ วสสนะ ต้ังแตเราไดก ลนื กินอาหารหยาบ มขี า วสุกและขนมสดแลว ภิกษทุ ้ัง ๕ รปู เหลาน้ัน กพ็ ากันหนายเรา หลกี ไปเสยี ดวยเขา ใจวา พระสมณโคดม เปนคนมกัมาก คลายจากความเพยี ร เวยี นมาเพือ่ เปนคนมกั มากไปเสียแลว . [๔๒๗] อัคคิเวสสนะ เรานน้ั คร้นั กลนื กินอาหารหยาบ พาใหมกี ําลงัข้ึนแลว ไดสงัดแลวจากกามทั้งหลายเทียว ไดสงดั แลว จากอกศุ ลธรรมท้งั
พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 127หลาย เขา ถึงฌานทีห่ นงึ่ มวี ติ ก มีวจิ าร มีปติ และสุข อนั เกดิ แตวิเวกอย.ูอคั คิเวสสนะ สุขเวทนาถงึ ปานนี้ ไดเ กิดขนึ้ แลว แกเ รา ก็มไิ ดครอบงาํ จิต เขาฌานที่สอง อันยงั ใจใหผองใส ณ ภายใน มธี รรมเอกผุดขึน้ ไมมวี ิตกไมมวี ิจาร เพราะความสงบแหงวิตกและวจิ าร มปี ต แิ ละสุขอันเกิดแตสมาธิเขา ฌานท่ีสาม เขา ฌานทีส่ .่ี อคั คเิ วสสนะ สขุ เวทนาถึงปานนไ้ี ดเ กดิ ขึ้นแลวแกเรา กม็ ิไดค รอบงาํ จิต ตงั้ อยูได. เรานั้น เม่อื จิตตง้ั มนั่ บริสทุ ธิ์ผอ งใสไมม กี เิ ลสปราศจากอปุ กิเลส เปน จติ ออ นควรแกก ารงาน ต้งั อยูถึงความไมหว่นั ไหวอยา งนีแ้ ลว ไดนอมจติ ไปเพ่ือญาณเปน เคร่ืองตามระลึกถงึ ขันธท่ีอาศยั อยูแ ลว ในภพกอน. เรานน้ั ไดต ามระลกึ ถึงขนั ธท่อี าศยั อยแู ลวในภพกอ นไดห ลายประการ. คือ ตามระลึกได ชาตหิ นงึ่ บา ง สองชาติบา ง สามชาติบา ง สช่ี าติบา ง หา ชาติบา ง ฯลฯ เราตามระลึกถึงขนั ธทอ่ี าศยั อยูแลวในภพกอ นไดหลายประการ พรอ มทัง้ อาการ พรอ มท้งั อทุ เทสดวยประการฉะนี้ ในปฐมยามแหง ราตรี เราไดบ รรลวุ ิชาที่หนง่ึ กําจดั อวชิ ชาเสยี ไดวชิ าก็เกดิ ข้ึน กาํ จดั ความมืดเสยี ได แสงสวางก็เกิดขน้ึ สมกบั เมอ่ื เปนบคุ คลผูไ มป ระมาท มคี วามเพียรใหก เิ ลสรอน มีตนสง ไปแลว แลอยูฉ ะน้ันอคั คเิ วสสนะ สขุ เวทนาถงึ ปานน้ี ไดเกิดข้นึ แลว แกเ รา กม็ ิไดครอบงําจิตเราตง้ั อยู. [๔๒๘] เรานั้น คร้นั เม่อื จติ ตงั้ ม่นั บรสิ ุทธผ์ิ องใส ไมม ีกเิ ลส ปราศจากอปุ กิเลส เปนจติ ควรแกก ารงานตง้ั อยู ถงึ ความไมหวน่ั ไหวอยา งนแ้ี ลว ไดน อ มไปเพ่อื ญาณในจุติและปฏิสนธขิ องสตั วทั้งหลาย เราน้ันมีจกั ษุทพิ ย หมดจดวิเศษลวงจักษขุ องมนษุ ย แลเห็นสตั วท ง้ั หลายผูจุติอยู ผูอ บุ ัติอยู ผูเลวทราม ผูประณีต ผมู ีวรรณะงาม ผูมวี รรณะทราม ผถู ึงสขุ ผูถงึ ทกุ ข เรารูชัดสัตวทง้ั หลายผเู ขาถึงตามกรรมอยางไรวา สตั วท้งั หลายเหลาน้หี นอ ประ
พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 128กอบดว ยกายทุจริต ประกอบดวยวจที จุ รติ ประกอบดว ยมโนทุจรติกลา วตเิ ตยี นพระอรยิ เจา ท้ังหลาย เปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ สมาทานกรรมดวยอํานาจมจิ ฉาทฏิ ฐิ เบอ้ื งหนา แตก ายแตกไป ไดเขา ถึงอบายในทุคคติ วินิบาต นรกแลว ฝา ยสตั วท้ังหลายเหลา นี้ ประกอบดวยกายสจุ รติ ประกอบดว ยวจีสจุ ริต ประกอบดว ยมโนสุจริต ไมกลาวตเิ ตียนพระอริยเจา เปน สัมมาทฏิ ฐิสมาทานกรรมดว ยอํานาจสมั มาทฏิ ฐิ เบือ้ งหนา แตกายแตก ตายไป ไดเขาถึงสคุ ติโลกสวรรคแ ลว เรามีจักษทุ ิพย หมดจดวิเศษลวงจกั ษุของมนุษยแ ลเห็นสตั วท ้งั หลาย ผูจุตอิ ยู ผูอบุ ัตอิ ยู ผเู ลวทราม ผปู ระณีต ผมู ีวรรณะงาม ผมู วี รรณะทราม ผถู ึงสขุ ผูถงึ ทกุ ข เรารูช ัดสตั วท้งั หลาย ผเู ขา ถงึตามกรรมอยา งนี.้ นี้เปนวชิ าที่ ๒ ในมัชฌมิ ยามแหงราตรี เราไดบรรลุวิชาที่ ๒ กําจดั อวิชาเสียได วชิ าก็เกิดข้นึ กาํ จดั ความมืดเสยี ได แสงสวา งก็เกดิ ขึน้ สมกบั เปน บุคคลผูไ มป ระมาท มคี วามเพยี รใหก ิเลสรอนมีตนสงไปแลวแลอยฉู ะน้นั . อัคคเิ วสสนะ สขุ เวทนาถงึ ปานน้ี ไดเกดิ ขน้ึ แลว แกเราก็ไมค รอบงําจิตต้งั อยู. [๔๒๙] เราน้นั ครน้ั เมอ่ื จิตตั้งม่ันแลว บริสุทธ์ิ ผอ งใส ไมม ีกเิ ลสปราศจากอุปกเิ ลส เปน จิตออน ควรแกก ารงาน ตงั้ ม่ัน ถึงความไมห วน่ั ไหวอยางนั้นแลว นอมจิตไปเพอื่ ญาณในความสิน้ อาสวะทัง้ หลาย. เราไดรูชดั ตามเปน จรงิ วา นี้ทกุ ข นเี้ หตใุ หเกิดทุกข น้คี วามดับทกุ ข นี้ปฏิปทาดาํ เนนิ ถงึความดบั ทุกข ไดร ตู ามเปนจริงวา เหลาน้ีอาสวะทั้งหลาย น้เี หตุใหอาสวะทงั้หลายเกดิ ขึ้น นีค้ วามดบั อาสวะทัง้ หลาย นปี้ ฏปิ ทาดาํ เนินถึงความดับอาสวะท้ังหลาย. เม่ือเราน้นั รูอยูอยางน้ี เหน็ อยอู ยา งน้ี จติ กห็ ลดุ พน แมจ ากกามาสวะ แมจากภวาสวะ ท้ังจากอวชิ ชาสวะ เมอื่ จิตหลุดพนกม็ ญี าณหยั่งรูวา จติ หลดุ พนแลว รชู ัดวา ชาติสนิ้ สุดแลว พรหมจรรยอ ยูจบแลว กิจอ่ืนอีก
พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 129เพื่อความเปน เชนนไี้ มม ี ดงั นี้. อัคคเิ วสสนะ วชิ าทสี่ าม เราไดบรรลุในยามทีส่ ุดแหง ราตรี กาํ จัดอวชิ าเสียได วชิ าก็เกิดขน้ึ กาํ จัดความมอื เสียได แสงสวางก็เกดิ ขนึ้ สมกบั ท่เี ปน บคุ คลผไู มป ระมาท มีความเพยี ร มีตนสงไปแลวแลอยู. อัคคเิ วสสนะ สุขเวทนาถึงปานน้ี ไดเ กดิ ข้นึ แลวแกเรากไ็ มค รอบงาํ จติ ต้ังอยูได. [๔๓๐] อัคคเิ วสสนะ เราแลเปน ผแู สดงธรรมแกบรษิ ทั หลายรอ ยยังจาํไดค นหน่ึงๆ ยอมสาํ คญั เราอยา งนโี้ ดยแทวา พระสมณโคดม ปรารภเราทีเดยี วแสดงธรรม ดงั นี.้ อัคคเิ วสสนะ ขอ นน้ั ไมค วรเห็นอยางนี้ ตถาคตยอมแสดงธรรมแกเ วไนยสัตวท งั้ หลายนน้ั ๆ ดว ยอาการอนั ชอบแท ในท่ีสุดเพียงเพือ่ ใหร ูแจงเทานน้ั . อคั คิเวสสนะ ในที่สุดคาถานน้ั ๆ เรานัน้ ยังจติ อันเปนภายในอยางเดยี ว ใหต ง้ั พรอมอยู ในสงบ ใหตง้ั มั่น ทาํ สมาธิเปนธรรมมอี ารมณเปน อันเดียวผดุ ข้ึนในสมาธินมิ ิต ที่เราอยตู ลอดกปั เปน นิจ ส. นีค่ าํ ของพระโคดม ควรเช่อื ได สมเปน คําของพระอรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจานนั้ . พระโคดมทรงจําไดอ ยหู รอื เรอ่ื งทรงบรรทมหลบั กลางวัน. พ. เราจาํ ไดอ ยู อคั คิเวสสนะ เมือ่ เดอื นทา ยฤดคู ิมหะ เรากลับจากบณิ ฑบาตแลว ภายหลงั ภตั รใหป ูผา สงั ฆาฏิเปน ๔ ชน้ั ลงแลว มีสตสิ มั ปชญั ญะอยู หยงั่ ลงสูความหลบั โดยขางขวา. ส. พระโคดม สมณพราหมณพ วกหนง่ึ ก็ติเตยี นขอน้ันไดใ นเพราะอยดู ว ยความลมุ หลง. พ. อัคคเิ วสสนะ บคุ คลจะเปน ผูหลงหรือไมเปน ผหู ลง ดวยอาการเพียงเทา นั้นกห็ าไม. อัคคิเวสสนะ กแ็ ตวาบุคคลจะเปน ผูหลง หรือไมเปน ผูหลง ดวยอาการใด ทานจงฟงอาการนนั้ ทําไวในใจใหด เี ถิด. เรา
พระสตุ ตันตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 130จักกลาว สัจจกนคิ ันถบตุ ร ไดรบั ตอ พระผูมพี ระภาคเจาวา อยางน้นัพระเจา ขา ดังนี้แลว. ตรัสความเปน ผหู ลงและไมหลง [๔๓๑] พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รสั พระพุทธพจนน วี้ า \"อัคคเิ วส-สนะ ก็บคุ คลเปน คนหลงนั้นอยา งไร อคั คิเวสสนะ อาสวะ เหลาใดอันระคนดว ยความเศรา หมอง นาํ มาซ่ึงภพใหม เปนไปกับดว ยความทรุ นทุรายมีทกุ ขเปน ผล เปน ทตี่ ง้ั ชาติ ชรา มรณะ ตอไป อันใครๆ ยงั ละเสยี ไมไ ดแลว เรากลาววา ผนู ั้นเปนคนหลง อัคคิเวสสนะ ดวยวา บุคคลจะช่อื วา เปน คนหลง ก็เพราะยงั ละอาสวะทั้งหลายเสยี ไมไ ด. อคั คเิ วสสนะ อาสวะเหลาใดอันระคนดวยความเศรา หมอง นํามาซึ่งภพใหม เปนไปกบั ดว ยความทรุ นทุราย มที กุ ขเ ปน ผล เปน ที่ตั้งชาติ ชรา มรณะ ตอ ไปอนั ใครๆ ละเสียไดแลว เรากลา วผูนัน้ วาเปนคนไมห ลง อคั คเิ วสสนะ อาสวะเหลาใดอันระคนดว ยความเศราหมอง นํามาซ่งึ ภพใหม เปนไปกบั ดวยความทรุ นทรุ ายมที ุกขเ ปนผล เปนทต่ี ัง้ ชาติ ชรามรณะตอ ไป อนั ตถาคตละเสยี แลว ทําใหมมูลรากอนั ขาด ทาํ ไมใ หมที ี่ตง้ั ดจุ ของตาล ทาํ ไมใ หเกดิ มอี นั เกิดข้ึนไมไดต อไปเปนธรรมดา. อคั คิเวสสนะ เปรยี บเหมือนตน ตาลมยี อดอันขาดเสยีแลว ไมค วรเพ่ือจะงอกข้นึ ไดอีกฉนั ใด อัคคเิ วสสนะ อาสวะเหลา ใด อนั ระคนดวยความเศรา หมอง นํามาซึ่งภพใหมเปนไปกบั ดว ยความทุรนทุราย มที ุกขเปนผล เปน ท่ีตัง้ ชาติ ชรามรณะ ตอ ไป อันตถาคตละเสียแลว ทําใหม มี ลู รากอนั ขาด ทาํ ไมใ หมที ต่ี งั้ อยูไดดุจของตาล ทาํ ไมใหเกิด มอี ันเกิดขึ้นไมไดตอไปเปน ธรรมดา เหมือนกนั ฉะนั้นแล.
พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 131 สัจจนิคันถบุตรสรรเสรญิ [๔๓๒ ] คร้นั พระผูม ีพระภาคเจา ตรสั อยา งนี้แลว สจั จกนคิ ันถบุตรไดก ลา วคาํ นี้กะพระผูม พี ระภาคเจาวา พระโคดม นา อศั จรรย เรือ่ งนไี้ มเ คยมีพระโคดม. เมอื่ พระโคดมถกู วา กระทบอยู ถกู รมุ ดว ยถอยคาํ ที่บคุ คลนําเขาไปกลาว (วา เปรยี บ) อยู ถึงเพียงน้ี ผวิ พรรณคงผุดผอ ง สพี ระพักตรก ย็ งั สดใสอยูนน่ั เอง สมกบั เปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา . พระโคดม ขา พระองคยงั จําไดอ ยู เรอื่ งปรารภถอ ยคาํ ดว ยถอยคํากบั ครู แมครูปูรณกัสสปะนัน้ ถกู ขาพระองคป รารภถอ ยคําดว ยถอ ยคําเขาแลว ไดโ ตต อบคาํ อื่นดวยคาํอื่น นําถอ ยคาํ หลกี ออกภายนอกเสยี ไดทาํ ความโกรธดวยความประทุษรา ยดวยความแคน ดว ยใหปรากฏ. สวนเม่อื พระโคดม ถูกวากระทบๆ อยู ถูกรมุดวยถอยคําทบี่ ุคคลนําเขา ไปกลาวอยู อยา งนี้ ผวิ พรรณยงั ผุดผอ ง สพี ระพกั ตรกย็ งั สดใสอยูนน่ั เอง สมกบั เปน พระอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา. พระโคดม ขา พระองคยงั จาํ ไดอยู เร่ืองปรารภถอยคําดวยถอ ยคาํ กับมกั ขลโิ คสาล...อชตเิ กสกมั พละ...ปกธุ ะกัจจายนะ...สัญชยเวลัฏฐบตุ ร...นิคนั ถ-นาฏบตุ ร...พระโคดม ขา พระองคจะขอทลู ลาไปเดยี๋ วน้ี ขา พระองคมกี ิจมาก มีธุระมาก. พ. อคั คเิ วสสนะ ทา นสาํ คัญกาลอันควร ณ บัดน้เี ถิด. ลาํ ดับนัน้ สัจจกนคิ ันถบุตร เพลดิ เพลินอนโุ มทนาพระพทุ ธภาษติแหง พระผมู พี ระภาคเจา ลุกขนึ้ จากอาสนะแลวหลีกไป. จบมหาสัจจกสตู ร ท่ี ๖
พระสตุ ตนั ตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 132 อรรถกถามหาสัจจกสตู รมหาสจั จกสตู ร มบี ทเร่มิ ตนวา เอวมเฺ ม สตุ . บรรดาบทเหลาน้ัน ดวย ๓ บทวา เอก สมย ๑ เตน โข ปน สมเยน ๑ปพุ ฺพณฺหสมย ๑ ทานกลาวเปน สมยั หนงึ่ . ก็เวลาพวกภิกษุทําการปฏบิ ตั ิตน ลา งหนา ถอื บาตรและจีวรไหวพ ระเจดียแลว ยนื อยูในโรงวิตกวาเราจักเขาไปบา นไหน. สมยั เห็นปานนี้ พระผูมีพระภาคเจา ทรงผาแดง ๒ชน้ั รดั ประคต ทรงจวี รบังสุกุล เฉวียงบา เสด็จจากพระคนั ธกุฏี อนั หมภู กิ ษุหอ มลอม ประทับยืนทีม่ ุขพระคันธกฏุ ี. สจั จกนคิ ันถบตุ ร หมายเอาขอนน้ัแลว จงึ กลา ววา เอก สมย เตน โข ปน สมเยน ปุพพฺ ณหฺ สนย ดังน.้ี บทวา ปวิสติ ุกาโม ไดแก ตกลงพระทัยอยา งนีว้ า เราจักเขาไปบิณฑบาต.บทวา เตนุปสงฺกมิ ถามวา สัจจกนคิ นั ถบตุ รเขาไปหาเพราะเหตไุ ร. ตอบวา โดยอธั ยาศัยเพอื่ โตว าทะ ไดยนิ วา นคิ รนถน ้ัน ไดมคี วามคิดอยางน้ีวา คราวกอนเราเพราะไมไ ดเปนบณั ฑิตจึงพาเอาเวสาลีบริษทั ทัง้ ส้ิน ไปยังสาํ นกั ของพระสมณโคดม จึงเปน ผเู กอในทา มกลางบรษิ ทั แตค ราวน้ี เราไมทําอยา งนัน้ ไปผูเดียว จักโตวาทะ ถาเราจักสามารถใหพระสมณโคดมแพได จกั แสดงลทั ธขิ องตนแลว กระทําการชนะ ถา พระสมณโคดมจักชนะใครๆ จักไมร ู เหมอื นฟอนรําในทมี่ ืด จึงถอื เอาปญ หาคนเปลือยเขาไปหาโดยอธั ยาศยั แหงวาทะน้ี. บทวา อนุกมปฺ อปุ าทาย ความวา อาศัยความกรุณาแกสัจจกนิคนั ถบตุ ร. ไดย นิ วา พระเถระไดมคี วามคิดอยา งน้วี า เมอื่ พระผูมีพระภาคเจาประ-ทบั นั่งพกั สกั ครู เขาจักไดเ ฝาพระพทุ ธเจาและจักไดการฟง ธรรม การเฝาพระพุทธเจา และการฟงธรรมจกั เปน ไปเพื่อประโยชน เพือ่ ความสุขแก
พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 133เขาตลอดกาลนาน เพราะฉะนน้ั พระเถระทูลอาราธนาพระผูมพี ระภาคเจาแลว พับจวี รบงั สกุ ลุ เปน ๔ ชั้น ปลู าด จึงไดกราบทลู วา ขอพระผูม พี ระภาค-เจาจงประทบั น่งั เถิด. พระผูม ีพระภาคเจา ทรงกําหนดวา อานนทก ลา วเหตุ จึงประทบั นัง่ บนอาสนะทีจ่ ดั ถวาย. บทวา ภควนตฺ เอตทโวจ ความวา นคิ รนถ หอ ปญ หาอันเปนสาระ ถอื เอามาวางเลี่ยงไปขางๆ. กราบทลู คาํเปนตนนั้นวา โภ โคตม. บทวา ผสุ นฺติ หิ โภ โคตม ความวา สมณพราหมณเหลา นัน้ ยอ มถกู ตอ ง คอื ยอ มได คอื ประสบทกุ ขเวทนา อันเกดิ ในสรรี ะกาย.บทวา อุรุกฺขมฺโภ ความวา ความขดั ขา อธิบายวา ขาแข็งทที่ อ่ื ในทน่ี ้ีดวยอรรถวา ทําใหงงงวย จึงทําเปนคําอนาคตวา ภวสิ ฺสต.ิ บทวา กายนวฺ ยโหติ คือ จติ ไปตามกาย คือเปนไปตามอาํ นาจกาย. สวน วิปส สนาเรยี กวา กายภาวนา คนถงึ ความฟุงซานท้งั กายและจิต ยอมไมมี นคิ รนถกลาวถึงทีไ่ มมี ไมเปนเทา นนั้ ดวยประการฉะน้ี สมถะเรยี กวา จิตภาวนาดังน้ีก็มี ความวา ความขัดขาเปนตนของบคุ คลที่ประกอบดว ยสมาธิยอ มไมม ี นิครนถ กลา วเฉพาะส่งิ ทไ่ี มเ ปน นี้ ดว ยประการฉะน้.ี สว นในอรรถกถาทานกลา ววา เมือ่ บุคคลกลาววา เร่ืองเคยมมี าแลว ยังกลาวคาํ เปน ตนวา ชือ่ ความขดั ขาก็จกั มี ซง่ึ เปน คาํ อนาคต ไมถ ูกฉนั ใด ความหมายก็ไมถูกฉันน้นั นิครนถก ลาวถึงส่งิ ทไ่ี มมี ไมเปน . บทวา โน กายภาวน เขากลาวหมายเอาการปฏบิ ัตติ นใหลาํ บากมกี ารทาํ ความเพยี ร ๕ ประการเปนตน . น้ีชอ่ื กายภาวนาของสมณพราหมณเ หลาน้นั . ถามวา ก็นิครนถน น้ัเห็นอะไร จึงไดก ลาวอยางนี.้ ตอบวา ไดย ินวา นิครนถน้นั มายงั ที่พกั ตอนกลางวัน กแ็ ลสมยั นั้น พวกภิกษเุ กบ็ บาตรและจวี รแลว เขาไปเพ่อืหลกี เรนในทพี่ ักกลางคนื และกลางวันของตนๆ เขาเห็นพวกภกิ ษเุ หลา นัน้ หลีกเรน สําคญั วา พวกภกิ ษเุ หลา นัน้ หมน่ั ประกอบเพียงจิตตภาวนา แตกายภาวนาไมมีแกภกิ ษเุ หลาน้นั จงึ กลาวอยางนี.้
พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 134 ลาํ ดับนัน้ พระผูมีพระภาคเจา เมือ่ ทรงยอนถามนคิ รนถน้ัน จงึตรัสถามวา ดกู อ นอคั คเิ วสสนะ กายภาวนาทานฟง มาแลว อยา งไร. นคิ รนถน้ัน เม่อื จะกลาวกายภาวนานน้ั ใหพสิ ดาร จงึ ทลู คําเปนตนวา คือทานนันทะผูวัจฉโคตร. บรรดาบทเหลา นั้น บทวา นนโฺ ท เปน ช่ือของเขา บทวา วจฺโฉเปนโคตร. บทวา กโี ส เปน ชือ่ บทวา สกุ ิจโฺ จ เปน โคตร. ทา นมกั ขลิโคสาลมาในหนหลงั แลว แล. บทวา เอเต ไดแก ชน ๓ คนเหลา นนั้ ไดย ินวา ชนเหลานนั้ ไดบรรลุทสี่ ุดแหง ตบะอนั เศรา หมอง บทวา อฬุ ารานิ คอืโภชนะอนั ประณตี ๆ. บทวา คาเหนตฺ ิ นาม ชือ่ วา ยอ มใหรา งกายไดก ําลัง. บทวา พฺรเู หนตฺ ิ คอื ใหเจริญ. บทวา เมเทนตฺ ิ คือทําใหเกิดมันขน. บทวา ปุริม ปหาย ไดแ ก เลกิ การทําความลําบากอยางกอน. บทวา ปุจฺฉาอุปจนิ นตฺ ิ ความวา ใหอ ิม่ หนําคือใหเ จริญดวยของควรเคีย้ วอนั ประณตี เปนตน. บทวา อาจยาปจโย โหติ คอื ความเจริญ และความเส่อื มยอมปรากฏเพียงแตความเจริญและความเสอื่ ม กายน้ีก็มคี วามเจรญิ ตามกาล ความเส่ือมตามกาล พระผูมีพระภาคเจา เมอ่ื ทรงแสดงวา กายภาวนา ไมป รากฏตรสั ถามจติ ตภาวนา ตรัสถามวา ดกู อ นอัคคิเวสสนะ จติ ตภาวนา ทานฟง มาแลวอยางไร. บทวา น สมฺปายาสิ ความวา ไมอ าจทูลใหสมบรู ณได เหมอื นพาลปถุ ชุ น. บทวา กุโต ปน ตวฺ ความวา ทานผใู ดไมรูความเจรญิ ของรา งกาย ทอ่ี อนกาํ ลงั เปนสวนหยาบอยางน้ี ทานผูนนั้ จักรูจิตตภาวนาอันละเอยี ดสขุ ุมไดแ ตทีไ่ หนเลา . สวนในท่นี ้ี พระโจทนาลยเถระคิดวา บทน้นัช่ือพระพุทธพจนก็หามไิ ด วางพัดวชี นหี ลีกไป. ยอมาพระมหาสิวเถระอางพระพุทธพจนน ั้นวา ดกู อนภิกษุทงั้ หลาย ความเจริญบาง ความเสอ่ื มบา ง ปฏิสนธบิ าง จตุ ิบาง ของกายอันเปน มหาภูต ๔ นี้ จักปรากฏ พระเถระฟงคํานัน้ แลว กําหนดวา ควรกลาววา เม่อื กาํ หนดกายเปน สว นหยาบวิปส สนาท่ีเกดิ กเ็ ปน สว นหยาบดงั น้.ี บทวา สุขสาราคี คอื ผปู ระกอบดว ย
พระสตุ ตนั ตปฎ ก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 135ความยนิ ดีดว ยความสขุ บทวา สขุ าย เวทนาย นิโรธา อปุ ฺปชฺชติ ทกุ ฺขาเวทนา คอื ยอ มเกดิ ในลาํ ดบั สําเรจ็ แลวในคัมภีรปฏฐาน เพราะทุกขเวทนานนั้ เปน อนันตรปจจยั แกส ุขและทกุ ข แตเพราะเม่ือสุขเวทนายังไมด ับ ทกุ ขเวทนาก็ไมเ กิด ฉะน้นั ทานจงึ กลาวไวในท่นี .ี้ บทวา ปรยิ าทาย ติฏติ ความวาใหเ วทนาสิน้ ไป ยึดถอื ไว. บทวา อุภโต ปกฺข ความวา เปน ๒ ฝายอยา งนค้ี ือสขุ ฝายหนึง่ ทุกขฝ ายหน่ึง. วินิจฉยั ในบทน้วี า อปุ ปฺ นฺนาป ฯเปฯ จิตฺตสฺสดงั ตอไปน้ี กายภาวนา เปน วปิ สสนา จติ ตภาวนาเปน สมาธิ สวนวิปสสนาเปน ขาศึกตอสุข ใกลตอทุกข สมาธเิ ปนขาศึกตอ ทุกขใกลต อสุข. อยางไร จรงิ อยู เมอ่ื พระโยคาวจรนงั่ เริ่มวปิ ส สนา เมื่อระยะกาลผา นไปนานจติ ของทานยอ มเดอื ดรอ น ด้นิ รน ยอมปรากฏเหมือนไฟทล่ี กุ โพลงในที่นนั้ เหงอื่ ไหลออกจากรกั แร เหมือนเกลยี วความรอ นต้งั ขน้ึ แตศ รี ษะ ดว ยเหตุเพียงเทา น้ี วิปส สนาเปน ขา ศกึ ตอ สุข ใกลต อ ทกุ ข. ก็เมือ่ ทกุ ขท างกายหรอืทางจติ เกดิ แลว ทกุ ขใ นขณะสมาบตั ขิ องทา นผูขม ทุกขน ้นั เขา สมาบตั ิ ยอ มปราศจากทกุ ข หย่ังลงสูสุขไมนอย เมอ่ื เปนเชนนี้ สมาธิ จึงเปนขาศกึ ตอทกุ ขใกลต อสขุ . วปิ ส สนา เปน ขาศกึ ตอ สขุ ใกลต อทุกข ฉนั ใด สมาธิหาเปน ฉนันั้นไม. สมาธเิ ปนขา ศกึ ตอ ทุกข ใกลต อ สุขฉนั ใด สว นวปิ ส สนาหาเปน ฉนั น้ันไม. เพราะเหตนุ ้นั พระองคจ ึงตรสั วา อุปปฺ นนฺ าป ฯเปฯ จิาตฺตสสฺ . บทวาอาสชฺช อปุ นีย ไดแก เก่ียวขอ งและนําเขาไปสคู ุณ. บทวา ต วต เม ไดแก จติ ของเรานนั้ หนอ. บทวา กิ หฺ ิ โน สิยา อคฺคิเวสฺสน ความวา ดกู อ นอคั คิเวสสนะ อะไรจักไมม ี อะไรจักมี ทานอยา สาํ คัญอยางน้ี สขุ เวทนากด็ ีทุกขเวทนากด็ ี ยอ มเกิดแกเรา แตเ มือ่ มนั เกดิ ขน้ึ แลว เราจะไมใ หครอบงาํจิต. บดั น้ี พระผมู พี ระภาคเจา มปี ระสงคจ ะทรงแสดงพระธรรมเทศนาเปน ทมี่ าแหงความเลอื่ มใสอยางสงู เพ่ือประกาศเน้ือความน้นั แกน ิครนถ
พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 136น้นั จงึ ทรงปรารภมหาภเิ นษกรมณ ต้งั แตต นในบทวา อิธ ฯเปฯ ปธานายนนั้ นีท้ ้ังหมด พงึ ทราบโดยนัยท่ีกลา วไวใ นปาสราสสิ ตู รหนหลงั .สวนความตา งกันดังนีค้ อื การน่ังบนโพธิบัลลงั กนน้ั เปน การกระทาํ ทีท่ าํ ไดยากในขอน้ี. บทวา อลลฺ กฏ คอื ไมม ะเด่อื สด. บทวา สเสนฺ ห คือมียางเหมอื นน้าํ นม. บทวา กาเมหิ คือจากวัตถุกาม. บทวา อวูปกฏา คอื ไมหลีกออก. กเิ ลสกาม ในบทเปนตนวา กามฉนโฺ ท พึงทราบวาฉนั ทะดว ยอาํ นาจทําความพอใจ สเิ นทะ ดวยอาํ นาจทาํ ความเยอ่ื ใย มุจฺฉา ดวยอาํ นาจทาํความสยบ ปปาสา ดวยอาํ นาจทําความกระหาย ปริฬาห ดวยอํานาจการตามเผา. บทวา โอปกฺกมกิ า คือ เกดิ เพราะความเพียร. บทวา าณายทสฺสนาย อนุตตฺ ราย สมโฺ พธาย ท้งั หมด เปน ไวพจนโ ลกตุ ตรมรรค. ก็ มอี ุปมาเปรียบเทียบในขอ นด้ี ังนคี้ ือ บุคคลยงั มกี ิเลสกาม ยังไมอ อกจากวัตถกุ าม เหมอื นไมม ะเดอ่ื สดมยี าง เปยกชมุ ดวยกิเลสกาม เหมือนไมท ี่แชไวในน้ํา การไมบ รรลโุ ลกตุ ตรมรรค ดว ยเวทนาอนั เกิดเพราะความเพยี ร ของบุคคลทีม่ ีกิเลสกาม ยงั ไมออกจากวตั ถุกาม เหมอื นสไี มสีไฟไฟกไ็ มเกดิ . การไมบรรลุโลกุตตรมรรคของบุคคลเหลานั้น เวนจากเวทนาอันเกิดเพราะความเพียรเหมือนไมสีไมสีไฟ ไฟกไ็ มเ กดิ แมอ ุปมาขอที่ ๒ พงึ ทราบโดยนัยน้แี ล. สวนความตางกนั ดังนคี้ ือ ขอแรกเปนอุปมาของการบวชพรอมกบับตุ รและภรรยา ขอหลัง เปน อปุ มาของการบวชของพราหมณผ ทู รงธรรม. บทวา โกลาป ในอปุ มาขอท่ีสาม ไดแก ผักท่ไี มมียาง บทวา ถเลนกิ ฺขติ ตฺ คือท่ีเขาวางไวบนภเู ขา หรือบนพ้นื ดิน กม็ ีอุปมาเปรยี บเทียบในขอน้ีดงั นี้คอื ก็บคุ คลมีกเิ ลสกามออกจากวตั ถุกาม เหมือนไมแ หง สนิท ไมเปยกชุม ดวยกิเลสกาม เหมือนไมท ่เี ขาวางไวบนบกหา งจากนํา้ การบรรลโุ ล-กตุ ตรมรรคดว ยเวทนา แมเ กดิ เพราะความเพยี ร มีการน่งั ในกลางแจงเปน ตนของบคุ คลมีกิเลสกาม ออกจากวัตถกุ าม เหมือนสไี มสไี ฟ ไฟกเ็ กิด การบรรลุ
พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 137โลกุตตรมรรค ดวยสุขาปฏปิ ทาเวนจากเวทนาอันเกิดเพราะความเพยี ร เหมือนเกิดไฟดว ยเพยี งการสีกบั ก่งิ ตนไมอนื่ . อปุ มาน้ี พระผูมีพระภาคเจา ทรงนาํ มาเพื่อประโยชนแกองค. บดั นี้ เม่ือจะทรงแสดงทกุ กรกริ ิยาของพระองค จึงตรัสวา ตสฺส มยหฺ เปนตน . ก็พระผมู พี ระภาคเจาไมท รงทําทุกกรกริ ยิ าแลว ไมสามารถเปนพระพทุ ธเจา ไดหรอื ทรงทําก็ตามไมทาํ ก็ตาม สามารถเปน พระพทุ ธเจาได. ถามวาเมื่อเปนเชนนัน้ทรงทําเพราะเหตไุ ร ตอบวา เราจกั แสดงความพยายามของตนแกโลกพรอมทง้ั เทวโลก และคณุ คือความย่ํายีดว ยความเพยี รนนั้ จักใหเ รายนิ ดีได. จริงอยู กษัตริยประทบั นัง่ บนปราสาท แมท รงไดร ับราชสมบัติสืบตอตามพระราชประเพณี ไมท รงยินดอี ยา งนั้น ราชสมบัติท่พี าเอาหมพู ลไปประหารขา ศึก ๒ - ๓ คน ทาํ ลายขา ศกึ ไดมา โสมนสั อนั มีกาํ ลังยอ มเกิดแกพ ระองคผูไ ดเสวยสริ ิราชสมบัตอิ ยางนนั้ ทรงแลดบู รษิ ัท ทรงรําลกึ ถงึความพยายามของตนแลว ทรงดาํ รติ อ วา เราทาํ กรรมนนั้ ในทีโ่ นน แทงอยา งนี้ ประหารอยา งน้ี ซึ่งขา ศึกโนนและโนน จงึ ไดเ สวยสิรริ าชสมบตั ินี้ ฉนั ใด แมพ ระผูมีพระภาคเจาก็ฉันน้นั เหมือนกัน ทรงดํารวิ า เราจักแสดงความพยายามแกโลกพรอมท้งั เทวโลก กค็ วามพยายามนั้นจักใหเรายนิดี ใหเ กิดโสมนสั เปนอยางย่งิ จึงไดท าํ ทุกกรกิริยาอีกอยา งหนง่ึ แมเ มือ่ จะทรงอนเุ คราะหห มชู นผูเ กดิ ในภายหลงั ก็ไดท รงกระทําเหมอื นกัน หมูชนผูเกดิ ในภายหลงั จกั สําคัญความเพียรทีค่ วรทาํ วา พระสมั มาสัมพุทธเจายงั ทรงบาํ เพ็ญพระบารมตี ลอด ๔ อสงไขย ย่งิ ดวยแสนกัป ทรงต้ังความเพียร บรรลุพระสพั พญั ุตญาณ จะปวยกลาวไปใย ถงึ พวกเราเลา เมื่อเปนอยางน้ัน พระผมู ีพระภาคเจาทรงดํารวิ า หมชู นจักกระทําทส่ี ุดแหงชาติชรา และมรณะได เรว็ พลัน เพราะฉะนั้น เมือ่ จะทรงอนุเคราะหหมชู นผูเกิดภายหลัง จงึ ไดท รงกระทาํ เหมือนกัน. บทวา ทนฺเตหิ ทนตฺ มาธาย ไดแก
พระสตุ ตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 138กดพระทนตบนดว ยพระทนตลา ง บทวา จตสา จติ ตฺ ไดแ ก ขม อกศุ ลจติ ดวยกศุ ลจิต. บทวา อภินิคคฺ ณเฺ หยยฺ คอื พึงขม . บทวา อภนิ ิปปฺ เ ฬยฺยคอื พึงบีบค้ัน. บทวา อภินิสนตฺ าเปยยฺ ความวา พึงทําใหเ ดือดรอ นแลว ทําลาย ยาํ่ ยีดวยความเพยี ร. บทวา สารทโฺ ธ คือมีกายกระวนกระวาย. บทวา ปธานาภิตนุ นฺ สฺส ความวา มสี ติอนั ความเพยี รเสยี ดแทงคือแทงแลว.บทวา อปปฺ าณก คือไมม ีลมหายใจ. บทวา กมฺมารคคคฺ ริยา ไดแ ก กระบอกสบูชางทอง. บทวา สีสเวทนา โหนตฺ ิ ความวา เวทนาเกดิ แตศ ีรษะมีกาํ ลังถูกลมอูอ อกไปจากไหนไมได. บทวา สสี เปฬ ทเทยยฺ ไดแก พึงรัดท่ศี รี ษะบทวา เทวตา ความวา เทวดาสถิตอยใู นท่สี ุดจงกรมของพระโพธิ-สัตว และใกลบ รเิ วณบรรณศาลา. ไดยินวา ในกาลน้นั เมื่อความเรา รอ นในพระวรกายอันมปี ระมาณยงิ่ ของพระโพธสิ ตั วเ กดิ ข้ึน หมดสติ พระองคประ-ทับนั่งลมบนทจ่ี งกรม. เทวดาเห็นพระโพธิสัตวน ัน้ จึงกลาววา พระโพธิ-สตั ว สนิ้ พระชนมเ สียแลว พวกเทวดาเหลา นั้น จงึ ไป กราบทูลตอ พระเจา สทุ -โธทนมหาราชวา พระราชโอรสของพระองคสิน้ พระชนมเ สียแลว . พระเจาสุทโธทนมหาราชตรัสวา บุตรของเรา เปน พระพุทธเจา จงึ ทํากาละ ยงั ไมเปน พระพทุ ธเจา จะไมทาํ กาล เทวดา. จะเปนพระพทุ ธเจา ไมไ ด ลมไปอยบู นพ้ืนท่ที ําความเพยี รสนิ้ พระชนมชพี เสียแลว พระเจา สุทโธทนมหาราช.เราไมเ ชอ่ื การส้ินพระชนมจ ะไมมีแกโ อรสของเรา เพราะยงั ไมบ รรลโุ พธ-ิญาณ. ในเวลาตอ มาเม่อื พระสมั มาสมั พุทธเจา ทรงยงั ธรรมจักรใหเ ปนไปเสด็จไปยังกรงุ ราชคฤหโ ดยลําดับ เสด็จถงึ กรุงกบลิ พสั ดุ พระเจาสทุโธทนมหาราชทรงรับบาตรนาํ เสดจ็ ข้นึ สปู ราสาท ถวายขาวตมและของขบเคี้ยวทูลเรอื่ งนั้น ในเวลาระหวางภัตรวา ขาแตพ ระผมู พี ระภาคเจา ในเวลาพระองคท รงทาํ ความเพยี ร เทวดามาบอกวา ดกู อนมหาราช โอรสของพระองคสิ้นพระชนมเสยี แลว พระผูมีพระภาคเจา ตรสั วา ดกู อ นมหา
พระสุตตันตปฎ ก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 139บพติ ร พระองคท รงเชอื่ หรือ พระเจาสุทโธทนมหาราช. ขาแตพ ระผมู ีพระภาคเจา ขาพระองคไ มเ ชอ่ื . พระผมู ีพระภาคเจา ดูกอ นมหาบพิตร บัดน้ีพระองคทรงเหน็ อศั จรรยต ัง้ แตถ ือพระสบุ นิ ยังจกั เชอื่ หรอื แมอาตมาเปน .พระพทุ ธเจา แมมหาบพิตรกท็ รงเปน พระพทุ ธบดิ า สว นในกาลกอน เมอื่ญาณของอาตมายงั ไมแ กก ลา บําเพ็ญโพธจิ รยิ าอยู ไปแลว เพื่อศกึ ษาศลิ ปะแมใ นเวลาเปน ธรรมบาลกมุ าร พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสมหาธรรมปาลชาดก เพราะความอบุ ตั ขิ ึ้นแหงเรอ่ื งนีว้ า ชนทง้ั หลายนํากระดูกแพะมาแสดงวา ธรรมปาลกุมารบุตรของทาน ทํากาละแลว นีก้ ระดูกของเขาดงั นี้. ดูกอนมหาบพติ ร แมใ นกาลน้ัน พระองคไดตรัสวา ชือ่ วา ความตายในระหวางของบตุ รเรายอมไมมี เราไมเชอื่ ดงั นี.้ บทวา มา โข ตวฺ มาริส ไดแก พวกเทวดาผรู ักใครมากราบทลูไดยินวา โวหารนา รกั นา ชอบใจของพวกเทวดาคอื มารสิ . บทวา อชชฺชิตคือ ไมใ ชโภชนะ. บทวา หลนฺติ วทามิ คือ เรากลาววา พอละ อธิบายวาเราหามอยางนวี้ า ทานอยาทําอยางน้ีดวยบทน้ี เราจกั ยังอตั ตภาพใหเปนไปได. บทวา องคฺ รุ จฺฉวี คอื มพี ระฉวพี รอ ย. บทวา เอตาวปรม ความวา ประมาณนัน้ เปน อยางย่งิ คือสงู สดุ แหง เวทนาเหลาน้นั . บทวา ปตุสกฺกสฺส กมมฺ นเฺ ต ฯ เปฯ ปม ฌาน อปุ สมปฺ ชชฺ วิหรตา ความวา ไดยินวา ในวนั น้นั ชอ่ื วา เปนวันวัปปมงคลของพระราชา พระราชาทง้ั หลายจัดของควรเคี้ยวของกินเปน อเนกประการ ลางถนนพระนครใหสะอาดตงั้ หมอเตม็ ดว ยน้ํา ใหยกธงแผนผา เปนตนขึน้ ประดับไปทัว่ พระนคร เหมือนเทพวิมาน ทาสและกรรมกรเปน ตน ท้งั ปวงนุง หม ผาใหม ประดบั ดว ยของหอมและดอกไมเปน ตน ประชมุ กันในราชตระกลู ในราชพิธี เขาประกอบคันไถพันหนึ่ง แตในวนั นนั้ ราชบุรษุ ประกอบคันไถ ๘๐๐ หยอ นหนงึ่ คันไถทงั้ หมดพรอมทั้งเชอื กผูกโคหนุมหมุ ดวยเงนิ เหมือนรถของชานโุ สณิพราหมณ
พระสตุ ตนั ตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 140คันไถของพระราชามีพหู อ ยยอ ยหมุ ดวยทองสุกปล่ัง เขาของโคหนมุ กด็ ี เชอื กและปฏกั กด็ ี หมุ ดวยทองคาํ พระราชาเสดจ็ ออกไปดว ยบรวิ ารใหญ รบั เอาโอรสไปดวย ในที่ประกอบพระราชพธิ แี รกนาขวัญ ไดมีตน หวาตนหน่งึ มใี บหนาทึบ มรี ม เงารม รื่นภายใตตน หวาน้นั พระราชารบั สง่ั ใหปทู ี่บรรทมของกุมาร ขางบนคาดเพดานขจติ ดวยดาวทอง ลอ มดวยกาํ แพงมานต้ังอารักขา ทรงเครอ่ื งสรรพาลงั การ แวดลอ มดว ยหมอู าํ มาตย เสด็จไปสพู ระราชพธิ แี รกนาขวัญ ณ ท่ีน้นั พระราชาทรงถือคนั ไถทอง พวกอํามาตยถือคันไถเงิน ๘๐๐ หยอ นหนึ่ง ชาวนาถอื คันไถทเ่ี หลอื . เขาเหลานน้ั ถอื คันไถเหลาน้นั ไถไปทางโนน ทางนี้. สว นพระราชา เสดจ็ จากขางน้ีไปขางโนนหรือจากขา งโนน มาสขู า งน้ี. ในทีน่ ้เี ปนมหาสมบัติ พระพี่เลยี้ งน่ังลอ มพระโพธิสตั วค ดิ วา เราจักเหน็ สมบัตขิ องพระราชา จึงพากันออกไปนอกมา น พระโพธสิ ัตวทรงแลดขู า งโนน ขางนี้ ไมเห็นใครๆ จึงรบี ลุกขนึ้นัง่ ขดั สมาธิ กําหนดลมหายใจเขาออก ยงั ปฐมฌานใหเกดิ . พระพ่ีเลยี้ งมวัเท่ยี วไปในระหวางโรงอาหารชาไปหนอยหน่ึง เงาของตน ไมอืน่ กค็ ลอ ยไป แตเ งาของตน ไมน้ัน ยงั ตัง้ เปนปรมิ ณฑลอยู. พระพีเ่ ล้ียงคิดวา พระราชบตุ รอยูลําพังพระองคเ ดยี ว รบี ยกมา นขนึ้ เขาไปภายในเหน็ พระโพธสิ ัตวประทับนงั่ ขดั สมาธิบนท่บี รรทม และเหน็ ปาฏหิ าริยนั้นแลว จงึ ไปกราบทลู พระราชาวา ขาแตพระองค พระกุมารประทบั อยางนี้ เงาของตนไมอืน่ คลอ ยไปเงาตนหวา เปนปรมิ ณฑลอยู พระราชาเสดจ็ ไปโดยเร็ว ทรงเหน็ ปาฏิหาริยทรงไหวพ ระโอรสดวยพระดํารัสวา น้เี ปน การไหวลกู เปนครง้ั ที่สอง. บทวาปตุ สกกฺ สฺส กมฺมนเฺ ต ฯเปฯ ปม ฌาน อปุ สมฺปชชฺ วิหรตา น้ี ทานกลาวหมายเอาคํานี้. บทวา สิยา นุ โข เอโส มคฺโค โพธาย ความวา อานาปานสติปฐมฌานนี้ จะพงึ เปน ทางเพือ่ ประโยชนก ารตรัสรูหนอ.บทวา สตานสุ า-รวิ ิ าณ ความวา วิญญาณทีเ่ กดิ ขน้ึ ในลําดบั แหง สติที่เกิด ๑-๒ ครั้ง
พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 141อยา งนีว้ า การทําสง่ิ ทาํ ไดย ากน้ี จกั ไมเปนทางเพ่ือการตรัสรู แตอ านาปานสติปฐมฌานจกั เปนแน ช่อื วา สาตานสุ ารวิ ญิ ญาณ. บทวา ย ต สุข ไดแก ความสขุ ในอานาปานสตปิ ฐมฌาน. บทวา ปจจฺ ปฏ ิตา โหนฺติ ความวาบํารงุ ดว ยการทําวัตรมีการกวาดบริเวณบรรณศาลาเปน ตน . บทวา พาหลุ ฺลโิ กคอื มักมากในปจ จยั . บทวา อาวฏโฏ พาหุลลฺ าย ความวา เปน ผูติดในรส เวียนมาเพื่อตอ งการอาหารทป่ี ระณตี เปน ตน . บทวา นพิ พฺ ชิ ชฺ ปกกฺ มสึ ุพวกปญจวคั คียเบื่อหนา ย หลกี ไป โดยธรรมนยิ าม อธิบายวา ไปตามธรรมดาเพื่อใหโอกาสแกพ ระโพธิสัตวไ ดกายวเิ วกในกาลบรรลพุ ระสัมโพธิญาณ และเมอื่ ไปกไ็ มไปทอี่ นื่ ไดไปเมืองพาราณสนี ั้นเอง. เมื่อปญ จวัคคียไ ปแลว พระโพธสิ ัตวไ ดก ายวิเวก ตลอดก่ึงเดือน ประทับนงั่ อปราชติ บลั -ลงั ก ณ โพธมิ ณฑล ทรงแทงตลอดพระสพั พญั ุตญาณแลว . บทมคี าํ เปน ตนวา วิวจิ เฺ จร กาเมหิ พงึ ทราบโดยนยั ท่กี ลา วแลว ใน ภยเภรวสตู ร. บทวา อภิชานามิ โข ปนาห คอื นเ้ี ปน อนสุ นธิแผนกหนงึ่ . ไดยินวานคิ รนถ คิดวา เราทูลถามปญหาขอหนงึ่ กะสมณโคดม พระสมณโคดมตรสั วาดกู อนอัคคิเวสสนะ เทวดาแมอ่นื อกี ถามเรา ดกู อนอคั คเิ วสสนะ เทวดาแมอ ่นือกี ถามเรา เมอ่ื ไมท รงเห็นทสี่ ดุ ตรสั อยางน้นั พระองคมคี วามกร้ิวหรือลาํ ดบั น้ัน พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา อคั คเิ วสสนะ เมือ่ ตถาคต แสดงธรรมอยใู นบริษัทหลายรอย แมค นหนึง่ ทจี่ ะกลา ววา พระสมณโคดม กรวิ้แลว มิไดม ี อน่ึง ตถาคตแสดงธรรมแกช นเหลา อืน่ เพอ่ื ประโยชนแ กการตรสั รู เพอื่ ประโยชนแกการแทงตลอด เมอื่ จะทรงแสดงธรรมจึงเร่ิมพระธรรมเทศนาน.้ี บรรดาบทเหลา น้นั บทวา อารพฺภ คือหมายเอา. บทวายาวเทว คือเปนคาํ กาํ หนดวิธีใช มอี ธบิ ายวา การยงั บคุ คลเหลา อื่นใหรนู ัน่แหละ เปนการประกอบพระธรรมเทศนาของพระตถาคต เพราะฉะนั้น
พระสุตตนั ตปฎก มชั ฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 142พระตถาคตจงึ มิไดแสดงธรรมแกบ คุ คลผเู ดียว ทรงแสดงธรรมแกบคุ คลผูรู ซึ่งมอี ยทู งั้ หมด พระผมู พี ระภาคเจา ทรงแสดงดวยบทวา ตสมฺ ึ เยวปุรมิ สมฺ ึ นี้ ไวอยา งไร ไดยินวา สจั จกนิครนถ คิดวา พระสมณโคดม มีพระรูปงาม นา รกั พระทนตเรยี บสนิท พระชิวหาออ น การสนทนากไ็ พเราะเหน็จะเทีย่ วยังบรษิ ัทใหยนิ ดี. สว นเอกัคคตาจิตของพระสมณโคดมน้ัน ไมมีแกพ ระองค ลาํ ดบั นน้ั พระผูม พี ระภาคเจา จงึ ตรัสอยา งนี้ เพื่อทรงแสดงวา ดูกอน อัคคเิ วสสนะ พระตถาคตเท่ยี วยงั บรษิ ทั ใหยินดี พระตถาคตทรงแสดงธรรมแกบ รษิ ทั ทว่ั จักรวาล พระตถาคตมีพระทัยไมห ดหู ไมแปดเปอ น ประกอบเนอื งๆ ซง่ึ ผลสมาบัตเิ ปนสุญญตะ ซึง่ เปนธรรมเคร่อื งอยูอยางหนึง่ ประมาณเทานด้ี งั น.ี้ บทวา อชฌฺ ตฺต ไดแ ก อารมณ อันเปนภายในเทา นนั้ บทวา สนนฺ สิ ีทามิ คือยังจิตใหสงบ. จรงิ อยูใ นขณะใด บริษัทยอมใหสาธกุ าร ในขณะน้นั พระตถาคตทรงกําหนดสวนเบ้อื งตน ทรงเขาผลสมาบัติ เมอ่ื เสียงกกึ กองแหง สาธกุ ารยงั ไมข าด ออกจากสมาบัติแสดงธรรมอยู ตัง้ แตท่พี ระองคทรงต้ังไวแ ลว. ดว ยวาการอยใู นภวงั คข องพระพุทธเจา ทงั้หลายยอมเปน ไปเรว็ พลัน ยอ มเขาผลสมาบัตไิ ดในคราวหายใจเขา ในคราวหายใจออก. บทวา เยน สทุ นิจจฺ กปปฺ ความวา เราอยดู วยผลสมาธิ อันเปนสญุ ญตะไดตลอดกาลเปน นิตย คอื แสดงวา เราประคองจิตต้งั ม่นั ในสมาธินิมิตนน้ั .บทวา โอกปฺปนิยเมต นั้น เปน ท่ีตง้ั แหง ความเช่ือ. สจั จกะน้นั รบั วา พระผมู พี ระภาคเจา เปนผูมเี อกัคคตาจติ บดั น้ีเมอ่ื จะนาํ ปญหาทต่ี นซอ นไวใ นพก มาทูลถาม จึงกลา ววา อภิชานาติปน ภว โคตโม ทิวา สุปตา. เหมือนอยางวา ขึน้ ชอ่ื วา สุนัขแมกินอาหารขา วปายาสที่หงุ ดวยน้าํ นมปรงุ ดว ยเนยใสจนเตม็ ทอง เหน็ คถู แลว เคี้ยวกินไมได กไ็ มอ าจเพ่ือจะไป เมื่อเคย้ี วกินไมไ ด ก็จะดมกลิ่นกอนจงึ ไป ไดยนิ
พระสตุ ตันตปฎ ก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 143วา เมอ่ื มนั ไมไ ดด มกล่นิ ไป ก็ปวดหวั ฉันใด พระศาสดาก็ฉันน้ันเหมอื นกัน ทรงแสดงธรรมเปนทต่ี ัง้ แหง ความเลอ่ื มใส ต้ังแตก ารเสดจ็ ออกมหาภเิ นษกรมณ จนถึงความสนิ้ ไปแหงอาสวะ เชนกบั สุนขั เหน็ ขา วปายาสที่เขาหุงดว ยนํา้ นมลวน สว นสจั จกะน้ันฟงพระธรรมเทศนาเห็นปานน้ี ก็ไมเกดิ แมเพียงความเลื่อมใสในพระศาสดา เพราะฉะนนั้ เมอื่ เขาไมทลู ถามปญ หาท่ีซอนไวในพกนํามา ก็ไมอาจเพอื่ จะไป จึงไดก ลา วอยางนั้น. เม่ือเปน เชนน้ัน เพราะถีนมิทธะ ทีพ่ ระขีณาสพทั้งปวงละไดดวยอรหตั ตมรรค. กค็ วามกระวนกระวายทางกายยอมมใี นอปุ าทนิ นกรูปบา ง ในอนุปาทินนกรปู บา งจรงิ อยางน้นั ดอกบัวขาวเปน ตน แยม ในเวลาหน่งึ ตูม ในเวลาหนงึ่ ในเวลาเย็นใบไมบางอยางหบุ ในเวลาเชา ก็บาน. อุปาทนิ นกรูปเทา นนั้ มีความกระวนกระวายก็ภวงั คโสตทีเ่ ปนไปดวยความกระวนกระวาย ทานประสงคว าหลับในท่ีน้ี ภวงั คโสตนั้น มแี กพ ระขีณาสพ หมายเอาความหลับนัน้ จึงกลาวคาํ เปน ตน วา อภิชานามห . บทวา สมโมหวิหารสฺมึ วทนตฺ ิ อาจารยบางพวกกลา ววา สมฺโมหวิหาโร แปลวา อยดู วยความหลง. บทวา อาสชฺชอาสชชฺ คอื เสยี ดสีๆ บทวา อุปนีเตหิ คอื ท่ีตนนาํ มากลา ว บทวา วจนป-เถหิ แปลวา ถอ ยคํา. บทวา อภินนฺทติ ฺวา ความวา ยินดรี บั ดว ยใจ อนุโมทนาสรรเสรญิ ดว ยถอยคํา. พระผูมีพระภาคเจาตรัส ๒ พระสตู รนี้ แกนคิ รนถน .ี้ พระสูตรตนมภี าณวารเดยี ว พระสตู รนี้ มีภาณวารครง่ึ ถามวา นิครนถนี้ แมฟ ง ๒ ภาณวาร ครง่ึ แลว ยงั ไมบรรลุธรรมาภิสมัย ยงัไมบวช ยงั ไมต ้ังอยูในสรณะ ดงั น้แี ลว เพราะเหตไุ ร พระผูม พี ระภาคเจา จึงทรงแสดงธรรมแกเ ขาอีก ตอบวา เพอ่ื เปน วาสนาในอนาคต. จริงอยู พระผูมีพระภาคเจาทรงเห็นวา บดั น้อี ุปนสิ ยั ของนคิ รนถน ้ี ยงั ไมมี แตเมื่อเราปรินิพพานลวงไปได ๒๐๐ ป- เศษ ศาสนาจักประดษิ ฐานอยตู มั พปณ-ณทิ วปี นิครนถนี้จกั เกิดในเรือนมีสกลุ ในตมั พปณ ณทิ วีปน้ัน บวชในเวลาถึง
พระสุตตนั ตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 144พรอมแลว เรยี นพระไตรปฎก เจริญวปิ ส สนา บรรลพุ ระอรหตั ตพ รอมดว ยปฏิสมั ภิทา เปนพระมหาขีณาสพ ชื่อวา กาลพทุ ธรกั ขติ พระผูมพี ระภาคเจาทรงเห็นเหตนุ ้ี จึงทรงแสดงธรรมเพือ่ เปน วาสนาในอนาคต. เม่ือพระศาสนาประดิษฐานในตัมพปณ ณทิ วีปนน้ั สัจจกะแมน้ันเคล่อื นจากเทวโลกเกิดในสกลุ แหงอาํ มาตย สกลุ หน่ึง. ในบานสาํ หรับภกิ ขาจารแหงทกั ษิณาคิริวิหาร บรรพชาในเวลาเปนหนุม สามารถบรรพชาไดเ รยี นพระไตรปฎก คอื พระพทุ ธพจน บรหิ ารคณะหมูภิกษุเปนอันมากแวดลอ มไปเพอ่ื จะเยีย่ มพระอปุ ชฌาย ลําดบั นน้ั อุปช ฌายของเธอคดิ วาเราจักทวงสทั ธิวหิ ารริก จงึ บยุ ปากกับภกิ ษุน้ัน ผเู รยี นพระไตรปฎกคือพระพทุ ธพจนมาแลว ไมไ ดกระทาํ สักวาการพดู ภิกษุนั้นลุกข้ึนในเวลาใกลรงุไปสาํ นกั พระเถระ ถามวา ขา แตทา นผเู จริญ เม่ือกระผมทําคันถกรรมมาสํานกั ของทาน เพราะเหตุไร ทานจงึ บุยปาก ไมพูดดว ย กระผมมีโทษอะไรหรือ. พระเถระกลาววา ทา นพุทธรักขติ ทานทาํ ความสาํ คญั วา ช่ือวาบรรพชากจิ ของเราถึงทีส่ ุดแลว ดว ยคนั ถกรรมประมาณเทา นี้หรอื ทา นพุทธรกั ขติ . กระผมจะทําอะไรเลาขอรับ. พระเถระกลาววา เธอจงละคณะตัดปปญจธรรมไปสเู จติยบรรพตวิหาร กระทาํ สมณธรรมเถิด. ทานตง้ั อยูในโดยวาทขอพระอปุ ช ฌายก ระทาํ อยา งนนั้ จึงบรรลพุ ระอรหัตตพรอมดวยปฏสิ ัมภทิ า เปนผูม ีบญุ พระราชาทรงบชู า มีหมูภกิ ษเุ ปนอนั มากเปน บรวิ ารอยูใ นเจติยบรรพตวิหาร. ก็ในกาลนน้ั พระเจา ติสสมหาราช ทรงรักษาอโุ บสถกรรม ยอมอยูในทีเ่ รนของพระราชา ณ เจตยิ บรรพต ทา นไดใหสัญญาแกภิกษุผอู ปุ ฏฐากของพระเถระวา เม่อื ใดพระผเู ปนเจาของเราจะแกปญ หา หรือกลาวธรรม เม่ือนน้ั ทา นพึงใหสัญญาแกเ ราดวย. ในวันธมั มสั สวนะวนั หนง่ึ แมพ ระ
พระสุตตันตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 145เถระอนั หมภู กิ ษุแวดลอม ขนึ้ สูลานกัณฑกเจติยะ ไหวพระเจดยี แ ลว จงึ ยืนอยูท่โี คนตน ไมมะพลับดาํ . คร้นั นนั้ พระเถระถือบิณฑบาตเปน วตั รรปู หน่งึ ถามปญ -หากะทา นพทุ ธรกั ขติ น้ัน ในกาลามสูตร. พระเถระกลา ววา ดูกอ นทานผูมีอายุวนั นเ้ี ปน วันธัมมสั สวนะ มิใชหรอื . ภกิ ษุน้ัน เรยี นวา ขา แตท านผเู จรญิ วนั น้ีเปนวนั ธัมมสั สวนะขอรับ. พระเถระกลาว ถาอยางน้ัน เธอจงนําเอาตั่งมา เราจกั น่ังในทีน่ ี้ แลวจักกระทาํ การฟง ธรรม. ลาํ ดบั นัน้ พวกภกิ ษุจงึ ปูลาดอาสนะที่โคนไม ถวายพระเถระนั้น. พระเถระกลาวคาถาเบ้อื งตน แลวจงึ เรม่ิ กาลามสตู ร. ภิกษหุ นุมผูอ ปุ ฏฐากพระเถระน้ัน จึงใหส ัญญาแกพระราชาพระราชาเสด็จไปถงึ เมอื่ คาถาเบ้ืองตน ยงั ไมทนั จบ ก็ครัน้ เสด็จถงึ ประทบั ยนื ทา ยบรษิ ทั ดว ยเพศท่ไี มมใี ครรูจกั เลย ประทับยนื ทรงธรรมอยูตลอด ๓ ยามแลว ไดประทานสาธกุ ารในเวลาพระเถระกลา ววา พระผูมีพระภาคเจา ไดต รสั คํานด้ี งั นี.้ พระเถระทราบแลว จงึ ถามวา มหาบพิตรพระองคเสด็จมาแตเม่ือไร. พระราชา ขา แตทานผูเจริญ ในเวลาใกลจ ะจบคาถาเบอ้ื งตนนน่ั แหละ. พระเถระ. มหาบพิตร พระองคท รงทํากรรมท่ที าํไดยาก. พระราชา ขา แตท านผเู จริญ น้ีไมช อ่ื วากระทําสิง่ ท่ีทําไดยากความทข่ี า พเจาไมส ง ใจไปในทีอ่ ืน่ แมใ นบทหนึง่ ตงั้ แตท ่พี ระผูเปน เจา เร่มิธรรมกถา ไดทาํ ปฏญิ าณวา ช่อื วา ความเปน เจา ของของเราจงอยา มี แกตัมพปณ ณทิ วีปในทแ่ี มเพียงจะท่มิ ดวยไมป ฏัก ดังน.ี้ ก็ในพระสูตรนี้ พระกาลพทุ ธรกั ขิต ไดแสดงพระพุทธคุณทั้งหลาย เพราะฉะน้นั พระราชาตรัสถามวา ขาแตทานผเู จรญิ พระพุทธคณุมปี ระมาณเทานห้ี รอื หรอื วา อยางอนื่ ยังมอี ยูอีก. พระเถระ.มหาบพติ ร พระพุทธคณุ ทยี่ ังไมไดก ลา วมีมากวาทอี่ าตมากลาวประมาณมิได. พระราชา. ขาแตทานผเู จรญิ ขอจงอปุ มา. พระเถระ. มหาบพติ ร ขาว
พระสุตตนั ตปฎก มัชฌิมนกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 146สาลีที่ยังเหลอื มมี ากกวา รวงขาวสาลีรวงเดียว ในนาขาวสาลี ประมาณพันกรสี ฉันใด พระคุณท่อี าตมากลา วแลว นอยนกั ทเ่ี หลือมมี ากฉันนนั้ พระราชา.ขา แตท านผูเจริญ ขอจงทาํ อุปมาอกี . พระเถระ. มหาบพติ ร มหาคงคาเต็มดวยหวงน้ํา บคุ คลพงึ เทใสในรูเข็ม นํ้าท่เี ขา ไปในรูเขม็ มนี อย นํา้ ที่เหลอื มีมาก ฉันใด พระคุณทอี่ าตมากลาวแลว นอย ท่ีเหลือมากฉนั นั้น.พระราชา. ขา แตทานผูเจริญ จงทําอุปมาอีก. พระเถระ. มหาบพิตร ธรรมดาวา นกเลนลมเท่ียวบินเลน ในอากาศในโลกนี้ สกุณชาตติ ัวเลก็ ๆ สถานมปี รบปกของนกนนั้ ในอากาศมีมาก หรืออากาศที่เหลอื มีมาก. พระราชา.ขาแตทานผูเจรญิ ทานกลา วอะไร โอกาสเปน ทปี่ รบปกของนกนัน้นอย ท่ีเหลอื มีมาก พระเถระ. มหาบพิตรอยางนน้ั แหละ พระพุทธคณุ ท่ีอาตมากลา วแลว นอย ที่เหลอื มากไมมที ีส่ ุด ประมาณไมไ ด. พระราชาขา แตท า นผเู จรญิ ทา นกลา วดแี ลว พระพุทธคณุ ไมม ีทีส่ ดุ ทานอุปมาดวยอากาศไมมที ่ีสดุ น่ันแหละ พวกขาพเจา เลอื่ มใส แตไ มอ าจทําสักการะอนั สมควรแกพระผูเปนเจา ได. ขาพเจาขอถวายราชสมบัติประกอบดวยรอยโยชนในตัมพปณณทิ วีปนี้ แกพระผเู ปนเจา น้เี ปน ทคุ ตบรรณาการของขา พเจา พระเถระ. มหาบพิตร บรรณาการอันมหาบพติ รทรงเลื่อมใส กระทําแลว อาตมาขอถวายราชสมบตั ิทีท่ รงถวายแกอาตมาคนื แกม หาบพติ รทั้งหมด ขอมหาบพติ รจงทรงปกครองแวน แควนโดยธรรม โดยสม่าํ เสมอเถดิดงั น้ีแล. จบอรรถกถามหาสัจจกสตู รท่ี ๖
พระสุตตนั ตปฎก มัชฌมิ นิกาย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 147 ๗. จูฬตัณหาสังขยสูตร [๔๓๓] ขาพเจา ไดสดับมาแลว อยา งน้ี :- สมัยหนึง่ พระผูม พี ระภาคประทับอยปู ระทับอยทู ปี่ ราสาทแหงมคิ ารมารดาในวิหารบพุ พารามใกลน คราวตั ถี คร้ังนั้น ทา วสักกะจอมเทพ เขา ไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจา ถวายอภวิ าทแลวไดย นื อยู ณ ทีค่ วรสว นขา งหนึ่ง ครน้ั แลวไดทลู ถามวา ขา แตพ ระองคผ เู จริญ กลาวโดยยอ ดวยขอปฏบิ ัติเพียงเทา ไร ภกิ ษุชือ่ วานอ มไปแลวในธรรมเปนทีส่ ้ินแหง ตัณหา มคี วามสาํเร็จลวงสวน มคี วามปลอดโปรงจากกเิ ลสเปนเคร่ืองประกอบลวงสวน เปนพรหมจารีลวงสว น มีท่ีสดุ ลวงสวน เปน ผปู ระเสรฐิ กวา เทวดาและมนุษยท้ังหลาย. [๔๓๔] พระผูมีพระภาคเจา ตรัสวา ดูกอนจอมเทพ ภิกษใุ นธรรมวนิ ยัน้ีไดส ดบั วา ธรรมทง้ั ปวงไมควรยึดม่นั ถา ขอนี้ ภกิ ษุไดสดบั แลว ภกิ ษนุ ้ันยอมทราบชัดธรรมทัง้ ปวงดวยปญ ญาอันยิ่ง คร้นั ทราบชัดธรรมทงั้ ปวงดวยปญญาอนั ยงิ่ แลว ยอ มกาํ หนดรธู รรมท้งั ปวง ครั้นกาํ หนดรูธรรมทงั้ ปวงแลว เธอไดเ สวยเวทนาอยางใดอยางหนึ่ง สขุ กด็ ี ทุกขกด็ ี มิใชท ุกขม ิใชสุขก็ดี เธอยอ มพจิ ารณาเหน็ วาไมเ ที่ยง พจิ ารณาเหน็ ความหนาย พจิ ารณาเห็นความดบั พจิ ารณาเหน็ ความสละคืนในเวทนาทง้ั หลายนั้น เมื่อพจิ ารณาเห็นดังน้ัน ยอมไมยึดม่ันสิง่ อะไรๆ ในโลก เมอื่ ไมย ดึ มนั่ ยอมไมสะดงุ หวาดหว่ัน เมอื่ ไมสะดุงหวาดหว่ัน ยอมดับกิเลสใหสงบไดเฉพาะตวั และทราบชดัวา ชาตสิ ้นิ แลว พรหมจรรยอยจู บแลว กิจทคี่ วรทําทาํ เสร็จแลว กิจอน่ื เพือ่ความเปนอยา งนม้ี ไิ ดม ดี ังนี้ ดกู อ นจอมเทพ กลา วโดยยอ ดวยขอปฏิบัติเทานัน้แล ภกิ ษชุ อื่ วา นอ มไปแลวในธรรมเปนท่ีสนิ้ แหงตัณหา มคี วามสําเรจ็ ลวง
พระสุตตนั ตปฎ ก มชั ฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 148สว นมีความปลอดโปรง จากกิเลสเปน เครอ่ื งประกอบลวงสวน เปน พรหมจารีลวงสว น เปนผปู ระเสริฐกวา เทวดาและมนษุ ยท ้งั หลาย. ลําดับน้นั ทา วสกั กะจอมเทพ ช่ืนชมยินดีพระภาษิตของพระผมู พี ระภาคเจา ถวายอภิวาทพระผูมพี ระภาคเจา ทําประทักษณิ และหายไปในทีน่ ั้นนน่ั เอง. ทาวสักกะเขา ไปหาพระมหาโมคคลั ลานะ [๔๓๕] ครงั้ นัน้ ทา นพระมหาโมคคลั ลานะ น่งั อยไู มไกลพระผูม ีพระภาคเจา มคี วามดาํ ริวา ทา วสักกะนนั้ ทราบความพระภาษิตของพระผูมพี ระภาคเจา แลว จงึ ยินดี หรอื วาไมทราบก็ยนิ ดี ถา กระไรเราพงึ รูเรอ่ื งทา วสักกะทราบความพระภาษิตของพระผมู ีพระภาคเจา แลว จงึ ยินดี หรอื วาไมทราบแลวก็ยินดี ลาํ ดับนน้ั ทานพระมหาโมคคัลลานะไดหายไปในปราสาทของมิคารมารดา ในวิหารบุพพารามปรากฏในหมเู ทวดาชั้นดาวดึงส ประหน่งึ บรุ ุษทม่ี กี ําลังเหยียดแขนท่ีงอออกไป หรืองอแขนท่ีเหยยี ดเขามาฉะน้ัน สมยั น้ันทาวสกั กะจอมเทพ กําลงั อ่ิมเอบิ พรอมพรัง่ บําเรออยดู วยทพิ ยดนตรหี า รอ ยในสวนดอกบณุ ฑริกลว น ทาวเธอไดเหน็ ทานพระมหาโมคคัลลานะมาอยแู ตไ กล จงึ ใหหยุดเสียงทิพยดนตรีหารอ ยไว เสด็จเขา ไปหาแลวรบั สง่ั วา นิมนตมาเถดิ ทานมาดีแลว นานแลว ทา นไดท าํ ปริยายเพือ่ จะมาในทีน่ ี้ นิมนตน งั่ เถิด อาสนะน้ีแตงต้ังไวแลว . สวนทา วสักกะจอมเทพกถ็ อื อาสนะต่ําแหงหนง่ึ นงั่ อยู ณ ท่ีควรสวนขางหนึ่ง [๔๓๖] ทานพระโมคคลั ลานะไดถ ามทาวสกั กะผนู ่งั อยู ณ ท่ีควรสวนขางหนึ่งวา ดูกอนทาวโกสยี พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รัสถึงความนอ มไปใน
พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 149ธรรมเปนทสี่ ิ้นแหง ตัณหาโดยยอ แกท า นอยางไร ขอโอกาสเถดิ แมขาพเจา จกั ขอมสี ว นเพอื่ จกั ฟง กถาน้นั . ทาวสกั กะตรสั วา ขา แตทา นโมคคัลลานะ ขา พเจามีกจิ มาก มีธุระท่ีจะตอ งทํามาก ทง้ั ธรุ ะสว นตวั ทั้งธรุ ะของพวกเทวดาชัน้ ดาวดึงส พระภาษิตใดทขี่ า พเจา ฟงแลวลมื เสยี เรว็ พลนั พระภาษติ น้ัน ทา นฟงดี เรียนดี ทาํ ไวในใจดี ทรงไวดีแลว ขาแตพระโมคคลั ลานะ เรอ่ื งเคยมมี าแลว สงครามระหวางเทวดาและอสรู ไดประชิดกนั แลว ในสงครามน้นั พวกเทวดาชนะพวกอสูรแพ ขาพเจา ชนะเทวาสุรสงครามเสร็จสน้ิ แลว กลบั จากสงครามนน้ัแลว ใหส รา งเวชยันตปราสาท เวชยนั ตปราสาทมรี อยชน้ั ในชั้นหนึ่ง ๆมกี ูฏาคารเจด็ รอย ๆ ในกูฏาคารแหง หนงึ่ ๆ มีนางอปั สรเจด็ รอยๆ นางอัปสรผูหน่งึ ๆ มเี ทพธดิ าผูบ าํ เรอเจด็ รอ ย ๆ ขา แตท า นพระโมคคัลลานะ ทานปรารถนาเพ่ือจะชมสถานทน่ี า ร่นื รมย แหงเวชยนั ตปราสาทหรอื ไม. ทา นมหาโมคคัลลานะรับดว ยดษุ ฏภี าพ. [๔๓๗] ครั้งนน้ั ทา วสักกะจอมเทพ และทาวเวสวัณมหาราช นมิ นตทานมหาโมคคลั ลานะออกหนา แลว ก็เขาไปยังเวชยนั ตปราสาท พวกเทพธิดาผบู าํ เรอของทา วสกั กะ เห็นทา นพระมหาโมคคลั ลานะมาอยูแตท ี่ไกล เกรงกลวั ละอายอยู ก็เขา สูหอ งเลก็ ของตนๆ คลา ยกะวา หญิงสะใภเหน็พอ ผัวเขา ก็เกรงกลวั ละอายอยู ฉะน้นั ครัน้ น้นั ทา วสักกะจอมเทพ และทาวเวสวัณมหาราช เมื่อใหทานมหาโมคคัลลานะเทยี่ วเดินไปในเวชยนั ตปราสาทไดต รสั วา ขา แตท า นพระโมคคลั ลานะ ขอทา นจงดูสถานท่ีนา ร่นื รมยแหง เวชยนั ตปราสาทแมน ี้ ขอทา นจงดสู ถานทีน่ า ร่นื รมยแหงเวชยนั ตปราสาทแมน.ี้
พระสุตตันตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 150 ทา นพระมหาโมคคัลลานะกลา ววา สถานท่ีนาร่นื รมยของทา นทา วโกสียน ้ยี อมงดงามเหมือนสถานท่ีของผูท ่ีไดท ําบญุ ไวในปางกอน แมม นษุ ยทั้งหลายเหน็ สถานทน่ี าร่นื รมยไ หนๆ เขา แลว ก็กลาวกันวา งามจรงิ ดุจสถานที่นา รืน่ รมยของพวกเทวดาชน้ั ดาวดึงส. ในขณะนั้น ทานมหาโมคคัลลานะ มีความดํารวิ า ทาวสกั กะนี้เปน ผปู ระมาทอยูมากนกั ถา กระไร เราพงึ ใหท า วสักกะน้สี ังเวชเถดิ จึงบนั ดาลอทิ ธาภิสังขาร เอาหัวแมเ ทากดเวชยันตปราสาทเขยา ใหสั่นสะทา นหว่ันไหว ทันใดน้ัน ทาวสักกะจอมเทพ ทาวเวสวัณมหาราช และพวกเทวดาช้ันดาวดงึ ส มคี วามประหลาดอศั จรรยจ ิต กลา วกันวา ทา นผูเ จริญทงั้หลาย นเี่ ปน ความประหลาดอัศจรรย พระสมณะมฤี ทธ์ิมาก มีอานุภาพมาก เอาหวั แมเทากดทิพยพิภพ เขยาใหส ่ันสะทา นหวัน่ ไหวได. วิมุตติกถา [๔๓๘] คร้นั นนั้ ทานมหาโมคคลั ลานะทราบวา ทาวสกั กะจอมเทพมคี วามสลดจติ ขนลุกแลว จึงถามวา ดกู อนทา วโกสยี พระผมู พี ระภาคเจา ไดตรสั ความพนเพราะส้นิ แหงตณั หาโดยยน ยอ อยางไร ขอโอกาสเถิด แมขา พเจาจักขอมสี ว นเพ่อื จะฟงกถานัน้ . ทา วสักกะจึงตรัสวา ขา แตท านพระมหาโมคคลั ลานะผนู ฤทกุ ขขา พเจาจะเลาถวาย ขา พเจาเขา ไปเฝา พระผูม ีพระภาคเจา ถวายอภิวาทแลวจึงไดย ืนอยู ณ ทคี่ วรสวนขา งหน่ึง ครั้นแลวไดทูลถามวา ขาแตพระองคผูเจรญิ กลาวโดยยอ ดวยขอปฏบิ ัตเิ พยี งเทา ไร ภิกษุช่อื วา นอ มไปแลวในความพน เพราะสนิ้ แหงตัณหา มคี วามสําเรจ็ ลวงสวนมคี วามปลอดโปรงจากกิเลสเปน เครื่องประกอบลว งสว น เปน พรหมจารีลว งสวน มีทสี่ ุดลว ง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 486
Pages: