Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_19

tripitaka_19

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:38

Description: tripitaka_19

Search

Read the Text Version

พระสุตตนั ตปฎก มชั ฌมิ นกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 306เหรญั ญกิ ใหญ ยอ มรูถงึ ความวิจติ รเปนตนดว ย รูถงึ ความทีเ่ ขายอมรบั รูกนัวา เปนแกวดว ย รถู งึ ความเกเปนตนดวย. และกเ็ มอื่ รูอยู กด็ รู ูปนัน้ บางฟง เสียงบา ง ดมกลิ่นบา ง ลม้ิ รสบา ง เอามอื หยบิ สาํ รวจดคู วามหนกั และเบาบา ง แลวกร็ ูวาผลติ ทีห่ มูบา นโนนบา ง รวู าผลติ ในจังหวัดโนน ในเมอื งโนน ใกลสระธรรมชาตโิ นน ใตเ งาภูเขาโนน ท่ีฝงแมนาํ้ โนน ผลติ โดยอาจารยค นโนน บาง ฉนั ใด, ความรจู าํ ก็เหมือนเด็กที่ยังไมมคี วามรูด ูกหาปณะ ยอมรูจาํ แตอารมณด ว ยอาํ นาจสีเขยี วเปน ตน เทานั้น. ความรูแ จง ก็เหมอื นชายชาวบา นดูกหาปณะ ยอมรจู ําอารมณด ว ยอาํ นาจสีเขียวเปน ตนดว ย ใหถงึ ความแทงทะลลุ กั ษณะดว ยสามารถไมเทีย่ งเปน ตน ดวย. ความรูชัด กเ็ หมอื นเหรญั ญกิ ใหญดกู หาปณะ ยอ มรอู ารมณดวยอาํ นาจสีเขียวเปนตน ดว ย ใหถ งึ การแทงทะลุลกั ษณะดวยอาํ นาจไมเ ทีย่ งเปนตนดวย ใหขวนขวายแลว ถึงความปรากฏแหง หนทาง (มรรค) ดวย ฉนั น้ันนนั่ แล. สวนความแตกตา งแหง สิ่งเหลา นนั้ นัน้ เจาะทะลุไดยาก. เพราะเหตนุ ้นั ทานพระนาคเสน จึงกลา ววา \"มหาบพติ ร พระผูมพี ระภาคเจา ไดท รงทาํ ส่ิงที่ทาํ ไดย ากแลว \" \"ทา นนาคเสนผเู จริญ สง่ิ ท่ีทําไดยากอะไรที่พระผมู พี ระภาคเจา ไดท รงกระทาํ แลว \" \"มหาบพิตร สงิ่ ท่ที ําไดย าก ทพี่ ระผูม ีพระภาคเจาไดทรงกระทําแลว คอื ขอ ที่ทรงบอกการกําหนดส่งิ ทเ่ี ปนจติ และส่ิงที่เกดิ กับจิตซึง่ ไมม รี ปู รางเปนไปในอารมณอ ยางเดยี วกันวา \"น้คี ือส่ิงที่ทําหนา ท่กี ระทบ นีค้ อื สง่ิ ท่ที ําหนาทีร่ ูสกึ นคี้ ือสง่ิ ที่ทาํหนา ทรี่ ูจ าํ น้ีคอื สิ่งท่ที าํ หนาท่จี งใจ นค้ี ือสงิ่ ที่ทําหนาที่คิด\". ขนาดคนท่ีเอานํา้มัน ๕ ชนดิ นี้คอื นํ้ามันงา นา้ํ มันผกั กาด นา้ํ มันมะซาง น้าํ มันละหงุ นาํ้ มนัเหลวมาใสร วมในภาชนะเดยี วกัน แลว เอาไมคนคมู าคนทง้ั วนั แลว ก็ตักแยกจากกันแตละอยาง ๆ วา น้นี ํ้ามันงา นน้ี ํ้ามันผกั กาด น้กี ็นบั วาทาํ ไดยากอยูแลว น้ียิ่งทาํ ใหย ากยิ่งกวา นัน้ เสียอกี เพราะพระผูมพี ระภาคเจาทรงเปน พระ

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 307ธรรมราชา พระธรรมเมศวร เพราะความท่ที รงแทงทะลุพระสัพพัญ-ุตญาณอยางดีแลวตรสั บอกการกาํ หนดสิง่ หารูปรา งไมไ ดที่กาํ ลงั เปน ไปในอารมณอยา งเดยี วกนั เหลา น.ี้ พึงทราบความขอ นี้วา เหมอื นกับตกั นํ้ามาแยกเปนสว นๆ อยา งน้วี า นีเ้ ปน นํา้ ของแมนํา้ คงคา น้ีของแมน ้ํายมุนา ในท่ีที่แมน ํ้าใหญท้ัง ๕ สายไหลเขาสทู ะเลแลว ฉะน้นั . คาํ วา \"ทส่ี ละออกแลว\" คอื สลัดออกไปแลว หรือท่ีถกู ทง้ิ ไปแลว. เม่อื ใน คําวา \"ท่สี ละออกแลว\" นนั้ท้งั หา\" เม่ือมคี วามหมายวา \"ทถ่ี ูกท้งิ ไปแลว\" ก็พงึ ทราบวาเปนตตยิ า-วิภัติ. มคี าํ ท่ีทา นอธบิ ายไวว า อันความรแู จงที่สลัดออกไปจากอินทรียทงั้๕ แลวเปน ไปในประตูใจ หรือที่ถูกอินทรยี ทั้ง ๕ ทอดทิง้ ไปแลว เพราะความทคี่ วามรแู จง นัน้ ไมเ ขา ถงึ ความเปน ทีต่ ้งั ได. คําวา \"หมดจด\" คือไมม อี ะไรเขา ไปทาํ ใหแ ปดเปอ น คําวา ดวยความรแู จงทางใจ\" คือ ดว ยจิตท่ีมฌี านที่สี่ชนิดทย่ี ังทองเท่ยี วไปในรูปเปน อารมณ. คาํ วา \"พงึ แนะนําอะไร \" คอื พงึรอู ะไร เพราะสง่ิ ทพ่ี งึ รใู นคาํ เปน ตนวา \"ธรรมดาสงิ่ ท่ีพึงแนะนําบางส่งิบางอยา งยังมอี ยู. ..ธรรม\" ทานเรยี กวา \"เนยฺย = พึงแนะนาํ พึงรู\" พึงรูอากาสานัญจายตนะอยา งไร อรปู าวาจรสมาบตั ิ อันบุคคลพงึ รูไดดวยจิตทมี่ ีฌานทสี่ ี่ชนดิ ท่ียังทอ งเทย่ี วไปในรูปเปน อารมณ; เพราะฉะน้ัน ผทู อ่ี ยูใ นฌานทสี่ ่ีทีท่ องเทีย่ วไปในรูป ยอมสามารถทาํ ใหอ รปู าวจรสมาบตั ิ (การเขาถงึฌานที่ไมทอ งเท่ียวไปในรูป หรอื ทอ งเทยี่ วไปในสิ่งทไ่ี มใ ชรปู ) เกิดข้นึได. เพราะอรูปาวจรสมาบัติยอ มสาํ เร็จแกผูทอี่ ยูในฌานท่ีสท่ี ีท่ องเทยี่ วไปในรปู ได. ฉะนัน้ พระสารบี ตุ รเถระ จึงตอบวา \"พงึ รู (หรือแนะนาํ )อากาสานัญจายตนะ\" ดงั นี.้ เมือ่ เปน อยา งนัน้ ทาํ ไมจงึ ไมกลาวถึง เนวสญั -ญานาสญั ญายตนะดวยเลา เพราะไมม กี ารยึดไวเ ปน อกี แผนกหนง่ึ ตางหากในเนวสัญญานาสญั ญายตนะนั้น บุคคลจะพิจารณาโดยเปนหมวดๆ (และ)โดยเปน นยั ๆ ก็ได. การยดึ เปน แผนกๆ ยอมไมเ กดิ แกภกิ ษุ แมข นาดพระ

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 308ธรรมเสนาบดีก็ตามท.ี เพราะฉะน้ัน แมพระเถระก็พิจารณาโดยเปนหมวดๆ (และ)โดยเปนนยั ๆ แลวก็แกวา \"ไดยินเขาวา มาวา สง่ิ เหลา นี้ไมม ีแลว ยอ มมพี รอ ม ทีม่ ีแลวยอมเสอ่ื มไปอยา งนี้\" ดว ยประการฉะนี.้ สว นพระผูมพี ระภาคเจา เพราะความทพี่ ระสพั พัญุตญาณอยูในกาํ พระหตั ถ ทรงยกสง่ิ มากกวา หาสบิ อยา ง แมใ นเนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ดวยการยกขน้ึเปนองคจ ักไวเปนแผนกๆ แลวตรัสวา \"การแทงทะลอุ รหตั ตผลมีประมาณเทากบั การเขา ถึงความรูจาํ (สญั ญาสมาบัต)ิ \" ดังน้.ี คาํ วา \"ยอ มรูชดั ดวยตาคือปญ ญา\" คอื ยอมรูด วยปญ ญาท่ีชอ่ื วาเปน ดวงตา เพราะอรรถวาเปนผนู ําทกุ ทางในการเห็น. ในคาํ วา \"ยอ มรชู ัดดวยตาคือปญญา\" น้นั ปญ ญามี ๒ อยา ง คือ ปญ ญาในสมาธิ และปญ ญาในวิปส สนา. ยอ มรูชดั ทัง้ โดยหนา ท่ี ทั้งโดยความไมหลงลมื ดว ยปญ ญาในสมาธ.ิ ทา นกลาวความรโู ดยอารมณดว ยการแทงลกั ษณะไดทะลุดว ยปญญาในวิปส สนา. คําวา \"เพือ่ ตองการอะไร คอื อะไร เปน ความตองการแหงปญญานี้. ในคาํ เปน ตนวา \"มีความรูยงิ่ เปน ท่ตี อ งการ\" คือ ชอ่ื วา มคี วามรยู ่ิงเปนที่ตองการ เพราะยอมรูย่งิ ซึ่งส่งิ ท่จี ะพงึ รูเปน อยา งย่ิง ท่ีชือ่ วา มคี วามกําหนดรูเปน ทีต่ อ งการเพราะยอมกาํ หนดรสู ่ิงทจ่ี ะตองกาํ หนดใหร ู. ช่อื วามีการละเปน ท่ีหมาย ก็เพราะยอมละสงิ่ ทจ่ี ะตอ งละ. กแ็ ลปญ ญานี้ แมที่เปน ปญ ญาแบบโลกๆ ก็มีความรยู ิ่งเปน ท่ีตอ งการ มีความกาํ หนดรเู ปน ท่ีประสงค และมีการละโดยการขมไวเปน ท่ีหมาย. ที่เปนแบบอยูเ หนือโลก ก็มคี วามรูย ง่ิ เปน ทีต่ องการ มคี วามกําหนดรเู ปน จุดประสงค และมีการละโดยการตัดขาดเปน เปา หมาย. ในปญญาทงั้ สองนั้น ปญ ญาแบบโลกๆ ยอ มรชู ัดทง้ั โดยหนา ที่ ท้ังโดยความไมห ลงลืม ปญญาท่อี ยูเหนอืโลก ยอ มรชู ดั โดยความไมหลงลมื . คาํ วา \"อาศัยความเหน็ ทีถ่ กู ตอ ง\" คืออาศยั ความเหน็ ทถี่ กู ตอ งในวปิ สสนา, และความเห็นทถ่ี กู ตองในมรรค. คํา

พระสตุ ตนั ตปฎก มชั ฌมิ นกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 309วา \"และเสียงจากผูอ่ืน\" คือ การฟงเสียงทเ่ี ปน ทสี่ บาย. คําวา \"ความเอาใจ-ใสอยางมเี หตุผล\" คือ เอาใจใสในอุบาย (วิธีการ) ของตน. แมใ นหมูพระสาวกเหลาน้ันเลา ปจจยั ท้งั สองยอมควรไดแ กทา นแมท พั ธรรม (พระสาร-ีบตุ ร) เทานัน้ . เพราะพระเถระ ถงึ จะบําเพญ็ บารมมี าตง้ั หน่งึ อสงไขยกาํ ไรอกี แสนกปั กย็ งั ไมสามารถละกิเลสแมแตนดิ เดยี วโดยธรรมดาของตนได. ตอ เม่ือไดฟงคาถาน้จี ากพระอสั สชเิ ถระ ท่ขี ้ึนตนวา \"สิง่ เหลา ใด มีเหตุเปน แดนเกดิ (=เกดิ มาจากเหต)ุ \" จึงแทงทะลุได. สาํ หรับเหลา พระปจเจกพุทธเจาและเหลา พระสัพพัญพู ุทธเจา ไมมีงานเกยี่ วกบั เสียงจากคนอื่น. ผทู ่ีดาํ รงอยูใ นความเอาใจใสอยา งมีเหตุผลเทาน้ัน จึงจะใหเ กดิ ปจเจกโพธญิ าณและสพั พญั ูคุณท้งั หลายได. คาํ วา \"อัน...ชวยเก้อื หนนุ แลว \"คอื ไดรบั อปุ การะแลว. คําวา \"ความเหน็ ทถี่ กู ตอง\" คอื ความเห็นท่ถี ูกตอ งในอรหัตตมรรค (ทางแหง ความเปน พระอรหันต) ความเห็นทีถ่ ูกตอ งในอรหตั ตมรรคนัน้ เกิดในขณะแหง ผล. ทชี่ ่อื วา มีความเห็นหลุดพน เพราะจิตเปน ผล เพราะความหลดุ พน เพราะปฏบิ ัตทิ างจติ เปน ผลของทา น ทีช่ อื่ วา มผี ลคือสงิ่ ที่ไหลออกมาจากความหลดุ พนในทางจติ ใจ เพราะผลคอื สิง่ ทไี่ หลออกมากลา วคือความหลุดพน ในทางจิตใจของทา นมอี ยู. แมในบทท่สี องก็ทา นองเดยี วกันนี้แหละ. และพงึ ทราบวาในผลเหลา น้ีผลที่ ๔ ชอื่ วา ความหลดุ พนเพราะความรูชดั สิ่งท่เี หลอื เปน ความหลดุ พน เพราะจติ ใจ. ในคําเปน ตนวา \"อนั ศลี เกอ้ื หนุนแลว \" ศีลอนั มคี วามบรสิ ทุ ธิ์ ๔ อยา งช่อื วาศลี . คาํวา \"การฟง\" คอื การฟง เร่ืองราวอันเปนทสี่ บาย (ถูกอารมณ). คําวา\"สากจั ฉา\" ไดแก ถอ ยคาํ ทต่ี ดั ความผดิ พลาดคลาดเคลื่อนในกมั มัฏ-ฐาน. คําวา \"สมถะ (ความสงบ)\" ไดแ กส มาบตั ิ ๘ ทม่ี ีวปิ สสนารองรับ. คาํ วา \"วปิ ส สนา (ความเห็นแจม แจง )\" คอื การตามเหน็(อนปุ ส สนา) ๗ อยา ง.

พระสุตตันตปฎก มัชฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 310 ก็แหละ พระอรหัตตมรรคยอมเกดิ ข้ึนแลวใหผ ลแกผทู ่กี าํ ลงั บําเพญ็ศลี อันมีความหมดจดสอี่ ยา ง ฟง เรอ่ื งราวอนั เปน ท่ีสบาย ตัดความผดิ พลาดคลาดเคลื่อนในกัมมัฏฐาน ทาํ งานในสมาบัติแปดทีม่ วี ิปส สนารองรบั อบรมการตามพิจารณาเหน็ ๗ อยางอยู. พึงทราบขอ เปรยี บเทียบทีเ่ หมอื นอยา งคนทอี่ ยากกินมะมว งสุกหวาน ติดซมุ นาํ้ ไวร อบลกู ตน มะมวงอยางมั่นคง, ถอืหมอ นํา้ รดน้ําเปน บางครง้ั บางคราว, สรา งคันเพื่อกนั น้ําไมใ หไหลออกอยางมนั่ คง, เอาเถาวลั ยท ่อี ยูใกลๆ ทอนไมแหง ๆ รังมดแดงหรือใยแมลงมุมออกไป. เอาจอบ (หรือเสยี ม)ไปขดุ รอบๆโคนเปน บางเวลา, เมือ่ เขาระแวดระวังทาํเหตุครบ ๕ อยาง ดังท่กี ลา วมาน้อี ยู มะมวงก็เจริญแลว ใหผล. พึงเหน็ ศลี อนั มคี วามหมดจดสี่อยา ง เหมอื นการติดซมุ รอบตนไม, การฟง เรอื่ งราว (ธรรม) เหมอื นการรดนํา้ เปนบางเวลา, สมถะ เหมือนการกระทาํ ความม่นั คงดว ยคนั , การตัดความผดิ พลาดคลาดเคลอื่ นในกัมมฏั -ฐาน เหมือนการเอาเถาวลั ยที่อยูใกลๆ ออก, การอบรมปญ ญาเคร่อื งตามพิจารณาเห็น ๗ อยาง เหมือนการเอาจอบมาขุดรอบๆ โคนเปนบางเวลา,พงึ ทราบการใหผ ลคือความเปนพระอรหันตเ พราะความเขาใจทถี่ กู ตอ งซึง่ ส่งิ หาอยางเหลา นี้ของภิกษนุ ี้ตามเก้ือหนนุ แลว เหมือเวลาตนมะมว งทเี่ หตุทัง้ หาอยางเหลา นัน้ ตามเกอื้ หนุนแลว ใหผ ลหวานอรอ ย ฉะน้ัน. ทานพระมหาโกฏฐกิ เถระ ยอ มถามถึงอะไรในคาํ นีว้ า \"ผมู อี ายุกแ็ ลภพมีเทา ไร\" พระเถระยอมถามวา ความสบื ตอ ไปถงึ รากทีเดียวคนโงยอมไมขน้ึ จากภพเหลาใด ขา พเจา จะขอถามถงึ ภพเหลานนั้ \" ในภพเหลานัน้ คาํ วา \"กามภพ\" เพราะพระเถระทา นรวมเอาสิ่งท้ังสองคอื การกระทาํ ทเ่ี ขา ถงึ กามภพและขันธทตี่ ัณหามานะและทฏิ ฐิยึดเอาไว ซ่งึ เกิดขึ้นมาเพราะการกระทําเปนอันเดยี วกันแลว จงึ กลาววา \"กามภพ\"

พระสตุ ตนั ตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 311แมในรปู ภพและอรูปภพ ก็มีทาํ นองเดียวกันนแี้ หละ. คําวา \"ตอ ไป\"ไดแ กในอนาคต. การเกิดข้นึ ในภพใหมอีก ชื่อวา \"การเกิดขึน้ อยางยงิ่ ในภพใหมอกี \" ในทนี่ ้ีทา นถามถงึ การเวียนวา ยตายเกดิ . ความยินดอี ยางยิ่งในสิ่งน้ันๆ อยางน้คี อื ความยนิ ดอี ยางยง่ิ ในรปู ความยินดีอยางยงิ่ ในเสยี งเปนตน ชอื่ วา \"ความยนิ ดอี ยางยงิ่ ในสิ่งน้นั ๆ \"คาํ น้ีเปนปฐมาวภิ ัติ ลงในตติยา-วภิ ตั ินั่นเทยี ว จึงมอี ธบิ ายวา \"การเกิดขน้ึ ในภพใหมอ ีกยอมมี เพราะความยนิ -ดีอยา งยง่ิ ในสิ่งน้นั ๆ. กแ็ ล ดวยคํามปี ระมาณเทา นี้ ก็เปน อันวา พระเกระทาํใหค วามหมนุ เวยี น (แหง ชีวติ ) ถึงที่สุดแลวแสดงวา \"การไปมี, การมาก็มี การไปและการมากม็ ี ความหมนุ เวียนก็ยอมหมุนไป\" ดงั นี้. บดั น้ี เมื่อจะถามถงึ ความเลิกหมุนเวยี น พระมหาโกฏฐิ กิ เถระ จงึไดกลาวคําเปน ตนวา \"ก็อยา งไร ทานผมู ีอายุ\" ในการตอบคําถามน้นัพงึ ทราบวินิจฉยั ดังตอ ไปน.้ี คําวา \"เพราะสาํ รอกความไมร \"ู ไดแกเ พราะความสิ้นไป และจืดจางแหงความไมร.ู คาํ วา \"เพราะเกิดความรขู นึ้ \" ไดแกเพราะเกิดความรูใ นพระอรหัตตมรรค. อยาไปกลาวคําท้ังสองนว้ี า \"ความไมร ดู บั กอน หรือความรูเกิดกอ น\" เพราะเกดิ ความรขู น้ึ ความไมร ูจงึ เปนอนั ดับไปโดยแท เหมือนความมดื หายไป เพราะแสงโพลงของตะเกยี ง. คาํ วา \"เพราะความทะยานอยากดับไปโดยไมเ หลอื \" ไดแ ก เพราะความดบั ไปโดยไมเ หลอื คือความส้ินไปแหง ความทะยานอยาก. คําวา \"ไมมีความเกิดข้นึ ในภพใหมอีก\" คอื ความเกิดขึน้ แหง ภพใหมอีกตอ ไปอยางน้ียอมไมม,ี การไป การมา ทง้ั การไปและการมาก็ยอมไมม.ี วงกลม (ของชวี ิต) ก็หยดุ หมนุ ไปดวยประการฉะน้.ี ก็เปน อันวา พระเถระทาํ ใหวงกลม (ของชวี ิต ) ถงึ ทีส่ ดุแลว แสดง.

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌมิ นกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 312 พระเถระยอมถามถึงอะไรในคาํ นวี้ า \"ทา นผมู ีอายุ ก็เปนไฉนเลา ?\"ภกิ ษผุ ูหลุดพน ทง้ั สองสว น (คือทัง้ เจโตวิมตุ ติ และ ปญญาวิมตุ ต)ิ ยอมเขานิโรธเปน บางครงั้ บางคราว. พระเถระยอ มถามวา \"ขา พเจา ขอถามฌานท่ีหนงึ่ ซงึ่ มนี โิ รธเปนเครื่องรองรบั ของภกิ ษุน้ัน\" ในคําน้ีวา \"ผูม อี ายุ กแ็ ลฌานที่หน่ึงน\"้ี พระเถระยอมถามถึงอะไร? ธรรมดาภิกษผุ ูเ ขานโิ รธตอ งเขาใจถงึ ขอบเขตสว นกาํ หนดองคว า ฌานนีม้ ีองคห า นีม้ อี งคส ่ี นีม้ ีองคสาม นี้มีองคสอง. พระเถระจงึ ถามวา \"ขา พเจา จะขอถามถงึ ขอบเขตสวนสํา-หรับกําหนดองค. ในองคเ ปนตนวา \"ความตรึก\" (น้)ี ความตรึกมีการยกข้นึ (คือยกอารมณข นึ้ สจู ิต หรอื ยกจิตขึ้นสูอารมณ) เปนลกั ษณะ ความตรองมกี ารเคลาคลึง (อารมณ) เปนลักษณะ, ความเอบิ อม่ิ มีการแผไ ปเปนลักษณะ. ความสบายมีความชนื่ ใจเปน ลกั ษณะ. ความทีจ่ ิตมีอารมณเดยี ว มีความไมฟงุ ซานเปน ลักษณะ สง่ิ ท้ังหาอยางน้ี ยอมเปน ไปดวยประการฉะน้.ี ในคําวา \"ท่อี งคนน้ั ละไดแลว \" น้ี พระเถระยอมถามถงึ อะไร?ทานถามวา ธรรมดาภิกษุผูจ ะเขา นิโรธ ตอ งเขาใจองคท ี่เปน อุปการะและท่ีไมใชเ ปน อปุ การะ ขาพเจา จะขอถามองคเ หลา น้ัน. สําหรับคาํ ตอบในคาํ ถามนี้ ปรากฏแลวแล. ดว ยประการฉะนี้ กเ็ ปนอนั วา ทา นไดถอื เอาฌานทีห่ นึง่ ซงึ่มนี โิ รธเปน ที่รองรับไวใ นชั้นลางแลว พระเถระจงึ จะถามการเขาเนวสญั ญา-นาสัญญายตนะ อันเปนอนันตรปจ จัยแหงฌานท่หี นง่ึ นัน้ ในช้ันบน. กแ็ ลสมาบัติทงั้ ๖ ในระหวา งแหง เนวสญั ญานาสัญญายตนะนนั้ พงึ ทราบวา ทานไดยอ ไว หรือทานชน้ี ัยแกไวแ ลว . บัดน้ี เม่ือจะถามประสาทท้งั หาทอ่ี าศัยวิญญาณพระมหาโกฏฐกิ -เถระจงึ กลาววา \"ผูมอี ายุ หาเหลาน้\"ี เปนตน. ในคาํ เหลา น้นั คําวา \"โคจร-

พระสุตตนั ตปฎก มชั ฌิมนิกาย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 313วิสยั \" คือ วิสยั อนั เปนโคจร. คําวา \"ของกันและกนั \" ไดแกไ มย อมเสวยเฉพาะโคจรวสิ ัย (อารมณเปน ทีเ่ ทย่ี วไป) ของแตล ะอยา งๆ อยางนี้ คอืหู (รับอารมณไดทง้ั ) ของตาและของหู หรือ (รบั อารมณ) ของตา. หากรวมเอาอารมณท่ีเปนรปู ตางดวยสเี ขยี วเปน ตน แลวโอนไปใหอ ินทรียคอื หแู ลวพดูวา \" เอา ... แกลองกําหนดมนั กอนซิ...ลองวา ใหแจม แจง มาซิวา นีม้ ันช่ืออารมณอะไร \" ถึงวิญญาณทางตาก็เถอะ ยกปากออกแลว มนั ก็จะพึงพูดตามธรรมดาของตนอยางนีว้ า \"เฮย ...ไอบอดแลว โงด วย ตอ ใหมึงวิง่ วนอยตู ้ังรอยพนั ปก เ็ ถอะ นอกจากกูแลว มงึ จะไดผรู ูจกั สิ่งน้ีทไี่ หน เอามนั มานอมใสใ นประสาทตาซิ กูจะรจู ักอารมณนั้นไมว ามันจะเขยี วหรือเหลือง น่นั มันไมใ ชว สิ ัยของผูอ่นื เลยมนั ตองเปนวิสยั ของกเู ทา นั้น \"แมในทวารที่เหลือก็มนี ัยอยา งเดียวกันน้ีแล. อยางนชี้ ือ่ วาอนิ ทรีย เหลาน้ไี มย อมรบั เสวยโคจรวสิ ยั ของกนั และกัน. คําวา \"อะไรเปนท่ีพึ่งอาศยั \" ไดแก ทานถามวา \"อะไรเปนที่พงึ่ อาศยั ของอินทรียเหลานี้ คอื อนิ ทรยี เหลานี้อาศัยอะไร-\" คําวา \"มใี จเปนท่พี ึ่งอาศยั \" ไดแก มใี จเปน ทีแ่ ลน ไป (เสพอารมณ หรอื ทาํ กรรม)เปน ทพี่ ่ึงอาศยั . คําวา \"ใจน่นั แหละ...ของ...เหลานน้ั \" ไดแกใ จทแ่ี ลนไปตามมโนทวาร หรือใจท่ีแลน ไปทางทวารทั้งหา ยอมเสวยโคจรวสิ ยั แหงอินทรียเหลานน้ั ดว ยอํานาจความกําหนดั เปน ตน. จรงิ อยู ความรแู จงในทางตา ยอมเปน สักแตวา เหน็ รูปเทา นน้ั ไมมคี วามกําหนดั ความคดิ ประทุษ-ราย หรอื ความหลงในการเห็นรูปเปนตน แตจติ ทแ่ี ลน ไปในทวารนีต้ า งหาก ยอมกําหนัด ยอ มประทุษรา ย หรือ ยอ มหลง. แมในความรูแจง ทางหูเปน ตน กท็ าํ นองเดียวกันนแี้ หละ. ตอไปนี้เปนการเปรียบเทยี บในเรื่องอินทรียเ หลาน้ัน คอื มีเร่ืองเลา วา มกี ํานันออ นแอ ๕ คน พากันสองเสพพระราชา แลวก็ไดก าํ ไรเลก็ นอยในหมบู า น ๕ ตระกูล แหงหนึง่ ดวยความยากลาํ บาก.

พระสุตตันตปฎก มชั ฌมิ นกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 314ของเพยี งเทา นแ้ี หละ คือปรับเปน ปลาหนึ่งสว น เน้ือหน่ึงสวน กหาปณะพอซือ้เชือกไดหนง่ึ เสน กหาปณะพอซื้อเชอื กผกู ชางได ๑ เสน สี่กหาปณะ แปดกหาปณะ สบิ หกกหาปณะ สามสบิ สองกหาปณะ หรอื หกสิบสกี่ หาปณะในหมูบา นนัน้ ยอ มถึงพวกกํานนั เหลานั้น. พระราชาเทา น้นั ทรงรบั พลใี หญโ ตเปน หมวดสิง่ ของรอ ยสง่ิ หารอยสง่ิ พนั ส่งิ . พึงทราบวาประสาททัง้ หาเหมือนหมูบานหา ตระกูล ในท่ีนน้ั . ความรูเเจง (วิญญาณ) ทั้งหา เหมอื นกํานันออนแอหาคน การแลน ไปเสพอารมณ (ชวนะ)เหมือนพระราชา หนา ทีแ่ ตการเหน็ รปู เปน ตนแหงความรแู จงในทางตาเปน ตน เหมอื นกาํ นันออ นแอไดรบั กาํ ไรเลก็ นอ ย. สวนความกาํ หนัดเปน ตนไมม ีในประสาทเหลานี.้ พงึ ทราบความกาํ หนดั เปน ตน ของจติ ท่ที าํหนาท่ีแลน ไปเสพอารมณในทวารเหลา น้ัน เหมอื นการรับพลีจาํ นวนมากของพระราชา. ในคาํ วา \"หา เหลา น้ี ผมู ีอาย\"ุ นี้ พระเถระยอมถามถงึ อะไร ทานถามถึงประสาททง้ั หา ภายในนิโรธวา สําหรับพวกสง่ิ ทีห่ ารปู รา งไมได(น้นั ) เมอื่ ความเปนไปท่สี าํ เร็จมาจากกิริยา (จิต) กําลังดําเนินไปอยู กจ็ ะเปนปจจยั ที่เขมแขง็ แกป ระสาททง้ั หลาย ก็ผใู ดดบั ประสาททเ่ี ปน ไปแลวนั้นแลวเขานโิ รธสมาบัติ ประสาททั้งหาภายในนโิ รธของผนู ้ันอาศยั อะไรจงึ ตง้ั อยูได ขาพเจา ขอถามส่งิ น้ดี ว ยประการฉะนี้ คําวา \"อาศัยอายุ\" ไดแ กอาศยั ธรรมชาตทิ ี่เปนใหญทาํ หนา ทเี่ ปน อยู (ชวี ติ นิ ทรีย) ตง้ั อย.ู คําวา \"อาศยัไออนุ \" ไดแ กส ง่ิ ทเี่ ปน ใหญในการเปนอยู อาศัยไฟทีเ่ กดิ จากกรรมตงั้อย.ู กเ็ พราะแมไ ฟท่ผี ลิตมาจากกรรม เวน สงิ่ ทีเ่ ปน ใหญใ นการเปน อยูยอ มตงั้ อยไู มไ ด ฉะนั้น ทา นจงึ วา ไออนุ อาศัยอายตุ ง้ั อย.ู คําวา \"ลุกไหมอยู\" ไดแกโพลงอยู. คําวา \"อาศยั เปลวไฟ\" ไดแ กอาศัยเปลวแสง. คํา

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 315วา \"แสงยอมปรากฏ\" ไดแ กแ สงสวางยอมปรากฏ. คําวา \"เปลวไฟอาศยัแสง\" ไดแ กเ ปลวไฟอาศยั แสงสวางจึงปรากฏ. ในคําวา \"ฉนั นนั้ นนั่ แลทานผูม ีอายุ อายุยอ มอาศยั ไออุน ต้ังอย\"ู นีค้ อื ไฟที่เกดิ จากกรรมเหมือนเปลวไฟ, ส่ิงท่เี ปน ใหญใ นการเปน อยู เหมือนแสงสวาง, จรงิ อยู เปลวไฟเมือ่ จะเกดิ ก็ถอื เอาแสงสวา งนนั่ แหละ เกดิ ขึน้ . แมเ ปลวไฟเองน้ันก็ยอ มเปนของปรากฏเปน เล็กใหญย าวสั้น ตามแสงสวา งท่ีตนนน้ั ใหเ กดิ นน่ั แหละการใชส ิ่งท่ีเปน ใหญใ นการเปนอยู ซง่ึ เกดิ พรอ มกบั มหาภูตรูปที่เกดิ จากกรรมซง่ึ อาศัยไออนุ ตามรกั ษาไออุน ก็เหมือนความปรากฏแหง ความเปนไปของเปลวไฟน้นั เอง เพราะแสงสวา งท่ีความเปน ไปแหงเปลวไฟในแสงสวา งน้นั ใหเกิด จริงอยู ส่งิ ท่เี ปนใหญใ นการเปนอยู ยอมรกั ษาไออุน ทเี่ ปน ไปอนั เกิดจากกรรมไว สิบปบา ง ย่สี บิ ปบ า ง ฯลฯ รอยปบา ง. ดวยประการฉะนี้มหาภูตรูป จงึ เปน ปจ จัยดว ยอาํ นาจนสิ สัยปจ จยั เปนตน แหง รปู อาศัย.ฉะน้ัน จงึ เปน อันวา อายุยอ มอาศัยไออนุ ตงั้ อย.ู ความเปนใหญในความเปน อยยู อมรกั ษามหาภูตรูปท้ังหลายไว ดวยเหตุน้จี ึงควรเขาใจวา ไออุนยอมอาศัยอายุตั้งอยู. คาํ วา \"อายุสังขาร\" ก็คือ อายุน่นั เอง. คําวา \"สิ่งทีม่ คี วามร-ูสกึ \" คอื ส่ิงท่เี ปน เคร่อื งรสู กึ . คาํ วา \"การออกยอมปรากฏ\" คอื การออกจากสมาบัตกิ ป็ รากฏ. จรงิ อยู ภกิ ษใุ ด เกิดพอใจในอรปู ทเี่ ปน ไปแลว จงึ ดบั ความรจู าํ และความรูสกึ แลวเขาสนู โิ รธ ส่ิงทีไ่ มมีรปู ราง ซง่ึ มสี งิ่ ที่เปนใหญในการเปน อยขู องรปู เปนปจจัยก็เกดิ แกภ ิกษุนัน้ ตามอํานาจเวลาตามทกี่ ะไว สวนสง่ิ ทงั้ ท่มี รี ปู และไมม รี ปู ทเ่ี ปน ไปแลว อยา งน้ันกค็ งเปนไป. เหมอื นอะไร ? เหมือนชายคนหนงึ่ เกดิ กลุมขน้ึ มา ในเพราะเปลวไฟที่เปนไปจงึ เอาน้ํามาสา ทําใหเปลวไฟเลกิ เปนไป เอาขเี้ ถามากลบถานไวแลว ก็นง่ั นง่ิ . เมื่อเขาอยากใหมเี ปลวอีก ก็เข่ียขีเ้ ถาออกแลวพลิกถา นกลบั เติมเช้ือ

พระสตุ ตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 316แลว เปาลมดวยปาก หรือพัดลมดวยกา นตาล (เอาพัดใบตาลพดั ) ทนี ัน้ เปลวไฟท่ีเปนไปก็เปนไปอีกฉันใด, ฉนั นนั้ นนั่ แล สง่ิ ทีไ่ มม ีรปู ก็เหมอื นเปลวไฟที่เปน ไป, การทภี่ กิ ษุเกดิ กลุม ใจขนึ้ มา ในเพราะอรปู (ฌาน) ทเ่ี ปน ไปแลว จงึ ดับความรูจําและความรูสึก เขานโิ รธ ก็เหมอื นการทคี่ นเกิดราํ คาญในเพราะเปลวไฟท่เี ปนไปแลว จึงเอาน้ํามาสาดทาํ ใหเ ปลวไฟเลกิ เปน ไปเอาขเ้ี ถามากลบถานไวแ ลว น่งั น่ิง, สิ่งท่เี ปนใหญใ นการเปนอยขู องรูปคอื ธาตไุ ฟท่ีเกิดจากกรรม กค็ งเปน ไปเหมือนกบั ถานที่เอาข้เี ถากลบไว, การไปตามเวลาที่ภิกษุกะไว เหมอื นกบั การท่เี มอื่ คนตองการเปลวไฟอกี เขย่ี ข้เี ถา เปน ตน ออกไป, ความเปนไปของสิง่ ที่มีรูปและไมม รี ปู ในเม่ือสงิ่ ทไี่ มมรี ปู เกดิ ข้นึ อกีพึงทราบวา เหมอื นความเปน ไปของแสงไฟ. คาํ วา \"อายุ ไออนุ และวญิ -ญาณ\" หมายความวาสง่ิ สามอยา งเหลา นค้ี ือ ส่ิงที่เปนใหญในการเปนอยูข องรปู ๑ ธาตุไฟที่เกิดจากกรรม ๑ จิต ๑ ละทิ้งรูปกายน้เี มอื่ ไร เม่อื นั้น -ก็ ถกู ทอดทง้ิ นอนบนแผน ดนิ เหมอื นทอ นไมท ไ่ี รจ ติ ใจฉะนนั้ สมจริงดังคําทท่ี านกลาวไวอยา งน้วี า \"อายุ ไออนุ และวิญญาณ ละรา งนี้ไปเมอื่ ใด เมื่อนนั้ ก็ถกู ทิ้งใหน อนอยางไรจ ิตใจ กลายเปน อาหารของสตั วอ ืน่ ไป\". การหายใจเขาและการหายใจออก ชื่อวา \"เครอ่ื งปรุงกาย\" ความตรึกและความตรองช่ือวา \"เครอื่ งปรุงวาจา\" ความรจู ําและความรูสกึช่อื วา \"เครอ่ื งปรุงจิต\" ความเปนใหญใ นการเปนอยขู องรปู ช่อื วา\"อายุ\". คาํ วา \"แตกไปโดยรอบ\" ไดแกถ ูกกาํ จดั ฉบิ หายแลว ในเรอ่ื งของนโิ รธ (ความดบั ) นน้ั บางทานกลาววา จิตยังไมด ับเพราะคํา (บาล)ี วา\"เครื่องปรุงจิตของผเู ขา นิโรธเทานั้น ท่ดี ับไป, ฉะน้นั จึงเปน การเขา ถึงกายพรอมกับจติ \" พงึ กลาว (คา น) ทานเหลา น้นั วา \"คาํ พูดก็ไมดับนะ ซี เพราะ

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 317คํา (บาล)ี วา แมเครือ่ งปรุงคาํ พูดของเธอ ก็ดับไปดว ย ฉะนน้ั ผเู ขานโิ รธ-สมาบตั ิ พึงนั่งกลา วธรรมอยกู ไ็ ด พงึ นั่งทําการทองหนังสืออยูก ไ็ ด ละจติของผูทท่ี ํากาละตายไปแลว กพ็ ึงไมด ับ เพราะคาํ (บาล)ี วา \"แมเ คร่ืองปรงุจติ ของเขากด็ บั ไปแลว \" ฉะน้นั ผูเผา แมพอ หรอื พระอรหนั ตที่ตายไปแลว กจ็ ะพึงเปน ผูทําอนนั ตรยิ กรรมนะ ซ\"ี ...เพราะฉะนั้นอยา ไปทาํ ความยึดมนั่ ในพยญั ชนะ พงึ ตั้งอยใู นแบบแผน (นยั ) แลวพจิ ารณาใจความใหร อบคอบจรงิ อยู ใจความเปนหลกั ท่พี ึง่ อาศยั ไมใ ชพยัญชนะ คําวา \"อินทรียท ้งัหลายผอ งใสแลว \" ความวา จริงอยู เมอื่ ความเปน ไปที่สาํ เร็จมาจากกริ ยิ าจิต กําลังเปนไป เมื่ออารมณภ ายนอกกําลงั กระทบประสาท อินทรียทงั้ หลายยอมเหน่อื ยเปน เหมอื นกบั ถกู กระแทกถกู ทาํ เหมือนกับกระจกท่ตี ้ังไวใ นทางใหญส่แี ยก ถูกละอองฝุนทฟี่ ุงข้นึ เพราะลมเปนตน ทําใหแ ปดเปอ นฉะนน้ั .ประสาททั้งหาทอ่ี ยภู ายในนิโรธของภิกษุผเู ขา นโิ รธ ยอ มรงุ เรืองเหลือที่จะเปรยี บ เหมอื นกระจกทีใ่ สไ วใ นถงุ แลวต้ังไวในตเู ปนตน ยอ มรงุ เรอื งในภายในนัน่ เอง ฉนั ใด ก็ฉันนนั้ . เพราะฉะน้ัน พระสารบี ุตรเถระจึงไดกลา ววา \"อินทรยี ท ้ังหลายผอ งใสแลว\". ในคําวา \"ผูมอี ายุ ก็ปจ จยั มีเทา ไร\"พระมหาโกฏฐิกเถระยอมถามถงึ อะไร ทานยอมถามวา \"ขาพเจา จะขอถามถึงเนวสญั ญานาสญั ญายตนะ อนั เปนอนนั ตรปจจัยของนโิ รธ. สาํ หรับในการแกป ญหานั้น พระสารีบุตรเถระไดกลาวถึงปจจยั ทีไ่ ปปราศไวสอ่ี ยางวา \"และเพราะละสขุ เสยี ได\" เปนตน . ในคําวา \"ไมม เี ครื่องหมาย\" น้ี ทา นยอมถามถึงอะไร ทา นถามวา ขา พเจา จะขอถามถึงผลสมาบตั ิของผอู อกจากนิโรธ. ก็แหละการออกจากสมาบตั ิทเี่ หลอื ยอมมีเพราะภวงั ค. สว นการออกจากนิโรธ ยอ มมีเพราะผลสมาบัตอิ นั หล่งั ไหลมาจากวปิ ส สนา. ฉะนั้น พระเถระจงึ ถามถึงการออก

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 318จากนโิ รธนน้ั แล. คาํ วา \"มเี ครอ่ื งหมายทกุ อยาง\" ไดแกอารมณทั้งหมดมรี ปูเปน ตน . คําวา \"และการใสใจในธาตทุ ่ไี มมีเครอ่ื งหมาย\" ไดแ กการใสใ จในนิพพานธาตุทป่ี ราศจากเครื่องหมายทกุ ชนิด. พระเถระกลา วหมายเอาความใสใ จท่เี กิดพรอ มกับผลสมาบตั ิ ดวยประการฉะนี.้ เปนอันวา ทานถอื เอาฌานที่หนง่ึ ทม่ี ีนิโรธเปน ทีร่ องรบั ในชัน้ ลางแลว . เนวสัญญานาสญั ญายตนะที่เปนอนันตรปจ จยั ของนิโรธ ทานกถ็ ือเอาแลว . ผลสมาบตั ขิ องผอู อกจากนโิ รธ ทานก็ถอื เอาในบทนแี้ ลวแล. ในท่ีน้ีพงึ กลา วถงึ นิโรธกถา (ถอยคาํ วาดวยความดบั ) นิโรธกถาน้นั มาแลวในปฏิสัมภทิ ามรรคอยางน้ีวา ''ความรูชดัสําหรบั ใชอ บรมบม ความชาํ นิชาํ นาญ ยอมมไี ดด วยความสงบ ระงบั เครื่องปรงุ แตงต้ังสามอยาง เพราะผปู ระกอบดวยผลสองอยา ง ดว ยการดําเนินไปในความรูทัง้ สิบหกอยา ง และการดําเนนิ ไปในสมาธิเกา อยาง ความรู(ญาณ) ยอมมีไดด วยการเขา นโิ รธ\" สวนคําวินิจฉยั ทกุ แงทกุ มุมของนโิ รธ-กถาน้นั ทานกลา วไวแลว ในวสิ ุทธมิ รรค. บดั น้ี เมื่อจะถามถึงสมาบัตสิ ําหรับใชสอย พระเถระจงึ กลา วคาํ เปนตน วา \"ผูมอี ายุ กแ็ ลปจ จยั มเี ทา ไร\" กธ็ รรมดาการหยดุ ของผลสมาบัติของผูออกจากนโี้ รธไมม.ี การหยดุ (ฐติ ิ ไดแก ฐติ ขิ ณะ) เปน ไปหน่ึงหรอื สองวาระจติเทา นัน้ แลวก็หยงั่ ลงสภู วงั ค สาํ หรับภกิ ษุที่นั่งดับสง่ิ ท่ไี มมีรูปที่เปนไปแลว ตลอดเจด็ วนั น้ี จะตงั้ อยูในผลสมาบัติของผอู อกจากนิโรธไดไมนาน.แตในสมาบตั สิ าํ หรับใชส อย การกาํ หนดเวลา เปนเรอ่ื งสําคญั แท. ฉะ-น้นั ช่อื วา การหยุดน้ัน จงึ ยอ มมีได. เพราะเหตนุ ้ัน พระมหาโกฏฐกิ เถระจงึ กลาววา \"ดว ยการต้งั อยู (ฐิติ) แหงผลสมาบัตทิ ไ่ี มม ีเคร่อื งหมาย\" หมายความวา \"ปจจัยเพื่อความตงั้ อยูไดนานแหงผลสมาบัตนิ ้นั มเี ทาไร\" สวนในการแกป ญ หานน้ั ทานกลา วถงึ การกะเวลาวา \"และการปรุงแตงอยางยิ่งใน

พระสตุ ตนั ตปฎก มัชฌิมนิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 319กาลกอน\" พระมหาโกฏฐกิ เถระ ถามถึงการออกจากภวังคในคําวา \"แหงการออก\" นี้. แมในการแกปญหานั้น ทานก็ไดกลา วถงึ ความใสใจท่เี กดิ ข้ึนพรอมกับภวงั คดวยอาํ นาจเครอื่ งหมายมรี ปู เปนตนวา \"และการใสใ จเครอ่ื งหมายทุกชนิด\" ในคาํ วา \"ผมู ีอาย.ุ ..ก็แลนใ้ี ด\" น้ี พระมหาโกฏฐิกเถระถามถงึ อะไร ทานถามวาในท่ีนไ้ี มม ีขอ ใหมอยา งอนื่ ขา พเจา จะขอเอาสิ่งท่ีกลาวเสร็จแลว ในหนหลังนน่ั แหละมารวมเปน อนั เดียวกันแลว จึงถาม.กแ็ ล สง่ิ เหลา น้ี ทา นกลา วไวทไี่ หน ทานกลาวความหลดุ พนทางใจท่ไี มมีขอบเขตจํากัดไวใ นทีน่ ีแ้ ลวา \"ยอมจําสีเขียวก็ได ยอ มจําเหลอื ง สแี ดง สขี าวก็ได.\" ทา นกลา วถงึ ความเปนของวา งเปลา ในสตู รนว้ี า \"ยอมรูชดั อากญิ จญั ญา\"ในท่นี วี้ า \"พึงรอู ากญิ จัญญายตนะทีบ่ รกิ รรมวา\" \"ไมม ีอะไรๆ (หรืออะไรนอ ยหนง่ึ ก็ไมม ี)\" ดวยตาคอื ความรูช ัด. ทา นกลาวถงึ ความหลุดพนทางใจท่ีไมม ีเครื่องหมายในพระสตู รน้ีวา \"ผมู ีอายุ...กป็ จจยั ของความหยดุ อยูของการออกแหงความหลดุ พน ทางใจซ่งึ ไมมีเคร่ืองหมายมีเทาไร\" ทานยอ มเอาส่ิงทก่ี ลา วเสรจ็ แลวในหนหลังนั่นแหละมารวมเขา เปนอนั เดยี วกนั ในที่นี้ แลวจงึ ถามอยางน.้ี เพราะกลาววา \"ก็และทา นใสค วามหลุดพนน้ันแลว จึงแสดงความหลุดพนนี้ไวในท่ีน้ันๆ หรือ \"จงึ ยังมีสิง่ เหลาอ่ืนอกี สีอ่ ยา งทมี่ ชี ่ืออยา งเดียวกนั . ส่ิงอยา งเดียวกนั ช่อื ถงึ ๔ อยางก็ม.ี ทานจงึ ถามเพ่อื ใหผ ูตอบทาํ สง่ิ หนึ่งใหแจม แจง แลว บอกในท่ีน้ี. ในอรรถกถาทา นทําความตกลงใจดังน.ี้ คําในการตอบคําถามน้นั วา \"ผมู ีอาย.ุ ..น้ีเรียกวาความหลดุ พน ทางใจที่ไมมีประมาณ (ไมม ีขอบเขตจาํ กดั )\" คือ นี้ชอ่ื วา ความหลุดพน ทางใจท่ีไมมปี ระมาณเพราะไมมปี ระมาณแหงการแผไ ป. จริงอยู ความหลุดพนทางใจที่ไมม ปี ระมาณนี้ ยอ มแผไ ปในสัตวไ มจ าํ กัดจํานวน หรือแผไปในสัตวหน่ึง จนถึงไมม ีสัตวเ หลอื อย.ู

พระสุตตนั ตปฎก มชั ฌมิ นกิ าย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 320 คําวา \"ผมู อี ายุ...นเ้ี รยี กวา อากิญจญั ญา\" คือ ท่ีชือ่ วาอากิญจัญญาเพราะไมมคี วามกงั วลในอารมณ. คาํ วา \"หรอื จากตน\" คอื วางจากตน กลาวคืออัตภาพบุรุษและบคุ คลเปน ตน . คาํ วา \"หรือจากของตน\" ไดแกวางจากของตน กลา วคือ เคร่อื งเครามจี วี รเปน ตน . คําวา \"ไมมีเครื่องหมาย\" ไดแก ชือ่ วาไมม ีเคร่ืองหมายเพราะไมมเี ครื่องหมายมคี วามกําหนดั เปน ตน . พระเถระกลา วหมายเอาการเขา ถึงอรหตั ตผล. คําวา \"ใจความกต็ างกนั และ พยญั ชนะกต็ างกนั \" ไดแก ท้งั พยัญชนะทั้งใจความของส่งิเหลานั้นแตกตางกนั . ในความแตกตางกนั เหลานน้ั ความแตกตางกนั แหงพยัญชนะแจมแจง แลว. สว นใจความ คือความหลดุ พนทางใจทไ่ี มจาํ กดัจาํ นวน (อปฺปมาณา เจโตวิมตุ ฺต)ิ เปน มหัคคตะ. เปนรูปาวจรโดยภูมิ แตโ ดยอารมณมสี ัตวบัญญตั ิเปนอารมณ. อากิญจัญญาโดยภูมเิ ปนอรูปาวจรโดยอารมณมีอารมณทไ่ี มพึงกลา ว. ความเปนของวา ง (สุ ฺ ตา) โดยภมู ิเปน กามาวจร โดยอารมณ มสี ังขารเปนอารมณ. สาํ หรบั ในทีน่ ที้ า นหมายเอาวิปสสนาวา ความเปน ของวา ง. ความไมมีนมิ ิต (อนิมติ ตฺ า) โดยภมู ิเปนโลกุตตระ โดยอารมณมีพระนพิ พานเปน อารมณ ในคําเปนตนวา \"ผมู ีอายุ ความกําหนัดแล เปน สิง่ ทําความประมาณ\" ทานกลา วสง่ิ ทที่ ําความประมาณไววา เหมอื นอยางวา ทีเ่ ชิงเขา มนี ้ําเนาสิบหา ชนิด เปน นํ้ามีสดี าํปรากฏราวกบั วาลกึ ต้งั รอยวา แกผ มู องดู ไมม แี มแคทวมหลังเทาของผเู อาไมเทาหรอื เชือกวัดอยูฉันใด. ฉันนั้นเหมือนกัน กเิ ลสมคี วามกาํ หนดั เปนตนยงั ไมเ กิดข้นึ ตราบใด ตราบน้นั กไ็ มม ีใครสามารถรจู ักบุคคลได ตางกป็ รากฏเหมือนพระโสดาบนั เหมือนพระสกทาคามี และเหมอื นพระอนาคามีตอ เมอื่ ความกําหนดั เปนตน เกิดขึ้นแกเขา จงึ ปรากฏออกมาวา เปน ผูก าํ หนดัผูดุราย ผูห ลง. ความกําหนดั เปน ตนเหลา น้ัน ยอ มเกิดขึ้นแสดงประ-มาณของบุคคลวา \"คนนีเ้ พียงเทา น้\"ี ดงั ท่ีวามาน.ี้

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 321 คําวา \"ผมู อี ายุ ความหลดุ พนทางใจท่ีมีสตั วอนั บุคคลพึงประมาณไมได มปี ระมาณเทา ใดแล\" คือความหลุดพนทางใจท่ไี มมีประมาณมปี ระมาณเพยี งใด กแ็ ลการหลุดพน ทางใจที่ไมมปี ระมาณเหลานน้ั มเี ทาไร มี ๑๒ อยา ง คอื พรหมวิหาร ๔ มรรค ๔ ผล ๔. ใน ๑๒ อยา งนน้ัพรหมวิหารชอื่ วา ไมมีประมาณ เพราะความทก่ี ารแผไ ปไมมปี ระมาณทเี่ หลอื ช่อื วา ไมม ปี ระมาณ เพราะไมม กี ิเลสเคร่อื งทาํ ประมาณ.แมพระนิพพานกป็ ระมาณไมไ ดเ หมือนกัน. สวนความหลดุ พน ทางใจไมม ี (ในพระนพิ พานน้นั ). ฉะนั้น ทานจงึ ไมจดั เขา . คําวา \"ไมกาํ เริบ\" หมายเอาความหลุดพน ทางใจคือพระอรหัตตผล. กแ็ ล ความหลุดพน ทางใจคือพระอรหตั ตผลนัน้ เปนใหญกวาอะไรๆ หมด. ฉะนน้ั ทา นจงึ วา \"อนั ทานยอมกลา ววา เปนเลศิ \" คําวา \"ผมู อี ายุ ความกาํ หนดั แล เปนตวั เบยี ดเบียน\" คอื ความกําหนดัแมเ ม่ือเกดิ ขึ้นแลว ยอมเบียดเบียน ยา่ํ ยี รบกวน บคุ คล ฉะนั้น ทา นจึงวา เปน ตวั เบียดเบียน (ตัวกอ ใหเ กดิ ความกังวล, ความยงุ ). เลา กนั มาวาพวกคนกําลังพากนั เอาววั นวดลานขา วอยู ตา งพากนั พูดวา \"ไอดาํ ..เบยี ดเขาไป เบียดไอแดงเขาไป\" พงึ ทราบอรรถวา ย่ํายี อรรถวา เบียดเบยี น ดงั ทวี่ ามาน้ี. แมใ นความประทุษรายและความหลง กม็ ีทํานองเดยี วกันนเ้ี หมอื นกัน. สิ่งเกาอยางคอื อากญิ จญั ญายตนะ ๑ มรรคและผลอยางละหน่งึ ๆ (รวมเปน แปด) ช่ือ อากญิ จญั ญาเจโตวมิ ุตติ. ใน ๙ อยา งน้ัน อากญิ จญั ญาย-ตนะ ชอื่ อากญิ จัญญา เพราะไมมีอารมณท ่ีกอใหเกิดความกงั วล (ความเบยี ดเบยี น, ความยา่ํ ย,ี ความรบกวน, ความยงุ ยาก, หรือนอ ยหนง่ึ , อะไรๆนอ ยหน่ึง) แกใ จ. มรรค (๔) และผล (๔) ชอ่ื อากญิ จัญญา เพราะไมม ีความเบียดเบยี น คอื เพราะความไมมีกเิ ลสเคร่ืองยํ่ายีและเคร่อื งกอ ใหเกิดความกังวล, แมพระนิพพานก็เปน อากิญจัญญา. แตไมมีความหลุดพน แหงใจ(เพราะใจไมม ีในพระนิพพาน พระนิพพานไมมใี จ) เพราะฉะน้นั จึงไมจัด

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 322เขา. ในคําวา \"ผมู อี ายุ ความกาํ หนัดแลเปน เคร่ืองทําเครื่องหมาย\" เปนตน ความวา เมอื่ ความกําหนดั ยงั ไมเ กิดตราบใด ตราบน้ัน ไมมใี ครสามารถรูไดว า เปน อริยะหรือเปนปถุ ชุ น. กแ็ ลความกําหนัดเมื่อจะเกิดข้ึนกเ็ กิดขน้ึเหมอื นกาํ ลังทาํ เครื่องหมายสําหรับจาํ ไดว า \"บุคคลนี้ ชื่อวา ผูม ีความกําหนัด\" เพราะฉะนนั้ ทา นจงึ วา \"เปน เครอ่ื งทาํ เคร่ืองหมาย เหมือนลกู ววั๒ ตวั ทีเ่ หมือนกนั ของ ๒ ตระกูล ตราบเทาทย่ี งั ไมไดทําเครือ่ งหมายแกลูกวัวท้งั ๒ ตัวนน้ั กย็ อ มไมมีใครท่สี ามารถรไู ดว า \"นีเ้ ปน ลกู วัวของตระกูลโนน น้ีของตระกลู โนน \" แตเม่ือใดเอาเหลก็ แหลมทป่ี ลายหอกเปนตน มาทําเครือ่ งหมายอยางใดอยา งหน่ึง ก็มผี สู ามารถรูได ฉนั ใด กฉ็ ันน้ันเหมือนกัน. แมใ นความดรุ ายและความหลง กม็ ที าํ นองอยางเดียวกันน้ีเหมือนกนั . วิปส สนา๑ อรปู ๔ มรรค ๔ และผล ๔ รวมเปน ๑๓ สิง่ (น้ี) ชื่อวา ความหลุดพน แหงใจทีไ่ มมีอะไรเปน เครอ่ื งหมาย ในสบิ สามส่ิงนั้นวปิ สสนา ชื่อวา ไมมอี ะไรเปน เครอ่ื งหมาย กเ็ พราะเพกิ ถอนเครือ่ งหมายวาเทีย่ ง เครอื่ งหมายวา สขุ เครอ่ื งหมายวา ตัวตนเสียได. อรูป ๔ ชื่อวาไมม ีอะไรเปน เคร่อื งหมาย เพราะไมมีรปู เปน เครอื่ งหมาย. มรรคผล ช่อื วาไมมอี ะไรเปน เคร่ืองหมายก็เพราะไมม กี ิเลสทีเ่ ปนเคร่ืองทาํ เคร่อื งหมาย. แมพระนพิ พานกไ็ มม ีอะไรเปน เคร่อื งหมายเหมอื นกนั แตพระนิพพานนนั้ ไมเปนความหลุดพนแหงใจ เพราะฉะน้นั ทานจึงไมไ ดจ ัดเขา ไว. แลว ทําไมจึงไมจ ดัความหลดุ พนแหงใจชนดิ ทเี่ ปนของวางไวด วยเลา ความหลุดพนแหง ใจทีเ่ ปนของวา งนนั้ ชอื่ วา ไมเขาไปในกิเลสทกุ ชนิดเลย เพราะคํา (บาลี) เปนตนวา \"วางจากความกําหนัด\" เพราะฉะน้นั จึงไมจ ัดเขาไวเปนแผนกหนง่ึ ตางหาก. คําวา \"มีใจความเปน อันเดยี วกัน\" ไดแ ก และดวยอาํ นาจอารมณ กม็ ีใจความเปนอนั เดยี วกนั . กแ็ ล คาํ ท้งั หมดนี้คือ \"ไมม ีประ

พระสุตตันตปฎ ก มชั ฌมิ นกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 323มาณ, ความเปน ของไมมเี ครอ่ื งกงั วล, ความเปน ของวา ง, ไมม อี ะไรเปนเครื่องหมาย\" เปน ชอ่ื ของพระนิพพานท้งั น้ัน. จึงเปน อันสรุปไดวา กแ็ ลตามแบบน้คี วามหลุดพน แหง ใจที่ไมมปี ระมาณในทอี่ ่ืน ความเปน ของไมมีเครือ่ งกงั วลในท่ีอืน่ ความหลุดพน แหงใจท่ไี มมีอะไรเปน เครื่องหมายในท่ีอ่ืน (ท้งั หมดนนั้ ลว นแต) มใี จความเปน อันเดยี วกัน, ตามแบบนี้ ตา งกันแตพ ยัญชนะ (เทานั้น). พระเถระ จบเทศนาลงตามอนสุ นธแิ ท ดังที่ไดแสดงมาดว ยประการฉะน้ีแล. จบอรรถกถามหาเวทลั ลสตู ร ที่ ๓

พระสตุ ตนั ตปฎก มัชฌิมนิกาย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 324 ๔. จูฬเวทลั ลสตู ร [๕๐๕] ขา พเจา ไดฟงมาอยา งนี้ :- สมยั หนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจา ประทับอยใู นเวฬุวนั ซ่งึ เปนทป่ี ระทานเหยือ่ แกกระแต ใกลกรุงราชคฤห. คร้ังนัน้ อุบาสกชื่อวิสาขะเขาไปยงั สํานกั นางภิกษุณธี รรมทินนาถวายนมัสการแลว น่ัง ณ ทีค่ วรสว นขางหนึ่งแลว . [๕๐๖] วสิ าขะอุบาสกถาม นางธรรมทินนาภกิ ษณุ ี ปรารภจตุ-สัจจธรรมวา พระแมเจา พระผูมีพระภาคเจา ตรัสวา สกั กายะ สักกายะกายของตน กายของตน ดงั น้ี ธรรมอยา งไรเลา พระผมู ีพระภาคเจาตรสั วา กายของตน. นางธรรมทินนาภกิ ษุณี วิสัชนาวา วิสาขะอบุ าสกผมู ีอายุ ขนั ธทง้ัหลายท่ีเปน อปุ าทานเหลา น้ี คือกองรปู ที่ยงั มีความยึดมั่น กองเวทนาท่ยี ังมีความยดึ มน่ั กองสญั ญาทย่ี ังมคี วามยดึ มั่น กองสังขารทีย่ งั มคี วามยึดม่ัน กองวญิ ญาณที่ยงั มคี วามยึดม่ัน อปุ าทานขันธ ๕ ประการนี้แล พระองคตรัสวา กายของตน. วิสาขะอุบาสก อนุโมทนาชื่นชมตามภาษติ ของนางธรรมทนิ นาภิกษณุ ีวา ถกู ละ พระแมเ จา ดงั น้แี ลว จึงถามย่งิ ขน้ึ ไปกับนางธรรมทนิ นาภกิ ษุณีวา พระแมเ จา ขอ ท่พี ระผูมพี ระภาคเจา ตรัสวา สกั กายสมุทัยสกั กายสมทุ ยั ธรรมเปน ทีเ่ กิดขน้ึ พรอ มแหง สักกายะ ธรรมเปนท่เี กิดขึ้นพรอ มแหง สักกายะ ท่พี ระผูมีพระภาคเจา ตรัสไว. ธ. ตณั หา อนั ใดไปพรอ มดว ยความกาํ หนัด ดวยอํานาจความเพลนิ มักเพลินเฉพาะในภพน้ัน ๆ ตณั หานั้น ๓ อยาง กามตัณหาหนง่ึ ภวตณั -

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 325หาหน่งึ วิภวตัณหาหน่ึง นแ้ี ลพระผูมีพระภาคเจาตรสั วา ธรรมเปนทเ่ี กดิ ข้นึพรอมแหง สกั กายะ.. วิ. พระผูมีพระภาคเจา ตรัสอยวู า สักกายนิโรธ สกั กายนิโรธธรรมเปนท่ีดับแหงสักกายะ ธรรมเปนทดี่ ับแหง สกั กายะ กธ็ รรมส่ิงไรเลาพระผูมีพระภาคเจาตรสั วาธรรมเปนทด่ี ับแหงสักกายะ แมเ จา ธ. ความดบั ดว ยความคลายเสยี โดยไมเหลือแหงตณั หาน้นั อนั ใดความสละ สละคืน ความปลอ ยวาง ความพนไป ความไมพ ัวพนั นี้แลพระผมู พี ระภาคเจาตรัสวาสักกายนโิ รธ. วิ. พระแมเจา พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสแลววา ทางปฏบิ ตั ใิ หส ตั วถ งึสักกายนโิ รธ ทางปฏิบัติใหสตั วถงึ สกั กายนโิ รธ ขอ ปฏิบัตอิ ยา งไรพระองคต รสั วา ทางปฏบิ ัติจะใหสตั วถึงสักกายนิโรธ แมเ จา? ธ. อรยิ มรรคมอี งค ๘ นีแ้ ล คอื ปญ ญาเห็นชอบ ความดาํ ริชอบกลาววาจาชอบ ทาํ การงานชอบ เลย้ี งชวี ติ ชอบ ความเพยี รชอบระลกึ ชอบ ความตงั้ จติ ไวเสมอชอบ อันนแี้ ล พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ทางปฏบิ ัตจิ ะใหส ัตวถ ึงสักกายนโิ รธ คณุ วสิ าขะ. วิ. พระแมเจา ! อุปาทานกน็ ้ันแล อุปาทานขันธท ง้ั ๕ ก็นน้ั แล หรืออปุ าทานอน่ื จากุปาทานขันธท ัง้ ๕. ธ. วสิ าขะ อุปาทานกน็ นั้ แล ปาทานขันธทงั้ ๕ กน็ ัน้ แล หาใชไม อุปาทานอน่ื จากอุปาทานขันธทั้ง ๕ กห็ าใชไ ม คุณวสิ าขะ ความกาํ หนัดดวยอํานาจความพอใจในอปุ าทานขันธทัง้ ๕ อนั ใด ฉันทราคะนัน้ แล เปนปาทาน ในปญจปุ าทานขันธเ หลา นั้น.

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 326 [๕๐๗] วิ. พระแมเ จา ความเหน็ วา กายแหงตน ยอมเปนอยา งไร ธ. คุณวสิ าขะ ปถุ ุชชนไมไดสดับแลว ในโลกน้ี เปน ผูไ มไดพ บเห็นพระอริยเจา ทง้ั หลาย ไมฉลาดในธรรมของพระอรยิ เจา มไิ ดฝกใจในธรรมของพระอริยเจา แลว และเปนผไู มไ ดพบเหน็ สัตบรุ ุษท้งั หลาย ไมฉลาดในธรรมของสัตบรุ ุษ มิไดฝกใจในธรรมของสตั บรุ ุษ ผูนนั้ ยอมตามเหน็รปู โดยความเปนตนหรอื ตามเห็นตนวา มรี ปู พจิ ารณาเห็นรูปในตน หรอืพจิ ารณาเห็นตนในรปู อน่งึ ปถุ ชุ ชนผไู มไดสดบั แลว นนั้ ยอ มตามเห็นเวทนาสัญญา สงั ขาร วิญญาณ โดยความเปนคน หรอื ตามเห็นตนวา มเี วทนาสญั ญา สังขาร วิญญาณ หรอื พจิ ารณาเห็น เวทนา สัญญา สังขารวิญญาณในตน หรอื พิจารณาเห็นตนใน เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญ-ญาณ คุณวิสาขะ สักกายทฏิ ฐิ ยอ มเปนอยา งน้.ี ว.ิ พระแมเ จา สักกายทฏิ ฐิ ยอ มไมมดี วยอยา งไรเลา ธ. คณุ วิสาขะ อริยสาวกผไู ดส ดบั แลว ในธรรมวินัยน้ีเปนผไู ดพบเห็นพระอริยเจาทั้งหลาย ฉลาดในธรรมของพระอรยิ เจา ฝกใจในธรรมของพระอรยิ เจาดีแลว และเปน ผูไดพบเหน็ สัตบรุ ษุ ท้ังหลาย ผูฉลาดในธรรมของสตั บุรษุ ฝก ใจในธรรมของสตั บุรุษดีแลว ทานยอมไมตามเหน็ รปู เวทนาสัญญา สงั ขาร วิญญาณ โดยความเปนตน หรือไมต ามเหน็ ตนวา มีรปู เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ หรือไมต ามเห็นรูป เวทนา สญั ญาสงั ขาร วิญญาณในตน หรอื ไมต ามเหน็ ตนในรูป เวทนา สญั ญา สงั ขารวิญญาณ คณุ วิสาขะ. สักกายทฏิ ฐิ ยอ มไมม ีอยา งน้.ี [๕๐๘] วิ. พระแมเจา ก็ทางมีองค ๘ ซึ่งเปน ธรรมไปพน กเิ ลสเปนอยา งไร ? ธ. คุณวิสาขะ ก็หนทางมีองค ๘ ซง่ึ เปนอริยะทางเดยี วนี้แล คอื ปญญาเห็นชอบอยา งหน่ึง ความดาํ รชิ อบอยา งหนึ่ง เจรจาชอบอยา ง

พระสุตตนั ตปฎก มชั ฌิมนิกาย มลู ปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 327หนึ่ง ทําการงานชอบอยางหนึง่ เลย้ี งชวี ติ ชอบอยา งหนึง่ เพยี รชอบอยา งหน่ึง ระลกึ ชอบอยางหน่งึ ตัง้ จติ ไวชอบอยา งหนง่ึ . วิ. อริยมรรคมอี งค ๘ เปนธรรมทป่ี จ จัยประชมุ แตงหรอื เปนธรรมที่หาใชป จ จัยประชุมแตง ไมเลา. ธ. คณุ วสิ าขะ อริยมรรคมอี งค ๘ นี้ เปน ธรรมที่ปจจัยประชมุ แตง. วิ. พระแมเจา ขนั ธท ั้ง ๓ พระผมู ีพระภาคเจา ทรงสงเคราะหแลว ดว ยอริยมรรคมีองค ๘ หรือวาอริยมรรคมอี งค ๘ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงยน เขา ถอื เอาดว ยขันธทัง้ ๓. ธ. คณุ วิสาขะ ขันธท ัง้ ๓ พระผูมีพระภาคเจา จะไดทรงสงเคราะหดว ยอรยิ มรรคมีองค ๘ หามิได ก็แลอรยิ มรรคมีองค ๘ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงสงเคราะหดว ยขนั ธท ัง้ ๓ ตา งหาก คุณวสิ าขะ สมั มาวาจา สมั มา-กมั มันตะ ๑ สมั มาอาชวี ะ ๑ ธรรมเหลาน้ี พระผมู ีพระภาคเจาทรงสงเคราะหดว ยกองศีล. สัมมาวายามะ ๑ สัมมาสติ ๑ สัมมาสมาธิ ๑ ธรรมเหลา นี้พระผูมีพระภาคเจาทรงสงเคราะหด วยกองสมาธิ. สมั มาทิฏฐิ ๑ สัมมาสงักัปปะ ๑ ธรรมเหลา น้ี พระผมู ีพระภาคเจาทรงสงเคราะหด ว ยกองปญญา. วิ. พระแมเจา ธรรมอะไรเปนสมาธิ ธรรมเหลา ไรเปน นิมติ แหงสมาธิ? ธรรมเหลา ไรเปนปริกขารของสมาธิ สมาธิภาวนาอยา งไร ธ. คณุ วิสาขะ ความที่จติ เปน สภาพมอี ารมณอนั เดยี ว อนั นเี้ ปน สมาธิสติปฏฐาน ๔ เปน นมิ ติ แหงสมาธิ สัมมัปปธาน ๔ เปน ปรกิ ขารของสมาธิความเสพธรรมเหลานน้ั เนืองๆ การใหธ รรมเหลานั้นเจริญ การทําใหธรรมนั้นมากขน้ึ อันน้ีเปนสมาธิภาวนา.

พระสุตตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 328 [๕๐๙] ว.ิ ธรรมทีไ่ ดชอื่ วาสังขารมีเทา ไร พระแมเจา- ธ. สังขารทง้ั หลายเหลาน้ี ๓ ประการ คอื กายสงั ขาร ๑ วจีสงั ขาร ๑ จิตตสังขาร ๑ คุณวสิ าขะ. ว.ิ พระแมเจา ก็กายสังขารเปน อยางไร วจีสงั ขารแลจติ ตสงั ขารเปนอยา งไร ธ. คณุ วสิ าขะ ลมหายใจออกแลหายใจเขา กลบั เปน กายสงั ขารวิตกแลวจิ าร เปนวจีสงั ขาร สัญญา ๑ เวทนา ๑ เปน จิตตสังขาร. วิ. พระแมเจา ! เพราะเหตอุ ะไร ลมหายใจออกแลหายใจเขา จงึ เปนกายสังขาร วิตกและวิจารจงึ เปนวจีสงั ขาร สัญญาแลเวทนาจึงเปน จติ ตสังขาร ธ. คุณวิสาขะ สภาพคือลมหายใจออกแลหายใจเขา เปนสว นมใี นกาย ตดิ เนือ่ งดว ยกาย เพราะฉะนัน้ จึงเปนกายสังขาร. บุคคลยอ มตรึกตรองแลวจงึ เปลง วาจา เพราะฉะนน้ั วิตกแลวิจาร จึงเปน วจสี งั ขาร. สภาพทงั้๒ นค้ี อื ความจาํ อารมณได ความรูแ จง อารมณ ความเสวยอารมณ เปน สวนมีในจิต เพราะเนอ่ื งดวยจิต เพราะฉะนั้นสัญญาแลเวทนา จงึ เปนจิตตสังขาร [๕๑๐] วิ. พระแมเจา การเขาสัญญาเวทยติ นโิ รธยอ มมดี วยอยางไร ธ. คุณวสิ าขะ ภกิ ษผุ ูเขาสญั ญาเวทยติ นิโรธอยู จะไดคดิ วา เราจักเขา สัญญาเวทยิตนโิ รธกด็ ี วา บดั นีเ้ ราจะเขา สญั ญาเวทยติ นโิ รธอยดู งั นก้ี ็ดี หรือวา เราสญั ญาเวทยติ นโิ รธแลว ดังนกี้ ด็ ี หามไิ ด ก็แตจ ติ เชนนั้นอนั นําเขาไปเพ่ือความเปน เชนนนั้ ทานไดใหเกดิ แลวแตแ รกเทียว. วิ. พระเจา เมอื่ ภกิ ษุเขา สัญญาเวทยติ นิโรธอยู ธรรมเหลา ใดยอ มดบั ไปกอ น กายสังขารดบั ไปกอ น หรือวจสี งั ขาร หรอื จิตตสงั ขารดบั ไปกอ น

พระสตุ ตันตปฎ ก มัชฌิมนกิ าย มูลปณ ณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 329 ธ. เมอื่ ภกิ ษเุ ขาสัญญาเวทยิตนโิ รธ วจีสงั ขารยอมดบั ไปกอ น ตอนน้ักายสังขาร ภายหลังจิตสงั ขาร คณุ วสิ าขะ. วิ. พระแมเจา การออกจากสัญญาเวทยิ นิโรธสมาบัติเปน อยา งไร? ธ. คุณวิสาขะ เมอื่ ภิกษอุ อกอยูจากสัญญาเวทยิตนโิ รธสมาบตั ิจะมสี ําคัญหมายรูว า เราจกั ออกกด็ ี เราออกอยูก ็ดี เราออกแลวก็ดี จากสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบตั ดิ ังน้ีหามไิ ด กแ็ ตจ ิตเชน น้นั อนั นาํ เขา ไปเพ่อื ความเปนเชนนนั้ ทานไดใ หเกิดแลวแตแ รกเทยี ว. วิ. เม่อื ภิกษุออกจากสัญญาเวทยติ นโิ รธสมาบตั ิ ธรรมเหลา ใดเกดิข้นึ กอ น กายสังขาร หรือวจีสังขาร หรือจติ ตสงั ขาร พระแมเจา . ธ. คณุ วิสาขะ. เม่ือภกิ ษุออกจากสญั ญาเวทยติ นโิ รธสมาบัติ จิตต-สังขารเกิดข้นึ กอ น ตอ นนั้ กายสงั ขาร แลววจสี งั ขาร. ว.ิ พระแมเจา กผ็ สั สะเทาไรถูกตองภกิ ษผุ ูออกจากสัญญาเวทยติ นิโรธสมาบัตแิ ลว . ธ. ผัสสะ ๓ ประการ คือผสั สะคือรูส ึกวา งหนึง่ ผัสสะคือรสู ึกไมม ีนิมติ หน่งึ ผัสสะคือรสู กึ หาทต่ี ง้ั มไิ ดห นึง่ เหลานี้ ยอมถกู ตอ งภิกษผุ อู อกจากสญั ญาเวทยติ นิโรธสมาบตั แิ ลว. วิ. พระแมเจา. จติ ของภิกษผุ ูออกจากสญั ญาเวทยติ นิโรธสมาบตั ิแลว ยอ มนอ มไปในธรรมส่ิงใด โอนไปในธรรมสงิ่ ใด โอนไปในธรรมส่งิ ไร. ธ. คุณวสิ าขะ. จิตของภกิ ษผุ อู อกจากสญั ญาเวทยติ นิโรธสมาบัติแลว ยอ มนอมไปในความสงัด โอนไปในความสงดั เงือ้ มไปในความสงัด.

พระสุตตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 330 [๕๑๑] วิ. พระแมเ จา กค็ วามเสวยอารมณม เี ทาไร. ธ. คณุ วสิ าขะ ความเสวยอารมณมี ๓ ประการเหลา นี้ คอื ความเสวยอารมณเปนสุขอยางหนง่ึ ความเสวยอารมณเปนทุกขอยา งหนงึ่ ความเสวยอารมณไมใ ชสขุ ไมใชทกุ ขอยา งหนงึ่ ว.ิ พระแมเ จา . สุขเวทนาเปน อยา งไร ทกุ ขเวทนาเปนไฉน อทกุ ขมสุขเวทนาคอื สง่ิ อะไร. ธ. คุณวิสาขะ. ความเสวยอารมณท เ่ี ปน สขุ สําราญ ซึง่ เปน ไปในกาย หรือเปน ไปในจิต อนั นีเ้ ปน สขุ เวทนา ความเสวยอารมณท ่เี ปน ทกุ ขไ มสําราญ ซงึ่ เปนไปในกาย หรอื เปน ไปในจิต อันน้ีเปน ทกุ ขเวทนา ความเสวยอารมณท่ีมใิ ชความสาํ ราญแลมใิ ชความไมสาํ ราญ เปนไปในกาย หรอื เปนไปในจติ อันนเี้ ปน อทุกขมสุขเวทนา คณุ วิสาขะ. วิ. พระแมเจา . กส็ ขุ เวทนาคงเปนสขุ อยไู ดเพราะอะไร กลายเปนทุกขเพราะอะไร. ธ. คุณวสิ าขะ สขุ เวทนาคงเปน สุขเพราะทรงอยู กลายเปนทกุ ขเพราะแปรไป ทุกขเวทนาคงเปน ทุกขเพราะทรงอยู กลายเปน สุขเพราะแปรไป อทุกขมสขุ เวทนาเปนสุขเพราะรูชอบ เปน ทุกขเพราะรูไมช อบ. ว.ิ พระแมเจา อนุสยั อะไรยอมตามนอนอยใู นสขุ เวทนา อนสุ ัยอะไรตามนอนอยูในทกุ ขเวทนา อนสุ ัยอะไรตามนอนอยใู นอทุกขมสุขเวทนา. ธ. คุณวสิ าขะ. กามราคานุสัย ยอ มตามนอนอยใู นสขุ เวทนาปฏมิ านุสยั ตามนอนอยูในทกุ ขเวทนา อวชิ ชานสุ ัย ตามนอนอยใู นอทกุ ขม-สขุ เวทนา.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 331 ว.ิ พระแมเ จา. ก็ราคานุสัยยอ มตามนอนอยูในสขุ เวทนาทั้งหมดหรือ ปฏฆิ านสุ ยั ยอ มตามนอนอยใู นทุกขเวทนาทง้ั สิ้น หรือวาอวิชชานุสัยยอ มตามนอนอยูในอทุกขมสุขเวทนาทง้ั ปวง. ธ. คณุ วสิ าขะ. ราคานสุ ยั ปฏิฆานสุ ัย แลอวิชชานุสัย จะไดม าตามนอนอยใู นสุขเวทนา ทกุ ขเวทนา แลอทกุ ขมสุขเวทนา ทัง้ หมดหามิได. ว.ิ พระแมเ จา ! อะไรอนั สุขเวทนาจะพึงละไดด ว ย อะไรจะพึงละไดดวยทุกขเวทนา อะไรจะพงึ ละไดดวยอทกุ ขมสขุ เวทนา. ธ. คณุ วสิ าขะ. ราคานสุ ยั จะพงึ ละไดด วยสุขเวทนา ปฏิฆานุสยั จะพงึละไดดวยทุกขเวทนา อวิชชานุสยั จะพงึ ละไดดว ยอทกุ ขมสขุ เวทนา. ว.ิ พระแมเ จา. ราคานสุ ัยจะพึงละเสียในสขุ เวทนาทง้ั นัน้ ปฏฆิ านุสัยจะพึงละเสยี ดวยทกุ ขเวทนาท้ังน้นั อวิชชานุสยั จะพึงละเสยี ดว ยอทุกขมสุขเวทนาทงั้ นนั้ หรือ ธ. คุณวสิ าขะ ราคานุสยั ปฏฆิ านสุ ยั แลอวชิ ชานุสัย จะพงึ ละไดดว ยสุขเวทนา ทกุ ขเวทนา อทกุ ขมสขุ เวทนาท้ังนนั้ หามิได. ว.ิ พระแมเจา ราคานสุ ัย ปฏฆิ านุสยั อวิชชานุสัย พงึ ละเสยี ไดดว ยสขุ เวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสขุ เวทนา ทั้งปวงหรอื ธ. คุณวสิ าขะ ราคานสุ ยั ปฏฆิ านสุ ยั อวิชชานสุ ัย จะพึงละไดด ว ยสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทกุ ขมสุขเวทนา ทั้งปวงหามไิ ด. ภิกษุในธรรมวนิ ยันี้ สงัดจากกามท้งั หลาย สงัดจากธรรมที่เปน อกศุ ลท้งั หลายแลวเทียว ไดบรรลุปฐมฌาน อนั ประกอบดว ยวิตกวิจารมปี ต ิแลอกุศลเกิดแตความสงดั จากนิวรณแลว แลอยู ทานยอ มละราคะดวยปฐมฌานนั้น, ราคานุสัย จะไดมาตามนอนอยูในปฐมฌานนนั้ หามิได. อน่งึ ภกิ ษุในธรรมวนิ ยั นพี้ จิ ารณาอยวู า เมือ่ ไรเราจักไดบรรลอุ ายตนะท่พี ระอริยะทัง้ หลายไดบ รรลุแลวแลอยูบดั น้ี แลวแลอยู

พระสุตตนั ตปฎ ก มชั ฌิมนกิ าย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 332เหมอื นทา น ดังนี้ เมื่อภกิ ษเุ ขาไปตง้ั ความรกั ใครท ยานไวในวโิ มกข ซง่ึ เปนอนตุ รธรรมทัง้ หลายอยา งน้ี เพราะความรกั ใครท ยานในวโิ มกขเ ปน ปจจัยโทมนัสยอมเกดิ ขน้ึ ทา นละปฏิฆะไดเพราะความทยานในอนตุ รวิโมกขน้นั ปฏิฆานุสยั ยอมไมต ามนอนอยใู นความทยานในอนุตรวโิ มกขน ัน้ คณุ วิสาขะอนง่ึ ภิกษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เพราะละความสขุ ความทุกขเสยี เพราะความโสมนัสแลความโทมนัสท้ัง ๒ ดบั สญู ในกอ นเทยี ว แลว ไดบรรลุฌานท่ี ๔อนั ไมมสี ุขไมมีทกุ ข มีความทสี่ ติเปนคณุ บรสิ ุทธเิ์ พราะอเุ บกขาแลว แลอยู ทานยอ มละอวชิ ชาไดดว ยจตุตถฌานนั้น อวชิ ชานุสัยยอ มไมต ามนอนอยูในจตตุ ถฌานนน้ั . [๕๑๒] ว.ิ พระแมเ จา . กส็ ง่ิ ใดเปน สว นเปรยี บแหงสขุ เวทนา ธ. คณุ วสิ าขะ. ความกาํ หนัด เปน สวนเปรียบแหงสขุ เวทนา ว.ิ สิ่งใดเลา เปน สวนเปรยี บแหง ทกุ ขเวทนา พระแมเ จา ธ. คณุ วิสาขะ. โทษะกระทบใจ เปน สวนเปรยี บแหง ทุกขเวทนา วิ. พระแมเ จา. สงิ่ ใดเลา เปนสว นเปรยี บแหงอทุกขมสุขเวทนา ธ. ความไมร ูแ จง เปนสว นเปรยี บแหงอทุกขมสขุ เวทนา คุณวิสาขะ. วิ. พระแมเ จา. กส็ ่ิงใดเลา เปนสวนเปรียบแหง อวิชชา. ธ. คณุ วิสาขะ. ความที่ไมร ูแ จงชดั เปน สว นเปรยี บแหงอวชิ ชา. ว.ิ พระแมเจา . กส็ ิ่งใดเลา เปนสวนเปรยี บแหงวิชชา. ธ. คณุ วิสาขะ. ความพนกิเลส เปน สว นเปรียบแหงวชิ ชา. ว.ิ พระแมเ จา. กส็ งิ่ ใดเลาเปนสวนเปรยี บแหงวมิ ตุ ติ. ธ. คุณวิสาขะ. พระนิพพาน เปน สว นเปรยี บแหง วมิ ตุ ต.ิ

พระสุตตันตปฎก มัชฌมิ นิกาย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 333 ว.ิ พระแมเจา ก็อะไรเลา เปนสวนเปรียบแหง นิพพาน. ธ. วิสาขะ ทา นลวงเกนิ ปญหาเสียแลว ไมอาจถือเอาท่ีสดุ รอบ แหง ปญ หาท้ังหลายได ดว ยวา การประพฤตพิ รหมจรรย ก็ยอ มหยั่งลงในพระนพิ พาน มพี ระนิพพานเปน ทถ่ี ึงในเบือ้ งหนา มีทส่ี ดุ จบลงเพยี งพระนพิ พานเทา น้นั . ถา หากทา นจาํ นงอยไู ซร พงึ ไปเฝาพระผมู พี ระภาคเจาแลวกราบทลู ถามความเรื่องนี้เถดิ และพระผมู ีพระภาคเจาจะตรสั พยากรณแกทา นฉนั ใด ทานก็พงึ ทรงจําขอ พยากรณน้นั ไว ฉันน้ันเถิด. [๕๑๓] ลําดบั น้ัน วสิ าขอบุ าสก ชื่นชมอนโุ มทนาขอ ภาษิตแหง นางธรรมทนิ นาภิกษุณีแลว ลุกข้นึ จากอาสนะที่นัง่ ถวายนมสั การทําประทกัษิณ นางธรรมทนิ นาภกิ ษณุ ีแลว เขา ไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงทีป่ ระพบั ถวายบังคมแลวนงั่ ณ ทค่ี วรแลว กราบทลู ขอ ปุจฉาแลพยากรณ ทีต่ นไตถามและขอ ความที่นางธรรมทนิ นาภิกษุณีวสิ ัชนาทกุ ประการ ใหพระผูมพี ระภาคเจา ทรงทราบ แตเ บื้องตนตลอดถงึ ทส่ี ดุ . คร้ันวสิ าขอบุ าสกกราบทูลอยางน้ันแลว พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสวา วิสาขะ. นางธรรมทินนาภิกษณุ ีเปนบณั ฑติ มปี ญญาย่ิงใหญ และขอความอนั นี้ แมห ากวาทานจะถามเราผูต ถาคต ตถาคต ก็จะพงึ พยากรณกลา วแกขอวสิ ัชนาอยางนี้ เหมือนขอความท่นี างธรรมทินนาภิกษุณีไดพยากรณแ ลว ไมแปลกกนั เลย อันนแ้ี ลเปนเน้อื ความน่นั แลว ทานจงจําทรงไวใ หแนนอนเถดิ . พระผมู พี ระภาคเจาตรสั พระพทุ ธพจนอ ันนแ้ี ลว วิสาขอุบาสกก็ไดช ่นื ชมเพลนิ เฉพาะภาษติแหง พระผมู ีพระภาคเจาดวยประการฉะน.ี้ จบจูฬเวทลั ลสตู รที่ ๔

พระสตุ ตันตปฎก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 334 อรรถกถาจุลลเวทัลลสูตร จุลลเวทลั ลสตู รขึน้ ตนวา \"ขาพเจา ไดฟงมาแลวอยา งน\"้ี . ในคําเหลานั้น คาํ วา \"วสิ าขอุบาสก\" ไดแ ก อุบาสกผมู ีช่ืออยางน้ันวา \"วสิ าข\". คาํ วา \"โดยทใ่ี ดนางธรรมทนิ นา\" คอื เขาไปหาถึงที่ซ่ึงภิกษุณีชอื่ ธรรมทนิ นาอย.ู วิสาขะนี้คือใครกนั เลา นางธรรมทินนาเปนใคร ทําไมจงึ เขา ไปหา เมอ่ื นางธรรมทินนายงั เปนคฤหสั ถ วิสาขะเปนเจาของเรือน (เปนสาม)ีเมอื่ พระผูมีพระภาคเจาพระองคน น้ั ไดตรสั รพู ระสมั มาสมั โพธญิ าณแลวทรงหมนุ ลอพระธรรมอันประเสรฐิ ไดท รงแนะนาํ กลุ บตุ รมยี ศเปนตนเสด็จบรรลถุ งึ ตําบลอุรเุ วลา. ในทีน่ น้ั ไดทรงแนะนาํ ชฏลิ พันคนแลว เสดจ็ ดาํ เนนิไปยงั กรุงราชคฤหก บั หมภู ิกษณุ ขี ณี าสพชฏิลเกา แลว ทรงแสดงธรรมถวายพระเจาพมิ พิสารมหาราชซ่งึ เสด็จดาํ เนนิ มาพรอมกบั บรษิ ัทแสนสองหมื่นคนเพอื่ เฝา พระพุทธเจา. ในแสนสองหมืน่ คนทม่ี าพรอ มกบั พระราชาในครัง้ นนั้หนึง่ หมืน่ คนประกาศตนเปนอุบาสก. อีกหนงึ่ แสนหนงึ่ หม่นื คนพรอ มกับพระเจา พมิ พสิ าร ดาํ รงอยใู นโสดาปต ติผล. อุลาสกน้ีเปน คนหนงึ่ ในจาํ นวนนน้ัเมอ่ื ดํารงอยใู นโสดาปต ตผิ ลในการเฝาคร้งั แรกนัน่ เอง พรอ มกบั คนเหลา นนั้แลว ในอกี วนั หน่ึงกไ็ ดฟงธรรมสาํ เร็จสกทาคามิผล แตน น้ั มาในภายหลังวนั หนงึ่ ไดฟ ง ธรรมจงึ ไดดํารงอยใู นอนาคามิผล เมือ่ ไดเปน พระอนาคามแี ลวมาสเู รอื น ไมไดมาอยา งวนั เหลาอ่ืนท่มี องนัน่ ดูนี่ หวั เราะย้ิมแยม พลางเดินเขา มา. หากแตก ลายเปนคนสงบอินทรยี ม ีใจสงบเดินเขาไป.๑. พระสูตร-จฬู เวทัลลสตู ร

พระสุตตนั ตปฎ ก มัชฌมิ นิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 335 นางธรรมทนิ นาแงม หนาตางพลางมองไปที่ถนนเหน็ เหตกุ ารณในการมาของเขาแลว กค็ ิดวา \"นอี่ ะไรกนั หนอ\" เมอ่ื ยืนท่ีหวั บันไดทาํ การตอนรบั เขาพลางกเ็ หยียดเมือ่ ย่ืนออกไป. อบุ าสกกลบั หดมือของตนเสยี . นางคิดวา \"เราจงรูใ นเวลารับประทานอาหารมอ้ื เชา \". แตกอนอบุ าสกยอมรับประทานพรอ มกันกับนาง แตว ันนนั้ ไมยอมมองนาง ทําราวกะวา โยคาวจรภิกษุ รบั ประทานคนเดียวเทา นน้ั . นางคดิ วา \"เวลานอนเราจะรู\" อุบาสกไมยอมเขา หอ งพระศรนี นั้ , สัง่ ใหจดั หองอื่นใหต้งั เตยี งนอยทสี่ มควรแลวนอน. อุบาสิกามาคดิ วา \"อะไรกนั หนอ เขามีความปรารถนาขา งนอก หรอื คงถูกผูชอบยแุ หยค นใดคนหน่ึง ยุใหแตก ? หรือวา เรานแ่ี หละมีความผิดอะไรๆ\" แลว กเ็ กดิ เสียใจอยางแรง ตดั สนิ ใจวา \"ตลอดเวลาวนัสองวนั ทีเ่ ขาอยนู แ่ี หละ จะตองรูใหจ นได\" แลวจึงไปสทู ี่บาํ รงุ เขาไหวแลว ก็ยนือย.ู อุบาสกถามวา \"ธรรมทนิ นา ทําไมจงึ มาผิดเวลาละ\" ธรรม. \"คะ ลูกเจา. ดิฉนั มา, ทานไมเ หมอื นคนเกา , ขอถามหนอยเถดิ คะวา ทานมีความปรารถนาภายนอกหรือคะ?\" อ.ุ \"ไมมหี รอก ธรรมทนิ นา.\" ธรรม. \"มีใครอ่นื เปนคนยุแหยหรือคะ\" อุ. \"แมน ก้ี ็ไมมี\" ธรรม. \"เมอ่ื เปน เชน นั้น ตวั ดิฉันเองคงจะมีความผิดไรๆ หรอื คะ?\" อ.ุ \"ถงึ เธอเอง ก็ไมมีความผดิ \" ธรรม. \"แลว ทําไมทา นจงึ ไมทาํ แมเพยี งการพูดจาปราศรยั ตามปกติกับดิฉนั เลาคะ\" เขาคิดวา \"ชอ่ื วา โลกตุ ตรธรรมน้ีเปน ภาระหนัก ไมพึงเปด เผย แตถ าแลเราไมบอก, ธรรมทินนาน้จี ะพึงหัวใจแตกตายในที่นเ้ี อง\" เพ่ืออนเุ คราะห






























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook