Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_08

tripitaka_08

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:39

Description: tripitaka_08

Search

Read the Text Version

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 79 ตวั ได บัดนี้ ขอระงบั ปพพาชนยี กรรม สงฆระงบั ปพพา- ชนยี กรรมแกภิกษมุ ชี อ่ื นี้ การระงบั ปพ พาชนียกรรมแก ภกิ ษุมชี ื่อน้ี ชอบแกท านผูใด ทา นผูน นั้ พงึ เปนผูน ิง่ ไม ชอบแกทานผใู ด ทา นผนู ั้นพงึ พดู ปพ พาชนยี กรรม อนั สงฆร ะงบั แลวแกภิกษุมชี ื่อนี้ ชอบแกสงฆเ หตุนัน้ จึงน่งิ ขาพเจา ทรงความนี้ไว ดวย อยา งนี้. ปพพาชนยี กรรม ท่ี ๓ จบ ปฏิสารณยี กรรม ที่ ๔ เร่อื งพระสุธรรม [๑๒๙] กโ็ ดยสมยั นน้ั แล ทา นพระสุธรรมเปนเจาอาวาส เปนชางกอสราง รบั ภัตรประจาํ ของจิตตคหบดี ในเมอื งมจั ฉิกาสณฑ ในคราวทจี่ ิตตคหบดีประสงคจ ะนมิ นตส งฆ คณะ หรือบุคคล จะไมบอกทานพระสุธรรมกอ น นิมนตสงฆ คณะ หรือบคุ คล ไมเ คยมี สมัยตอมา พระเถระหลายรปู ดวยกนั คือ ทานพระสารบี ุตร ทานพระมหาโมคคัลลานะ ทานพระมหากัจจานะ ทานพระมหาโกฏฐิกะ ทานพระมหากัปปน ะ ทา นพระมหาจุนทะ ทานพระอนรุ ทุ ธะ ทานพระเรวตะทา นพระอุบาลี ทานพระอานนท และทานพระราหลุ ไดเทีย่ วจาริกไปในแควน กาสี เดินทางไปถงึ เมอื งมัจฉิกาสณฑ

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 80 จิตตคหบดตี อนรบั พระอาคันตกุ ะ [๑๓๐] จิตตคหบดีไดท ราบขาวแนช ัดวา พระเถระหลายรปู มาถงึเมอื งมจั ฉกิ าสณฑแลว โดยลําดบั จึงเขา ไปในสํานักของพระเถระ ครัน้ แลวจงึ อภิวาทพระเถระทั้งหลายแลว นง่ั ณ ท่ีควรสว นขางหนึ่ง ทานพระสารบี ตุ รไดช้แี จงใหจ ติ ตคหบดผี ูน ัง่ เรยี บรอยแลว ใหเห็นแจง สมาทาน อาจหาญรา เริง ดวยธรรมกี ถา ครนั้ จติ ตคหบดอี นั ทา นพระสารบี ตุ รชแ้ี จง ใหเหน็ แจง สมาทาน อาจหาญ รา เริง ดว ยธรรมีกถาแลว ไดก ลา วคําอาราธนานี้แกพ ระเถระทั้งหลายวา ขอพระเถระท้งั หลายจงกรณุ ารับอาคนั ตกุ ะภตั รของขา พเจา เพื่อเจริญบญุ กุศลและปติปราโมทยใ นวนั พรุงน้ีดว ยเถดิ เจา ขา พระเถระทั้งน้ันรบั อาราธนาดว ยอาการดุษณีภาพ. [๑๓๑] ครั้นจิตตคหบดี ทราบการรับอาราธนาของพระเถระทงั้ หลายแลว ลุกจากท่ีนั่งไหวพระเถระทั้งหลาย ทาํ ประทักษณิ แลวเขา ไปหาทา นพระสธุ รรมถงึ สาํ นกั นมสั การเเลว ไดยนื อยู ณ ทคี่ วรสว นขา งหนง่ึครน้ั แลวไดกราบเรียนอาราธนาทา นพระสุธรรม ดงั น้วี า ขอพระคณุ เจาสธุ รรม จงกรณุ ารับภัตตาหารของขาพเจา เพอ่ื เจริญบญุ กุศลปติและปราโมทยใ นวันพรงุ น้ี พรอ มกับพระเถระท้งั หลายดว ยเถิด เจาขา คร้งั นัน้ ทานพระสุธรรมคดิ วา ครั้งกอ นๆ จิตตคหบดีนปี้ ระสงคจะนิมนตสงฆ คณะ หรอื บุคคล คราวใด จะไมบ อกเรากอนแลว นิมนตสงฆ คณะ หรอื บคุ คลไมเ คยมี แตเดีย๋ วนี้ เขาไมบ อกเรากอน แลวนิมนตพ ระเถระท้ังหลาย เดี๋ยวน้ีจติ ตคหบดนี ี้ ลบหลูเมนิ เฉย ไมยินดีเราเสยี แลว จึงไดกลา วคํานแี้ กจ ติ ตคหบดวี า อยาเลย คหบดี อาตมาไมร บั นิมนต

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 81 จติ ตคหบดี ไดกราบเรยี นอาราธนาทา นพระสธุ รรมเปนคํารบสองวา ขอพระคณุ เจาสุธรรม จงกรณุ ารับภตั ตาหารของขาพเจา เพือ่ เจริญบญุกศุ ลปต ิและปราโมทยใ นวนั พรุงน้ี พรอมกับพระเถระท้งั หลายดว ยเถิดเจา ขา . ทา นพระสธุ รรมตอบวา อยา เลย คหบดี อาตมาไมรบั นมิ นต. จิตตคหบดี ไดกราบเรียนอาราธนาทา นพระสุธรรมเปนคํารบสามวา ขอพระคุณเจาสุธรรม จงกรณุ ารับภตั ตาหารของขา พเจา เพอ่ื เจรญิบญุ กุศลปติและปราโมทยใ นวันพรงุ น้ี พรอมกบั พระเถระทง้ั หลายดว ยเถิดเจาขา . ทา นพระสุธรรมตอบวา อยาเลย คหบดี อาตมาไมร ับนมิ นต. ครงั้ น้ัน จติ ตคหบดคี ดิ วา จกั ทําอะไรแกเรา เม่อื พระคณุ เจาสุธรรมรับนมิ นต หรอื ไมรบั นมิ นต แลวไหวท านพระสุธรรมทาํ ประทักษิณกลับไป. วิวาทกับคหบดี [๑๓๒] คร้งั นน้ั จติ ตคหบดีสัง่ ใหต กแตงขาทนยี โภชนียาหารอันประณีต ถวายพระเถระท้งั หลายโดยผา นราตรีน้นั ทา นพระสุธรรมจงึ คิดวาถา กระไร เราพงึ ตรวจดขู าทนยี โภชนียาหารท่จี ิตตคหบดีตกแตง ถวายพระเถระทัง้ หลาย ครั้นถึงเวลาเชา นงุ อันตรราสกแลว ถือบาตรจวี รเขา ไปสูนเิ วศนข องจิตตคหบดี แลวน่ังบนอาสนะท่เี ขาจัดถวาย. ท่ีน้นั จติ ตคหบดเี ขาไปหาทานพระสุธรรม นมสั การแลวน่ัง ณทีค่ วรสวนขางหนง่ึ .

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 82 ทา นพระสุธรรมไดก ลา วคาํ นแี้ กจติ ตคหบดี ผูน ัง่ เรียบรอ ยแลววาทานคหบดี ขาทนยี โภชนียาหารนี้ ทานตกแตงไวมากนกั แตของส่ิงหนึ่งที่เขาเรียกวา ขนมแดกงา ไมม ใี นจํานวนนี.้ จติ ตคหบดีกลาวความตาํ หนวิ า ทานเจาขา เมื่อพระพทุ ธพจนม ากมายมอี ยู. แตพระคณุ เจา สุธรรมมากลาววา ขนมแดกงา ซึง่ เปนคาํ เลก็ นอ ย. ทานเจาขา เรอื่ งเคยมีมาแลว พอ คา ชาวทกั ษิณาบถ ไดไปสูชนบทแถบตะวันออก พวกเขานําแมไกมาแตทีน่ นั้ ตอมาแมไกน้ันสมสูอ ยูดวยพอ กาก็ออกลูกมา คราวใดลกู ไกนัน้ ปรารถนาจะรอ งอยา งกา คราวน้ันยอมรองเสยี งการะคนไก คราวใดปรารถนาจะขันอยางไก คราวนนั้ ยอมขนั เสยี งไกร ะคนกา ฉันใด เมือ่ พระพทุ ธพจนมากมายมอี ยู พระคุณเจาสุธรรมมากลาววา ขนมแดกงา ซึง่ เปน คําเล็กนอ ย กฉ็ นั นัน้ เหมอื นกนั . ส.ุ คหบดี ทานดาอาตมา คหบดี ทานบรภิ าษอาตมา คหบดี นั่นอาวาสของทาน อาตมาจกั หลีกไปจากอาวาสนน้ั . จ.ิ ทานเจา ขา ขาพเจามไิ ดดามิไดบริภาษพระคุณเจา สธุ รรม ขออาราธนาพระคณุ เจาสุธรรม จงอยูในวหิ ารอัมพาฏกวนั อนั เปน สถานรื่นรมย เขตเมอื งมจั ฉกิ าสณฑ ขา พเจา จกั ทําการขวนขวายจีวร บิณฑบาตเสนาสนะ และคลิ านปจจัยเภสชั บรขิ าร แกพ ระคณุ เจา สธุ รรม. ทานพระสุธรรม ไดกลาวคํานแ้ี กจ ติ ตคหบดีเปน คํารบสองวาคหบดี ทา นดาอาตมา คหบดี ทานบรภิ าษอาตมา คหบดี นั่นอาวาสของทาน อาตมาจักหลกี ไปจากอาวาสนนั้ .

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 83 จ.ิ ทานเจาขา ขาพเจา มไิ ดด า มไิ ดบริภาษพระคุณเจา สธุ รรม ขออาราธนาพระคุณเจาสุธรรม จงอยใู นวิหารอมั พาฏกวนั อันเปนสถานรนื่รมย เขตเมืองมจั ฉกิ าสณฑ ขา พเจาจักทาํ การขวนขวาย จวี ร บณิ ฑบาตเสนาสนะ และคลิ านปจจัยเภสัชบรขิ าร แกพ ระคุณเจาสธุ รรม. ทานพระสุธรรม ไดกลาวคํานี้แกจติ ตคหบดเี ปน คํารบสามวา คหบดีทา นดา อาตมา คหบดี ทา นบริภาษอาตมา คหบดี นน่ั อาวาสของทานอาตมาจักหลีกไปจากอาวาสน้ัน . จ.ิ พระคุณเจา สุธรรมจกั ไปท่ีไหน เจา ขา . ส.ุ คหบดี อาตมาจักไปพระนครสาวตั ถี เพื่อเฝาพระผูมพี ระภาคเจา จ.ิ ทา นเจาขา ถาเชน น้ัน ถอยคําอนั ใดทีพ่ ระคุณเจา ไดกลา วแลวและถอยคําอนั ใดที่ขาพเจา ไดกลา วแลว ขอทานจงกราบทูลถอ ยคาํ อนั นน้ัท้ังมวลแดพระผมู พี ระภาคเจา แตขอที่พระคุณเจา สุธรรมจะพึงกลบั มาเมืองมัจฉกิ าสณฑอกี นั้น ไมอ ศั จรรยเลย เจา ขา. พระสุธรรมเขา เฝา พระผมู ีพระภาคเจา [๑๓๓] คร้งั นัน้ ทา นพระสธุ รรมเก็บเสนาสนะแลว ถือบาตรจีวรเดนิ ไปทางพระนครสาวตั ถี ถงึ พระนครสาวัตถี พระเชตวนั อารามของอนาถบิณฑกิ คหบดี โดยลําดับ เขา เฝา พระผมู พี ระภาคเจา แลว ถวายบงั คมนงั่ ณ ทีค่ วรสวนขางหนงึ่ ครัน้ แลว กราบทลู ถอยคําท่ีคนกับคหบดโี ตต อบกัน ใหพระผมู ีพระภาคเจา ทรงทราบทกุ ประการ.

พระวนิ ัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 84 ทรงติเตยี น [๑๓๔] พระผมู พี ระภาคพุทธเจา ทรงตเิ ตยี นวา ดูกอนโมฆบรุ ษุการกระทาํ ของเธอน้ัน ไมเ หมาะ ไมสม ไมควร มใิ ชกจิ ของสมณะ ใชไมไ ด ไมควรทาํ จติ ตคหบดผี ูมศี รทั ธาเลือ่ มใส เปน ทายก กปั ปย การกบํารงุ สงฆ ไฉนเธอจึงไดพูดกด พูดขม ดว ยถอยคําอนั เลวเลา ดกู อ นโมฆบุรษุ การกระทําของเธอนัน่ ไมเ ปนไปเพอ่ื ความเลอ่ื มใสของชมุ ชนท่ียงั ไมเ ลือ่ มใส....ครัน้ แลว ทรงทําธรรมกี ถารับส่ังกะพระภกิ ษุทง้ั หลายวาดูกอ นภิกษทุ ัง้ หลาย ถาเชนน้นั สงฆจ งทาํ ปฏิสารณยี กรรมแกภิกษุสุธรรมคอื ใหเธอขอขมาจติ ตคหบดี. วิธีทําปฏสิ ารณียกรรม ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย ก็แล วิธที ําปฏสิ ารณยี กรรมพึงทาํ อยางนี้ พึงโจทภกิ ษสุ ธุ รรมกอน คร้นั แลว พงึ ใหเธอใหการ แลว พงึ ปรบั อาบัติ ครัน้แลว ภิกษุ ผฉู ลาด ผูสามารถ พึงประกาศใหส งฆทราบดว ยญัตติจตตุ ถ-กรรมวาจา วาดังนี้ :- กรรมวาจาทําปฏิสารณยี กรรม ทานเจา ขา ขอสงฆจงฟงขา พเจา ภิกษสุ ุธรรมนี้ พดู กด พดู ขม จติ ตคหบดี ผมู ศี รทั ธาเลือ่ มใส เปนทายก กัปปยการก ผูบาํ รุงสงฆ ดว ยถอยคําอันเลว ถาความ

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 85พรอ มพรั่งของสงฆถงึ ทีแ่ ลว สงฆพ ึงทําปฏิสารณียกรรมแกภ กิ ษสุ ุธรรม คือใหเ ธอขอขมาจติ ตคหบดี นเ้ี ปน ญัตติ ทา นเจา ขา ขอสงฆจ งฟงขาพเจา ภิกษุสุธรรมนี้พดู กด พูดขม จติ ตคหบดี ผูมีศรัทธาเลือ่ มใส เปนทายก กัปปยการก ผูบํารงุ สงฆ ดว ยถอ ยคาํ อันเลว สงฆทําปฏิสารณียกรรมแกภิกษสุ ธุ รรม คอื ใหเ ธอขอขมาจิตตคหบดี การทาํ ปฏิสารณยี กรรมแกภิกษุสธุ รรม คือใหเ ธอขอขมาจิตตคหบดี ชอบแกทานผใู ด ทา นผูน ั้นพึงเปนผนู งิ่ ไมช อบแกท า นผใู ด ทา นผนู ัน้ พงึ พูด. ขา พเจากลา วความน้ีแมค ร้งั ทีส่ อง.... ขาพเจากลาวความน้แี มคร้ังทส่ี าม ทานเจา ขา ขอสงฆจ งฟง ขา พเจา ภกิ ษสุ ธุ รรมนี้ พดู กด พดู ขม จิตตคหบดี ผมู ศี รัทธาเล่ือมใสเปนทายก กัปปย การก ผบู ํารงุสงฆ ดว ยถอยคําอันเลว สงฆท าํ ปฏิสารณียกรรมแกภิกษุสุธรรม คือใหเธอขอขมาจติ ตคหบดี การทําปฏสิ ารณยี -กรรมแกภ ิกษสุ ธุ รรม คือใหเธอขอขมาจติ ตคหบดี ชอบแกท า นผูใด ทา นผนู ั้นพึงเปน ผนู ิ่ง ไมชอบแกท านผูใดทา นผูน น้ั พึงพูด. ปฏสิ ารณยี กรรมอนั สงฆทําแลว แกภกิ ษสุ ธุ รรม คือใหเ ธอขอขมาจติ ตคหบดี ชอบแกสงฆ เหตุนน้ั จงึ น่ิงขาพเจา ทรงความนี้ไวดว ยอยา งน.ี้

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 86 ลกั ษณะกรรมไมเปนธรรม ๑๒ หมวด หมวดท่ี ๑ [๑๓๕] ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ปฏิสารณียกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓เปน กรรมไมเปนธรรม ไมเปนวนิ ยั และระงับแลว ไมดี คอื ทาํ ลับหลัง ๑ไมส อบถามกอนแลว ทาํ ๑ ทาํ ไมต ามปฏญิ าณ ๑ ดกู อ นภกิ ษุทั้งหลาย ปฏิสารณียกรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ นแี้ ลเปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลว ไมด .ี หมวดท่ี ๒ [๑๓๖] ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย ปฏสิ ารณียกรรมท่ีประกอบดวยองค ๓แมอ่ืนอีก เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวินยั และระงับแลว ไมด ี คอืทําเพราะไมต องอาบตั ิ ๑ ทําเพราะอาบัตมิ ิใชเปนเทสนาคามินี ๑ ทําเพราะอาบัตทิ แี่ สดงแลว ๑ ดูกอ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย ปฏสิ ารณียกรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ลเปน กรรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วนิ ยั และระงบั แลว ไมดี. หมวดท่ี ๓ [๑๓๗] ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทีป่ ระกอบดวยองค ๓แมอ น่ื อีก เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงับแลว ไมดี คือไมโจทกอนแลว ทํา ๑ ไมใ หจาํ เลยใหก ารกอ นแลว ทาํ ๑ ไมปรับอาบัตแิ ลวทํา ๑ ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ น้แี ลเปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปนวนิ ยั และระงับแลว ไมด.ี

พระวินัยปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 87 หมวดท่ี ๔ [๑๓๘ ] ดูกอ นภกิ ษุทงั้ หลาย ปฏิสารณียกรรมประกอบดว ยองค ๓แมอ ื่นอกี เปนกรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลวไมด ี คอืทาํ ลบั หลัง ๑ ทําโดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทาํ ๑ ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ น้ีแลเปน กรรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วนิ ัย และระงบั แลวไมด .ี หมวดที่ ๕ [๑๓๙] ดกู อ นภิกษุทงั้ หลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓แมอ ื่นอีก เปน กรรมไมเ ปนธรรม ไมเปนวนิ ัย และระงับแลวไมด ี คือไมส อบถามกอ นแลว ทาํ ๑ ทําโดยไมเปนธรรม ๑ สงฆเปนวรรคทาํ ๑ ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย ปฏิสารณยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ นีแ้ ลเปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปน วนิ ัย และระงบั แลว ไมด ี. หมวดท่ี ๖ [๑๔๐] ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓แมอ ื่นอีก เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปน วนิ ัย และระงบั แลวไมดี คอืทาํ ไมต ามปฏิญาณ ๑ ทําโดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปน วรรคทํา ๑ ดูกอนภิกษทุ ้งั หลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ น้แี ลเปน กรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วนิ ยั และระงบั แลวไมด .ี หมวดท่ี ๗ [๑๔๑] ดกู อ นภิกษทุ ั้งหลาย ปฏิสารณียกรรมทปี่ ระกอบดวยองค๓แมอ่ืนอกี เปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงบั แลวไมด ี คอื

พระวนิ ยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 88ทําเพราะไมตอ งอาบัติ ๑ ทาํ โดยไมเ ปน ธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทํา ๑ ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ นีแ้ ลเปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวินัย และระงบั แลวไมด.ี หมวดที่ ๘ [๑๔๒] ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ปฏิสารณยี กรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓แมอ น่ื อีก เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วนิ ยั และระงับแลวไมด ี คือทําเพราะอาบตั มิ ิใชเ ปน เทสนาคามินี ๑ ทาํ โดยไมเปน ธรรม ๑ สงฆเปนวรรคทาํ ๑ ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ นแ้ี ลเปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปน วินัย และระงบั แลวไมดี หมวดท่ี ๙ [๑๔๓] ดูกอนภกิ ษทุ ัง้ หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓แมอ ื่นอีก เปนกรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วินัย และระงบั แลว ไมด ี คือทาํ เพราะอาบตั ิทีแ่ สดงแลว ๑ ทาํ โดยไมเ ปนธรรม ๑ สงฆเ ปน วรรคทํา ๑ ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย ปฏิสารณยี กรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ น้ีแลเปนกรรมไมเปน ธรรม ไมเปนวินัย และระงับแลว ไมด ี. หมวดที่ ๑๐ [๑๔๔] ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย ปฏิสารณียกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓แมอน่ื อกี เปนกรรมไมเ ปน ธรรม ไมเปน วนิ ัย และระงบั แลวไมดี คอืไมโ จทกอ นแลวทาํ ๑ ทาํ โดยไมเปนธรรม ๑ สงฆเ ปนวรรคทํา ๑

พระวินัยปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 89 ดกู อ นภกิ ษุทงั้ หลาย ปฏสิ ารณียกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ น้ีแลเปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปน วินยั และระงับแลวไมด .ี หมวดท่ี ๑๑ [๑๔๕] ดกู อ นภกิ ษุท้งั หลาย ปฏิสารณียกรรมที่ประกอบดวยองค ๓แมอ ่ืนอีก เปน กรรมไมเปนธรรม ไมเ ปน วินยั และระงบั แลว ไมดี คอืไมใ หจาํ เลยใหก ารกอ นแลวทาํ ๑ ทาํ โดยไมเ ปน ธรรม ๑ สงฆเ ปน วรรคทํา ๑ ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย ปฏิสารณยี กรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ นแี้ ลเปน กรรมไมเ ปนธรรม ไมเ ปน วินัย และระงับแลว ไมด .ี หมวดท่ี ๑๒ [๑๔๖] ดูกอนภิกษทุ ง้ั หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทีป่ ระกอบดว ยองค ๓แมอ ื่นอีก เปน กรรมไมเ ปนธรรม ไมเปน วินัย และระงับแลวไมด ีคอื ไมปรบั อาบตั ิแลว ทาํ ๑ ทาํ โดยไมเ ปนธรรม ๑ สงฆเปนวรรคทํา ๑ ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย ปฏิสารณยี กรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ น้แี ลเปน กรรมไมเปน ธรรม ไมเ ปนวนิ ัย และระงบั แลวไมดี. ลกั ษณะกรรมไมเปนธรรม ๑๒ หมวด ในปฏสิ ารณยี กรรม จบ ลกั ษณะกรรมเปน ธรรม ๑๒ หมวด หมวดที่ ๑ [๑๔๗] ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย ปฏิสารณยี กรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓เปน กรรมเปน ธรรม เปนวินยั และระงบั ดแี ลว คอื ทําตอหนา ๑สอบถามกอนแลว ทํา ๑ ทาํ ตามปฏิญาณ ๑

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 90 ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย ปฏิสารณยี กรรมที่ประกอบดวยองค ๓ น้ีแลเปนกรรมเปนธรรม เปน วินยั และระงบั ดแี ลว . หมวดที่ ๒ [๑๔๘] ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย ปฏสิ ารณียกรรมท่ีประกอบดว ยองค ๓แมอ่นื อีก เปน กรรมเปน ธรรม เปนวินยั และระงบั ดแี ลว คอื ทาํเพราะตองอาบัติ ๑ ทาํ เพราะอาบัติเปนเทสนาคามนิ ี ๑ ทาํ เพราะอาบตั ิยังมไิ ดแ สดง ๑ ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ นี้แลเปน กรรมเปน ธรรม เปนวนิ ยั และระงบั ดีแลว หมวดท่ี ๓ [๑๔๙] ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ปฏิสารณยี กรรมท่ีประกอบดวยองค ๓แมอน่ื อกี เปนกรรมเปนธรรม เปน วินยั และระงับดแี ลว คือ โจทกอนแลวทาํ ๑ ใหจําเลยใหการกอ นแลว ทํา ๑ ปรบั อาบตั ิแลวทํา ๑ ดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดว ยองค ๓ น้แี ลเปนกรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงบั ดีแลว . หมวดที่ ๔ [๑๕๐] ดกู อ นภกิ ษุทง้ั หลาย ปฏิสารณยี กรรมท่ปี ระกอบดว ยองค ๓แมอ่นื อกี เปนกรรมเปน ธรรม เปนวินยั และระงับดแี ลว คือ ทําตอหนา ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพรอ มเพรยี งกนั ทาํ ๑ ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลาย ปฏสิ ารณียกรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓ น้ีแลเปนกรรมเปนธรรม เปนวินยั และระงับแลว.

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 91 หมวดที่ ๕ [๑๕๑] ดกู อ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ปฏสิ ารณียกรรมทีป่ ระกอบดว ยองค ๓แมอ ื่นอกี เปน กรรมเปน ธรรม เปน วนิ ัย และระงบั ดแี ลว คอื สอบถามกอ นแลว ทํา ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรียงกันทํา ๑ ดกู อ นภิกษุท้งั หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ นแี้ ลเปน กรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงับดแี ลว . หมวดท่ี ๖ [๑๕๒] ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย ปฏสิ ารณยี กรรมที่ประกอบดว ยองค ๓แมอ ื่นอกี เปนกรรมเปน ธรรม เปน วินยั และระงับดแี ลว คือ ทําตามปฏิญาณ ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอมเพรยี งกนั ทาํ ๑ ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย ปฏิสารณยี กรรมท่ีประกอบดวยองค ๓ น้ีแลเปนกรรมเปน ธรรม เปนวนิ ยั และระงับดแี ลว. หมวดที่ ๗ [๑๕๓] ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทปี่ ระกอบดว ยองค ๓แมอ่นื อกี เปนกรรมเปน ธรรม เปนวินยั และระงับดแี ลว คือ ทาํ เพราะตอ งอาบัติ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรียงกันทํา ๑ ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย ปฏสิ ารณียกรรมที่ประกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ลเปนกรรมเปน ธรรม เปนวินัย และระงบั ดแี ลว . หมวดที่ ๘ [๑๕๕] ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ปฏสิ ารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓แมอ น่ื อีก เปน กรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงับดีแลว คอื ทาํ เพราะ

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 92อาบตั เิ ปนเทสนาคามินี ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรียงกันทํา ๑ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ นแี้ ลเปน กรรมเปนธรรม เปน วินยั และระงบั ดีแลว. หมวดที่ ๙ [๑๕๕] ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย ปฏสิ ารณียกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓แมอ ่ืนอีก เปน กรรมเปน ธรรม เปนวนิ ยั และระงบั ดีแลว คือ ทําเพราะอาบตั ิ ยงั มิไดแสดง ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรยี งกนั ทาํ ๑ ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทปี่ ระกอบดวยองค ๓ นแ้ี ลเปนกรรมเปน ธรรม เปน วินัย และระงับดแี ลว . หมวดท่ี ๑๐ [๑๕๖] ดูกอ นภิกษุทง้ั หลาย ปฏสิ ารณยี กรรมทป่ี ระกอบดวยองค๓ แมอ่นื อีก เปน กรรมเปน ธรรม เปนวนิ ัย และระงบั ดีแลว คือ โจทกอนแลว ทํา ๑ ทําโดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรยี งกนั ทํา ๑ ดูกอนท้ังหลาย ปฏสิ ารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค ๓ นี้แลเปนกรรมเปนธรรม เปนวนิ ยั และระงับดีแลว. หมวดที่ ๑๑ [๑๕๗] ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย ปฏิสารณียกรรมทป่ี ระกอบดวยองค๓ แมอ ืน่ อีก เปนกรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงับดแี ลว คือ ใหจําเลยใหก ารกอนแลว ทํา ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพ รอ มเพรยี งกันทํา ๑ ดูกอนภิกษทุ ั้งหลาย ปฏสิ ารณียกรรมท่ปี ระกอบดวยองค ๓ นแ้ี ลเปน กรรมเปนธรรม เปน วนิ ยั และระงับดแี ลว.

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 93 หมวดที่ ๑๒ [๑๕๘] ดกู อนภิกษุทั้งหลาย ปฏิสารณียกรรมท่ปี ระกอบดว ยองค๓ แมอื่นอกี เปน กรรมเปนธรรม เปน วินัย และระงบั ดีแลว คือ ปรบัอาบตั ิแลวทาํ ๑ ทาํ โดยธรรม ๑ สงฆพรอมเพรยี งกันทํา ๑ ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย ปฏสิ ารณียกรรมทีป่ ระกอบดว ยองค ๓ นแ้ี ลเปนกรรมเปน ธรรม เปน วนิ ยั และระงับดีแลว. ลักษณะกรรมเปนธรรม ๒ หมวด ในปฏสิ ารณยี กรรม จบ ขอ ทีส่ งฆจาํ นง ๔ หมวด หมวดท่ี ๑ [๑๕๙] ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย ภกิ ษุประกอบดว ยองค ๕ เมอ่ื สงฆจํานงพึงลงปฏสิ ารณยี กรรม คือ :- ๑. ขวนขวายเพอื่ มใิ ชล าภแหง พวกคฤหัสถ ๒. ขวนขวายเพอ่ื มิใชป ระโยชนแ หงพวกคฤหัสถ ๓. ขวนขวายเพื่ออยูมไิ ดแ หง พวกคฤหสั ถ ๔. คําวา เปรยี บเปรยพวกคฤหัสถ ๕. ยยุ งพวกคฤหสั ถกับพวกคฤหัสถใหแ ตกกัน ดูกอ นภิกษทุ ้ังหลาย ภกิ ษุประกอบดว ยองค ๕ นแี้ ล เม่อื สงฆจาํ นงพึงลงปฏสิ ารณียกรรม.

พระวินยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาท่ี 94 หมวดท่ี ๒ [๑๖๐] ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดว ยองค ๕ แมอืน่ อีกเม่อื สงฆจํานงจะพงึ ลงปฏสิ ารณียกรรม คือ :- ๑. พดู ติเตียนพระพุทธเจาแกพวกคฤหัสถ ๒. พดู ติเตียนพระธรรมแกพ วกคฤหัสถ ๓. พดู ตเิ ตียนพระสงฆแกพ วกคฤหสั ถ ๔. พดู กด พดู ขม พวกคฤหัสถด วยถอยคําอันเลว ๕. รับคาํ อนั เปน ธรรมแกพ วกคฤหสั ถ แลว ไมท ําจริง ดกู อนภิกษทุ งั้ หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดว ยองค ๕ นแ้ี ล เม่ือสงฆจํานงพึงลงปฏสิ ารณยี กรรม. หมวดที่ ๓ [๑๖๑] ดูกอ นภิกษุท้ังหลาย เม่อื สงฆจาํ นงพึงลงปฏิสารณยี กรรมแกภกิ ษุ ๕ รปู คอื รปู หนึ่งขวนขวายเพ่ือมิใชลาภแหงพวกคฤหสั ถ ๑ รูปหนึง่ ขวนขวายเพ่อื มิใชประโยชนแหงพวกคฤหสั ถ ๑ รูปหนง่ึ ขวนขวายเพ่ือยูมิไดแ หง พวกคฤหัสถ ๑ รูปหน่งึ ดา วา เปรียบเปรยพวกคฤหสั ถ ๑ รปู หนึ่งยยุ งพวกคฤหัสถกับพวกคฤหสั ถใ หแ ตกกนั ๑ ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย เมื่อสงฆจ ํานงพึงลงปฏิสารณียกรรมแกภิกษุ๕ รูปนี้แล. หมวดที่ ๔ [๑๖๒] ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลายเมื่อสงฆจ ํานงพงึ ลงปฏสิ ารณยี กรรมแกภิกษอุ กี ๕ รูปแมอ ่ืนอีก คือ รูปหนึ่งพูดตเิ ตยี นพระพทุ ธเจา แกพวกคฤหัสถ ๑ รูปหนง่ึ พดู ติเตยี นพระธรรมแกพวกคฤหสั ถ ๑ รปู หน่งึ พดู

พระวินยั ปฎ ก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 95ติเตียนพระสงฆแ กพวกคฤหัสถ ๑ รปู หนึ่งพูดกด พดู ขมพวกคฤหสั ถด ว ยถอยคําอันเลว ๑ รูปหน่ึงรับคาํ อันเปน ธรรมแกพ วกคฤหัสถแ ลว ไมทําจรงิ ๑ ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย เมือ่ สงฆจ ํานงพึงลงปฏสิ ารณียกรรมแกภกิ ษุ๕ รูปนแ้ี ล. ขอ ทส่ี งฆจาํ นง ๔ หมวด จบ วตั ร ๑๘ ขอ ในปฏสิ ารณยี กรรม [๑๖๓] ดูกอ นภิกษทุ ้งั หลาย ภกิ ษุทถ่ี กู สงฆล งปฏสิ ารณยี กรรมแลวตอ งประพฤตชิ อบ วิธีประพฤตชิ อบในปฏสิ ารณยี กรรมน้ัน ดังตอไปนี้:- ๑. ไมพ ึงใหอุปสมบท ๒. ไมพึงใหน ิสยั ๓. ไมพึงใหสามเณรอุปฏฐาก ๔. ไมพ ึงรับสมมตเิ ปน ผสู ่งั สอนภกิ ษณุ ี ๕. แมไดร ับสมมตแิ ลวก็ไมพึงสง่ั สอนภกิ ษณุ ี ๖. สงฆล งปฏสิ ารณียกรรมเพราะอาบตั ใิ ด ไมพงึ ตองอาบัตนิ ั้น ๗. ไมพ งึ ตองอาบตั อิ นื่ อันเชนกัน ๘. ไมพ ึงตองอาบัติอนั เลวทรามกวา น้ัน ๙. ไมพงึ ติกรรม ๑๐. ไมพึงตภิ กิ ษุทัง่ หลายผูทํากรรม

พระวนิ ยั ปฎก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ท่ี 96 ๑๑. ไมพ งึ หา มอุโบสถแกป กตัตตะภกิ ษุ ๑๒. ไมพ ึงหามปวารณาแกป กตตั ตะภกิ ษุ ๑๓. ไมพงึ ทาํ การไตส วน ๑๔. ไมพ งึ เรมิ่ อนวุ าทาธิกรณ ๑๕. ไมพ งึ ยงั ภิกษอุ ่ืนใหท ําโอกาส ๑๖. ไมพ ึงโจทภกิ ษุอ่ืน ๑๗. ไมพ งึ ใหภิกษอุ ืน่ ใหการ ๑๘. ไมพ ึงชวยภิกษตุ อภกิ ษุใหสอู ธกิ รณกัน. วัตร ๑๘ ขอ ในปฏิสารณียกรรม จบ ถูกสงฆลงปฏิสารณยี กรรม [๑๖๔] คร้ังน้นั สงฆไดลงปฏสิ ารณียกรรมแกภ กิ ษสุ ุธรรม คอืใหเ ธอขอขมาจิตตะคหบดี เธอถูกสงฆล งปฏิสารณยี กรรมแลวไปเมืองมจั ฉกิ าสณฑ เปน ผเู กอ ไมอ าจขอขมาจติ ตคหบดีได จงึ กลบั มายังพระ-นครสาวตั ถีอีก ภกิ ษทุ ้ังหลายถามอยางน้ีวา คุณสธุ รรม คณุ ขอขมาจติ ตคหบดแี ลวหรอื ? ทา นพระสุธรรมตอบวา ทานทงั้ หลาย ในเรอ่ื งน้ี ผมไดไ ปเมอื งมัจฉิกาสณฑแ ลว เปน ผเู กอ ไมอ าจขอขมาจติ ตคหบดไี ด ภกิ ษุเหลา นนั้ กราบทูลเรอื่ งนน้ั แดพ ระผมู ีพระภาคเจา ๆ รับสั่งวา

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 97ดูกอนภิกษุทง้ั หลาย ถาเชน นนั้ สงฆจ งใหอนุทูตแกภ กิ ษุสุธรรมเพอ่ื ขอขมาจิตตคหบดี. วิธใี หอนทุ ูต ดูกอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย กแ็ ล อนทุ ตู พงึ ใหอยางน้ี พึงขอใหภิกษรุ ับกอน คร้นั แลว ภกิ ษุผฉู ลาด ผูส ามารถ พงึ ประกาศใหสงฆท ราบดวยญตั ตทิ ตุ ยิ กรรมวาจา วาดงั น้ี :- ญัตตทิ ุติยกรรมวาจา ทา นเจาขา ขอสงฆจ งฟงขา พเจา ถาความพรอม พร่งั ของสงฆถึงทแ่ี ลว สงฆพ ึงใหภิกษมุ ชี อ่ื น้เี ปนอนุทูต แกภิกษสุ ุธรรมเพือ่ ขอขมาจิตตคหบดี นี้เปนญัตติ ทา นเจา ขา ขอสงฆจงฟง ขาพเจา สงฆใ หภิกษมุ ี ชอื่ นีเ้ ปนอนทุ ูตแกภ กิ ษสุ ธุ รรม เพ่ือขอขมาจติ ตคหบดี การใหภ ิกษมุ ชี ่อื นี้เปนอนทุ ตู แกภ ิกษสุ ุธรรม เพอ่ื ขอขมา จติ ตคหบดี ชอบแกทานผูใ ด ทา นผนู ัน้ พงึ เปนผนู งิ่ ไม ชอบแกท า นผูใด ทา นผูนนั้ พึงพูด ภกิ ษมุ ีชื่อน้ี อนั สงฆใหเ ปนอนทุ ตู แกภกิ ษสุ ธุ รรม แลว เพือ่ ขอขมาจิตตคหบดี ชอบแกสงฆ เหตุนน้ั จึงนง่ิ ขา พเจาทรงควานนไี้ วดว ยอยางน.ี้

พระวนิ ยั ปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 98 วิธขี อขมาของพระสธุ รรม [๑๖๕] ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ภิกษุสุธรรมนนั้ พึงไปเมอื งมจั ฉกิ า-สณฑกับภิกษอุ นทุ ูต แลวขอขมาจิตตคหบดวี า คหบดีขอทา นจงอดโทษอาตมาจะใหทานเลื่อมใส ถา เมื่อกลา วอยางน้ี เขาอดโทษ ขอน้นั เปนการดีหากเขาไมอ ดโทษ ภิกษุอนุทูตพึงชว ยพูดวา คหบดี ขอทา นจงอดโทษแกภกิ ษุนี้ ภกิ ษุนจ้ี ะใหท า นเลื่อมใส ถาเมื่อกลาวอยางนี้ เขาอดโทษ ขอนน้ั เปนการดี หากเขาไมอดโทษ ภกิ ษอุ นุทตู พึงชว ยพดู วา คหบดี ขอทา นจงอดโทษแกภิกษนุ ้ี อาตมาจะใหท านเล่ือมใส ถา เมอื่ กลาวอยา งน้ีเขาอดโทษ ขอนนั้ เปนการดี หากเขาไมอ ดโทษ ภกิ ษอุ นทุ ตู พงึ ชว ยพดูวา คหบดี ขอทานจงอดโทษแกภิกษนุ ต้ี ามคาํ สั่งของสงฆ ถาเม่ือกลาวอยา งนีเ้ ขาอดโทษ ขอ นั้นเปน การดี หากเขาไมอดโทษ ภิกษุอนทุ ูตพึงใหภ ิกษสุ ธุ รรมหม ผา อตุ ราสงคเ ฉวียงบา นง่ั กระโหยง ประคองอญั ชลี แลวใหแ สดงอาบตั นิ ัน้ ไมละทสั สนูปจาร ไมล ะสวนูปจาร. ขอขมาสาํ เรจ็ และสงฆระงบั กรรม [๑๖๖] คร้ังน้นั ทานพระสธุ รรมไปเมืองมัจฉิกาสณฑก บั ภกิ ษุอนทุ ตู แลวขอขมาจิตตคหบดี ทา นพระสุธรรมนัน้ ประพฤตโิ ดยชอบหายเยอ หยิง่ ประพฤตแิ กตวั ได จึงเขา ไปหาภกิ ษุทัง้ หลายแลว กลา วอยา งนี้วา อาวุโสทง้ั หลาย ผมถกู สงฆล งปฏสิ ารณียกรรมแลว ไดประพฤตโิ ดยชอบ หายเยอหยงิ่ ประพฤตแิ กตวั ได ผมจะพงึ ปฏิบัตอิ ยางไรตอไปภกิ ษทุ ั้งหลายกราบทลู เรื่องนนั้ แตพ ระผูมพี ระภาคเจา ๆ ตรัสวา :-

พระวินัยปฎก จลุ วรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนาที่ 99 ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ถา เชน น้นั สงฆจ งระงบั ปฏิสารณียกรรมแกภิกษุสุธรรม . วตั รทไ่ี มควรระงับ ๑๘ ขอ ๓ หมวด หมวดท่ี ๑ [๑๖๗] ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ภิกษุประกอบดว ยองค ๕ สงฆไมพงึ ระงับปฏิสารณยี กรรม คอื :- ๑. ใหอ ปุ สมบท ๒. ใหนิสัย ๓. ใหส ามเณรอุปฏฐาก ๔. รับสมมตเิ ปนผสู ่งั สอนภกิ ษณุ ี ๕. แมไ ดรบั สมมตแิ ลวก็สงั่ สอนภกิ ษณุ ี ดกู อ นภิกษทุ ง้ั หลาย ภิกษุประกอบดวยองค ๕ นแ้ี ล สงฆไ มพึงระงับปฏสิ ารณยี กรรม. หมวดที่ ๒ [๑๖๘] ดกู อนภิกษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษุประกอบดวยองค ๕ แมอื่นอกีสงฆไมพ ึงระงบั ปฏสิ ารณียกรรม คอื :- ๑. สงฆลงปฏสิ ารณยี กรรม เพราะอาบัติใด ตองอาบัตนิ ั้น ๒. ตอ งอาบตั อิ ื่นอันเชนกัน ๓. ตอ งอาบตั ิอนั เลวทรามกวาน้นั

พระวนิ ัยปฎ ก จุลวรรค เลม ๖ ภาค ๑ - หนา ที่ 100 ๔. ติกรรม ๕. ตภิ ิกษทุ ัง้ หลายผทู ํากรรม ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย ภกิ ษุประกอบดวยองค ๕ นีแ้ ล สงฆไ มพ ึงระงบั ปฏสิ ารณยี กรรม. หมวดท่ี ๓ [๑๖๙] ดูกอนภกิ ษทุ ้งั หลาย ภิกษุประกอบดวยองค ๘ สงฆไ มพ งึระงับปฏิสารณียกรรม คือ :- ๑. หา มอโุ บสถแกปกตัตตะภกิ ษุ ๒. หา มปวารณาแกปกตัตตะภกิ ษุ ๓. ทําการไตสวน ๔. เร่ิมอนุวาทาธกิ รณ ๕. ยงั ภิกษอุ ่นื ใหท าํ โอกาส ๖. โจทภกิ ษุอน่ื ๗. ใหภกิ ษุอ่นื ใหก าร ๘. ชวยภกิ ษุกบั ภกิ ษใุ หส อู ธิกรณก ัน ดกู อนภิกษทุ ัง้ หลาย ภกิ ษปุ ระกอบดว ยองค ๘ นีแ้ ล สงฆไมพ ึงระงับปฏิสารณียกรรม. วัตรทไี่ มค วรระงับ ๑๘ ขอ ในปฏสิ ารณยี กรรม จบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook